Aw#157 96 pages for web

Page 1



รายนามสมาชิก

สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด

27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.

บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท บีทีจี ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด บริษัท อินเว (ประเทศไทย) จำกัด

ิน ภ อ

น ท นั

ร า าก


คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำปี 2556-2557 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล

นายกสมาคม

บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน)

2. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง

อุปนายก คนที่ 1

บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด

3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์

อุปนายก คนที่ 2

บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด

4. นางเบญจพร สังหิตกุล

เหรัญญิก

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)

5. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์

เลขาธิการ

บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน)

6. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ

รองเลขาธิการ

บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน)

7. นายเชฏฐพล ดุษฎีโหนด

รองเลขาธิการ

บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด(มหาชน)

8. นายโดม มีกุล

ประชาสัมพันธ์

บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด

9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล

ปฏิคม

บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด

10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ

นายทะเบียน

บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด

11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น

กรรมการ

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)

12. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ ไพสิฐพงษ์

กรรมการ

บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด

13. นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล

กรรมการ

บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด

14. นายวิชัย คณาธนะวนิชย์

กรรมการ

บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด

15. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์

กรรมการ

บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด

16. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม

กรรมการ

บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน)

17. นายวราวุฒิ วัฒนธารา

กรรมการ

บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด

18. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์

กรรมการ

บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด


บรรณาธิการ

แถลง

ภาวะการเลี้ยงกุ้ง ที่กำลังถดถอยลงไป จากวิกฤตที่รุมเร้ามากมาย ทั้งภาวะ โรคระบาด สภาวะอากาศ สิง่ แวดล้อม ภาวะเศรษฐกิจสังคมทางการเมือง ข้อกฎหมาย ทางการค้าระหว่างประเทศ ปัญหาแรงงานผิดกฎหมาย จนทำให้เกิดความท้อแท้ ในหลายภาคส่วนทีจ่ ะมาช่วยประคับประคองให้ฟนื้ กลับคืนมาโดยเร็ว ทัง้ ๆ ทีต่ ลาด ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าและผลิตภัณฑ์อย่างมากมาย ราคายังเป็นแรงจูงใจ ที่ จ ะทำให้ ผู้ เ ลี้ ย งพยายามทุ ก วิ ธี ที่ จ ะแก้ ไ ขปั ญ หาในเรื่ อ งการเลี้ ย งให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต ที่ดีขึ้น ดังนั้น จึงต้องร่วมมือกันแก้วิกฤตของเรื่องโรคระบาดที่จะบั่นทอนการเลี้ยง กุ้งที่ลดลงให้กลับมาอย่างเร็ว เพราะทั่วโลกยังต้องการสินค้ากุ้งและผลิตภัณฑ์กุ้ง จากประเทศไทย ซึ่งประเทศไทยจะต้องกลับมาเป็นที่หนึ่งของการส่งออกกุ้งต่อไป ให้จงได้ ในเล่มนี้ มีเนื้อหา และบทความที่ทุกฝ่ายระดมสรรพกำลังที่จะเอาใจช่วย และ หาทางที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้ผ่านพ้นไป ทั้งปัญหาโรคระบาด ปัญหา แรงงาน การหามาตรการเพิ่มผลผลิต การสร้างภาวะความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมที่ อาจจะเกิดจากความใฝ่หาการเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอแก่ความต้องการที่จะมีมากขึ้นใน อนาคต การชี้แจงข้อเท็จจริงต่างๆ การมองเป้าหมายการเพิ่มผลผลิต การพยากรณ์ สินค้า ทั้งการได้มาซึ่งความคิดเห็นในเชิงการสัมมนา การวิเคราะห์เชิงข้อมูล การ สัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง และการมองหาตลาดเป้าหมายที่จะนำไปสู่การเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตที่ต้องการความมั่นคง ปลอดภัย ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม และมีความยั่งยืน ตลอดไป..... บก.


วารสารธุรกิจอาหารสัตว์

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง

ปีที่ 31 เล่มที่ 157 ประจำเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2557

Contents Thailand Focus

เร่งดำเนินการแผนแม่บท แก้ปัญหาแรงงานภาคการประมงทั้งระบบ.....................................................................................5 แรงงานต่างด้าว...ปัญหาระดับประเทศที่ถึงเวลาสะสาง.....................................................................................................8 อนาคตส่งออกไทย หลังสหภาพยุโรประงับความร่วมมือ. ..............................................................................................10

Food Feed Fuel

สรุปงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ทิศทางธุรกิจอาหารสัตว์น้ำสู่ตลาด AEC..................................................................14 สรุปกิจกรรมระดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการจูงใจในการส่งเสริมข้าวโพดที่ยั่งยืน.............................17 รายงานการสำรวจปลาป่น และกากปาล์ม ครั้งที่ 2/2557..............................................................................................21 การปรับปรุงคุณภาพเนื้อด้วยสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ. .................................................................................31 บันไดห้าขั้น สู่การเลี้ยงดูประชากรโลก.........................................................................................................................36 การศึกษาการร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศเกี่ยวกับการชักตัวอย่างเพื่อตรวจสารตกค้าง จากยาสัตว์ในสินค้าประมงเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมของประเทศ............................................................................39

Market Leader

กรมประมงจ่อนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้ง เร่งผลิตป้อนโรงเพาะฟัก-ปูพรมตรวจโรค..................................................................46 วัตถุดิบขาดหนัก นำเข้ากุ้งพุ่ง 2 เท่า ดิ้นแปรรูปส่งออกรักษาฐานตลาด...........................................................................48 ความจริงเกี่ยวกับการใช้แรงงานภาคประมง.................................................................................................................52 ทุกภาคส่วนร่วมใจ แก้ปัญหาอีเอ็มเอส........................................................................................................................54 ระดมสมอง มองต่างมุม กุ้งตะวันออก..........................................................................................................................59 สรุปสถานการณ์สินค้าเกษตรเดือนกรกฎาคม และแนวโน้มเดือนสิงหาคม 2557...............................................................64 พยากรณ์สินค้าเกษตร ช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2557............................................................................................72

Around The World

แก่นแท้ และข้อเสนอแนะรายงานค้ามนุษย์ Tip Report อเมริกา.......................................................................................73 ชาวยุโรปกำลังนิยมสินค้าเกษตรอินทรีย์ (ออร์แกนิค) โดยเฉพาะ ผัก ผลไม้ หรือแม้แต่เนื้อสัตว์ และขนมปัง ซึ่งเป็นที่น่าสนใจ....76

ขอบคุณ. ....................................................................................................................................................................80  ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย  ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร  รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น  นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล  กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร  นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์  นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม

นายอดิเรก ศรีประทักษ์  นายนิพนธ์ ลีละศิธร  นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง  นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์  นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์  บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ  กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง  นายณรงค์ศักดิ์ โชวใจมีสุข  นายอรรถพล ชินภูวดล  นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง  สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4   โทรสาร 0-2675-6265  Email: tfma44@yahoo.com  Website: www.thaifeedmill.com




แก้ปัญหาแรงงาน ภาคการประมงทั้งระบบ

นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า สำหรับแผน แม่ บ ทการดำเนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาแรงงาน ในภาคประมงจะประกอบด้วย 8 แนวทางหลัก ได้แก่ 1. การขยายผลการปฏิ บั ติ ต ามแนว ปฏิ บั ติ ก ารใช้ แ รงงานที่ ดี หรื อ GLP เต็ ม รูปแบบ ให้ครอบคลุมทั้งสายการผลิต ตั้งแต่ สถานแปรรูปเบื้องต้น โรงงานแปรรูป ฟาร์ม ที่มา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า

เพาะเลี้ยงกุ้งทะเล และเรือประมง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเรือประมงนอกน่านน้ำ เรือประมง พาณิชย์ในน่านน้ำ และเรือขนถ่ายสัตว์นำ้ ทีค่ วร มีการสอดส่องดูแลอย่างเข้มงวด เนื่องจาก เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดด้านแรงงาน 2. การจัดทำ GLP Platform ร่วมกัน กับกระทรวงแรงงานภายใต้ความร่วมมือกับ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ILO เพือ่ ให้เป็นศูนย์กลางของการขยายผล GLP ใน ภาคประมงอย่างยั่งยืน 3. จัดระเบียบเรือประมงไทยเพือ่ ป้องกัน การประมงที่ผิดกฎหมาย (IUU) และการค้า มนุษย์ในภาคการประมง ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการ ออกหน่วยเคลือ่ นที่ หรือ Mobile Unit ร่วมกับ กรมเจ้าท่าในการจดทะเบียนเรือ เพื่อเร่งรัดให้ ผู้ประกอบการเรือประมงมาขอจดอาชญาบัตร ทำการประมงให้ถูกต้องกับกรมประมง โดย ปัจจุบันพบว่ามีจำนวนทะเบียนเรือเพิ่มขึ้นจาก 15,000 ลำในปี 2553 เป็น 42,000 ลำ ในปัจจุบัน ทั้งนี้ กรมประมงจะเร่งรัดประสาน กรมเจ้าท่าเพือ่ เสนอให้มกี ารปรับแก้กฎระเบียบ ให้เรือขนาด 50 ตันกรอสขึ้นไป ต้องทำการ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

หลังจากที่ กระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้จดั อันดับให้ประเทศไทยอยูใ่ น Tier 3 จากรายงานสถานการณ์การค้ามนุษย์ หรือ TIP report ประจำปี 2557 ทำให้เกิด ภาพลั ก ษณ์ ใ นเชิ ง ลบต่ อ สิ น ค้ า ประมงไทยใน สายตาชาวต่างประเทศ และอาจนำไปสู่ความ เสียหายต่อการส่งออกสินค้าประมงของไทย กระทรวงเกษตรฯ ได้ จั ด ทำแผนแม่ บ ทการ ดำเนินการแก้ไขปัญหาแรงงานในภาคประมง โดยร่วมมือกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ป้องกัน ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศทั้งในแง่ ของการผลิตเพือ่ การบริโภคภายในประเทศ และ เพื่อการส่งออก

Thailand Focus

เร่งดำเนินการแผนแม่บท

5


ติ ด ตั้ ง ระบบติ ด ตามเรื อ ประมง อี ก ทั้ ง กรณี เรื อ ประมงนอกน่ า นน้ ำ ซึ่ ง อยู่ ใ นความดู แ ล ของกรมประมงประมาณ 300 ลำนั้น จะได้ ขอความร่ ว มมื อ กั บ ผู้ ป ระกอบการในการให้ สวั ส ดิ ก ารแก่ แ รงงานของตนให้ ส ามารถใช้ โทรศัพท์ดาวเทียม ติดต่อพูดคุยกับครอบครัว ของตนได้ เ ป็ น ครั้ ง คราว หรื อ ในเหตุ ก รณี จำเป็นด้วย 4. สนับสนุนการบูรณาการ การตรวจ ร่วมเรือประมงและแรงงานประมง 5. การตรวจตราเรือประมงพาณิชย์ ใน น่านน้ำที่เข้า-ออกจากท่า โดยมอบหมายให้ กรมประมงสนับสนุนเรือตรวจการประมงพร้อม เจ้าหน้าที่ในการบูรณาการ การตรวจร่วมเรือ และแรงงานประมงเพิ่มเติมร่วมกับกระทรวง แรงงาน 6. การสนับสนุนจากกองทัพเรือ ช่วย ตรวจตราเรือประมงร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน ในลักษณะ Joint Patrol เพื่อสอดส่องดูแล ป้องกัน และปราบปรามการทำประมงที่ผิด กฎหมาย และปัญหาการค้ามนุษย์บนเรือประมง นอกน่านน้ำในอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อให้การ ปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

6

7. จัดการฝึกอบรมให้ความรูค้ วามเข้าใจ แก่เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการเรือประมง ในเรื่องที่เกี่ยวกับการป้องกันและปราบปราม การค้ามนุษย์ควบคู่กันไปด้วย และ 8. การส่งเสริมภาพลักษณ์ และสร้าง ความเชื่อมั่นต่อสินค้าประมงของไทยในต่าง ประเทศผ่านการประชุม หรือแสดงสินค้า และ

อาหารทะเลในต่างประเทศ รวมถึงกรมประมง ได้มกี ารจัดทำเว็บไซต์ Good Fisheries Labour Practices และการจัดทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์ และมีแผนที่จะแจกจ่ายเอกสารเผยแพร่ไปยัง สำนักงานที่ปรึกษาเกษตรในต่างประเทศ รวม ถึงขอความร่วมมือจากกระทรวงพาณิชย์ และ กระทรวงการต่างประเทศ เพื่อช่วยเผยแพร่ ในต่างประเทศที่เป็นคู่ค้าสินค้าประมงที่สำคัญ ของไทย นายชวลิต กล่าวอีกว่า ในแต่ละปีการ ส่งออกสินค้าประมงมีมูลค่ากว่า 270,000 ล้านบาท มีจำนวนแรงงานทีท่ ำงานในอุตสาหกรรมนี้ประมาณ 1 ล้านคน ตั้งแต่ภาคการทำ ประมง ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สถานแปรรูป เบือ้ งต้น อุตสาหกรรมประมงต่อเนือ่ ง และอุตสาหกรรมสนับสนุนอื่นๆ ซึ่งกระทรวงเกษตรฯ ได้ เ ริ่ ม ขั บ เคลื่ อ นแผนแม่ บ ทการแก้ ไ ขปั ญ หา แรงงานในภาคประมงแล้ว โดยมอบหมายให้ กรมประมงออกประกาศการจั ด ระเบี ย บเรื อ ประมง เพือ่ เร่งรัดให้ผปู้ ระกอบการมายืน่ คำขอ อาชญาบัตรให้ถูกต้องภายใน 30 วัน อีกทั้ง เร่ ง รั ด ติ ด ตามผลการฝึ ก อบรม GLP แก่ ผู้ ประกอบการสถานแปรรูปเบือ้ งต้น และโรงงาน แปรรูปเป็นครั้งที่ 2 เพื่อติดตามความคืบหน้า ในการปรั บ ปรุ ง สภาพการทำงานของสถาน ประกอบการ และได้เตรียมการขยายผล GLP ให้ครอบคลุมโรงงานแปรรูปอาหารทะเล และ สถานประกอบการแปรรูปเบื้องต้นที่ผลิตเพื่อ การส่ ง ออกเพิ่ ม เติ ม อี ก จำนวน 260 แห่ ง พร้อมกันนี้ได้หารือกับกรมเจ้าท่าเพื่อพิจารณา ปรับแก้กฎระเบียบเพือ่ บังคับให้เรือประมงทุกลำ ต้ อ งติ ด ตั้ ง ระบบติ ด ตามเรื อ ประมง รวมทั้ ง


นายมงคล สุขเจริญคณา รองประธาน กรรมการบริ ห าร สมาคมการประมงแห่ ง ประเทศไทย กล่าวว่า แผนแม่บทที่กระทรวง เกษตรฯ และกรมประมงได้รา่ งขึน้ นัน้ เป็นแผน แม่บทที่ดี ซึ่งจะสามารถสื่อสารให้ต่างประเทศ ทราบว่า จริงแล้วการทำประมงของไทยส่วนใหญ่ นั้ น ถู ก กฎหมาย และไม่ มี แ รงงาน เฉลี่ ย ถึ ง ร้อยละ 90 แต่การที่สื่อต่างชาตินำเสนอออก ไปนั้น ได้เพ่งเล็งเฉพาะจุดไม่ได้นับเอาภาพรวม ถือว่าเป็นความไม่ยุติธรรมกับธุรกิจประมงไทย ซึ่งแผนแม่บทที่ได้เสนอขึ้นมานั้นคาดว่าจะเป็น ประโยชน์แก่ประเทศไทยซึง่ มีการประชาสัมพันธ์

ทางสื่อหลายรูปแบบ พร้อมทั้งเร่งให้มีการจัด การขึน้ ทะเบียนเรือประมงให้สามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้วา่ เรือลำนีม้ าจากทีใ่ ด เป็นของใคร ใครคือกัปตันเรือ ซึ่งขณะนี้มีจำนวนเรือประมง ประมาณ 50,000 ลำ คิดเป็น ประมงพืน้ บ้าน 40,000 ลำ เรือประมงพาณิชย์ 10,000 ลำ และเรือประมงนอกน่านน้ำ 700 ลำ ซึ่งการ ขึ้นทะเบียนเรือนั้นทำยากได้ เนื่องจากการเรือ ประมงส่วนใหญ่ออกจากฝั่งใช้เวลาหลายวัน อาจจะ 3-5 วัน หรืออาจจะเป็นปี โดยเฉพาะ เรือนอกน่านน้ำ หากแผนแม่ บ ทการดำเนิ น การแก้ ไ ข ปัญหาแรงงานในภาคประมงนี้ สามารถดำเนิน การได้อย่างเต็มรูปแบบ เชื่อว่าภาพลักษณ์ของ ประมงไทยจะกลับมาสร้างความน่าเชือ่ ถือให้กบั ผู้ค้า และชาวต่างชาติได้มากขึ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ได้ขอความร่วมมือจากสมาคมภาคเอกชนให้ การสนับสนุนการดำเนินการแก้ไขปัญหาด้าน แรงงานในภาคประมงทีเ่ สนอในแผนแม่บทด้วย เช่นกัน

7


Thailand Focus

แรงงานต่างด้าว...

ปัญหาระดับประเทศที่ถึงเวลาสะสาง 

ดร.รัตพงษ์ สอนสุภาพ

ประเทศไทยเจอการดิสเครดิตเกี่ยวกับ ปัญหาแรงงานต่างด้าวมาเป็นระลอก ไม่ว่าจะ เป็นข่าวลือจากกลุ่มต่อต้าน คสช. ในประเด็น เรื่องการกวาดล้างแรงงานต่างด้าว จนส่งผล ทำให้ เ กิ ด การอพยพของแรงงานต่ า งด้ า วใน ไทยทั น ที นั บ แสนๆ คน ต่ อ มาหนั ง สื อ พิ ม พ์ เดอะการ์เดียนของอังกฤษก็ได้เปิดรายงานข่าว เชิงสืบสวนสอบสวนโดยกล่าวถึงแรงงานทาส บนเรือประมงแล้วโยงมายัง บริษัท ซีพีเอฟ ซึง่ เป็นธุรกิจคนไทยผูส้ ง่ ออกกุง้ รายใหญ่ของโลก ด้วย ในประเด็นที่บริษัทรับซื้อปลาป่นจากเรือ ประมงที่ใช้แรงงานทาส ผลกระทบโดยตรงต่อ กรณี นี้ คื อ ห้ า งคาร์ ฟู ร์ ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก รายใหญ่จากฝรั่งเศสได้ระงับคำสั่งซื้อกุ้งจาก ไทยชั่วคราวทันที ... หากพิจารณาเหตุการณ์ โดยรวม จึงน่าจะมีวาระซ่อนเร้นบางประการ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

8

ประการแรก : ในสายตาของประเทศ ตะวั น ตก มองประเทศไทยมี ปั ญ หาการใช้ แรงงานต่างด้าวอย่างไม่เป็นธรรม และเป็น ทางผ่านของกระบวนการค้ามนุษย์มาเนิ่นนาน โดยเฉพาะในห้วงนี้ที่ประเทศไทยกำลังเปลี่ยน แปลงประเทศก้ า วเข้ า สู่ ก ระบวนการปฏิ รู ป ที่มา : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์

ตัวอย่างเช่น การเร่งรีบรายงานสถานการณ์ การค้ามนุษย์ในประเทศต่างๆ (TIP report 2014) ของสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยได้รับ ผลกระทบด้านลบอย่างมาก โดยเฉพาะการจัด ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่สาม ซึ่งเป็นกลุ่มที่รัฐ ไม่ได้ใส่ใจดำเนินการแก้ปัญหาเลย แต่หากจะ ลำดับสถานการณ์ทั้งสามกรณี ทั้งเดอะการ์เดียน ห้างคาร์ฟูร์ และ TIP report แล้ว จึงมี นัยในทางการเมืองจากมุมมองของตะวันตก ที่มีต่อสถานการณ์ทางการเมืองไทย ประการทีส่ อง : กรณีทโี่ ยงกับซีพเี อฟนัน้ ในมุมมองของผู้เขียนเห็นว่า อาจเป็นข้อสรุปที่ ขาดการมองภาพรวม เพราะไม่นา่ จะเป็นไปได้ที่ ผูป้ ระกอบการรายเดียวจะสามารถควบคุมกลไก ต่างๆ ได้ทั้งห่วงโซ่อุตสาหกรรม โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง เรื่ อ งแรงงานบนเรื อ ประมง ซึ่ ง มี ผู้ ประกอบการรายเล็กรายย่อยจำนวนมาก ด้วย ที่ซีพีเอฟเป็นบริษัทชั้นนำของไทย จึงถูกโยง กลายเป็ น หมากตั ว หนึ่ ง ของกระบวนการลด ทอนความน่าเชื่อถือของประเทศไทย จึงมีนัย ทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะการแข่งขันในเชิงธุรกิจ การส่งออกกุ้ง


ปัญหาแรงงานต่างด้าวในประเทศไทยเป็นปัญหาใหญ่ที่สะสม เรื้อรังมานาน แม้ว่าไทยจะมีการจัดระบบแรงงานต่างด้าวมาตั้งแต่ปี 2535 โดยการดำเนินการของรัฐบาลในช่วงที่ผ่านมาจะใช้มติคณะ รัฐมนตรีเป็นเครื่องมือดำเนินการเชิงนโยบาย เพื่อให้การบริหาร จัดการแรงงานต่างด้าวเป็นไปอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ แต่ ผลลัพธ์ที่ได้กลับไม่ดีนัก ซึ่งหากมองในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว แรงงาน ต่ า งด้ า วได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด มู ล ค่ า เพิ่ ม ต่ อ การพั ฒ นาประเทศ ไม่น้อย โดยเฉพาะในสาขาธุรกิจก่อสร้าง คนสวน ภาคบริ ก าร และอุ ต สาหกรรมแปรรู ป อาหารทะเล แต่ปัญหาอยู่ที่การบริหาร จัดการแรงงานต่างด้าวที่เป็นระบบ มี ความโปร่ ง ใส และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพของ หน่วยงานภาครัฐ

ปัจจุบัน... ประเทศไทยกำลังอยู่ภายใต้การบริหารของ คสช. ที่ต้องทำการปฏิรูปประเทศ ในหลายด้านอย่างโปร่งใส ปลอดจากการคอร์รัปชัน หรือผลประโยชน์ใดๆ ย่อมถือได้ว่าเป็น สถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุดในการปฏิรูปปัญหาแรงงานต่างด้าวอย่างจริงจัง เพียงหารือร่วมกับ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดังเช่นที่ท่านปฏิบัติอยู่ แล้วล้างมาเฟีย - กำจัดคอร์รัปชันทุกรูปแบบให้หมดไป เรียกความเชื่อมั่นของประเทศเรากลับคืนมา... เมื่อนั้น...นานาชาติจะเดินหน้ามาลงทุนในประเทศ ไทยอย่างต่อเนื่อง ด้วยต้นทุนเงินสดสำหรับจ่ายใต้โต๊ะ หรือที่เรียกว่า “คอร์รัปชัน” นั้นลดลง!!

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ระบบที่ว่านั้น จะต้องสะท้อน ผ่าน อย่างแรกคือ ความต้องการ แรงงานต่างด้าวที่แท้จริง หรือจำนวนที่เหมาะสมต่อศักยภาพการพัฒนาประเทศในห้วงต่างๆ ให้เกิดความต่อเนื่อง อย่างที่สอง ทำไมจำนวนแรงงานต่างด้าวที่ลงทะเบียนมีเพียง 9 แสนคน แต่จากการประเมินของนักวิชาการหลายสถาบันกลับมีมากถึง 2 ล้านคน นั้นแสดงว่า อีก ประมาณล้านกว่าคนอยู่นอกระบบ คำถามคือ จะบริหารจัดการอย่างไร อย่างที่สาม หน่วยงาน รัฐมีความพยายามที่จะจัดระบบแรงงานต่างด้าวจริงในช่วงที่ผ่านมา แต่ประเด็นคือ การจัดระบบ ดังกล่าว ประกอบด้วยขั้นตอนที่มากมาย จุดอำนวยความสะดวกในการลงทะเบียนมีไม่เพียงพอ และค่าใช้จา่ ยในการลงทะเบียนนัน้ สูงเกิน ซึง่ เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดเศรษฐกิจนอกกฎหมาย (Illegal Economy) เป็นช่องทางทำให้เกิดการคอร์รัปชัน และผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้อง ทั้งที่เป็นนายหน้าคนไทย คนพม่า คนต่างด้าว ตลอดจนเจ้าหน้าที่รัฐต่างๆ

9


Thailand Focus

อนาคตส่งออกไทย หลังสหภาพยุโรป EXPORT ระงับความร่วมมือ • สหภาพยุโรปประกาศระงับการเดินทางเยือนอย่างเป็นทางการระหว่างกันของ เจ้าหน้าที่จากทั้งยุโรป และไทย รวมถึงยกเลิกการลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยความ เป็นหุ้นส่วน และความร่วมมือกับไทย ส่งผลให้การเจรจาเขตการค้าเสรีระหว่างไทยกับ สหภาพยุโรปต้องล่าช้าออกไป อาจทำให้ไม่สามารถตกลงเขตการค้าเสรีได้ทันก่อนวันที่ 1 มกราคม 2015 ซึ่งเป็นวันแรกที่ไทยจะเริ่มถูกตัดสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร GSP • อี ไ อซี ป ระเมิ น ว่ า สิ น ค้ า ส่ ง ออกหลั ก ที่ จ ะได้ รั บ ผลกระทบค่ อ นข้ า งมาก ได้ แ ก่ กุ้งแช่แข็ง ปลาหมึก และจักรยานยนต์ โดยสินค้าเหล่านี้มีการพึ่งพาตลาดยุโรปค่อนข้าง มาก และได้ ใ ช้ สิ ท ธิ พิ เ ศษ GSP ในอั ต ราที่ ค่ อ นข้ า งสู ง อย่ า งไรก็ ต าม สั ด ส่ ว นของ สินค้าที่จะได้รับผลกระทบต่อการส่งออกไทยทั้งหมดยังมีขนาดค่อนข้างเล็กเพียง 0.5% ของการส่งออกทั้งหมด สหภาพยุโรประงับความร่วมมือกับไทย สหภาพยุโรปได้ออกแถลงการณ์เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน ที่ผ่านมาเกี่ยวกับการทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างไทย และยุโรป โดยมีเนื้อหาที่สำคัญ คือ การประกาศระงับการเดินทางเยือนอย่างเป็นทางการระหว่างกันของเจ้าหน้าที่จากทั้งยุโรป และไทย รวมถึงยกเลิกการลงนามในกรอบความตกลงว่าด้วยความเป็นหุ้นส่วน และความร่วมมือ (Partnership and Cooperation Agreement) กับไทย จนกว่าไทยจะมีแผนการที่น่าเชื่อถือ และ รวดเร็วในการคืนอำนาจตามรัฐธรรมนูญ และจัดการเลือกตั้ง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

10

ที่มา : ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ SCB


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

การระงั บ ความสั ม พั น ธ์ จ ะทำให้ ก าร เจรจาเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ระหว่างไทยกับยุโรปล่าช้าออกไป เขตการค้าเสรี ระหว่างไทยกับสหภาพยุโรปมีกรอบการเจรจา รวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง โดยมีแผนจะเจรจาให้แล้ว เสร็จภายในเดือนธันวาคม 2014 อย่างไรก็ดี ด้วยปัญหาการเมืองในช่วงปลายปี 2013 ต่อ เนื่ อ งถึ ง ปี 2014 ที่ ผ่ า นมา ส่ ง ผลให้ ไ ม่ มี รัฐบาลที่มีอำนาจเต็มที่ในการบริหารประเทศ ทำให้การเจรจาในรอบที่ 4 เมื่อวันที่ 7-11 เมษายน ทีผ่ า่ นมา ยังไม่มคี วามคืบหน้าเท่าทีค่ วร เมื่อรวมกับการระงับความสัมพันธ์ของสหภาพ ยุโรปดังกล่าว จึงอาจส่งผลให้ข้อตกลงเรื่อง เขตการค้าเสรีไม่สามารถบังคับใช้ได้ทันก่อน วันที่ 1 มกราคม 2015 ซึ่งเป็นวันแรกที่ไทย จะถูกตัดสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (Generalised System Preferences: GSP) ตามหลัก เกณฑ์การจัดชั้นรายได้ของประเทศ (Country Graduation) อีไอซี ประเมินว่า การตัดสิทธิ

GSP ในเกณฑ์ Country Graduation จะส่งผลเสีย ต่อรายได้ผู้ส่งออกอย่างน้อย 47 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จาก ส่วนต่างภาษีทเี่ พิม่ ขึน้ หลักเกณฑ์ใหม่ ในการได้รับสิทธิพิเศษ GSP นั้น ประเทศ ที่จะได้รับสิทธิต้องไม่เป็นประเทศที่อยู่ในกลุ่ม รายได้สูง (High-income countries) หรือกลุ่ม รายได้ปานกลางค่อนข้างสูง (Upper-middle income countries) เป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน ซึ่งธนาคารโลกได้จัดให้ไทยอยู่ในกลุ่มประเทศ ที่ มี ร ายได้ เ ฉลี่ ย ต่ อ หั ว ปานกลางค่ อ นข้ า งสู ง (Upper-middle income countries) มาเป็น เวลา 3 ปีตดิ กัน ตัง้ แต่ปี 2011-2013 ทำให้ไทย จะต้องถูกตัดสิทธิพิเศษ GSP ในต้นปี 2015 จำนวน 723 รายการ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ส่งออก ต้องแบกรับต้นทุนที่สูงขึ้น โดยสินค้าสำคัญที่ จะได้ รั บ ผลกระทบ ได้ แ ก่ กุ้ ง สดแช่ แ ข็ ง จักรยานยนต์ รองเท้า เครือ่ งนุง่ ห่ม ล้อรถยนต์ ทูน่ากระป๋อง เป็นต้น โดยอีไอซี ประเมินว่า ผลกระทบจากการถูกตัดสิทธิจะอยู่ที่ราว 47 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (0.02% ของการส่งออก ทั้งหมด) เป็นอย่างน้อย และยังมีแนวโน้มที่จะ ถูกแย่งตลาดจากความสามารถทางการแข่งขัน ที่ลดลง อัตราภาษีที่สูงขึ้นย่อมส่งผลให้ความ สามารถการแข่งขันทางราคาของสินค้าไทย ลดลง ซึ่งจะเป็นสาเหตุที่ทำให้สินค้าส่งออก ไทยถู ก แย่ ง ตลาดจากประเทศที่ มี โ ครงสร้ า ง การส่งออกคล้ายกับไทย และยังได้รบั สิทธิพเิ ศษ ทั้งจาก GSP และ FTA เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม มาเลเซีย และเม็กซิโก เป็นต้น

