รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26.
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด บริษัท โกรเบสท์คอร์ โพเรชั่น จำกัด บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด บริษัท ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท เหรียญทอง ฟีด (1992) จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด
27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51.
บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด บริษัท ซันฟีด จำกัด บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท บางกอกแร้นซ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด บริษัท ไทยยูเนี่ยน ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท บุญพิศาล จำกัด บริษัท เฮกซ่าแคลไซเนชั่น จำกัด บริษัท บีทีจี ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท หนองบัว ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท โกลด์ คอยน์ สเปเชียลิตี้ส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แม่ทา วี.พี.ฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด บริษัท ฟาร์มจงเจริญ จำกัด บริษัท เจบีเอฟ จำกัด
ิน ภ อ
น ท นั
ร า าก
คณะกรรมการบริหาร สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประจำปี 2556-2557 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล
นายกสมาคม
บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน)
2. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง
อุปนายก คนที่ 1
บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด
3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์
อุปนายก คนที่ 2
บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด
4. นางเบญจพร สังหิตกุล
เหรัญญิก
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)
5. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์
เลขาธิการ
บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน)
6. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ
รองเลขาธิการ
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน)
7. นายเชฏฐพล ดุษฎีโหนด
รองเลขาธิการ
บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด(มหาชน)
8. นายโดม มีกุล
ประชาสัมพันธ์
บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด
9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล
ปฏิคม
บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด
10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ
นายทะเบียน
บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด
11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น
กรรมการ
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
12. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ ไพสิฐพงษ์
กรรมการ
บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด
13. นายหัสดิน ทรงประจักษ์กุล
กรรมการ
บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด
14. นายวิชัย คณาธนะวนิชย์
กรรมการ
บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด
15. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์
กรรมการ
บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด
16. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม
กรรมการ
บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน)
17. นายวราวุฒิ วัฒนธารา
กรรมการ
บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด
18. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์
กรรมการ
บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด
บรรณาธิการ
แถลง
การเสวนา อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ยั่งยืน หรือ ย่ำแย่ ได้จัดขึ้นผ่านพ้นไปแล้ว ในกิจกรรม ประจำปีของสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นศูนย์รวมภาคปศุสัตว์ให้มาเจอะเจอกันปีละครั้ง ทำให้กลุม่ สมาคมฯ ต่างๆ มาแลกเปลีย่ นนำเสนอข้อมูลอัพเดทกัน ให้รทู้ นั สถานการณ์ทผี่ า่ นมา และ มองอนาคต จะได้มีการเตรียมความพร้อมได้ทันท่วงที ซึ่งภาพของธุรกิจอาหารสัตว์ ยังมองแนวโน้มที่ความต้องการเพิ่มขึ้น และยังคงเป็นอันดับหนึ่ง ในอาเซียนที่การผลิตยังเติบโตและพัฒนาไปข้างหน้า ด้วยเทคโนโลยีที่เหนือชั้นกว่า แต่จะประมาทไม่ได้ เพราะการแข่งขันจากประเทศเพื่อนบ้านไล่ตามมาติดๆ ดังนั้น นโยบายที่จะสนับสนุนต้องเตรียมพร้อม ให้มากกว่านี้ อย่ามัวแต่กีดกันกันเอง กับมาตรการปิดกั้นเพื่อผลประโยชน์ของพวกพ้อง ซึ่งตลาดหลัก ที่จะส่งเสริมให้มีการเพิ่มปริมาณการบริโภคผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ยังมีอีกมาก และด้วยมาตรการที่เข้มงวด ในการเอาใจใส่ และใส่ใจในสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัยและความยัง่ ยืน ทำให้ภาคการผลิตมีประสิทธิภาพ ที่สูงที่สร้างความมั่นใจแก่ผู้สั่งซื้อ และเปิดตลาดให้ด้วยความยินดี ดังนั้น ต้องใช้โอกาสนี้สร้างความ เชือ่ มัน่ และส่งเสริมให้การลดต้นทุนการเลีย้ งสัตว์ และสร้างแรงจูงใจให้มกี ารเพิม่ ประสิทธิภาพลดต้นทุน การผลิตวัตถุดิบ หรือแม้แต่การนำเข้ามาเพื่อลดต้นทุน เพื่อแปรรูปสร้างผลกำไรมากขึ้น จะทำให้ เศรษฐกิจเติบโตขึ้นอย่างน่าภาคภูมิใจ นอกจากนั้นแล้ว การควบคุมโรคจะต้องช่วยกันระมัดระวังอย่าง เต็มที่ และหาทางขจัดให้หมดไป เพื่อสร้างความมั่นใจ และการรณรงค์ภายในประเทศ ให้มีการบริโภค ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และไข่ไก่ ให้ได้มากขึ้น ต่อคน ต่อปี จะเป็นทางหนี่งในการส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต และได้สร้างพละกำลังให้แก่คนในชาติมีสุขภาพที่ดี มีสมองที่ปราดเปรื่องยิ่งขึ้น การสร้างความมั่นใจแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ให้มีรายได้จากการเลี้ยงที่มั่นคงและถาวร ต้องอยู่ที่ การวางแผน และมีที่ปรึกษาที่ดี และจากการพัฒนาระบบการตลาดที่ปรับปรุงมาโดยตลอด ทำให้เกิด ความมั่นใจ และการทำตามกติกาที่มีไว้อย่างดี จะทำให้ทุกฝ่ายอยู่ได้จึงเกิดการทำธุรกรรมตามพันธสัญญา เป็นการสร้างความมั่นใจว่า การลงทุนด้วยความมานะ และชาญฉลาดจะทำให้ธุรกิจของผู้ร่วม ลงทุนมีความร่ำรวย และอยู่ได้อย่างถาวรยิ่งขึ้น อย่างที่หลายๆ คนได้ประสบผลสำเร็จมาแล้ว จึงไม่น่า เป็นห่วงว่าจะเป็นการสร้างภาระให้แก่กันและกันตราบที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่ อาจจะเกิดขึ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ในรอบของการเลี้ยงสัตว์ และหากผ่านพ้นวิกฤตินั้นๆ ไปได้แล้ว ความอยู่ดีกินดีของผู้ร่วมลงทุนจะมีความสุขตลอดไป บก.
วารสารธุรกิจอาหารสัตว์
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
ปีที่ 31 เล่มที่ 155 ประจำเดือนมีนาคม-เมษายน 2557
Contents Thailand Focus
จุดยืนข้าวไทยในจีน ปี 2556................................................................................... 5 ถอดรหัส "Food Valley Model"...จากเนเธอร์แลนด์สู่ไทยแลนด์. ........................... 13 อีกหนึ่งมุมมอง ต่อ...เกษตรพันธสัญญา.............................................................. 16
Food Feed Fuel
โรงเพาะฟัก-อาหารกุ้งฟื้นตัว.............................................................................. 19 ส่งออกมันรุ่ง จีนจ่อซื้อเพิ่ม................................................................................. 21 รายงานการสำรวจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 1/2557.............................................. 23 รายงานการสำรวจปาล์มน้ำมัน และปลาป่น ครั้งที่ 1/2557..................................... 29
Market Leader สรุปรายงานการเข้าร่วมงานเสวนา เรื่อง อุตสาหกรรมปศุสัตว์ ยั่งยืน หรือย่ำแย่??................................................ 59
Around The World
การจัดลำดับความสำคัญการปฏิรูปทางการเกษตรพม่า........................................ 74
ขอบคุณ. ................................................................................................................ 80
ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม
นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายณรงค์ศักดิ์ โชวใจมีสุข นายอรรถพล ชินภูวดล นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 Email: tfma44@yahoo.com Website: www.thaifeedmill.com
ข้าวไทย ใน จีน
ปี 2556
จีนเป็นประเทศที่บริโภคข้าวมากที่สุดใน โลก และเป็นประเทศทีเ่ พาะปลูกข้าวได้มากทีส่ ดุ ในโลกเช่นกัน ปริมาณการผลิตข้าวของจีน คิด เป็น 1 ใน 4 ของปริมาณการผลิตข้าวทั้งหมด ทั่วโลก แต่ปัจจุบันการเพาะปลูกข้าวของจีนได้ ประสบปัญหาจากหลายปัจจัย ผลผลิตจึงไม่เป็น ไปตามที่คาดหมาย ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อปริมาณการผลิต ข้าวของจีนคือ ความแห้งแล้ง และอุณหภูมิ อากาศสูงในฤดูร้อนที่ผ่านมา โดยตั้งแต่เดือน กรกฎาคม-กั น ยายน 2556 มณฑลทั้ ง 8 มณฑล ได้ แ ก่ เซี่ ย งไฮ้ เจ้ อ เจี ย ง เจี ย งซี หูหนาน ฉงชิ่ง กวางสี เจียงซู และกุ้ยโจว ได้ประสบปัญหาอากาศร้อนระอุ และความ แห้งแล้งที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2494 อีก ทั้งในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เป็นช่วงเวลา สำคัญของข้าวในพื้นที่นาลุ่มที่กำลังแตกรวง ผสมเกสร ความร้อนสูงของอากาศทำให้ความ แข็งแรงของรวงข้าวลดลง ก่อให้เกิดผลกระทบ ร้ายแรงแก่การเพาะปลูกข้าว แหล่งเพาะปลูก
ข้าวสำคัญ ได้แก่ เขตแม่น้ำแยงซีเกียง ซึ่งมี พื้นที่เพาะปลูกคิดเป็นร้อยละ 70 ของพื้นที่ เพาะปลูกทั้งหมดทั่วประเทศจีน ประสบปัญหา รุนแรงที่สุด คาดว่าอัตราการผสมเกสรของ ข้าวในปี 2013 จะลดลงร้อยละ 15 และ ปริมาณการผลิตข้าวจะลดลงร้อยละ 20 คิด เป็นปริมาณถึง 272 ล้านตัน นอกจากปัจจัยดังกล่าว จีนยังได้ประสบ ปัญหาข้าวสารปนเปื้อนสารโครเมียมในเขต เพาะปลูกข้าวหลักในมณฑลหูหนานช่วงเดือน พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา และยังได้ประสบปัญหาการ พัฒนาพืน้ ทีช่ นบทให้เป็นเมือง คาดว่าปี 2557 ปริมาณการผลิตข้าวจะอยู่ที่ 141 ล้านตัน ซึ่ง ไม่เพียงพอแก่การบริโภคถึง 1 ล้านตัน จากแหล่งข้อมูลอุตสาหกรรมจีนเผยว่า ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2556 ปริมาณ การผลิตข้าวของจีนรวม 92.27 ล้านตัน ขยาย ตัวร้อยละ 10.34 มณฑลที่มีปริมาณการผลิต ข้าวมากทีส่ ดุ ได้แก่ หูเป่ย เฮยหลงเจียง อันฮุย หูหนาน จี๋หลิน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.54, 13.25, 13.07, 10, 9.02 ตามลำดับ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
1. ปริมาณการผลิตข้าวของจีน
Thailand Focus
จุดยืน
5
ตารางแสดงปริมาณการผลิตข้าวของประเทศจีน ปี 2556 (มกราคม-ตุลาคม)
มณฑล
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
6
1. มณฑลหูเป่ย 2. มณฑลเฮยเหลงเจียง 3. มณฑลอันฮุย 4. มณฑลหูหนาน 5. มณฑลจี่หลิน 6. มณฑลเจียงซู 7. มณฑลเหลียวหนิง 8. มณฑลเหอหนาน 9. มณฑลเจี้ยงซี 10. มณฑลเสฉวน 11. มณฑลกวางสี 12. มณฑลฝูเจี้ยน 13. มหานครฉงชิ่ง 14. มณฑลกวางตุ้ง 15. เขตปกครองตนเองมอลโกเลียใน 16. เขตปกครองตนเองหนิงเซียะ 17. มณฑลกุ้ยโจว 18. มณฑลเจ้อเจียง 19. มณฑลส่านซี 20. มณฑลชานตง 21. มณฑลยูนนาน 22. เขตปกครองตนเองชินเจียง 23. มหานครเซี่ยงไฮ้ 24. มณฑลหูเป่ย 25. มหานครเทียนจิน 26. มหานครปักกิ่ง 27. มณฑลไห่หนาน 28. มณฑลซานซี 29. มณฑลกานซู 30. มณฑลชิงไห่ 31. เขตปกครองตนเองทิเบต รวมทุกมณฑล ที่มา: เว็บไซต์ข้อมูลข่าวสารอุตสาหกรรมจีน
ปริมาณการผลิต (ตัน) ขยายตัว (%) มกราคม-ตุลาคม มกราคม-ตุลาคม ตุลาคม 2556 ตุลาคม 2556 2556 2556 1,989,040 17,119,739 16.44 14.69 1,745,743 12,239,004 15.42 17.03 1,453,966 12,060,752 12.69 8.05 1,113,240 9,232,803 4.58 0.52 839,489 8,330,284 -19.30 3.24 751,522 6,361,617 8.25 9.83 590,877 5,225,988 8.79 10.09 518,611 4,245,604 9.15 14.98 507,952 4,903,267 -4.28 12.69 449,176 4,422,918 13.77 12.64 176,250 1,683,332 -0.62 4.62 147,848 1,499,950 8.72 11.75 133,663 905,153 4.32 2.73 114,917 666,617 51.46 17.80 70,158 576,214 26.43 16.04 69,110 454,385 34.61 21.47 58,025 660,260 30.78 43.55 55,344 467,456 -4.76 12.65 55,297 419,068 9.06 17.89 48,383 374,869 9.96 36.02 12,520 100,218 -12.20 -24.68 11,655 100,429 -18.26 2.94 9,470 99,905 -42.98 -38.37 7,390 67,204 -10.80 13.01 3,944 32,433 -53.11 -43.11 2,147 23,847 -23.16 -10.70 916 5,529 -13.34 -52.24 450 -51.72 10,936,652 92,279,293 7.85 10.34
2. สถานการณ์การค้าข้าวระหว่างประเทศของจีน ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2556 มูลค่าการค้าข้าวระหว่างประเทศของจีนรวม 1,194.09 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ 2.21 มูลค่าการนำเข้ารวม 851.91 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 9.13 และมูลค่าการส่งออกรวม 342.18 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 48.39
2.1 การนำเข้า แหล่งนำเข้าหลักของจีน ได้แก่ เวียดนาม ปากีสถาน และไทย โดยเวียดนามได้ครอง อันดับหนึง่ 2 ปีตดิ ต่อกัน และปากีสถานได้สง่ ออกข้าวมายังจีนเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วนับจากปี 2554 ซึ่งมีมูลค่าจำนวน 1.31 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเป็น 151.03 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จากการขยายตลาดข้าวของเวียดนาม และปากีสถานในจีน ทำให้ไทยถูกจัดอยู่ใน ลำดับที่สาม จากการครองตำแหน่งอันดับหนึ่งในตลาดจีนมาเป็นเวลาหลายปีติดต่อกัน ในขณะที่ภาพรวมการนำเข้าข้าวจากทั่วโลกของจีนลดลงร้อยละ 9.13 ซึ่งการ นำเข้าข้าวจากเวียดนาม และปากีสถานก็ลดลง แต่การนำเข้าข้าวของจีนจากไทยขยายตัวเพิ่มขึ้น ถึงร้อยละ 39.37 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ข้าวไทยยังคงมีแนวโน้มที่ดี แต่อย่างไรก็ตาม ไทยไม่ควร ประมาท และต้องให้ความสำคัญกับการรักษาคุณภาพข้าวให้ได้ระดับมาตรฐาน
ประเทศ 1. เวียดนาม 2. ปากีสถาน 3. ไทย 4. กัมพูชา 5. ลาว 6. ไต้หวัน 7. พม่า 8. ญี่ปุ่น 9. แคนาดา 10. อินเดีย รวมทุกประเทศ ที่มา: China Customs
2554 สัดส่วน มูลค่า (%) 114.88 35.89 1.31 0.41 201.87 63.06 0.00 0 1.12 0.35 0.02 0.01 0.25 0.08 0.00 0 0.00 0 0.00 0 320.13 100
2555 สัดส่วน มูลค่า (%) 628.81 67.07 188.50 20.11 107.33 11.45 1.69 0.18 2.61 0.28 1.17 0.13 0.62 0.07 0.21 0.02 0 0 0.05 0.01 937.56 100
มูลค่า 530.42 151.03 149.59 16.60 2.34 1.05 0.69 0.10 0.03 0.01 851.91
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2556 สัดส่วน ขยายตัว (%) (%) 62.26 -15.65 17.73 -19.88 17.56 39.37 1.95 879.31 0.28 -10.45 0.12 -10.27 0.08 11.87 0.01 -50.24 0.01 0 0 -81.42 100 -9.13
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ตารางแหล่งนำเข้าข้าวของจีน 10 อันดับแรก ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2554-2556
7
จีนนำเข้าข้าวผ่านด่านเมืองเซินเจิ้นมากที่สุด โดยมีมูลค่านำเข้าสูงถึง 369.51 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 43.37 ของการนำเข้าทัง้ หมด ขยายตัวร้อยละ 3.14 จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว รองลงมาได้แก่ หวงผู่ เซี่ยเหมิน เซี่ยงไฮ้ และหนานจิง ตามลำดับ ตารางแสดงมูลค่าการนำเข้าข้าวผ่านด่านเมืองต่างๆ ของจีน ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2554-2556
เมือง 1. เซินเจิ้น 2. หวงผู่ 3. เซี่ยเหมิน 4. เซี่ยงไฮ้ 5. หนานจิง 6. หนานหนิง 7. ผู่โจว 8. หนิงโป 9. กวางโจว 10. หนานชาง ที่มา: China Customs
2554 สัดส่วน มูลค่า (%) 166.51 52.1 106.35 33.22 17.60 5.5 13.38 4.18 2.95 0.92 0.03 0.01 1.81 0.57 2.20 0.69 7.40 0 0 0
2555 สัดส่วน มูลค่า (%) 358.25 38.21 371.40 39.61 69.05 7.37 33.07 3.53 30.95 3.30 20.34 2.17 5.81 0.62 6.78 0.72 3.50 0.37 0.15 0.02
มูลค่า 369.51 296.38 38.67 32.18 24.67 20.47 13.95 13.90 11.89 8.54
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2556 สัดส่วน ขยายตัว (%) (%) 43.37 3.14 34.79 -20.2 4.54 -44 3.78 -2.7 2.9 -20.28 2.4 0.64 1.64 139.94 1.63 104.85 1.4 239.5 1.00 5559.4
2.2 การส่งออก ตลาดส่งออกข้าวหลักของจีน ได้แก่ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น เกาหลีเหนือ ฮ่องกง ปากีสถาน ตามลำดับ ระหว่างเดือนมกราคา-ตุลาคม 2556 จีนได้ส่งออกข้าวไปยังเกาหลีใต้มูลค่ารวม 220.19 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 176.57 จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 64.35 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
8
ตารางประเทศ 10 อันดับแรกที่จีนส่งออกข้าว ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2554-2556
1. เกาหลีใต้ 2. ญี่ปุ่น 3. เกาหลีเหนือ 4. ฮ่องกง 5. ปากีสถาน 6. มองโกเลีย 7. เวียดนาม 8. รัสเซีย 9. ฟิลิปปินส์ 10. อินโดนีเซีย รวมประเทศ ที่มา: China Customs
2555 สัดส่วน มูลค่า (%) 79.61 34.53 46.95 20.36 22.82 9.90 18.29 7.94 24.92 10.81 4.26 1.85 5.42 2.35 1.66 0.72 5.45 2.37 7.39 3.21 230.60 100
มูลค่า 220.19 31.62 23.93 19.84 15.53 9.00 8.80 3.13 2.35 1.73 342.18
ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2556 จีนส่งออกข้าวผ่านด่านเมืองต้าเหลียน หนานจิง ฉางชุน มากที่สุด โดยมีอัตราขยายตัวร้อยละ 67.75, 194.54 และ -5.21 ตามลำดับ สัดส่วน การส่งออกข้าวผ่านเมืองต้าเหลียนคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 72.88 ของการส่งออกข้าวทั้งหมด ของจีน ทั้งนี้ การส่งออกข้าวผ่านทางเฉิงตูจัดอยู่ในอันดับที่ 16 มูลค่า 1.01 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 58.18
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ประเทศ
2554 สัดส่วน มูลค่า (%) 128.37 48.3 15.01 5.65 26.52 9.98 19.76 7.44 10.66 4.01 5.22 1.97 5.55 2.09 3.25 1.22 3.30 1.24 4.76 1.79 265.75 100
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2556 สัดส่วน ขยายตัว (%) (%) 64.35 176.57 9.24 -32.65 6.99 4.83 5.80 8.45 4.54 -37.68 2.63 111.24 2.57 62.22 0.92 88.69 0.69 -56.85 0.51 -76.55 100 48.39
9
ตารางแสดงมูลค่าการส่งออกข้าวจากด่านเมืองของจีน ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลคม 2554-2556
เมือง 1. ต้าเหลียน 2. หนานจิง 3. ฉางชุน 4. เซี่ยงไฮ้ 5. อุรุมชี 6. เซินเจิ้น 7. เหอเฝย 8. หนานหนิง 9. คุนหมิง 10. ฮูฮอต 16. เฉิงตู ที่มา: China Customs
2554 สัดส่วน มูลค่า (%) 177.48 66.79 16.18 6.09 12.93 4.87 29.71 11.18 8.49 3.20 1.04 0.39 0 0 2.63 0.99 2.88 1.09 1.88 0.71 0.00 0
2555 สัดส่วน มูลค่า (%) 148.65 64.47 8.67 3.76 13.59 5.9 25.12 10.89 4.83 2.10 10.07 4.37 0 0 2.29 1 2.65 1.15 1.20 0.52 0.63 0.28
มูลค่า 249.38 25.55 12.88 11.63 9.11 7.79 7.48 4.16 3.49 2.10 1.01
หน่วย: ล้านเหรียญสหรัฐฯ 2556 สัดส่วน ขยายตัว (%) (%) 72.88 67.75 7.47 194.54 3.77 -5.21 3.4 -53.68 2.66 88.63 2.28 -22.64 2.19 0 1.22 81.32 1.02 31.67 0.62 74.46 0.3 58.18
3. ข้าวไทยในตลาดจีน ประเทศไทยเป็นประเทศที่ผลิตข้าวได้มากเพียงพอแก่การบริโภคภายในประเทศ และ ส่งออกไปยังต่างประเทศจนสามารถครองอันดับหนึ่งในการส่งออกข้าวไปยังต่างประเทศนานถึง 30 ปี ด้วยความหอม และมีคุณภาพของข้าวไทยที่มีเม็ดเรียวยาว ทำให้ข้าวไทยดังไปทั่วโลก รวมทั้งตลาดที่บริโภคข้าวมากที่สุดอย่างประเทศจีน จากสถิติการนำเข้าข้าวของจีนพบว่า ระหว่างเดือนมกราคม-ตุลาคม 2556 จีนได้นำเข้า ข้าวไทยมากเป็นอันดับสาม มูลค่ารวม 149.59 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 17.56 จากการนำเข้าข้าวทั้งหมดของจีน ขยายตัวขึ้นร้อยละ 39.37 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
10
ระหว่างปี 2552-2554 จีนมีการนำเข้าข้าวไทยเป็นอันดับหนึ่งมาโดยตลอด จนกระทั่งปี 2555 มูลค่าการนำเข้าข้าวไทยของจีนลดลง และมีการนำเข้าจากเวียดนาม และปากีสถานมากขึน้ เหตุผลหลักสืบเนื่องจากปัจจัยด้านราคา เนื่องจากค่าครองชีพของจีนสูงขึ้น ทำให้ประชากรจีน หันมาบริโภคข้าวที่มีราคาถูก ซึ่งข้าวไทยในจีนจัดว่าเป็นสินค้าระดับสูง มีคุณภาพ และราคาสูง กว่าข้าวอืน่ ๆ ในขณะทีข่ า้ วเวียดนาม และข้าวปากีสถานมีราคาถูกกว่าข้าวนาปรังทีป่ ลูกในประเทศ จีนเอง กล่าวคือ ราคาข้าวของทั้งสองประเทศต่ำกว่า 3,300 หยวนต่อตัน จึงไม่แปลกนักที่จีน จะนำเข้าข้าวจากประเทศดังกล่าวเป็นจำนวนมาก
อย่างไรก็ตาม ในปี 2556/2557 รัฐบาลจีนได้กำหนดโควตาการนำเข้าข้าวไว้ที่ประมาณ 5.32 ล้านตัน และสมาคมธัญพืชนานาชาติของจีน (International Grains Council) ได้ปรับ ปริมาณการนำเข้าข้าวเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 เนื่องจากปริมาณการผลิตข้าวลดลง และความต้องการ ข้าวของประชากรจีนเพิ่มขึ้น ข้าวไทยจึงน่าจะมีโอกาสที่ดี สามารถส่งข้าวมายังจีนได้มากตาม คาดหมาย
3.1 ความได้เปรียบของข้าวไทย (1) ข้าวไทยเป็นข้าวที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐาน ทำให้ข้าวไทยมีชื่อเสียงโด่งดัง และเป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก (2) เอกลักษณ์เฉพาะตัวของข้าวหอมมะลิไทยที่มีกลิ่นหอม และเม็ดเรียวยาว ต่าง จากข้าวอื่นๆ ในตลาดจีน ซึ่งมีชนิดเม็ดกลม สั้น และยาว แต่ไม่มีความหอม ทำให้ผู้บริโภคชอบรับประทานข้าวไทย (3) ความสัมพันธ์อนั ยาวนานของไทย และจีน ทำให้การเข้าสูต่ ลาด และเป็นทีย่ อมรับ ในตลาดจีนเป็นเรื่องไม่ยากสำหรับประเทศไทย
3.2 ปัญหาและอุปสรรคที่ท้าทาย (1) ราคาข้าวไทยสูง ทำให้จำกัดกลุ่มผู้บริโภคข้าวไทยอยู่ที่ผู้บริโภคระดับกลาง ขึ้นไป (3) จากการแอบอ้างใช้ชอื่ ว่าเป็นข้าวจากไทย ทำให้ผบู้ ริโภคเข้าใจคลาดเคลือ่ น ส่งผล ต่อภาพลักษณ์คุณภาพของข้าวไทยเป็นอย่างมาก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
(2) ความได้เปรียบด้านราคาของข้าวเวียดนาม และข้าวปากีสถาน
11
(4) มีผู้ประกอบการบางรายนำเข้าข้าวหลีกเลี่ยงภาษีโดยใช้ช่องว่างทางกฎหมาย กล่าวคือ หากนำเข้าข้าวไม่เกิน 8,000 หยวน จะได้รับการยกเว้นภาษี ส่งผล ให้ราคาข้าวในตลาดต่ำลง (5) ในตลาดจีน ข้าวไทยมีทั้งข้าวหอมมะลิ และข้าวขาว แต่ผู้บริโภคยังขาดความ เข้าใจในเรื่องความแตกต่างข้าวหอมมะลิ และข้าวขาว ส่งผลให้ผู้ที่เคยรับ ประทานข้าวหอมมะลิแล้วมารับประทานข้าวขาวไทยคิดว่า ข้าวขาวไทยคือ ข้าวปลอม (6) การนำเข้าข้าวของจีนมีระบบโควตา
3.3 แนวทางการส่งเสริมข้าวไทยในจีน (1) รักษา และพัฒนามาตรฐาน และคุณภาพข้าวไทยพร้อมสร้างภาพลักษณ์ (2) ประชาสัมพันธ์ และให้ข้อมูลการเลือกซื้อข้าวหอมมะลิไทยแก่กลุ่มผู้บริโภคอย่าง ต่อเนื่อง (3) เพิ่มข้าวบรรจุภัณฑ์ขนาดเล็ก เช่น ขนาด 1-2 กิโลกรัม ให้มากยิ่งขึ้น เพื่อตอบ สนองพฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไป ซึง่ มีความเป็นเมือง และเป็นครอบครัวเดีย่ ว มากขึ้น เพื่อขยายฐานกลุ่มลูกค้าให้กว้างขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
12
แหล่งที่มา: 1. การสัมภาษณ์ผู้นำเข้าข้าวไทย และร้านอาหารไทยในนครเฉิงตู 2. การสำรวจตลาดในนครเฉิงตู ได้แก่ ห้างสรรพสินค้า Ito Yokado, Carrefour, Isetan และ ตลาดค้าข้าว 3. หนังสือพิมพ์ซินหัว ฉบับวันที่ 16 ตุลาคม 2556 4. China Customs จาก World Trade Atlas 5. http://finance.qq.com 6. http://info.1688.com สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ นครเฉิงตู ธันวาคม 2556
• โชติกา ชุ่มมี •
Thailand Focus
ถอดรหัส “Food Valley Model” …จากเนเธอร์แลนด์สู่ไทยแลนด์ ภายในปี 2050 หรืออีกราว 40 ปีต่อจากนี้ ประชากรทัว่ โลกจะพุง่ ขึน้ ไปแตะระดับ 9 ,600 ล้านคน หรือเพิ่มขึ้นถึงราว 2,400 ล้านคนจากปัจจุบัน ซึ่งแน่นอน ว่าจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้นดังกล่าวย่อมหมายถึง ความ ต้องการบริโภคอาหารที่มากขึ้นเป็นเงาตามตัว แต่ขณะเดียวกันความสามารถในการผลิตอาหาร ของโลกใบนี้กลับกำลังลดน้อยถอยลงทุกขณะ ทั้งจากพื้นที่ทำการเกษตรที่ถูกคุมคามจากความ เจริญของภาวะเศรษฐกิจ สภาพดินฟ้าอากาศที่มีความแปรปรวนมากขึ้น ภาวะโลกร้อน หรือ แม้แต่ภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ยากจะคาดเดา ประเด็นเรื่อง "ความมั่นคงด้านอาหาร" หรือ food security จึงได้กลายเป็น agenda เร่งด่วนของรัฐบาลในหลายประเทศทั่วโลก ... แล้วไทยเรา ในฐานะประเทศผู้ผลิตสินค้าเกษตร และอาหารที่สำคัญของโลก จะต้องมีการปรับตัว และเตรียม ความพร้อมเพื่อคว้าโอกาส และรับมือกับวิกฤตการณ์ดังกล่าวอย่างไร?
