รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. บมจ. กรุงไทยอาหารสัตว์ 2. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด 3. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด 4. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด 5. บมจ. ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ไพรส์ 6. บมจ. ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ 7. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด 8. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด 9. บมจ. อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทย 10. บมจ. เบทาโกร 11. บริษัท ซี.เอ็น.พี. อาหารสัตว์ จำกัด 12. บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร 13. บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด 14. บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด 15. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน 16. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 17. บริษัท โกรเบสท์คอร์โพเรชั่น จำกัด 18. บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 19. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร 20. บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด 21. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด 22. บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด 23. บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด 24. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด 25. บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด 26. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด 27. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด 28. บริษัท เหรียญทองฟีด (1992) จำกัด
29. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด 30. บริษัท บี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 31. บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด 32. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด 33. บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด 34. บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด 35. บริษัท ซันฟีด จำกัด 36. บริษัท ยูนีโกร อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 37. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด 38. บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด 39. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด 40. บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด 41. บมจ. บางกอกแร้นซ์ 42. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด 43. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด 44. บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส 45. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด 46. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด 47. บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จำกัด 48. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด 49. บริษัท บุญพิศาล จำกัด 50. บริษัท เฮกซ่า แคลไซเนชั่น จำกัด 51. บริษัท บีทีจี ฟีดมิลล์ จำกัด 52. บริษัท หนองบัวฟีดมิลล์ จำกัด 53. บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด 54. บริษัท โกล์ด คอยน์ สเปเชียลลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด 55. บริษัท แม่ทา วี.พี. ฟีดมิลล์ จำกัด 56. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด
อภินันทนาการ
คณะกรรมการ
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2554-2555 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 2. นายนพพร วายุโชติ 3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ 4. นายไพศาล เครือวงศ์วานิช 5. นางเบญจพร สังหิตกุล 6. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ 7. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ 8. นายโดม มีกุล 9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล 10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ 11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น 12. นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ์ 13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ 14. นายอุทัย ตันติพิมลพันธ์ 15. นายสุนทร ตันทนะเทวินทร์ 16. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ 17. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง 18. นายวิชัย คณาธนะวนิชย์ 19. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิชย์ 20. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม 21. นายวราวุฒิ วัฒนธารา 22. นายเชฎฐพล ดุษฎีโหนด 23. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์
นายกสมาคม อุปนายก คนที่ 1 อุปนายก คนที่ 2 อุปนายก คนที่ 3 เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ เกษตรอุตสาหกรรม จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท บี พี ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด
บรรณาธิการแถลง เชิญติดตามเนื้อหาในเล่ม ประกอบด้วย การผลิต
การตลาด ปาล์มน้ำมัน ปี 2554
อัตราการฟักออก
มักสูญเสียไป เนื่องจากการมองข้ามการจัดเก็บไข่ในฟาร์ม
ชี้เปรี้ยงปีมะโรง
อีกปีทองกุ้งไทย ห้องเย็น/สมาคมกุ้งจี้ รักษาเพดานผลิต/เตือนระวัง
2 ปัจจัยเสี่ยง จับชีพจรราคาสินค้าเกษตร
ปี 55 ภาพรวมขาลงแต่ไม่น่าเลวร้าย
สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงกับการเลี้ยงกุ้ง ผลิตภัณฑ์ไข่
ผลิตภัณฑ์อาหารแบบครบวงจร
อัพเดทข้อมูล ไก่ไข่
20 อันดับ บริษัทผู้ผลิตสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เริ่มส่งสัญญานอันตราย หลังเปิดนำเข้าเสรี
ความอยู่รอดอาหารสัตว์
...ภายใต้สารพัดวิกฤติ
น่าสนใจทั้งนั้น บก.
ปีที่ 28
Vol.