11


Implication

• สินค้าส่งออกหลักที่จะได้รับผลกระทบค่อนข้างมาก ได้แก่ กุ้งแช่แข็ง ปลาหมึก และจักรยานยนต์ โดยสินค้าเหล่านี้มีการพึ่งพาตลาดยุโรปค่อนข้างมาก และได้ใช้สิทธิ ประโยชน์ GSP ในอัตราทีค่ อ่ นข้างสูง อย่างไรก็ตาม สัดส่วนของสินค้าทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบ ต่อการส่งออกไทยทั้งหมดยังมีขนาดค่อนข้างเล็กคิดเป็นสัดส่วนเพียง 0.5% ของการ ส่งออกทั้งหมด • สำหรับผลกระทบในรายธุรกิจนั้น ผู้ส่งออกสินค้าที่มีอัตราการใช้สิทธิ์ GSP ค่อนข้างมาก และมีการพึ่งพาตลาดยุโรปเป็นหลักจะต้องปรับตัว โดยสินค้าที่มีการ ใช้สิทธิ์ GSP เกิน 80% ได้แก่ กุ้งแช่แข็ง คอมเพรสเซอร์ตู้เย็น จักรยานยนต์ เม็ดพลาสติก เครื่องนุ่งห่ม และปลาหมึก เป็นต้น ซึ่งหากผู้ส่งออกสินค้าเหล่านี้มีการพึ่งพาตลาดยุโรป เป็นหลัก ควรปรับตัวในระยะสั้น โดยเพิ่มคุณภาพ หรือยกระดับสินค้าให้มีความแตกต่าง จากคู่แข่งเพื่อสร้างความได้เปรียบ อีกทั้งควรหาตลาดใหม่ๆ เช่น กลุ่มตลาดเกิดใหม่ (Emerging market) เพื่อลดการพึ่งพาการส่งออกไปยังสหภาพยุโรป • การปรับตัวระยะกลาง และยาวนัน้ ควรมีการออกไปลงทุนในประเทศทีย่ งั ได้รบั สิทธิพิเศษทางด้านภาษีอยู่ ผู้ประกอบการควรเริ่มเข้าไปลงทุนในกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม) ให้มากขึ้นเพื่อใช้สิทธิพิเศษทางภาษี ทั้งนี้ เวียดนามยังคงได้รับสิทธิพิเศษ GSP ส่วนลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ได้รับสิทธิยกเว้น ภาษีศุลกากรในทุกรายการยกเว้นสิทธิในสินค้ากลุ่มอาวุธ (Everything But Arms: EBA) นอกเหนือจากสิทธิพเิ ศษทางภาษีทผี่ ปู้ ระกอบการจะได้รบั จากการเข้าไปลงทุนในกลุม่ ประเทศ ดังกล่าวแล้ว ยังเพิ่มข้อได้เปรียบจากค่าแรงที่ต่ำกว่าไทยอีกด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

12

• นอกจากนี้ ผู้ส่งออกสินค้าทะเลแช่งแข็งยังจะได้รับผลกระทบจากการปรับลด อันดับไทยสู่ระดับต่ำสุด (Tier 3) ในรายงานการค้ามนุษย์ 2014 ของสหรัฐฯ โดย ไทยถูกปรับลดอันดับลงมาอยู่ในบัญชีกลุ่ม Tier 3 ซึ่งถือเป็นกลุ่มประเทศที่มีสถานการณ์ การค้ามนุษย์ในระดับเลวร้ายที่สุด ทั้งนี้การปรับอันดับครั้งนี้ส่งผลกระทบต่อภาพพจน์ของ สินค้าไทยในตลาดโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสินค้าในอุตสาหกรรมประมง เช่น กุ้งแช่แข็ง ทูน่ากระป๋อง และปลาหมึก ผลกระทบจากกรณีดังกล่าวมีแนวโน้มไม่น้อยไปกว่าผลกระทบ จากการตัดสิทธิ GSP ทัง้ นี้ สหรัฐฯ จะพิจารณามาตรการลงโทษไทยภายใน 90 วัน นับจาก วันทีถ่ กู ปรับลดอันดับ ดังนัน้ รัฐบาล และผูส้ ง่ ออกไทยควรเตรียมชีแ้ จงข้อเท็จจริงต่อภาครัฐ และเอกชนทั้งในสหรัฐฯ และประเทศอื่นๆ เพื่อป้องกันผลกระทบต่อการค้า และการส่งออก อย่างเร่งด่วน


รูปที่ 1: กรอบการเจรจาเขตการค้าเสรี (FTA) ไทย-สหภาพยุโรป

รูปที่ 2: ผลกระทบจากการถูกตัดสิทธิ GSP ของสินค้าไทย

ที่มา: การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของคณะผู้แทนถาวรไทยประจำองค์การการค้าโลก และ Trademap

Disclaimer: The information contained in this report has been obtained from sources believed to be reliable. However, neither we nor any of our respective affiliates, employees or representatives make any representation or warranty, express or implied, as to the accuracy or completeness of any of the information contained in this report, and we and our respective affiliates, employees or representatives expressly disclaim any and all liability relating to or resulting from the use of this report or such information by the recipient or other persons in whatever manner. Any opinions presented herein represent our subjective views and our current estimates and judgments based on various assumptions that may be subject to change without notice, and may not prove to be correct. This report is for the recipient’s information only. It does not represent or constitute any advice, offer, recommendation, or solicitation by us and should not be relied upon as such. We, or any of our associates, may also have an interest in the companies mentioned herein.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

โดย : ดร.อธิภัทร มุทิตาเจริญ, วรดา ตันติสุนทร SCB Economic Intelligence Center (EIC) EIC Online: www.scbeic.com

13


Food Feed Fuel ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

14

สรุปงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

ทิศทางธุรกิจอาหารสัตว์น้ำสู่ตลาด AEC วันที่ 9 กรกฎาคม 2557 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ

นางสาววารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการประมง กล่าวในงาน สัมมนา "ทิศทางธุรกิจอาหารสัตว์น้ำสู่ตลาดเออีซี" ว่า หลังจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีนโยบายเตรียมความพร้อมของภาคการเกษตร รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน หรือเออีซี ในปี 2558 โดยกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต และ พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ดังนั้น กรมประมงที่มีหน้าที่รับผิดชอบในส่วนของอุตสาหกรรมประมง และถือเป็นอุตสาหกรรมสร้างรายได้เข้าประเทศปีละกว่าสองแสนล้านบาท จึงเตรียมมาตรการต่างๆ ทั้งเชิงรุก และเชิงรับ เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมประมงเข้าสู่เออีซี อาทิ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ ควบคุมตรวจสอบการนำเข้าส่งออกสินค้าสัตว์น้ำ และปัจจัยการผลิตให้ได้คุณภาพมาตรฐาน ขณะที่มองว่าอาหารสัตว์น้ำยังจัดเป็นปัจจัยการผลิตที่สำคัญของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โดยปัจจุบันใช้อาหารสัตว์น้ำปริมาณมากกว่าหนึ่งล้านตันต่อปี เนื่องจากแนวโน้มการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำขยายตัวมากขึ้น ประกอบกับสัตว์น้ำตามธรรมชาติมีปริมาณลดลง ทำให้กรมประมง โดยสถาบันวิจัยอาหารสัตว์น้ำจืด จัดสัมมนาเชิงปฎิบัติการเรื่องทิศทางธุรกิจอาหารสัตว์สัตว์น้ำ สู่ตลาดเออีซี เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาหารสัตว์น้ำ เข้าใจถึงทิศทางธุรกิจอาหารสัตว์น้ำ และ มีส่วนร่วมเสนอข้อคิดเห็นแลกเปลี่ยนความรู้กัน โดยในงานมีหัวข้อการบรรยายมากมาย อาทิ ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปี 2575 กฎระเบียบควบคุมอาหารสัตว์น้ำกับเออีซี ซึ่ง ทั้งหมดนี้เพื่อส่งเสริมให้อุตสาหกรรมประมง สร้างมาตรฐานการผลิตเพื่อส่งออก และสามารถ แข่งขันในตลาดเออีซีได้อย่างภาคภูมิ


นอกจากโจทย์ความต้องการเพิ่มเท่าตัว ที่จะต้องทำเพื่อเพิ่มปริมาณให้สม่ำเสมอเพื่อ สร้างความมัน่ คงแล้ว สินค้าข้าวโพดต้องมีความ ปลอดภัย และความยั่งยืน ขณะนี้เกษตรกรไทยปลูกข้าวโพด และ เก็บเกี่ยวในฤดูฝนถึง 60% ซึ่งมีเชื้อราอัลฟาทอกซินมาก หากย้ายไปปลูก และเก็บเกีย่ วหลัง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล นายก สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวถึงประเด็น ยุทธศาสตร์อตุ สาหกรรมอาหารสัตว์ปี 2575 ว่า ปี 2556 ไทยผลิตอาหารสัตว์ทั้งหมด 15.5 ล้านตัน/ปี คาดว่าปี 2575 ไทยจะผลิตอาหาร สัตว์ 23.5 ล้านตัน/ปี เท่ากับว่าความต้องการใช้ วัตถุดิบมาผลิตต้องเพิ่มเกือบเท่าตัว ปัจจุบัน ไทยมีพนื้ ทีป่ ลูกข้าวโพด 5 ล้านไร่ หากต้องเพิม่ พื้นที่ปลูก 1 เท่าตัว จะหาพื้นที่เพิ่มที่ไหน

ฤดูฝนได้ครึ่งหนึ่ง ก็จะต้องจัดการมากขึ้น ถ้า ย้ายได้ เชื้อราอัลฟาทอกซินจะลดลงจาก 25% เหลือ 10-15% ปัญหาจึงมีว่าจะย้ายอย่างไร หรือถ้าไปนำเข้าจากกัมพูชา สปป.ลาว แทน แม้ไม่ผิด แต่ก็ไม่ถูก เพราะเกษตรกรภายใน ประเทศจะเดื อ ดร้ อ น อี ก ทั้ ง การหนี ไม่ ซื้ อ ข้าวโพดไทย ไปนำเข้าจากเมียนมาร์ ก็ต้องเจอ ปัญหาอยู่ดี "ต่อไปปลาป่นต้องหามาตรฐานเพือ่ สร้าง ความยั่งยืน ข้าว มันสำปะหลัง ก็ต้องยั่งยืน ต้องทำทุกตัว เพราะว่าอีก 5 ปีขา้ งหน้า ปัญหา เหล่านีม้ าแน่ อีก 10 ปี ต้องไปด้วยกันทัง้ หมด ทำคนเดียวไม่ได้ ต้องทำเป็นกลุ่ม" ในส่ ว นถั่ ว เหลื อ ง ปั จ จุ บั น ไทยนำเข้ า ถั่วเหลืองปีละ 4 ล้านตัน ในประเทศปลูก ถั่วเหลืองได้เพียง 7.5 หมื่นตัน โจทย์จึงมีว่า จะปลูกข้าว หรือถั่วเหลือง ใครจะเป็นผู้ตัดสิน ต้ อ งชั่ ง น้ ำ หนั ก ให้ ม าก อย่ า งไรก็ ต าม ต้ อ ง ร่วมกันเดินหน้าตามยุทธศาสตร์ เพิ่มปริมาณ สร้างความมั่นคง ความปลอดภัย และความ ยัง่ ยืน การรวมเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) สิงคโปร์ได้ประโยชน์เกือบทุกด้าน ไทย ก็ได้ แต่ยังมีจุดเสี่ยงอันตราย ภาคเอกชนต้อง จัดการให้ได้ อย่าไปโยนภาระให้รัฐบาลอย่าง

15


เดียว รัฐเพียงอำนวยความสะดวกให้เท่านัน้ แต่ กฎกติกาของโลกมันถาโถมเข้ามาตลอด นอกจากนี้ กระแสการสร้างความมั่นคง ด้านการเกษตรยังรวมไปถึงอาหารด้วย หาก ญี่ปุ่นไปลงทุนปลูกข้าวที่ไนจีเรีย และยังมีเหลือ ขายให้อิหร่าน ไทยจะเดือดร้อน เพราะตลาด ข้าวไทยในญีป่ นุ่ ไนจีเรีย ทวีปแอฟริกา รวมทัง้ อิหร่านมีปริมาณหลายล้านตันจะหายไปทันที หรือกรณีไทยสั่งนำเข้านมผงขาดมันเนยปีละ 5 หมื่นตัน หากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย เกิด โรคระบาด ปริมาณนำเข้าลดลงไปครึ่งหนึ่ง ไทยจะทำอย่างไรกับปัญหานี้ ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้ • ไทยผลิตอาหารสัตว์น้ำปีละ 1.5 ล้าน ตัน มูลค่าตันละประมาณ 20,000 บาท ไทย ต้องการใช้ข้าวโพดผลิตอาหารสัตว์ 6 ล้านตัน แต่ผลิตได้ 4-5 ล้านตัน ที่เหลือต้องนำเข้า จากประเทศเพื่อนบ้าน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

16

• เบทาโกร มีกำลังการผลิตอาหารสัตว์นำ้ รวม 2.5 แสนตันต่อปี เน้นอาหารปลาดุก ปลานิล กบ ปลาช่อน มีสัดส่วนการขาย 90% ในประเทศ 10% ส่งออกประเทศเพือ่ นบ้าน ซึง่ จะมีการจัดการฟาร์ม มาตรฐาน GAP การ พัฒนาสายพันธุ์ รูปแบบการเลี้ยง รณรงค์การ

ใช้เม็ดอาหารสัตว์ลอยน้ำ รวมทั้งการบันทึก ข้อมูล และการใช้ยารักษาโรคทีม่ ที ะเบียนให้กบั เกษตรกร • เบทาโกร ให้ความสำคัญกับอาหาร สัตว์ ต่อการรวมเป็น AEC 3 ประเด็น ได้แก่ ภาษี แรงงาน ข้าวโพด และคาดว่าจะสามารถ ส่งออกอาหารสัตว์ไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้ มากขึ้น ตามกระบวนการขั้นตอนที่ลดลง • ซีพี มีกำลังการผลิตอาหารสัตว์น้ำ 7 แสนตันต่อปี ซีพี กังวลเรื่องการขาดแคลน วัตถุดิบ และแรงงาน ขณะนี้ลดการใช้ปลาป่น จากการจับ และใช้ by product มากขึ้น • ไทยลักซ์ มี market share อันดับที่ 5-6 ของการผลิตอาหารสัตว์นำ้ (ปลา+กุง้ ) มีโรงงาน 3 แห่ง ได้แก่ สมุทรสงคราม เพชรบุรี สงขลา จั ด ตั้ ง ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาอาหารสั ต ว์ น้ ำ ที่ สมุทรสงครามด้วย มีฟาร์มปลานิล และปลา นิลแดง ที่กาญจนบุรี จำนวนกระชังเลี้ยงปลา ประมาณ 500 กระชัง สามารถผลิตปลาเนื้อ ได้ประมาณ 60 ตันต่อเดือน และมีบริษัท SMP Food Products ที่สมุทรสงคราม ผลิต อาหารแช่เยือกแข็ง อาหารพร้อมทาน 200 ตันต่อเดือน




มาตรการจูงใจในการส่งเสริมข้าวโพดที่ยั่งยืน วันที่ 1-3 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมโฆษิตฮิลล์ จังหวัดเพชรบูรณ์

Food Feed Fuel

สรุปกิจกรรมระดมสมองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ

สํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme-UNDP) กําลังอยู่ระหว่างการออกแบบโครงการ “ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดยั่งยืน” เพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดอย่างยั่งยืน รวมทั้งการขาย และบริโภคสินค้าซึ่งใช้ข้าวโพดที่ปลูก ยั่งยืนเป็นวัตถุดิบในการผลิต (ข้าวโพดซึ่งผ่านการรับรองมาตรฐานข้าวโพดยั่งยืน - sustainable maize standard) โดยทํางานร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในห่วงโซ่อุปทานข้าวโพด (maize supply chain) ได้แก่ (1) เกษตรกรซึ่งอยู่ต้นน้ำของห่วงโซ่อุปทาน ผ่านการอนุเคราะห์จาก สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (สปก.) ในการประสานงานกับเกษตรกรในพื้นที่ สปก. ให้ เ ป็ น ผู้ นํ า ร่ อ งในการปลู ก ข้ า วโพดยั่ ง ยื น (2) ผู้ ผ ลิ ต อาหาสั ต ว์ และผู้ เ ลี้ ย งสั ต ว์ ปี ก ซึ่ ง อยู่ กลางน้ำของห่วงโซ่อุปทาน และ (3) ห้างค้าปลีกซึ่งอยู่ปลายน้ำของห่วงโซ่อุปทาน โดยทํางาน ร่วมกับสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และหอการค้าไทย ในการประสานงานกับภาคเอกชน ทั้งนี้ โครงการมีองค์ประกอบการดําเนินการสามส่วนหลักๆ คือ (1) การพัฒนามาตรฐาน ข้าวโพดยั่งยืน (2) การออกแบบมาตรการจูงใจสําหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมการปลูก ข้าวโพดอย่างยั่งยืน รวมทั้งการขาย และบริโภคสินค้าซึ่งใช้ข้าวโพดที่ปลูกอย่างยั่งยืนเป็นวัตถุดิบ ในการผลิต และ (3) การถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกรในการปฏิบัติตามมาตรฐานข้าวโพด ยั่งยืน และการเสริมสร้างขีดความสามารถของหน่วยงานภาครัฐ (สปก.) ในฐานะที่เป็นหน่วยงาน ตรวจสอบ และการรับรองข้าวโพดที่ผ่านมาตรฐานยั่งยืนดังกล่าว (certifying body) ในส่วนของ การออกแบบมาตรการจูงใจสําหรับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย สํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ จะจัดการกิจกรรมระดมสมองและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ในวันที่ 1-3 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมโฆษิตฮิลล์ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยได้เรียนเชิญผู้แทนเกษตรกร ผู้ผลิตอาหาร สัตว์/ผู้เลี้ยงไก่ ผู้ค้าปลีก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ความเป็นมา

17


วัตถุประสงค์โครงการ ระดมสมอง และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการจูงใจที่เหมาะสมสําหรับผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดอย่างยั่งยืน รวมทั้งการขาย และบริโภคสินค้า ซึ่งใช้ข้าวโพดที่ปลูกอย่างยั่งยืนเป็นวัตถุดิบในการผลิต

รูปแบบกิจกรรม กิจกรรมประกอบไปด้วยกิจกรรมในส่วนที่จะมุ่งเน้นในเรื่องของการสร้างความเข้าใจของ องค์ประกอบต่างๆ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่ต้นทางการผลิต ไปจนถึงปลายทาง โดยจะใช้ 3 กิจกรรมย่อยเพื่อสร้างความเข้าใจ กิจกรรมที่ 1 คือการเข้าไปบริษัทบี.พี.อาหารสัตว์ จำกัด เพื่อรับทราบกระบวนการผลิต อาหารสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ดังรูปภาพ

กิจกรรมที่ 2 เข้าเยี่ยมชมเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มาตรฐาน GAP ที่ บ้านวังเหว หมู่ 4 ต.ยางงาม อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ เพื่อทราบถึงการผลิตต้นน้ำ ดังรูปภาพ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

18

กิจกรรมที่ 3 เพื่อให้การดําเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ กิจกรรมสร้างความเข้าใจ ห่วงโซ่อุปทานข้าวโพด คือการใช้บทบาทสมมติเพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เข้าใจถึงบทบาทของแต่ละ องค์ประกอบในห่วงโซ่อุปทาน มาพูดคุยระดมสมองร่วมกัน เพื่อช่วยกันเสนอแนะ พิจารณา ทางเลือก ทางออก ความเป็นไปได้ของแต่ละองค์ประกอบในห่วงโซ่อุปทาน และในภาพรวม


โดยใช้กิจกรรม : บทบาทสมมติ แบ่งออกเป็น 3 ฐานด้วยกัน ประกอบไปด้วย 1. ฐานเกษตรกร,  2. ฐานผู้ผลิตอาหารสัตว์,  3. ฐานผู้จำหน่ายเนื้อสัตว์ กิจกรรมนี้จะจำลองบุคคลที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทาน ทั้ง 3 ส่วน ผ่านการให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง มีการตั้งคำถาม และให้มีการระดมความคิดภายใต้บทบาทสมมตินั้นๆ โดยจะใช้เวลาประมาณ 30 นาที ในการทำความเข้าใจบทบาทของแต่ละกลุ่ม และใช้เวลาประมาณ 30 นาที ในการ พูดคุยตอบคำถาม อาจมีการยกตัวอย่างเพื่อสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ้น นำไปสู่ข้อเสนอแนะ ในตอนท้าย ดังรูปภาพ

สรุปกิจกรรมระดมสมอง จะเป็นการนำข้อมูลที่ได้จากวิธีการต่างๆ มาพูดคุยระดมสมอง ร่วมกัน เพื่อช่วยกันเสนอแนะ พิจารณา ทางเลือก ทางออก ความเป็นไปได้ของแต่ละองค์ประกอบในห่วงโซ่อุปทาน และในภาพรวม ดังรูปภาพ

• ความเห็นเกี่ยวกับมาตรการจูงใจที่เหมาะสมสำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการส่งเสริมการ ปลูกข้าวโพดอย่างยั่งยืน รวมทั้งการขาย และบริโภคสินค้าซึ่งใช้ข้าวโพดที่ปลูกอย่างยั่งยืนเป็น วัตถุดิบในการผลิต เพื่อใช้ในการหารือในการสัมมนาระดับประเทศต่อไปในเดือนตุลาคม 2557 • ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในห่วงโซ่อปุ ทานมีความเข้าใจเกีย่ วกับสถานภาพ บทบาท ข้อจำกัด และ ทัศนคติแต่ละฝ่ายมากขึ้น หลังจากผ่านการทำกิจกรรมบทบาทสมมุติ • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดยั่งยืน มากขึ้น หลังจากผ่านการรับฟัง รับรู้ สัมผัส และเห็นจากกระบวนการหารือ และสื่อที่จัดทำขึ้น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

19


ผู้ที่ได้รับประโยชน์ และกลุ่มเป้าหมาย

1. เกษตรกร สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิต และรายได้ รวมถึงมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่าง เหมาะสม 2. ภาคเอกชน มีความมั่นใจเกี่ยวกับสภาวะความสมดุล และเพียงพอในเรื่องปริมาณ และ คุณภาพของสินค้าเกษตร 3. รัฐบาล สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีไปยังเกษตรกรได้เพิ่มขึ้น และลดงบประมาณในการ เข้าไปแทรกแซงตลาด รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างเหมาะสม 4. ผู้บริโภค ได้บริโภคสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม 5. ลดการกีดกันการนำเข้าอาหารสัตว์จากต่างประเทศ 6. ข้าวโพดจะเป็นสินค้าการเกษตรที่ยั่งยืน จัดทำโดย : นายพุทธรักษ์ คำวงษ์ วันที่ 8 สิงหาคม 2557

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

20


ระหว่างวันที่ 16-20 มิถุนายน 2557 โดย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

Food Feed Fuel

รายงานการสำรวจปลาป่น และกากปาล์ม ครั้งที่ 2/2557

รายชื่อผู้เข้าร่วมสำรวจ 1. นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ 2. นางสาวญาณี มีจ่าย 3. นายจักรกฤษณ์ ผดุงสุนทรารักษ์ 4. นางสาวพรธิภัสร์ วัชรชัยภินันท์ 5. นางสาวกันยารัตน์ สุขเสาววิมล 6. นางสาวจุฬารัตน์ บัวเหลือง 7. นางสาวเกศรินทร์ แก้วมะณี 8. นางสาวสิรินทร์ วงศ์กิจรุ่งเรือง 9. นายกิตติพงศ์ วัตรสุนทร 10. นายอรรถพล ชินภูวดล

บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อินเทคค์ฟีด จำกัด บริษัท อินเทคค์ฟีด จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย

สรุปภาพรวมของการออกสำรวจในครั้งนี้ จากการเปิดอ่าวไทยตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 เป็นต้นมา พบว่าปลาสดที่จับในฝั่งอ่าวไทยมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นจากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย ส่วนของคุณภาพปลาป่นที่ผลิตได้ ยังเป็นไปตามคุณภาพของแต่ละโรงงาน มีบ้างบางพื้นที่ที่เรือ จับได้ปลาแป้นมาก ทำให้คุณภาพปลาป่นลดเกรดลงไปบ้าง จากการสอบถามทราบว่ามีโรงงาน ปลาป่นได้เลิกกิจการไปบางส่วนด้วย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

สมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย ได้ออกสำรวจวัตถุดบิ ปลาป่น และปาล์มน้ำมัน ครัง้ ที่ 2/2557 ตามเส้นทางฝั่งอ่าวไทย ประกอบด้วย จ.ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี กระบี่ และ นครศรีธรรมราช โดยเป็นการเข้าเยีย่ มชมโรงงานผลิตปลาป่น 6 แห่ง และโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม 2 แห่ง

21


ทางด้านปาล์มน้ำมัน ในช่วงต้นปี 2557 ฝนขาดช่วงทำให้เกิดสภาพภูมิอากาศแห้งแล้ง ยาวนานกว่าทุกปีที่ผ่านมา และมีฝนตกล่าช้ากว่าปกติ ทำให้การเก็บเกี่ยวผลผลิตจึงออกล่าช้า ซึ่งผลผลิตปีนี้มีการเก็บเกี่ยวออกมากสุดในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม และทยอยลดน้อยลง ในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฏาคม แต่ถึงอย่างไรผลผลิตปาล์มน้ำมันก็ยังคงมีออกอย่างต่อเนื่อง ตลอดทั้งปี การเก็บเกี่ยวผลิตต่อไร่นั้นคงที่ แต่พื้นที่เพาะปลูกมีโอกาสเพิ่มขึ้นได้ จากเกษตรกรที่ ปลูกยางพารา ได้หันมาปลูกปาล์มน้ำมันแทนการปลูกยางพารา อีกทั้งยังมีต้นปาล์มน้ำมันที่มี อายุครบกำหนดโค่นทิ้ง ที่ใช้พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันต่อเนื่อง ส่วนโรงงานสกัดน้ำมันพืชมีระเบียบ จากภาครัฐไม่ให้มีการขยาย และเปิดโรงงานเพิ่ม

สหอุตสาหกรรมปลาป่น อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์

ผู้ประสานงาน : คุณวิโรจน์ (ผู้จัดการโรงงาน) 089-910-7435 คุณสายใจ (ฝ่ายขาย) 081-835-5636 ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่นเกรดกุ้ง, ปลาป่น #1, ปลาป่น #2 เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 2 ไลน์ (ใช้ผลิต 1ไลน์ (หม้อ 11 ลูก) สำรอง 1 ไลน์ (หม้อ 10ลูก)) • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • ประสิทธิภาพในการผลิตได้ประมาณ 10 ตัน (ปลาสด) /ชั่วโมง • กำลังการผลิตสูงสุด 70-80 ตัน (ปลาสด)/วัน เดินเครื่องเต็ม กำลัง • ผลผลิตปลาป่นเฉลี่ย 16 ตัน/วัน แหล่งวัตถุดิบ : รับซื้อปลาสดจากหน้าท่า ท่าเรือประจวบ ราคารับซื้อวัตถุดิบ : 6-7 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : อยู่ระหว่างร่วมดำเนินการกับทางสมาคมปลาป่น

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

22


ปัญหาอุปสรรค : • ปลาสดมีราคาแพง และขาดคุณภาพ มีปริมาณน้อยลงเรื่อยๆ แต่ โดยรวมยังมากกว่าปีที่ผ่านมาเล็กน้อย สถานะภาพอื่นๆ : • มีการใช้แรงงานต่างด้าว และไม่มีปัญหาเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว • ขณะนี้โรงงานปลาป่นในประจวบปัจจุบันเหลือเพียง 1 โรงงาน จากเดิม 3 โรงงาน • ราคา Premium 1-3 บาท/กิโลกรัม

สากลมารีน โปรดักส์ อ.เมือง จ.ชุมพร

ผู้ประสานงาน : คุณสุรวัชร (ผู้จัดการโรงงาน) 080-533-8850 คุณสมพงษ์ (เจ้าของ) 089-772-5850

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่นเกรดกุ้ง และ ปลาป่น #1 เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 2 ไลน์ (หม้อ 6 ลูก) ผลิตได้ตลอดทั้งปี • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • กำลังการผลิตสูงสุด 80-100 ตัน (ปลาสด)/วัน เดินเครื่องอยู่ที่ 70-80% • ปริมาณผลผลิตปลาป่นสูงสุด 18 ตัน/วัน ต่ำสุด 7 ตัน/วัน • อยู่ระหว่างเพิ่มกำลังการผลิตให้เป็น 25 ตัน/วัน แหล่งวัตถุดิบ : รับซื้อจากสะพานปลา ระยะทางห่างจากโรงงาน 5 กม. ราคารับซื้อวัตถุดิบ : 8 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : ใช้ระบบเอกสารตาม GMP

23


ปัญหาอุปสรรค : • มีโรงงานปลาป่นมาก จึงเกิดการแย่งกันซื้อปลาสด บ่อปลารับซื้อ ในราคา 12 บาท/กิโลกรัม • มีปญ ั หาเรือ่ งคุณภาพเนือ่ งจากจับได้ปลาแป้นเยอะ ปริมาณปลาสด ลดลงจากปีที่แล้วเล็กน้อย สถานะภาพอื่นๆ : • มีการใช้แรงงานต่างด้าว มีปญ ั หาเรือ่ งการสือ่ สาร คนงานมีทงั้ หมด 14 คน • ราคา Premium 1-1.5 บาท/กิโลกรัม • มีรถบรรทุกแช่แข็งสำหรับรับปลาสดเอง

ทีอาร์เอฟ ปลาป่น อ.เมือง จ.ชุมพร

ผู้ประสานงาน : คุณอารีวรรณ (ผู้จัดการโรงงาน) 084-712-0050 คุณอัจฉรา - คุณจักรกฤษณ์ (เจ้าของ) ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่นเกรดกุ้ง เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 1 ไลน์ (หม้อ 9 ลูก) • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • กำลังการผลิตสูงสุด 80 ตัน (ปลาสด)/วัน เดินเครื่องเต็มกำลัง • ผลผลิตปลาป่นเฉลี่ย 20 ตัน/วัน แหล่งวัตถุดิบ : อ่าวชุมพร ระยะห่างจากโรงงานประมาณ 5 กิโลเมตร รับปลา อวนดำเท่านั้น ซื้อปลาสดจากต่างพื้นที่เช่น ระนอง, ขนอม ใช้รถน้ำแข็งขน ราคารับซื้อวัตถุดิบ : ปลาทู 6-8 บาท/กิโลกรัม, ปลาเหยื่อ 8-9 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : GMP, HACCP

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

24


ปัญหาอุปสรรค สถานะภาพอื่นๆ

: • เครื่องจักรเสียต้องหยุดผลิต 4 สัปดาห์ ก่อนคณะเดินทางมา สำรวจพอดี • ราคาปลาป่นเกรดกุ้ง ไม่ค่อยดี : • มีการใช้แรงงานต่างด้าวถูกกฎหมาย มีคนงานรวม 50 คน • มีแผนลดกำลังการผลิตลงเหลือ 50-60 ตัน (ปลาสด)/วัน เพือ่ ลด การเสียของเครื่องจักร • มี แ ผนสร้ า งห้ อ งเย็ น เพื่ อ เก็ บ รั ก ษาความสดปลาสด กรณี เ กิ ด เครื่องจักรเสีย • มีห้องแยกระหว่างเครื่องจักรกับจุดเก็บสินค้าอย่างชัดเจน • ขณะเข้าไปสำรวจโรงงานไม่ได้เดินเครื่องจักร

ทุ่งคาปลาป่น อ.เมือง จ.ชุมพร

ผู้ประสานงาน : คุณอดิศักดิ์ (เจ้าของ) 081-396-5571

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่น #1, ปลาป่น #2 (โปรตีนมากกว่า 60%) เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 2 ไลน์ • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • ฮอตออยล์ 1 ไลน์ (ปัจจุบนั เลิกผลิต และกำลังจะเปลีย่ นเป็นระบบ ไอน้ำ) • ประสิทธิภาพในการผลิตได้ประมาณ 6-7 ตัน (ปลาสด)/ชั่วโมง • กำลังการผลิตสูงสุด 150 ตัน (ปลาสด)/วัน