คำถามแรกที่อาจจะกำลังเกิดขึ้นในใจตอนนี้คือ แล้ว Food Valley ที่ว่านี้คืออะไร และมีที่มาที่ไปอย่างไร? เชื่อว่าผู้อ่านหลายท่านอาจจะคุ้นหูคุ้นตากับคำว่า Food Valley กัน บ้างแล้ว ซึ่งถ้าจะพูดให้เข้าใจแบบง่ายๆ "Food Valley" หรือโครงการหุบเขาอาหาร ก็คือ แนว ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
จะว่าไปแล้ว รัฐบาลไทยก็ได้มีการวางนโยบาย และ roadmap ด้าน food security เพื่อ ผลักดันให้ประเทศของเรากลายเป็นศูนย์กลางด้านการผลิตอาหาร และครัวของโลก หรือ Kitchen of the World มาระยะหนึ่งแล้ว ผ่านการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการ พัฒนาด้านวัตถุดิบ เทคโนโลยีการผลิต คุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัย รวมทั้งการสร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและอาหาร ซึ่งปัจจัยดังกล่าวข้างต้นได้มีส่วนสำคัญ ในการส่งเสริมให้มูลค่าการส่งออกอาหารของไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งอาหารไทย ติดอันดับ Top-5 อาหารยอดนิยมของนักชิมจากทัว่ โลก แต่นนั่ อาจจะยังไม่เพียงพอในการสานฝัน เพื่อก้าวไปสู่การเป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารโลกและครัวของโลกอย่างที่ตั้งเป้าเอาไว้ ... และนี่ จึงกลายเป็นที่มาของแนวคิดในการผลักดันให้เกิดโครงการ Food Valley ขึ้นในไทย
13
คิดในการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และอาหารแบบครบวงจรนั่ น เอง ซึ่ ง โมเดล ที่ว่านี้ เกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี 1997 ซึ่งเป็นช่วงที่เค้ากำลังประสบกับ ปัญหาด้านปริมาณ และคุณภาพผลผลิตทาง การเกษตรทีล่ ดลง รัฐบาลเนเธอร์แลนด์จงึ ได้ผดุ แนวคิดนี้ขึ้นเพื่อพัฒนาและยกระดับขีดความ สามารถในการแข่ ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมใน คลัสเตอร์อาหารให้มีความเข้มแข็ง ผ่านการ สร้างเครือข่ายความเชือ่ มโยงระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคธุรกิจ สถาบันวิจัย และสถาบัน การศึกษาต่างๆ เพื่อผลักดันให้องค์ความรู้และ ผลงานวิจัยทางวิชาการต่างๆ ได้รับการพัฒนา และต่อยอดให้เห็นเป็นรูปธรรม สามารถผลัก ดันให้ออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์ได้จริงอย่าง รวดเร็ว
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
14
คงไม่ แ ปลกถ้ า จะบอกว่ า แนวคิ ด ของ โครงการ Food Valley เป็นการเดินตามรอย ความสำเร็จของ Silicon Valley ในสหรัฐฯ ซึง่ ถือเป็นโมเดลต้นแบบของเมืองแห่งอนาคตที่มี ความทันสมัยด้าน IT และเป็นแหล่งรวมที่ตั้ง สำนั ก งานใหญ่ ข องบริ ษั ท ด้ า นเทคโนโลยี ที่ มี ชื่อเสียงระดับโลกหลายบริษัท รวมทั้งยังเป็น ที่ ตั้ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย สแตนฟอร์ ด ซึ่ ง เป็ น มหาวิทยาลัยชั้นนำทางด้านเทคโนโลยี และ ธุรกิจอีกด้วย ซึ่งก็ไม่ต่างจากโครงการ Food Valley ที่เมือง Wageningen ในเนเธอร์แลนด์ ซึ่ ง เป็ น เมื อ งที่ ร ายล้ อ มไปด้ ว ยแหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ ทางการเกษตร เป็นทีต่ งั้ ของบริษทั ด้านอาหาร ชั้นนำจากทั่วโลกกว่า 70 บริษัท ศูนย์วิจัยกว่า 20 แห่ง สถาบันการศึกษาจำนวนมาก รวม ถึงมหาวิทยาลัย Wageningen ซึ่งมีชื่อเสียง ในด้านเทคโนโลยีการเกษตร นอกจากนี้ ยัง
เป็นที่ตั้งของบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรกลสำหรับ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปอาหารมาก ถึงกว่า 200 บริษัท ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้ ล้วนแล้วแต่เป็นจิ๊กซอว์สำคัญที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในห่วงโซ่การผลิตอาหารทั้งสิ้น ตัวอย่างในการต่อยอดองค์ความรู้ และ งานวิจัยภายใน Food Valley แห่งนี้ ที่นำไปสู่ การสร้างรายได้ในเชิงพาณิชย์ที่ประสบความ สำเร็จค่อนข้างชัดเจน ได้แก่ การจัดตั้งศูนย์ วิจัยพัฒนาคุณภาพและรสชาติผลิตภัณฑ์ซอส ถั่วเหลืองของบริษัท Kikkoman จากญี่ปุ่น ซึ่ง ช่วยให้บริษัทสามารถผลิตซอสถั่วเหลืองให้ถูก ปากชาวยุโรป และขายได้ดีมากขึ้น หรือแม้แต่ บริษัท Heinz ซึ่งเป็นผู้ผลิตซอสมะเขือเทศ ชั้นนำของโลกก็ได้มีการตั้งบริษัทขึ้นที่นี่ด้วย เช่นกัน โดยได้มีการคิดค้นนวัตกรรมที่ช่วยลด ความสูญเสีย (waste) ในระหว่างกระบวนการ ผลิตให้เหลือน้อยที่สุด โดยการวิจัยเพื่อค้นหา สายพั น ธุ์ ม ะเขื อ เทศที่ ส ามารถให้ ผ ลผลิ ต ที่ มี ขนาดเท่ากันทุกลูก และพอดีกับเครื่องบดของ โรงงานซึ่งรองรับมะเขือเทศเพียงขนาดเดียว เพื่อลดความสูญเสียทั้งด้านเวลา และต้นทุน ในการคัดมะเขือเทศทีม่ ขี นาดใหญ่ หรือเล็กกว่า เครื่องบดออก นอกจากนี้ ที่ Food Valley แห่งนี้ ยังเน้นการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ "ระดับต้นน้ำ" เพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑ์อาหาร ให้มีความเหมาะสมกับผู้บริโภคเฉพาะกลุ่มมาก ยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการผลิตไข่ไก่ที่มีคุณสมบัติ พิเศษในการช่วยยับยั้งโรคตาบางชนิดในกลุ่มผู้ สูงอายุ การผลิตนมซึง่ มีองค์ประกอบทีเ่ หมาะสม กับการนำไปผลิตเป็นเนยแข็งโดยเฉพาะ ซึ่ง ตัวอย่างเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพของ
ความสำเร็จที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ปัจจุบัน เนเธอร์ แ ลนด์ ก ลายเป็ น ประเทศผู้ ส่ ง ออก สินค้าเกษตรและอาหารรายใหญ่อนั ดับ 2 ของ โลก รองจากสหรัฐฯ และยังเป็นประเทศที่มี การลงทุนด้านการวิจัย และพัฒนาของภาค เอกชน (private R&D) มากเป็นลำดับที่ 2 ในกลุ่มสหภาพยุโรปอีกด้วย ซึ่งนอกจากจะช่วย สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจมากถึงกว่าปีละ 48 พันล้านยูโรแล้ว ยังกลายเป็นสนามแม่เหล็ก ชั้นดีที่ดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจำนวนมหาศาลเข้า ประเทศ ซึ่ง success story ที่เกิดขึ้น ส่งผล ให้หลายประเทศทั้งในยุโรป และเอเชียได้เริ่ม มีการจัดทำโครงการในลักษณะเดียวกันนี้ขึ้น เพือ่ เป็นแนวทางยกระดับขีดความสามารถด้าน การแข่งขัน และเสริมสร้างความมั่นคงทาง ด้านอาหารในประเทศตนเอง ไม่วา่ จะเป็นสวีเดน จีน เกาหลีใต้ หรือแม้แต่ไทยเอง ถามว่าแล้วปัจจุบันโครงการ Thailand Food Valley คืบหน้าไปถึงไหนแล้ว? อาจ กล่าวได้วา่ โครงการหุบเขาอาหารของไทย หรือ Thailand Food Valley กำลังอยูใ่ นช่วงเริม่ ต้น เท่านั้น เพราะภาครัฐเพิ่งจะมีการ kick-off โครงการนีใ้ นปีทผี่ า่ นมา ล่าสุดได้มกี ารกำหนด พื้นที่เป้าหมายนำร่องไว้ 3 แห่งด้วยกัน ได้แก่ เชียงใหม่ นครราชสีมา และประจวบคีรีขันธ์ โดยมี ห น่ ว ยงานวิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย หลาย แห่งตอบรับเข้าร่วมโครงการนี้ ซึ่งในเบื้องต้น จะเน้นไปที่การแปรรูปผลิตภัณฑ์ข้าว เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้ ทั้งนี้ แม้ว่า Thailand Food
Valley จะเป็ น โปรเจ็ ก ต์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น คล้ อ ยหลั ง นโยบายครัวไทยสู่ครัวโลกอยู่หลายปีก็ตาม แต่ ก็นบั ได้วา่ เป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ซี งึ่ ควรสานต่ออย่าง จริงจังเพราะอย่างน้อยที่สุด มาช้าก็ยังดีกว่า ไม่มา ต้องไม่ลืมว่า หัวใจสำคัญ และกุญแจสู่ ความสำเร็จของโมเดลนี้คือ ความเชื่อมโยงกัน ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา หรือ "golden triangle" ซึง่ จะเอือ้ ให้เกิด synergy impact ที่มีพลัง แม้ว่าการนำร่องโดยภาครัฐ จะเป็นปัจจัยพื้นฐานที่มีความจำเป็น แต่หาก ขาดการเชื่อมต่อกับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหาร และภาควิชาการ โครงการ Food Valley ของไทยก็คงจะไม่สามารถประสบความ สำเร็จได้ง่ายนัก ดังนั้น คงถึงเวลาแล้วที่ผู้ที่ เกี่ยวข้องในแวดวงอาหารจะต้องมานั่งจับเข่า คุยกันอย่างจริงจัง เพื่อแปรเปลี่ยนองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิจัยและพัฒนาให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนให้การ พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหาร ของไทยก้าวกระโดดไปข้างหน้าเข้าสู่ยุคไฮเทค ทีข่ บั เคลือ่ นโดยนวัตกรรมและองค์ความรูอ้ ย่าง แท้จริง รวมถึงเป็นการเตรียมความพร้อมให้ ภาคเอกชนไทยเพื่อเปิดแนวรุกบุกตลาด AEC ได้อย่างเต็มรูปแบบอีกด้วย ... เมือ่ เวลานัน้ มาถึง เชือ่ ว่าความฝันของ ไทยในการเป็นศูนย์กลางด้านการผลิตอาหาร และครัวของโลกก็คงอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมอย่าง แน่นอน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
การต่ อ ยอดงานวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านอาหารที่เป็นได้มากกว่าที่ เราคาดคิด
15
Thailand Focus
Con Far tra อีกหนึ่งมุมมอง ต่อ... min ct g
เกษตรพันธสัญญา • ดร.อภิญญา วนเศรษฐ •
เกษตรกรรมนับเป็นพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมาช้านาน หล่อเลี้ยงชีวิต ผู้คนทั้งใน และต่างประเทศ ประชากรมีอาหารบริโภคเพียงพอ และ มีคุณภาพ และจากการที่ผลิตสินค้าเกษตรได้ ในปริมาณมากกว่าความต้องการบริโภคภายใน ประเทศ ทำให้ไทยสามารถส่งสินค้าเกษตรออก ไปจำหน่ายยังต่างประเทศ และสร้างรายได้ เข้าประเทศจำนวนมากในแต่ละปี โดยสินค้า เกษตรที่มีความสำคัญในเชิงพาณิชย์ อาทิ ข้าว ยางพารา มันสำปะหลัง ไก่ หมู และอาหารทะเล เป็นต้น ข้อได้เปรียบประการสำคัญมาจากการ ที่ประเทศตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีสภาพภูมิอากาศ และภูมิประเทศที่เหมาะสม มีฝนตกชุก รวมทั้งมีพื้นดินที่อุดมสมบูรณ์จึงเหมาะแก่การ ทำเกษตรกรรม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
16
อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันแม้ว่าสัดส่วน ภาคเกษตรกรรมของประเทศจะมีแนวโน้มเล็ก ลงเมื่อเทียบกับในอดีต เพราะภาคเกษตรมีการ ขยายตัวแบบค่อยเป็นค่อยไป และช้ากว่าภาค อุตสาหกรรม และภาคบริการนั่นเอง แต่ภาค ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
เกษตรกรรมเองก็ยังมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยเฉพาะในมุมมองของความ มั่นคงทางอาหาร และการสร้างรายได้ให้กับ ประชากร ในระยะที่ผ่านมาเกษตรกรส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานในกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรทั้งหลายยังคงประสบกับ ความยากจน มีรายได้นอ้ ย และมีความเสีย่ งจาก ความไม่แน่นอนของสภาพดินฟ้าอากาศ ราคา สินค้า และตลาดที่ไม่แน่นอน อาชีพเกษตรกรรมจึงได้รับความนิยมจากคนรุ่นหลังลดลง อย่างต่อเนื่อง ขณะเดียวกันเกษตรกรไทยส่วน ใหญ่ ก็ ยั ง คงเป็ น ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ยตลอดหลาย ทศวรรษที่ผ่านมา จากประสบการณ์ความสำเร็จของระบบ เกษตรพันธสัญญาในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น ในสหรัฐอเมริกา หรือหลายประเทศในแอฟริกา ดังนั้น ในประเทศไทยระบบเกษตรพันธสัญญา จึงถูกหยิบยกขึ้นมา เพื่อหวังจะช่วยพัฒนาภาค เกษตรกรรม และบรรเทาปัญหาในเรื่องความ ผั น ผวนของราคา รายได้ และตลาดให้ กั บ เกษตรกร โดยในระยะแรกได้รับการสนับสนุน
จะเห็นว่าบริษัทเอกชนจำนวนมากได้เข้า สู่ระบบเกษตรพันธสัญญา ไม่ว่าจะเป็นบริษัท เอกชนขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และรวมถึ ง บริษัทท้องถิ่นที่มีขนาดเล็ก โดยในกลุ่มหลังนี้ มุง่ ผลิตเพือ่ ตอบสนองความต้องการในประเทศ เป็นสำคัญ ทัง้ นี้ การเลือกใช้ระบบเกษตรพันธสัญญาของบริษัทก็มีเป้าหมาย เพื่อหาผู้ผลิต ที่ ไ ด้ ม าตรฐานแทนการลงทุ น ทำเองทั้ ง หมด ซึ่งต้องใช้เงินลงทุนสูงในการผลิตขนาดใหญ่ เพื่อตอบสนองต่อตลาดส่งออก และตลาดใน ประเทศ โดยในทางทฤษฎีแล้ว การนำระบบเกษตรพันธสัญญามาใช้ในการผลิตสินค้าเกษตรนั้น จะเป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เนื่อง จากผู้ผลิตได้สินค้าในปริมาณ และคุณภาพที่ ต้ อ งการ ใช้ เ งิ น ลงทุ น ต่ ำ ขณะที่ เ กษตรกร มี ค วามแน่ น อนทางรายได้ ใ นกรณี ที่ ป ระกั น รายได้ หรือมีความแน่นอนในราคาจำหน่าย กรณีที่ประกันราคา หรือมีความแน่นอนเรื่อง ตลาดในกรณีที่ประกันตลาด เป็นต้น นอก จากนี้ เกษตรกรยังได้รับวัตถุดิบที่ได้มาตรฐาน ความช่วยเหลือแนะนำในการผลิต และได้รับ การถ่ายทอดเทคโนโลยี นำไปสู่การผลิตที่มี ปริมาณมาก และมีคณ ุ ภาพ เกิดความมัน่ คงทาง อาหาร และการพั ฒ นาในภาคเกษตรกรรม ของประเทศในทีส่ ดุ รวมทัง้ มีการสร้างงานและ รายได้ให้กับประชากรภาคเกษตร และธุรกิจ เกี่ยวเนื่องอีกด้วย
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัตินั้น ผลที่ ปรากฏในระยะที่ผ่านมาค่อนข้างมีความหลาก หลาย โดยเกษตรบางกลุ่มที่เข้าร่วมทำเกษตร พันธสัญญาก็ประสบความสำเร็จด้วยดีจากการ มีรายได้ที่แน่นอน มีตลาดรองรับสินค้า และ ได้รับเทคโนโลยีการผลิตที่มีมาตรฐาน ทั้งนี้ อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่เกษตรกรจะต้องมีวินัย และ ดูแลการผลิตอย่างเข้มข้น ทำให้ได้ผลผลิตที่ดีมี อัตราการแลกเนื้อสูง เป็นต้น เกษตรกรกลุ่มนี้ สามารถสร้างฐานะเป็นปึกแผ่นมีความมั่นคง ทางรายได้ ในขณะที่เกษตรกรบางกลุ่มกลับไม่ ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร หรือในกรณีที่แย่ ก็คือ มีผลขาดทุน และมีภาระหนี้สิน อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือนที่ผ่านมาได้ไป สัมผัสกับประสบการณ์จริงของเกษตรกรราย หนึ่ง ที่ตัดสินใจเข้าสู่เส้นทางของเกษตรพันธสั ญ ญากั บ บริ ษั ท ธุ ร กิ จ เกษตรครบวงจรราย ใหญ่ของไทยเมื่อ 10 ปีที่แล้ว ในพื้นที่ จ.นครราชสีมา นับเป็นตัวอย่างหนึ่งที่ประสบความ สำเร็จอย่างสูง โดยเขาเริ่มจากฟาร์มขนาดเล็ก และขยายจนใหญ่ เริ่ ม จากการเลี้ ย งไก่ ด้ ว ย ตัวเอง ลองผิดลองถูกอยู่พักใหญ่ หลังจากนั้น ก็ ตั ด สิ น ใจเข้ า สู่ ร ะบบเกษตรพั น ธสั ญ ญาจาก การชักชวนของบริษทั และคำแนะนำจากเพือ่ น ระบบเกษตรพันธสัญญา ทำให้เขาต้อง ปรับกระบวนท่าในการผลิตใหม่ เพราะทุกอย่าง ในกระบวนการผลิตต้องได้มาตรฐาน และปลอด เชื้อ อาทิ การเลี้ยงแบบระบบปิด ควบคุมด้วย ระบบอัตโนมัติทั้งการให้อาหาร น้ำ การชั่ง น้ำหนัก การปรับอุณหภูมิ เป็นต้น เขาเปิดเผย ถึงปัจจัยแห่งความสำเร็จว่าการมีความมุ่งมั่น และทุ่มเทก็ไปได้สวย เพราะต้องดูแลอย่างเข้มข้น และมีวินัย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
จากภาครัฐ และถูกขับเคลื่อนโดยภาคเอกชน ในระยะต่อมา หรือที่รู้จักกันในนามของเกษตร แบบครบวงจร
17
แม้ เ กษตรพั น ธสั ญ ญาต้ อ งอาศั ย เงิ น ลงทุ น มาก และทุ่ ม เทดั ง กล่ า ว แต่ สิ่ ง ที่ ไ ด้ ก็ คุ้มค่าในแง่ของการมีตลาดรับซื้อ และในราคา ทีแ่ น่นอน (เกษตรกรรายนีท้ ำเกษตรพันธสัญญา แบบประกันราคา) ทำให้สามารถสร้างฐานะ ขึ้ น มาได้ โดยในตอนนี้ มี เ งิ น ลงทุ น ในฟาร์ ม นับ 100 ล้านบาท เขากล่าวถึงด้วยความรู้สึก ภาคภูมิใจในความสำเร็จ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
18
อย่างไรก็ตาม อยากฝากแง่คิดว่า คนที่ ประสบความสำเร็จนั้น อย่างน้อยต้องมีปัจจัย อยู่ 4-5 ประการ คือ 1) มีความรักชอบใน อาชี พ นี้ 2) คุ ณ ภาพผลผลิ ต ต้ อ งดู แ ลให้ ดี กล่าวคือ มีความมุ่งมั่น และทุ่มเทในงานที่ทำ ตามทีเ่ กษตรกรรายนีก้ ล่าว และสามารถบริหาร จัดการต้นทุนได้ดี 3) มีบทเรียน หรือประสบการณ์ ใ นเรื่ อ งที่ ท ำ 4) ต้ อ งเท่ า ทั น กั บ การ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี และประการสุดท้าย ก็ ค งต้ อ งบอกว่ า มี เ งิ น ทุ น ซึ่ ง ประการหลั ง นี้ ทำให้เกษตรกรจำนวนมากไปไม่ถึงฝัน หาก เป็นเช่นนั้นก็ต้องใช้ความพยายามเก็บเล็กผสม น้อยไปก่อน ดังนั้น เกษตรพันธสัญญาจึงมิน่าจะใช่ สูตรสำเร็จที่นำมาใช้ในการพัฒนาภาคเกษตรกรรม หรือนำไปใช้ได้กับเกษตรกรทุกราย ทำ อย่ า งไรจึ ง จะสามารถเพิ่ ม จำนวนผู้ ที่ ป ระสบ ความสำเร็จเหมือนกับเกษตรกรรายนี้ให้มาก ขึ้น และขยายวงกว้างออกไป เนื่องจากในทาง ปฏิบัติการทำเกษตรพันธสัญญามีรายละเอียด และเงื่อนไขที่ซับซ้อน ผู้เกี่ยวข้องต้องช่วยกัน สะท้ อ นปั ญ หา และหาแนวทางในการแก้ ไ ข เพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้รับประโยชน์จาก เกษตรพันธสัญญาอย่างแท้จริง
นายบรรจง นิสภวาณิชย์ ประธานชมรม ผู้ประกอบการโรงเพาะฟัก และนายกสมาคม กุ้งตะวันออกไทย เปิดเผยถึงสถานการณ์การ เลี้ยงกุ้งทั่วประเทศ หลังจากในปี 2556 ที่ ผ่านมา ไทยได้เผชิญกับปัญหาโรคกุ้งตายด่วน (EMS) ทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมาก ซึ่งทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้พยายามช่วยกันแก้ไขปัญหา มาอย่างต่อเนือ่ งนัน้ ล่าสุดสถานการณ์เริม่ ดีขนึ้ มีผลให้เกษตรกรในหลายพืน้ ทีเ่ ริม่ มีความมัน่ ใจ ในการลงเลี้ยงกุ้งกันมากขึ้น เช่น ในเขตภาค กลางแถบจังหวัดฉะเชิงเทรา นครปฐม ราชบุรี ได้เริ่มลงเลี้ยงกุ้งแล้วเป็นจำนวนมาก
ขณะที่ พื้ น ที่ ภ าคตะวั น ออก ปกติ ทุ ก ปี ช่ ว งนี้ จ ะเริ่ ม ลงเลี้ ย งกุ้ ง แล้ ว แต่ ปี นี้ ช ะลอดู สถานการณ์ ยังลงลูกกุ้งไม่มาก แต่หากในราย ที่ เ ลี้ ย งแล้ ว มี อั ต รารอดสู ง จะมี ผ ลให้ ใ นช่ ว ง เดือนมีนาคม-เมษายนนี้ เกษตรกรจะลงเลี้ยง กันมากขึน้ ส่วนพืน้ ทีภ่ าคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ยังลงเลี้ยงกุ้ง ไม่มาก เพราะยังมีผลผลิตได้รับความเสียหาย จากโรค EMS ซึ่งการลงกุ้งคงต้องรอดูสถานการณ์อีกครั้ง "หลังจากผ่านพ้นช่วงหนาวเดือนมกราคม เกษตรกรเริ่ ม ลงลู ก กุ้ ง กั น มากขึ้ น โดย เฉพาะภาคกลาง ทำให้ดีมานด์ความต้องการ ลูกกุง้ มีมากขึน้ ผูป้ ระกอบการโรงเพาะฟัก และ อนุบาลลูกกุ้งเริ่มขายดีขึ้น ราคาหากเป็นลูกกุ้ง จากโรงเพาะฟักมาตรฐาน GAP อัตรารอดสูง ปัจจุบันมีมากกว่า 1 พันฟาร์ม ราคาขายเฉลี่ย ที่ 10-12 สตางค์ต่อตัว แต่หากเป็นฟาร์ม ไม่ได้มาตรฐานราคาเพียง 3-7 สตางค์ตอ่ ตัวก็มี ที่ ผ่ า นมาโรงเพาะฟั ก มาตรฐานจะมี ผ ลผลิ ต ลูกกุ้งรวมกันสูงสุดประมาณ 6-7 พันล้านตัว ต่อเดือน จากนี้ไปหากซัพพลายลูกกุ้งเริ่มเยอะ จะมีการแข่งขันที่สูงขึ้นแน่"
ที่มา: หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2,929 วันที่ 9-12 มีนาคม 2557
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
กุ้ ง ไทยฟื้ น เกษตรกรเริ่ ม ทยอยเลี้ ย ง รอบใหม่ปี 2557 ดันธุรกิจโรงเพาะฟักลูก กุ้งฟื้นตัวตาม ภาคกลางนำทีมเลี้ยงมากสุด ตะวันออกชิมลาง ชี้หากอัตรารอดสูง คนแห่ เลี้ ย งมากขึ้ น ส่ ว นภาคใต้ ร อฝนตก อากาศ ดี ขึ้ น ฟั น ธงทั้ ง ปี ไ ทยผลิ ต กุ้ ง ได้ สู ง สุ ด ไม่ เ กิ น 4 แสนตัน ด้านยักษ์ใหญ่ซีพีเอฟ ชี้ยอดจอง ลูกกุง้ เริม่ หนาแน่น ดันธุรกิจอาหารกุง้ ห้องเย็น ขยายตัวตาม
Food Feed Fuel
โรงเพาะฟักอาหารกุ้งฟื้นตัว
19
อย่างไรก็ดี คาดการณ์ปีนี้ไทยจะผลิต กุ้งได้สูงสุดไม่เกิน 4 แสนตัน จากปี 2556 ผลิ ต ได้ ป ระมาณ 2.5 แสนตั น ซึ่ ง เป็ น ผล กระทบจากโรค EMS จากปี 2555 ผลิตได้ กว่ า 5.4 แสนตั น และอดี ต เคยผลิ ต ได้ ถึ ง 6 แสนตันในบางปี ในวันที่ 22 มีนาคมนี้ สมาคมจะมีการสัมมนาเรื่อง "ตราดโมเดล" ที่ จังหวัดจันทบุรี โดยจะให้ความรู้กับเกษตรกร ผู้ เ ลี้ ย งกุ้ ง ทั่ ว ประเทศ ถึ ง โมเดลการเลี้ ย งกุ้ ง จังหวัดตราดที่ประสบความสำเร็จ เพื่อนำไป ประยุกต์ใช้ต่อไป
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
20
ด้านนายปกครอง เกิดสุข ประธาน ชมรมผู้เลี้ยงกุ้งกระบี่ เปิดเผยว่า ณ ปัจจุบัน จั ง หวั ด ในภาคใต้ ฝั่ ง ทะเลอั น ดามั น ซึ่ ง เลี้ ย ง กุ้งน้ำเค็ม อาทิ ภูเก็ต พังงา กระบี่ ระนอง ตรัง สตูล ยังลงเลี้ยงกุ้งไม่มาก เพราะช่วงนี้ สภาพอากาศในพื้นที่ยังค่อนข้างร้อนจัด และ น้ำมีความเค็มสูง ทำให้ยังมีปัญหาโรคตัวแดง ดวงขาว และยังได้รับผลกระทบจากโรค EMS บางส่ ว น ดั ง นั้ น คงต้ อ งรอฝนตกเพื่ อ ทำให้ สภาพอากาศดีขนึ้ คาดในช่วงปลายเดือนเมษายนต่ อ เนื่ อ งถึ ง เดื อ นพฤษภาคมจะมี ฝ นตกใน พื้นที่มากขึ้น เกษตรกรจะมีการลงเลี้ยงกุ้งกัน มากขึ้ น และจะทำให้ ผ ลผลิ ต กุ้ ง ในภาพรวม ของประเทศเพิ่ ม มากขึ้ น กว่ า ปี ที่ ผ่ า นมา ซึ่ ง ขณะนี้ เกษตรกรได้ตระหนักถึงการเลี้ยงที่มี การบริหารจัดการบ่อเลี้ยงที่ดีขึ้น และอัตรา รอดจากโรคน่าจะดีกว่าปีที่ผ่านมา
ด้าน น.สพ.สุจินต์ ธรรมศาสตร์ รองกรรมการผู้จัดการบริหารสายงานวิจัย และ พัฒนาพันธุส์ ตั ว์ และเทคโนโลยีการเลีย้ งสัตว์นำ้ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ เปิดเผยว่า สถานการณ์โรค EMS ในกุ้งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปลายปี 2555 ถึง ณ ปัจจุบันถือว่าผ่านจุดต่ำสุดมาแล้ว และสถานการณ์เริ่มดีขึ้น โดยในส่วนของยอดขายลูกกุ้ง ของซีพีเอฟตั้งแต่ปลายปี 2555 และในช่วงปี 2556 ที่เกษตรกรลงกุ้งน้อยจะขายได้เดือน หนึ่งประมาณ 1 พันล้านตัว จากช่วงดีๆ ก่อน หน้าที่ไม่มีสถานการณ์โรคจะขายได้เกือบ 3 พันล้านตัวต่อเดือน ขณะนีข้ ายได้ประมาณ 1.7 พันล้านตัวต่อเดือน แต่มีสัญญาณที่ดีในเดือน มีนาคมนี้มีเกษตรกรสั่งจองลูกกุ้งเข้ามาแล้ว กว่า 2 พันล้านตัว "จะเห็นได้ว่าความมั่นใจของผู้เลี้ยงกุ้ง เริ่ ม กลั บ คื น มา ถื อ เป็ น สั ญ ญาณที่ ดี เพราะ พอมีการลงลูกกุ้งเพิ่ม ธุรกิจอาหารกุ้งก็จะขาย ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น และเมื่ อ มี ผ ลผลิ ต ออกมามากขึ้ น ก็จะมีกุ้งส่งเข้าโรงงานแปรรูป หรือห้องเย็นใน ปริมาณที่มากขึ้น อาจส่งผลให้ราคากุ้งอ่อนตัว ลงเล็กน้อย แต่จะทำให้ความสามารถในการ แข่งขันส่งออกกุ้งไทยในปีนี้ดีขึ้น"
Food Feed Fuel