140
กันยายน-ตุลาคม 2554
วารสารธุรกิจอาหารสัตว์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศ ให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
สารบัญ
การผลิต การตลาด ปาล์มน้ำมัน ปี 2554............................................................................. 5 อัตราการฟักออก มักสูญเสียไป เนื่องจากมองข้ามการจัดเก็บไข่ ในฟาร์ม....................................................................... 26 ชี้เปรี้ยงปีมะโรง อีกปีทองกุ้งไทย ห้องเย็น-สมาคมกุ้งจี้รักษา เพดานผลิต/เตือนระวัง 2 ปัจจัยเสี่ยง........................................................................... 30 จับชีพจรราคาสินค้าเกษตรปี 55 ภาพรวมขาลงแต่ ไม่น่าเลวร้าย..................... 32 สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงกับการเลี้ยงกุ้ง........................................................................... 35 ผลิตภัณฑ์ ไข่ ผลิตภัณฑ์อาหารแบบครบวงจร................................................................. 39 Update ข้อมูล 20 อันดับบริษัทผู้ผลิตสัตว์ปีกที่ ใหญ่ที่สุดในโลก................ 42 ไก่ ไข่ เริ่มส่งสัญญาณอันตราย หลังเปิดนำเข้าเสรี........................................................ 49 ประกาศกระทรวงการคลัง.................................................................................................................. 55 ความอยู่รอดของอาหารสัตว์.......ภายใต้สารพัดวิกฤติ................................................. 62 ใบสมัคร............................................................................................................................................................... 79 ขอบคุณ............................................................................................................................................................... 80 ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย • ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร • รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล • กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายนพพร วายุโชติ นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ • บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ • กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง • สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 www.thaifeedmill.com • พิมพ์ที่ : ธัญวรรณการพิมพ์ 800/138 หมู่บ้านริเวอร์ปาร์ค ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร. 0-2536-5311, 0-2990-1568 โทรสาร 0-2990-1568
การผลิต การตลาด
ปาล์มน้ำมัน ปี 2554 1. น้ำมันพืชของโลก
1.1 ผลผลิตน้ำมันพืชโลก
น้ ำ มั น พื ช โลกที่ ส ำคั ญ ได้ แ ก่ น้ ำ มั น ถั่ ว เหลื อ ง น้ ำ มั น ปาล์ ม น้ ำ มั น เมล็ ด ในปาล์ ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันเมล็ดทานตะวัน น้ำมันเรพซีด น้ำมันเมล็ดฝ้าย น้ำมันถั่วลิสง น้ำมันมะกอก น้ำมันปาล์ม เป็นน้ำมันพืชที่ผลิตได้มากเป็นอันดับหนึ่งในปี 2554 มีสัดส่วนผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 30 ของน้ำมันพืชทั้งหมด เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2545) มีสัดส่วนร้อยละ 27
ผลผลิตน้ำมันพืชโลก
ทานตะวัน 8% มะพร้าว 3% เมล็ดปาล์ม 3%
ชนิด น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม น้ำมันเมล็ดปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันทานตะวัน อื่นๆ รวม
ถั่วเหลือง 27%
ถั่วเหลือง 32%
อื่นๆ 27%
อื่นๆ 30%
ปี 2545
ปี 2554 ทานตะวัน 7% ปาล์มน้ำมัน 27%
มะพร้าว 2% เมล็ดปาล์ม 4%
ปาล์มน้ำมัน 30%