25


• ผลผลิตปลาป่นเฉลี่ย 25 ตัน/วัน • ผลผลิตปลาป่นที่ได้สูงสุด 48 ตัน/วัน ต่ำสุด 16 ตัน/วัน แหล่งวัตถุดิบ : ประจวบฯ, ชุมพร, ขนอม ราคารับซื้อวัตถุดิบ : 7-7.5 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : GMP, HACCP ปัญหาอุปสรรค : ปลาขาดคุณภาพ ไขมันสูงเนื่องจากมีปลาแป้นจำนวนมาก ซึ่งเป็น สาเหตุทำให้นำ้ ทะเลเน่าเสีย ประกอบกับมีลมมรสุม ทำให้ชว่ งนีป้ ลาน้อย มีปลาเข้าประมาณ 40-50 ตัน (ปลาสด)/วัน แต่โดยรวมยังถือว่า มีปลามากกว่าปีที่แล้ว สถานะภาพอื่นๆ : • มีคนงานรวม 60 คน แบ่งเป็นทีมผลิต 3 กะ 8 คน/กะ ทีมผสม 12 คน และคนงานขับรถ • ขณะเข้าไปสำรวจโรงงานหยุดเดินเครื่องจักร

สุชาโตปลาป่น อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ผู้ประสานงาน : คุณศศิทธิ์ 086-804-5855 คุณรุจาธิตย์ (เจ้าของ)

ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่น #2 (โปรตีนมากกว่า 60%), ปลาป่น #3 เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 2 ไลน์ (ใช้ผลิต 1 ไลน์ สำรอง 1 ไลน์) • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • กำลังการผลิตสูงสุด 120 ตัน (ปลาสด)/วัน • ผลผลิตปลาป่นสูงสุด 30 ตัน/วัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

26


แหล่งวัตถุดิบ : รับซือ้ จากท่าหน้าโรงงาน และมีรถไปรับจากแหล่งอืน่ ที่ สิชล ขนอม ท่าศาลา ราคารับซื้อวัตถุดิบ : ปลาแช่ลั้ง ปลากระตัก 6.8 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : GMP ปัญหาอุปสรรค : • CP ประกาศหยุดรับซื้อปลาป่น ทำให้โรงงานหยุดรับปลาทันที • ช่วงก่อนหยุดผลิตมีปลาเข้าประมาณ 40-50 ตัน(ปลาสด)/วัน สถานะภาพอื่นๆ : • มีการใช้แรงงานต่างด้าวแบบถูกกฎหมาย 4 คน มีคนงานทัง้ หมด 47 คน • อยู่ระหว่างจัดทำ HACCP มีแผนจะทำ GMP Plus, IFFO • โรงงานใช้กระบวนการเป่าลมเย็น 2 รอบ • มีห้องแยกระหว่างเครื่องจักรกับจุดเก็บสินค้าอย่างชัดเจน

สินอุดมอุตสาหกรรม อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ผู้ประสานงาน : คุณวรรณภัสสรณ์ (ผู้จัดการโรงงาน) 081-569-4920

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ผลิตภัณฑ์ปลาป่น : ปลาป่น #2 (โปรตีนต่ำกว่า 60%), ปลาป่น #3 เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • ไลน์การผลิตจำนวน 1 ไลน์ (หม้อ 9 ลูก) • ระบบการผลิตระบบไอน้ำ (Steam dried) • กำลังการผลิตสูงสุด 20-30 ตัน (ปลาสด)/วัน • ผลผลิตปลาป่นสูงสุด 6-7 ตัน/วัน

27


แหล่งวัตถุดิบ : รับซื้อจากหน้าท่าหน้าโรงงาน จะมีเรือชาวบ้านประมาณ 2 ตัน/วัน และมีรถมาส่ง จากท่าแพ ขนอม ท่าศาลา ราคารับซื้อวัตถุดิบ : 3.8-4 บาท/กิโลกรัม (อวนรุน, ลากคู่) ระบบมาตรฐาน : GMP, HACCP ปัญหาอุปสรรค : • CP ประกาศหยุดรับซื้อปลาป่น ทำให้โรงงานไม่มั่นใจราคารับซื้อ ปลาป่น สถานะภาพอื่นๆ : • ไม่มีการใช้แรงงานต่างด้าว มีคนงานทั้งหมด 20 คน • มีโรงงานอื่นหยุดผลิต ปลาจึงเข้ามาที่โรงงานมากขึ้น

เอส ซี เอ็ม ปาล์มออยล์ ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฏร์ธานี ผู้ประสานงาน : คุณสายไหม (เจ้าของ) 081-804-2091

ประวัติบริษัท : ดำเนินการตั้งแต่ปี 2554 มีกิจการลานเท ปาล์มด้วย ผลิตภัณฑ์ : น้ำมันดิบ, กากปาล์มรวม, ทะลายปาล์ม เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • เตาย่างขนาด 20 ตัน จำนวน 2 เตา เครือ่ งบีบน้ำมัน 2 เครือ่ ง • กำลังการผลิตสูงสุด 15 ตัน (น้ำมันดิบ)/วัน เดินเครือ่ ง 12 ชัว่ โมง • ผลผลิตสูงสุด 14 ตัน (น้ำมันดิบ)/วัน เดินเครื่อง 12 ชั่วโมง • ผลิตตลอดทั้งปี สัดส่วนการผลิตที่ได้ : น้ำมันปาล์มดิบ 17-18%, กากผสม 27-28% นอกนั้นเป็นทะลาย และความชื้นจากน้ำ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

28


แหล่งวัตถุดิบ : จากสวนท่าชนะ กระบี่ และจากลานในพื้นที่ ราคารับซื้อวัตถุดิบ : • ปาล์มร่วง 5.7-5.9 บาท/กิโลกรัม • ทะลายปาล์ม 3.8 บาท/กิโลกรัม ราคาขายวัตถุดิบ : • น้ำมันดิบ 22.50-23 บาท/กิโลกรัม (ราคาหน้าโรงงาน) • ทะลายปาล์ม 4 บาท/กิโลกรัม • กากหยาบ 1.5-1.7 บาท/กิโลกรัม • กากละเอียด 3.5 บาท/กิโลกรัม ระบบมาตรฐาน : ยังไม่มีเนื่องจากโรงงานเปิดได้ไม่นาน ปัญหาอุปสรรค : • ราคามีความผันผวน • น้ำมันล้นแท้งค์เก็บ (ขนาด 80 ตัน) ต้องหยุดเดินเครื่อง และรีบ แบ่งขาย • เครื่องบีบน้ำมันเสียบ่อยต้องแก้ไขทุกวัน สถานะภาพอื่นๆ : • โรงงานไม่มีเครื่องคัดแยกกาก จึงเป็นกากผสม • โรงงานรับซื้อทะลายมาขายต่อด้วย • กากละเอียดขายเพื่อใช้เลี้ยงปลาดุก กากหยาบใช้เลี้ยงในโรงเลี้ยง สัตว์จำพวก วัว หมู

เอเชียนอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม ต.อ่าวลึกใต้ อ.อ่าวลึก จ.กระบี่

ประวัติบริษัท : ดำเนินการตั้งแต่ปี 2530 ผลิตภัณฑ์ : น้ำมันดิบ, เมล็ดใน, ไฟฟ้า เครื่องจักร/กำลังการผลิต : • หม้อไอน้ำ 25 ตัน จำนวน 4 ตัว หัวบีบ 15 ตัน จำนวน 4 ตัว เครื่องนวดแยกทะลาย เครื่องกวนแยกเมล็ดกับเส้นใย และเครื่อง ผลิตกระแสไฟฟ้า • กำลังการผลิตสูงสุด 60 ตัน (ทะลายสด)/ชั่วโมง • ผลิตมากสุด 1,200 ตัน (ทะลายสด)/วัน สัดส่วนการผลิตที่ได้ : น้ำมันปาล์มดิบ 16-17%, เมล็ดใน 5%, ทะลายเปล่าประมาณ 50% แหล่งวัตถุดิบ : พังงา, กระบี่, สุราษฎร์ธานี ราคารับซื้อ : 4-5 บาท/กิโลกรัม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ผู้ประสานงาน : คุณเจษฏา (ผู้จัดการโรงงาน) 081-738-8573

29


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

30

ราคาขาย : • น้ำมันดิบ ขายตามราคาตลาด ช่วงนีอ้ ยูท่ ่ี 24-29 บาท/กิโลกรัม • เมล็ดใน ขายต่อไปยังโรงงานที่บีบเมล็ด 15 บาท/กิโลกรัม • กากดีเคนเตอร์ ให้กับชาวสวนที่มาขายปาล์มให้โรงงาน เพื่อใช้ เลี้ยง โค กระบือ ปลูกผัก • ทะลายเปล่าใช้ทำเชื้อเพลิง 30 บาท/ตัน ระบบมาตรฐาน : ISO 14001, Halal, GMP ปัญหาอุปสรรค : • ตลาดมีการแข่งขันสูง สถานะภาพอื่นๆ : • จำนวนพนักงาน 110-120 คน • ผลิตไฟฟ้าจากเส้นใยได้ 20 เมกกะวัตต์ ผลิตเพื่อใช้เองในโรงงาน และแบ่งจำหน่าย กฟภ. • แท้งค์เก็บน้ำมันดิบขนาด 700 ตัน 2 ถัง ขนาด 1,700 ตัน 1 ถัง และขนาด 2,200 ตัน 2 ถัง กระบวนการผลิตของโรงงาน : 1. ผลผลิตปาล์มสดเข้าเครื่องนึ่ง อุณหภูมิ 135 องศา จำนวน 120 นาที 2. เข้าเครื่องนวด เพื่อทำการแยกทะลายออก โดยจะใช้เวลา ตั้งแต่เข้าจนออกประมาณ 1 นาที 3. เข้าเครื่องกวนเพื่อแยกเมล็ดกับเส้นใยโดยแรงลม 4. เข้าหีบ กรองน้ำมันแยกกากดีเคนเตอร์ และส่งน้ำมันเข้าสู่ แท้งค์ 5. นำเส้นใยไปผลิตกระแสไฟฟ้า ส่วนเมล็ดในนำไปกะเทาะแยก กะลากับเมล็ดโดยใช้น้ำกรองคัดแยก จัดทำโดย นายอรรถพล ชินภูวดล สมาคมผู้ผ้ผลิตอาหารสัตว์ไทย




ด้วยสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ

Improving Meat Quality with Natural Antioxidants มนตรี ปัญญาทอง 1 และ นครินทร์ พริบไหว 2

ในปัจจุบันการผลิตปศุสัตว์เน้นไปที่การ ให้ผลผลิตสูงแต่ใช้ระยะเวลาในการเลีย้ งทีส่ นั้ ลง ลักษณะการผลิตทีม่ งุ่ เน้นด้านปริมาณ มักจะส่ง ผลในด้านลบกับลักษณะของคุณภาพเนื้อที่ได้ โดยพบว่ า สั ต ว์ ที่ โ ตเร็ ว ถึ ง แม้ ว่ า จะให้ เ นื้ อ ใน ปริมาณมาก แต่จะพบปัญหาในเรือ่ งคุณภาพเนือ้ และปัญหาอายุการเก็บรักษา ซึ่งเนื้อที่ได้จะมี คุณภาพต่ำ กลิน่ และรสชาติไม่เป็นทีพ่ งึ ประสงค์ รวมทั้งยังเก็บไว้ได้ไม่นาน เนื่องจากเนื้อที่ได้ หลังจากกระบวนการเชือดจะเกิดอนุมูลอิสระ (Free radical) ส่งผลให้เกิดการหืนของไขมัน หรือเกิดปฏิกิริยาที่เรียกว่า lipid oxidation โดยเฉพาะในเนือ้ ทีม่ ไี ขมันอยูส่ งู (Mielnik et al., 2005) นอกจากนี้เม็ดสี myoglobin ที่อยู่ใน กล้ามเนื้อแดงยังมีองค์ประกอบของเหล็กใน รูปของ Fe2+ และ Fe3+ ซึง่ เป็นมีคณ ุ สมบัตเิ ป็น สารเริม่ ต้นในกระบวนการ oxidation หรือเป็น สาร prooxidant (Susan, 2008) ดังนั้น จึงมี ความพยายามที่จะนำสารต้านอนุมูลอิสระจาก

1

ธรรมชาติ (Natural antioxidant) มาใช้ใน กระบวนการผลิตปศุสัตว์ โดยมีการใช้ใน 2 ลักษณะคือ การใช้ก่อนเชือด (Pre-slaughter stages) และการใช้หลังเชือด (Post-slaughter stages) หรื อ ในรู ป แบบของการเติ ม ลงใน อาหารสัตว์ และการเติมลงบนผลิตภัณฑ์เนื้อ โดยตรง หรือการเคลือบไว้ในบรรจุภณ ั ฑ์ (Ismail et al., 2008)

สารต้านอนุมูลอิสระที่ใช้ในการปรับปรุง คุณภาพเนื้อ สารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติที่นำ มาใช้ส่วนใหญ่เป็นสารที่สกัดจากพืช ผัก และ ผลไม้ชนิดต่างๆ เช่น สารสกัดจากเมล็ดองุ่น (Gape seed) โรสแมรี่ (Rosemary) และ ออริกาโน่ (Oregano) โดยสารที่ออกฤทธิ์เป็น สารต้านอนุมูลอิสระเป็นสารจำนวกฟีนอลิค (Phenolic compound) เช่น กรดฟีโนลิค (Phenolic acid) และสารแอนโธไซยานิน (Anthocyanins) เป็นต้น รวมทัง้ วิตามินซี (Vitamin C หรือ

สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา eak608@hotmail.com สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่

2

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

สารต้านอนุมูลอิสระในการผลิตปศุสัตว์

Food Feed Fuel

การปรับปรุงคุณภาพเนื้อ

31


Ascorbic acid) ก็ถือว่าเป็นสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติด้วยเช่นเดียวกัน (Valeria and Pamela, 2011) มีรายงานการปรับปรุงคุณภาพเนือ้ ด้วยการเสริมพืช รวมทัง้ สารสกัดจากพืชบางชนิด เช่น การเสริมออริกาโน่ และโรสแมรี่ลงในอาหารไก่เนื้อช่วยลดการเกิดปฏิกิริยา lipid peroxidation หรือการหืนของไขมันเมื่อเก็บเนื้อไว้ในตู้เย็นเป็นระยะเวลา 7 วัน รวมทั้งยังมีผล ในการยับยัง้ การเจริญของเชือ้ จุลนิ ทรีย์ (Antimicrobial activity) ได้อกี ด้วย (Simitzis et al., 2008; Wojdylo et al., 2007) นอกจากการเติมลงในอาหารให้กับสัตว์แล้วยังมีการเติมลงในภาชนะบรรจุภัณฑ์ เช่น การใช้วติ ามินซี และวิตามินอีเคลือบลงบนภาชนะทีใ่ ช้บรรจุเนือ้ วัว จากนัน้ ปิดด้วยฟิลม์ ถนอมอาหาร เก็บไว้ในตูเ้ ย็นเป็นระยะเวลา 7 วัน ซึง่ พบว่าการเกิดปฏิกริ ยิ า lipid oxidation ของไขมันในเนือ้ ลดลง และเนื้อยังคงมีสีแดงมากกว่าเนื้อปกติที่ภาชนะบรรจุไม่ได้เคลือบวิตามินซี และวิตามินอี (Ismail et al., 2008) หรือการใช้สารสกัดจากเมล็ดองุ่นผสมกับเนื้อไก่งวงบด ทำให้เนื้อไก่งวงสามารถ เก็บได้ยาวนานกว่าปกติ โดยพบว่าค่า malondialdehye (MDA) ซึ่งแสดงถึงการหืนของไขมัน ลดลงเมื่อมีการเสริมสารสกัดจากเมล็ดองุ่นที่เพิ่มขึ้น (Mielnik et al., 2005) ตารางที่ 1 ค่าความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระ (Oxygen Radical Absorbance Capacity; ORAC) ของพืชบางชนิด ค่า ORAC ชนิดของพืช ที่มา (mM Trolox equivalent/kg dry mass) ออริกาโน่ (oregano) 13,970 ± 545 David and Seema (2010) เปปเปอร์มิ้น (peppermint) 13,978 ± 550 David and Seema (2010) ขิง (ginger) 39,041 ± 18,835 David and Seema (2010) ข้าวโพด (corn) 728 ± 19 David and Seema (2010) มันฝรั่ง (potato) 1,098 ± 126 David and Seema (2010) ถั่วเหลือง (soybean) 5,409 ± 65 David and Seema (2010) รำข้าว (rice bran) 24,287 David and Seema (2010) ข้าวฟ่าง (sorghum) 100,800 David and Seema (2010) ข้าวเหนียวดำ 1,368.43 ± 41.27 Sangkitikomol et al (2010) (purple glutinous rice) ข้าวเหนียวดำ 1,279.58 ± 30.27 *งานวิจัยของผู้เขียน ยังไม่ได้ตีพิมพ์ (purple glutinous rice)* ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

32

ความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระ หรือค่า ORAC (Oxygen Radical Absorbance Capacity) เป็นค่าที่บ่งบอกความสามารถของสารในการจับกับอนุมูลอิสระ โดยหน่วยที่วัดจะ เทียบกับสารต้านอนุมูลอิสระมาตรฐาน คือ Trolox ค่า ORAC ที่สูง แสดงถึงความสามารถ ในการกำจัดอนุมูลอิสระที่สูงตามไปด้วย (David and Seema, 2010) จากตารางที่ 1 จะ


เห็นได้ว่า พืชบางชนิดมีความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระได้ในระดับสูง เช่น ออริกาโน่ เปปเปอร์มิ้น และขิง เป็นต้น ส่วนพืชบางชนิดที่ใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ เช่น ข้าวโพด และ ถั่วเหลือง มีความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระเช่นเดียวกัน แต่ค่า ORAC ไม่สูงมาก ยกเว้น รำข้าวที่มีค่า ORAC สูง เนื่องจากมีสารต้านอนุมูลอิสระที่เรียกว่าว่า Gamma-oryzanol อยู่ในน้ำมันรำ รวมทั้งข้าวฟ่างที่มีสารจำพวกแทนนิน (Tannin) ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารต้าน อนุมูลอิสระ (Montri et al., 2010) แต่มีรสชาติที่ฝาด และขมจึงมีความน่ากินค่อนข้างต่ำ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าพืชที่กล่าวมาจะมีสารต้านอนุมูลอิสระอยู่สูง แต่สารต้านอนุมูลอิสระเหล่านี้ ส่วนใหญ่จะละลายได้ในสารละลายที่มีแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบ ดังนั้น เมื่อสัตว์ได้รับเข้าไป สารต้านอนุมลู อิสระเหล่านีจ้ ะละลายออกมาในทางเดินอาหารน้อยมาก แตกต่างจากข้าวเหนียวดำ หรือข้าวก่ำ (purple glutinous rice) ซึ่งมีสารสีม่วงที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ สำคัญคือ แอนโธไซยานิดิน (Anthocyanidin) อยู่ที่ส่วนเปลือกข้าว หรือแกลบ และส่วนเยื่อหุ้ม เมล็ดข้าว หรือรำ ซึ่งสามารถละลายได้ดีในน้ำ (กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 2553) โดยจากการ วิเคราะห์ค่าความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระพบว่าข้าวเหนียวดำมีค่า ORAC เท่ากับ 1,279.58 ± 30.27 mM Trolox equivalent/kg และมีองค์ประกอบทางเคมีทสี่ ำคัญได้แก่ โปรตีน 6.39%, ไขมัน 4.89%, เยื่อใย 33.47%, เถ้า 13.87% และคาร์โบไฮเดรต 34.94% จึง น่าสนใจในการนำมาใช้เป็นอาหารเสริมเพื่อปรับปรุงคุณภาพเนื้อ รวมทั้งช่วยลดความเครียดจาก อนุมูลอิสระด้วย (กำลังอยู่ในช่วงของการศึกษาวิจัย)

รูปที่ 1 รูปแบบการใช้สารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติในการปรับปรุงคุณภาพเนื้อ Pre-slaughter stage

Animal 

Slaughter 

Meat

Post-slaughter stage Onto the meat surface Mixed with ground meat Package coat

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

diet

 Animal

33


สรุป การผลิตปศุสตั ว์ในปัจจุบนั ไม่ได้เน้นด้านปริมาณ เพียงอย่างเดียว ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องในวงการปศุสัตว์ ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร นักธุรกิจ และนักวิจัย จำเป็น ต้องศึกษาหาความรู้ และเทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้าไปตาม กระแสความต้องการของตลาด หรือผู้บริโภค โดยเฉพาะ เรื่องของคุณภาพเนื้อ ซึ่งไม่เพียงแต่ต้องมีรสชาติที่ดีแล้ว ยัง ต้องสามารถเก็บไว้ได้นานอีกด้วย กระบวนการ เสือ่ มสภาพของเนือ้ หลังการฆ่าเกิดขึน้ จากปฏิกิริยาการหืนของไขมัน ทำ ให้เนื้อมีกลิ่น และรสชาติไม่ดี รวมทั้งเก็บไว้ได้ไม่นาน จึง มีการนำเอาสารต้านอนุมูล อิสระที่ได้จากธรรมชาติมาใช้ ในการแก้ไขปัญหานี้ โดยมีรูปแบบ การใช้ทั้งก่อน และหลังฆ่า สารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ ที่ใช้ส่วนใหญ่มาจากพืชสมุนไพร มีการใช้ทั้งในรูปแบบผงแห้ง และในรูปแบบที่เป็นสารสกัด โดย การใช้ก่อน หรือหลังฆ่ามีข้อดี และข้อเสียบางประการคือ การใช้ก่อนฆ่าอาจจะไม่ส่งผล หรือ ส่งผลได้น้อยกว่าการใช้หลังฆ่า เนื่องจากสารต้านอนุมูลอิสระได้สัมผัสกับเนื้อโดยตรง แต่การใช้ หลังฆ่านี้อาจมีผลกระทบกับกลิ่น และรสของเนื้อที่อาจจะเปลี่ยนแปลงไปเพราะเนื้อสัมผัสกับสาร ต้านอนุมูลอิสระที่เติมลงไปนั่นเอง อย่างไรก็ตาม การใช้สารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ นอกจากการพิจารณาค่า ORAC หรือค่าความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระแล้ว จำเป็นต้อง ศึกษาคุณสมบัติในการละลายของสารต้านอนุมูลอิสระนั้น เพราะสารต้านอนุมูลอิสระส่วนใหญ่ จะไม่ละลายในน้ำ ดังนั้น ประสิทธิภาพในการกำจัดอนุมูลอิสระอาจจะไม่ดีพอตามที่คาดหวังไว้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

34


เอกสารอ้างอิง กรมวิทยาศาสตร์บริการ. 2553. แอนโธไซยานิน (Anthocyanin). ประมวลสารสนเทศพร้อมใช้. สำนักหอสมุด และศูนย์สารสนเทศเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มิถุนายน 2553. David, B. H. and Seema B. 2010. USDA Database for the Oxygen Radical Absorbance Capacity (ORAC) of Selected Foods, Release 2. Nutrient Data Laboratory Beltsville Human Nutrition Research Center (BHNRC) Agricultural Research Service (ARS). U.S. Department of Agriculture (USDA). 48 pages. Ismail, H.A., E. J. Lee, K. Y. Ko and D. U. Ahn. 2008. Effects of aging time and natural antioxidants on the color, lipid oxidation and volatiles of irradiated ground beef. Meat Science. 80: 582-591. Mielnik, M. B., E. Olsen, G. Vogt, D. Adeline and G. Skrede. 2005. Grape seed extract as antioxidant in cooked, cold stored turkey meat. LWT. 39: 191-198. Montri, P., P. Pongpiachan, P. Pongpiachan, Y. Pongpibul, and S. Mankhetkorn. 2010. Effects of Gamma oryzanol and Proanthocyanidin from purple glutinous rice bran (Oryza sativa L.) on antibody production and oxidative status in oxidative stress BALB/c mice. Inter J Curr Trends Sci Tech. 1(1): 42–52. Sangkitikomol W., T. Tencomnao and A. Rocejanasaroj. 2010. Effects of Thai rice black sticky rice extract on oxidative stress and lipid metabolism gene expression in HepG2 cells. Genetics and Molecular Research 9(4): 2086-2095. Simitzis, P. E., S. G. Deligeorgis, J. A. Bizelis, A. Dardamani, I. Theodosiou and K. Fegeros. 2018. Effect of dietary oregano oil supplement on lamb meat characteristics Meat Science. 79: 217-223. Susan B. 2008. Preserving beef quality with natural antioxidants. White paper. Product Enhancement Research. Cattlemen’s Beef Board and National Cattlemen’s Beef Association. Valeria, V. and Pamela W. 2011. Improving meat quality through natural antioxidants. CHILEANJAR. 71(2): 313-322.

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

Wojdylo, A., J. Oszmianski and R. Czemerys. 2007. Antioxidant activity and phenolic compounds in 32 selected herbs. Food Chemistry 105: 940-949.

35


Food Feed Fuel

บันไดห้าขั้น สู่

การเลี้ยงดูประชากรโลก 

เรื่องโดย โจนาทาน โฟลีย์ National Geographic Thailand

ทางออกของการเลี้ยงดูโลกที่หิวโหยทำได้ด้วยกาปรับเปลี่ยนวิธีคิด เวลาที่เรานึกถึงภัยคุกคามต่างๆ ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม เรามักนึกถึงรถยนต์ และปล่องควันไฟโรงงาน ไม่ใช่อาหารเย็น แต่ความเป็นจริงก็คือ ความต้องการ อาหารของมนุษย์ เป็นหนึ่งในหายนะรุนแรงที่สุดที่อาจเกิดกับโลกใบนี้ เกษตรกรรมเป็นสาเหตุสำคัญที่สุดประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดภาวะ โลกร้อน ภาคเกษตรปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมามากกว่ารถยนต์ รถ บรรทุก รถไฟ และเครื่องบินทั้งหมดรวมกัน ภาคการเกษตรใช้น้ำจาก แหล่งน้ำอันมีค่าอย่างหิวกระหาย และยังเป็นผู้ปล่อยมลพิษตัวฉกาจ เพราะ น้ำชะจากปุ๋ย และสิ่งปฏิกูลจากสัตว์ จะไปขัดขวางระบบนิเวศอันเปราะบางใน ทะเลสาบ แม่นำ้ และชายฝัง่ ทัว่ โลก ยังไม่ตอ้ งพูดถึงการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพที่เกิดจากแผ้วถางพื้นที่ป่าเพื่อทำเกษตร ปัญหาท้าทายสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากการเกษตรเป็นเรือ่ งใหญ่ และ จะยิ่งกลายเป็นเรื่องเร่งด่วนเมื่อเราพยายามตอบสนองความ ต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก เป็นไปได้มากว่า เมื่อถึงกลาง ศตวรรษนี้ เราต้องเลีย้ งผูค้ นเพิม่ อีก 2,000 ล้านคน หรือรวมแล้วมากกว่า 9,000 ล้านคน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

36


บันไดขั้นที่หนึ่ง หยุดขยายกิจกรรมการเกษตร ตลอดช่วงเวลาส่วนใหญ่ในประวัตศิ าสตร์ เมื่อมนุษย์ต้องผลิตอาหารเพิ่มขึ้น เราก็เพียง แผ้ ว ถางป่ า หรื อ ไถปราบทุ่ ง หญ้ า เพื่ อ ขยาย พื้นที่เพาะปลูก ที่ผ่านมาเราแผ้วถางพื้นที่ป่า ขนาดเกือบเท่ากับทวีปอเมริกาใต้เพือ่ ปลูกพืชผล และยิ่งใช้ที่ดินมากขึ้นไปอีกหรือพอๆ กับทวีป แอฟริกาเพื่อเลี้ยงปศุสัตว์ ผลกระทบ หรือที่ เรียกว่า “รอยเท้าการเกษตร” (agriculture’s footprint) ก่อให้เกิดการสูญเสียใหญ่หลวงต่อ ระบบนิเวศทั่วโลก แต่เราไม่อาจเพิ่มผลผลิต อาหารด้วยการขยายกิจกรรมการเกษตรอย่าง ไม่มที สี่ นิ้ สุดได้อกี ต่อไป การแลกป่าฝนเขตร้อน กับพื้นที่เพาะปลูกเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อม อย่างเลวร้ายที่สุดประการหนึ่งของเรา

บันไดขั้นที่สอง เพาะปลูกให้ได้มากขึ้นในที่ดินที่มีอยู่ การปฏิ วั ติ เ ขี ย วที่ เ ริ่ ม ขึ้ น ในทศวรรษ 1960 ช่ ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต ในแถบเอเชี ย และ ละตินอเมริกาด้วยการใช้พันธุ์พืชที่ดีขึ้น พึ่งพา ปุย๋ เคมี การชลประทาน และจักรกลการเกษตร แต่ ต้ อ งแลกกั บ ความสู ญ เสี ย ทางสิ่ ง แวดล้ อ ม ตอนนี้โลกควรหันไปให้ความสนใจกับการเพิ่ม ผลผลิตในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกทีอ่ ดุ มสมบูรณ์นอ้ ยกว่า โดยเฉพาะในทวีปแอฟริกา ละตินอเมริกา และ ยุโรปตะวันออก ซึ่งยังมี “ความแตกต่างของ ผลผลิต” ระหว่างระดับผลผลิตในปัจจุบัน และ ผลผลิตที่เป็นไปได้ในอนาคต จากการปรับปรุง

วิธีการเพาะปลูก ระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ ที่เที่ยงตรงและใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ตลอดจน แนวทางต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากเกษตรอินทรีย์ จะช่วยเพิ่มผลผลิตในภูมิภาคเหล่านี้อีกได้หลาย เท่าตัว

บันไดขั้นที่สาม ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อุตสาหกรรมการเกษตรเริม่ ประสบความ สำเร็จในการหาวิธีใหม่ๆ เพื่อให้สามารถใช้ปุ๋ย และยาฆ่าแมลงได้อย่างตรงจุด และมีประสิทธิภาพมากขึน้ เกษตรกรจำนวนมากสามารถผสม หรือปรับแต่งสูตรปุ๋ยเคมีที่เหมาะกับสภาพดิน ของตน ซึ่งช่วยลดการชะล้างของเคมีเกษตร ลงสู่แหล่งน้ำใกล้เคียงได้ นอกจากนี้ เกษตร อินทรีย์ยังลดการใช้น้ำ และสารเคมีลงอย่าง มากด้วยการใช้พืชคลุมดิน วัสดุคลุมดิน และ ปุ๋ยหมัก เพื่อพัฒนาคุณภาพดิน ประหยัดน้ำ และเพิ่มสารอาหาร เกษตรกรหลายรายมีวิธี จัดการน้ำที่ดีขึ้นกว่าเดิมมาก โดยหันไปใช้วิธี อื่นๆ ที่มีความแม่นยำ และเที่ยงตรงกว่าระบบ ชลประทานแบบเดิมๆ ที่ไร้ประสิทธิภาพ

บันไดขั้นที่สี่ เปลี่ยนอาหารการกิน ทุกวันนี้ คนในโลกกินพืชผลเป็นอาหาร โดยตรงเพียงร้อยละ 55 เท่านั้น ส่วนที่เหลือ กลายเป็นอาหารปศุสตั ว์ (ราวร้อยละ 36) หรือ แปรรู ป เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุตสาหกรรม (ราวร้อยละ 9) แม้คนจำนวนมาก จะบริโภคเนื้อ ผลิตภัณฑ์นม และไข่ที่ได้จาก สัตว์ในฟาร์มเพาะเลีย้ ง แต่พชื ทีก่ ลายเป็นอาหาร สัตว์เหล่านี้ มีเพียงเศษเสีย้ วเดียวเท่านัน้ ทีก่ ลาย