ส่งออก มัน รุ่ง จีนจ่อซื้อเพิ่ม สมาคมค้ า มั น สำปะหลั ง หวั่นขาดแคลนวัตถุดิบป้อนโรงงาน หลังผลผลิตปี 2556/57 ส่อช็อตไม่พอใช้ ดันราคาหัวมัน สดขยับ เตรียมลงพืน้ ทีส่ ำรวจความชัดเจนอีกครัง้ ระบุทศิ ทาง การส่งออกสดใส ตลาดจีนต้องการนำเข้ามันเส้นเพิ่มเพื่อป้อน โรงงานผลิตแอลกอฮอล์อกี กว่า 2 ล้านตัน นางสุรยี ์ ยอดประจง นายกสมาคมการค้ามันสำปะหลัง ไทย เปิดเผยถึง สถานการณ์ผลผลิตมันสำปะหลังทั่วประเทศว่า ขณะนี้เริ่มมีภาวะตึงตัว โดย ล่าสุดได้รับรายงานว่าปริมาณผลผลิตรอบปีการผลิต 2556/57 จากที่เคยคาดการณ์ว่าจะมี ผลผลิตหัวมันสดประมาณ 27 ล้านตัน จะลดลงเหลือประมาณ 25 ล้านตัน หรือหายไปประมาณ 2 ล้านตัน เป็นผลจากตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา เกษตรกรในหลายพื้นที่ได้เริ่มขุดหัวมัน สำปะหลังขึ้นมาขายซึ่งถือว่าเร็วกว่าปกติ 1 เดือน ส่งผลให้บางพื้นที่เหลือมันสำปะหลังที่ยัง ไม่ได้ขุดอีกเพียง 30-40% ประกอบกับที่ผ่านมาในหลายพื้นที่ของประเทศผลผลิตได้รับความ เสียหายจากภาวะน้ำท่วม ขณะทีโ่ รงงานแป้งมันเริม่ เปิดหลังปีใหม่ 100% มีการแย่งซือ้ หัวมันเพือ่ ใช้ในการผลิตให้เพียงพอในช่วงก่อนตรุษจีน จากปัจจัยที่กล่าวมาส่งผลให้ราคาหัวมันสำปะหลัง ในขณะนี้ขยับขึ้นไปอยู่ที่ 2.60-2.70 บาทต่อกิโลกรัม
อย่างไรก็ดี การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของไทยในปี 2557 มีแนวโน้มที่สดใส จากที่ตลาดจีนซึ่งเป็นตลาดส่งออกหลักของไทยสัดส่วนกว่า 95% ของการส่งออกในภาพรวม ในปีนี้จะมีความต้องการนำเข้ามันเส้นเพิ่ม จากที่รัฐบาลจีนมีนโยบายให้โรงงานแอลกอฮอล์หยุด ที่มา: หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2,924 วันที่ 20-22 กุมภาพันธ์ 2557
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
"ส่วนปริมาณสต๊อกมันสำปะหลังของรัฐบาล ขณะนีน้ า่ จะเหลือเป็นหลักเพียงแสนตันเท่านัน้ ถือเป็นเรื่องที่น่าตกใจมาก อาจเกิดภาวะช็อตซัพพลายในช่วงเมษายนนี้ ดังนั้น ทางสมาคมจะส่ง คณะลงพื้นที่ตรวจสอบเพื่อประเมินผลผลิตที่ชัดเจนอีกครั้งในเดือนเมษายนนี้"
21
การใช้ขา้ วโพดเป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเพือ่ รักษา สต๊ อ กข้ า วโพดมาตั้ ง แต่ ปี 2556 ซึ่ ง ในปี นี้ น่าจะมีโรงงานที่หยุดใช้ข้าวโพดอีก 1-2 แห่ง จะมีผลทำให้ต้องนำเข้ามันเส้นจากทั่วโลกเป็น วัตถุดิบทดแทนมากกว่า 2 ล้านตัน เพิ่มจากปี 2556 ที่จีนมีการนำเข้ามันเส้น 8-9 ล้านตัน แบ่งเป็นการนำเข้าจากไทย 6 ล้านตัน และ จากเวียดนาม 1-2 ล้านตัน ขณะที่ ใ นปี 2556 ที่ ผ่ า นมา ไทยมี การส่งออกผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลังกว่า 8 ล้าน ตัน ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 26% แบ่งเป็น การส่ ง ออกมั น เส้ น ปริ ม าณ 5.7 ล้ า นตั น แป้งมัน 3.3 ล้านตัน และมันสำปะหลังอัดเม็ด 3 แสนตัน รวมมูลค่ากว่า 1 แสนล้านบาท ใน จำนวนนี้เป็นการนำเข้ามันสำปะหลังเส้นจาก กัมพูชามาส่งออก 1.5 ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
22
"ในปี 2556 มีเอกชนไทยเข้าไปลงทุน เป็นเทรดเดอร์ในกัมพูชา 14-15 ราย เพิ่ม ขึ้น 200% โดยได้ไปตั้งจุดรับซื้อขนาดเล็ก หรือไปเทลานมัน ประมาณ 2-5 ไร่ ทำให้มี การแย่งซื้อวัตถุดิบกันในกลุ่มเทรดเดอร์คนไทย และผู้ซื้อเวียดนาม ส่งผลให้ราคามันสำปะหลัง ทีฝ่ งั่ เวียดนามปรับขึน้ ไปเป็นกิโลกรัมละ 3 บาท หรือหากคิดเป็นราคามันเส้นที่ขึ้นไปถึงกิโลกรัมละ 6.20 บาท จากตอนแรกที่เราเคยซื้อ แค่ 5.80-5.90 บาท ขณะที่ยอดส่งออกของ เวียดนามก็เพิม่ ขึน้ แบบก้าวกระโดดเป็น 8 ล้าน ตัน จากปีก่อนแค่ 5-6 ล้านตัน" ทัง้ นี้ การส่งออกผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลัง ของไทยในปีนี้ จะขยายตัวได้มากน้อยเพียงใด จึงขึ้นกับซัพพลายสินค้าเป็นหลัก ซึ่งจากราคา หั ว มั น สดที่ ดี ม องว่ า รั ฐ บาลไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งใช้ โครงการแทรกแซงในปีนี้ก็ได้
โดย คณะสำรวจสมาคมผูู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ระหว่างวันที่ 12-14 มีนาคม 2557
Food Feed Fuel
รายงานการสำรวจ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ครั้งที่ 1/2557
1. นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ 2. นางลาวัณย อนุวัฒนา 3. น.ส.ญาณี มีจ่าย 4. น.ส.ลัดดา แก้วกาหลง 5. น.ส.ชุลีพร ยิ่งยง 6. นายพรชัย ภักดีทรัพย์ 7. นายรวีธนัทณ์ วโรตม์สุพรรณ 8. นายธเนศ คล้ายเจ๊ก 9. น.ส. จุฬาลักษณ์ พลนาค 10. น.ส.วันวิสาข์ นครสวรรค์ 11. น.ส.ณัฐชญา ชัยวัฒนา 12. น.ส.พรนัชชา เกษมวัฒนชัย 13. นายอรรถพล ชินภูวดล 14. นายณัฐพล มีวิเศษณ์
บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยฟู้ดส์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทย จำกัด บริษัท อินเทคฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อินเทคฟีดมิลล์ จำกัด สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
รายชื่อผู้เข้าร่วมสำรวจ
23
สำหรับการสำรวจข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ครัง้ ที่ 1/2557 ระหว่างวันที่ 12-14 มีนาคม 2557 เป็นการสำรวจพืน้ ทีก่ ารเพาะปลูกข้าวโพดหลังนา และเขตชลประทาน ในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดเพชรบูรณ์เลย-อุตรดิตถ์ รวมถึงบริเวณโดยรอบ เพื่อให้ได้รับทราบถึงปริมาณการปลูกข้าวโพดหลังนา และ เขตชลประทาน พร้อมทั้งแนวโน้มการปลูกข้าวโพดฤดูกาลใหม่ปี 2557/58 เพื่อติดตามปัญหา อุปสรรคต่างๆ ที่มีเป็นปัจจัยสำคัญต่อไป จากการสำรวจพื้นที่เพาะปลูก และเข้าพบปะพ่อค้า รวมถึงเกษตรกรในแต่ละพื้นที่นั้น ทาง คณะสำรวจมีมุมมองสรุปในภาพรวมได้ว่า ผลผลิตของข้าวโพดหลังนา เขตชลประทาน น่าจะมี ปริมาณลดน้อยลงกว่าปีที่ผ่านมา เฉพาะในส่วนของพื้นที่ที่สำรวจคาดการณ์ว่าปริมาณลดลง 20-30% สาเหตุหลักเนือ่ งจากปัจจัยด้านราคาไม่เสถียร จึงไม่จงู ใจให้เพาะปลูก ทำให้เกษตรกร บางส่วนหันไปสับเปลีย่ นปลูกพืชอืน่ แทน อาทิ มันสำปะหลัง และอ้อย เป็นต้น กอรปกับสภาพ อากาศทีแ่ ห้งแล้ง ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ลดน้อยลงอีกทางหนึง่ ในขณะเดียวกัน พืน้ ทีเ่ พาะปลูก หลักข้าวโพดนายังคงทรงตัว ตามเส้นทางที่สำรวจพบว่ายังคงมีพื้นที่นาถูกปล่อยทิ้งไว้รอการ เพาะปลูกส่วนใหญ่เกษตรกรจะเก็บเกีย่ วข้าวโพดหลังนาในช่วงหลังสงกรานต์เป็นต้นไป ฉะนัน้ ผลผลิตข้าวโพดหลังนานี้จะเริ่มเข้าสู่ตลาดในช่วงเดือนเมษายน 2557 สถานะของข้าวโพดปี 2557/2558 แนวโน้มยังไม่ชดั เจน ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยสำคัญ อาทิ ราคา สภาพภูมิอากาศหลังเดือนเมษายน และผลผลิตพืชที่ปลูกทดแทนว่าจะมีความเสียหาย หรือหมุน เวียนได้รอบการเพาะปลูกหรือไม่ ทางด้านผลกระทบโครงการแทรกแซงราคาของภาครัฐ จากการสอบถามพ่อค้า และเกษตรกร ในแถบจังหวัดเพชรบูรณ์ ทราบว่าในหลายจังหวัดได้รับเงินชดเชยแล้วบางส่วน ในขณะเดียวกัน ก็มีพ่อค้าบางส่วนไม่ได้เข้าร่วมโครงการภาครัฐจึงไม่ได้รับผลกระทบในส่วนนี้
ข้อมูลการเข้าพบพ่อค้า และเกษตรกรในแต่ละพื้นที่ แหล่งข้อมูล : ร้านเอี่ยวฮั่วล้งการเกษตร ต.ลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
24
ข้าวโพดหลังนาจะเริ่มเก็บเกี่ยวช่วงปลายเดือน มีนาคม เพื่อให้ทันฤดูฝนที่จะเพาะปลูก คาดว่าผลผลิต น่าจะเข้าสูต่ ลาดได้ 10 กว่าวันก็หมด หากมองถึงปริมาณ การปลูกข้าวโพดหลังนาในแถบเพชรบูรณ์ตอนล่าง น่าจะ ลดลงประมาณ 30% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาเนื่องจาก สภาพอากาศที่แห้งแล้ง อีกทั้งราคาเมล็ดพันธุ์ขึ้นเป็น 160 บาท/กก. ปรับขึ้น10 บาท (6%) ทำให้คาดว่าฤดูกาลใหม่นี้มองว่าเกษตรกรจะปลูกข้าวโพด ลดน้อยลง เนื่องจากขาดทุนในปีที่ผ่านมา ซึ่งตอนนี้พ่อค้าส่วนมากจะทำการซื้อขายตลอดทุกช่วง เพื่อให้มีงานทำอย่างต่อเนื่อง และคิดว่าผลผลิตจะยังไม่ขาดช่วงเนื่องจากพ่อค้ามีสต๊อก
แหล่งข้อมูล : ร้านสหเพชรวิเชียรไซโล อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ ปริมาณข้าวโพดหลังนามีน้อย เขตนี้ไม่มีการ ปลูกข้าวโพดหลังนา เกษตรกรส่วนมากหันมาปลูก อ้อยแทนเนือ่ งจากขาดทุนจากปีทแี่ ล้ว ซึง่ ขณะนีก้ เ็ ริม่ ปลูกอ้อยแล้วส่วนหนึง่ รับซือ้ ข้าวโพดเมล็ดแห้งทีร่ าคา 7.70 บาท/กก. (462 บาท/หาบ) ตอนนีข้ า้ วโพดจาก ภาคเหนือน่าจะไหลลงมาอยู่ในมือพ่อค้าหมดแล้ว แหล่งข้อมูล : ร้านทรัพย์สินเจริญการเกษตร ต.ยางงาม อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์ เนื่องจากปีที่แล้วสภาพแห้งแล้งน้ำไม่เพียงพอ ทำให้เกษตรกรปีนหี้ นั ไปปลูกพืชอืน่ ทดแทน อาทิ หอม ยาสูบ กระหล่ำ จากการคาดการณ์ มองว่าข้าวโพด หลังนาในแถบป่าแดง น่าจะปลูกลดลง 50% เมื่อ เทียบกับปีทแี่ ล้ว ปัจจุบนั ทีร่ า้ นไม่มกี ารรับซือ้ ข้าวโพด เข้าลาน และยังคงขายข้าวโพดสต๊อกออกอยู่ตลอด เวลา ในส่วนของผลกระทบโครงการภาครัฐ ขณะนี้ ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รับเงินชดเชยแค่เพียงครึ่งเดียว ยังไม่ครบจำนวน เนื่องจากมีจังหวัดอื่นมา ร่วมขอเงินชดเชยด้วย ในส่วนของแนวโน้มการปลูกข้าวโพดปีคงจะต้องขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศ ฟ้าฝน ต้นทุนผลิตต่อไร : ประมาณ 4,200 บาท ไม่รวมค่าแรง ผลผลิตต่อไร่ : 1,800 กิโลกรัม เมล็ดสด (25 กระสอบ ใหญ่) ราคาขาย : 6.50 บาท/กก. เมล็ดสด (390 บาท/หาบ) เมล็ดพันธ์ุที่ใช้ : แปซิฟิค 339 แหล่งน้ำที่ใช้ : น้ำบาดาล สภาพอืน่ ๆ : เกษตรกรปลูกข้าวโพดตลอดทัง้ ปี ทางต้นน้ำจะ ทำนา ทางปลายน้ำจะทำข้าวโพด, เมล็ดพันธุม์ รี าคาสูงขึน้
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
แหล่งข้อมูล : เกษตรกร บ้านป่าแดง ต.ป่าเลา อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์
25
แหล่งข้อมูล : เกษตรกร ต.ป่าเลา อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ ต้นทุนผลิตต่อไร่ : ประมาณ 3,900 บาท ไม่รวมค่าแรง, น้ำมัน, ไฟฟ้า ราคาขาย : 7.80 บาท/กิโลกรัม เมล็ดแห้ง (117 บาท/ถัง) เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ : แปซิฟิค 339 สภาพอืน่ ๆ : เกษตรกรรายนีป้ ลูกข้าวโพดอายุ 130-150 วัน (รอเมล็ดแห้งคาต้นเพื่อลดความชื้น และขายได้ราคา) แหล่งข้อมูล : ร้านหาญพืชผล ต.ป่าเลา อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ ข้าวโพดนามีแนวโน้มผลผลิตลดน้อยลงเกือบๆ 50% เนื่องจากราคาไม่ดี และสภาพอากาศแห้งแล้ง ผลผลิตต่อไร่ของพื้นที่จะอยู่ที่ประมาณ 20 ลูกฝัก ทีร่ า้ นรับซือ้ ข้าวโพดฝัก เนือ่ งจากมีการขายซังข้าวโพด ด้วย และข้าวโพดหลังนาของที่นี่เริ่มปลูกเมื่อเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม 2556 ซึ่งตอนนี้เริ่มมีผลผลิต ข้าวโพดนาออกสู่ตลาดบางแล้ว แหล่งข้อมูล : ร้านสงวนพืชผล อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
26
เกษตรกรเริ่มเก็บเกี่ยวข้าวโพดมาขายได้ระยะ เวลาประมาณ 1 เดือนแล้ว ปีนี้ยังถือว่าข้าวโพดมี ปริมาณมาก ในขณะที่พ่อค้าก็มีมากรายขึ้น ทำให้ พ่อค้าแต่ละรายซื้อข้าวโพดได้น้อย กอรปกับพ่อค้า บางส่วนไม่มีเงินหมุนเวียน เพราะขายข้าวโพดให้กับ สหฟาร์ ม แล้ ว ยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ เงิ น โดยส่ ว นมากพ่ อ ค้ า ข้าวโพดต่างพื้นที่จะเข้ามารับซื้อกับเกษตรกรโดย ตรง เพื่อจัดส่งไปในเขตพื้นที่ อ.หนองไผ่ กับ อ.วิเชียรบุรี ที่ร้านเองมีสต๊อกอยู่ประมาณ 4,000 ตัน ซึ่งเป็นข้าวโพดป่าทั้งหมด เกษตรกรแถบนี้นิยมปลูกข้าวโพดพันธุ์อายุสั้น ได้แก่ พันธุ์แปซิฟิค 339 และไพโอเนีย 4546 ในส่วนข้าวโพดนาแม้ราคาจะดี ก็มกี ารปลูกน้อยเพราะน้ำแล้ง เกษตรกร บางส่วนหันมาปลูกผักขายแทน ส่วนข้าวโพดเก่าในพื้นที่นี้จะถูกส่งเข้าโครงการอุดหนุนของรัฐ เพือ่ ขายส่งออกไปยังต่างประเทศ หากมองถึงข้าวโพดที่ อ.ด่านซ้าย จ.เลย ก็ถอื ว่ายังมีผลผลิตสต๊อก อยู่ แต่จะเป็นข้าวโพดเกรดต่ำกว่าอาหารสัตว์
แหล่งข้อมูล : เกษตรกร อ.นาแห้ว จ.เลย ราคาขาย : 7 บาท/กิโลกรัม เมล็ดแห้ง (ความชื้น 14%) สภาพอื่นๆ : ข้าวโพดแถบนี้จะถูกส่งไปยัง อ.หนองไผ่ อ.หล่มสัก อ.หล่มเก่า ส่วนข้าวโพดนาจะเก็บเกี่ยวหลัง สงกรานต์ เกษตรกรที่นี่ปลูกแต่ข้าวโพดไม่ปลูกพืช ชนิดอื่น แต่อาจมีแนวโน้มปลูกน้อยลง เนื่องจากค่า ที่ดิน และค่าแรงแพงขึ้น แหล่งข้อมูล : ท่าข้าวนกน้อย ต.เนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก ข้าวโพดนาในแถบ อ.นครไทย และ อ.ชาติตระการ พื้นที่เพาะปลูกมีการเสียหายประมาณ 40% เนื่องจาก สภาพอากาศทีแ่ ห้งแล้งมาก คาดว่าในต้นเดือนเมษายน จะมีผลผลิตออกมาได้ประมาณ 20% ส่วนอีก 40% ที่เหลือจะต้องรอลุ้นต่อไป ในขณะที่พื้นที่เพาะปลูกเท่า เดิมไม่ได้ลดลง
พืชหลักของพื้นที่นี้ คือ มันสำปะหลัง, ข้าว, ข้าวโพด ซึง่ ปีนเี้ กษตรกรหันมาปลูกมันสำปะหลัง แทน การปลูกข้าวโพดส่วนมาก เนื่องจากสภาพภูมิอากาศ แห้งแล้ง และดูแลง่ายกว่า ส่วนบนเขายังมีการปลูก ข้าวโพดอยู่ เกษตรกรที่นี่มักจะปลูกพืชสลับหมุนเวียน กันไป ทีร่ า้ นรับข้าวโพดเมล็ดสด (ความชืน้ 30%) ราคา 5.40 บาท/กิโลกรัม
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
แหล่งข้อมูล : เรณูพืชไร่ ต.บ่อทอง อ.ทองแสนขัน จ.อุตรดิตถ์
27
แหล่งข้อมูล : ลานเกื้อพสิษฐ์ ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ พืน้ ทีน่ า จะปลูกข้าวโพดนา พืน้ ทีด่ อนจะปลูกมัน ข้าวโพดนาในแถบนี้จะออกสู่ตลาดในเดือนเมษายนพฤษภาคม ทีล่ านรับข้าวโพดต่างพืน้ ทีจ่ าก จ.อุตรดิตถ์, แพร่, น่าน, พะเยาว์ รวบรวมส่งไปยังกรุงเทพฯ และอยุธยา รับซือ้ ข้าวโพดตลอดทัง้ ปี เพราะมีขา้ วโพดผลัดกันเข้ามา อย่างต่อเนื่อง และขายออกตลอดโดยไม่สต๊อกเช่นกัน ปีนคี้ าดว่าปริมาณการปลูกข้าวโพดนาจะทรงตัว แม้จะ มีสภาพภูมิอากาศแห้งแล้งแต่สภาพดินดี ทำให้มีผลผลิตต่อไร่ได้ 1-2 ตันเมล็ดสด เกษตรกรใน พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นคนมีฐานะ ปัจจัยราคาจึงไม่ถอื เป็นประเด็นสำคัญ ส่วนราคาทีร่ า้ นรับซือ้ ข้าวโพด เมล็ดสด (ความชื้น 30%) ที่ราคา 5.60 บาท/กก. แหล่งข้อมูล : สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ต.หาดกรวด อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เกษตรกรปลูกข้าวโพดนามาก เพราะปีนสี้ หกรณ์ ขายเมล็ดพันธุ์แปซิฟิค 339 ไปแล้วประมาณ 10 ตัน เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้เมล็ดพันธุ์นี้ เนื่องจากเป็นพันธุ์ที่ ทนต่อความแล้ง และปัจจุบันเกษตรกรมีปัญหาน้ำแล้ง โดยการต่อเครื่องสปริงน้ำมาใช้ในการรดน้ำข้าวโพด ซึ่งทำให้ประหยัดน้ำมากขึ้น ผลผลิตต่อไร่ของที่นี่ได้ ประมาณ 2 ตันเมล็ดสด สหกรณ์รับซื้อข้าวโพดเมล็ด สด (ความชื้น 30%) ที่ราคา 5.60 บาท/กิโลกรัม ส่วนการปลูกข้าวโพดในปีหน้าจะลดลง เพราะว่าเกษตรกรจะหันมาปลูกมันกันเยอะ เนือ่ งจากเป็นพฤติกรรมของเกษตรกรทีน่ ซี่ งึ่ นิยมปลูก พืชหมุนเวียนสลับกันไป และในปีถัดไปอีกอาจจะหันมาปลูกอ้อยต่อ ก่อนจะกลับมาปลูกข้าวโพด อีกครั้ง (พืชหลักของที่นี่คือ ข้าวโพด มันสำปะหลัง และอ้อย)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
28
จัดทำโดย : นายอรรถพล ชินภูวดล สมาคมผูู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย วันที่ 21 มีนาคม 2557
และปลาป่น ครั้งที่ 1/2557
Food Feed Fuel
รายงานการสำรวจ ปาล์มน้ำมัน
โดย สมาคมผูู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย วันที่ 17-21 กุมภาพันธ์ 2557
รายชื่อผู้เข้าร่วมสำรวจ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยลักซ์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อีสเทิร์นฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อีสเทิร์นฟีดมิลล์ จำกัด บริษัท อาร์ทีอะกริเทค จำกัด บริษัท ไทยฟู้ดส์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ตามที่ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยมีแนวนโยบายในการสำรวจวัตถุดิบอาหารสัตว์ให้ได้ มากชนิดทีส่ ดุ และครอบคลุมทีส่ ดุ ทัง้ ภายใน และต่างประเทศ โดยสำหรับการเดินทางสำรวจครัง้ นี้ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทยได้วางแผนต่อเนื่องจากปี 2556 ที่ได้มีการเข้าเยี่ยมชมโรงงานผลิต ปลาป่นทางตอนใต้ของประเทศไทย (ฝั่งอ่าวไทย และฝั่งอันดามัน) จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งในครั้งนี้
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
1. นางนิภาพร โรจน์รุ่งเรืองกิจ 2. น.ส.ลัดดา แก้วกาหลง 3. น.ส.สิรินทร์ วงศ์กิจรุ่งเรือง 4. น.ส.สมถวิล ปานสกุล 5. นายชาตรี สุขสมประสงค์ 6. น.ส.พิชญ์นรินทร์ กรรจิโรภาส 7. น.ส.ชุติสรา ชุติปาโร 8. น.ส.เยาวลักษญ์ จำรัสผลเลิศ 9. น.ส.พรสวรรค์ ฝนหว่านไฟ 10. น.ส.จุฬารัตน์ บัวเหลือง 11. น.ส.เกศรินทร์ แก้วมณี 12. น.ส.ณัฐชญา ชัยวัฒนา 13. น.ส.อารีย์ ไชยศรีรัมย์ 14. นายสุทธิวัฒน์ เสลารัตน์ 15. นายณัฐพล มีวิเศษณ์ 16. น.ส.ปัทมา ศรีเที่ยงตรง
29
เป็นโอกาสอันดีที่จะควบรวมการเข้าเยี่ยมชมกระบวนการผลิต และการหารือถึงสภาวะผลิตภัณฑ์ จากปาล์มน้ำมันซึง่ เป็นครัง้ แรกของการจัดสำรวจ โดยเป้าหมายในการสำรวจมี 2 วัตถุประสงค์หลักๆ คือ การเรียนรูร้ ะบบการผลิตสินค้าสำหรับวัตถุดบิ อาหารสัตว์ และการสร้างเครือข่ายระหว่างผูซ้ อื้ และผู้ขาย ให้สามารถพบปะเจรจากันได้โดยตรง และมีช่องทางการติดต่อที่หลากหลายขึ้น ในภาพรวมของการออกสำรวจในครั้งนี้ พบว่า ปาล์มน้ำมันมีสิ่งที่ต้องกังวลในเรื่องของ สภาพภูมิอากาศ ซึ่งพบว่า ในปี 2557 ฝนตกช้ากว่าปกติทำให้ผลผลิตปาล์มที่จะออกในช่วงเดือน มีนาคมอาจจะมีปัญหาได้ แต่อย่างไรก็ตาม มีการคาดการณ์ว่าต้นเดือนเมษายน จะเป็นช่วงที่ผล ผลิตปาล์มน้ำมันออกมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะทำให้ราคาการรับซื้อของปาล์มทลายอาจจะมีราคา ตกลงเล็กน้อย และส่งผลกระทบต่อสินค้าอื่นๆ จากกระบวนการผลิต สำหรับปลาป่นได้รับความร่วมมือจาก “สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย” ในการประสานการ เข้าเยี่ยมชมโรงงานที่เป็นสมาชิกของสมาคม พร้อมการต้อนรับอย่างอบอุ่น โดยภาพรวมของ ปลาป่นมีแนวโน้มการจับปลาที่ลดลงทุกปี ประกอบกับ อายุสัมปทานตั๋วเรือพม่าเพื่อทำประมงใน น่านน้ำของประเทศพม่ากำลังจะหมดลงในสิน้ เดือนมีนาคมนี้ และยังไม่มคี วามชัดเจนของประเทศ พม่าถึงแนวทางการต่ออายุสัมปทาน จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการทำประมงในอนาคต ส่วนความ ต้องการใช้ปลาป่นในประเทศยังมีความโชคดีปนความโชคร้าย นั่นคือ แม้ว่าปริมาณการจับปลา จะไม่มากนัก แต่การเลี้ยงกุ้งได้รับปัญหาจากโรค EMS ทำให้ความต้องการของโรงงานอาหาร สัตว์ไม่มาก เพียงพอต่อความต้องการ จึงทำให้ราคาปลาป่นไม่ขยับตัวสูง แต่หากการแก้ไขปัญหา โรค EMS หมดไปได้ ก็อาจจะทำให้เกิดการแย่งซือ้ ปลาป่น การบวกพรีเมีย่ ม จะกระทบต่อราคาที่ สูงขึ้น และการนำเข้าจากต่างประเทศได้
หจก. โชคอุดมพัฒนาปลาป่น อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา ผู้ประสานงาน : คุณอาทิตย์ (เจ้าของ) และคุณสรวัตร (ผู้จัดการโรงงานฝ่ายผลิต) ติดต่อซื้อขาย : ผ่านบริษัทสหมิตร โทร 081 378 0830
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
30
ภาพรวมของโรงงาน
- โรงงานเปิดมา 17 ปี โดยได้เข้าสู่ระบบคุณภาพ GMP และ HACCP ตั้งแต่ปี 2551 มีคนงานจำนวน 25 คน รวมทั้งในโรงงาน และคนงานหน้าแพ
- เครื่องจักรการผลิตเป็นระบบไอน้ำ 1 ไลน์การผลิต โดยมีหม้อต้ม 1 ลูก อบ 1 ลูก กวนเย็น 2 ลูก และอบแห้ง 1 ลูก กำลังการผลิตเต็มประสิทธิภาพ 120,000 กก. ปลาสด โดยจะเริ่มเดินเครื่องได้เมื่อมีปลาสด 10 ตัน โดยมีอัตราแปรสภาพเท่ากับ 3.7 ปลาป่นที่ผลิตได้สามารถเก็บได้นาน 1 เดือน โดยไม่มีความหืน
ผลผลิตจากโรงงาน
- ปลาป่นเบอร์ 2 บน (มีน้อย) เบอร์ 1 และเกรดกุ้ง โดยค่าโปรตีน ความชื้น และ ความสดจะส่งตรวจที่ Lab นอก ทำให้ฝ่ายโรงงานไม่ทราบรายละเอียด
- โดยผลผลิตเฉลี่ยรวมเกรดต่างๆ เดือนละประมาณ 300 ตัน เป็นเกรดกุ้งประมาณ 100 ตัน โดยผลผลิตที่ได้จะถูกส่งไปที่บริษัทสหมิตรเพื่อกระจายส่งให้ลูกค้า - คาดผลผลิตปีนี้จะน้อยลงส่วนหนึ่งพบว่าการไหลของกระแสน้ำมีการเปลี่ยนแปลงระบบ
มาตรฐานต่างๆ ได้รับรองมาตรฐานGMP, HACCP, หนังสือรับรองการซื้อขายสัตว์น้ำ (Marine Catch Purchasing Document: MCPD) แต่ไม่ได้รับ premium 3 บาท ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เป็นปลาจับจากคุระบุรี จังหวัดกระบี่, ขนอม จังหวัด นครศรีธรรมราช มีทั้งปลาอวนดำ ได้แก่ ปลาชิงชัง ปลาลูกชิด เป็นต้น และปลาอวนลาก ได้แก่ ปลาแป้น และปลาสลิด เป็นต้น โดยปลาอวนดำจะมีความสดมากกว่าปลาอวนลาก เพราะมีระยะ เวลาการออกและกลับฝั่งโดยจะออกเรือช่วงเย็น และกลับในช่วงเช้าวันถัดมา แต่เรืออวนลากจะ ออกเรือประมาณ 5-10 วัน หากระบบการจัดเก็บไม่ดีพอจะส่งผลต่อคุณภาพปลาป่นด้วย
บจก. โชควัลลภาปลาป่น อ.คุระบุรี จ.พังงา
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผู้ประสานงาน : คุณวัลลภา (เจ้าของ) 089-918-5725 และคุณปณิตา 076-472-076
31
ภาพรวมของโรงงาน
- โรงงานมีเครื่องจักรในการผลิต 2 ไลน์การผลิต ระบบไอน้ำ Steam Dried แบบ หม้อต้มลูกใหญ่ 1 ลูก โดยมีกำลังการผลิตสูงสุดอยูท่ ปี่ ระมาณ 300,000 กก. ปลาสด/ วัน ปัจจุบันเฉลี่ย 50,000 กก. ปลาสดต่อวันโดยมีอัตราส่วนประมาณ 4 : 1
- โรงงานจะรับผลิตแต่ปลาสดๆ ที่มีคุณภาพ ไม่ส่งกลิ่นรบกวน หรือทำลายสภาพแวดล้อม โดยจะเน้นปลาสดจากฝั่งอันดามัน ตั้งแต่สตูลจนถึงระนอง
ผลผลิตจากโรงงาน - ปลาป่นเบอร์กงุ้ โดยมีคา่ โปรตีนมากกว่า 68% ความชืน้ ไม่เกิน 6% และความสด 70-80
- ปลาป่นเบอร์ 1 โดยมีค่าโปรตีนมากกว่า 63-68% ความชื้นไม่เกิน 6% และความสด ไม่เกิน 100 - ผลผลิตมากช่วงพฤษภาคม-สิงหาคม
ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
- สถานการณ์วตั ถุดบิ ลดลงเรือ่ ยๆ ปลาเป็ดปลาไก่หายาก มีราคาสูง บ่อยครัง้ ทีต่ อ้ งซือ้ ปลา เหยื่อมาทำปลาป่นทำให้ราคาต้นทุนสูง
- มีการกระจายความเสี่ยงจากวัตถุดิบลดลง โดยได้เปิดโรงงานน้ำมันปาล์ม โดยมีกำลัง การผลิต 1,200 ตัน และกำลังศึกษาในการผลิตกากปาล์มเมล็ดใน เพือ่ บีบน้ำมัน Crude Kernel Palm Oil (CKPO) เพื่อส่งน้ำมันเมล็ดใน และกากเมล็ดในให้โรงงานอาหารสัตว์ ในอนาคต
บริษัท อันดามันการประมง จำกัด จ.ระนอง ผู้ประสานงาน : คุณเอ๋ (ผู้จัดการ) 081-341-3039/คุณสนิท (ฝ่ายผลิต)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
32
ภาพรวมของโรงงาน
- เป็นโรงงานขนาดใหญ่ และตั้งมานาน อยู่ติดกับท่าเรือ แพปลา ซึ่งเป็นของตัวเอง มีเรือ กว่า 30 คู่
- ระบบการผลิตเป็นเครือ่ งจักรประเภท Steam Dried 1 ไลน์ และ Hot Oil 1 ไลน์ แต่ใช้งาน เฉพาะระบบไอน้ำ ทัง้ นี้ กระบวนการจะนานทีห่ ม้ออบ ประมาณ 3 ชัว่ โมง และ Process อื่นๆ (ต้ม-อบ-กวนเย็น-แยกกากปู-ร่อน-ตี-กวน) อีก 1 ชั่วโมง เนื่องจากเป็นเครื่องจักร รุ่นเก่า ทำให้ใช้เวลานานในกระบวนการผลิต
- กำลังการผลิตประมาณ 4,000-5,000 กก.ปลาสดต่อวัน โดยมีอตั ราการแปรสภาพ 4 : 1 ทำให้ได้ปลาป่นเฉลี่ย 5 ตันต่อวัน
- เคยเก็บ Stock ได้สูงสุดเป็นปี ทั้งโกดังเก็บได้ 4,000 กระสอบ เพื่อรอราคาขาย แต่ ปัจจุบนั ผลิตออกไปได้นอ้ ยลง ราคาไม่แกว่งตัวมาก ทำให้ไม่มคี วามจำเป็นต้องเก็บไว้นาน
ผลผลิตจากโรงงาน
- ปลาป่นเบอร์กงุ้ ค่าโปรตีน 65-67% ความสด 90-120 เกลือ 2.28% และความชืน้ ระหว่าง 6-8% - ปลาป่นเบอร์ 1 จากทีต่ กเกรดเบอร์กงุ้ ในเรือ่ งโปรตีน 61-63 % และความสด 120-130
ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
- รับปลาสดจากธุรกิจเรือตัวเองที่มีกว่า 30 คู่ และเครือข่ายลูกค้าจากอันดามันที่เป็น เรืออวนดำ และเรือคลอกจากพม่า โดยมากเป็นปลากะตัก ปลาหลังเขียว เป็นต้น - โรงงานไม่ใส่สารเคมีใดๆ ในปลาป่น รวมถึงสารกันหืน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
- ปริมาณปลาโดยภาพรวมของจังหวัด และภาคใต้ลดลงทุกปี ทำให้ไม่ได้เดินเครื่องผลิต ต่อเนื่อง อาจจะต้องรอประมาณเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน จะมีปลาเข้ามาจำนวนมาก ส่วนปลายปีถึงต้นปีจะไม่มีวัตถุดิบมากนัก
33
หจก. ระนองผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์ จ.ระนอง ผู้ประสานงาน : คุณนิรันดร์ (เจ้าของ) 081-535-3763
ภาพรวมของโรงงาน - เป็นโรงงานขนาดเล็กที่สุดในจังหวัดระนอง และอยู่ระหว่างการทำ GMP เน้นการผลิต เชิงคุณภาพตามคำสั่งซื้อของลูกค้า เพื่อปรับตัวกับสถานการณ์ปริมาณปลาที่ลดลง - เป็นผูอ้ อกแบบการใช้ระบบการบรรจุถงุ ใส่ปลาป่น 2 ชัน้ เพือ่ เก็บรักษาความชืน้ คงสภาพ ของคุณสมบัติต่างๆ ได้ดีกว่ากระสอบเคลือบก่อนส่งมอบ โดยไม่คิดต้นทุนเพิ่มไปในราคา ขาย - โรงงานมีเครื่องจักรระบบไอน้ำ 2 ไลน์ โดยใช้จริง 1 ไลน์ และสำรองฉุกเฉินอีก 1 ไลน์ โดยสามารถผลิตได้สงู สุดที่ 100 ตันปลาสดต่อวัน แต่ปจั จุบนั มีของเข้ามาผลิตเฉลีย่ 60 70 ตันปลาสดต่อวัน ซึ่งระบบการผลิตจะเป็นการ ต้ม-อบ-ตี (2 ครั้ง) - อดีตใช้เครือ่ งจักรแบบ Hot Oil ซึง่ ใช้ความร้อนสูง 110 องศาเซลเซียส สามารถฆ่าเชือ้ ได้ดี แต่มีปัญหาเรื่องการควบคุมไม่ให้ไหม้ จึงเปลี่ยนมาเป็นระบบไอน้ำแทน ผลผลิตจากโรงงาน - ปลาป่นเบอร์ 1-3 ตามคำสัง่ ของลูกค้า ความชืน้ น้อยกว่า 3 แต่ไม่ไหม้ ความสดอยูร่ ะหว่าง 90-200 ตามเกรดของปลาป่น มีการสุม่ ตรวจทุกขัน้ ตอน ทุก 1 ชัว่ โมงในการดูความชืน้ - แยกไลน์การรับวัตถุดิบ 3 บ่อพัก และใช้ Timing ในการแยกเกรดวัตถุดิบ โดยการใช้ ความชำนาญการของผูจ้ ดั การโรงงานในการประเมิณคุณภาพของวัตถุดบิ ในเบือ้ งต้นก่อน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
34
ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต - สถานการณ์กุ้งปี 2556 คาดว่ามีการผลิตออกมาไม่เกิน 3 แสนตัน และในปี 2557 สถานการณ์ยังคงไม่ดีขึ้นมาก คาดว่าผลผลิตจะไม่เกิน 2 แสนตัน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ปริมาณการใช้ปลาป่นด้วย
- ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-ตุลาคม จะมีวัตถุดิบเข้ามาโรงงานมากกว่าช่วงปลายปี และต้นปี
- พม่าให้สัมปทานบริษัทเอกชน 2-3 รายในการเข้าไปทำประมงในเขตน่านน้ำ ซึ่งกำลัง จะหมดอายุ และยังไม่ชัดเจนเรื่องการต่ออายุสัมปทาน หรือเอกชนจะสนใจที่จะจ่ายเงิน ค่าสัมปทานหรือไม่
- การใช้กระสอบ 2 ชัน้ ทำให้เก็บรักษาได้นานประมาณ 6-7 เดือน ซึง่ จากทีเ่ คยตรวจสอบ พบว่าโปรตีนตกไม่เกิน 0.5% และความชืน้ เพิม่ ไม่เกิน 1% และไม่มกี ารใช้ Antioxidants - ยังไม่ได้ทำ MCPD และมองว่าระบบนี้เป็นแค่การตอบสนองต่อ NTB ของสหภาพยุโรป
บริษัท สหประมงปลาป่นระนอง จำกัด จ.ระนอง ผู้ประสานงาน : คุณจรรยา (ผู้จัดการโรงงาน) 081-814-8186/077-822-179
ภาพรวมของโรงงาน
ผลผลิตจากโรงงาน
- ปลาป่นเกรดกุ้ง มีค่าโปรตีนระหว่าง 67-69% ความสดไม่เกิน 100 ส่วนเบอร์ 1 มีค่า โปรตีน 62 -65% และค่าความสดระหว่าง 120-130 รวมกันประมาณ 80% ของ ผลผลิตทั้งหมด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
- ผู้จัดการโรงงานสหปลาป่นระนองและ โรงงานปลาป่นกันตัง อ.หลังสวน จ.ชุมพร ซึ่งมีเจ้าของเดียวกัน - มี 2 ไลน์การผลิต แบ่งเป็นกำลังการผลิต 3 ตันกับ 6 ตัน (10 หม้อ) โดยจะประเมิน วัตถุดิบในแต่ละวัน และใช้ไลน์เดียวในการผลิตหากปริมาณปลาไม่มากพอสำหรับการ ผลิตร่วมกันทั้ง 2 ไลน์ - มีคนงานทัง้ หมด 28 คน แบ่งเป็นไทย 7 คน และพม่า 21 คน ทำงานเป็น 2 กะ เนือ่ งจาก ปริมาณวัตถุดิบในการผลิตลดลง จึงลดจำนวนการทำงานจาก 3 กะเหลือ 2 กะ
35
- อีก 20% จะเป็นปลาป่นเบอร์ 3 ซึง่ ยังคงมีคา่ โปรตีน 60-62% แต่มคี า่ ความสดทีส่ งู กว่า 200 - ผลผลิตต่อเดือนประมาณ 10-20 คันรถบรรทุก ตามช่วงเวลาของวัตถุดิบ
ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
- แหล่งวัตถุดิบจะมาจาก 4 ส่วน ได้แก่ รับซื้อจากแพปลา Frozen เรือประมงโดยตรง และจากล๊ง (แม่ค้าที่ชำแหละส่วนหัวออก)
- การนำวัตถุดบิ เข้าเครือ่ งจักรจะไม่แยกประเภทของปลา หรือปลาจากอวนลากแต่ละประเภท แต่จะแยกเรื่องความสดของปลาในการเข้าไลน์การผลิตก่อนหลัง - ราคารับซื้อวัตถุดิบแพงขึ้น และต้องแย่งซื้อจากปลาเหยื่อ หรือปลากระป๋อง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
36
- ในอดีตเคยถูกร้องเรียนเรื่องกลิ่น สภาพแวดล้อมบ่อย เนื่องจากตั้งโรงงานมานาน แต่ หลังจากนัน้ ได้มกี ารพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิต และการบำบัดมาโดยตลอด รวมทัง้ การไม่ใช้วัตถุดิบปลาเน่ามาผลิตที่มีแอมโมเนียสูง เสียทั้งสุขภาพกาย และจิตของแรงงาน จึงช่วยลด และบรรเทาไปได้ ขอเสนอให้โรงงานอาหารสัตว์ยกเลิกการซื้อปลาป่นจาก โรงงานปลาป่นทีใ่ ช้ปลาเน่า ทีม่ รี าคาถูกว่าท้องตลาด ซึง่ ส่งผลต่อสภาพแวดล้อมของชุมชน และส่งผลกระทบต่อโรงงานที่ใช้วัตถุดิบปลาสดด้วย ซึ่งหากไม่มีโรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ จากโรงงานที่ใช้ปลาเน่า ก็จะเลิกทำธุรกิจไปเอง
- ระบบ MCPD โรงงานสามารถทำได้ตามทีก่ รมประมงกำหนด แต่ควรจะเน้นเรือ่ งมาตรฐาน ที่มีอยู่แล้วในปัจจุบันให้ดีก่อน เช่น ระบบ GMP และ HACCP
- เคยมีปัญหาในเรื่องของค่าเกลือที่สูงเกิน 3 ซึ่งเป็นสาเหตุมาจากการที่เรือใช้วิธีการ ดองน้ำแข็ง แต่ใช้ปริมาณเกลือจำนวนมากเพื่อรักษาความเย็นไว้ เนื่องจากมีจำนวนของ น้ำแข็งน้อย ไม่เพียงพอต่อระยะเวลาการเดินทางตลอด
- ธุรกิจปลาป่นต้องปรับตัวอย่างมาก ทั้งในเรื่องของวัตถุดิบที่ลดลง และแรงงานพม่า ที่กลับประเทศ หลังจากมีการลงทุนในพม่าอย่างต่อเนื่อง
บริษัท เทพพามาปลาป่น จำกัด ผู้ประสานงาน : คุณบรรจง (ผู้จัดการโรงงาน) 081-915-3836
ผลผลิตจากโรงงาน - ปลาป่นเบอร์กุ้ง โปรตีน 68-69% ค่าความชื้น 6.5-7.0% และค่าความสด 70-90/ 110-120 - ปลาป่นเบอร์ 1 ได้จากอวนล้อมและลากคู่ โปรตีน 61-62% ค่าความสดไม่เกิน 130 - ปลาป่นเบอร์ 3 ได้จากปลาที่มาจากพม่า เนื่องจากน้ำแข็งไม่พอในการรักษาความเย็น ทำให้ค่าความสดอยู่ที่ 180-260 - Stock โดยรวมของโรงงานจะเก็บไว้ไม่เกิน 2 เดือนก่อนจำหน่าย ระบบมาตรฐานต่างๆ มีการทำบัญชีการรับซื้อที่มาของเรือประมง, GMP, HACCP, ISO และ MCPD
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ภาพรวมของโรงงาน - โรงงานมีเครื่องจักรระบบไอร้อน (steam dried) 3 ไลน์การผลิต โดยสามารถประยุกต์ ให้การผลิตเป็นลักษณะหม้อเดียว หรือแบบต่อเนื่องหลายหม้อได้ตามสถานการณ์ของ ปริมาณวัตถุดิบในแต่ละครั้งที่ได้รับมา โดยกำลังการผลิตสูงสุด 300 ตันปลาสดต่อวัน แต่โดยเฉลี่ยที่ผลิตจะมีวัตถุดิบเข้ามาโรงงานประมาณ 30 ตันปลาสดต่อวันนั้น โดยแยก ไลน์การผลิตเป็น 2 ชุด เพื่อให้วัตถุดิบชนิดที่ดี และไม่ดีแยกจากกัน ทำให้ง่ายต่อการ บริหารจัดการและผสมในภายหลัง - ได้รบั คัดเลือกจากจังหวัดระนองในการเป็นผูน้ ำด้าน CSR กับชุมชน โดยมีระบบบำบัดน้ำเสีย 5 บ่อ ก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ในกระบวนการล้างปลาสดก่อนเข้าไลน์การผลิต - บริษัทเป็นเครือเดียวกับ SKS ซึ่งเป็นบริษัทที่ทำธุรกิจการส่งออกปลาป่นไปยังประเทศ จีน ไต้หวัน แต่แยกการดำเนินการจำหน่ายมา 5 ปีแล้ว ซึ่งจะส่งสินค้าไปทั้งลูกค้า รายใหม่ และ SKS ด้วย
37
ลักษณะของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
38
- เรืออวนดำ (ปลาแป้น โปรตีน 68% TVN 110, ปลาหัวเลื้อน โปรตีน 68% TVN 108) ราคารับซื้อประมาณ 11 บาท/กก.
- เรืออวนลากเดีย่ ว จะมีคา่ ความสดทีไ่ ม่ดเี นือ่ งจากใช้ระยะเวลาการเดินทางประมาณ 30 วัน และใช้วิธีการดองน้ำแข็งไว้ในเรือก่อนนำเข้ามาส่งที่โรงงาน โปรตีนประมาณ 63-65% TVN 120 ขึ้นไป
- ปลาที่ได้ทั้งอวนลากเดี่ยว ลากคู่ และอวนดำมาจากทั้งฝั่งอ่าวไทย ตั้งแต่ประจวบคิรีขันธ์ ถึงสงขลา ส่วนฝั่งอันดามันตั้งแต่ภูเก็ต จนถึงน่านน้ำประเทศพม่า
- บางส่วนของวัตถุดิบจะประมูลมาจากโรงงานปลากระป๋องที่มีการตัดหัว และหางออก แต่เป็นขนาดที่ไม่ผ่านมาตรฐานของปลากระป๋อง ซึ่งจะเป็นการแช่แข็งมาทางรถบรรทุก
- สถานการณ์วตั ถุดบิ ลดลงเรือ่ ยๆ ปลาเป็ดปลาไก่หายาก มีราคาสูง บ่อยครัง้ ทีต่ อ้ งซือ้ ปลาเหยือ่ มาทำปลาป่นทำให้ราคาต้นทุนสูง
- ปัญหาจากโรค EMS ในกุ้งทำให้ความต้องการใช้ปลาป่นลดลง แต่ในทำนองเดียวกัน ที่วัตถุดิบในการผลิตมีน้อย จึงไม่ส่งผลต่อราคามากนัก ส่วนใหญ่บ่อกุ้งขนาดเล็กที่มีการ จัดการเอง ดูแลเองจะไม่โดนโรค EMS แต่บ่อใหญ่ มีการจ้างคนงานมาดูแลจะบริหาร จัดการไม่ดีทำให้เกิดโรค EMS และติดต่อไปทุกบ่อทำให้เสียหายทั้งหมด
- การดำเนินการต่อระบบ MCPD บริษทั เทพพามามีเครือข่ายเรือประมง 10 ลำ ในการจัดทำ ระบบนี้ เพื่อการตรวจสอบที่มาของแหล่งจับปลา ชนิดปลา ชื่อเรือ และในส่วนวัตถุดิบ ที่มาจากแหล่งอื่นก็สามารถระบุที่มาได้ทั้งหมด
- อีกปัญหาสำคัญคือ เรื่องของตั๋วเรือพม่าที่กำลังจะหมดอายุลง ซึ่งปัจจุบันการต่ออายุ มี ค่าใช้จ่ายสูง อาจจะไม่คุ้มค่าต่อต้นทุนที่สูญเสียไป เนื่องจากพม่าจำกัดพื้นที่ในการทำ ประมงในส่วนที่มีปลาน้อย
บริษัท กรุงเทพมหกิจ จำกัด จ.ระนอง ผู้ประสานงาน : คุณสงวนศักดิ์ (นายกสมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย) 0-7782-1712-3 คุณต่อ, คุณวี (ซื้อขาย) โทร 089-753-5535/คุณออย (ประสานงาน)
ภาพรวมของโรงงาน ด้านผลิตภัณฑ์ ปลาป่นเกรดกุ้ง และเกรด 1 ใช้ระบบเครื่องจักรการผลิตแบบ streaming และ hot oil (แบบหม้อต้ม และอบหลายลูก) โดยมีกำลังการผลิตปลาสด 120-140 ตันต่อวัน และมีช่องทางการขายผ่านโบกเกอร์เป็นหลัก (บริษัทพัฒนาปลาป่น) รวมถึงการขายไปยังโรงงาน อาหารสัตว์ภายในประเทศ ระบบมาตรฐานต่างๆ ได้รบั รองมาตรฐาน GMP, HACCP, ISO และทำเอกสาร MCPD ตอบสนอง ต่อนโยบายรัฐ การผลิต
- แหล่งวัตถุดิบ ใช้ปลาเป็ดปลาไก่ และเศษเหลือจากซูริมิ เป็นวัตถุดิบ และหากได้ปลาจาก การจับมากพอก็จะแยกหม้อต้ม โดยขณะนี้รับซื้อปลาอวนดำที่ 8 บาท/กก. และอวนลาก เดี่ยว 6 บาท/กก.
- ขณะนี้ มีปลาสดเข้าโรงงานเรือ่ ย ส่วนใหญ่เป็นปลาจากพม่า ซึง่ สามารถเดินเครือ่ งทุกวัน โดยจะเริ่มเดินเครื่องได้เมื่อมีปลาสด 10 ตัน โดยขณะนี้มีปลาสดเฉลี่ย 12 ตัน/วัน โดยมีอัตราแปรสภาพเท่ากับ 4
- มีการใช้สาร Anti-oxidant ตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งลูกค้ามักจะสั่งให้ใส่ในช่วงที่ ราคาปลาป่นลงเพื่อจะได้ซื้อจำนวนมาก และสามารถเก็บรักษาได้นาน - บริษัทมีระบบตรวจสอบคุณภาพก่อนส่งให้ลูกค้า โดยใช้ lab กลาง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
- บริษัทมีเรือเอง 2 ลำ จึงมีปลาสดส่งเข้าโรงงานได้อย่างต่อเนื่อง
39
ปัญหาและอุปสรรค
- สัมปทานการจับปลาในพม่า จะหมดอายุในเดือนมีนาคม ซึ่งจะมีการปิดอ่าว โดยยัง ไม่มคี วามชัดเจนว่าจะมีการต่อสัญญาสัมปทานหรือไม่ และทราบข้อมูลว่ามีแนวโน้มเปลีย่ น รูปแบบจากสัมปทานเป็น Joint คือ เมื่อจับปลามาได้ต้องเอาปลาขึ้นเรือแสดงสินค้าเพื่อ จ่ายภาษี ซึ่งคาดว่าไม่น่าจะทำได้ เพราะจะทำให้ยุ่งยาก และเกิดความเสียหายกับปลาที่ จับได้ อีกทั้ง ผู้ประกอบการโรงงานปลาป่นเพิ่งทราบเรื่องการหมดสัญญาสัมปทานเมื่อ ปลายเดือนมกราคม 2557 โดยเบื้องต้นโรงงานมีการใช้ปลาที่มาจากสัมปทานประมาณ 20% และได้จากเรือที่เป็นสัญชาติพม่าด้วย ซึ่งในส่วนของเรือสัญชาติพม่า การพิจารณา นำปลามาขายฝั่งไทยจะขึ้นอยู่กับราคาฝั่งไทย และฝั่งพม่า
บริษัท กรีน กลอรี่ จำกัด อ.ท่าฉาง จ.สุราษฎร์ธานี ผู้ประสานงาน : คุณปิ่นนรัฐ โทร 077-389-555-7 โทรสาร 077-389-558 Email: Pinnarat_m@hotmail.com
เกี่ยวกับองค์กร โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ บริษัท กรีน กลอรี่ จำกัด ได้ก่อตั้งในปี 2543 โดยถูกก่อตั้งด้วยความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญในวงการทั้งสองฝ่าย ฝ่ายแรกคือกลุ่ม บริษัท นำบี้ พัฒนาการเกษตร และกลุ่มบริษัท กุ้ยหลิมพัฒนาการเกษตร ผู้ดำเนินการสวนปาล์มขนาดใหญ่ใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี อีกฝ่ายเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำโรงงานน้ำมันปาล์มดิบมากกว่า 20 ปี กลุ่มบริษัททักษิณปาล์ม ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
40
ในปี 2549 กลุ่มบริษัท เพชรศรีวิชัย ผู้ดำเนินการด้านการขนส่งน้ำมัน, คลังน้ำมัน ได้เข้ามาร่วมลงทุนในบริษัทฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับบริษัทฯ ในปี 2550 บริษัทฯ ได้ร่วมลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตพลังงานทดแทนกับกลุ่มบริษัท เพชรศรีวิชัย เปิดบริษัท นิว ไบโอดีเซล จำกัด เพื่อผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์ม
กระบวนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุดของน้ำมันปาล์มดิบ กำลังการผลิต 90 ตัน ผลปาล์ ม สด ต่ อ ชั่ ว โมงไฟฟ้ า จากก๊ า ซชี ว ภาพ กำลั ง การผลิ ต 1 เมกะวั ต ต์ ต่ อ ปี ผลผลิ ต หลักมีดังนี้ - CRUDE PALM OIL (CPO) - CRUDE PALM KERNAL OIL (CPKO) - PALM KERNAL (PK) - PALM KERNAL CAKE (PKC) - ELECTRICITY คุณภาพสินค้า ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุดของน้ำมันปาล์มดิบ 80 ตันทะลายสด ต่อชั่วโมง ในส่วนของคุณภาพกากปาล์มเมล็ดในจะมีคา่ Fat 9.50-12.50% โปรตีน 14.00% โดยประมาณ ทั้งนี้ ในปาล์มสด 100% จะแบ่งออกเป็นส่วนของน้ำมัน 15-17% เมล็ดใน 4-5% (แบ่งออก เป็นกากเนื้อ 45-46% และน้ำมันเมล็ดใน 55%) สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา - ราคารับซื้อผลปาล์มทะลาย 5.60-5.70 บาทต่อกก. ปาล์มร่วง 8.10 บาทต่อกก. - ถึงแม้ว่าพื้นที่ปลูกปาล์มทั่วประเทศจะเพิ่มมากขึ้น และผลผลิตมากขึ้น แต่โรงงานสกัด น้ำมันปาล์มก็เพิ่มขึ้นไปด้วย ทำให้โรงงานมีผลผลิตไม่ต่างจากเดิมนัก - ผลผลิตปาล์มส่วนใหญ่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จะออกมากหลังเดือนมีนาคมเป็นต้นไป แต่ปี 2557 อาจจะล่ากว่าทุกปีจากสภาพฝนที่ตกช้า ซึ่งคาดว่าประมาณปลายเดือน เมษายนจะเริ่มเห็นผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น
บริษัท ทักษิณอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม (1993) จำกัด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผู้ประสานงาน : คุณยรรยง แก้วกรกฎ ผู้จัดการทั่วไป โทร 077-357-249 โทรสาร 077-357-249 มือถือ 081-9781602, คุณกาญจนา (ดูแลการขายกากปาล์มเมล็ดใน) โทร 077-951-500
41
เกี่ยวกับองค์กร
- มีการผลิตและจำหน่ายต้นกล้าปาล์มน้ำมันพันธุ์ดี เมล็ดพันธุ์นำเข้าจาก คอสตาริก้า และ ปาปัวนิวกินี กำลังการผลิตไม่ต่ำกว่าปีละ 1 ล้านต้น ได้รับการรับรองพันธุ์จากกรมวิชา การเกษตร
- พื้นที่สวนปาล์มในนามบริษัท และบริษัทในเครือ รวมทั้งสิ้นประมาณ 50,000 ไร่ อยู่ใน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครอบคลุมพืน้ ทีเ่ ขตอำเภอพุนพิน คีรรี ฐั นิคม ท่าฉาง ไชยา พระแสง และกาญจนดิษฐ์ เครือข่ายสวนปาล์มประมาณ 3,000 ราย - โรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม กำลังการผลิต 60 ตันต่อชม. - ผลิตภัณฑ์ 1. น้ำมันปาล์มดิบ ปริมาณผลิตประมาณ 120,000 ตันต่อปี 2. น้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบ 3. เมล็ดในปาล์มอบแห้ง 4. กากเมล็ดในปาล์ม
กระบวนการผลิต
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
42
คุณภาพสินค้า
- คุณภาพน้ำมันดิบ ความชื้น 0.5 ค่า FFA ไม่เกิน 5 ค่า IV 48-52 ค่าความสดไม่ต่ำ กว่า 2 - ผลปาล์ม 100 กก. ได้นำ้ มัน 15-20 กก. ได้เมล็ดในซึง่ สามารถนำไปบีบน้ำมันเมล็ดในอีก 2 กก. และได้ส่วนที่เป็นเชื้อเพลิง คือ shell 5-6 กก., Fiber 13กก. ปัจจุบันมีแผนจะนำ ทะลายเปล่า ซึ่งมีประมาณ 23 กก. มาใช้เป็นเชื้อเพลิงด้วย ซึ่งส่วนที่เป็นเชื้อเพลิงได้คือ ของที่เคยถือว่าเป็นของเสียจากกระบวนการผลิต
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
- ราคารับซือ้ ปาล์มแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ราคาปาล์มร่วง และราคาทะลาย ซึง่ ราคาจะห่างกัน ประมาณ 2 บาท โดยราคาปาล์มจะอิงกับราคา CPO ราคาที่โรงงานประกาศจะเป็น ราคาน้ำมันปาล์ม 15%
บริษัท ไทยทาโลว์ แอนด์ออยส์ จำกัด อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี : คุณอำนวย (ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ) คุณสมเจตน์ 087-891-2192/077-277-200 โทรสาร 077-277-222 คุณนงนุช 082-276-2124 Email: Nuchy_182@hotmail.com และคุณอมรรัตน์ (ฝ่ายบัญชี)
เกี่ยวกับองค์กร ก่อตั้งโรงงานเมื่อปี 2536 โดยเริ่มจากการทำสบู่ และพัฒนาต่อมาเรื่อย จนเป็นโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม ปัจจุบนั มีโรงงาน 2 แห่ง คือ ทีต่ ำบลไทรขึง และตำบลบางสวรรค์ สำหรับโรงงานแห่งที่ 3 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราชอยู่ระหว่างการก่อสร้าง ทั้งนี้โรงงานได้รับ มาตรฐาน ISO 9001 และ 18000, Halal, GMP และอยูร่ ะหว่างการยืน่ ขอใบรับรองจาก RSPO โดยมีเกษตรกรที่เป็นลูกค้าตอบรับมากกว่า 3,000 ราย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผูป้ ระสานงาน
43
บริษัทดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการสกัดน้ำมันปาล์มดิบ น้ำมันเมล็ดใน โดยเน้น การสกัดน้ำมันปาล์มที่มีคุณภาพผ่านการคัดเลือก และประเมินคุณภาพอย่างเข้มงวดก่อนเข้าสู่ กระบวนการผลิต น้ำมันปาล์มที่นำมาผลิตส่วนใหญ่เป็นผลปาล์มสดจากสวนของเกษตรกรใน พื้นที่เข้าสู่โรงงานโดยตรง กระบวนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุดของน้ำมันปาล์มดิบอยู่ที่ 90 ตันต่อชั่วโมง โดย ขั้นตอนการผลิตจะมีหม้ออบแบบไอน้ำ 4 ลูก มีผลิตภัณฑ์หลักจากกระบวนการผลิต ได้แก่ น้ำมัน ปาล์มดิบ Crude Palm Oil (CPO) และน้ำมันปาล์มเมล็ดใน Crude Palm Kernel Oil (CPKO) นอกเหนือจากนั้นก็มีการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในลักษณะ Biogas และ Biomass ที่ใช้วัตถุดิบจากกะลาปาล์ม เส้นใยปาล์ม น้ำเสียจากกระบวนการผลิต รวมถึงผล พลอยได้จากกระบวนการผลิตหลัก (By product) ได้แก่ กากเมล็ดในปาล์ม (Kernel Cake: KC) ทะลายเปล่า ขี้เค้ก กะลาปาล์ม (Shell) และเส้นใยปาล์ม (Fiber) คุณภาพสินค้า มีผลิตภัณฑ์จากกระบวนการผลิตหลัก 2 ส่วน ได้แก่ น้ำมันปาล์ม (ทั้ง CPO และ CKPO) และกากปาล์มเมล็ดใน โดย 100% ของวัตถุดิบที่ได้รับมาสกัดจะเป็นผลผลิตมาจาก เกษตรกรทั้งหมด ซึ่งโรงงานไม่มีสวนปาล์มน้ำมันเอง สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
- บริษัทคิดค่าขนส่งจากหน้าโรงงานไปส่งถึงที่หมายตามพื้นที่ ซึ่งอยู่ระหว่าง 600-700 บาทต่อตัน
- ราคารับซือ้ ผลปาล์มทะลาย 5.70 -5.80 บาท ซึง่ ลงมาจากปลายปี 2556 ทีอ่ ยูเ่ หนือระดับ 6 บาท
- บริษทั คาดการณ์วา่ ผลผลิตปาล์มจะออกสูต่ ลาดเยอะในช่วงเดือนเมษายนเป็นต้นไป (ปกติ จะออกมาต่อเนื่อง 8 เดือน) ซึ่งจะทำให้ราคารับซื้อผลปาล์มอาจจะปรับตัวลงเล็กน้อย แต่ยังคงต้องติดตามสภาวะอากาศอย่างใกล้ชิด ซึ่งทราบว่าฝนทิ้งช่วงมาสักพักแล้ว หาก เริ่มมีฝนตกอีกครั้งจะทำให้ผลปาล์มสมบูรณ์ได้ดียิ่งขึ้น - ราคาขาย CPO ประมาณ 33-34 บาท (ราคาหน้าโรงงาน) ความชื้น 0.1-0.2%
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
44
- กากปาล์มเมล็ดในราคาประมาณ 5.60 บาทต่อกก. ส่งทั้งแบบ Bulk และ Bag โดยหาก เป็น Bag จะบวกเพิ่ม 1 บาท ในส่วนรายย่อยที่มีการซื้อไม่มากนัก ราคาจะมากกว่า รายใหญ่ 1.50 บาท และกะลาปาล์มราคา 2.20 บาท/กก.