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ต่อไปนีค้ อื แผนการบันไดห้าขัน้ ทีอ่ าจช่วย แก้วิกฤติอาหารโลกได้

37


เป็นเนื้อ และนมให้เราบริโภคจากธัญพืชทุกๆ 100 แคลอรี ที่ใช้เลี้ยงปศุสัตว์ เราจะได้นมเพียง 40 แคลอรี ส่วนแคลอรีที่ได้จากไข่ เนื้อไก่ เนื้อหมู และเนื้อวัวจะอยู่ที่ 22, 12, 10 และ 3 แคลอรี ตามลำดับ การหาวิธีเลี้ยงสัตว์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และหันไปบริโภคอาหารที่ มีเนื้อสัตว์น้อยลง หรือแค่เปลี่ยนจากเนื้อวัวที่เลี้ยงด้วยธัญพืชไปเป็นเนื้อสัตว์อื่นๆ เช่น ไก่ หมู หรือวัวที่กินหญ้า ก็จะช่วยเพิ่มปริมาณอาหารทั่วโลกได้อย่างมหาศาล

บันไดขั้นที่ห้า ลดขยะ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

38

ราวร้อยละ 25 ของพลังงานจากอาหาร (แคลอรี) ทั่วโลก หรือคิดเป็นร้อยละ 50 ของ น้ำหนักอาหารทั้งหมด สูญหาย หรือกลายเป็นขยะก่อนที่เราจะบริโภคเสียอีก ในประเทศร่ำรวย ขยะส่วนใหญ่เหล่านั้นมาจากครัวเรือน ภัตตาคาร หรือซูเปอร์มาร์เก็ต ในประเทศยากจน ขยะอาหารมักเกิดขึ้นในกระบวนการระหว่างเกษตรกรกับตลาด อันเนื่องมาจากระบบการจัดเก็บ และการขนส่งที่เอาแน่เอานอนไม่ได้ ผู้บริโภคในประเทศพัฒนาแล้วอาจลดขยะได้ด้วยมาตรการ ง่ายๆ เช่น ตักอาหารให้น้อยลง กินอาหารที่เหลือจากมื้อก่อน และสนับสนุนให้ โรงอาหาร ภัตตาคาร และซุปเปอร์มาร์เก็ต ใช้มาตรการในการลดขยะ ในบรรดาทางเลือกทั้งหมดของการ สร้างความยั่งยืนทางอาหาร การลดขยะน่าจะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุดวิธีหนึ่ง




การศึกษาการร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการชักตัวอย่างเพื่อตรวจสารตกค้างจากยาสัตว์ ในสินค้าประมง เพื่อปกป้องอุตสาหกรรมของประเทศ

น.ส.ยุพา เหล่าจินดาพันธ์ (yupa@acfs.go.th) สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

การชั ก ตั ว อย่ า งเพื่ อ ตรวจวิ เ คราะห์ ใ น ห้องปฏิบัติการ เป็นการทวนสอบประสิทธิผล ของระบบประกันคุณภาพเพื่อการควบคุมยา สัตว์ตกค้างในการผลิตสินค้าจากสัตว์ ในกรณี สินค้าสัตว์น้ำที่มีราคาแพง และเป็นอุตสาหกรรมทีส่ ำคัญต่อเศรษฐกิจของไทย จำนวนและ ขนาดการเก็บตัวอย่างที่มากเกินความจำเป็น จนทำให้เกิดการสูญเสีย เสียค่าใช้จ่าย และ ยุง่ ยาก ทำให้เกิดความเสียเปรียบ หรือได้เปรียบ ในเชิงการค้าระหว่างประเทศ จนอาจถูกนำไป ใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้าได้ โดยเฉพาะเมื่อ กำหนดโดยองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ จึงเป็นที่มาของการศึกษาในการร่วมกำหนด มาตรฐานระหว่างประเทศเพื่อปรับแก้ไขให้ลด ขนาดของตัวอย่างลงนับเป็นการช่วยปกป้อง อุตสาหกรรมของประเทศ

Codex กับความปลอดภัยอาหาร ด้านยาสัตว์ตกค้าง ตามพันธกรณีข้อตกลงทางการค้าของ องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) โดยความตกลงว่ า ด้ ว ยการ บังคับใช้มาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช (Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ความ ตกลงว่ า ด้ ว ยอุ ป สรรคทางเทคนิ ค ต่ อ การค้ า (Agreement on Technical Barrier to Trade: TBT) เป็นความตกลงที่ประเทศสมาชิกมีข้อ ผูกพันที่จะต้องปฏิบัติ เพื่อให้มั่นใจว่าการนำ มาตรการด้านสุขอนามัย และสุขอนามัยพืช และ ด้านกฎระเบียบทางเทคนิค รวมถึงขัน้ ตอน การประเมินความสอดคล้องใดๆ จะไม่กอ่ ให้เกิด อุปสรรคที่ไม่จำเป็นต่อการค้าระหว่างประเทศ สำหรับความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการ สุขอนามัย และสุขอนามัยพืชได้ระบุอย่างชัดเจน ว่าให้ใช้มาตรฐานระหว่างประเทศ แนวปฏิบัติ (guideline) และข้อเสนอแนะ (recommendation) ที่กำหนดโดยคณะกรรมาธิการโครงการ มาตรฐานอาหารระหว่ า งประเทศ (Codex Alimentarius Commission หรือที่เรียกย่อๆ ว่า Codex นั้น เป็นองค์กรที่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2506 มีสมาชิกจำนวน 184 ประเทศ กับ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ระบบการควบคุมสารตกค้างจากยาสัตว์ ของประเทศ เป็นเรื่องที่มีความยุ่งยากซับซ้อน และละเอียดอ่อน ทีห่ น่วยงานภาครัฐต้องจัดทำ กฎระเบียบเพื่อป้องกันปัญหาสารตกค้างจาก ยาสั ต ว์ ที่ อ าจส่ ง ผลต่ อ สุ ข ภาพผู้ บ ริ โ ภคของ ประเทศตน ซึ่งประเด็นสารตกค้างจากยาสัตว์ จั ด เป็ น ปั ญ หาความปลอดภั ย อาหาร (food safety problem) ทีส่ ำคัญในสินค้าจากสัตว์เพือ่ การบริโภค

Food Feed Fuel

X E D CO

39


1 องค์กร และประเทศไทยเป็นสมาชิกเมื่อปี พ.ศ. 2512 Codex มีหน้าที่กำหนดมาตรฐาน อาหารระหว่างประเทศ โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก ในการคุ้มครองสุขอนามัยของผู้บริโภค และ ทำให้เกิดความเป็นธรรมทางการค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งประเทศสมาชิกรวมทั้งประเทศไทย และประเทศคูค่ า้ ทีส่ ำคัญของไทย ได้ใช้แนวทาง ตามมาตรฐานของ Codex ในการออกกฎหมาย กฎระเบียบ ในการควบคุมสินค้าเกษตร และ อาหารของประเทศ เพื่อความปลอดภัย และ ให้เหมาะสมต่อการบริโภค

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

40

ยาสัตว์ตกค้าง (Residues of Veterinary Drug) หรือสารตกค้างจากยาสัตว์ หมายถึง ยาสัตว์ทั้งที่เป็นสารตั้งต้น (parent drug) รวม ถึงสารที่เกิดจากกระบวนการสร้าง และสลาย (metabolites) และสารอื่นๆ ที่ติดมากับยาสัตว์ (associated impurities) ทีต่ กค้างในเนือ้ เยือ่ สัตว์ ผลิตผล และผลิตภัณฑ์ของสัตว์ซึ่งเป็นอาหาร มนุษย์ เนือ่ งจากในการเลีย้ งสัตว์เพือ่ การบริโภค ทัง้ ปศุสตั ว์ สัตว์ปกี หรือสัตว์นำ้ ปัจจุบนั เป็นการ เลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม ในพื้นที่จำกัดจะมี โอกาสเพิ่มความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของ โรค และแพร่กระจายโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน ยาจึงถูกนำมาใช้ในการเลี้ยงสัตว์ด้วยเหตุผล หลายประการ เช่น เพื่อการป้องกัน การรักษา โรค หรือเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้อาหารสัตว์ ดังนัน้ ปัญหาสารตกค้างจากยาสัตว์ ซึง่ มีความ ซั บ ซ้ อ น และละเอี ย ดอ่ อ น ที่ ป ระเทศต่ า งๆ จะกำหนดมาตรการควบคุมอย่างเข้มงวดเพื่อ คุม้ ครองผูบ้ ริโภคของประเทศตน ทัง้ การควบคุม การใช้ยาสัตว์ การใช้มาตรการห้ามนำเข้าสินค้า หรือมาตรการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่เข้มงวด

เพือ่ ป้องกันปัญหายาสัตว์ตกค้าง และเชือ้ ดือ้ ยา ที่มีผลต่อผู้บริโภค ดังกรณีวิกฤตการณ์ที่การ ส่งออกของไทยในปี พ.ศ. 2544 ได้รบั ผลกระทบ อย่างมากจากการตรวจพบสารตกค้างของคลอแรมเฟนิคอล และไนโตรฟูแรนส์ ในกุ้ง และไก่ ที่ส่งออกไปสหภาพยุโรป ที่มีการทำลายสินค้า และทำให้รัฐสูญเสียรายได้เข้าประเทศไม่น้อย กว่า 30,000 ล้านบาท Codex โดยคณะกรรมการสาขาสาร ตกค้างจากยาสัตว์ในอาหาร (Codex committee on residues of veterinary drug in foods, CCRVDF) มีหน้าที่จัดทำมาตรฐานระหว่าง ประเทศเกีย่ วกับสารตกค้างจากยาสัตว์ในอาหาร ทั้ ง การกำหนดปริ ม าณสารตกค้ า งสู ง สุ ด ใน อาหาร (Maximum Residues Limits) จัดทำ ข้อแนะนำ และแนวปฏิบตั ติ า่ งๆ ด้านการควบคุม การใช้ยาสัตว์ รวมถึงการชักตัวอย่าง (sampling) และการวิเคราะห์ (analysis) เฉพาะที่เกี่ยวกับ สารตกค้างจากยาสัตว์ในอาหาร โดย CCRVDF ได้จดั ทำแนวปฏิบตั ิ เรือ่ ง Codex guidelines for the establishment of regulatory programme for control of veterinary drug residues in foods (CAC/GL 16-1993) ซึง่ ประกาศใช้ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2536 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไป ใช้เป็นแนวทางในการจัดทำกฎระเบียบสำหรับ ควบคุมสารตกค้างจากยาสัตว์ในอาหาร ซึ่ง รวมถึงแนวทางการชักตัวอย่างในสินค้าจาก สัตว์ เช่น ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์และสัตว์ปีก ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ นมและไข่ (โดยแบ่งตามลักษณะ กลุม่ ผลิตภัณฑ์) เพือ่ ส่งห้องปฏิบตั กิ ารตรวจสาร ตกค้างจากยาสัตว์ว่าสอดคล้องตามมาตรฐาน หรือไม่ เช่น ไม่เกินเกณฑ์ค่า MRLs สำหรับ


ยาสัตว์ที่อนุญาตให้ใช้ หรือห้ามตรวจพบสำหรับยาสัตว์ที่ห้ามใช้ เนื่องจากมีปัญหาต่อสุขภาพ มนุษย์ เช่น คลอแรมเฟนิคอล และไนโตรฟูแรนส์ โดยในข้อกำหนดตารางการชักตัวอย่างสินค้าสัตว์น้ำ ได้กำหนดจำนวนการชักตัวอย่าง และขนาดตัวอย่างเพื่อส่งห้องปฏิบัติการสารตกค้างจากยาสัตว์ ไว้ดังนี้ ตารางที่ 1 การกำหนดจำนวนการชักตัวอย่าง และปริมาณตัวอย่าง สำหรับห้องปฏิบัติการตรวจสารตกค้างจากยาสัตว์ในสินค้าสัตว์น้ำ ชนิดกลุ่มสินค้า VII. กลุ่ม B - ชนิด 08 (สัตว์น้ำ) A. สัตว์น้ำในบรรจุภัณฑ์ (ย่อย) (สัตว์น้ำ เช่น ปลา กุ้ง ปู หอย (fish and shellfish) ยกเว้น หอยนางรม) ลักษณะสด แช่เย็น แช่แข็ง รมควัน หมัก B. ปลาในภาชนะ (ขนาดใหญ่) ขนาด 0.5-1.5 กิโลกรัม

วิธีรวบรวมตัวอย่าง สุ่ม 12 ตัวอย่างย่อย (subsamples). ขนาดตัวอย่างย่อยขั้นต่ำ ตัวอย่างละ 1 กิโลกรัม

ปริมาณขั้นต่ำของตัวอย่าง สำหรับห้องปฏิบัติการ 1000 กรัม

สุ่ม 12 ตัวอย่างย่อย. แต่ละตัวอย่างย่อย 1000 กรัม เป็นส่วนที่บริโภคได้ทั้งหมด มีขนาด 500 กรัม สุ่ม 12 ตัวอย่างย่อย 1000 กรัม

C. สัตว์น้ำจำพวกมีเปลือก เช่นกุ้ง ปู หอย (shellfish) ในภาชนะขนาดใหญ่ (ยกเว้นหอยนางรม) D. สัตว์น้ำอื่นๆ (รวมหอยนางรม) เก็บ 12-0.25 ลิตร ตัวอย่างย่อย 1000 กรัม VIII. กลุ่ม E - ชนิด 17 (ผลิตภัณฑ์ที่บริโภคได้จากสัตว์น้ำ) A. ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำกระป๋อง (สัตว์น้ำ สุ่ม 12 ตัวอย่างย่อย จำนวน 5 กระป๋อง 1000 กรัม เช่น ปลา กุ้ง ปู หอย ยกเว้น ต่อตัวอย่างย่อย หอยนางรม) B. ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำอื่นๆ สุ่ม 1 กิโลกรัมต่อตัวอย่างย่อย 1000 กรัม

การชักตัวอย่างเพื่อตรวจสารตกค้างจากยาสัตว์ เป็นการทวนสอบประสิทธิผลของระบบ ประกันคุณภาพเพื่อการควบคุมยาสัตว์ตกค้างในการผลิตสินค้าจากสัตว์ ดังนั้น ขั้นตอนในการ ระบุจดุ เก็บตัวอย่างเพือ่ ให้ได้มาซึง่ ตัวอย่างทีเ่ ป็นตัวแทนทีด่ ขี องรุน่ (lot) สินค้า เพือ่ ส่งห้องปฏิบตั กิ าร ทดสอบตรวจวิเคราะห์หาสารตกค้างจากยาสัตว์ จึงมีความสำคัญที่มีผลต่อความมั่นใจในผลตรวจ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

การร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศเพื่อแก้ไขตารางจำนวนการชักตัวอย่าง และ ขนาดตัวอย่างส่งห้องปฏิบตั กิ ารตรวจสารตกค้างจากยาสัตว์ในสินค้าประมงเพือ่ ปกป้อง อุตสาหกรรมของประเทศ

41


วิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ นอกเหนือจากวิธี การตรวจวิเคราะห์ ขณะเดียวกันก็ตอ้ งสามารถ นำไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างเหมาะสม จำนวน และขนาด การเก็บตัวอย่างไม่มากเกินความจำเป็น จนทำ ให้เกิดการสูญเสีย เสียค่าใช้จ่าย และยุ่งยาก ทำให้เกิดความเสียเปรียบหรือได้เปรียบในเชิง การค้าระหว่างประเทศ จนอาจถูกนำไปใช้เป็น ข้อกีดกันทางการค้าได้ โดยเฉพาะเมื่อกำหนด โดยองค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

42

จากตารางที่ 1 เป็นแนวทางของจำนวน การชักตัวอย่างสินค้าประมง หรือสินค้าสัตว์นำ้ ซึง่ ครอบคลุม สัตว์นำ้ หลายๆ ชนิด เช่น กุง้ ปลา ปู หอย ที่นับได้ว่าเป็นสินค้าสำคัญอย่างยิ่งต่อ เศรษฐกิจของไทย โดยเฉพาะกุ้ง ประเทศไทย ถือเป็นผูน้ ำการผลิตกุง้ และเป็นผูส้ ง่ ออกอันดับ ต้นๆ ของโลก นอกจากนั้น ศักยภาพการเลี้ยง กุ้ง และอุตสาหกรรมทั้งระบบของไทยอยู่ใน ลำดั บ ต้ น ของโลกเช่ น กั น แต่ ล ะปี มี ป ริ ม าณ ผลผลิตมากกว่า 5 แสนตัน คิดเป็นร้อยละ 26 ของผลผลิตโลก โดยผลผลิตกุ้งร้อยละ 90 ใช้เพื่อการส่งออก (ราวประมาณ 500,000 ตัน มูลค่าประมาณ 100,000 ล้านบาท) และ เพียงร้อยละ 10 ใช้เพื่อบริโภคภายในประเทศ สำหรับการส่งออกมีตลาดส่งออกที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ผลิตภัณฑ์กุ้งเพื่อการส่งออกแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งแปรรูป อาทิ กุ้ ง ต้ ม ปลอกเปลื อ กแช่ เ ยื อ กแข็ ง กุ้ ง เสี ย บไม้ กุ้ ง ชุ บ เกล็ ด ขนมปั ง เป็ น ต้ น จาก จำนวนตัวอย่างทีร่ ะบุในตารางได้กำหนดไว้เป็น จำนวนมาก อีกทั้งไม่ชัดเจนในบางผลิตภัณฑ์ ยกตัวอย่าง สัตว์น้ำในภาชนะบรรจุย่อย เช่น

กรณีสินค้ากุ้งแช่แข็ง ให้สุ่ม และเก็บรวบรวม ตัวอย่างถึง 12 กิโลกรัม แล้วลดขนาดลงเหลือ 1000 กรัม เพื่อส่งห้องปฏิบัติการทดสอบ วิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้าง หรือกรณีกุ้งกระป๋อง สุม่ 12 ตัวอย่างย่อย เก็บ 5 กระป๋องต่อตัวอย่าง ย่อย รวมเป็น 60 กระป๋อง จึงลดขนาดลง เหลื อ 1000 กรั ม เพื่ อ ส่ ง ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ทดสอบวิ เ คราะห์ ย าสั ต ว์ ต กค้ า ง ซึ่ ง สิ น ค้ า แช่แข็งผู้ประกอบการต้องสูญเสียกุ้งไปถึง 11 กิโลกรัม เป็นต้น จำนวนตัวอย่างทีม่ ากดังกล่าว ประกอบกับการทดสอบแบบทำลายตัวอย่าง ราคาสินค้าสัตว์น้ำที่จัดว่ามีราคาสูง และเมื่อ พิจารณาถึงปริมาณการส่งออกของไทย จึง นับว่ามีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการผลิตและ ส่งออกสัตว์น้ำของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน อุตสาหกรรมกุ้ง นอกจากนี้ ยังมีความยุ่งยาก และเป็นข้อเสียเปรียบในทางการค้าระหว่าง ประเทศของประเทศผู้ส่งออกอย่างชัดเจน ใน ขณะที่สินค้าชนิดอื่น เช่น เนื้อสัตว์ จะกำหนด ไม่มากเกินไปซึง่ มีความแตกต่างจากกรณีสนิ ค้า สัตว์น้ำ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่งชาติ (มกอช.) ได้เห็นความสำคัญ และ ตระหนั ก ถึ ง เรื่ อ งดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ ด ำเนิ น การ ร่วมกำหนดมาตรฐาน Codex และผลักดัน การแก้ไขตารางกำหนดแนวทางจำนวนการ ชักตัวอย่าง และขนาดตัวอย่างเพื่อส่งห้อง ปฏิ บั ติ ก ารตรวจสารตกค้ า งจากยาสั ต ว์ ใ น สินค้าประมง ให้มขี นาดทีเ่ หมาะสมเพือ่ ปกป้อง อุตสาหกรรมของประเทศ โดยในขั้นตอนการ ทบทวนมาตรฐาน Codex guidelines for the


ความสำเร็จของประเทศไทยในการร่วม กำหนดมาตรฐานระหว่ า งประเทศเพื่ อ ปกป้องอุตสาหกรรมของประเทศ ข้อกำหนดตามตารางที่ 1 มีการใช้มา อย่างยาวนานตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2536 ประเทศไทย ได้ศึกษา และจัดทำข้อมูลเพื่อใช้สนับสนุนใน หลายๆ ด้าน ดังนี้ • จำนวนการชั ก ตั ว อย่ า ง และขนาด ตัวอย่างตามตารางกำหนดใช้ร่วม และเฉพาะ เจาะจงกั บ ระบบการประกั น ความปลอดภั ย อาหารในการใช้ยาสัตว์ในสัตว์เพื่อบริโภคระดับ ประเทศตามมาตรฐานระหว่างประเทศ โดย การเก็บตัวอย่างตรวจยาสัตว์ตกค้าง เป็น secondary verification เนื่องจากมีการควบคุม ระบบการเลี้ยงในระดับฟาร์ม • การควบคุมระบบการผลิตของประเทศ โดยกรมประมง จากโซ่อุปทานการผลิตกุ้งขาว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

establishment of regulatory programme for control of veterinary drug residues in foods (CAC/GL 16-1993) ซึ่งปรับปรุงใหม่ในชื่อ Guidelines for the design and implementation of national regulatory food safety assurance programme associated with the use of veterinary drugs in food producing animal (แนวทางการออกแบบ และการปฏิบัติ ด้านกฎระเบียบในการประกันความปลอดภัย อาหารของประเทศเกี่ยวกับการใช้ยาสัตว์ใน สัตว์เพื่อการบริโภค) เป็นแนวปฏิบัติให้หน่วยงานภาครัฐออกแบบ และปฏิบัติเพื่อควบคุม สารตกค้างจากยาสัตว์ในระดับประเทศ และ ในทางการค้า ได้ถูกปรับปรุงให้ครอบคลุมทั้ง ระบบการควบคุมยาสัตว์เพื่อการประกันความ ปลอดภัยอาหารจากยาสัตว์ตกค้าง โดยประเทศ ไทยได้เสนอ ขอปรับแก้ไขตารางให้มีการใช้ จำนวนตั ว อย่ า งน้ อ ยลง ปริ ม าณขั้ น ต่ ำ ใช้ แนวทางเดียวกันกับที่กำหนดในสินค้าจากสัตว์ ชนิดอื่นๆ อีกทั้งการตรวจสารตกค้างจากยา สัตว์จะทำการตรวจในสัตว์น้ำเพาะเลี้ยงที่จัดได้

ว่ามีความเป็นเนื้อเดียวกัน จึงเป็นจุดเริ่มต้น สำคัญ ในการนำเรื่องนี้มาพิจารณาใหม่ โดยมี ประเด็นที่มีข้อโต้แย้งและข้อกังวลของประเทศ สมาชิก เช่น ปัจจัยทีท่ ำให้มนั่ ใจว่า laboratory sample ที่รวบรวมมานั้นเป็นตัวแทนของทั้ง lot (entire lot) ความแตกต่างระหว่างการ ชักตัวอย่างที่มาจากแหล่งเดียว กับที่มาจาก หลายๆ แหล่ง ความแตกต่างของระบบการ ทวนสอบ (verification) ในการนำเข้ า กับการตรวจติดตามภายในประเทศ และความ สอดคล้อง ทั้ง นี้ข้อมูลที่เสนอโดยประเทศ สมาชิกมีจำกัด และจำนวนตัวอย่างแตกต่างกัน ค่อนข้างมาก

43


แวนนาไมของประเทศไทย พบการเชือ่ มโยงระบบประกันคุณภาพด้านยาสัตว์ตกค้างของประเทศไทย ผ่านระบบการขึ้นทะเบียนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตลอดโซ่อุปทาน และยังมีระบบการรับรองการผลิต บนพืน้ ฐานการปฏิบตั ทิ างการเพาะเลีย้ งสัตว์นำ้ ทีด่ ี (Good Aquaculture Practices, GAP) ดังนัน้ ระบบประกันมาตรฐานยาสัตว์ตกค้างจึงเชื่อมโยงกันตลอดโซ่อุปทานภายใต้ระบบทะเบียนของ กรมประมง • ข้อมูลจากการศึกษาความไม่แน่นอนในตัวอย่าง (sampling uncertainty) กรณีศึกษา ในกุง้ ขาวแวนนาไม ในการวิเคราะห์ความสม่ำเสมอปริมาณ oxytetracycline ทีต่ กค้างในตัวอย่างกุง้ ที่เก็บจากตำแหน่งต่างๆ ในบ่อเลี้ยง โดยผลสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิผลของระบบควบคุม การผลิตภายใต้หลักการการปฏิบัติทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ดี (GAP) ว่าสามารถประกัน ความปลอดภัยจากยาสัตว์ตกค้างในสัตว์น้ำเพาะเลี้ยงเพื่อการบริโภคได้ ประเทศไทยได้ร่วมให้ความเห็นในขั้นตอนการร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ผ่าน การศึกษาเตรียมข้อมูลอย่างหนักแน่น เพื่อให้ประเทศสมาชิกทุกประเทศให้การยอมรับการแก้ไข ตารางจำนวนการชักตัวอย่างที่มีการใช้กันมาอย่างยาวนานประสบความสำเร็จ ให้กำหนดจำนวน การชักตัวอย่างให้มีขนาดตัวอย่างน้อยลง โดยยังคงมีจำนวนเหมาะสมเพื่อส่งห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ยาสัตว์ตกค้าง ซึ่งปรับแก้ไขเป็นการเก็บรวบรวมหน่วยตัวอย่าง เพียงพอกับตัวอย่าง สำหรับห้องปฏิบัติการเท่านั้น โดยกำหนดเพียง 500 กรัมของส่วนที่บริโภคได้ มีความชัดเจน โดยกำหนดเป็นตารางสำหรับสัตว์น้ำเพาะเลี้ยง และมีการปรับกลุ่มชนิดสินค้า ดังนี้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

44


ตารางที่ 2 การกำหนดจำนวนการชักตัวอย่างและปริมาณตัวอย่าง ส่งห้องปฏิบัติการตรวจยาสัตว์ตกค้างในสินค้าสัตว์น้ำ (ฉบับทบทวนแก้ไข) สัตว์น้ำเพาะเลี้ยง วิธีรวบรวมตัวอย่าง

VII. กลุ่ม B - ชนิด 08 (สัตว์น้ำ) A. สัตว์น้ำในบรรจุภัณฑ์ - แช่เย็น แช่แข็ง รมควัน หมัก (สัตว์น้ำ (fish and shellfish) เช่น ปลา กุ้ง ปู หอย ยกเว้นหอยนางรม) 1. บรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เก็บหน่วยตัวอย่างให้เพียงพอจากภาชนะ บรรจุที่เลือกไว้เพื่อรวมกันให้ได้ขนาดของ ตัวอย่างสำหรับห้องปฏิบัติการเก็บ 2. บรรจุภัณฑ์สำหรับขายปลีก เก็บหน่วยตัวอย่างให้เพียงพอจากภาชนะ บรรจุให้เลือกไว้เพื่อรวมกันให้ได้ขนาดของ ตัวอย่างสำหรับห้องปฏิบัติการ B. ปลาในภาชนะบรรจุขนาดใหญ่ เก็บส่วนที่บริโภคได้จากสัตว์น้ำให้เพียงพอ ขึ้นกับขนาดของสัตว์น้ำ C. สัตว์น้ำจำพวกมีเปลือกเช่นกุ้ง ปู เก็บตัวอย่างหอยให้เพียงพอ ขึ้นกับขนาด หอย ในภาชนะบรรจุขนาดใหญ่ VIII. กลุ่ม E - ชนิด 17 (ผลิตภัณฑ์ที่บริโภคได้จากสัตว์น้ำ) A. ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำกระป๋อง (ยกเว้น เก็บตัวอย่างเนื้อเยื่อให้เพียงพอกับตัวอย่าง หอยนางรม) สำหรับห้องปฏิบัติการ B. ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำอื่นๆ เก็บตัวอย่างขั้นต้นให้เพียงพอกับตัวอย่าง สำหรับห้องปฏิบัติการ

ปริมาณขั้นต่ำของตัวอย่าง สำหรับห้องปฏิบัติการ

500 กรัม ของส่วนที่บริโภคได้ 500 กรัม ของส่วนที่บริโภคได้ 500 กรัม ของส่วนที่บริโภคได้ 500 กรัม ของส่วนที่บริโภคได้ 500 กรัม ของส่วนที่บริโภคได้ 500 กรัม

การร่วมกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศเรื่องดังกล่าว จึงเป็นการปกป้องอุตสาหกรรม สัตว์น้ำที่สำคัญของประเทศ ลดความสูญเสียจากการเก็บตัวอย่าง ลดข้อเสียเปรียบ ทำให้ เป็นธรรมทางการค้าระหว่างประเทศ สามารถปฏิบัติได้สอดคล้องกับแนวทางของประเทศโดย กรมประมงในการเก็บตัวอย่างตรวจยาสัตว์ตกค้าง ณ จุดก่อนการส่งมอบสินค้า ณ ด่านสินค้าขาออก และเป็นที่ยอมรับของประเทศคู่ค้าสำคัญ เช่น สหภาพยุโรป ที่มีความเข้มงวด และให้ความสำคัญ กับประเด็นปัญหายาสัตว์ตกค้างอย่างยิ่ง อีกทั้งเป็นการตอกย้ำศักยภาพ และบทบาทผู้นำ ในการผลิต และเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันการส่งออกสินค้าสัตว์น้ำของไทยในตลาดโลก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ชนิดกลุ่มสินค้า

45


Market Leader

กรมประมงจ่อนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้ง

เร่งผลิตป้อนโรงเพาะฟัก-ปูพรมตรวจโรค ก.ค. นี้ กรมประมงเตรียมนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้ง จากต่างประเทศ นำมาขยายพ่อแม่พันธุ์ใหม่ เป็น 1 แสนตัว ป้อนโรงเพาะฟักที่พ่อแม่พันธุ์ ไม่ได้คุณภาพ ดีเดย์ ก.ค. นี้ เปิดบริการตรวจ โรคอีเอ็มเอสในน้ำ ดิน ให้เกษตรกรก่อนปล่อย กุ้งลงเลี้ยง ที่ปรึกษา บริษัท ซีพี อินโดนีเซียชี้ ไทยเดินมาถูกทางแล้ว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

46

แหล่งข่าวจากกรมประมงเปิดเผยว่า ใน เร็วๆ นี้ กรมประมงจะนำเข้าพ่อแม่พันธุ์กุ้งขาว แวนนาไมที่แข็งแรงปราศจากเชื้อโรคกุ้งตาย ด่วน (อีเอ็มเอส) จากหลายแหล่งหลายประเทศ ที่อยู่ในข่ายนำเข้าได้ เช่น เกาะกวม หมู่เกาะ เอสไอเอส ฯลฯ ใกล้กับรัฐฟลอริด้า สหรัฐอเมริกา จำนวน 1,200 คู่ ซึ่งเมื่อรวมกับงบฯ ดำเนินการในส่วนนี้ ต้องใช้งบประมาณเกือบ 20 ล้านบาท จากนั้นจะนำมาเพาะขยายพันธุ์ เป็นพ่อแม่พันธุ์กุ้งได้ประมาณ 1 แสนตัว เพื่อ นำไปขาย หรือให้อย่างใดอย่างหนึง่ ตามเงือ่ นไข ที่คณะทำงานจะกำหนดออกมาแก่โรงเพาะฟัก ที่มีพ่อแม่พันธุ์ไม่ค่อยมีคุณภาพ จากปกติใน แต่ละปีไทยต้องใช้พ่อแม่พันธุ์ปีละ 3-4 แสนตัว มาเพาะฟักลูกกุ้ง ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ 3 ก.ค. 2557