- กำลังการผลิตของ CPO ประมาณ 4,000 ตัน/เดือน กากปาล์ม 600 ตัน/เดือน กะลาปาล์ม มากกว่า 1,000 ตัน/เดือน
บริษัท เอส พี โอ อะโกรอินดัสตรี้ส์ จำกัด/ บริษัท แสงศิริน้ำมันปาล์ม จำกัด อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี ผู้ประสานงาน : คุณไกรวุฒิ (กรรมการผู้จัดการ) โทร 077-913-100-8 โทรสาร 077-913-149 คุณสุกัญญา (ฝ่ายจัดซื้อ) โทร 081-728-9577
เกีย่ วกับองค์กร มีโรงงานสำหรับการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ กากเมล็ดใน น้ำมันมะพร้าว และเมล็ดใน รวม 4 โรงงาน โดยเป็นเพียงโรงงานเดียวที่ยังคงผลิตน้ำมัน และกากมะพร้าว เนื่องจากปริมาณ ของผลผลิตมะพร้าวลดลงเรื่อยๆ ทั้งๆ ที่เคยเป็นที่ต้องการของโรงงานอาหารสัตว์อย่างมากใน อดีต โดยพื้นที่ที่ลดลงจากการปลูกมะพร้าวได้เปลี่ยนไปเป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน และนากุ้งแทน กระบวนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุดของกากปาล์มเมล็ดใน 5,000 ตัน/เดือน (Fat 7-9%, โปรตีน 13-14%, Temp. 37 องศาเซลเซียส), CPO 10,000 ตัน/เดือน คุณภาพสินค้า ปัจจุบันมีการผลิตน้ำมันปาล์ม 2 เกรด คือ CPOa เป็นน้ำมันคุณภาพดีที่มี การแยกเมล็ดในก่อนบีบ และ CPOb ซึ่งเป็นน้ำมันคุณภาพไม่ดี มาจากผลปาล์มร่วงที่มักจะถูก ทำให้หลุดจากทะลายโดยการชะล้างของน้ำมากกว่าหลุดตามธรรมชาติ
- จากสภาพการกระจายตัวของพื้นที่ปลูก ทำให้มีโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเกิดขึ้นทั้งขนาด เล็ก กลาง และใหญ่ โดยส่วนใหญ่โรงงานขนาดใหญ่จะใช้กรรมวิธีแยกเมล็ดในออกมา บีบสกัด แต่สำหรับโรงงานขนาดเล็กจะบีบสกัดรวมทั้งผลปาล์มซึ่งคุณภาพจะไม่ดี และ โรงงานขนาดกลางที่ไม่มีเครื่องมือในการบีบเมล็ดในก็จะแยกเมล็ดในออกมาจำหน่าย ต่อไปยังโรงงานขนาดใหญ่
- ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันประมาณ 2 ตันกว่าต่อไร่ ซึ่งเท่ากับ ค่าเฉลี่ยของประเทศ แต่เปอร์เซ็นต์น้ำมันที่ 15-17% ค่อนข้างต่ำกว่าประเทศชั้นนำ อย่างมาเลเซีย และอินโดนีเซีย อยู่ระดับ 19-22% โดยเฉลี่ย
- ปี 2557 คาดการณ์ว่าราคาของผลิตภัณฑ์ปาล์มน้ำมันทั้งระบบจะยกตัวสูงขึ้นจากผล กระทบของฝนที่มาช้าทำให้ได้ผลผลิตในประเทศไม่ดี ประกอบกับ ผลผลิตถั่วเหลืองของ อเมริกาใต้กระทบแล้ง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
45
- นโยบาย Biodiesel (B5 และ B100) ของรัฐบาล ถือเป็นนโยบายที่ทำให้เกิดการผลิต น้ำมันคุณภาพแย่มาป้อนอุตสาหกรรม Biodiesel ด้วยต้นทุนที่แพง จึงควรมีการแก้ไข เพื่อให้ราคาน้ำมัน B5 หรือ B100 สอดคล้องกับต้นทุนที่จะเอาไปทำน้ำมันดีเซล
- ราคาจำหน่าย CPO ประมาณ 34.50 บาท ส่วนกากปาล์มจะราคาประมาณ 5 บาท กลางๆ ซึ่งจะขนส่งแบบ Bulk อย่างเดียว
บริษัท ศรีเจริญปาล์มออยส์ จำกัด อ.เขาพนม จ.สุราษฎร์ธานี ผู้ประสานงาน : คุณอโณทัย แดงบรรจง โทร 083-333-3832/081-606-2592/ 075-689-822-3 โทรสาร 075-689-821 Email: Harnet_XIII@hotmail.com
เกี่ยวกับองค์กร เริ่มธุรกิจแปรรูปยางพาราก่อน และเริ่มบุกเบิกสวนปาล์มปี 2528 โรงสกัด น้ำมันปาล์มในปี 2537 โดยประสิทธิภาพการผลิตจากเริ่มต้นที่ 45 ตันทะลายต่อชั่วโมง เป็น 90 ตันทะลายต่อชั่วโมง ในปี 2545 หลังจากนั้น 3 ปี ก็นำเอาเทคโนโลยีการบีบน้ำมันปาล์ม เมล็ดในปี 2548 ทั้งนี้ โรงงานมีสวนปาล์มเองกับในเครือเดียวกันมากกว่า 10,000 ไร่ ในปี 2552 โรงงานได้พัฒนาโรงผลิต Biogas เพื่อใช้ของเสียจากกระบวนการผลิตให้เกิด ประโยชน์ และหมุนเวียนพลังงานใช้ภายในโรงงาน ปัจจุบันมีคนงานทั้งสิ้น 134 คน วัตถุดิบที่ ได้แบ่งสัดส่วนจากของสวนปาล์มที่อยู่เครือ 10% และจากเกษตรกร 90% ผลผลิตหลักจากกระบวนการผลิต CPO CPKO เมล็ดใน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
46
ในส่วนของผลผลิตรอง (By product) ได้แก่ Fiber กะลาปาล์ม ทะลายเปล่า ขี้เค้ก กากปาล์ม และ Biogas คุณภาพสินค้า ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุดประมาณ 2,000 ตันทะลายสดต่อวัน หรือ 90 ตัน ทะลายสดต่อชั่วโมง ซึ่งจะทำให้ได้น้ำมัน (17%) Kernel (5%) กากปาล์ม (2.5%) และกะลา (6.7%) มีการส่งผลผลิตทั้งผลผลิตหลัก และรองตรวจสอบทั้ง FFA, ความชื้น
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
- บริษทั คาดการณ์วา่ ผลผลิตจะออกสูต่ ลาดมากในช่วงเดือนเมษายน และพฤษภาคม 2557 โดยราคารับซื้อปาล์มทะลายปัจจุบันอยู่ที่ 5.80 บาท
ชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์มน้ำมันกระบี่ อ.อ่าวลึก จ.กระบี่
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผู้ประสานงาน : ว่าที่ร้อยตรีสุรศักดิ์ฯ (รองผู้จัดการใหญ่) และ คุณวลัยพรฯ โทร 081-370-0038/ 075-628-500 โทรสาร 075-628-549 Email : surasak08126@gmail.com
47
เกี่ยวกับองค์กร เกิดจากการรวมตัวของ 5 สหกรณ์ จนกลายเป็นชุมนุมสหกรณ์ และก่อตั้งเมื่อปี 2540 ตามมติครม. ในการก่อสร้างโรงสกัดน้ำมันปาล์ม โดยมีขนาดกำลังการผลิต 45 ตัน ทะลายต่อชัว่ โมง 2 ไลน์การผลิต ซึง่ เปิดดำเนินการปี 2547 เป็นต้นมา ปัจจุบนั มีสมาชิกทีเ่ ป็นทัง้ ในรูปแบบสหกรณ์ และเกษตรกร มีผลผลิตเข้าสูโ่ รงงานกว่า 1 ล้านตันทะลายปาล์ม ผลผลิตต่อไร่ ในจังหวัดกระบี่สูงถึง 3.8 ตันต่อไร่ (เฉลี่ยของจังหวัด) มีสาขาที่ 2 ที่ คลองท่อม สามารถผลิต ได้ 800-1,000 ตันต่อวัน โดยมีวัตถุประสงค์โครงการเพื่อสร้างตลาดรองรับผลผลิตปาล์มน้ำมัน ให้กับสมาชิก เกษตรกร, สร้างความมั่นคงจากรายได้จากอาชีพการปลูกปาล์มให้เกษตรกร, สนับสนุนการดำเนินการในระบบสหกรณ์ให้มีความมั่นคงอย่างถาวร และสนับสนุนโครงการ ต่อเนื่องหลายๆ โครงการ อาทิ โรงงานไบโอแก๊ส พลังงานทดแทน ไบโอดีเซล พัฒนาพันธุ์ปาล์ม เป็นต้น โรงงานได้รบั มาตรฐานต่างๆ อาทิ ISO 9001 : 2008, มรท. 8001 : 2556 และฮาลาล เป็นต้น กระบวนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตรับปาล์มสดได้ 90 ตันทะลายต่อชั่วโมง และสาขาที่ 2 ผลิตได้ 45 ตันทะลายต่อชั่วโมง รวม 2 สาขา 135 ตันทะลายต่อชั่วโมง หรือ 2,800 ตันต่อวัน 840,000 ตันต่อปี และโรงงานบีบน้ำมันเมล็ดในมีกำลังการผลิต 120 ตันต่อวัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
48
คุณภาพสินค้า ผลิตออกมาเป็นน้ำมัน ปาล์มดิบ ประมาณ 189,700 ตันต่อปี ราคาปัจจุบัน 30 บาทต่อกก. โดยคิด เป็นประมาณ 18.50% จากผลปาล์ม สดที่ รั บ มาเข้ า กระบวนการผลิ ต ใน ส่วนของเมล็ดในปาล์ม คิดเป็น 5.5% ของผลปาล์ ม ดิ บ ที่ เ ข้ า สู่ ก ระบวนการ ผลิต ผลิตได้ประมาณ 5,300 ตันต่อปี ราคาปัจจุบัน 13 บาทต่อกก. CPKO มี FFA ไม่เกิน 1.5% ความชืน้ น้อยกว่า 0.2% ส่วนกากปาล์มเมล็ดใน มีโปรตีน 15.44% Fat 6.45% Fiber 11.77% และความชื้น 5.27%
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา - รับปาล์มสดจากเกษตรกรในพืน้ ทีแ่ ละจังหวัดใกล้เคียงปีละประมาณ 480,000 ตัน 1,200 1,400 ตันต่อวัน และผลิตเป็นน้ำมันปาล์ม ปีละประมาณ 69,000 ตัน - จำหน่ายน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) ให้แก่โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์ม 250 ตัน/วัน โดย ประมาณ - จังหวัดกระบี่คาดว่าจะมีผลผลิตของภาคใต้ฝั่งตะวันตกออกมากช่วงเดือนกรกฎาคม และ จะลดลงปลายปี และภาคใต้ฝั่งตะวันออกจะช้ากว่า 1 เดือน อย่างไรก็ตามราคาของผล ปาล์มสด และน้ำมันปาล์มจะสอดคล้องกับราคาน้ำมันปาล์มของอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก - ลักษณะของการขนส่งกากปาล์ม จะใช้วิธี FIFO เพื่อการลดอุณหภูมิตามธรรมชาติ และ ขนส่งเป็น Bulk
บริษัท ยูนิวานิชน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
เกี่ยวกับองค์กร บริษัท ยูนิวานิชน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทที่เกิดจากการควบ กิจการ ปี 2538 ระหว่าง กลุ่มบริษัทผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มในประเทศไทย ได้แก่ - บริษัท ไทยอุตสาหกรรมน้ำมันและสวนปาล์ม จำกัด - บริษัท สยามปาล์มน้ำมันและอุตสาหกรรม จำกัด - บริษัท เจียรวานิชน้ำมันปาล์ม จำกัด
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผู้ประสานงาน : คุณสกลรัตน์ โทร 091-545-3679/075-634-634 Website: www.univanich.com
49
บริษทั เป็นหนึง่ ในผูน้ ำในการผลิตน้ำมันปาล์มดิบ (CPO) และน้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบ (CPKO) รายใหญ่ในประเทศไทย น้ำมันปาล์มเป็นส่วนผสมสำคัญในอุตสาหกรรมอาหาร น้ำมันสลัด มาการีน และไขมันใช้ในการผสมแป้งทำขนมอบ ขนมขบเคีย้ ว ไอศกรีม สบู่ แชมพู และเครือ่ งสำอาง ล่าสุดการนำน้ำมันปาล์มไปผลิตไบโอดีเซล และเชื้อเพลิงชีวภาพได้เติบโตอย่างรวดเร็ว ผลิตภัณฑ์ พลอยได้จากการผลิตน้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบคือ กากเมล็ดในปาล์ม (PKC) ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรม อาหารสัตว์ มีสวนปาล์ม โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ และน้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบ มีหน่วยงาน วิจัย และพัฒนาพันธุ์ปาล์มเป็นของตนเอง กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ หลักของบริษัทมีดังนี้
- น้ำมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil) - น้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบ (Crude Palm Kernel Oil) - กากเมล็ดในปาล์ม (Palm Kernel Cake) - เมล็ดพันธุ์ และต้นกล้าปาล์ม (Palm Seeds and Seedlings) - กระแสไฟฟ้า และใบหุ้นอากาศ (Electricity and Carbon Credits)
คุณภาพสินค้า กำลังการผลิตรวมจากทั้ง 3 โรงสกัด ของบริษัทประมาณ 100,000 ตัน ที่มาจากสวนปาล์ม ของตัวเอง และอีกกว่า 700,000ตัน ที่มาจากผลผลิตของเกษตรกรโดยเฉลี่ยต่อปี นั่นทำให้ มีผลผลิตที่เป็นกระแสไฟฟ้า 5.7 เมกกะวัตต์ ขาย Carbon Credit ได้ 70 ล้านบาท เป็นต้น ส่วนของสวนปาล์มจะใช้เทคนิคการ Replant สำหรับต้นปาล์มที่กำลังจะหมดอายุ 50% เพื่อให้สวนแปลงนั้นยังคงมีผลผลิตป้อนเข้าโรงงานอยู่ตลอดเวลา ราคารับซื้อปาล์มทะลาย 5.90 บาท ราคาขายกากปาล์มเมล็ดใน 5.60 -5.70 บาท (ไม่รวมค่าขนส่ง) สามารถส่งได้ทั้งแบบ Bag (บวกเพิ่ม 0.15 บาท) และ Bulkราคากะลา 2.202.30 บาท (ไม่รวมค่าขนส่ง) โดยสินค้าทุกตัวบริษัทจะมีการตรวจสอบคุณภาพทั้งหมด อาทิ ความชื้น อุณหภูมิ กลิ่น สี (การไหม้) เป็นต้น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
50
- บริษทั ทำธุรกิจปลูกสวนปาล์มน้ำมันในจังหวัดกระบี่ และสุราษฎร์ธานีในปี 2555 มีพนื้ ที่ เพาะปลูกประมาณ 39,210 ไร่ บริษัทเริ่มปลูกปาล์มน้ำมันตั้งแต่ปี 2512 และ ปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่า (Replanting) ตั้งแต่ปี 2535 บริษัทปลูกทดแทนต้นปาล์มเก่า ด้วยปาล์มใหม่ประมาณ ร้อยละ 4 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมดต่อปีเป็นผลทำให้อายุต้นปาล์ม ภายในสวนของบริษัทมีสมดุล
- ปี 2555 สวนปาล์มน้ำมันของบริษทั สามารถผลิตผลปาล์มสดป้อนเข้าโรงงานของบริษทั ได้ร้อยละ 15.0 ของปริมาณ ผลปาล์มสดที่ส่งเข้าสกัดในโรงงานของบริษัท อีกร้อยละ 85.0 เป็นการรับซื้อผลปาล์มสดจากบุคคลภายนอก พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันทั่วประเทศ ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และการเพิ่มขึ้นของเกษตรกรรายย่อยเหล่านี้จะเป็นกำลังสำคัญ ในการผลักดันให้ธุรกิจของบริษัทเติบโตในอนาคต
- บริษัทมีโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ 3 แห่ง และโรงงานสกัดน้ำมันเมล็ดในปาล์มดิบ 2 แห่ง ตั้งอยู่ที่จังหวัดกระบี่ ในปี 2555 จำนวนผลปาล์มสดส่งเข้าบีบที่โรงงานของ บริษัทมีจำนวนทั้งสิ้น 782,796 ตัน และเมล็ดในปาล์มจำนวน 41,086 ตัน โรงงาน สกัดน้ำมันปาล์มแต่ละแห่งของบริษัทฯ ใช้กระบวนการดักจับก๊าซมีเทน เพื่อลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศ และผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพื่อจำหน่าย ให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
- บริษทั มีการส่งออกน้ำมันปาล์มทีท่ า่ เรือน้ำลึกแหลมป่อง จ.กระบี่ โดยในปี 2555 ปริมาณ การส่งออกไปในตลาดเอเชีย และยุโรป คิดเป็นร้อยละ 61.0 ของปริมาณการขายน้ำมัน ปาล์มทั้งหมด
- บริษัทมีหน่วยงานวิจัย และพัฒนาของตนเอง เป็นผู้นำในด้านการวิจัย และพัฒนาพันธุ์ ปาล์มน้ำมันของประเทศไทย โครงการปรับปรุงพันธุ์ของบริษัทสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ ปาล์มน้ำมันลูกผสมคุณภาพดีสำหรับใช้ในการปลูกทดแทนภายในสวนปาล์มต่างๆ ของ บริษัท อีกทั้งจำหน่ายให้กับเกษตรกรทั่วไปทั้งใน และต่างประเทศ ตั้งแต่ปี 2549 ยูนิวานิชได้เริ่มเปิดดำเนินงานด้านห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากปาล์มน้ำมันเป็น แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งเป็นโครงการสำหรับการผลิตต้นกล้าพันธุ์ปาล์มคุณภาพสูง ขึ้นอีกระดับหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการขยายงานด้านการปรับปรุงพันธุ์ของบริษัท - 80% ของวัตถุดิบปาล์มสด มาจากเกษตรกร และอีก 20% มาจากสวนของ UVAN
- พืน้ ทีภ่ าคใต้ฝงั่ ตะวันออก อาทิ ชุมพร สุราษฎร์ธานี จะมีผลผลิตต่อไร่ทสี่ งู กว่าฝัง่ ตะวันตก เล็กน้อย ส่วนผลผลิตช่วงเดือน ม.ค.-เม.ย. จะออกมาน้อย หลังจาก พ.ค. เป็นต้นไปจนถึง ต.ค. ของจะมาก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
51
โรงสกัดปาล์มน้ำมัน สหกรณ์นิคมท่าแซะ จำกัด อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร ผู้ประสานงาน : คุณมนตรี ณ นคร (รองผู้จัดการฝ่ายโรงงาน) โทร 083-657-9270/081-2703303 Email : Palm_Styl@yahoo.co.th ; Montri005@gmail.com
สภาพทั่วไปของโรงงาน ก่อตั้งเมื่อปี 2514 มีสมาชิกที่เป็นเกษตรกรทำสวนปาล์ม และยางพาราเป็นหลัก จำนวน 3,663 คน โดยมีธุรกิจการดำเนินงาน 6 ประเภทได้แก่ 1. ธุรกิจสินเชือ่ โดยการเป็นแหล่งเงินทุนให้สมาชิกในอัตราการปลอดดอกเบีย้ ดอกเบีย้ ต่ำ เสริมสภาพคล่อง กู้ระยะยาว เป็นต้น 2. ธุรกิจฝากเงิน ซึ่งจะรับฝากเงินจากสมาชิก มีเงินฝากประเภทต่างๆ 3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย อาทิ เครื่องอุปโภคบริโภค เครื่องมือการเกษตร ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง น้ำมันเชื้อเพลิง ตลาดนัดชุมชน เป็นต้น 4. ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ซึง่ พืน้ ทีป่ ลูกปาล์มรวมกว่า 6.5 หมืน่ ไร่ รับซือ้ ผลผลิตจากสมาชิก และสหกรณ์คู่ค้า และรวมถึงยางพาราด้วย ทั้งจากจังหวัดชุมพรและสุราษฎร์ธานี 5. ธุรกิจแปรรูปสินค้าเกษตร โรงสกัดน้ำมันปาล์ม มีขนาดกำลังการผลิต 45 ตันทะลาย ต่อชั่วโมง รองรับปาล์มทะลายกว่า 1,000 ตันต่อวัน ซึ่งทำให้ได้ผลผลิตออกมาเป็น น้ำมันปาล์มดิบ (17%) เมล็ดใน (5.4%) กะลา (4.5%) ทะลายเปล่า (20%) และใยปาล์ม (2%) 6. ธุรกิจฝ่ายวิชาการและส่งเสริมการเกษตร โดยเป็นการผลิตกล้ายาง/ปาล์มน้ำมัน เพื่อ จำหน่าย ติดตามหลังการขาย ให้ความรู้ ข้อแนะนำต่างๆ กับสมาชิกทั้งการปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการขาย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
52
กระบวนการผลิต - มีการรับซื้อทะลายปาล์ม มีการผลิตเมล็ดใน 1,200 ตัน/เดือน เริ่มผลิตมาแล้ว 3 ปี แต่ ยังไม่มีขั้นตอนบีบเมล็ดในปาล์ม เพราะปริมาณปาล์มที่เข้าในระบบไม่มีความแน่นอน ยังไม่คุ้มทุนในการจะติดตั้งเครื่องจักร และการส่งขายเมล็ดในปาล์มได้รับผลตอบแทน ดีกว่า ถ้าจะให้คมุ้ ทุนในการตัง้ โรงหีบเมล็ดในจะต้องมีเมล็ดในป้อนโรงหีบอย่างน้อย 100 ตัน/วัน
คุณภาพสินค้า
- โรงสกัดมีระบบ ISO 2001 : 9008 และกำลังทำ ISO 14000 แต่ขณะนี้ยังไม่มี ความพร้อมที่จะทำระบบ GMP สำหรับ RSPO ทางโรงสกัดได้มีการหารือกับสมาชิก แล้ว แต่ยังไม่ได้เริ่มดำเนินการ - คุณภาพของ CPOA ความชื้น 0.2-0.3 ค่า FFA 4.5-4.6 ค่าความสด 2.5-2.6
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
- เปรียบเทียบปี 2556 ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ นับได้ว่าเป็นช่วงที่ผลผลิตสูงสุด แต่ในปี 2557 พบปัญหาภาวะแล้งมาเกือบ 3 เดือนแล้ว โดยอุณหภูมิที่สูงขึ้นมีผลกระทบต่อ ปริมาณผลผลิตของปาล์ม และคุณภาพ เนื่องจากปาล์มที่สุก เป็นปาล์มสุกแดด คือ ให้แป้งแทนน้ำมัน โดยคาดว่าปีนี้จะได้ทะลายปาล์ม 270,000 ตัน/ปี 80% เป็นปาล์ม จากสมาชิกสหกรณ์ และจากสถานการณ์ราคายางตกต่ำ ทำให้เกษตรกรหันมาปลูก ปาล์มมากขึ้น ซึ่งอนาคตจะทำให้มีผลผลิตปาล์มากยิ่งขึ้น
- โดยขณะนี้ โรงสกัดรับซื้อปาล์มใน 2 ราคา คือราคาปาล์มร่วง และปาล์มทะลาย โดย ช่วงนี้รับซื้ออยู่ที่ 8 บาท และ 6 บาท ตามลำดับ และราคาขายกะลาปาล์ม ตันละ 2,400 บาท และราคาขายเมล็ดในปาล์ม 18 บาท/กก. ซึง่ ราคาจะแปรผันกับราคา CPO ซึ่งราคาในปีนี้ลดลงกว่าปี 2556
บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน)
สภาพทั่วไปของโรงงาน
- ก่อตัง้ เมือ่ ปี 2522 เพือ่ ดำเนินธุรกิจการสกัดน้ำมันปาล์ม โดยการรับซือ้ ผลผลิตปาล์มจาก สวนของบริษทั รวมทัง้ จากเกษตรกรทัง้ รายใหญ่ รายย่อยในจังหวัดชุมพร เพือ่ เข้าสูก่ ระบวน การผลิต มีเครื่องจักรที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพจากต่างประเทศ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ผู้ประสานงาน : คุณกัญจน์รัชต์ โทร 091-042-3014
53
- ปี 2536 บริษัทได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เพื่อขยายกำลังการผลิต สร้างโรงกลั่น น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ รวมถึง ผลิตภัณฑ์จากปาล์มประเภทต่างๆ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงตลาดผู้บริโภค ทั้งในรูปของน้ำมันพืชปาล์ม ยี่ห้อลีลา ซึ่งได้มีการขยายกำลังการ ผลิตเป็น 600 ตันต่อวัน และมีโครงการวิจัยพัฒนาพันธุ์ปาล์มด้วย
- มีสวนของตัวเองประมาณ 20,000 ไร่ มีโรงสกัดน้ำมันดิบ เพื่อให้ได้ CPO และมี ยีห่ อ้ น้ำมันพืชเองชือ่ น้ำมันพืชลีลา (น้ำมันโอเลอิน) มีหอ้ ง Lab ตรวจสอบตลอดทุกขัน้ ตอน โดยโรงงานมีระบบ CSR เพื่อสร้างกิจกรรมให้กับชุมชน อาทิ ตั้งศูนย์เพาะพันธุ์ปาล์ม, ขยายพันธุ์นกแสกเพื่อกินหนูในสวนปาล์มโดยไม่ต้องใช้สารเคมี, ให้ความรู้กับเกษตรกร โดยผ่านศูนย์กระจายเสียงของชุมชน เป็นต้น โรงงานมีทุนจดทะเบียน 280 ล้านบาท มีการขยายธุรกิจในแนวกว้างโดยสร้างความต่อเนือ่ งตัง้ แต่สวน การผลิต และแปรรูปสินค้า เกษตร ตลอดจนนำของผลพลอยได้จากโรงงานมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชีวภาพ และนำ พลังงานดังกล่าวกลับมาใช้ในโรงงาน และส่งขายภายนอกด้วย
กระบวนการผลิต มีกำลังการผลิตน้ำมัน 600 ตัน/วัน โดยมีการคัดสรรคุณภาพวัตถุดิบจนถูกส่งต่อ ไปยังกระบวนการแปรรูปเป็นน้ำมันปาล์มดิบ และน้ำมันเมล็ดในปาล์ม โดยเริ่มจากการนำ ทะลายปาล์มเข้าระบบนึ่ง เพื่อให้ง่ายต่อการ แยกผลปาล์มสดออกจากทะลายปาล์ม ส่วน ของผลปาล์มสดจะผ่านเครื่องย่อย และหีบ น้ำมันเพื่อแยกน้ำมัน น้ำ และสิ่งเจือปนออก จากกั น ส่ ว นของน้ ำ มั น จะส่ ง ไปเครื่ อ งไล่ ความชื้นก่อนเข้าสู่ถังเก็บเพื่อรอกระบวนการ ผลิตขั้นต่อไป เมล็ดในปาล์มก็จะถูกนำไปสกัด เพือ่ แยกกากเมล็ดในปาล์มออกเป็นน้ำมันเมล็ด ในปาล์มสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อาทิ อาหารสัตว์ เป็นต้น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
54
คุณภาพสินค้า กากเมล็ดใน มีระบบควบคุมไม่ให้มีค่าต่างๆเกินดังนี้ ไขมัน 1.5% กากใย 8-12 ความชื้น 14 โปรตีน 14-15% ซัพพลายเออร์ที่เข้าโรงงานได้รับรอง RSPO แล้ว ในส่วนของโรงงาน กำลังจัดทำระบบ RSPO โดยคาดว่าจะได้รับการรับรองในปี 2558
เนื่องจากภาคใต้ขณะนี้ประสบปัญหาภาวะแล้ง ทำให้มีทะลายปาล์มเข้ามาในระบบน้อย ผนวกกับน้ำมันในทะลายก็น้อยด้วย โดยมีสัดส่วนทะลายปาล์มที่เข้าโรงงาน 30% มาจากสวน ของโรงงาน 70% มาจากเกษตรกรที่เป็นพันธมิตรกับโรงงาน โดยปัจจุบันราคากากเมล็ดใน ไม่ต่ำกว่า 5 บาท ซึ่งเป็นราคาหน้าโรงงาน บรรจุถุงละประมาณ 40-50 กก. ซึ่งขายตรงให้กับ เกษตรกร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