"งบฯ กลางที่กรมขอไป 200 ล้านบาท ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกลัน่ กรอง ที่มี พล.อ.ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองหัวหน้าฝ่าย เศรษฐกิจ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ดู แ ลอยู่ แต่ เ มื่ อ ส่ ง ไปให้ คสช. ใหญ่ ที่ มี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะ คสช. พิจารณาได้รับการอนุมัติงบฯ กลาง 96 ล้าน บาท อย่างไรก็ตาม ถ้าหากงบฯ ไม่เพียงพอ ให้จัดสรรเงินจากงบฯ ปกติ ปีงบประมาณ 2557 มาดำเนินการ รวมทั้งตั้งงบฯ เพื่อ ดำเนินการตามงบฯ ปกติ ปีงบประมาณ 2558 ด้วย" ในเดือนกรกฎาคมนี้ กรมจะเริม่ ให้บริการ ตรวจโรคอี เ อ็ ม เอสในบ่ อ ดิ น ให้ กั บ เกษตรกร ผูเ้ ลีย้ งกุง้ ทะเลด้วยเทคนิค PCR โดยใช้ Primer ที่ได้รับการพัฒนาจากโครงการความร่วมมือ ระหว่างกรมประมงกับองค์กรระหว่างประเทศ ของญี่ปุ่น (ไจก้า) รวมทั้งตรวจโรงเพาะฟัก โรงอนุบาลลูกกุ้งทั่วประเทศ แหล่งข่าวกล่าวต่อว่า นับตั้งแต่มีการ ระบาดของโรคกุ้งตายด่วน (อีเอ็มเอส) ในไทย กรมประมงได้เร่งติดตามสถานการณ์ รวมถึง


การดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างใกล้ชดิ โดยได้ดำเนินการปรับปรุงสุขอนามัยโรงเพาะ ฟัก โรงอนุบาล และฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลอย่าง ต่อเนื่อง รวมทั้งให้คำแนะนำแนวทางการเลี้ยง กุ้ ง ทะเลในบ่ อ ดิ น ให้ กั บ เกษตรกรทั่ ว ประเทศ เพือ่ เร่งสกัดกัน้ การระบาดของโรค และลดความ เสี่ยงของเกษตรกร และผู้ประกอบการ ล่าสุด ได้ร่วมกับไจก้าญี่ปุ่นทำการพัฒนา Primer ที่มี ความรู้เฉพาะในการตรวจวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus ซึง่ เป็นสายพันธุท์ กี่ อ่ ให้เกิดโรคอีเอ็มเอส ทำให้สามารถตรวจวินจิ ฉัย ด้วยเทคนิค PCR ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ

นำ Primer ที่มีความเฉพาะเจาะจง ซึ่งได้รับ การพั ฒ นาจาก ดร.อิ คุ โ อะ ฮิ โ รโนะ มาใช้ ในการคัดกรองโรคอีเอ็มเอสในโรงพ่อแม่พันธุ์ กุ้งทะเล และโรงอนุบาลกุ้งทะเลทั่วประเทศ ซึ่ง พบว่าการนำเทคนิคดังกล่าวมาใช้ สามารถลด ความเสี่ยง และการสูญเสียให้แก่เกษตรกรผู้ เลี้ยงกุ้งได้เป็นอย่างดี แหล่งข่าวที่ปรึกษา บริษัท ซีพี พรีม่า (อินโดนีเซีย) จำกัด เปิดเผยว่า การจะนำเข้าพ่อ แม่พนั ธุท์ แี่ ข็งแรงปราศจากโรคจากต่างประเทศ และการใช้เทคนิค PCR ตรวจทุกขัน้ ตอนในห่วง โซ่อุปทาน ถือว่าไทยเดินมาถูกทางในการขจัด โรค ส่วนจะปรับยีนใน DNA ต้านทานโรคนี้ เพียงใด ก็แล้วแต่ความร่วมมือระหว่างกรม ประมง สวก. และญี่ปุ่น ส่วนการปรับปรุงพันธุ์ ของซีพี พรีมา่ (อินโดนีเซีย) กับซีพเี อฟของไทย ไม่เกี่ยวข้องกัน ต่างฝ่ายต่างปรับปรุง ซึ่ง ซีพี อินโดนีเซีย กุ้งจะโตช้ากว่าของไทย แต่มีความ ต้านทานโรคดีกว่า

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

"ทางญีป่ นุ่ เข้ามาช่วยเหลือ เพราะผลผลิต กุ้งในหลายประเทศแถบนี้ลดลงมาก ราคากุ้ง ถีบตัวขึ้นสูง ทำให้ร้านอาหาร และผู้บริโภค เดือดร้อน อีกทั้งกังวลว่าแบคทีเรียสายพันธุ์นี้ จะมีเชื้ออหิวาต์ จึงได้ดึงมหาวิทยาลัยโตเกียว ออฟ มารีน ไซเอ็นช์ และเทคโนโลยีเข้ามา ช่วยวิจัย และหาทางแก้ไข ปรากฏว่าไม่มีเชื้อ อหิวาต์ และสามารถที่จะตรวจสอบโรคนี้ได้ "ที่อินโดนีเซียไม่มีโรคนี้ ผลผลิตจึงอยู่ที่ แม่นยำ 100% และรวดเร็วเสร็จภายใน 2 วัน" 1.9-2 แสนตัน/ปี มานานกว่า 3 ปี คาดว่า นอกจากนี้ กรมประมงยั ง ได้ รั บ การ ปีนี้ผลผลิตจะเพิ่มเป็น 2.5 แสนตัน ของไทย สนับสนุนงบประมาณจากการวิจัยจากสำนัก- โชคร้าย เพราะมีปัจจัย 4 อย่างมาบรรจบกัน งานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.) จำนวน ทั้งเชื้อแบคทีเรีย Vibrio parahaemolyticus 11.7 ล้านบาท เพื่อดำเนินโครงการศึกษา โรคไวรัสต่างๆ สิ่งแวดล้อมแย่ลง และพ่อแม่ การระบาดวิทยา ปัจจัย สาเหตุ และแนวทาง พันธุ์ไม่ดี จึงเกิดโรคอีเอ็มเอสขึ้น" การแก้ไขปัญหาโรคตายด่วนในกุง้ ทะเลไทย โดย

47


Market Leader

วัตถุดิบขาดหนัก นำเข้ากุ้งพุ่ง 2 เท่า ดิ้นแปรรูปส่งออกรักษาฐานตลาด ส่งออกกุ้งไทยไม่พ้นวิบากกรรม วัตถุดิบ ขาดหนัก โดนซ้ำ ค้าแรงงานทาส นายกฯ อาหารแช่ แ ข็ ง แจง ต้ อ งนำเข้ า กุ้ ง อิ น เดี ย เวี ย ดนาม รั ก ษาตลาดเดิ ม พณฯ จั บ มื อ สภาหอฯ ส.อ.ท. ดิ้นแก้ข้อกล่าวหา ส่งทีมไป สหรัฐฯ แจงแรงงานไทยทั้งระบบ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังกระทรวงการ ต่างประเทศสหรัฐฯ ทบทวนบัญชีประเทศคู่ค้า ที่มีการค้ามนุษย์ โดยปรับลดไทยอยู่ในระดับ รุ น แรงที่ สุ ด หรื อ Tier 3 จากเดิ ม Tier 2 Watch List นั้น ขณะเดียวกันไทยต้อง ติดตามผลการพิจารณาทบทวนสถานะการใช้ แรงงานเด็ก และแรงงานบังคับ ประจำปี 2556 ด้วย ซึ่งกระทรวงแรงงานสหรัฐฯ จะประกาศ ในเดือน ก.ย. 2557 ว่า สินค้าปลา กุ้ง อ้อย และเครื่องนุ่งห่มของไทย ใช้แรงงานเด็ก และ แรงงานบังคับหรือไม่

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

48

ทัง้ นี้ มูลค่าการส่งออกสินค้า 4 รายการ ดังกล่าวไปสหรัฐฯ รวม 45,029.43 ล้านบาท แยกเป็นปลา 2,597.30 ล้านบาท, ปลาทูน่า 12,397 ล้านบาท, กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งและ แปรรูป 9,150.33 ล้านบาท เครื่องนุ่งห่ม 20,884.8 ล้านบาท และอ้อย 331.09 ล้าน บาท ที่มา : ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ 7 ก.ค. 2557

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า วันที่ 7 ก.ค. นี้ หอการค้าไทย จะเสนอแนวทางการแก้ปัญหา แรงงานทัง้ ระบบต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการร่วม ภาคเอกชน 3 สถาบัน (กกร.) ก่อนนำผลสรุป เสนอที่ประชุมคณะกรรมการร่วมภาครัฐ และ เอกชน (กรอ.) ในวันที่ 16 ก.ค. 2557 โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้า คสช. เป็น ประธาน

หอการค้าร่วมแรงต้านค้ามนุษย์ นายภูมินทร์ หะรินสุต รองประธาน กรรมการหอการค้าไทย เปิดเผยว่า ได้ตั้งคณะ ทำงานพัฒนาประสิทธิภาพแรงงาน ประจำปี 2556-2557 มีตนเป็นประธาน ร่วมกับคณะ กรรมการ 15 คน จะมุง่ เน้นกลไกการแลกเปลีย่ น ข้อมูลความคิดเห็น และข้อเสนอแนะแนวทาง พัฒนาประสิทธิภาพแรงงานอย่างเป็นรูปธรรม และเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ แนวทาง แก้ไขปัญหาแรงงานที่หอการค้าเสนอให้วาง


แผนระยะยาว 5-10 ปี เพือ่ เตรียมความพร้อม ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมไทย เนื่ อ งจากปั ญ หา แรงงานจะรุนแรงขึ้น โดยให้สนับสนุนสินเชื่อ แก่ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ที่ปรับปรุง และ พัฒนาธุรกิจ ใช้แรงงานให้น้อยลง และให้หยุด ใช้แรงงานผิดกฎหมาย ส่วนแรงงานประมงให้ บังคับขึ้นทะเบียนให้ถูกต้อง จดทะเบียนเรือ ประมง แจ้งเรือเข้า-ออก จากปัจจุบันที่มีผู้ ประกอบการกว่า 10,000 ลำ

รายงานจากกรมศุลกากรระบุว่า บริษัท นำเข้ า กุ้ ง สด แช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง สู ง สุ ด ในช่ ว ง 5 เดือนแรก ได้แก่ 1. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร 2. บจ. เมย์โอฟู้ดส์ 3. บจ. โอคินอสฟู้ด ใน เครือ TUF 4. บมจ. ไทยยูเนีย่ นโฟรเซ่นโปรดักส์ (TUF) 5. บจ. เคเอฟฟูด้ ส์ 6. บจ. พรีเซิรฟ์ ฟูด้ สเปเชียลตี้ 7. บจ. ไทย สพริง ฟิช 8. บจ. ห้องเย็น กู้ดฟอร์จูน 9. บจ. อันดามัน ซีฟู้ด 10. บมจ. แพ็คพู้ค ในเครือ TUF

ส่งออกกุ้งเดี้ยง ต้องนำเข้า 212%

แก้ปัญหาแรงงานขาด

นายพจน์ อร่ามวัฒนานนท์ กรรมการ เลขาธิการหอการค้าไทย และนายกสมาคม อาหารแช่เยือกแข็งไทย กล่าวว่า ปีนี้อุตสาหกรรมกุ้งได้รับผลกระทบสูงสุด ทั้งจากปัญหา บัญชีค้ามนุษย์ และขาดแคลนวัตถุดิบกุ้งจาก การระบาดของโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ทำให้ ผลผลิตกุ้งครึ่งปีแรก 2557 มีเพียง 80,000 ตัน จากที่ควรผลิตได้ 250,000 ตัน ภาค เอกชนต้องปรับตัวโดยนำเข้าวัตถุดิบกุ้งจาก ต่ า งประเทศมาผลิ ต ส่ ง ออกเพื่ อ รั ก ษาตลาด ลูกค้าเดิม

นายวัลลภ วิตนากร รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิด เผยว่า ในส่วนของปัญหาแรงงานต่างด้าวที่ เดินทางกลับประเทศ และกลับเข้ามาทำงาน ในไทยน้อยกว่าเดิมนั้น มีปัญหาเรื่องเอกสาร เมือ่ แก้ปญ ั หาดังกล่าวได้คาดว่าแรงงานต่างด้าว จะกลับเข้ามาอย่างปกติ แต่ไทยต้องเตรียม ความพร้อมรับเพื่อนบ้านเริ่มเปิดประเทศ และ พัฒนาอุตสาหกรรม อาจจะทำให้แรงงานขาด อีกใน 5-10 ปีข้างหน้า

พณ. ยันสหรัฐฯ ไม่แบนสินค้าไทย นายบุ ณ ยฤทธิ์ กั ล ยาณมิ ต ร โฆษก กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า ที่ไทยถูกจัดอยู่ ใน Tier 3 กฎหมายสหรัฐฯ อาจทำได้เพียง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

นายพจน์ กล่าวว่า การนำเข้าช่วง 5 เดือนแรกปี 2557 มี 7,069.74 ตัน เพิ่มขึ้น 96.91% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน มูลค่า นำเข้า 2,011.95 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 212.03% แหล่ ง นำเข้ า หลั ก คื อ อิ น เดี ย 29.92% อาร์เจนตินา แคนาดา เมียนมาร์ กรีนแลนด์ เวียดนาม แต่นำเข้ากุ้งเพียงหลักพันตัน ไม่ สามารถชดเชยกุ้งที่เคยผลิตได้ปีละ 5 แสนตัน ได้ ในช่วงครึ่งปีหลังขึ้นอยู่กับว่ากรมประมง ซึ่งเพิ่งจะได้รับงบฯ เพาะพันธุ์กุ้งรอบแรก จะ แก้ไขปัญหาได้หรือไม่

ด้านนายยุทธนา ศิลป์สรรค์วิชช์ เลขานุ ก ารสมาคมอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม ไทย ระบุว่า เตรียมจัดตั้งคณะทำงานร่วมภาครัฐ และเอกชนขึน้ ใน อ.แม่สอด จ.ตาก เพือ่ ทีจ่ ะดูแล ปั ญ หาแรงงาน และปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มจาก อุตสาหกรรม ส่วนเป้าการส่งออกเครื่องนุ่งห่ม ปี 2557 ยังคงเป้าขยายตัว 3-5% จากปีกอ่ น

49


ระงับให้ความช่วยเหลือด้านอื่น ที่ไม่ใช่ด้าน มนุษยธรรม และด้านการค้า เช่น เงินสนับสนุน โครงการแลกเปลี่ ย นด้ า นการศึ ก ษา และ วัฒนธรรม ความช่วยเหลือจากกองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) และธนาคารโลก หากใช้มาตรการห้ามนำเข้าสินค้าจากไทย โดย อ้างเหตุจากเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับการค้า เช่น ปกป้องสิ่งแวดล้อม คุ้มครองแรงงาน จะไม่ สอดคล้องบทบัญญัติองค์การการค้าโลก (ดับบลิวทีโอ) จึงไม่ต้องกังวลกับข่าวดังกล่าว

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

50

นายบุณยฤทธิ์ กล่าวว่า กระทรวงพาณิชย์ มีแผนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ปัญหา ระยะสั้น โดยประสานกับสำนักงานส่งเสริม การค้าระหว่างประเทศ ทำความเข้าใจ และ สร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผนู้ ำเข้าและผูบ้ ริโภค จัดทำ Facebook: the truth about Thai labour ชีแ้ จงข้อเท็จจริงการแก้ปญ ั หาแรงงานทัง้ ระบบ ของไทย แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการด้ า นการค้ า

และแรงงาน และรัฐบาลไทยจะมีหนังสือถึง รมต. ต่างประเทศสหรัฐฯ ชี้แจงข้อเท็จจริง และเรียกร้องไม่ให้สหรัฐฯ ระงับความช่วยเหลือ ไทยด้วย นอกจากนี้ จะจัดทีมเดินทางไปชี้แจงกับ ภาครัฐ และเอกชนในสหรัฐฯ ปลายเดือน ก.ค. เชิญคู่ค้าสำคัญอย่างห้างคอสโก, วอล-มาร์ต และเทสโก้ มาเยือนไทย ส่วนระยะยาว จะ ปฏิรูประบบแรงงานให้ได้มาตรฐานสากล และ พัฒนาอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็ง

แรงงานกัมพูชาทยอยเข้าไทย นางสาวเบญจวรรณ อ่านเปรื่อง ผู้ว่าราชการ จ.ตราด เปิดเผยว่า ได้เตรียมความ พร้ อ มจั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารจดทะเบี ย นแรงงาน ต่างด้าวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) และออกใบอนุญาตทำงานชั่วคราวให้แรงงาน เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา โดยใช้แนวทางศูนย์


ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ทางการกัมพูชา ได้ ปรับเปลี่ยนการออกเอกสารสำคัญให้แรงงาน ที่จะกลับทำงานในไทยหลายอย่าง จึงทำให้ แรงงานกลับเข้ามาน้อย เช่น พาสปอร์ต ต้องทำ ที่กรุงพนมเปญ ซึ่งออกได้วันละไม่เกิน 1,000 เล่ม ด้ า นนายหน้ า นำแรงงานผ่ า นจุ ด ผ่ า น แดนไทย-กัมพูชา เผยว่า ก่อนหน้านี้การนำเข้า แรงงานถูกกฎหมายต้องผ่านบริษัทจัดหางาน ในพนมเปญ มีคา่ ใช้จา่ ยทำเอกสาร 18,000 บาท ไม่รวมค่าวีซ่าทำงานอีก 200 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งนายจ้างส่วนใหญ่ใช้วิธีผ่อนรายเดือน เดือน ละ 2,000 บาท 9 เดือน แทนจ่ายเงินสด แต่หลังรัฐบาลกัมพูชาผ่อนปรนเกณฑ์ค่าใช้จ่าย ลง กลับไม่มีนายหน้าแจ้งนำเข้าแรงงานแม้แต่ คนเดียว

นายพิษณุวตั ร วรรธนะกุล หัวหน้าศูนย์ ประสานงานรับแรงงานต่างด้าวกลับเข้าทำงาน จ.สระแก้ว เปิดเผยว่า มีแรงงานชาวกัมพูชา กลับเข้ามาทำงานในไทยแล้ว 2,958 คน ส่วน จ.สมุทรสาคร มี 5,733 คน เป็นเมียนมาร์ 3,547 คน สปป.ลาว 745 คน กัมพูชา 1,441 คน

สื่อกัมพูชาเกาะติดสถานการณ์ ขณะที่สำนักข่าวพนมเปญโพสต์รายงาน ว่า ปัจจุบันแรงงานกัมพูชากลับเข้าทำงานใน ประเทศไทยต่อได้ แต่ต้องผ่านกระบวนการที่ ถูกต้องตามกฎหมาย โดยทางกัมพูชาได้ปรับ ลดค่าธรรมเนียมออกหนังสือเดินทางระหว่าง ประเทศจาก 124 ดอลลาร์ เหลือเพียง 4 ดอลลาร์ สำหรับนักเรียน และแรงงานข้ามชาติ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

บริการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวสมุทรสาคร เป็นแม่แบบ หลังเปิดศูนย์ ณ ศูนย์ราชการ ชายแดนบ้านหาดเล็ก อำเภอคลองใหญ่ 26 มิ.ย.-3 ก.ค.

51


Market Leader

ความจริงเกี่ยวกับ

การใช้แรงงานภาคประมง

ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกกุ้งแช่แข็งรายใหญ่ของโลกติดต่อกันมาหลายปี โดยเฉพาะ ตลาดสหรัฐฯ ที่เคยมีส่วนแบ่งตลาดสูงสุด ลูกค้าให้ความเชื่อถือ ไว้วางใจในคุณภาพกุ้งไทย ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงโดยเกษตรกรไทยที่มีความรับผิดชอบสูง ผ่านการแปรรูปโดยคนงาน ฝีมือดี อุตสาหกรรมกุ้งกลายเป็นวิถีชีวิตของผู้คนที่เกี่ยวข้องหลายแสนคน ล่าสุดนี้ มีข้อกล่าวหาจากสื่อ และองค์กรอิสระต่างชาติ ว่ามีการใช้แรงงานเยี่ยงทาสใน ห่วงโซ่การผลิตกุ้งไทย ตัวแทนสมาคมที่เกี่ยวข้องทั้ง 4 สมาคม ขอนำเสนอความจริงเพื่อความ เข้าใจที่ถูกต้อง ดังนี้

1. สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย ผู้ส่งออกกุ้งแช่แข็งจากประเทศไทยทุกรายเป็นสมาชิกของสมาคม โรงงานสมาชิกจะต้องมี ระบบจีเอ็มพี (GMP) และเอชเอซีซีพี (HACCP) เพื่อควบคุมด้านสุขอนามัย และความปลอดภัย ของอาหาร หน่วยงานหลักทีด่ แู ลคือ กรมประมง นอกจากนี้ ลูกค้าต่างประเทศยังกำหนดให้โรงงาน ทำการตรวจรับรองด้านความรับผิดชอบต่อสังคม คือ การรักษาสภาพแวดล้อม และการปฏิบัติ ต่อคนงาน โดยใช้หน่วยงานอิสระในการตรวจ และล่าสุด กระทรวงแรงงานร่วมกับกรมประมง จั ด ทำโครงการจี แ อลพี (Good Labor Practice: GLP) โดยมี อ งค์ ก าร แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) เป็นที่ปรึกษา และ ดำเนินการร่วมกับสมาชิก สมาคมมาระยะหนึ่งแล้ว ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

52

ดร.พจน์ อร่ามวัฒนานนท์ (คนกลาง) ปธ. สมาพันธ์ผู้ผลิตสินค้าประมงไทย นำทีมนายกสมาคม และผู้แทนสมาคมต่างๆ ได้แก่ ส. อาหารแช่เยือกแข็งไทย ส. กุ้งไทย ส. ผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และ ส. ผู้ผลิตปลาป่นไทย แถลงข่าวให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้แรงงานในอุตฯ กุ้งไทย ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 26 ฉบับที่ 312 กรกฎาคม 2557


ในด้านปัญหาแรงงานเด็ก และแรงงานบังคับ สมาคมได้ทำงานอย่างต่อเนือ่ งร่วมกับภาครัฐ ทัง้ ระดับท้องถิน่ และระดับชาติ โรงงานทีฝ่ า่ ฝืนระเบียบด้านมาตรฐานจริยธรรมจะถูกขับออกจาก การเป็นสมาชิก ผลงานที่เห็นได้คือ ในรายงานทิปส์ รีพอร์ต (TIPs Report) ล่าสุดนี้ มีการ กล่าวถึงกรณีกุ้งเพียงจุดเดียว คือ โรงแกะกุ้งที่ถูกดำเนินคดีไปแล้วในปี 2552

2. สมาคมกุ้งไทย สหรัฐฯ กำหนดให้กงุ้ ทีน่ ำเข้าจากไทยทัง้ หมดต้องมาจากการเพาะเลีย้ งเท่านัน้ ประเทศไทย เป็นผู้บุกเบิกด้านการเลี้ยงกุ้ง มีประสบการณ์กว่าสามสิบปี การเพาะเลี้ยงได้เปรียบการจับจาก ทะเลมาก ทั้งในด้านต้นทุนต่ำ และใช้ทรัพยากรน้อยกว่า เกษตกรผู้เลี้ยงกุ้งเป็นผู้เล่นหลักในระบบ การตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ของอุตสาหกรรมกุง้ และยังมีระบบตรวจสอบจีเอพี (Good Aquaculture Practice: GAP) เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม ภาคเกษตรกรผู้เลี้ยง ไม่เคยมีปัญหาด้านแรงงานเด็ก และแรงงานบังคับแต่อย่างใด

3. สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาชิกสมาคมมีเพียง 14 ราย ที่ผลิตอาหารกุ้ง ในปัจจุบัน ยอดขายอาหารกุ้งอยู่ที่ 350,000 ตันต่อปี ซึง่ ทำให้ความต้องการใช้ปลาป่นมีเพียง 100,000 ตัน โดยมีสว่ นประกอบอืน่ เช่น กากถัว่ เหลืองจากการนำเข้า เป็นต้น สมาชิกสมาคมซือ้ ปลาป่นในประเทศจากสมาชิกสมาคม ผู้ผลิตปลาป่นไทยที่ตรวจสอบได้ โรงงานผลิตอาหารสัตว์ โดยปกติจะมีการลงทุนด้านเครื่องจักรสูง อาศัยแรงงานไม่มาก

4. สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย

ภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง โดยสมาพันธุ์ผู้ผลิตสินค้าประมงไทย ได้ประกาศจุดยืนชัดเจนว่า จะไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก และแรงงานบังคับทุกรูปแบบ เราให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน ภาครัฐอย่างเต็มที่เพื่อขจัดขบวนการค้ามนุษย์ ไม่เพียงในวงการของเราเท่านั้น ต้องให้ครอบคลุม ทั่วทุกอุตสาหกรรม สำหรับผลงานที่เราได้ทำมาอย่างต่อเนื่องนี้ เราอยากประกาศความจริง ให้เป็นที่รู้ทั่วกันว่า “ไม่มีแรงงานทาสมาเกี่ยวข้องในวงการกุ้งแต่อย่างใดทั้งสิ้น” ที่มา : ข้อมูลจากงานแถลงข่าวความเป็นจริงด้านแรงงานในอุตสาหกรรมกุ้งไทย, 24 มิ.ย. 2557

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ปัจจุบนั มีสมาชิก 74 ราย ใช้วตั ถุดบิ จากโรงงานแปรรูปปลา และจากเรือประมงในประเทศ ปลาป่นที่จะใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอาหารกุ้งต้องมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนสูง โดยโรงงานอาหารสัตว์จะ ให้ราคาสูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยทั่วไป ซึ่งสำหรับความต้องการปีละ 100,000 ตัน เพื่อทำอาหารกุ้งนี้ 65,000 ตัน มาจากโรงงานแปรรูปปลา ส่วนใหญ่เป็นปลานำเข้า เช่น ทูนา่ ทีเ่ หลืออีก 35,000 ตัน ซื้อจากเรือที่ขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้อง

53


Market Leader

ทุกภาคส่วนร่วมใจ แก้ปัญหาอีเอ็มเอส ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง

ดร.จิราพร เกษรจันทร์ ผศ.น.สพ.วิศณุ บุญญาวิวัฒน์ รศ.ดร. สุภาวดี พุ่มพวง

นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล อธิบดีกรมประมง น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ

นายไชโย เก่งตรง

ดร.ชัยวุฒิ สุดทองคง

ดร.พุทธ ส่องแสงจินดา

เมือ่ วันที่ 21 กรกฎาคม 2557 ทีผ่ า่ นมา กรมประมง โดยกองผูเ้ ชีย่ วชาญ ร่วมกับสำนักวิจยั และพัฒนาประมงชายฝั่ง จัดสัมมนาเชิงวิชาการ “อีเอ็มเอสอยู่ร่วม เพื่อความอยู่รอด” มี วัตถุประสงค์เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลความก้าวหน้าการดำเนินงานด้านการวิจยั เพือ่ เร่งแก้ไขปัญหา โรคกุง้ ตายด่วน หรืออีเอ็มเอส (EMS) สูท่ กุ ภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมกุง้ ทะเล อันจะ เป็นประโยชน์ในการลดความสูญเสีย ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ ในการเพาะเลีย้ งกุง้ ทะเล งานนี้ ได้รบั เกียรติจาก นายนิวตั ิ สุธมี ชี ยั กุล อธิบดีกรมประมง มาเป็นประธานเปิดงาน มี ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการประมง เป็นผู้กล่าวรายงาน โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนา ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งทะเล ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ อาจารย์ นิสิตนักศึกษาสถาบันต่างๆ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้อง กับอุตสาหกรรมกุ้งทะเล ประมาณ 400 คน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

54

นายนิวตั ิ สุธมี ชี ยั กุล อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า “ตัง้ แต่ปี 2556 จนถึงปัจจุบนั อุตสาห- กรรมกุ้งประสบปัญหาหนักหน่วงอย่างมาก ที่มีปัญหาหลักๆ คือเรื่องการกีดกันทางการค้า การใช้แรงงาน การตายของกุ้งที่เกิดจากโรคอีเอ็มเอส จนส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งประเทศ ในกรณีอเี อ็มเอส กรมประมงได้ประสานงานกับนักวิจยั เพือ่ เร่งหาทางแก้ไข ... โดยส่วนตัวก็พยายาม ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 26 ฉบับที่ 312 กรกฎาคม 2557


สำหรับรายละเอียดเนื้อหาการสัมมนา ซึ่งแบ่งเป็น 2 ช่วง กล่าวคือ ช่วงเช้าเป็นการ บรรยายสรุปว่าสถานการณ์ทางด้านวิชาการ เกี่ยวกับโรคอีเอ็มเอส ส่วนช่วงบ่ายเป็นการ แบ่งปันประสบการณ์จากเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง และเจ้าหน้าที่กรมประมงเกี่ยวกับวิธีการแก้ไข ปัญหาอีเอ็มเอส ซึ่งได้รวบรวมมานำเสนอดังนี้

รู้จัก EMS และสถานการณ์ปัจจุบัน โดย ดร.จิราพร เกษรจันทร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคสัตว์น้ำ

ประเทศที่พบโรคอีเอ็มเอสประเทศแรก คือ จีน ต่อมาคือเวียดนาม มาเลเซีย ไทย และเม็กซิโก สำหรับประเทศไทย ประสบปัญหา โรคอีเอ็มเอสมาตั้งแต่ปลายปี 2554 เริ่มจาก ภาคตะวั น ออก บริ เ วณจั ง หวั ด ระยอง และ จันทบุรี จนกระทัง่ ปี 2556 ระบาดไปทัว่ ประเทศ โรคอีเอ็มเอสพบได้ทั้งในกุ้งขาวแวนนาไม กุ้ง กุลาดำ และกุ้งขาวจีน สิ่งที่จะบ่งชี้ว่ากุ้งเป็น โรคอีเอ็มเอส สังเกตได้จากความผิดปกติของ ตับ และตับอ่อนจะไม่มีไขมัน เซลล์ตับจะตาย และหลุ ด ลอก โดยสาเหตุ ข องโรคนี้ เ กิ ด จาก

เชื้อแบคทีเรียวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สร้าง สารพิษทำลายตับกุ้งให้ลีบ ฝ่อ กุ้งจะมีการ ตายสะสมมากกว่าร้อยละ 40 ใน 3-5 วัน ปัจจุบนั กรมประมงมีการให้บริการตรวจหาโรค อีเอ็มเอสด้วยฯ

ความก้าวหน้างานวิจัยกรมประมง เกี่ยวกับอีเอ็มเอส

โดย ดร.วารินทร์ ธนาสมหวัง ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการประมง กรมประมง ในส่วนงานวิจัยที่กรมประมงดำเนินการ มีอยู่ด้วยกันหลายโครงการ ได้แก่ โครงการ 1. ศึกษาแนวทางปฏิบตั ใิ นการจัดการทีเ่ หมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดปัญหา EMS/ AHPNS 2. การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลีย้ ง สัตว์น้ำ เพื่อความมั่นคง และความปลอดภัย ทางด้านอาหารในรุน่ หน้า 3. การศึกษาระบาด วิทยา ปัจจัยสาเหตุ และแนวทางการแก้ไข ปัญหาโรคตายด่วนในกุ้งทะเลในประเทศไทย และ 4. งานวิจัยสารสกัดข่าสามารถยับยั้งเชื้อ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ได้ และมีผลในการ กระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคในกุ้งทะเล ขณะนี้กำลัง อยู่ระหว่างของบประมาณเพื่อจัดซื้อเครื่องมือ สำหรับเพิ่มกำลังการผลิต