สถานการณ์ด้านผลผลิตและราคา
55
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ปาล์มสำหรับอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ที่มา : การใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์มเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ โดย : ศยามล พวงขจร, ธรรมนาถ ชัยฤทธิ์, พีรวุฒิ ชินสร้อย
กากเนือ้ ในเมล็ดปาล์ม เป็นผลพลอยได้ชนิดหนึง่ ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมการผลิตน้ำมันปาล์มทีม่ อี ยูใ่ น หลายจังหวัดในภาคใต้ เป็นพืชทีย่ งั ไม่ใช้เทคโนโลยีตดั แต่งพันธุกรรม ( GMO ) และเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก โดยมีระดับโปรตีนสูงที่ 14-15% และมีความปลอดภัยในการใช้ จึงสามารถใช้ทดแทนรำละเอียดในสูตร อาหารสั ต ว์ ไ ด้ สู ง ถึ ง 20-25% ในสั ต ว์ ก ระเพาะเดี่ ย ว ได้ แ ก่ เป็ ด เทศ ไก่ ไ ข่ ไก่ พื้ น เมื อ ง และสุ ก ร สามารถใช้ในสูตรอาหารสัตว์ได้ถึง 20, 40, 33 และ 30% ตามลำดับ นอกจากนี้ กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม มีส่วนประกอบที่เป็นเยื่อใยประมาณ 41-46% สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในสูตรอาหารสัตว์กระเพาะรวมได้สูง ถึง 70-79% สามารถลดต้นทุนการผลิตอาหารสัตว์ อีกทัง้ ยังเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตร และการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรของประเทศให้มากขึ้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ปาล์มน้ำมันเป็นพืชตระกูลปาล์ม (Palmae) เช่นเดียวกับมะพร้าว จาก อินทผาลัม และตาลโตนด เป็นพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว ลำต้นตรง มีผลเป็นทะลาย นิยมปลูกเพือ่ นำน้ำมันมาเป็นประโยชน์ มีชอื่ วิทยาศาสตร์วา่ Elaeis guineensis Jacq มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา ปลูกมากในแถบโซนร้อนของทวีปแอฟริกา อเมริกา และเอเซีย อินโดนีเซียเป็นประเทศแรกที่นำปาล์มน้ำมันเข้ามาปลูกในทวีปเอเชียเมื่อ พ.ศ. 2391 จากนั้น ประเทศมาเลเซียได้นำเข้ามาปลูก จนกระทั่ง พ.ศ. 2508 เป็นต้นมา ประเทศมาเลเซียกลายเป็นผู้ส่งออก น้ำมันปาล์มรายใหญ่ที่สุดของโลก ประเทศไทยเริ่มนำปาล์มน้ำมันเข้ามาปลูกเป็นครั้งแรกตั้งแต่สมัยก่อน สงครามโลกครั้งที่ 2 การปลูกปาล์มน้ำมันเชิงการค้าเป็นครั้งแรกที่ จ.กระบี่ และสตูล เมื่อปี พ.ศ. 2511 จากนั้นได้กระจายออกสู่จังหวัดอื่นๆ ในภาคใต้ ปาล์มน้ำมันมีระบบรากแบบ fibrous root system โดยรากเกือบทั้งหมดเจริญตามแนวนอนระดับ ใกล้ผิวดิน ความลึกประมาณ 2 เมตร ลำต้นตั้งเดี่ยวตรง สูงประมาณ 15-20 เมตร ใบเป็นรูปขนนก คล้ายใบมะพร้าว แต่ละทางใบแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ก้านทางใบ และใบย่อย ช่อดอกเป็นดอกตัวผู้ และ ดอกตัวเมียอยูแ่ ยกกันคนละดอก แต่อยูใ่ นต้นเดียวกัน (monokioecious) ในแต่ละต้นจะเกิดช่อดอกได้ประมาณ 10-15 ช่อดอก ส่วนผล หรือทะลายประกอบด้วย ก้านทะลาย ช่อทะลาย และผล การปลูกปาล์มน้ำมัน เพื่อการค้าจะต้องการทะลายปาล์มเปลือกนอก กะลา และเนื้อในเมล็ด พันธุ์ปาล์มน้ำมัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
56
ปัจจุบันการจำแนกพันธุ์ปาล์มน้ำมันอาศัยลักษณะความหนา-บางของกะลา เส้นใยรอบกะลา และ เปอร์เซ็นต์ของเนื้อปาล์ม พันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้ามีอยู่ 3 พันธุ์คือ พันธุ์ดูรา (Dura) เทเนรา (Tenera), ฟิสิเฟอรา (Fisifera) พันธุ์ดูร่า มีกะลาหนา 2-8 มิลลิเมตร ในขณะที่พันธุ์เทเนรา มีกะลาหนาเพียง 3 มิลลิเมตร ส่วนพันธุ์ฟิสิเฟอรา มีกะลาบางมาก หรือไม่มีกะลาเลย เส้นใยรอบกะลาของปาล์มน้ำมันพันธุ์ ฟิสิเฟอราจะหุ้มรอบกะลา หรือเนื้อในเมล็ด แต่ปาล์มน้ำมันพันธุ์ดูราไม่มีเส้นใยรอบกะลา ปาล์มน้ำมันพันธุ์ เทเนรามีเปอร์เซ็นต์เนื้อปาล์มสูงถึง 60-95 เปอร์เซ็นต์
พันธุป์ าล์มน้ำมันทีน่ ยิ มปลูก คือ พันธุป์ าล์มน้ำมัน ลูกผสมเทเนอร่า (DxP), พันธุล์ กู ผสมสุราษฎร์ธานี 1, พันธุ์ลูกผสมสุราษฎร์ธานี 2 และ พันธุ์ลูกผสมสุราษฎร์ธานี ชนิดของกากปาล์มน้ำมัน กากปาล์มน้ำมันที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้ำมันปาล์มมีทั้งหมด 5 ชนิด คือ กากเยื่อใยปาล์ม (Palm press fiber,PPF), กากปาล์มน้ำมัน หรือกากปาล์มรวม หรือกากผลปาล์ม (Oil palm meal, PM), กากเมล็ดปาล์ม (Palm seed meal, PSM), กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม ( Palm kernel cake PKC), กากน้ำมันปาล์ม (Palm oil sludge, POS) และที่นำมาใช้เป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์มี 4 ชนิด คือ 1. กากปาล์มน้ำมัน หรือกากปาล์มรวม หรือผลกากปาล์ม (Oil palm meal, PM) โดยมาก กาก ปาล์มชนิดนี้จะได้จากโรงงานที่มีขบวนการผลิตแบบใช้เครื่องบีบน้ำมัน (expeller) และพบว่าเป็นกากปาล์ม ที่มีปริมาณการผลิตในท้องตลาดจำนวนมาก กากปาล์มชนิดนี้มีเยื่อใย และกะลามาก โดยเฉพาะส่วนเยื่อใย มีมากกว่ากากปาล์มชนิดอื่นๆ 2. กากเมล็ดปาล์ม (Palm seed meal, PSM) เป็นกากปาล์มที่ใช้เมล็ดโดยไม่แยกกะลาออก โดยทั่วไปจะเข้าใจเรียกว่า กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม (Palm kernel cake PKC) หรือกากเนื้อในเมล็ดปาล์ม ที่ไม่กระเทาะเปลือก และเป็นกากปาล์มที่มีการผลิต และมีการใช้เป็นอาหารสัตว์มาก กากปาล์มชนิดนี้มี ส่วนประกอบของกะลาเนื้อมาก และเห็นได้ชัด พบส่วนของเส้นใยปริมาณไม่มากนัก 3. กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม (Palm kernel meal, PKM) เป็นกากปาล์มที่เอาเฉพาะเนื้อในมาผ่าน ขบวนการสกัดน้ำมันเป็นกากปาล์มน้ำมันที่ได้จากโรงงานผลิตน้ำมันพืชที่มีขนาดใหญ่ มีขบวนการผลิต แยกส่วน ซึ่งมีความแตกต่างทางกายภาพกับกากปาล์มชนิดอื่นอย่างชัดเจน และประกอบด้วยส่วนของเนื้อ เป็นส่วนมาก ชิ้นส่วนของกะลาปาล์มพบว่ามีปะปนเพียงเล็กน้อย
กากเนือ้ ในเมล็ดปาล์มน้ำมันเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม มีโปรตีนประมาณ 14.615.2 เปอร์เซ็นต์ การย่อยได้ของพลังงานทั้งหมด (total digestible nutrient, TDN) ประมาณ 70-72 เปอร์เซ็นต์ แต่เนื่องจากมีปริมาณเยื่อใยสูง (ADF ประมาณ 41.8-46.0 เปอร์เซ็นต์) จึงเหมาะที่จะใช้เป็น อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง กากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันชนิดสกัดด้วยสารเคมี มีปริมาณไขมันเหลืออยู่ประมาณ 1.80 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ชนิดหีบน้ำมันโดยวิธีกลมีปริมาณไขมันประมาณ 9.09 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ เนือ่ งจากเป็นกากทีไ่ ด้จากปาล์มทัง้ ผล ทำให้มปี ริมาณโปรตีนต่ำกว่ากากเนือ้ ในเมล็ดปาล์มน้ำมัน นอกจากนี้ กากใยปาล์มมีปริมาณโปรตีนต่ำ แต่มีเยื่อใยสูงกว่ากากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมัน และกากปาล์มน้ำมันชนิด ไม่กะเทาะเปลือก กากเนื้อในเมล็ดปาล์มมีฟอสฟอรัส แคลเซียม และแมกเนเซียมสูง (8.0, 3.6 และ 6.4 กรัมต่อกก. ตามลำดับ ) นอกจากนัน้ ปริมาณแร่ธาตุปลีกย่อยทีม่ อี ยูม่ ากทีส่ ดุ คือ เหล็ก 356 มิลลิกรัมต่อกก. รองลงมาคือ แมงกานีส 135 มิลลิกรัมต่อกก. ในขณะที่สังกะสี และทองแดง อยู่ในระดับ 41 และ 27
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
4. กากตะกอนน้ำมัน หรือกากน้ำมันปาล์ม (Palm oil sludge, POS) กากปาล์มชนิดนี้ ทางโรงงาน ผลิตจะเรียกว่า กากปาล์ม (Decanter) ปริมาณของกากปาล์มชนิดนีม้ ปี ริมาณน้อย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากเป็นส่วนทีไ่ ด้ จากการกรองน้ำมัน และมีลกั ษณะทางกายภาพแตกต่างกับกากปาล์มชนิดอืน่ และประกอบด้วยส่วนของกะลา เส้นใย และเนื้อ แต่ค่อนข้างเป็นชิ้นละเอียด ยกเว้นสำหรับโรงงานที่นำมาผสมกากพืช เพื่อช่วยให้สามารถ อัดน้ำมันที่เหลืออยู่ในตะกอนน้ำมันออกได้อีก แต่จะมีการนำกากปาล์มนี้ไปผสมรวมกับกากปาล์มน้ำมัน
57
มิลลิกรัมต่อกก. ตามลำดับ Nwokolo และคณะ (1977), Mcdonald และคณะ (1988) ปริมาณทองแดง ของกากเนื้อในเมล็ดปาล์มน้ำมันใกล้เคียงกับในกากถั่วเหลือง กากถั่วลิสง กากมะพร้าว กากเมล็ดฝ้าย และ กากลินสีด Ahmad (1988a) นอกจากนั้น กากเนื้อในเมล็ดปาล์มที่นำไปเลี้ยงสัตว์กระเพาะเดี่ยว การใช้ ประโยชน์จะน้อยลงไปอีก เนื่องจากสัตว์กระเพาะเดี่ยวสามารถใช้ประโยชน์จากเยื่อใยน้อยกว่าสัตว์เคี้ยว เอื้อง Ahmad,1988b พานิช (2535) กล่าวว่าหลายจังหวัดในเขตภาคใต้มีวัตถุดิบอาหารสัตว์เป็นแหล่งโปรตีน เช่น กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม ที่สกัดน้ำมันโดยใช้สาร เฮกเซล เป็นแหล่งโปรตีนซึ่งมีราคาถูกที่สามารถนำมาใช้เลี้ยงสัตว์ได้โดยใช้กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม มีโปรตีน ค่อนข้างสูง มีวัตถุแห้ง 90 เปอร์เซ็นต์ โปรตีน เยื่อใย ไขมัน เถ้า และไนโตรเจนฟรีเอกแทร็ก ร้อยละ 19, 16, 2 และ 59 ตามลำดับ มีแร่ธาตุแคลเซียม และฟอสฟอรัส ร้อยละ 0.34, 0.69 ตามลำดับ ตารางที่ 2 แสดงคุณค่าทางอาหารของกากปาล์มชนิดต่างๆ
คุณค่าทางอาหาร (%) โปรตีน ไขมัน กาก กากเนื้อในเมล็ดปาล์ม 15.30 8.86 17.15 กากเมล็ดปาล์ม 14.99 9.19 18.9 กากปาล์มรวม 16.01 10.72 19.07 ที่มา: จากการสำรวจโรงงานผลิตอาหารสัตว์ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 ชนิดของกากปาล์มน้ำมัน
ความชื้น 6.27 5.26 5.12
แผนภูมิ แสดงปริมาณของผลผลิต และผลพลอยได้จากการสกัดปาล์มน้ำมัน
เศษทะลาย (Bunch trash) 55-58%
เปลือกส่วนเยื่อใย (Palm press fiber) 12%
น้ำมันปาล์ม (Palm Oil) 18-20%
เนื้อเมล็ดในปาล์ม (Palm Kernels) 4-5%
กะลาปาล์ม (Nut) 8%
น้ำมันปาล์ม (Palm Oil) 18-20%
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
58
น้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม (Palm kernel oil) 54-55%
กากเนื้อเมล็ดในปาล์ม (Palm kernel cake) 45-46%
จัดทำโดย: ณัฐพล มีวิเศษณ์ และ ปัทมา ศรีเที่ยงตรง สมาคมผูู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 28 กุมภาพันธ์ 2557
อุตสาหกรรมปศุสัตว์...ยั่งยืน หรือย่ำแย่?? วันที่ 7 มีนาคม 2557 เวลา 09.00-17.00 น. ณ ห้องจูปิเตอร์ ชั้น 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
Market Leader
สรุปรายงานการเข้าร่วมงานเสวนา เรื่อง
ด้วยคณะกรรมการธุรกิจเกษตรและอาหาร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ได้จัดงาน เสวนาเรื่อง อุตสาหกรรมปศุสัตว์...ยั่งยืน หรือย่ำแย่?? โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจอาหารสัตว์ และการเลี้ยงสัตว์แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สื่อมวลชน และบุคคลทั่วไป โดยการเสวนาแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ประกอบด้วย ช่วงเช้า การเสวนาเรือ่ ง “อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จะยัง่ ยืนหรือไม่ หรือจะย่ำแย่อย่างไร” ช่วงบ่าย การเสวนาเรื่อง “การเลี้ยงสัตว์จะยั่งยืนทำอย่างไร”
การบรรยายพิเศษ “บทบาทของภาครัฐต่อการส่งเสริมความยั่งยืนของอุตสาหกรรมปศุสัตว์” สถานการณ์ของอุตสาหกรรมปศุสัตว์ในปีที่ผ่านมา ไทยยังคงเป็นผู้นำในส่วนของไก่เนื้อ ไก่ไข่ มีการผลิตสูง กว่าความต้องการบริโภค (Over Supply) ยังต้องนำเข้า แม่พันธุ์ การจัดความสมดุลยังไม่ลงตัวเท่าไร สุกรมีการ ติดโรคระบาด โคเนื้อมีปัญหาเรื่องคุณภาพของเนื้อที่จะ ส่งออก โคนมเป็นทีย่ อมรับในกลุม่ อาเซียน ตลาดน้ำนม และ อุตสาหกรรมแปรรูปดี มีแนวโน้มขยายตัว ส่วนกุ้ง มีการ ลดการระบาดของโรคได้ดีขึ้น กรมประมงสามารถนำเข้า พันธุ์กุ้งได้ คาดว่าปีนี้สถานการณ์จะดีกว่าปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ภาพรวมอุตสาหกรรมปศุสัตว์ยังมี ทิศทางที่ดี มีการใช้ระบบการดูแลร่วมกันระหว่างเกษตรกร และผู้ประกอบการ แต่ยังมีการ นำเข้าสายพันธุ์ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และสุกรอยู่ จึงเป็นจุดอ่อนต่อการสร้างความมั่นคง และยั่งยืนใน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
โดย นายยุคล ลิ้มแหลมทอง รักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
59
อุตสาหกรรมปศุสัตว์ อีกส่วนหนึ่งที่ภาครัฐยังคงตระหนัก คือ การขาดการบูรณาการกันระหว่าง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในหลายกระทรวง ซึ่งในเรื่องนี้ได้มีการหารือแนวทางการบูรณาการร่วมกัน แล้วบางส่วน
แนวนโยบายการสนับสนุนของภาครัฐต่ออุตสาหกรรมปศุสัตว์ คือ 1. การให้การสนับสนุนการวิจัยเป็นสำคัญ โดยขอความร่วมมือจากภาคเอกชน - นโยบายลดหย่อนภาษีเงินได้จากการทำวิจัย 30% - สนับสนุนให้มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ - ผลักดันให้เกิดงานวิจัยเชิงนโยบาย ซึ่งจะบ่งบอกถึงกระบวนการผลักดันสินค้าแต่ละ ประเภทว่าควรเป็นอย่างไร 2. ห้องปฏิบัติการตรวจสอบ
- ให้ภาคเอกชนเข้ามาเป็นผู้ดูแลห้องปฏิบัติการ - ภาครัฐจะต้องเป็นผู้นำในการทำระบบควบคุมโรคระบาด - การจัดปรับพื้นที่เกษตร (Zoning) ซึ่งมีประกาศไปแล้วกว่า 20 ชนิด - มีการประกาศเขตเศรษฐกิจของพืช 16 ชนิดแล้ว
3. การประกันภัย ข้าวโพด ข้าว ในบางพื้นที่ เพื่อสร้างความยั่งยืน 4. การสร้างโครงการร่วมกันของสินค้าแต่ละชนิด
ช่วงเช้า การบรรยาย “Asia Pacific Livestock Sector Trends- Implications for Sustainability” โดย Mr.Vinod Ahuja, Livestock Policy Officer, FAO RAP
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
60
ปี 2050 โลกต้องการ Cereals เพิ่มอีก 1 พันล้านตัน น้ำนมปีละ 1 พันล้านตัน เนื้อสัตว์ปีละ 460 ล้านตัน โดยธัญพืชเพิ่มอีก 1,048 ล้านตัน สำหรับใช้ในการเลี้ยงสัตว์ 430 ล้านตัน การบริโภค 458 ล้านตัน Biofuels 160 ล้านตัน ปี 2025 คาดการณ์วา่ จีนจะผลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ได้ราว 230 ล้านตัน จาก 122 ล้านตัน ในปี 1997 แต่การนำเข้าก็ยังคงเพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน โดยคาดว่านำเข้า 40 ล้านตัน ในปี 2025 จาก 2 ล้านตันในปี 1997 ความท้าทายของวัตถุดิบคือ การที่ผลิตเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะสุกร และไก่เนื้อ ซึ่ง จะสูงกว่าการเติบโตของอาหารสัตว์ ซึ่งจะส่งผลกับความยั่งยืนระยะยาวของปริมาณอาหารสัตว์ จีนมีการผลิตข้าวโพดเพิ่มขึ้นในอัตราเติบโตปีละ 2.3% แต่การนำเข้าเพิ่มขึ้นมหาศาล และไทย กับเวียดนามจะเป็นผู้นำเข้าสำคัญของวัตถุดิบอาหารสัตว์
ช่วงเช้า การเสวนาเรื่อง “อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จะยั่งยืนหรือไม่ หรือจะย่ำแย่อย่างไร” นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
คุณบุญธรรม ให้ข้อมูลว่า การผลิตอาหารสัตว์ของ โลกมีจำนวน 963 ล้านตันในปี 2556 คิดเป็นมูลค่าประมาณ 5 แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยทวีปเอเชียผลิตมากที่สุด 36% ยุโรป 23% อเมริกาเหนือ 20% ละตินอเมริกา 15% แอฟริกา 3% ตะวันออกกลาง 3%
ที่มา: Alltech Global Feed Summary, 2014
ที่มา: Alltech Global Feed Summary, 2014
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
หากดู ใ น ASEAN มี ก ารผลิ ต อาหารสั ต ว์ ร วม 60.3 ล้านตันในปี 2556 โดยไทยผลิตได้มากที่สุด 15.5
61
ล้านตัน รองลงมาเป็นอินโดนีเซีย 15.1 ล้านตัน ฟิลปิ ปินส์ 12.4 ล้านตัน เวียดนาม 12 ล้านตัน มาเลเซีย 4.5 ล้านตัน พม่า 0.8 ล้านตัน ทั้งนี้ หากวัดตามการบริโภคอาหารสัตว์ต่อหัว ซึ่งใช้กฎเกณฑ์ค่าเฉลี่ยของโลก 130 กก. ต่อคนต่อปี ค่าเฉลี่ย ASEAN อยู่ต่ำกว่าที่ 110 กก. ต่อคนต่อปี โดยไทยอยู่ที่ระดับ 240 มาเลเซีย 160 เกินกว่าค่าเฉลี่ยโลกและค่าเฉลี่ย ASEAN เนื่องจากเป็นประเทศที่มีการผลิต ส่วนเกินเพื่อส่งออกผลิตภัณฑ์สัตว์ ส่วนฟิลิปปินส์ และเวียดนามอยู่ที่ระดับ 130 เทียบเท่า ค่าเฉลี่ยโลก และสูงกว่าค่าเฉลี่ย ASEAN ส่วนอินโดนีเซียอยู่ที่ระดับ 60 และพม่าอยู่ที่ระดับ 20 ซึ่งถือว่าต่ำมาก แต่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพต่อการเติบโตได้ดี ความต้องการอาหารสัตว์ของไทยปี 2556 มีปริมาณ 15.5 ล้านตัน แบ่งเป็น ไก่เนือ้ 37% สุกร 34% ไก่ไข่ 17% โค 4% เป็ด 3% ปลา 3% กุ้ง 2% โดยปกติแล้ว จะแบ่ ง เป็ น สั ต ว์ บ ก 90% สั ต ว์ น้ ำ 10% แต่ปี 2556 เกิดสภาวะฝนแล้ง และโรค EMS ในกุง้ ทำให้กระทบต่อโครงสร้างสัตว์นำ้ ลดลง ที่มา: www.geohive.com, Alltech Global Feed Summary, 2014
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2556
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
62
ทั้งนี้ ในปี 2557 คาดการณ์ว่าจะมี ความต้องการเพิม่ ขึน้ เป็น 16.5 ล้านตัน คิด เป็นการเติบโตปีละ 8.6% นับตัง้ แต่ปี 2531 ซึง่ เติบโตในระดับสูงกว่าของโลกทีป่ ลี ะ 1-2% เท่านั้น โดยได้รับปัจจัยบวกจากการที่ญี่ปุ่น ยกเลิกการห้ามนำเข้าไก่สด เช่นเดียวกับ EU ที่อนุญาตนำเข้าไก่สดตั้งแต่กลางปี 2555 และราคาผลิตภัณฑ์สัตว์กระตุ้นให้เกิดการ ขยายการเลี้ยง วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ในอาหารสั ต ว์ แ บ่ ง เป็ น ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ข้าว มันสำปะหลัง 60% ถั่วเหลือง และกากถั่วเหลือง 24% ปลาป่น 4% อื่นๆ 12%
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, คาดการณ์ปี 2557
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ปี 2557
ที่มา: ได้จากการคำนวณ โดยใช้ ปี 55 เป็นฐาน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
หากนำมาคำนวณเป็นต้นทุนการผลิตโดยให้คา่ เฉลีย่ ปี 2555 เป็นปีฐานทีร่ ะดับ 100 หน่วย ซึง่ เป็นปีทที่ วีปอเมิรกาประสบปัญหาสภาวะแห้งแล้งแหล่งเพาะปลูก พบว่าปี 2556 ดัชนีตน้ ทุนรวม คลายตัวเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 98 หน่วย เนื่องจากในวัตถุดิบกลุ่มแป้งข้าวโพดปลูกเพิ่มขึ้นใน ตลาดโลก นโยบายรัฐบาลไทยถอดปลายข้าวออกจากโครงการรับจำนำ ส่วนวัตถุดิบกลุ่มโปรตีน ยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ดี คาดการณ์ว่าปี 2557 ดัชนีต้นทุนรวมจะอยู่ที่ระดับ 99 หน่วย เนื่องจากมองว่าธัญพืช และพืชน้ำมัน มีอุปทานสูงขึ้นปีต่อปี ช่วยพยุงราคาไม่สูงมาก ภาวะแล้ง ในไทยต้องระวังตั้งแต่มีนาคม โดยเฉพาะไตรมาส 2 ช่วงเวลาปลูกข้าวโพดอาจออกล่าช้า ภาวะ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจไม่แตกต่างจากปีก่อนซึ่งไม่เกิน 3% อัตราแลกเปลี่ยนประมาณ 33 บาทต่อดอลล่าร์ อ่อนค่าจากปีก่อนที่ 30-31 บาทต่อดอลล่าร์ มีผลกระทบต่อราคา วัตถุดิบนำเข้า ทั้งนี้ ปัจจัยที่ต้องจับตามองได้แก่ สภาวะเพาะปลูกในทวีปอเมริกา อินเดีย และ สถานการณ์การเมืองในยูเครน กำลังซื้อจากจีน แนวโน้ม El Nino
63
การผลิตถั่วเหลืองของโลกปี 2555/ 2556 มีปริมาณ 287.7 ล้านตัน โดยสหรัฐฯ และบราซิล ปลูกมากที่สุดประเทศละ 31% รองลงมาเป็น อาร์เจนติน่า 18.8% อยู่ใน ภูมิภาคอเมริกามากกว่า 80% ภูมิภาคอื่นๆ เพียง 10 กว่า % นับเป็นโครงสร้างที่น่า เป็นห่วงในเชิงคุณค่าโภชนะ เนื่องจากหาก เกิ ด ปั ญ หาการเมื อ ง หรื อ ภู มิ อ ากาศจะ กระทบต่ อ pipeline ของแหล่ ง โปรตี น ที่ ส่ ง ผ่ า นโครงสร้ า งการผลิ ต อาหารสั ต ว์ เนื้อสัตว์ เพราะต้องใช้ Lead Time 35-40 วั น โดยเฉลี่ ย ไทยต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ถั่ ว เหลือง วันละมากกว่า 10,000 ตัน อย่างไรก็ตาม ไทยมีความเสี่ยงด้าน ความมั่นคงทางอาหาร เนื่องจากการผลิต เมล็ดถั่วเหลืองในประเทศมีทิศทางตรงกัน ข้ามกับความต้องการ โดยปี 2556 ผลิตได้ ประมาณ 70,000 ตัน จากทีป่ ี 2532 เคยมี พื้นที่ปลูก 3 ล้านไร่ ผลผลิต 6 แสนตัน โดยปี 2556 ต้องนำเข้า 4-5 ล้านตัน คิด เป็นเมล็ดถั่วเหลือง 1.68 ล้านตัน กากถั่วเหลือง 2.82 ล้านตัน ถึงแม้ไทยมีระบบ นำเข้าผลิตภัณฑ์ถวั่ เหลืองเสรีตงั้ แต่ปี 25382539 พร้อมการดูแลคุ้มครองเกษตรกร ผู้ปลูกถั่วเหลืองในรูปแบบผู้นำเข้ารับประกัน การซื้อเมล็ดถั่วเหลืองในราคาที่เกษตรกร อยู่ได้ แต่ผลที่ได้กลับสร้างปัญหาการขาด ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
64
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, มีนาคม 2557
ที่มา: สศก., 2557
ดร.สุรีย์ ยอดประจง นายกสมาคม การค้ า มั น สำปะหลั ง ไทย ได้ ก ล่ า วถึ ง ยอด ผลผลิ ต มั น สำปะหลั ง ในปี 2556/57 ซึ่ ง มี ผลผลิตรวม 28.746 ล้านตัน บนพืน้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว 7.986 ล้านไร่ คิดเป็นผลผลิตเฉลี่ย 3.601 ตันต่อไร่ จะเห็นได้วา่ เมือ่ เทียบกับปี 2555/56 พบว่ามีผลผลิตรวมเพิม่ ขึน้ ประมาณ 1 ล้านตัน อันเนื่องมาจากพื้นที่เก็บเกี่ยวที่เพิ่มมากขึ้นเล็ก น้อย แต่ปัจจัยที่สำคัญคือผลผลิตต่อไร่ที่เพิ่ม มากขึน้ ทุกปี ซึง่ ทางสมาคมการค้ามันสำปะหลัง ไทย ได้ตั้งเป้าผลผลิตต่อไร่ไว้ที่ 5 ตันต่อไร่
2552/53 2553/54 2554/55 2555/56 2556/57 7.303 7.096 7.911 7.905 7.983 3.013 3.088 3.362 3.485 3.601 22.006 21.912 26.601 27.547 28.746
สัดส่วนการใช้หวั มันสำปะหลังในอุตสาหกรรมต่างๆ ในปี 2555/56 มี 3 ส่วน ประกอบ ด้วย 1. การใช้ทำมันเส้น/มันอัดเม็ด 8.37 ล้านตัน (30%) หลังแปรสภาพแล้วได้มันเส้น และมันอัดเม็ด 3.72 ล้านตัน 2. ใช้ทำแป้ง มันสำปะหลัง 17.63 ล้านตัน (63%) หลัง แปรสภาพแล้วได้แป้งมันสำปะหลัง 4.30 ล้าน ตัน 3. ใช้ผลิตเอทานอล 2 ล้านตัน (7%) หลัง แปรสภาพแล้วได้เอทานอล 0.29 ล้านลิตร และคาดว่ า ในปี 2556/2557 จะมี อุปสงค์การใช้หัวมันสำปะหลังในอุตสาหกรรม ต่างๆ อยูท่ ี่ 35 ล้านตัน แบ่งเป็น 1. การใช้ทำ มันเส้น/มันอัดเม็ด 14 ล้านตัน (40%) หลัง แปรสภาพแล้วได้มันเส้น และมันอัดเม็ด 6.22 ล้านตัน 2. ใช้ทำแป้งมันสำปะหลัง 18.00 ล้านตัน (51%) หลังแปรสภาพแล้วได้แป้งมัน สำปะหลัง 4.39 ล้านตัน 3. ใช้ผลิตเอทานอล 3 ล้านตัน (9%) หลังแปรสภาพแล้วได้เอทานอล 0.43 ล้านลิตร มันสำปะหลังมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการมาก สามารถใช้เป็นอาหารสัตว์แทนข้าวโพดได้ถงึ 2 เท่า มีสารเยือ่ ใยมาก ทำให้สตั ว์สามารถย่อยง่าย มันเส้นมีสารไซยาไนด์ จะทำให้ยืดอายุนมวัว ทำให้เกิดการบูดช้า จึงเหมาะแก่การเลีย้ งวัวนม เป็นอย่างมาก แต่ปัญหาที่สำคัญคือ ราคามัน สำปะหลังสูงกว่าอาหารสัตว์ชนิดอื่น จึงอยาก ฝากให้มองที่รายได้ของเกษตรกรมากกว่าการ มองราคาต้นทุนอาหารเลี้ยงสัตว์
นายสงวนศักดิ์ อัครวรินทร์ชัย นายก สมาคมผู้ ผ ลิ ต ปลาป่ น ไทย ประเทศเปรู คื อ ประเทศที่มีผลผลิตปลาป่นเป็นอันดับหนึ่งของ โลก อยู่ที่ประมาณ 1 ล้านตัน รองลงมาคือ ประเทศจีน ผลิตอยูท่ ปี่ ระมาณ 0.5-0.9 ล้านตัน (ตัวเลขยังไม่แน่ชัด) อันดับ 3 คือ ประเทศไทย ประมาณ 0.5 ล้านตัน และอันดับ 4 คือ ประเทศ ชิลี ที่หันมาเลี้ยงปลาแซลมอนมากขึ้น ทำให้มี ผลผลิตปลาป่นที่ 0.2-0.3 ล้านตัน ทั้งนี้ แม้ จีนจะผลิตปลาป่นมากเป็นอันดับสอง แต่มคี วาม ต้องการนำเข้าปลาป่นอีกจำนวนมาก ฉะนั้น สรุปได้ว่า เปรูในฐานะผู้ผลิตรายใหญ่ และจีน ในฐานะผู้ใช้รายใหญ่ จึงมีอิทธิพลสำคัญในการ กำหนดราคาขึ้นลงปลาป่น สถานการณ์ปลาป่นในปี 2556 ทีผ่ า่ นมา มีความผันผวนอย่างรุนแรง ถือว่าเป็นสภาวการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนักในรอบหลายปี สรุปโดยย่อได้ 2 ประเด็น คือ ประเด็นด้าน ราคาตลาด และประเด็นในด้านแหล่งทีม่ าอย่าง ถูกต้องของวัตถุดบิ ประมงเพือ่ การอนุรกั ษ์ และ ความยั่งยืนของทรัพยากรประมงทางทะเล ประเด็นด้านราคาตลาด แบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ 1. ราคาตลาดต่างประเทศ สาเหตุเกิด จากการที่ประเทศเปรูมีการปรับลดโควต้าการ จับปลาในครอปที่ 1 เมือ่ ปลายเดือนพฤศจิกายน 2555 ลงถึง 60% กล่าวคือ จากเดิมเคยให้
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ปี พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (ตัน) ผลผลิตรวม (ล้านตัน)
65
โควต้าจับปลาอยู่ที่ 4.2 ล้านตันปลาสด เหลือ เพียง 1.8 ล้านตันปลาสด ทำให้เกิดภาวะตื่น ตระหนกของตลาดว่าปลาป่นจะไม่พอใช้ ราคา จึงปรับสูงขึ้นทันที ตัวอย่างปลาป่นเกรดกุ้งที่ 65-66% TVBN. 150 ราคาจาก 1,3001,400 usd/ตัน ขึน้ ไปถึง 1,900-2,000 usd/ ตัน ในเวลาเพียงเดือนเศษ ส่งผลให้ประเทศจีน ต้องปรับกลยุทธ์ การตลาด โดยบางส่วนยังจำเป็นต้องซื้อเปรู ในราคาที่แพง และบางส่วนก็หันไปนำเข้าจาก ประเทศอื่นทดแทน ซึ่งรวมถึงการนำเข้าจาก ประเทศไทยด้วย นอกจากนั้น ประเทศจีนได้ ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัยคุณค่าของปลาป่น และหาวั ต ถุ ดิ บ อื่ น ที่ มี คุ ณ ค่ า มาทดแทน แต่ โดยสรุปยังคงเป็นปลาป่นที่มีคุณค่าเหมาะสม กว่าวัตถุดิบอื่น บางวัตถุดิบอาจจะพอทดแทน ได้ แต่มีจำนวนไม่เพียงพอ และมีราคาแพงกว่า อีกส่วนหนึ่งที่ประเทศจีนได้ทำคือ เน้นการเพิ่ม คุณภาพความสดให้กบั ปลาป่นทีผ่ ลิตในประเทศ ช่วยให้ลดการนำเข้าปลาป่นจากประเทศเปรูได้ ส่วนหนึง่ และส่วนเสริมอีกส่วนหนึง่ เกิดจากโรค กุง้ ตายด่วน (EMS) ทำให้นำเข้าปลาป่นน้อยลง ท้ายที่สุด ราคาปลาป่นของประเทศเปรูจึงไหล ลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตั้ ง แต่ ก ลางไตรมาสที่ 2 เดือนเมษายน เรือ่ ยมาจนเหลือ 1,300-1,400 usd/ตัน ในไตรมาสที่ 3 เดือนสิงหาคม และ ยืนยาวจนถึงฤดูกาลใหม่เดือนตุลาคม 2556 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
66
2. ราคาตลาดภายในประเทศ ปีที่ผ่าน มา เกิดปัญหาโรคกุ้งตายด่วน (EMS) เช่นกัน ทำให้กระทบต่อการใช้ปลาป่นอย่างมาก และ ช่วงต้นปีถึงกลางปี การส่งออกมีมาก อันเนื่อง มาจากราคาปลาป่นของประเทศเปรูที่ปรับตัว
สูงขึ้น ทำให้ต่างประเทศส่วนหนึ่งหันมานำเข้า ปลาป่นจากประเทศไทย ทำให้ราคาปลาป่นของ ไทยถี บ ตั ว สู ง ขึ้ น ตาม และเริ่ ม ลดน้ อ ยลงใน ไตรมาสที่ 3 และ 4 เมื่อราคาต่างประเทศ ลดลง ประเด็นในด้านแหล่งทีม่ าอย่างถูกต้อง ของวัตถุดบิ ประมงเพือ่ การอนุรกั ษ์ และความ ยั่งยืนของทรัพยากรประมงทางทะเล เมือ่ ช่วงต้นปี 2556 อุตสาหกรรมปลาป่น ถูกโจมตีจาก NGO ต่างชาติ โดยในช่วงเดือน กุมภาพันธ์-มีนาคม 2556 มีนกั ข่าวจากประเทศ อังกฤษเข้ามาทำข่าวเกี่ยวกับการเลี้ยงกุ้ง โดย ให้ข่าวว่าประเทศไทยเลี้ยงกุ้งโดยใช้ปลาป่นที่ มาจากปลาเป็ดซึ่งมีขนาดเล็ก โดยมองว่าเป็น การจับลูกปลามาทำปลาป่น ส่งผลให้เกิดการ ทำลายพันธุ์ปลา ไม่อนุรักษ์ และผิดกฎหมาย ถือว่าเป็นการทำลายทรัพยากรทางทะเล จึง เกิดกระแสให้ต่างชาติเลิกซื้อกุ้งจากไทย และ เกิดการเรียกร้องให้พอ่ ค้าไทยสำแดงว่าปลาป่น ทีใ่ ช้นน้ั มาจากปลาเป็ดทีจ่ บั ได้อย่างถูกกฎหมาย ด้วยเหตุนี้ ตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมา สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย สมาคมผู้ผลิต ปลาป่นไทย สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมปศุสตั ว์ และกรมประมง ประชุมจัด ทำแนวทางรูปแบบการดำเนินการจัดทำเอกสาร และขั้นตอนการออกหนังสือรับรองวัตถุดิบว่า ปลาเป็ด ทีใ่ ช้ทำปลาป่นนัน้ ถูกต้องตามกฎหมาย เรือทีจ่ บั ได้ขนึ้ ทะเบียนอย่างถูกต้อง และจับปลา ในเขตที่ได้รับการอนุญาต ในส่วนความยัง่ ยืนของปลาป่น จะเห็นว่า ประเทศไทยมีกำลังผลิต 0.5 ล้านตัน ส่งออก ประมาณ 0.1 ล้านตัน แต่ความต้องการใช้
ภายในประเทศมีสูงถึง 0.6 ล้านตัน จากตัว เลขดังกล่าว ทำให้เห็นว่าประเทศไทยมีความ ต้องการใช้ปลาป่นขาดอีก 0.2 ล้านตัน จึงมี ความเชื่อว่าธุรกิจปลาป่นยังสามารถขยายได้ และจะยั ง คงมี ค วามยั่ ง ยื น ต่ อ ไป และเชื่ อ ว่ า อนาคตอาหารสัตว์ไทยจะขยายตัวขึ้นอีกตาม การขยายตัวของประชากร
ช่วงบ่าย “กรณีศึกษาด้านความยั่งยืนของข้าวโพดในอาหารสัตว์”
แผนภูมิแสดงเส้นทางการส่งมอบสินค้าข้าวโพดไร่ ในระบบการผลิต มาตรฐานเกษตรยั่งยืน เพื่อการใช้เป็นอาหารสัตว์ และธุรกิจการผลิตอาหารสัตว์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ดร.ชวนพิศ อรุณรังสิกลุ ม.เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ได้นำเสนอโครงการวิจยั และพัฒนา มาตรฐานระบบผลิตข้าวโพดเลีย้ งสัตว์อย่างยัง่ ยืน โดยอธิบายถึงความเป็นมาว่ามีแนวคิดความยัง่ ยืน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ระบบการผลิตทีเ่ น้นการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีถ่ กู ต้อง มีความปลอดภัยด้านอาหาร 2) วิธีการเพาะปลูกที่ต้องไม่ทำลายนิเวศธรรมชาติ หรือไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม ดิน และแหล่งน้ำ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ 3) มีความเป็นธรรม และมีเป้าหมายการพัฒนากลุ่มคน ปฏิบัติงาน และผู้เกี่ยวข้อง 4) มีการปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มผู้ผลิตรายย่อย และผู้เกี่ยวข้อง ในชุมนุม โดยมีผลลัพธ์คือ เครื่องมือการขับเคลื่อนเพื่อการสร้างมาตรฐานการผลิตทางการ เกษตรอย่างยั่งยืนตลอดห่วงโซ่การผลิตอาหารสัตว์จากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผ่านการศึกษาวิจัย มาตรฐานที่มีอยู่แล้ว ได้แก่ มกษ. การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับพืชอาหาร มกษ. การ ปฏิ บั ติ ที่ ดี ห ลั ง เก็ บ เกี่ ย วสำหรั บ ข้าวโพดเมล็ดแห้ง มกษ. ข้าวโพด เมล็ดแห้ง ThaiGAP/GlobalGAP ASEANGAP RTSS RSPO RA-SAN Fairtrade โดยมีระยะ เวลาดำเนินการ 8 เดือน
67
ช่วงบ่าย การเสวนาเรื่อง “การเลี้ยงสัตว์จะยั่งยืนทำอย่างไร” นายกิดดิวงศ์ สมบุญธรรม เลขาธิการ สมาคมผูเ้ ลีย้ งสุกรแห่งชาติ ต้นทุนหลักของการ เลี้ยงสุกร คือ อาหารสัตว์ การสร้างความยั่งยืน ให้กบั การเลีย้ งสุกร คือ การครองพันธุกรรม เนือ่ ง จากปัจจุบันมีการนำเข้าสายพันธุ์สุกรจากต่าง ประเทศ ส่งผลให้สกุ รติดโรคมาด้วย และในประเทศ ไทยเอง ยังต้องพึ่งยารักษาโรคจากต่างประเทศ ซึ่งถือว่าเป็นต้นทุนหนึ่งในการเลี้ยงสุกรที่เพิ่มขึ้น สมาคมได้มีการคาดการว่าในปี 2557 จะมีการผลิตสุกรประมาณ 17,000 ตัน เป็นสุกร เนื้อชำแหละประมาณ 3,000 ตัน ส่วนการบริโภคเนื้อสุกรในประเทศคิดเป็นจำนวน 14 กก./ คน/ปี มาตรการสร้างความยั่งยืนให้กับผู้เลี้ยงสุกร ระยะสั้น
- ตัง้ กองทุนรักษาระดับราคาให้มเี สถียรภาพ (Stabilization fund) โดยนำเงินจากภาษี 2% ที่ได้จากการนำเข้ากากถั่วเหลืองมาจัดตั้ง - รณรงค์แก้ไขปัญหาที่ทำให้เกิดการลดความน่าเชื่อถือ อาทิ การใช้สารเร่งเนื้อแดง ระยะกลาง - ออกกฎหมายบังคับให้มีการขึ้นทะเบียนผู้เลี้ยงสุกร และพัฒนาไปสู่ฟาร์มมาตรฐาน - Improving Slaughter House (ลดจำนวนโรงฆ่าลง เพิ่มประสิทธิภาพให้ได้มาตรฐาน) - ลดต้นทุนผลิต โดยส่งเสริมการวิจัยป้องกันการควบคุมโรค เก่า-ใหม่ ระยะยาว
- แนวทางการจัดทำโครงสร้างสินค้าสุกรเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาให้เป็นธรรมตลอด ห่วงโซ่อุปทาน รวมทั้งป้องกันความผันผวน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
68
นายคึกฤทธิ์ อารีปกรณ์ ผู้จัดการสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย ประเทศไทยเป็นผู้ผลิต เนือ้ ไก่อนั ดับที่ 9 ของโลก โดยในปี 2556 ไทยมีการผลิตเนือ้ ไก่อยูท่ ี่ 1.904 ล้านตัน คิดเป็น 2% ของสัดส่วนการผลิตเนื้อไก่ของโลก แต่มีการส่งออกเป็นอันดับ 4 ของโลก อยู่ที่ 0.526 ล้านตัน
คิดเป็น 5% ของสัดส่วนการส่งออกเนื้อไก่ของโลก ซึ่งหากมองภาพรวมตั้งแต่ 10 ปีที่ผ่านมา ถือว่าการส่งออกทรงตัวมาโดยตลอด สัดส่วนการบริโภคเนื้อไก่ในประเทศเท่ากับ 19 กก./คน/ปี ประเทศไทยมีจุดแข็งอยู่ที่ แรงงานในการตัดแต่งเนื้อไก่มีฝีมือ ภาครัฐ และเอกชนมีการ แก้ไขปัญหาร่วมกันมาโดยตลอด ส่วนจุดอ่อน ประกอบด้วย ต้นทุนอาหารเลี้ยงสัตว์ที่สูง แรงงาน ไทยขาดแคลน ตลาดส่งออกมีจำกัด และตลาดภายในมีขนาดเล็ก ในส่วนของการสร้างความ ยั่งยืนที่สามารถทำได้คือ การเจรจาลดภาษีส่งออกเนื้อไก่ในกรอบ FTA Thai-EU และการ นำส่วนที่ผลิตเหลือมาใช้เป็นอาหารสัตว์ต่อไป ผู้ผลิตเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก
1 2 3 4 5 9
2546 14,696 9,898 7,645 7,512 2,290 1,404 54,282
2556 16,958 13,500 12,770 9,750 3,002 1,904 84,640
ผู้ส่งออกเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก
Brazil USA EU Thailand China Argentina World Source: USDA
1 2 3 4 5 6
2536 417 892 1,200 167 145 2 3,095
2546 1,903 2,232 788 545 388 39 6,023
2556 3,580 3,354 1,095 526 415 323 10,393
1,000 Tons % Share 34 750% 32 276% 11 -9% 5 215% 4 186% 3 16,000% 100 235%
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
USA China Brazil EU Mexico Thailand World Source: USDA
2536 9,990 2,300 3,140 5,130 1,030 710 28,708
1,000 Tons % Share 20 70% 16 480% 15 300% 12 90% 4 190% 2 170% 100 195%
69
ดร.สมศักดิ์ ปณีตธั ยาศัย นายกสมาคมกุง้ ไทย ในปี 2556 กุง้ ไทยเจอปัญหาโรคตายด่วน (EMS) ซึ่งส่งผลให้ผลผลิตกุ้งไทยมีปริมาณ 0.25 ล้านตัน ลดลงจากปี 2555 ที่มีผลผลิตอยู่ที่ 0.54 ล้านตัน คิดเป็นสัดส่วนทีล่ ดลงถึง 54% กลับกันในส่วนของประเทศเวียดนาม และอินโดนีเซีย มีสัดส่วนผลผลิตที่สูงขึ้นถึง 41% และ 42% ตามลำดับ แต่ในแง่ของปริมาณผลผลิตเมื่อเทียบกับ กำลังการผลิตของไทยในช่วงทีผ่ า่ นมายังถือว่าไม่เป็นปัญหา ต้องยอมรับว่าการเลีย้ งกุง้ ของไทยใน ตลอด 14 ปีทผ่ี า่ นมานัน้ มีแนวโน้มทีด่ มี าโดยตลอด ทำให้ผเู้ ลีย้ งกุง้ ไทยละเลยในเรือ่ งสาธารณสุข ผลผลิตกุ้งเลี้ยงโลก ปี 2549-2556
ประเทศ/ปี ไทย จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อเมริกากลาง-ใต้ อื่นๆ รวม ที่มา: สมาคมกุ้งไทย
2550
2551
2552
2553
2554
2555 2556*
530 495 563 640 600 540 250 480 523 560 600 565 450 300 170 200 200 215 240 170 240 210 230 180 140 150 105 180 110 87 100 137 170 190 270 62 68 92 105 73 57 46 38 29 35 40 42 40 52 395 397 412 410 422 432 432 55 55 50 65 65 45 45 2,050 2,084 2,192 2,352 2,317 2,024 1,815
หน่วย: พันตัน % เปลี่ยนแปลง 55/56 -54% -33% +41% +20% +42% -20% +30% -11%
ผลผลิตกุง้ นัน้ แบ่งเป็นการบริโภคภายในประเทศ 5% กล่าวคือ ปริมาณการบริโภคประมาณ 1.5 กก./คน/ปี และส่งออกถึง 95% หากมองปริมาณการส่งออกกุ้งไทยในปี 2556 ซึ่งมี ปริมาณการส่งออก 205,451 ตัน ลดลงจากปริมาณการส่งออกในปี 2555 ซึ่งมีปริมาณ 344,042 ตัน อยู่ที่ -40.28% แต่ในแง่มูลค่าส่งออกในปี 2556 มีมูลค่า 68,127 ล้านบาท ลดลงจากมูลค่าส่งออกในปี 2555 ที่มีมูลค่า 95,552 ล้านบาท อยู่ที่ -28.70% ซึ่งถือว่ายังมี มูลค่าลดลงในอัตราส่วนทีน่ อ้ ยกว่า สาเหตุอนั เนือ่ งมาจากค่าเงินบาททีอ่ อ่ นตัวลง และภาวะผลผลิต น้อย ทำให้ราคากุ้งถีบตัวสูงขึ้นจาก 130 บาท เป็น 300 บาท/กก. ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
70
อย่างไรก็ตาม การเพาะเลี้ยงกุ้งของไทยถือว่าได้ผ่านช่วงที่วิกฤติที่สุดมาแล้ว ปัจจุบัน ถือว่าอยู่ในระยะฟื้นตัว คาดว่าในปี 2557 จะมีผลผลิตอยู่ที่ 0.3-0.35 ล้านตัน และคาดว่าในปี 2558 ผลผลิตจะกลับเข้ามาสู่ภาวะปกติ สิ่งที่ควรระวังคือ การรักษาคุณภาพสินค้ากุ้งของไทย ทั้งในเรื่องความปลอดภัยอาหาร ปลอดสารเคมี และยาปฏิชีวนะตกค้าง และพัฒนามาตรฐาน ในด้านอื่นๆ เช่น แรงงาน สิ่งแวดล้อมที่อาจจะถูกใช้มาเป็นประเด็นกีดกันทางการค้าต่อไปใน
อนาคต ในส่วนของการสนับสนุนจากภาครัฐคือ จะต้องเร่งผลักดันการเจรจา FTA Thai-EU ให้สำเร็จ โดยเฉพาะสิทธิ GSP รายประเทศ ทีจ่ ะถูกตัดสิทธิใ์ นวันที่ 1 มกราคม 2558 ทำให้ ถูกจัดเก็บภาษีกุ้งสดในอัตรา 12% จากเดิมที่เคยเสียเพียง 4.2% ในอนาคต สัดส่วนการเพาะเลีย้ งกุง้ จะเพิม่ มากขึน้ และสัดส่วนการจับกุง้ ทะเลมีแนวโน้มลดลง อันเนือ่ งมาจากต้นทุนราคาน้ำมันสูงขึน้ ทำให้แนวคิดเรือ่ งการบ่มเพาะลูกกุง้ ให้มคี วามเข้มแข็ง โดย มีการนำเข้าศูนย์เพาะเลี้ยงก่อนนำไปเลี้ยงตามปกติ ก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะตอบสนองแนวโน้มดังกล่าว นายมงคล พิพฒ ั สัตยานุวงศ์ นายกสมาคมผูผ้ ลิต และส่งออกไข่ไก่ ไข่ไก่สว่ นมากใช้บริโภค ภายในประเทศ จะมีการส่งออกบ้างเล็กน้อยไปยังฮ่องกง ในส่วนที่เกินความต้องการ คิดโดย ประมาณ 2-3% เท่านั้น ส่วนใหญ่แต่ละประเทศจะมีการผลิตไข่ไก่เพื่อบริโภคเองอยู่แล้ว ปัจจุบัน ปริมาณการบริโภคไข่ไก่ของคนไทยอยู่ที่ประมาณ 180 ฟอง/คน/ปี (ประมาณ 16 ฟอง เท่ากับ 1 กิโลกรัม) ซึ่งถือว่าน้อยเมื่อเทียบกับสัดส่วนการบริโภคของญี่ปุ่นซึ่งมีปริมาณ 300 ฟอง/คน/ปี และมาเลเซียซึ่งมากกว่า 200 ฟอง/คน/ปี
นายอดิศร์ กฤษณวงศ์ กรรมการบริหารสมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย จากข้อมูลสถิติปี 2554 ประเทศไทยมีผลผลิตจากการประมงเป็นอันดับ 7 ของโลก โดยมีปริมาณผลผลิตประมาณ 1 ล้านตัน คิดเป็น 1.6% ของผลผลิตการประมงของโลก มีสัดส่วนแบ่งเป็นปลา และกุ้งประมาณอย่างละ 50% ส่วนอันดับ 1 ได้แก่ ประเทศจีน ซึ่งมีการเพาะเลี้ยง 38.60 ล้านตัน คิด เป็น 60.7% ของผลผลิตการประมงของโลก เป็นปลา ประมาณ 28 ล้านตัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ปัญหาทีส่ ำคัญประการแรกคือ การทำความเข้าใจต่อการบริโภคไข่ไก่ ซึง่ เห็นว่าควรจะต้องมี การรณรงค์ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคไข่ไก่ให้มากขึ้น อีกส่วนที่สำคัญคือ ปัญหาการคุม ราคาไข่ ปัญหาถัดมาคือ ในส่วนของโรคไก่ไข่มโี รคทีเ่ รียกว่า ไข่หด กล่าวคือ เคยไข่ได้วนั ละ 90 ฟอง เหลือเพียง 30 ฟอง ทำให้ผลผลิตลดลง แต่การเกิดโรคดังกล่าวนั้น ได้ส่งผลทำให้ราคาไข่สูงขึ้น ส่วนแนวโน้มผลผลิตไข่ในปี 2557 จะเพิม่ มากขึน้ อีก 3,000 ล้านฟอง สืบเนือ่ งมาจากการนำเข้า แม่พันธุ์ในปี 2556 ซึ่งนำเข้ามาถึง 609,000 ตัว ซึ่งมากกว่าปี 2555 ซึ่งนำเข้ามา 553,000 ตัว ซึ่งหากเป็นไปตามที่กล่าวไว้ ราคาไข่ไก่อาจจะลดต่ำลง ฉะนั้นหากกล่าวถึงความยั่งยืนของ ธุรกิจนี้ การดูแลตลาด และผลิตให้เกิดความสมดุลนั้น ถือเป็นเรื่องที่สำคัญมากที่สุด
71
10 อันดับประเทศที่มีผลผลิตจากการเลี้ยงสูงสุด (2554/2011)
ประเทศ 1. จีน 2. อินเดีย 3. เวียดนาม 4. อินโดนีเซีย 5. บังคลาเทศ 6. นอร์เวย์ 7. ไทย 8. อียิปต์ 9. ชิลี 10. เมียนมาร์ ผลผลิตการประมงโลก Source: FAO Fisheries
เพาะเลี้ยง 38.60 60.7% 4.60 7.2% 2.80 4.4% 2.70 4.2% 1.50 2.4% 1.10 1.7% 1.00 1.6% 0.98 1.5% 0.95 1.5% 0.81 1.3% 63.60 100%
อัตราการบริโภคปลาโดยเฉลี่ยของคน ไทยอยูท่ ี่ 30 กก./คน/ปี มีการบริโภคปลาน้ำจืด รวม 10.7 กก./คน/ปี อาทิ ปลานิล 2.1 กก./ คน/ปี ปลาทับทิม 0.8 กก./คน/ปี ปลาดุก 2.3 กก./คน/ปี ปลาสวาย (ไทย) 0.5 กก./ คน/ปี เป็นต้น
สถานการณ์ปลาน้ำจืดประเทศไทย 1. มีการเลี้ยงหลายรูปแบบ หลายชนิด ตาม Demand-Supply ของตลาด เกษตรกร รับความเสี่ยงสูง และไม่กล้าลงทุน 2. ลูกพันธุ์ปลาแต่ละชนิดขาดคุณภาพ เช่น โตช้า อ่อนแอ และปริมาณไม่เพียงพอ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
72
3. หลายพื้นที่กำลังเลี้ยงปลา แต่ขณะ เดียวกันกำลังขาดน้ำ (ต้องการระบบชลประทาน ช่วยเหลือ) และการเกิดภาวะเอลนิโญ่ 4. มีการตื่นตัวบริโภคปลาเพื่อสุขภาพ แต่ขาดการส่งเสริมจริงจัง
การเลีย้ งสัตว์นำ้ ให้ยงั่ ยืน ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. สร้างความสามารถทางการผลิต 1.1 พันธุ์สัตว์น้ำที่เหมาะกับการเลี้ยง เพื่อบริโภคภายใน หรือผลิตเพื่อส่งออก ปรับ ปรุงพันธุ์สัตว์น้ำให้มีคุณภาพดี และสามารถ ผลิตได้ปริมาณต่อเนื่องเพียงพอ ต้องให้ความ สำคัญกับตลาดต่างประเทศ (Export Market) และตลาดภายในประเทศ (Domestic Market) - เลื อ กชนิ ด ปลาที่ มี ศั ก ยภาพ สำหรับแต่ละตลาด - นโยบายจากรั ฐ ส่ ง เสริ ม การ เพาะเลี้ยงกับเกษตรกร - จั ด สรรพื้ น ที่ ก ารเลี้ ย ง โดย พิจารณาจากพื้นที่ชลประทาน 1.2 จัดเตรียมสาธารณูปโภค (Infrastructure) ที่เหมาะสม เช่น ระบบน้ำ ระบบ Processing Plant แรงงานราคาถูก และถูก กฎหมาย การเข้าถึงแหล่งเงินทุน สิ่งจูงใจต่อ ภาคเอกชนที่รัฐบาลจะช่วย ฯลฯ 1.3 เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ในเมืองไทยมีพัฒนามาพอสมควรแล้ว แต่สิ่งที่ ยังขาด และต้องการสนับสนุนจากรัฐ คือ - Incentive รัฐบาลควรจัด “สิ่ง ดึงดูด” ทีจ่ งู ใจต่อภาคเอกชนในการลงทุนสร้าง และพัฒนาระบบต่างๆ เช่น การสร้างโรงงาน แปรรูปสัตว์น้ำ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูป การพัฒนาสายพันธุ์ปลาเพื่อการส่งออก การ พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลเพื่อการเลี้ยงปลาแบบ อุตสาหกรรม