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค EMS และแนวทางการแก้ไขปัญหา

โดย ผศ.น.สพ.วิศณุ บุญญาวิวัฒน์ อาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน การศึกษาแนวทางปฏิบัติในการจัดการ ที่ เ หมาะสม เพื่ อ ลดความเสี่ ย งของการเกิ ด ปัญหาอีเอ็มเอส ดำเนินการที่ภาคตะวันออก บริ เ วณจั ง หวั ด จั น ทบุ รี และระยองเป็ น หลั ก

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ประสานงานให้เกิด “สมาพันธ์กงุ้ แห่งประเทศ ไทย” เพือ่ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันให้เกิดการพัฒนา ตลอดห่วงโซ่ ตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ ให้สอดคล้องกัน รวมทัง้ ปัญหาทีจ่ ะช่วยเหลือ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งเกีย่ วกับปัญหาทีเ่ กิดจากการ ตายด่วน ... ถ้าเราตัง้ ใจร่วมมือกัน ไม่วา่ จะทุกข์ หรื อ สุ ข เราก็ จ ะอยู่ ร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ และแก้ปัญหาได้อย่างชัดเจน ทั้งในเรื่องการ เตรียมลูกกุ้ง เตรียมบ่อ เทคโนโลยี โรคระบาด สายพันธุ์ ทุกอย่างช่วยๆ เกือ้ กูลกัน มันจะทำให้ ฟาร์มเล็กก็รอด ฟาร์มใหญ่ก็รอดด้วย”

55


เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่กลางปี 2556 จำนวน 100 ฟาร์ม 234 บ่อ และมีข้อมูลย้อนหลัง จากเกษตรกรไปจนถึงปลายปี 2555 มาร่วม สนับสนุนด้วย ผลการศึกษาปรากฏว่า แหล่ง ของลูกกุ้งมีความเสี่ยงที่ทำให้เกิด EMS ... การลงกุง้ เลีย้ งในบ่อมาก และการให้อาหาร 30 วั น แรกที่ ป ล่ อ ยกุ้ ง ลงเลี้ ย งมาก เพิ่ ม โอกาส เสี่ยงเป็นโรคอีเอ็มเอส การเติมน้ำในระหว่าง เลี้ ย ง การให้ กุ้ ง กิ น อาหารธรรมชาติ ใ นช่ ว ง แรก การใช้คลอรีนในการเตรียมบ่อ และการ กรองน้ำก่อนเข้าบ่อเลี้ยง สามารถลดความ เสี่ยงการเกิดโรคอีเอ็มเอสได้ การชำกุ้งเป็นวิธี การทีด่ มี ากในการป้องกันการเกิดโรคอีเอ็มเอส ในช่วง 30 วันแรก

Seed Copy กับ EMS

โดย รศ.ดร.สุภาวดี พุ่มพวง อาจารย์คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตศาสตร์

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

56

การผสมเลือดชิด (Inbreeding) หมายถึง การผสมระหว่างเครือญาติ เกิดขึ้นอยู่แล้วใน ประชากรธรรมชาติ โดยจะสะสมจากชั่วอายุ สู่ชั่วอายุ ดร.โรเจอร์ ดอยล์ นักพันธุศาสตร์ และปรับปรุงพันธุ์ เผยแพร่บทความเกี่ยวกับ ความเชื่อมโยงระหว่างการผสมเลือดชิดกับโรค อีเอ็มเอส โดยกล่าวว่า สาเหตุที่ทำให้เกิดการ ผสมเลือดชิด เริ่มจากโรงเพาะฟักฯ ไปซื้อลูก พันธุ์กุ้งจากโรงเพาะฟักจดทะเบียนที่ซื้อพ่อแม่ พั น ธุ์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมายมาจากศู น ย์ ปรับปรุงพันธุ์ มาพัฒนาเป็นพ่อแม่พันธุ์ (Seed Copy) ของตนเอง แทนที่จะซื้อมาเพื่อเลี้ยง ต่อเป็นกุ้งเนื้อ โดยลูกกุ้งที่ออกมาจะมีการผสม เลือดชิด และเกิดปัญหาตามมา ผลกระทบจาก การผสมเลือดชิดในกุ้งทะเล มีงานวิจัยพบว่า

ยิ่งค่าเลือดชิดสูง มีโอกาสสูงที่กุ้งจะตายจาก ความเครียด เนือ่ งจากสภาพแวดล้อมเสือ่ มโทรม ฯลฯ อย่างไรก็ตาม กุ้งที่ไม่มีเลือดชิด หรือมี อัตราการผสมเลือดชิดต่ำสามารถตายด้วยโรค อีเอ็มเอสได้ เพราะความมีเลือดชิดอยู่ในตัว ไม่ได้ทำให้กุ้งตาย แต่กุ้งตายเพราะได้รับเชื้อ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคสั ทีส่ ร้างสารพิษทำลาย ตับ การมีเลือดชิดเพียงทำให้กุ้งอ่อนแอกว่า ปกติ และเพิ่มโอกาสเป็นโรคมากขึ้น

Bio-floc Technology โดย น.สพ.สุวรรณ ยิ้มเจริญ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง จ.จันทบุรี

ตั้งแต่ปลายปี 2554 ที่ฟาร์มประสบ ปัญหาโรคอีเอ็มเอส ผลผลิตกุ้งเสียหายจำนวน มาก จึงพยายามทดลอง และหาวิธีแก้ไข จน ค้นพบว่า วิธกี ารเลีย้ งลูกกุง้ ในบ่อชำ (Semifloc) สามารถช่วยเลีย้ งกุง้ ผ่านวิกฤติอเี อ็มเอสได้ โดย ฟล็อกจะช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของลูกกุ้ง และลดระดับ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ที่ก่อ โรคในตัวกุ้งได้ รูปแบบการทำฟล็อกในปัจจุบัน มี 2 วิธีคือ ระบบไบโอฟล็อก (Biofloc) และ เซมิฟล็อก (Semifloc) ทัง้ 2 วิธี มีความแตกต่าง กันตรงที่ระบบ Biofloc ผลิตในโรงเรือนแบบ ไบโอซีเคียว เป็นโรงเรือนระบบปิด มีหลังคาคลุม สามารถควบคุมอุณหภูมิ แสง ไม่มแี พลงก์ตอน อาศัยการให้อากาศจากระบบเครื่องให้อากาศ ผู้ดูแลระบบต้องมีความรู้ทางวิชาการมากกว่า ระบบการเลี้ยงแบบทั่วไป และใช้งบประมาณ สูงกว่า 3 ล้านบาท ในขณะทีว่ ธิ แี บบ Semifloc คื อ ผลิ ต ในบ่ อ ชำ ไม่ มี ห ลั ง คาคลุ ม ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ และแสงไม่ ไ ด้ มี แ พลงก์ ต อนเป็ น ส่วนประกอบในฟล็อกเลย เรียกว่า Semifloc


นายนิวัติ สุธีมีชัยกุล (คนกลางใส่สูท) อธิบดีกรมประมง รับมอบหนังสือแสดงเจตจำนงร่วมกันพัฒนา และแก้ไข ปัญหาของอุตฯ กุ้งไทย ให้กลับมาเป็นผู้นำด้านการผลิต และส่งออกกุ้งของโลก จากนายบรรจง นิสภวาณิชย์ ในฐานะประธานสมาพันธ์กุ้งแห่งประเทศไทย พร้อมผู้แทน เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจากจังหวัดต่างๆ

เกษตรกรทั่วไปสามารถเลี้ยงได้หากได้รับการ ถ่ายทอดอย่างถูกต้อง และนำไปพัฒนาการเลีย้ ง อย่างเหมาะสม ใช้งบประมาณในการทำบ่อชำ ประมาณ 3-4 หมื่นบาท ข้อดีคือ ลดการแตก ไซส์/ขนาดของลูกกุ้ง ควบคุมคุณภาพน้ำได้นิ่ง พีเอชนิง่ อัลคาไลน์สงู รักษาระดับแร่ธาตุได้งา่ ย ทำให้ลูกกุ้งมีความสมบูรณ์ หัวใจของระบบนี้ เกษตรกรต้องมีระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์สำรอง เตรียมพร้อมไว้เสมอ เพื่อไม่ให้เกิดวิกฤติการ ขาดออกซิเจน

ไชโย Model

โดย นายไชโย เก่งตรง เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง จ.ประจวบคีรีขันธ์

อินทรีย์ สารอาหารตกค้างสูง วัฏจักรไนโตรเจนสูง มีแพลงก์ตอนมาก สีนำ้ เข้ม ไม่เหมาะสม ในการนำน้ำทะเลเข้าสู่บ่อเลี้ยงโดยตรง การจัดการระหว่างเลีย้ ง สิง่ สำคัญจะต้อง จัดการอยู่ 5 ข้อด้วยกันคือ 1. ต้องจัดการของ เสียที่เกิดจากการให้อาหารระหว่างเลี้ยง 2. จัดการการไหลเวียนของน้ำในบ่อ 3. จัดการ ปริมาณออกซิเจน 4. จัดการพีเอช (pH) และ 5. จัดการค่าอัลคาไลน์ โดยให้คำนึงถึงหลักการ ทีส่ ำคัญคือ สร้างธรรมชาติในบ่อเลีย้ งในปัจจุบนั ให้กลับไปเหมือนเมื่อ 30 ปีที่แล้วที่มีการเลี้ยง กุ้ง

การใช้หัวเชื้อจุลินทรีย์ (ปม. 1) ในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล การเลี้ ย งกุ้ ง ผ่ า นอี เ อ็ ม เอสของฟาร์ ม

โดน ดร.ชัยวุฒิ สุดทองคง นักวิชาการประมงชำนาญการพิเศษ กรมประมง

ตั้ ง แต่ ปี 2551 ศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นา ประมงชายฝั่ ง สมุ ท รสาคร ได้ ท ำการผลิ ต จุ ลิ น ทรี ย์ ปม. 1 และขยายแจกจ่ า ยให้ กั บ เกษตรกรเพื่ อ ใช้ แ ก้ ปั ญ หาการเลี้ ย งกุ้ ง โดย จุลินทรีย์ที่นำมาใช้ในการผลิตมี 3 สายพันธุ์ คือ บาซิลลัส ซับทิริส (Bacilus subtilis), บาซิลลัส ลิเซนิฟอร์มสิ (Bacilus licheniformis), บาซิลลัส เมกะทีเรียม (Bacilus megaterium)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ไชโย จากประสบการณ์ในการเลี้ยงกุ้ง พบว่า พันธุกรรม หรือสายพันธุ์กุ้งไม่ได้ส่งผลต่อการ เกิดโรคตายด่วน จึงหันมาพิจารณาในเรือ่ งของ สิ่งแวดล้อม เปรียบเทียบสิ่งแวดล้อมการเลี้ยง กุ้งเมื่อ 30 ปีก่อน กับปัจจุบัน พบว่า เมื่อ 30 ปีก่อน น้ำทะเลไม่มีตะกอน เชื้อโรค แบคทีเรีย ก่อโรคมีนอ้ ย วัฏจักรไนโตรเจนต่ำ อัลคาไลน์ตำ่ สีน้ำไม่เข้ม สามารถสูบน้ำทะเลผ่านการกรอง ทรายเข้าสูบ่ อ่ เลีย้ งได้เลย แต่นำ้ ทะเลในปัจจุบนั มีตะกอนมาก เชื้อโรค แบคทีเรียก่อโรค สาร

57


คุณสมบัติของหัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม. 1 สามารถ บำบัดสารอินทรีย์ที่ตกค้างสะสมในดิน และน้ำ ปรับปรุงคุณภาพดิน และน้ำให้เหมาะสมต่อการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกัน โรค ต้านทานโรคจากแบคทีเรีย ป้องกันโรค และ สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค และการ ใช้ยาปฏิชวี นะ สิง่ ทีต่ อ้ งพึงระวัง เกษตรกรห้ามใช้ จุลนิ ทรีย์ ปม. 1 ในช่วงเวลาเย็น หรือกลางคืน เพราะจุลินทรีย์ขยายตัวเร็ว และต้องการออกซิเจนมาก ปริมาณที่ใช้ต้องเพียงพอ และเวลา ที่ใช้จุลินทรีย์จะต้องอยู่ในรูปสิ่งมีชีวิต (Active) จึงจะก่อให้เกิดประโยชน์กับกุ้งได้

มาตรการกรมประมงกับแนวทาง การแก้ปัญหา EMS

โดย ดร.พุทธ ส่องแสงจินดา ผอ.สถาบันวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยง กุ้งทะเล สืบเนื่องจากกรมประมงได้รับงบประมาณสนั บ สนุ น ประจำปี 2557 เมื่ อ เดื อ น มิถุนายนที่ผ่านมา จึงได้จัดทำ “โครงการแก้ไข ปัญหาเร่งด่วนเพื่อควบคุม และลดการสูญเสีย ของสินค้ากุ้งทะเลจากกลุ่มอาการโรคตายด่วน (EMS)” ปีงบประมาณ 2557 มาตรการของกรมประมงกับแนวทาง การแก้ไขปัญหา EMS ได้แบ่งกิจกรรมดำเนิน การ 3 กิจกรรมด้วยกัน คือ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

58

1. นำเข้าพ่อแม่พนั ธุจ์ าก 3 แหล่ง แหล่ง นำเข้าแห่งแรกได้มีการติดต่อ และตกลงซื้อ ขายกับชริม้ อินฟอร์เมชัน่ ซิสเต็ม (Shrimp In-

formation System: SIS) เรียบร้อยแล้ว พร้อม ส่งมอบพ่อแม่พันธุ์ให้กับกรมประมงครั้งแรก จำนวน 500 คู่ แหล่งทีส่ องคือ จากมหาวิทยาลัย กวม สหรัฐฯ และแหล่งที่สาม คาดว่าอาจจะ เป็นกุ้งสายพันธุ์จากเท็กซัส พรีโม่ บรู๊ดสต๊อก (Texas Primo Broodstock) 2. เลีย้ งพ่อแม่พนั ธุใ์ นโรงเพาะฟักเอกชน โดยกรมประมงมี ก ารนำเข้ า พ่ อ แม่ พั น ธุ์ จ าก ต่างประเทศมาผลิตลูกพันธุ์กุ้ง ส่งมอบให้กับ โรงเพาะฟักเอกชนนำไปเลี้ยงต่อ และกระจายสู่ เกษตรกร ซึ่งกรมประมงมีเป้าหมายที่จะเลี้ยง พ่อแม่พันธุ์รุ่นเอฟ 1 ปลอดเชื้อในระบบไบโอซีเคียว ให้ได้ 100,000 ตัว หรือ 50,000 คู่ เพื่อให้เพียงพอสำหรับการใช้ในปี 2558 3. ผลิตลูกกุ้งนอเพลียส จำหน่ายลูกกุ้ง คุ ณ ภาพให้ กั บ เกษตรกรอย่ า งทั่ ว ถึ ง โดยมี กิจกรรมย่อยคือ การบริการคัดกรองโรคกุง้ ทะเล ด้วยพีซีอาร์ การจัดซื้อคุรุภัณฑ์เพิ่ม ศักยภาพ ห้องแล็บ (LAB) การผลิตจุลนิ ทรียผ์ ง 100,000 ซอง และการผลิตจุลนิ ทรียน์ ำ้ 150,000 ขวด ข้ า งต้ น เป็ น ข้ อ มู ล บางส่ ว นจากงาน สัมมนาฯ ที่กรมประมงตั้งใจจัดขึ้น เพื่อให้ทุก ภาคส่วนเข้าใจสถานการณ์ ความก้าวหน้าด้าน งานวิจัย รวมถึงแนวทางการแก้ไขปัญหาโรค อีเอ็มเอส มัน่ ใจว่า ด้วยความร่วมมืออย่างแข็งขัน จากทุกภาคส่วน อุตสาหกรรมกุง้ ไทยจะสามารถ ผ่านพ้นวิกฤติครั้งนี้ไปได้โดยเร็ว และกลับมา เป็ น ผู้ น ำด้ า นการผลิ ต และส่ ง ออกกุ้ ง ได้ อี ก ครั้งหนึ่ง




กุ้งตะวันออก

Market Leader

ระดมสมอง มองต่างมุม

ในงานสัมมนา “ระดมสมอง มองต่างมุม กุ้งตะวันออก” เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ซึ่งจัดโดยสำนักงานประมงจังหวัดจันทบุรี ร่วมกับ ชมรมผู้ เ ลี้ ย งกุ้ ง จั ง หวั ด จั น ทบุ รี ณ โรงแรมเคพี แ กรนด์ จังหวัดจันทบุรี เพื่อเพิ่มความมั่นใจแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้ง แลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะ แนวทาง วิธีป้องกัน แก้ไขปัญหาโรคตายด่วน หรืออีเอ็มเอส รวมทั้งทิศทางการพัฒนาการเลี้ยงกุ้ง ส่งออกคุณภาพอย่างยั่งยืน โดยในช่วงบ่ายมีผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการเลี้ยงจากภาค เอกชน นายพิเชษฐ์ กิ่งแก้วกลาง ผู้ชำนาญการอาวุโส บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อฟ ได้มาบรรยายในหัวข้อ “Light of Hope the Way to Success” และ น.สพ.ภานุวัต ชารี รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส ซีพีเอฟ บรรยายในหัวข้อ “สารอินทรีย์” เพื่อแลกเปลี่ยนมุมมองการเลี้ยงกุ้งอย่างไรให้ประสบความสำเร็จในภาวะวิกฤติโรคอีเอ็มเอส ให้พี่น้องเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งได้นำไปพิจารณาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการเลี้ยงกุ้งของตนเอง ซึ่งได้รวบรวมสรุปสาระสำคัญมานำเสนอดังนี้ วันนี้จะกล่าวถึงเรื่องของความหวังมากกว่าเรื่องของปัญหา Light of Hope the Way to Success หรือแสงแห่งความหวัง และเส้นทางแห่งความสำเร็จ โดยนำสิ่งที่ทำมานำเสนอ ให้กับทุกท่าน จากประสบการณ์ทำงานที่ผ่านมา มองว่า ปัญหาโรคกุ้งตายด่วนนั้นมีสาเหตุ มาจาก 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ 1) ปริมาณอินทรีย์สารที่สะสมอยู่ในบ่อเลี้ยงกุ้ง และในน้ำ 2) ความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำ และ 3) การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ซึ่งในปัจจัยที่กล่าวมา มีเพียง 2 ปัจจัยแรกที่เราสามารถควบคุม และจัดการให้ดีขึ้นได้ ส่วนปัจจัยเรื่องสภาพอากาศ เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถควบคุมจัดการได้ ที่มา : ข่าวกุ้ง ปีที่ 26 ฉบับที่ 312 กรกฎาคม 2557

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

Light of Hope the Way to Success

59


ที่ ผ่ า นมา ประเทศไทยประสบความ สำเร็จในการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมอย่างมาก “ผลผลิตเราเพิ่มขึ้นมาก ใช้คำว่ามหาศาล ใช้ เวลาเพียงแค่ 5 ปี เราผลิตกุง้ ได้ประมาณเกือบ 2 ล้านตัน ถ้าเป็นกุง้ กุลาดำใช้เวลาเกือบ 10 ปี ซึ่ ง สารอิ น ทรี ย์ จ ะสะสมที่ โ ครงสร้ า งของบ่ อ เราเอง โครงสร้างของฟาร์ม และก็สะสมไปใน สิ่งแวดล้อม อยู่ในระบบนิเวศ ในพื้นที่ชุ่มน้ำ และชายฝั่งต่างๆ ... โดยการสะสมจะมีลักษณะ ค่อยเป็นค่อยไป ปีแล้วปีเล่า สะสมทั้งคันบ่อ พื้นบ่อ ไม่ใช่ว่าเราจะฉีดล้าง และออกไปได้ ทั้งหมด” โดยการสะสมของสารอิ น ทรี ย์ หรื อ ของเสีย* ในชัน้ ดินพืน้ บ่อ สังเกตได้จากหลังจาก จับกุ้ง เมื่อลงไปขุดดูที่พื้นบ่อ จะเห็นชั้นดิน มีสีดำ แสดงว่ามีของเสียสะสมอยู่ในชั้นดินของ บ่อ แต่เมื่อปล่อยให้ถูกออกซิเจน ชั้นดินที่ดำ อยูน่ นั้ จะขาวขึน้ ซึง่ เกิดจากการถูกอากาศออกซิไดส์เอาของเสียออกไป นอกจากนี้ จากการลงพืน้ ทีส่ ำรวจแม่นำ้ พังราด ร่วมกับทีมงาน ซีพีเอฟ เมื่อวันที่ 23 มี น าคม 2555 พบปั ญ หาอยู่ 2 ส่ ว นคื อ 1. พบวิบริโอเรืองแสงที่ปากแม่น้ำ 2. สัดส่วน แร่ ธ าตุ ใ นน้ ำ ที่ ไ ม่ ส มดุ ล แต่ มี อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ น่าสนใจคือ ที่ใต้พื้นน้ำ เกิดการสะสมตะกอน ของเสีย และเกิดปรากฏการณ์การบลูมของ สาหร่าย, แพลงก์ตอน และแบคทีเรียต่างๆ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

60

ทีมงานจึงตั้งสมมติฐานว่าปัญหาน่าจะ เริ่ ม เกิ ด เมื่ อ แหล่ ง น้ ำ ธรรมชาติ มี ก ารสะสม ของสารอินทรีย์เป็นจำนวนมากหลังจากสูบน้ำ เข้าไปใช้ในฟาร์ม น้ำจะเป็นตัวพาสารอินทรีย์ ลงไปพื้นบ่อ ซึ่งที่พื้นบ่อประมาณ 1-2 เซนติ เ มตร จะเป็ น ที่ ส ะสมของตะกอนดิ น และ สารอินทรีย์ กลายเป็นแหล่งอาหารของเชื้อ ก่อโรค รวมทั้งสัตว์หน้าดินที่อาศัยอยู่ ยิ่งถ้า การจั ด การเรื่ อ งเครื่ อ งให้ อ ากาศไม่ เ พี ย งพอ ก็จะไม่สามารถกำจัดของเสียออกจากพื้นบ่อได้ ประกอบกับกุ้งขาวมีพฤติกรรมชอบอาศัยอยู่ที่ พื้นบ่อ “เราคิดว่ากุ้งขาวว่ายน้ำอยู่เหมือนปลา ซึ่งเป็นไปได้ตอนแย่งอาหารกิน เท่าที่เรียนมา การเคลื่อนไหวทุกอย่างต้องใช้พลังงาน กุ้ง มันไม่ได้พัฒนาตัวเองให้มาอยู่กลางน้ำ ปลาจะ มีถุงลมช่วยพยุงตัว และใช้พลังงานน้อย ฉะนั้น ปลาจะลอยอยู่กลางน้ำได้ดี เสียพลังงานน้อย แต่กุ้งพัฒนาตัวเองให้จมอยู่ที่พื้น มีเกราะอยู่ ด้ า นบนเพื่ อ ป้ อ งกั น ศั ต รู และขุ ด หลุ ม ฝั ง ตั ว ลงไปได้ นี่ คื อ กุ้ ง ฉะนั้ น ต้ อ งกลั บ มาคิ ด ว่ า กุ้งขาวอยู่พื้น หรือใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่พื้น ก็จะ เห็นว่าทำไมพื้นแย่มีผลกับกุ้งขาวได้ ทำไมน้ำ ทีเ่ ข้มข้นสะสมทับถมลงมาจึงมีปญ ั หากับกุง้ ขาว ได้ ... กุง้ ขาวเป็นพวกเก็บสะสม มันจะลากอาหาร ไปกินใต้ดิน ... ถ้ามันลากไปกินใต้ดินแล้วลาก ไปกินทุกเม็ดก็ดี ... แต่ถ้าไม่กิน อาหารก็ค้าง อยู่ในดิน ...” ถ้าพื้นบ่อไม่สะอาด มีการสะสม

*หมายเหตุ : ของเสียที่เกิดในกระบวนการผลิต/เลี้ยงกุ้ง แตกต่างจากของเสียในโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจาก เป็นสารอินทรีย์ที่สามารถใช้กระบวนการทางธรรมชาติทำให้กลับมาสู่ภาวะปกติได้


สำหรับวิธีการลดปัจจัยเสี่ยง ลดความ เสียหายจากโรคอีเอ็มเอส ผู้เลี้ยงกุ้งจะต้องให้ ความสำคัญกับ 1. การลดต้นทุนสารอินทรีย์ ที่สะสมในระบบโครงสร้างฟาร์ม โดยทำความ สะอาดส่วนต่างๆ ภายในฟาร์ม ไม่ว่าจะเป็น บ่อเลี้ยง บ่อพักน้ำ คลองส่งน้ำ ฯลฯ การ ไถพรวนหน้ า ดิ น เพื่ อ เพิ่ ม ออกซิ เ จนให้ กั บ โครงสร้ า งดิ น เป็ น ต้ น เพื่ อ ให้ มี เ ชื้ อ ก่ อ โรค เหลือในระบบน้อยที่สุด 2. การลดปริมาณ อินทรีย์สารที่มากับน้ำ ด้วยการเตรียมบ่อพัก น้ำ โดยใช้ระยะเวลาพอสมควร (ไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์) เพื่อให้สารอินทรีย์ตกตะกอน การ เลี้ ย งปลาในบ่ อ พั ก เพื่ อ กรองกิ น สารอิ น ทรี ย์ ฯลฯ 3. การสร้างสมดุลของระบบนิเวศภายใน บ่ อ โดยสร้ า งสภาวะแวดล้ อ มให้ ดี เพื่ อ ควบคุมแบคทีเรีย หรือเชื้อก่อโรคในบ่อไม่ให้ เจริญเติบโต ควบคุมปริมาณธาตุอาหารไม่ให้ ไปกระตุ้ น ให้ น้ ำ สี เ ข้ ม และล้ ม รั ก ษาสมดุ ล ระหว่างชั้นน้ำ และตะกอนอินทรีย์พื้นบ่อ การ ใช้โปรไบโอติกฟาร์มมิ่ง ฯลฯ 4. การบริหาร จั ด การระหว่ า งการเลี้ ย ง ไม่ ว่ า จะเป็ น การ จัดวางเครื่องให้อากาศอย่างเหมาะสมเพื่อที่ จะสามารถจัดการของเสียพื้นบ่อออกให้หมด และทำให้มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอกับสิ่งมี ชีวิตในบ่อ การควบคุมสีน้ำไม่ให้แกว่ง การ ใช้โปรไบโอติกเป็นประจำ ฯลฯ

สารอินทรีย์ เชื้อวิบริโอสามารถพบได้ทั่วไปในธรรมชาติ ในต่ า งประเทศมี ง านวิ จั ย มากมายที่ แสดงให้เห็นว่า เชื้อวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ที่ เ ป็ น สาเหตุ ข องโรคอี เ อ็ ม เอส หรื อ เชื้ อ วิบริโออื่นๆ มีปรากฏอยู่แล้วในแหล่งน้ำตาม ธรรมชาติและชายฝั่งทะเล ลักษณะของเชื้อ วิบริโอ สามารถอาศัยได้ตามพื้นบ่อ และยึด เกาะอยู่ตามสิ่งต่างๆ ในน้ำทะเล เช่น สัตว์น้ำ สารแขวนลอยในน้ำ แพลงก์ตอนพืช เป็นต้น เชื้อแบคทีเรียที่อยู่กันหนาแน่น สามารถสร้าง สารทีส่ อื่ ถึงกันได้ และมีการผลิตสารพิษออกมา ซึ่ ง เรี ย กปรากฏการณ์ “ควอรั ม เซ็ น ส์ ซิ่ ง ” (Quorum Sensing) โดยเชื้อวิบริโอสามารถ เจริญเติบโตได้ดีเมื่ออุณหภูมิ และความเค็ม ของน้ำสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีสารอินทรีย์ สะสมอยูด่ ว้ ย เชือ้ แบคทีเรีย วิบริโอต่างๆ จะยิง่ เติบโตได้ดี และรวดเร็วมาก เชือ้ วิบริโอสามารถ สร้างเอ็มไซม์น้ำย่อยได้หลายชนิด เพื่อทำให้ แบคทีเรียชนิดนี้ปรับตัวให้อยู่รอดได้ โดยสาร อินทรีย์ที่ละลายน้ำ (DOM) อยู่ในแหล่งน้ำ ภายนอกฟาร์ม หรือภายในบ่อเลี้ยงกุ้ง จะมี องค์ประกอบของสารอินทรีย์คาร์บอนที่ละลาย ในน้ำ (DON) ซึ่งเป็นแหล่งสารอาหารที่เชื้อ แบคทีเรีย วิบริโอ สามารถเอาไปใช้ประโยชน์ ในการเจริญเติบโตได้ดี หลายปีผ่านมา แต่ละประเทศผู้ผลิตกุ้ง ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นจีน เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย มีการใช้อาหารเพื่อการ ผลิตกุ้งเป็นจำนวนมากหลายแสนตัน ซึ่งโดย ความเป็นจริง กุง้ ไม่สามารถจะดูดซึมเอาอาหาร ไปใช้ประโยชน์ได้หมด การทีเ่ ราเลีย้ งกุง้ มานาน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ของสารอินทรีย์พื้นบ่อมาก มีโอกาสที่กุ้งจะ เข้าไปกินของเสีย และได้รับเชื้อก่อโรควิบริโอ พาราฮีโมไลติคสั ซึง่ เป็นสาเหตุของโรคตายด่วน จนส่งผลทำให้กุ้งป่วย และตายในที่สุด

61


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

62

จึงมีโอกาสที่อาหารจะสะสมเป็นสารอินทรีย์ อยู่ในบ่อเลี้ยง อีกทั้งของเสียที่มาจากการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้ำต่างๆ อาทิ หอย ตามชายฝั่งทะเล ก็มีส่วนทำให้เกิดการสะสมของสารอินทรีย์ใน แหล่งน้ำเช่นกัน

เพื่อปรับปรุงพีเอชของดิน ขณะที่ดินยังมีความ ชื้นอยู่ควรใส่จุลินทรีย์ซุปเปอร์ พีเอส และรีด๊อกซ่า บริเวณทีข่ องเสียตกค้างมาก และกำจัด ไม่ ห มด เพื่ อ ช่ ว ยการย่ อ ยสลายสารอิ น ทรี ย์ ตกค้าง

การเลี้ยงกุ้งที่พื้นบ่อเกิดการสะสมของ ตะกอนสารอินทรีย์จำนวนมาก เมื่อเรานำน้ำ จากแหล่งน้ำที่มีเชื้อวิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส สายพันธุ์ที่ก่อโรคอีเอ็มเอสมาใช้ ยิ่งเพิ่มความ เสี่ยงในการเกิดโรคมากขึ้น เนื่องจากสารอินทรีย์ที่พื้นบ่อจะเป็นแหล่งอาหารอย่างดีให้กับ เชื้อฯ การใช้จุลินทรีย์เพื่อบำบัดสารอินทรีย์ที่ พื้นบ่อจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยลดปริมาณ เชื้ อ ที่ ไ ม่ ดี ใ นลั ก ษณะแข่ ง และข่ ม ได้ ดี ซึ่ ง เชื้ อ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส มีความสามารถเจริญ เติบโตได้ดีกว่าเชื้อที่ดี การใช้จุลินทรีย์จะช่วย กำจัดสารอินทรีย์ไนโตรเจนในรูปแอมโมเนีย ทำให้เชื้อวิบริโอไม่มีอาหาร และตัวมันเองจะ ช่วยซึมซับของเสียต่างๆ ได้

ขั้นตอนต่อมา ให้ทำการบดอัดพื้นดิน ตากบ่ อ ให้ แ ห้ ง อย่ า งน้ อ ย 2 สั ป ดาห์ เชื้ อ แบคทีเรีย วิบริโอ (Vibrio spp.) ไม่สร้างสปอร์ เชื้อจึงไม่ทนทาน และถูกทำลายไปได้ง่ายใน สภาพทีพ่ นื้ บ่อตากแห้ง การเตรียมน้ำก่อนเลีย้ ง กุง้ ต้องมัน่ ใจได้วา่ มีการทิง้ ให้ตกตะกอน มีการ กรองผ่านถุงกรองเสมอ การกำจัดสัตว์รบกวน และพาหะนำโรค และกำจัดสารอินทรีย์ในน้ำ ควรเลือกใช้สารเคมีที่เหมาะสม เช่น การใช้ คลอรีนผง ควรทำในบ่อทรีตน้ำ หรือบ่อน้ำที่ ไม่ได้ใช้เลี้ยงกุ้ง การใช้สารฆ่าเชื้อในน้ำก่อนลง กุ้ง ควรเลือกใช้สารฆ่าเชื้อปลอดภัยต่อกุ้ง เช่น เวอร์คอน อะควาติก ใช้ในขนาด 2 พีพีเอ็ม สามารถกำจัด และลดเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ โคลานี สีเขียวได้ดี โดยไม่ทำลายแพลงก์ตอน พืช จึงเป็นการควบคุมเชื้อแบคทีเรียก่อโรค โดยที่ไม่สร้างตะกอนสารอินทรีย์ที่พื้นบ่อภายหลังการใช้สารฆ่าเชือ้ ชนิดนี้ ในระยะก่อนลงกุง้ ควรใส่ จุ ลิ น ทรี ย์ ล งในบ่ อ เลี้ ย งอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง 2-3 ครั้ง เพื่อเป็นการควบคุมเชื้อก่อโรค และ ควบคุมพีเอชในบ่อให้เหมาะสม เช่น พีเอช ฟิกเซอร์ หรือซุปเปอร์ ไบโอติก

เนื่องจากการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ ในบ่อกุ้งให้หมดนั้นไม่สามารถทำได้ การใช้ จุลินทรีย์โปรไบโอติกอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง เป็นโปรแกรมในบ่อเลีย้ งกุง้ จะช่วยสร้างสภาวะแวดล้อมในบ่อกุ้งให้เหมาะสม และสร้างความ ต้านทานให้แก่กงุ้ ทีเ่ ลีย้ งได้ โดยหลักการทีส่ ำคัญ คือ การลดสารอินทรีย์ที่สะสมในบ่อให้ลดน้อย ลงมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เริ่มตั้งแต่ขั้นตอน เตรียมบ่อ มีการทำความสะอาดพื้นบ่อ ไถ พรวนหน้าดินให้สัมผัสกับออกซิเจน เนื่องจาก ของเสียสารอินทรีย์ที่ออกซิเจนไม่สามารถเข้า ถึงในชั้นที่ต่ำกว่าผิวลงไป จะกลายเป็นแหล่ง สะสมของแก๊สไข่เน่า หลังจากนั้นให้ใส่วัสดุปูน

ในระหว่างการเลี้ยงกุ้ง ควรใช้จุลินทรีย์ โปรไบโอติกอย่างสม่ำเสมอเป็นโปรแกรม เพื่อ ควบคุมคุณภาพน้ำให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม เช่น พีเอช ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ำ ควบคุมของเสียสารอินทรีย์ไนโตรเจนในน้ำ การใช้


การใช้จุลินทรีย์มีหลักการที่สำคัญอย่าง ยิ่งคือ ควรใช้จุลินทรีย์หลากหลายชนิด เพื่อ ให้เกิดการทำงานได้ครอบคลุมทั้งในน้ำ และ พืน้ บ่อ เช่น พีเอช ฟิกเซอร์, ไบโอทริม, ซุปเปอร์ ไบโอติก และซุปเปอร์ พีเอส เพราะจุลินทรีย์ แต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกัน นอกจากนี้ ยังช่วยทำให้พีเอชของน้ำในรอบวันอยู่ในช่วง แคบ และเหมาะสม ซึ่งค่าพีเอช และปริมาณ ออกซิเจนละลายในน้ำ จะเป็นเกณฑ์ทใี่ ช้บอกได้ ว่ามีการใช้จุลินทรีย์อย่างเหมาะสมแล้วหรือไม่ ด้วยเช่นกัน

นอกจากการใช้ จุ ลิ น ทรี ย์ แ ล้ ว ผู้ เ ลี้ ย ง กุ้งควรดำเนินการจัดการเลี้ยงอื่นๆ ร่วมด้วย เพื่อลดปริมาณสารอินทรีย์ ไม่ว่าจะเป็นการ จัดวางเครือ่ งตีนำ้ อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้สามารถ รวมเลนได้ดี การดูดตะกอนเลนระหว่างเลี้ยง เพื่อกำจัดของเสีย การเติมน้ำทดแทนโดยน้ำที่ นำมาใช้เติมบ่อเลี้ยงต้องเป็นน้ำพร้อมใช้ที่ผ่าน การบำบัดมาแล้วเท่านั้น นอกจากนี้ การผสม เบต้ามินกับอาหารให้กงุ้ กินหลังจากปล่อยกุง้ ลง เลีย้ งก็เป็นอีกวิธหี นึง่ ทีช่ ว่ ยลดความเสียหายของ กุ้งอันเนื่องมาจากการก่อปัจจัยความรุนแรง (Virulence Factors) เช่น สารพิษจากเชือ้ วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ที่ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมได้

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

จุลินทรีย์โปรไบโอติกที่ใช้ระหว่างเลี้ยงกุ้งนี้ มี ความมุ่งหมายเพื่อการสร้างสภาวะแวดล้อม ในบ่อกุง้ ให้เหมาะสม เพือ่ ให้กงุ้ มีความต้านทาน โรค จุลินทรีย์โปรไบโอติกบางชนิด เช่น ซุปเปอร์ไบโอติก มีความสามารถในการแข่ง และ ข่มเชื้อแบคทีเรีย วิบริโอ พาราฮีโมไลติคัส ได้

63


Market Leader

สรุปสถานการณ์

สินค้าเกษตรเดือนกรกฎาคม และแนวโน้มเดือนสิงหาคม 2557

1. ภาพรวมสถานการณ์ปัจจุบัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

64

ข้าวรอบ 2 ปี 56/57 (ข้าวนาปรัง ปี 2557) ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลงเป็นลำดับ ราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก ยางพารา ผลผลิตออกสู่ตลาดค่อนข้างน้อย เนื่องจากสภาพอากาศแปรปรวน ราคา ปรับตัวสูงขึ้น แต่ยังเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มันสำปะหลัง อยูใ่ นช่วงการเพาะปลูกมันฤดูใหม่ ส่วนมันฤดูกอ่ นยังมีออกสูต่ ลาดประปราย ราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผลผลิตฤดูใหม่ ปี 2557/58 ในบางพื้นที่เริ่มเก็บเกี่ยวออกสู่ตลาด ได้บ้างแล้ว ราคาในช่วงต้นฤดูยังอยู่ในเกณฑ์ดี ปาล์มน้ำมัน ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยลง ราคาปรับตัวสูงขึ้นเนื่องจากความต้องการใช้ ทั้งด้านบริโภค และพลังงานยังมีสม่ำเสมอ และต่อเนื่อง ถั่วเหลือง อยู่ในช่วงเพาะปลูกถั่วฤดูฝน ปีการผลิต 2557/58 เกษตรกรจะเริ่มเก็บเกี่ยว ผลผลิตออกสู่ตลาดได้ตั้งแต่เดือนสิงหาคม เป็นต้นไป ปลาป่น เป็นช่วงมรสุม ผลผลิตออกสู่ตลาดไม่มากนัก ราคาเคลื่อนไหวอยู่ในระดับปกติ สุกร ผลผลิตโดยรวมยังมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการ ในขณะที่ภาวะการค้าชะลอตัว ผลจากในช่วงที่ผ่านมาราคาอยู่ในเกณฑ์สูง ราคาจะเคลื่อนไหวไม่มากนัก ไข่ไก่ และไก่เนื้อ ผลผลิตมีเพียงพอกับความต้องการบริโภค ภาวะการค้าคล่องตัวปกติ ราคาจะเคลื่อนไหวไม่มากนัก กุ้งขาวแวนนาไม แม้ว่าจะเข้าสู่ช่วงการส่งออก แต่ภาวะการค้าโดยเฉพาะการส่งออกยัง ชะลอตัว ราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก

2. สถานการณ์การผลิตสินค้าเกษตรของโลก กระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ (USDA) คาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์การผลิตสินค้าเกษตร สำคัญของโลกในฤดูการผลิต ปี 2557/58 ณ เดือนกรกฎาคม 2557 ไว้ ดังนี้


2.1 พืชน้ำมัน คาดว่าในฤดูการผลิต ปี 2557/58 จะมีผลผลิตรวม (ไม่รวมน้ำมันปาล์ม) ประมาณ 521.86 ล้านตัน มากกว่าปี 2556/57 (503.92 ล้านตัน) ประมาณ 17.95 ล้านตัน (+3.56%) สำหรับ พืชน้ำมันที่คาดว่าจะมีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ถั่วเหลือง ผลผลิต 304.79 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 20.92 ล้านตัน (+7.37%) เมล็ดในปาล์ม ผลผลิต 16.46 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 0.80 ล้านตัน (+5.11%) ถั่วลิสง ผลผลิต 40.40 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 0.59 ล้านตัน (+1.47%) พืชน้ำมันที่คาดว่าผลผลิตจะลดลง ได้แก่ เรปซีด ผลผลิต 70.16 ล้านตัน ลดลง 1.07 ล้านตัน (-1.50%) เมล็ดฝ้าย ผลผลิต 43.86 ล้านตัน ลดลง 1.03 ล้านตัน (-2.30%) เมล็ดทานตะวัน ผลผลิต 40.67 ล้านตัน ลดลง 2.20 ล้านตัน (-5.14%) เนือ้ มะพร้าวแห้ง ผลผลิต 5.53 ล้านตัน ลดลง 0.05 ล้านตัน (-0.90%) สำหรับ น้ำมันปาล์ม คาดว่าจะมีผลผลิตประมาณ 62.80 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี ที่ผ่านมา 3.51 ล้านตัน (+5.92%) 2.2 ธัญพืช ในปี 2557/58 คาดว่าจะมีผลผลิตประมาณ 1,966.34 ล้านตัน น้อยกว่าปี ที่ผ่านมา (1,989.25 ล้านตัน) ประมาณ 22.91 ล้านตัน (-1.15%) โดยสถานการณ์รายพืช สรุปได้ ดังนี้ 2.2.1 ข้าวสาลี มีผลผลิตประมาณ 705.17 ล้านตัน น้อยกว่าปี 2556/57 (714.20 ล้านตัน) 9.03 ล้านตัน (-1.26%) ประเทศที่คาดว่าจะมีผลผลิตลดลงมาก ได้แก่ แคนาดา ลดลง 9.50 ล้านตัน (-25.33%) สหรัฐอเมริกา ลดลง 3.76 ล้านตัน (-6.48%) ตุรกี ลดลง 3.00 ล้านตัน (-16.67%) ยูเครน ลดลง 1.28 ล้านตัน (-5.74%) ขณะทีก่ ารบริโภคคาดว่าจะมีประมาณ 699.92 ล้านตัน น้อยกว่าปีที่ผ่านมา 5.60 ล้านตัน (-0.79%)

2.3 ข้าวสาร USDA คาดว่าผลผลิต ปี 2557/58 มีประมาณ 479.43 ล้านตัน มากกว่าปีที่ผ่านมา (477.46 ล้านตัน) ประมาณ 1.98 ล้านตัน (+0.41%) ขณะที่ความ ต้องการบริโภคข้าวของโลกมีประมาณ 482.40 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปีทผี่ า่ นมา (475.84 ล้านตัน) ประมาณ 6.56 ล้านตัน (+1.38%) ส่วนสต๊อกปลายปี 2557/58 คาดว่าจะอยูใ่ นระดับ 108.55 ล้านตัน ต่ำกว่าปีที่ผ่านมา (111.52 ล้านตัน) ร้อยละ 2.66 ส่วนการค้าข้าวในตลาดโลกในปี 2557/58 USDA คาดว่าจะมีประมาณ 41.54 ล้านตัน มากกว่าปีที่ผ่านมา (40.84 ล้านตัน)

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

2.2.2 ธัญพืชเมล็ดหยาบ คาดว่าจะมีผลผลิตประมาณ 1,261.17 ล้านตัน น้อยกว่า ปีที่ผ่านมา (1,275.05 ล้านตัน) ประมาณ 13.89 ล้านตัน (1.09%) โดยธัญพืชที่มีผลผลิต เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวฟ่าง ผลผลิต 64.08 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 4.30 ล้านตัน (+7.18%) ส่วน ธัญพืชทีม่ ผี ลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ผลผลิต 980.96 ล้านตัน ลดลง 3.49 ล้านตัน (-0.35%) ข้าวบาเลย์ ผลผลิต 131.94 ล้านตัน ลดลง 13.14 ล้านตัน (-9.06%) ข้าวโอ๊ต ผลผลิต 22.27 ล้านตัน ลดลง 1.38 ล้านตัน (-5.84%) ข้าวไรน์ ผลผลิต 15.30 ล้านตัน ลดลง 1.37 ล้านตัน (-8.20%)

65


ประมาณ 0.70 ล้านตัน (+1.72%) สำหรับปริมาณการส่งออก USDA คาดว่าประเทศไทย จะส่งออกได้ใกล้เคียง ปี 2553/54 ที่ระดับ 10.00 ล้านตันเศษ ส่วนอินเดียจะส่งออกได้ 9.00 ล้านตัน เวียดนาม 6.70 ล้านตัน ปากีสถาน 3.90 ล้านตัน เมียนม่าร์ 1.30 ล้านตัน และกัมพูชา 1.20 ล้านตัน ตามลำดับ

3. แนวโน้มสถานการณ์เดือนสิงหาคม 2557 ข้าวรอบ 1 ปี 2557/58 (ข้าวนาปี ปี 2557/58) เกษตรกรบางพื้นที่เริ่มเก็บเกี่ยว ผลผลิตออกสู่ตลาดได้บ้างแล้ว แนวโน้มราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก ยางพารา ผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น แต่ภาวะการค้ายังชะลอตัวต่อเนื่อง แนวโน้มราคา ยังเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มันสำปะหลัง อยู่ในช่วงการเพาะปลูกมันฤดูใหม่ ราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก ข้าวโพดฯ ผลผลิตฤดูใหม่ออกสู่ตลาดมากขึ้น ราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลงแต่ยังอยู่ในเกณฑ์ดี ถัว่ เหลือง (ฤดูฝน) ผลผลิตเริม่ ทยอยออกสูต่ ลาด คุณภาพไม่คอ่ ยดีนกั มีความชืน้ สูง แนวโน้ม ราคาอ่อนตัวลง ปาล์มน้ำมัน ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง แต่ค่าเงินบาทที่แข็งค่า และราคาน้ำมันปาล์มดิบ มาเลเซียอ่อนตัวลง จะมีผลทำให้ราคาผลปาล์มปรับตัวลดลง ปลาป่น เป็นช่วงมรสุม ผลผลิตออกสู่ตลาดไม่มากนัก ขณะที่โรงงานอาหารสัตว์มีความ ต้องการเพื่อใช้ในช่วงปลายปี และต้นปีหน้ามากขึ้น ราคามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น สุกร ผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากขึ้นผลจากสภาพอากาศที่เย็นลง และการกำกับดูแลด้าน โรคระบาดของภาครัฐ ภาวะการค้าโดยรวมยังค่อนข้างทรงตัว ราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลง ไข่ ไ ก่ ผลผลิ ต จะออกสู่ ต ลาดมากขึ้ น ขณะที่ ภ าวะการค้ า ยั ง ทรงตั ว ราคามี แ นวโน้ ม ปรับตัวลดลง ไก่เนื้อ ภาวะการผลิต และการค้าคล่องตัวปกติ ราคามีแนวโน้มเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ดี ต่อเนื่อง กุ้งขาวแวนนาไม แม้ว่าภาวะการค้าชะลอตัวแต่คาดว่าการส่งออกจะกระเตื้องขึ้นในช่วง ครึ่งปีหลัง ราคามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น แนวโน้มสถานการณ์รายกลุ่มสินค้า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

66

3.1 กลุ่มสินค้าที่ผลิตเพื่อส่งออก สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ (1) ข้าวรอบ 1 ปีการผลิต 2557/58 (ข้าวนาปี ปี 2557/58) กระทรวงเกษตรฯ คาดว่าจะมีผลผลิตประมาณ 28.582 ล้านตัน มากกว่าปีที่ผ่านมา (28.022 ล้านตัน) ร้อยละ 2.00 เกษตรกรในบางพื้นที่จะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตออกสู่ตลาดได้ตั้งแต่เดือนสิงหาคมเป็นต้นไป


67

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557


ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

68

แต่ปริมาณไม่มากนัก โดยผลผลิตจะออกมากช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม สำหรับในช่วงเดือน กันยายน-ธันวาคม 2557 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 1.238, 2.018, 14.548 และ 8.329 ล้านตัน ตามลำดับ ภาวะการค้า ราคาซื้อขายข้าวเปลือกในตลาดสำคัญ (ณ 25 ก.ค. 57) เป็น ดังนี้ ข้าวนาปรัง ข้าวเปลือกเจ้า 5% ตันละ 7,000-8,500 บาท ข้าวเปลือกปทุมธานี ตันละ 8,400-9,500 บาท สำหรับ ข้าวนาปี ข้าวเปลือกหอมมะลิ ตันละ 13,300-15,100 บาท ข้าวเปลือกเหนียว ตันละ 12,950-14,000 บาท ส่วนการค้าข้าวสาร ราคาซื้อขาย เป็นดังนี้ ข้าวขาว 100% ชัน้ 2 กระสอบละ 1,270-1,280 บาท ข้าวหอมมะลิ 100% ชัน้ 2 กระสอบละ 3,030-3,040 บาท ข้าวเหนียว 10% เมล็ดยาว กระสอบละ 2,100-2,110 บาท และข้าวนึ่ง 100% กระสอบละ 1,300-1,310 บาท สำหรับราคาส่งออกข้าวไทย (สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย ณ 23 ก.ค. 57) ราคาข้าวหอมมะลิ ชั้น 1 ใหม่ (f.o.b.) ตันละ 1,087 เหรียญสหรัฐฯ ข้าวขาว 100% ชัน้ 2 (f.o.b.) ตันละ 449 เหรียญสหรัฐฯ และข้าวนึง่ 100% (f.o.b.) ตันละ 456 เหรียญ สหรัฐฯ ส่วนข้าวสหรัฐฯ (เมล็ดยาว #4/5) ตันละ 575 เหรียญสหรัฐฯ ข้าวขาว 5% ไทย ตันละ 433 เหรียญสหรัฐฯ เวียดนาม ตันละ 445 เหรียญสหรัฐฯ อินเดีย ตันละ 430 เหรียญ สหรัฐฯ ปากีสถาน ตันละ 440 เหรียญสหรัฐฯ ข้าวนึ่งของอินเดีย ตันละ 420 เหรียญสหรัฐฯ และปากีสถาน ตันละ 440 เหรียญสหรัฐฯ การส่งออก ปี 2557 ผลจากช่วงที่ผ่านมาภาครัฐได้เร่งระบายข้าวที่มีอยู่ ในสต๊อกออกสู่ตลาด ส่งผลให้ปริมาณการส่งออกข้าวของไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน (24 ก.ค. 57) ส่งออกได้ถึง 6,129,702 ตัน สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา (3,511,660 ตัน) ร้อยละ 74.55 ผลการรับจำนำ (ณ 24 ก.ค. 57) ข้าวเปลือก ปี 2556/57 (สิน้ สุดเวลารับจำนำ 28 ก.พ. ยกเว้นภาคใต้สิ้นสุด 31 ก.ค. 57) รับจำนำได้รวม 11,673,989 ตัน จำแนกเป็น ข้าวเปลือกเจ้า 6,820,500 ตัน ข้าวเปลือกหอมมะลิ 3,700,894 ตัน ข้าวเปลือกหอมจังหวัด 477,711 ตัน ข้าวเปลือกปทุมธานี 114,840 ตัน ข้าวเปลือกเหนียว 560,043 ตัน (2) มันสำปะหลัง เข้าสู่ช่วงปลายฤดูการผลิต ผลผลิตที่ออกสู่ตลาดมีประปราย เกษตรกรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงเพาะปลูกมันฤดูใหม่ ปี 2557/58 ซึ่งกระทรวงเกษตรฯ คาดว่าจะมี ปริมาณ 29.928 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (29.199 ล้านตัน) ร้อยละ 12.49 โดย เกษตรกรจะเริ่มขุดหัวมันสดออกจำหน่ายได้ตั้งแต่เดือนตุลาคมเป็นต้นไป และจะออกมากช่วง เดือนธันวาคม 2557-มีนาคม 2558 สำหรับราคาหัวมันสดที่เกษตรกรขายได้ เชื้อแป้ง 25% จ.นครราชสีมา (25 ก.ค. 57) กก. ละ 2.10-2.20 บาท ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมา (2.25 บาท/กก.) กก. ละ 0.10 บาท คาดว่าราคาจะเคลื่อนไหวไม่มากนัก


(3) ไก่เนือ้ กระทรวงเกษตรฯ ได้ประมาณการผลผลิตไก่เนือ้ ใน ปี 2557 จะมีประมาณ 1,209 ล้านตัว เพิม่ ขึน้ จาก ปี 2556 ร้อยละ 9.63 คิดเป็นซากบริโภคประมาณ 1.787 ล้านตัน คาดว่าจะใช้บริโภคภายในประเทศประมาณ 1.0-1.1 ล้านตัน และส่งออก (เป้าหมาย) ประมาณ 0.6 ล้านตัน ปัจจุบันผลผลิตมีเพียงพอกับความต้องการใช้ ภาวะการค้าโดยทั่วไปคล่องตัว ราคาไก่มีชีวิตหน้าโรงฆ่า (25 ก.ค. 57) กก. ละ 40-42 บาท ทรงตัวเท่าราคาเฉลี่ยในเดือน ทีผ่ า่ นมาราคายังมีแนวโน้มทรงตัวไปอีกระยะหนึง่ สำหรับการส่งออกใน ปี 2557 (ม.ค.-พ.ค. 57) ประเทศไทยส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ไปแล้ว 207,709 ตัน มูลค่า 29,044 ล้านบาท (4) กุ้ง กระทรวงเกษตรฯ ประมาณการผลผลิตกุ้ง ในปี 2557 ว่าจะมีประมาณ 0.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2556 ร้อยละ 17.65 เนื่องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบการผลิตที่เกิดขึ้นในช่วงปลาย ปี 2555 และต่อเนื่องมาในปี 2556 ได้ระดับหนึง่ ปัจจุบนั ราคากุง้ ขาวแวนนาไมซือ้ ขาย ณ ตลาดกลางสมุทรสาคร (25 ก.ค. 57 ขนาด 60 ตัว/กก.) อยู่ที่ กก. ละ 215 บาท สูงกว่าราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมาเฉลี่ย กก. ละ 25 บาท แนวโน้มภาวะการค้าในช่วงครึ่งปีหลังจะปรับตัวดีขึ้น เนื่องจากเป็นช่วงที่มีความต้องการกุ้งเพื่อ เตรียมส่งออกไปยังประเทศผู้นำเข้าที่จะซื้อกุ้งสต๊อกไว้ใช้ในช่วงปลายปี แต่ยังมีข้อกังวลเกี่ยวกับ การจัดอันดับสถานการณ์การค้ามนุษย์ของสหรัฐฯ และผลกระทบทางการเมืองที่อาจมีผลต่อ ปริมาณการนำเข้าของประเทศคู่ค้า สำหรับการส่งออก ปี 2557 (ม.ค.-พ.ค. 57) ส่งออกได้แล้ว 0.054 ล้านตัน มูลค่า 22,084 ล้านบาท 3.2 กลุ่ ม สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต เพื่ อ บริ โ ภคภายในประเทศ สถานการณ์ สิ น ค้ า เกษตรที่ ส ำคั ญ ได้แก่

(2) ปาล์มน้ำมัน กระทรวงเกษตรฯ คาดการณ์ผลผลิต ปี 2557 (ณ มิ.ย. 57) ว่ามี ประมาณ 13.201 ล้านตัน มากกว่า ปี 2556 (12.812 ล้านตัน) ร้อยละ 3.03 คิดเป็นน้ำมันปาล์มดิบ ประมาณ 2.244 ล้านตัน สำหรับความต้องการใช้คาดว่าจะอยูใ่ นระดับ 2.3-2.7 ล้านตัน แบ่งเป็น น้ำมันบริโภค 1.0-1.1 ล้านตัน ผลิตไบโอดีเซล 0.8-0.9 ล้านตัน ส่งออกประมาณ 0.3-0.4 ล้านตัน

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

(1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ USDA ประมาณการผลผลิตโลก ปี 2557/58 มีประมาณ 980.963 ล้านตัน น้อยกว่าปีที่ผ่านมา (984.448 ล้านตัน) ร้อยละ 0.35 ส่วนผลผลิต ข้าวโพดฯ ของไทย กระทรวงเกษตรฯ คาดว่าจะมีประมาณ 5.095 ล้านตัน ใกล้เคียงกับปีทผี่ า่ นมา (5.063 ล้านตัน) ปัจจุบนั เกษตรกรในบางพืน้ ทีใ่ น จ.เพชรบูรณ์ และเลย เริม่ เก็บเกีย่ วผลผลิตออกสู่ ตลาดได้บา้ งแล้วแต่ปริมาณไม่มาก อย่างไรก็ตาม ผลผลิตข้าวโพดฯ จะออกมากช่วงเดือนสิงหาคมธันวาคม โดยในแต่ละเดือนจะมีผลผลิตออกสู่ตลาดประมาณ 0.770, 1.185, 0.929, 0.835 และ 0.704 ล้านตัน ตามลำดับ สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้ในแหล่งผลิต จ.เพชรบูรณ์ (ณ 25 ก.ค. 57) กก. ละ 9.50-9.67 บาท สูงกว่าราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมาเฉลี่ย กก. ละ 0.21 บาท ราคามีแนวโน้มอ่อนตัวตามปริมาณที่จะออกสู่ตลาดมากขึ้น และมีความชื้นสูง

69


และคาดว่าจะมีสต๊อกสำรองในประเทศอีกประมาณ 0.2-0.3 ล้านตัน สำหรับในช่วงเดือนสิงหาคมตุลาคม กระทรวงเกษตรฯ คาดว่าจะมีผลปาล์มออกสูต่ ลาดประมาณ 1.171, 1.134 และ 0.945 ล้านตัน ตามลำดับ ปัจจุบันภาวะการค้าชะลอตัวผลจากปริมาณสต๊อกน้ำมันปาล์มในระบบมีมาก (ณ มิ.ย. 57 มีสต๊อกประมาณ 0.3444 ล้านตัน) ประกอบกับราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลก อ่อนตัวลงเหลือตันละ 2,390 ริงกิต หรือประมาณ กก. ละ 24.09 บาท จะมีผลทำให้ราคาผลปาล์ม และน้ำมันฯ ในประเทศอ่อนตัวลงด้วย สำหรับราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (ณ 25 ก.ค. 57) ผลปาล์ม (น้ำมัน 17%) เฉลี่ย กก. ละ 4.40-5.10 บาท สูงกว่าเดือนที่ผ่านมาเฉลี่ย กก. ละ 0.24 บาท ส่วนราคาน้ำมันปาล์มดิบ (กทม.) อ่อนตัวลงมาอยู่ที่ กก. ละ 26.00-26.25 บาท ต่ำกว่าเดือน ที่ผ่านมาเฉลี่ย กก. ละ 0.55 บาท (3) สุกรมีชวี ติ กระทรวงเกษตรฯ คาดการณ์ปริมาณสุกรขุนในภาพรวมของปี 2557 มีประมาณ 13.18 ล้านตัว มากกว่าปีที่ผ่านมา ร้อยละ 0.81 และยังมีปริมาณมากกว่าความ ต้องการที่คาดว่าจะอยู่ในระดับ 12.52 ล้านตัว ปัจจุบันสุกรในระบบยังมีน้อย ซึ่งเป็นผลกระทบ จากปัญหาโรคระบาดในระบบการผลิต ทำให้สกุ รส่วนใหญ่ทอี่ อกสูต่ ลาดในช่วงนีม้ นี ำ้ หนักน้อยกว่า 100 กก./ตัว ในขณะที่ภาวะการค้าชะลอตัวผลจากระดับราคาที่อยู่ในเกณฑ์สูง และผู้บริโภคมี ทางเลือกบริโภคโปรตีนจากแหล่งอื่นที่มีราคาโดยเปรียบเทียบต่ำกว่า สำหรับราคาสุกรมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้อ่อนตัวลง แต่ยังเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์สูง โดยราคาสุกรมีชีวิต เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม (ภาคกลาง) อยู่ที่ กก. ละ 80-81 บาท ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมา (82.40 บาท/กก.) กก. ละ 1.90 บาท แนวโน้มราคาสุกรมีชีวิตจะยังเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์สูง (4) ไข่ไก่ กระทรวงเกษตรฯ คาดว่าในปี 2557 จะมีผลผลิตไข่ไก่ในระบบประมาณ 11,276 ล้านฟอง มากกว่าปีที่ผ่านมา (11,148 ล้านฟอง) ร้อยละ 1.15 และใกล้เคียงกับ ความต้องการบริโภคในประเทศทีค่ าดว่าจะมีประมาณ 11,000-11,500 ล้านฟอง ปัจจุบนั ปริมาณ ไข่ไก่ที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการใช้ สำหรับราคาไข่ไก่คละหน้าฟาร์ม (ณ 25 ก.ค. 57) เฉลี่ย ฟองละ 3.00 บาท อ่อนตัวลงจากราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมา (3.04 บาท/ฟอง) เฉลีย่ ฟองละ 0.04 บาท และสูงกว่าราคาในเดือนกรกฎาคม 2556 (2.92 บาท/ฟอง) เฉลีย่ ฟองละ 0.08 บาท 3.3 กลุ่มสินค้าที่ต้องนำเข้า สถานการณ์สินค้าที่สำคัญมีดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

70

(1) ถั่ ว เหลื อ ง USDA ประมาณการผลผลิ ต โลก ปี 2557/58 มี ป ระมาณ 304.790 ล้านตัน มากกว่าปีที่ผ่านมา (283.873 ล้านตัน) ร้อยละ 7.37 ส่วนผลผลิตของไทย กระทรวงเกษตรฯ คาดว่าในปีการผลิต 2557/58 จะมีผลผลิตประมาณ 0.067 ล้านตัน น้อยกว่าปีที่ผ่านมาร้อยละ 4.46 แบ่งเป็นถั่วเหลืองฤดูฝนประมาณ 0.018 ล้านตัน และ ถั่วเหลืองฤดูแล้งประมาณ 0.049 ล้านตัน สำหรับถั่วเหลืองฤดูฝนในบางพื้นที่เริ่มทยอยเก็บเกี่ยว


ออกสู่ตลาดได้บ้างแล้ว โดยจะออกมากช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน ปัจจุบันราคาเมล็ด ถั่วเหลืองขายส่งตลาด กทม. เกรดสกัดน้ำมัน (ณ 25 ก.ค. 57) กก. ละ 20.30-21.00 บาท ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยของเดือนที่ผ่านมาเฉลี่ยกก. ละ 0.30 บาท (2) กากถั่วเหลือง USDA ประมาณการผลผลิตโลก ปี 2557/58 มีประมาณ 198.073 ล้านตัน มากกว่าปีที่ผ่านมา (189.816 ล้านตัน) ร้อยละ 4.35 ส่วนผลผลิตของไทย ในปี 2557 คาดว่าจะมี ประมาณ 1.018 ล้านตัน แบ่งเป็นกากถั่วฯ ที่ผลิตจากเมล็ดถั่วเหลือง ที่ปลูกในประเทศ 0.008 ล้านตัน และผลิตจากเมล็ดถั่วเหลืองนำเข้า 1.010 ล้านตัน ในขณะที่ ความต้องการใช้คาดว่ามีประมาณ 3.969 ล้านตัน จะต้องนำเข้าให้พอใช้อีกประมาณ 3.0 ล้านตัน ปัจจุบัน (ณ 25 ก.ค. 57) ราคาขายส่งกากถั่วฯ ที่ผลิตจากเมล็ดในประเทศ ทรงตัว เท่าราคาในเดือนที่ผ่านมาที่ กก. ละ 20.35-20.55 บาท ส่วนกากถั่วฯ ที่ผลิตจากเมล็ดนำเข้า ราคา กก. ละ 19.10-19.35 บาท ต่ำกว่าราคาเฉลี่ยในเดือนที่ผ่านมา กก. ละ 0.50 บาท แนวโน้มคาดว่าราคาจะเคลื่อนไหวไม่มากนัก

(3) ปลาป่น คาดว่าผลผลิตในปี 2557 จะมีประมาณ 0.50 ล้านตัน ใกล้เคียงกับปี 2556 แต่ยังมากกว่าความต้องการใช้ในประเทศที่คาดว่าจะมีประมาณ 0.41 ล้านตัน ปัจจุบัน เข้าสู่ช่วงมรสุมทำให้ปริมาณวัตถุดิบที่จะใช้ในการผลิตมีน้อย ขณะที่แนวโน้มความต้องการใช้ ยังคงมีอย่างต่อเนือ่ ง คาดว่าราคาจะยังเคลือ่ นไหวอยูใ่ นเกณฑ์สงู สำหรับราคาปลาป่นโปรตีน 60% ลงมา กลิ่นเบอร์ 2 (ณ 25 ก.ค. 57) เฉลี่ย กก. ละ 28.50 บาท สูงกว่าราคาเฉลี่ยในเดือน ที่ผ่านมา (28.02 บาท) กก. ละ 0.48 บาท

4. มาตรการแก้ไขปัญหา/การช่วยเหลือผ่านกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร (ณ 7 ก.ค. 57)

• โครงการช่วยเหลือสินค้าเกษตรที่มีปัญหาเร่งด่วน วงเงิน 300 ล้านบาท • แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาผลไม้ภาคตะวันออก ปี 2557 วงเงิน 50.927 ล้านบาท • แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาลำไย ปี 2557 วงเงิน 73 ล้านบาท • แผนป้องกันและแก้ไขปัญหาผลไม้ภาคใต้ ปี 2557 วงเงิน 37.500 ล้านบาท

กองส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร 1 กรกฎาคม 2557

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 คชก. ได้อนุมัติเงินกองทุนรวมฯ เพื่อดำเนินการช่วยเหลือ สินค้าเกษตรด้านการตลาดไปแล้ว 4 โครงการ รวมเป็นเงิน 461.427 ล้านบาท โดยมีการ อนุมัติรายโครงการ ดังนี้

71


Market Leader

พยากรณ์สินค้าเกษตร ช่วงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม 2557 สัญลักษณ์

ปกติ

ช่วงพยากรณ์ สินค้า มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 57 57 57 กลุ่มสินค้าผลิตเพื่อส่งออก ข้าวนาปรัง มันสำปะหลัง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

72

มีปัญหาราคาสูง

มีปัญหาราคาต่ำ

การพยากรณ์ในช่วง 3 เดือน

หมายเหตุ ช่วงออกสู่ตลาด

ผลผลิตข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2557 ออกสู่ตลาดลดลง ในขณะที่รัฐ ชะลอการระบายข้าวในสต๊อกออกสู่ตลาด ส่งผลให้ราคามีแนวโน้ม ปรับตัวสูงขึ้นแต่ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำ

มี.ค. - ก.ย.