2. สร้างมาตรฐาน และความได้เปรียบ ทางการค้า 2.1 ยกระดับมาตรฐานสินค้าปลาให้ สูงขึ้น เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค เช่น แก้ปัญหา ปลามีกลิ่นโคลน สารปนเปื้อน สนับสนุนโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำใช้วัตถุดิบใน ประเทศ 2.2 พั ฒ นาสิ่ ง อำนวยความสะดวก ทางการค้า (Trade Facilitation) เช่น ส่งเสริม ให้มีตลาดค้าสัตว์น้ำ ศึกษาการขนส่งปลาให้ เสียหายน้อยที่สุด เป็นต้น 2.3 ตรวจสอบสินค้าประมงที่จะนำ เข้า ต้องมีใบรับประกันสัตว์น้ำ (Certificate) ตรวจสอบการบิดเบือนตลาด และการอุดหนุน ส่งออกของประเทศคู่ค้า 3. สนับสนุนการบริโภคปลาทีไ่ ด้มาตรฐานในประเทศ 3.1 ประชาสัมพันธ์ให้คนกินปลามาก ขึน้ ให้ Intensive กับคนในประเทศกินปลามาก ขึ้น แล้วให้มีแคมเปญระยะยาวที่จะช่วยเหลือ เกษตรกรได้
3.2 พัฒนาระบบตลาดภายในประเทศ ให้เข้าถึงผูบ้ ริโภคได้มากทีส่ ดุ เช่น ส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพด้วยอาหารทีท่ ำจากปลา จัดประกวด แผงปลาอนามัย เป็นต้น 3.3 พัฒนากลไกการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น ส่งเสริม และประชาสัมพันธ์การเลี้ยงปลาตามระบบ GAP, Biosecure ให้ผู้บริโภคเข้าใจ และเกษตรกรนำไป ปฏิบัติ ผลจากการเสวนาในครั้งนี้ ทำให้เห็นได้ ชัดว่า อุตสาหกรรมปศุสัตว์ของไทยจะมีความ ยั่งยืนต่อไปอย่างแน่นอน กระนั้น ทุกภาคส่วน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะต้ อ งมี ค วามตระหนั ก ในเรื่ อ งนี้ และร่วมมือในการส่งเสริม และให้การสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกัน ภาคอุตสาหกรรมปศุสัตว์แต่ละส่วนเองก็มีแผน และแนว ทางที่จะมุ่งไปสู่ความยั่งยืนของอุตสาหกรรม ของแต่ละประเภทเองเช่นกัน
จัดทำโดย: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย วันที่ 11 มีนาคม 2557
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
- การจัดหาแหล่งเงินทุน ซึ่งรัฐ ต้องมีการกำหนดแนวทางให้เกษตรกร และผู้ ประกอบการสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้ได้
73
Around the World
การจัดลำดับความสำคัญ
การปฏิรูปทางการเกษตรในพม่า
• ฌอน เทอร์แนล และ ไวลี แบรดฟอร์ด ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม็คควารี่ ออสเตรเลีย • ภาคการเกษตรของพม่าถูกกดให้จมอยู่ ยาวนานภายใต้กระบวนการกำหนดนโยบายรัฐ ที่ย่ำแย่ และก้าวก่าย การขาดความน่าเชื่อถือ ที่เรื้อรัง โครงสร้างพื้นฐานที่ขาดแคลน และไร้ ประสิทธิภาพ และการขาดความมัน่ คงในกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น และสิ ท ธิ ใ นทรั พ ย์ สิ น ของชาวนา ความทุกข์รอ้ นนีท้ ไี่ ด้เกิดขึน้ ท่ามกลางความอุดม สมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ และศักยภาพ ทางการเกษตรทีย่ งิ่ ใหญ่ของพม่า ได้กลายมาเป็น ปัจจัยที่นำไปสู่ความยากจนที่เลวร้ายที่อธิบาย ถึ ง ลั ก ษณะของชี วิ ต ประชาชนในชนบท (ซึ่ ง เป็นคนส่วนใหญ่) ของประเทศ
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
74
ภายใต้การบริหารจัดการของประธานาธิบดีเต็ง เส่ง (Thein Sein) ได้มีการเจรจามาก มายเกีย่ วกับการปฏิรปู ภาคการเกษตรของพม่า อันดับแรก ได้มีการจัด “การประชุมเชิงปฏิบัติ การระดับชาติ” หลายครั้งที่เป็นส่วนหนึ่งของ ความพยายามปฏิรปู เศรษฐกิจของพม่าทีไ่ ด้อทุ ศิ ให้กับภาคการเกษตรเป็นพิเศษ สิ่งนี้มาพร้อม กับคำแนะนำจำนวนหนึ่งที่ส่วนใหญ่จะมุ่งไปที่ การผลิตที่เพิ่มขึ้น ผ่านการปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานของชนบท การเข้าถึงวัตถุการผลิตที่มี ราคาเหมาะสม และการเปิดให้มกี ารกูย้ มื ทีก่ ว้าง ขวางขึ้น (มุ่งเน้นไปที่การกู้ยืมในระดับจุลภาค) จากนั้น ได้มีการประชุมอื่นๆ ที่ทุ่มเทให้กับ
การเกษตร ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจาก สถาบันในระดับพหุภาคี หน่วยงานด้านการ พัฒนา และนักลงทุนต่างประเทศที่มีศักยภาพ มีประเด็นในการประชุมที่คล้ายคลึงกัน
การปฏิรูปที่หยุดชะงัก แม้เงื่อนไขที่กล่าวข้างต้นยังคงอยู่ รวม ถึงโวหารของรัฐบาลในการสนับสนุนการปฏิรปู แต่ในความเป็นจริง ความก้าวหน้าด้านการ ปฏิรูปภาคเกษตรกรรมยังคงมีไม่มากนัก การ เปลีย่ นแปลงทีค่ รอบคลุมทุกมิตขิ องภาคเกษตรกรรมเป็นความต้องการอย่างเร่งด่วน ที่ต้อง เริ่ ม ต้ น ด้ ว ยการกำจั ด การบิ ด เบื อ นทางการ ตลาดที่ยังคงเป็นปัญหายาวนานของภาคการ เกษตร อาทิ การควบคุมการผลิตของรัฐใน หลายๆ สินค้า ข้อจำกัดด้านการส่งออก และ การสั่ ง การจั ด ซื้ อ ซึ่ ง มาตรการเหล่ า นี้ แม้ รัฐบาลยุคปัจจุบนั จะเข้าใจว่าเป็นปัญหา แต่กย็ งั คงอยู่ ต่ อ ไปซึ่ ง เป็ น มรดกตกทอดจากรั ฐ บาล ทหารในอดีต ความสำเร็จของพม่าในฐานะของ ผูส้ ง่ ออกถัว่ และเมล็ดพืชต่างๆ ในช่วงหลายปีนี้ (ปัจจุบันพม่าเป็นหนึ่งในผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุด ของสินค้ากลุม่ นี)้ แสดงให้เห็นว่า ชาวนาชาวไร่ และผู้ค้าที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ของตลาดได้อย่างทันท่วงที การค้าถั่ว และ
ระบบชลประทาน และไฟฟ้า เช่นเดียวกันกับการ จัดระบบการด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากร
การปฏิรูป และความคิดริเริ่ม ที่จำเป็นเพิ่มเติม
เมล็ดพืชได้รบั การเปิดเสรีไปเมือ่ ทศวรรษทีผ่ า่ น มา ต่ า งไปจากพฤติ ก รรมของรั ฐ ในการเข้ า แทรกแซงสินค้าอื่นๆ แต่การยกเลิกข้อกำหนด และข้อจำกัด ด้านการค้าแม้ว่าจะเป็นสิ่งจำเป็นกลับ แต่ก็ ยังไม่เพียงพอที่จะฟื้นฟูภาคการเกษตรที่ไม่ได้ รับความใส่ใจมานาน 1 ภายใต้การปกครองของ รัฐบาลทหารยุคก่อน พืน้ ทีใ่ นชนบทมักถูกทอดทิ้งจนเรื้อรัง ดังนั้นผลสรุป โครงสร้างพื้นฐาน ในชนบทตกอยูใ่ นสภาวะด้อยพัฒนา และหมูบ่ า้ น หลายแห่ ง ไม่ มี ถ นนที่ ดี ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ พวกเขา กับตลาดระดับชาติ (หรือแม้แต่ระดับภูมภิ าค) ปุย๋ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไม่ มี ส ำหรั บ ชาวไร่ชาวนาในหลายพื้นที่ ระบบชลประทาน อยู่ในภาวะตื้นเขิน การขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ สารกำจัดศัตรูพชื เครือ่ งสูบน้ำ และอุปกรณ์อนื่ ๆ รวมถึงเชื้อเพลิงที่กลายมาเป็นสินค้าที่ชาวไร่ ชาวนาไม่สามารถหาเงินมาซื้อได้ การเปิดเสรี ทางการตลาดจะช่วยแก้ปญ ั หาบางส่วนนีไ้ ด้ แต่ ในช่วงเวลาระยะสั้นจนถึงปานกลาง ภาคการ เกษตรของพม่าต้องการเงินทุนสาธารณะ และ การลงทุน โดยเฉพาะในการสร้างถนน สะพาน
- ยุ ติ ร ะบบการมอบใบอนุ ญ าตในการ ส่งออกของพม่า ในปัจจุบัน ระบบนี้ได้สร้าง ข้อจำกัดให้กับตลาดในส่วนที่เกี่ยวกับการผลิต ของเกษตรกรพม่า นอกจากนีย้ งั จำกัดทางเลือก ในการขายของเกษตรกร และเพิ่มความกดดัน ราคาหน้าฟาร์ม การผลิตสินค้าเกษตรให้กับ ตลาดโลกมีส่วนในการสร้างผลกระทบต่อการ เพิ่มขึ้นของแรงจูงใจที่จะผลิตข้าวให้ได้มาตรฐานสูง ที่มีราคาที่ดีกว่าราคาของข้าวหักชนิด ต่างๆ ที่พม่าส่งออกไปยังแอฟริกาขณะนี้ - การกำจั ด ข้ อ จำกั ด ของภู มิ ศ าสตร์ ภายในด้านการตลาด และการค้าข้าวที่ยังคง เหลืออยู่ ข้อจำกัดเหล่านี้ ปฏิเสธชาวนาชาว ไร่ พ ม่ า ถึ ง ความสามารถของพวกเขาในการ เคลื่ อ นย้ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ปยั ง พื้ น ที่ ที่ ข าดแคลน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
Rice Cultivation, Chin State, Myanmar Rice Cultivation, Chin State, Myanmar
ร่างเค้าโครงโดยสรุปที่ปรากฏข้างล่าง นี้ เป็นบางส่วนของมาตรการที่จำเป็นต่อการ เปลีย่ นรูปโฉมของการเกษตรในพม่า มาตรการ ที่ จ ำเป็ น เหล่ า นี้ มี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ สิ่ ง ที่ ถื อ ได้ว่าเป็น “หลักปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างที่ดีที่สุด ในระดับสากล” ซึง่ ได้รบั การส่งเสริม และสนับสนุนในพม่าโดยผ่านหลายๆ องค์กรของโลก (รวมทั้งธนาคารโลก องค์กรเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศของสหรัฐฯ [United States Agency for International DevelopmentUSAID] และองค์กรหลายแห่งทีอ่ ยูใ่ นกรอบของ องค์การสหประชาชาติ):
75
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
76
ข้าว (ที่ซึ่งราคาอยู่ในเกณฑ์สูง) และเพื่อการ ได้ รั บ ผลประโยชน์ ที่ ไ ด้ จ ากการค้ า โดยทั่ ว ไป ในด้านสาระสำคัญ ข้อจำกัดเหล่านี้ ได้แบ่งพม่า ออกเป็นตลาดเล็กๆ ที่หลากหลาย ที่ซึ่งราคามี ความผันผวน และความมัน่ คงทางอาหารอยูใ่ น ภาวะเสีย่ ง การถอนข้อจำกัดของการค้าภายใน ด้านผลิตภัณฑ์การเกษตรในพม่าอาจพิจารณา ได้วา่ เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งทำอย่างเร่งด่วนในงานการ ปฏิรูปด้านเกษตรกรรมที่มีประโยชน์
ถึงของข้อมูลข่าวสารด้านการตลาด ในแอฟริกา การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจน ที่ๆ โดยเฉพาะในความสามารถของชาวนาชาว ไร่ในการเปรียบเทียบราคาสินค้าเกษตรในตลาด ในแต่ละเมืองที่แตกต่างกัน รวมถึงการใช้เทคโนโลยี นี้ ใ นการส่ ง ผลผลิ ต ไปสู่ ต ลาด ขณะนี้ การปฏิรูปภาคโทรคมนาคมของพม่าขณะนี้ยัง อยูภ่ ายใต้การดำเนินการ แม้วา่ ผลลัพธ์ทอี่ อกมา ยังคงไม่แน่นอน
- การมอบสิทธิให้ชาวนาชาวไร่ของพม่า ในด้ า นการผลิ ต อย่ า งสมบู ร ณ์ ในช่ ว งเวลา หลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา ชาวนาชาวไร่พม่าถูกสัง่ ให้ผลิตสินค้าเฉพาะบางประเภท (ส่วนใหญ่เป็น ข้าว) โดยไม่ได้คำนึงถึงสภาวะท้องถิ่น สิ่งนี้มี ผลกระทบต่อการลดลงของผลผลิต และลด รายได้ของชาวนาชาวไร่ลง การให้อิสระที่จะ ตัดสินใจเองว่า “อะไร อย่างไร และเมื่อไร” ในการผลิต จะเปิดโอกาสให้ชาวนาชาวไร่พม่า ก้าวไปสู่การผลิตที่ได้ผลผลิตด้านพืชผลมากขึ้น และมีกจิ กรรมทีเ่ หมาะสมกับสภาพท้องถิน่ (เช่น ความหลากหลายในการปลูกพืชสวน ปศุสัตว์ ขนาดเล็ก การประมง และอื่นๆ) การยินยอม ให้มี “สิทธิการผลิต” ในลักษณะนี้ในเวียดนาม (เพื่ออ้างอิงว่าเป็นเพียงหนึ่งในต้นแบบสำคัญ สำหรับพม่า) เป็นนโยบายที่สำคัญมากที่สุด นโยบายหนึ่งที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของ เวี ย ดนามในฐานะของผู้ ผ ลิ ต อาหารโลกที่ มี ความสำคัญ
- การปรับเปลี่ยนระบบอัตราการแลก เปลี่ยนที่ดีขึ้น และนโยบายการนำเข้า หนึ่งใน องค์ประกอบ “เศรษฐกิจมหภาค” ทีม่ ผี ลสำคัญ ต่อรายได้ของชาวนาชาวไร่พม่าคือ อัตราการ แลกเปลี่ยน 3 ในความเคลื่อนไหวที่ได้รับการ ตอบรับทีด่ เี มือ่ ปีทผี่ า่ นมา รัฐบาลพม่าได้ยา้ ยเงิน จ๊าดพม่าไปสูร่ ะบอบทีเ่ ป็นแบบ “การลอยตัวทีม่ ี การจัดการ” แต่การหมุนเวียนด้านทุนทีเ่ ข้มข้น ขึ้น และการมีรายได้ที่พม่าได้รับจากทรัพยากร ธรรมชาติส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินพม่าสูง ขึน้ อย่างมาก (สูงมากเท่ากับ K850: USD1) สิง่ นี้ มีผลกระทบของการลดลงของรายได้จากต่าง ประเทศของชาวนาชาวไร่พม่าใน 2 ทาง ประการ แรก มันทำให้การส่งออกหลักของพม่าแพง มากขึน้ และดังนัน้ ทำให้สามารถทีจ่ ะแข่งขันกับ ผูจ้ ดั หาอืน่ ๆ ได้นอ้ ยลง (โดยเฉพาะกลุม่ ทีม่ าจาก ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีย่ งั คงแข็งขัน ที่จะรักษาอัตราแลกเปลี่ยนให้อยู่ในเกณฑ์ต่ำ) ประการที่สอง และส่วนที่เกี่ยวโยงกับการที่ สินค้าเกีย่ วข้องมีกำหนดราคา และการชำระใน สกุลเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ มันจะมีส่วนในการลด รายได้ที่เป็นเงินจ๊าดของชาวนาชาวไร่ ครั้นที่ รายได้ จ ากการส่ ง ออกถู ก กลั บ เข้ า สู่ ป ระเทศ ความใส่ใจต่อการกำหนดเป้าหมายด้านการ
- การส่งเสริมความรูด้ า้ นการตลาด หนึง่ ในนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลงในภาคเกษตรกรรมในโลกเกิดขึน้ จากการแพร่หลายในการใช้ โทรศัพท์มือถือ และด้วยเหตุนี้ นำไปสู่การเข้า
- การส่งเสริมการประกันทางการเกษตร ในประเทศอื่นๆ รายได้ของชาวนาชาวไร่ได้รับ ความคุ้มครองจากกรณีที่ราคาที่สูงเกินความ จำเป็น และการชะลอตัวของผลผลิต (และภัย ธรรมชาติต่างๆ) ผ่านโครงการการประกันภัย ทางการเกษตร สิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งใน บริบทนี้ก็คือ การจัดการด้านประกันภัยที่ขึ้น กับดัชนีชี้วัดภายใต้โครงการเหล่านี้ ชาวนา ชาวไร่ได้รบั ค่าเสียหายเมือ่ ผลผลิตในพืน้ ทีต่ กลง ต่ำกว่ามูลค่าทีก่ ำหนดโดยดูจากค่าเฉลีย่ ของการ ดำเนินการระยะยาว (หรือเกณฑ์มาตรฐานอืน่ ๆ ตามความเหมาะสม) การใฃ้ประโยชน์ของโครงการการประกันภัยประเภทดังกล่าว หมายรวม ถึง “ความไม่ซับซ้อนของการประกันภัย” (เช่น การไม่เรียกร้องให้มกี ารประเมินในทุกๆ ฟาร์ม) และความโปร่งใส (ข้อมูลเปิดเผย และเข้าถึงได้ อย่างเสรี) โครงการดังกล่าวได้มีการนำไปใช้ ในสหรัฐอเมริกา อินเดีย แคนาดา มองโกเลีย และอีกหลายๆ ประเทศ ซึง่ เป็นโครงการทีไ่ ด้รบั การรับรองจากธนาคารโลก ทางเลือกทางหนึง่ ด้านนโยบายอยู่ที่การจัดระดับ เป็นระดับของ
เบีย้ ประกันถูกเรียกเก็บทีไ่ ด้รบั เงินสนับสนุนจาก รัฐบาล หลายประเทศเข้าร่วมการประกันดัง กล่าว และได้ให้เงินค้ำจุนแก่ชาวไร่ชาวนา - แน่นอนว่า หนึ่งในค่าเสียหายที่สำคัญ ที่ชาวนาชาวไร่พม่าต้องประสบ มาจากการ ขาดแคลนเงินทุนชนบทที่เป็นทางการ การให้ กูเ้ งินอย่างเป็นทางการในปริมาณทีเ่ พียงพอ ไม่ มี ใ ห้ แ ก่ ช าวนาชาวไร่ พ ม่ า ที่ อ ยู่ ภ ายนอกกลุ่ ม เป้าหมายทีเ่ ป็นบรรษัทขนาดใหญ่ หมายความว่า ผูใ้ ห้กยู้ มื เงินกลุม่ เล็กๆ กลุม่ นีเ้ ป็นเพียงกลุม่ เดียว ที่ชาวนาส่วนใหญ่จะเข้าถึงได้ ซึ่งอัตราดอกเบี้ย เรียกเก็บโดยกลุ่มผู้ให้กู้นี้ สูงถึงร้อยละสิบต่อ เดือน ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติทั่วไป ผลลัพธ์ของ การขาดเงินทุนทำให้ชาวนาชาวไร่ในพม่ามักจะ ประกอบการเพาะปลูกโดยปราศจากปัจจัยที่จะ ช่วยเพิ่มผลผลิต เช่น ปุ๋ย หรือหันไปใช้วิธีการ เพาะปลูก และการเก็บเกี่ยวที่มีต้นทุนต่ำ ซึ่ง ก็จะเป็นการลดผลผลิตลงไปด้วย ขณะเดียวกัน ชาวนาชาวไร่ที่มีหนี้ก้อนใหญ่ ถูกดักให้ติดกับ แห่งเกลียวหนี้จนท้ายที่สุดมักจะจบลงด้วยการ สูญเสียสิทธิในการใช้ที่ดินของพวกเขาเอง และ ยากจนมากยิ่งขึ้น - การสร้างระบบการธนาคารชนบทใน พม่าที่สามารถปฏิบัติการได้ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง นั้น ควรจะเป็นสิ่งที่สำคัญลำดับแรก โดยเริ่ม ต้นด้วยการปฏิรปู แบบฉับพลันทีส่ ามารถเริม่ ต้น การไหลเวียนของเงินทุน สิ่งเหล่านี้ รวมถึง การถอดถอนข้อจำกัดของธนาคารเอกชนของ พม่าในการให้ชาวนาชาวไร่กยู้ มื เงิน (ให้สนิ เชือ่ ) การกำจัดเพดานอัตราดอกเบี้ยที่ใช้กับธนาคาร ทุกแห่ง การขยายหลักประกันต่อความเสียหาย ที่อาจเกิดกับสินค้าเกษตรทุกชนิดที่ธนาคาร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
บริหารจัดการอัตราการแลกเปลี่ยนโดยเฉพาะ จึงเป็นเรื่องจำเป็น และจำเป็นต้องมีการใช้ นโยบายที่ครอบคลุม สามารถที่จะถูกออกแบบ ให้สนับสนุนอัตราการแลกเปลี่ยนที่ทำให้การ แข่งขันของพม่ามีมากขึน้ นอกจากนี้ การปฏิรปู ที่จำเป็นจะต้องได้รับการนำมาปฏิบัติเพื่อเปิด เสรี ร ะบบการอนุ ญ าตนำเข้ า ของพม่ า การ เคลื่อนไหวในเรื่องนี้จะมีส่วนลดมูลค่าของเงิน จ๊าดได้ ในขณะที่เปิดโอกาสให้ผู้ผลิต และผู้ บริโภคพม่าเข้าถึงสินค้าทีถ่ กู กว่า และมีคณ ุ ภาพ ดีกว่าได้ดีขึ้น (ทุน และผู้บริโภค) เช่นเดียวกัน กับการเข้าถึงวัตถุการผลิตด้วย
77
Woman selling vegetables at the local market Woman selling vegetables at the local market
ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ การอนุ ญ าตการเข้ า ถึ ง ของ ธนาคารระดับโลกที่ได้รับการยอมรับ ด้วยการ เชือ่ มต่อของห่วงโซ่อปุ ทาน (ความต้องการขาย) ของสินค้า ความต่อเนื่องในการสนับสนุนการ เติบโต (อย่างรอบคอบ) ของภาคการเงินจุลภาค (microfinance) ในพม่า การปฏิรูป และการ ระดมทุนของธนาคารเพื่อการพัฒนาด้านการ เกษตรแห่งพม่า (Myanmar Agricultural Development Bank-MADB) ที่มีอยู่
การปฏิรูปที่ดิน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
78
หนึ่งในอุปสรรคต่อการพัฒนาภาคการ เกษตรของพม่าคือความจริงทีว่ า่ ทีด่ นิ ในชนบท ทั้งหมดมีรัฐเป็นเจ้าของอย่างเป็นทางการ ใน ช่วงท้าย ค.ศ. 2011 ร่างกฎหมายใหม่ 2 ฉบับ ได้ผ่านรัฐสภา เพื่อจุดมุ่งหมายในการให้ความ มั่นคงทางด้านการครอบครองทรัพย์สิน และ สิทธิในการค้าขายที่ดินแก่ชาวนาชาวไร่ ร่าง กฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่ในการเพาะปลูก (the
Farmland Bill) และร่างกฎหมายเกี่ยวกับที่ดิน ที่ว่างเปล่า ที่ดินที่พักจากการเกษตร และที่ดิน ที่ยังไม่เคยทำการเกษตรมาก่อน (the Vacant, Fallow and Virgin Lands Bill) ตามจริง ร่างกฎหมาย 2 ฉบับนี้ กลับให้โอกาสทีด่ เู หมือน จะไม่มากนักแก่ชาวนา แต่กลับไปช่วยพรรคพวก ของธุรกิจทางการเกษตรขนาดใหญ่ได้ “ฉกฉวย” ที่ดินผืนใหญ่จากชาวนาชาวไร่ได้ นอกจากนี้ ยังรวมถึงกฎที่ระบุในกฎหมายที่ปฏิเสธชาวนา ชาวไร่เกี่ยวกับสิทธิที่จะตัดสินใจด้วยตัวเองว่า จะทำการเกษตร “อะไร เมื่อใด และอย่างไร” สิ่งที่สำคัญมากที่สุดในกฎหมายเหล่านี้คือ การ ให้สิทธิกลุ่มผู้บริหารกลุ่มใหม่ (นำโดยรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการเกษตรและการชลประทาน) ในการตัดสินขอบเขตของที่ดินที่จะใช้ “สิทธิ ในการฉกฉวยที่ดิน” (eminent domain) ซึ่งใน อดีตก็เคยถูกนำไปใช้ในการย้ายทีด่ นิ ให้หา่ งไกล จากชาวนาชาวไร่รายย่อย
การให้กรรมสิทธิ์เหนือที่ดินแก่เกษตรกรพม่า และมั่นคง ในการครอบครองทรัพย์สิน จะต้องเป็นสิ่งที่สำคัญอันดับสูงสุด ของรัฐบาล ในช่วงระยะเวลาเฉพาะหน้านี้ สิ่งนี้ต้องทำคือการ ทบทวนกฎหมายข้างต้น พร้อมๆ ไปกับการเลือ่ นชำระหนีใ้ นระยะ สั้นสำหรับการโอนที่ดินขนาดใหญ่ในชนบท นอกจากการกระทำ โดยฉับพลันทันทีเหล่านี้ พม่าควรที่จะศึกษาประสบการณ์ของ ประเทศอื่นๆ ด้วย คำถามทั้งหมดเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินใน สถานการณ์ที่เปลี่ยนผ่านนั้น เป็นสิ่งที่ประเทศต่างๆ ได้ต่อสู้ ดิ้นรนมานานกว่า 2 ทศวรรษที่ผ่านมา และตลอด เส้ น ทางได้ เ กิ ด วิ ธี แ ก้ ไ ขปั ญ หาแบบใหม่ ๆ (ไม่ ว่ า จะเป็นการใช้กลวิธีทางด้านจุลภาคแบบแบบสากล หรือวิธที หี่ ลากหลายของธรรมเนียมปฏิบตั เิ กีย่ วกับการ ครอบครองทรัพย์สิน
บทสรุป
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 31 เล่มที่ 155 มีนาคม-เมษายน 2557
ภาคการเกษตรของพม่ามีความสำคัญต่อประชาชนส่วนใหญ่ และยังคงเป็นภาคที่นำรายได้ และการเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศ (Gross Domestic Product-GDP) ในระยะยาว และ ในบริบทการเพิม่ ขึน้ ของราคาอาหารโลก ความต้องการสินค้าเกษตร ของประเทศเพื่อนบ้าน และความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำของ พม่า ปัจจัยเหล่านี้จะนำไปสู่การฟื้นฟูเศรษฐกิจของพม่าได้ ภาระหน้าทีข่ องรัฐบาลปัจจุบนั ของพม่า คือการทำให้ศกั ยภาพ นีเ้ ป็นทีป่ ระจักษ์ และในการทำให้พม่าเป็นแหล่งของสันติภาพ และความเจริญรุ่งเรืองในเอเชีย
79
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด บริษัท ยูนีโกรอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท มู่หยาง เกรนเทค จำกัด บริษัท เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ จำกัด บริษัท ฮูเวฟาร์มา (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท ตงชางเครื่องชั่ง (ประเทศไทย) จำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-2516-8811 โทร. 0-3430-5101-3 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-3488-6140-48 โทร. 092 089 1601 โทร. 0-2281-5331 โทร. 0-2937-4355 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2757-4792-5