เป็นช่วงปลายฤดู ผลผลิตมีน้อย ราคาเคลื่อนไหวไม่มากนัก

ผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น ขณะที่เศรษฐกิจโลกยังชะลอตัวต่อเนื่อง ยางพารา ทำให้ความต้องการใช้ยางลดลง แนวโน้มราคายางยังเคลื่อนไหวอยู่ ในเกณฑ์ต่ำ ผลผลิตมีเพียงพอกับความต้องการ ภาวะการค้าคล่องตัว ราคา ไก่เนื้อ เคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ดี กุ้ง (ขาว คาดว่าปริมาณผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการ แวนนาไม) ส่งออกที่จะเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งปีหลัง ราคามีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น กลุ่มสินค้าผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ เกษตรกรจะเริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตฤดูใหม่ออกสู่ตลาดได้ตั้งแต่เดือน ก.ค. ข้าวโพด เป็นต้นไป โดยจะออกสู่ตลาดมากช่วงเดือน ส.ค.-พ.ย. ราคามีแนวโน้ม เลี้ยงสัตว์ อ่อนตัวลง ปาล์มน้ำมัน อยู่ในช่วงผลผลิตออกสู่ตลาดมาก ราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลง ผลผลิตยังมีปริมาณน้อย ขณะที่ภาวะการค้ายังชะลอ เนื่องจากในช่วง สุกร ที่ผ่านมาราคาอยู่ในเกณฑ์สูง แนวโน้มราคาจะเคลื่อนไหวไม่มากนัก ผลผลิตมีเพียงพอกับความต้องการบริโภค ภาวะการค้าคล่องตัวปกติ ไข่ไก่ คาดว่าราคาจะปรับตัวสูงขึ้นระดับหนึ่ง กลุ่มสินค้าที่ต้องนำเข้า ถั่วเหลือง อยู่ในช่วงเพาะปลูกถั่วเหลืองฤดูฝน คาดว่าเกษตรกรจะเก็บเกี่ยว - ฤดูฝน ผลผลิตออกสู่ตลาดได้ตั้งแต่เดือน ส.ค. เป็นต้นไป ราคามีแนวโน้ม เคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ดี เป็นช่วงมรสุม ผลผลิตออกสู่ตลาดไม่มากนัก แนวโน้มราคาเคลื่อนไหว ปลาป่น อยู่ในระดับปกติ

ธ.ค.-มี.ค.

(ช่วงออกมาก)

ม.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค. มิ.ย.-พ.ย.

(ช่วงออกมาก 60%)

มิ.ย.-พ.ค. ม.ค.-ธ.ค.

(ออกมากทั้งปี)

ม.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค.

ก.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ธ.ค.




รายงานค้ามนุษย์

Tip Report อเมริกา 

ข้ อ พึ ง ระวั ง สำหรั บ ประเทศไทย คื อ เหลือเวลานับจากนี้เพียงเก้าเดือน หรือภายใน สิ้นเดือนมีนาคมของแต่ละปี ที่กระทรวงการ ที่มา : กรุงเทพธุรกิจ

ต่างประเทศ (Department of State) สหรัฐอเมริกาจะสรุปสถานการณ์ของ 188 ประเทศ ทั่วโลกเพื่อจัดทำรายงานในปีต่อไป และไทย ต้องแสดงถึงพัฒนาการการดำเนินการที่ก้าวหน้า นอกจากความรู้สึกของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ถูกตัดสินอย่างไม่เป็นธรรม สังคมไทยควร ถือโอกาสนี้รณรงค์สร้างความเข้าใจต่อปัญหา การค้ามนุษย์ โดยเฉพาะแรงงานจากประเทศ เพื่อนบ้าน ด้วยการศึกษารายละเอียดเงื่อนไข ของกฎหมายคุม้ ครองเหยือ่ การค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act: TVPA) ปี 2000 อันเป็นทีม่ าของข้อกล่าวหาในรายงานการ ค้ามนุษย์เพื่อชี้แจงข้อกล่าวหาได้ตรงประเด็น กฎหมาย TVPA ของสหรัฐอเมริกาเริ่ม บังคับใช้เมื่อเดือนตุลาคมปี 2000 มีเป้าหมาย คุ้มครองเหยื่อการค้ามนุษย์ และทาสยุคใหม่ (modern-day slavery) ทั่วโลกทั้งใน และ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

พลันที่รายงานการค้ามนุษย์ (Trafficking in Person Report) สหรัฐปี 2014 ลดอันดับประเทศไทยอยู่ในบัญชี 3 (Tier3) รั้งท้ายที่สุดจาก 4 บัญชีปรากฏสู่สาธารณชน ปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทยก็กลายเป็น วาระแห่งชาติทันที ดังเห็นจากท่าทีแสดงออก ผ่านแถลงการณ์ผลรายงานสถานการณ์การค้า มนุษย์ (ที่ 168/2557) ของกระทรวงการ ต่างประเทศ จนถึงคำสั่งคณะรักษาความสงบ แห่งชาติฉบับที่ 70, 73 และ 74/2557 ที่ กำหนดมาตรการแก้ ไ ขปั ญ หาแรงงาน และ การค้ามนุษย์ รวมถึงตัง้ คณะกรรมการนโยบาย และอนุกรรมการประสานงานเพื่อคืนความสุข และคืนภาพลักษณ์ทดี่ ขี องประเทศให้ปรากฏแก่ นานาชาติสืบไป

ภาคภูมิ แสวงคำ

Around the World

แก่นแท้ และข้อเสนอแนะ

73


ต่างประเทศ นอกจากนี้ ในมาตรา 108 ของกฎหมายฉบับนี้ยังเป็นเสมือนดาบทางการทูตของ อเมริกาที่ใช้จัดอันดับรัฐบาลประเทศต่างๆ ว่าได้ดำเนินการตามมาตรฐานขั้นต่ำ (minimum standard) เพื่อขจัดปัญหาการค้ามนุษย์หรือไม่ตั้งแต่ปี 2001 เป็นต้นมา ซึ่งประเทศที่เพิกเฉย จนถูกลดอันดับ (downgrade) ให้อยู่ในบัญชี 3 มีสิทธิเผชิญกับบทลงโทษ (penalties) ถึงขั้น อาจถูกตัดงบประมาณแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในโครงการแลกเปลี่ยนทางการศึกษาและวัฒนธรรม ปัจจุบันสถานะของสหรัฐอเมริกาแม้จะอยู่ในบัญชี 1 (Tier1) มาตลอด ทว่าก็พบปัญหาการค้า มนุษย์ในชาวอเมริกัน และชาวต่างชาติ โดยเฉพาะปัญหาการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ และ แรงงานบังคับ

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

74

แก่น หรือหัวใจของกฎหมาย TVPA ได้แก่ การป้องกัน (prevention) การคุ้มครอง (protection) และการดำเนินคดี (prosecution) ซึ่งการคุ้มครองเป็นส่วนสำคัญที่สุด เพราะมี จุดประสงค์เยียวยาความเสียหาย และให้ทางเลือกแก่เหยือ่ อาทิเช่น การจัดทีพ่ กั การให้การศึกษา การรักษาพยาบาล การฝึกอาชีพ ฯลฯ ความคุ้มครองพิเศษของกฎหมาย TVPA ต่อเหยื่อการค้ามนุษย์ที่เป็นชาวต่างชาติ คือ การรับรอง และให้สิทธิประโยชน์ และบริการต่างๆ ที่จำเป็น เช่น เงินทุน บริการทางการแพทย์


และบริการทางสังคม การจัดโครงการคุม้ ครอง พยาน ทั้งมีการออกวีซ่าประเภท T (T Visas) ให้เหยื่อการค้ามนุษย์ในรูปแบบที่รุนแรงได้รับ สิทธิอาศัยชั่วคราว (temporary resident) และ สามารถขอสิทธิอาศัยถาวร (permanent residence status) ต่ อ ไป จากเดิ ม ที่ ใ ช้ เ พี ย ง มาตรการผลักดันส่งกลับเหยื่อการค้ามนุษย์ใน ฐานะผู้หลบหนีเข้าเมือง

กลั บ มาที่ ส่ ว นที่ ส ำคั ญ ที่ สุ ด ในรายงาน การค้ามนุษย์ (Tip Report) สหรัฐอเมริกาที่จะ พั ฒ นาไปสู่ ส ถานะและอั น ดั บ ที่ ดี ขึ้ น ได้ แ ก่ ข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย (Recommendations for Thailand) ทีเ่ ป็นแผนทีก่ ารเดินทาง (roadmap) ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่ง อาทิ เช่น ให้กรมสอบสวนคดีพิเศษ และ ป.ป.ช. เร่ง ดำเนินคดีกับข้าราชการทุจริต ยุติการดำเนิน คดีหมิ่นประมาทกับนักวิจัยและผู้สื่อข่าว เพิ่ม ความร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs)

และองค์กรด้านแรงงาน เพิ่มจำนวนล่ามแปล ภาษา และนักสังคมสงเคราะห์ในหน่วยงานรัฐ จั ด ตั้ ง แผนกพิ เ ศษเพื่ อ เร่ ง รั ด คดี ค้ า มนุ ษ ย์ ใ น ศาล หรือมาตรการเร่งรัดคดีทจี่ ำเป็น ตลอดจน การคุ้มครองสิทธิ และความปลอดภัยของกลุ่ม เปราะบาง โดยเฉพาะแรงงานข้ามชาติ และ ผู้ลี้ภัย ฯลฯ ขณะที่การจัดทำรายงานผลการดำเนิน งานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของ ประเทศไทยประจำปี 2556 ของกระทรวงการ พั ฒ นาสั ง คมและความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ให้ น้ำหนักที่ผลการดำเนินงาน และหลักฐานที่ ตอบโจทย์หลายส่วนได้ชดั เจนเป็นรูปธรรม เช่น การตรวจสอบคุ้มครองแรงงานในภาคประมง ซึ่งข้อเสนอแนะบางประการถูกกล่าวถึงในรายงานฉบับปีที่ผ่านมา บางประการก็เป็นโจทย์ที่ ประเทศไทยควรเร่งดำเนินการอุดช่องโหว่ และ ไม่อาจมองข้ามอีกต่อไป มิใช่เพื่อตอบสนอง ประเทศคู่ค้ารายใหญ่เท่านั้น แต่เพื่อแสดงออก ถึงความพยายามแก้ปัญหาการค้ามนุษย์ของ สังคมไทยอย่างแท้จริง

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ส่วนมาตรการดำเนินคดี (prosecution) ได้กำหนดอัตราโทษรุนแรง ตัวอย่างเช่น กรณี กระทำผิดฐานแสวงหาประโยชน์ทางเพศด้วย การบังคับ หรือหลอกลวงเด็กอายุ 14 ปีไม่เกิน 18 ปี ไม่ว่าบังคับ หรือหลอกลวง มีโทษจำคุก ถึ ง 20 ปี หรื อ กรณี ก ระทำความผิ ด ฐาน แสวงหาประโยชน์ทางเพศด้วยการบังคับ หรือ หลอกลวงต่อบุคคลอายุไม่เกิน 14 ปี มีโทษ จำคุกตลอดชีวติ อย่างไรก็ตาม ก็มเี สียงวิจารณ์ ต่อกฎหมาย TVPA ว่าเป็นมาตรวัดฝ่ายเดียว ของอเมริกาที่อาจแสดงถึงอคติด้านชาติพันธุ์ หรือระดับการให้คุณค่าทางสังคมแก่ชาติอื่น (Kristina Cummings, "The Trafficking Victims Protection Act: A Feasibility Assessment")

75


Around the World

ชาวยุโรปกำลังนิยม

สินค้าเกษตรอินทรีย์ (ออร์แกนิค)

โดยเฉพาะ ผัก ผลไม้ หรือแม้แต่เนื้อสัตว์ และขนมปัง ซึ่งเป็นที่น่าสนใจ

เพราะแม้วา่ สภาพเศรษฐกิจจะซบเซา และ ได้รบั ความท้าทาย มีสนิ ค้าประเภทอืน่ ๆ ทีม่ ฐี าน การตลาดทีม่ นั่ คง และราคาถูกกว่าอยูม่ ากมาย แต่สินค้าเกษตรอินทรีย์ซึ่งส่วนใหญ่มีราคาสูง กว่า ก็ยังเป็นที่นิยม และมีแนวโน้มจะขยายตัว มากขึ้นในอนาคต เช่น ในเบลเยียม ราคาขาย ในซูเปอร์มาร์เก็ตทั่วไป มะเขือม่วงราคา 2.99 ยูโร/กิโลกรัม ในขณะที่มะเขือม่วงออร์แกนิค ราคา 6.99 ยูโร/กิโลกรัม หรือบร็อคโคลีร่ าคา 1.98 ยูโร/กิโลกรัม ส่วนบร็อคโคลี่ออร์แกนิค ราคา 4.99 ยูโร/กิโลกรัม

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

76

ผลการวิจัยของกระทรวงอาหาร เกษตร และการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคของเยอรมนี (BMELV) เกี่ยวกับความนิยมบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ พบว่าในปี 2556 ผู้บริโภคอายุต่ำกว่า 30 ปี ซื้อสินค้าเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ในขณะที่สวิตเซอร์ แ ลนด์ มี สั ด ส่ ว นของการบริ โ ภคสิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ม ากที่ สุ ด ในยุ โ รป ตามด้ ว ย เดนมาร์ก โดยอาหารเกษตรอินทรียท์ ชี่ าวยุโรป นิยมบริโภคได้แก่ กาแฟ ข้าว ชา ผัก และ ผลไม้ องค์กรเพื่อการวิจัยและพัฒนาเกษตร อินทรีย์ (FiBL) และสมาพันธ์เกษตรอินทรีย์ นานาชาติ (IFOAM) คาดการณ์ว่าตลาดสินค้า

เกษตรอิ น ทรี ย์ ข องยุ โ รปจะเติ บ โตในอั ต รา ประมาณ 9% ในปี 2556 อี ยู มี พื้ น ที่ ก ารเกษตรอิ น ทรี ย์ ม ากกว่ า 7.6 ล้านเฮคเตอร์ หรือ 4.3% ของพืน้ ทีเ่ กษตร ทั้งหมดของอียู โดยอิตาลีเป็นประเทศที่มีพื้นที่ เกษตรอินทรีย์มากที่สุดในยุโรป ตามมาด้วย สเปน และเยอรมนี ตามลำดับ เป็นทีส่ งั เกตได้วา่ ระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา พื้นที่การเกษตร อิ น ทรี ย์ ใ นอี ยู ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น เรื่ อ ยๆ ซึ่ ง รวมไปถึ ง ผลประกอบการของผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ ก็ เ พิ่ ม มากขึ้ น เช่ น เดี ย วกั น โดยตลาดสิ น ค้ า เกษตรอินทรีย์ที่ใหญ่ที่สุดคือ เยอรมนี ตาม มาด้วย ฝรั่งเศส อังกฤษ และอิตาลี จุดเปลี่ยนที่เห็นได้ชัดเรื่องสินค้าเกษตร อินทรีย์ในอียูคือ เมื่อปี 2548 อียูได้เปิดตัว โครงการ European Action Plan on Organic Food and Farming เพือ่ เพิม่ ความตระหนักใน การทำการเกษตรอินทรีย์ หลังจากนัน้ ประเทศ สมาชิกก็ได้ตื่นตัว และมีแผนปฏิบัติการของตน ในการพัฒนาวิจยั ด้านเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์ โดยร่ ว มมื อ กั บ ภาคอุ ต สาหกรรม และภาค ประชาสังคม เพือ่ เพิม่ ความสำคัญ และบทบาท ของเกษตรอินทรีย์ให้เข้าไปอยู่ในการกำหนด


ประเภทอื่นๆ เช่น กุ้งกุลาดำอินทรีย์ ปลา สลิดอินทรีย์ เป็นต้น ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก สินค้าหลักที่ไทยส่งออกก็สามารถสร้างความ น่าสนใจ และเพิม่ มูลค่าสินค้าได้ เช่น ผลไม้แห้ง อินทรีย์ ผลไม้กระป๋องอินทรีย์ เป็นต้น

ผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรจากสหรัฐฯ ได้กล่าวว่า สาเหตุหนึ่งที่ทำให้กระแสนิยมการ บริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นนั้น เป็น เพราะ ได้มีการเปิดเผยผลการวิจัยถึงความ เชื่อมโยงกันของความเสี่ยงด้านสุขภาพกับสาร เคมีที่อยู่ในอาหาร และการสะสมของสารเคมี เมื่อมีการบริโภคต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน

สินค้าอีกประเภทหนึง่ ทีน่ า่ สนใจคือ กาแฟ และชา เนื่องจากเป็นสินค้าชนิดต้นๆ ในกลุ่ม สินค้าเกษตรที่อียูนำเข้าสูงสุด และมีอัตราการ บริโภคสูง ยิ่งไปกว่านั้น การผลิตกาแฟออร์แกนิ ค สามารถเพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า ให้ ต อบโจทย์ ความต้องการของตลาด เนือ่ งจากความต้องการ กาแฟ และชาออร์ แ กนิ ค ในตลาดอี ยู มี ม าก กว่าปริมาณที่มีในตลาด เป็นเพราะมาตรฐาน กระบวนการผลิตที่มีขั้นตอนมากมาย และผู้ ประกอบการที่ได้รับรองมาตรฐานการผลิตยัง มีจำกัด ประเทศไทยก็มีกาแฟ และชาคุณภาพ และมี ค วามหลากหลาย อย่ า งไรก็ ดี กาแฟ และชาออร์แกนิคจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว และเวียดนาม เป็นคู่แข่งรายใหญ่ของไทย ในการส่งออกไปยุโรป โดยเฉพาะลาวซึ่งได้ส่ง ออกกาแฟออร์แกนิคไปยังอียูเมื่อไม่นานมานี้ พร้อมทั้งได้รับความร่วมมือทางด้านการวิจัย และเทคโนโลยีการผลิตจากรัฐบาลฝรัง่ เศส และ เยอรมนี

จากแนวโน้มการบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ และการให้ความสำคัญเรือ่ งเกษตรอินทรีย์ ของคนอียดู งั กล่าวมาข้างต้น ผูป้ ระกอบการไทย สามารถนำมาเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งออก สินค้าไทยไปอียูได้ อาทิ ในภาคอุตสาหกรรม อาหาร ในฐานะประเทศเกษตรกรรมอย่างไทย สินค้าเกษตรอินทรีย์ในไทยนั้นอาจเรียกได้ว่า ยั งอยู่ใ นระยะเริ่ ม ต้น มี ผู้ป ระกอบการเพี ยง ไม่กรี่ ายทีท่ ำการเกษตรอินทรีย์ ผลิตขายในไทย และส่งออกต่างประเทศ ซึ่งสินค้าส่วนใหญ่นั้น เป็นประเภท ข้าว สมุนไพร (ขิง) ผัก (หน่อไม้) ผลไม้ (สับปะรด) โดยเฉพาะข้าวนั้น จากข้อมูล ของศูนย์วิจัยกสิกรไทยพบว่า ประเทศไทยมี พื้นที่การปลูกข้าวอินทรีย์มากที่สุดในโลก ข้าว อิ น ทรี ย์ โ ดยเฉพาะข้ า วหอมมะลิ อิ น ทรี ย์ เ ป็ น สินค้าที่ต้องการในตลาดอียูเป็นอย่างมาก โดย 96% ของข้ า วอิ น ทรี ย์ ที่ ผ ลิ ต ในไทยถู ก ส่ ง ออกไปยังอียู และมีแนวโน้มในการขยายตลาด มากขึ้นในอนาคต ไม่เพียงแค่สินค้าพืชและผัก ไทยยังมีศักยภาพในการส่งออกสินค้าอินทรีย์

สินค้าเกษตรอินทรียใ์ นภาคอุตสาหกรรม สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มก็กำลังได้รับความนิยม เพิม่ มากขึน้ ในอียู เนือ่ งจากในภาคอุตสาหกรรม เครือ่ งนุง่ ห่มในอียนู นั้ ได้ให้ความสำคัญกับวงจร ชีวิตสินค้ามากขึ้น เช่น การใช้วัสดุที่มีคุณภาพ ไม่เสือ่ มง่าย ลดปริมาณการซือ้ เพิม่ ทีก่ อ่ ให้เกิด ขยะจากการทิ้ ง หรื อ ทำลายเสื้ อ ผ้ า ที่ เ สื่ อ ม คุณภาพ โดยเฉพาะจากสินค้าเครื่องนุ่งห่มที่มี

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

นโยบายระดับประเทศ และภูมิภาค โดยแสดง ให้เห็นถึงการเชื่อมโยงกับนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของอาหาร ตลอดจน การพัฒนาด้านสังคมและเศรษฐกิจของพื้นที่ ชนบทในประเทศด้วย

77


Organic

ส่วนประกอบของสารเคมีทมี่ กี ารย่อยสลายยาก ผู้บริโภคอียูจึงเริ่มให้ความสำคัญกับเสื้อผ้าที่ทำ จากฝ้ า ยอิ น ทรี ย์ แ ทนเสื้ อ ผ้ า ทั่ ว ไปโดยเฉพาะ เสื้อผ้าในกลุ่ม Fast Fashion ที่มีอยู่จำนวน มาก ในอุตสาหกรรมแฟชั่น นอกจากนี้ กลุ่ม พ่อแม่รุ่นใหม่ในยุโรปก็หันมาซื้อสินค้าเครื่อง นุ่งห่มสำหรับเด็กที่ปราศจากสารเคมีมากขึ้น เนื่องจากเด็กมีความบอบบาง และสามารถแพ้ สารเคมีที่มากับผลิตภัณฑ์ ทั้งนี้ไทยเพิ่งเริ่มเปิด ตลาดส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปซึ่งผลิตจากฝ้าย อินทรีย์ไปยังอียูเมื่อไม่นานมานี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

78

อย่างไรก็ดี การเกษตรอินทรียข์ องไทย มี ข้อจำกัด และความท้าทายอยู่บางเรื่อง เช่น /1

ปัญหาเรื่องแมลงและศัตรูพืช ที่พบมากในพืช เขตร้อน อีกทั้ง ยังมีคู่แข่งจากประเทศในกลุ่ม ACP หรือกลุม่ แอฟริกนั แคริเบียน และแปซิฟกิ ซึ่งส่วนใหญ่เคยเป็นอาณานิคมของประเทศใน ยุโรป ที่มีภูมิอากาศคล้ายคลึงกับไทยสามารถ ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรประเภทเดียวกัน แต่ได้เปรียบในเรื่องระยะทางการขนส่ง ต้นทุน และสิทธิประโยชน์พิเศษทางการค้า ในการส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ไปยัง อียู ผูป้ ระกอบการจะต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ อียวู า่ ด้วยเรือ่ งระบบการควบคุมการผลิตสินค้า เกษตรอินทรีย์/1 ผูป้ ระกอบการไทยจะต้องผ่าน การตรวจสอบรับรองมาตรฐานการเกษตรอิน-

Council Regulation (EC) No 834/2007 of 28 June 2007 on organic production and labeling of organic products and repealing Regulation (EEC) No 2092/91


อียู และประเทศสมาชิกได้สนับสนุนการ บริ โ ภคสิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ และมี น โยบาย สนับสนุนการผลิตภายในประเทศ แต่กำลังการ ผลิตยังไม่สามารถรองรับความต้องการของ

ผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องได้ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันวัตถุดิบเกษตรอินทรีย์ของไทยยังมี จำกั ด และกระบวนการผลิ ต เกษตรอิ น ทรี ย์ ในไทยส่ ว นใหญ่ ยั ง พึ่ ง พาระบบการผลิ ต แบบ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้เทคโนโลยีแบบง่าย ไม่ ซับซ้อน และยังไม่มีการแปรรูปเป็นสินค้าต่างๆ ทีห่ ลากหลายมากนัก ทัง้ นี้ สินค้าเกษตรอินทรีย์ แปรรูปมีศักยภาพในการส่งออกไปยังอียูมาก กว่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ยังไม่ได้แปรรูป ด้วย ข้อจำกัดเรื่องระยะเวลา และการดูแลรักษา ระหว่างการขนส่ง ซึ่งทำให้สภาพสินค้าเน่า เสียได้ ดังนั้น การสนับสนุนการวิจัยด้านเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปสินค้าอินทรีย์ รวม ไปถึงการเข้าถึงวัตถุดิบนั้น เป็นสิ่งสำคัญใน การพัฒนาศักยภาพสินค้าอินทรีย์ของไทย ให้ สามารถส่งออกไปยังนานาประเทศ และสามารถ สู้กับประเทศคู่แข่งได้ การสนั บ สนุ น สิ น ค้ า เกษตรอิ น ทรี ย์ ใ น ไทย ยังสามารถเพิม่ มูลค่าสินค้าไทยให้สามารถ สูก้ บั สินค้าคูแ่ ข่งจากประเทศค่าแรง และต้นทุน ต่ำเช่น จีน เวียดนาม นอกจากนี้ยังเป็นการ ส่งเสริมทั้งผู้บริโภคให้ได้รับสินค้าที่มีคุณภาพ ผูผ้ ลิต (เกษตรกร) ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ และ ทีส่ ำคัญคือช่วยรักษาสิง่ แวดล้อม ลดการปล่อย สารเคมี และของเสียสู่ธรรมชาติอีกด้วย

ท่านสามารถติดตามข้อมูลเชิงลึกของอียูที่มีผลกระทบสำคัญ หรือเป็นโอกาสต่อประเทศไทย ได้ที่ www.thaieurope.net และติดตามรับข้อมูลข่าวสารดังกล่าวได้ที่ Twitter ‘@Thaieuropenews’ และ facebook ‘Thaieurope.net’

ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 157 กรกฎาคม-สิงหาคม 2557

ทรีย์จากหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจากอียู หรือ Control Body-CB (ในไทยคือ สำนักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ หรือ มกท.) เนือ่ งจาก ไทยไม่ได้อยูใ่ นกลุม่ Recognized third country list ในการส่งออกสินค้าเกษตรอินทรีย์ไปยังอียู โดยจะต้องได้รับการตรวจประเมินสถานที่ผลิต และประกอบการ เพื่อดูว่าระบบบริหารจัดการ ผลิตนั้นเป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐาน อียูหรือไม่ ซึ่งนอกเหนือจากตรวจระบบการ จั ด การแล้ ว มาตรฐานอี ยู ไ ด้ ก ำหนดไม่ ใ ห้ มี สารเคมีปนเปือ้ นภายในผลิตภัณฑ์ ทำให้บางครัง้ หน่วยงาน CB อาจตรวจหาสารเคมีตกค้างใน ผลิตภัณฑ์นอกเหนือจากการตรวจประเมินระบบ บริหารจัดการการผลิตของสถานประกอบการ ด้วย เมื่อปี 2550 สำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ได้ยื่น คำร้องเพื่อขอให้ไทยเข้าร่วมในกลุ่มประเทศที่ สามที่ได้รับการยอมรับเพื่อเพิ่มความมั่นใจใน สินค้าเกษตรอินทรียไ์ ทย และลดขัน้ ตอนในการ ส่งออก ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมาธิการยุโรป

79


ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท มู่หยางโฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท ตงชางเครื่องชั่ง (ประเทศไทย) จำกัด

โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-2516-8811 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 092 089 1601 โทร. 0-2937-4355 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2757-4792-5




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.