10 ปีที่ผ่านมา 5 ปีที่ผ่านมา 3 ปีที่ผ่านมา 2 ปีที่ผ่านมา ปีที่ผ่านมา 2545 2550 2551 2552 2553 28.90 36.45 37.83 35.89 38.89 25.36 37.33 41.08 43.99 45.86 3.12 4.43 4.88 5.17 5.50 3.21 3.22 3.53 3.53 3.62 7.42 10.60 10.03 11.98 11.66 32.11 40.29 41.29 45.05 46.34 92.70 121.72 128.61 133.63 140.21
ปัจจุบัน 2554 41.87 47.26 5.65 3.68 11.38 47.52 145.98
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, กรกฎาคม 2554 ที่มา: สำนักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตร กรมการค้าภายใน
5
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
น้ำมันถั่วเหลือง เป็นน้ำมันพืชแข่งขันทางการค้ากับน้ำมันปาล์ม ปัจจุบันมีปริมาณ การผลิตเป็นอันดับ 2 รองจากน้ำมันปาล์ม หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ จีน สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา บราซิล กลุ่ม EU-27 อินเดีย อื่นๆ รวม
ผลผลิตน้ำมันถั่วเหลืองโลก ปี 2551/52 ปี 2552/53 7.325 8.726 8.503 8.897 5.914 6.476 6.120 6.470 2.350 2.280 1.287 1.340 4.394 4.704 35.893 38.893
ปี 2550/51 7.045 9.335 6.627 6.160 2.710 1.499 4.450 37.826
ปี 2553/54 9.857 8.659 7.415 6.890 2.443 1.690 4.918 41.872
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, กรกฎาคม 2554
1.2 แหล่งผลิตน้ำมันพืชโลก
น้ำมันปาล์ม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสกัดผลปาล์มน้ำมันซึ่งเป็นพืชน้ำมันยืนต้น อายุกว่า 25 ปี ปลูกมากแถบเอเชีย ได้แก่ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย น้ำมันถั่วเหลือง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสกัดเมล็ดถั่วเหลืองซึ่งเป็นพืชน้ำมันอายุสั้น ฤดูเดียว ปลูกมากแถบประเทศสหรัฐอเมริกา บราซิล อาร์เจนตินา และจีน (ประเทศไทยปลูกมาก ทางภาคเหนือ ปีละประมาณ 0.176 ล้านตัน)
หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ สหรัฐอเมริกา บราซิล อาร์เจนตินา จีน อินเดีย ปารากวัย อื่นๆ รวม
ผลผลิตถั่วเหลืองโลก ปี 2551/52 ปี 2552/53 80.749 91.417 57.800 69.000 32.000 54.500 15.540 14.980 9.100 9.700 4.000 7.200 12.771 10.041 211.960 260.838
ปี 2550/51 72.859 61.000 46.200 13.400 9.470 6.900 10.640 220.469
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, กรกฎาคม 2554 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
6
ปี 2553/54 90.610 74.500 49.500 15.200 9.600 8.300 15.983 263.693
2. น้ำมันปาล์มของโลก
2.1 แหล่งผลิตน้ำมันปาล์มโลก
มาเลเซีย และอินโดนีเซียเป็นแหล่งผลิตปาล์มน้ำมันใหญ่อันดับ 1 และ 2 ของโลก และ มีผลผลิตน้ำมันปาล์มมากกว่าไทยถึง 15-16 เท่าตัว
2.2 ผลผลิตน้ำมันปาล์มโลก
คาดว่าปี 2554 มีผลผลิตน้ำมันปาล์มของโลกรวม 47.26 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ กว่า 2 เท่าตัว จากอดีตเมื่อ 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2545) ที่มีผลผลิตรวมเพียง 25.36 ล้านตัน
ผลผลิตน้ำมันปาล์มโลก โคลัมเบีย 2% ไทย 3% ไนจีเรีย 3%
อื่นๆ 9% มาเลเซีย 47%
อื่นๆ 7%
โคลัมเบีย 2% ไทย 2% ไนจีเรีย 2%
ปี 2545
มาเลเซีย 37%
ปี 2554 อินโดนีเซีย 50%
อินโดนีเซีย 36%
หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย โคลัมเบีย ไนจีเรีย อื่นๆ รวม
10 ปีที่ผ่านมา 5 ปีที่ผ่านมา 2545 2550 9.20 16.60 11.86 15.29 0.78 1.17 0.52 0.81 0.76 0.76 2.24 2.70 25.36 37.33
3 ปีที่ผ่านมา 2551 18.00 17.57 1.05 0.78 0.82 2.86 41.08
2 ปีที่ผ่านมา 2552 20.50 17.26 1.54 0.80 0.85 3.05 43.99
ปีที่ผ่านมา 2553 22.00 17.76 1.35 0.77 0.85 3.13 45.86
ปัจจุบัน 2554 23.60 17.50 1.29 0.82 0.85 3.20 47.26
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, กรกฎาคม 2554
2.3 สมดุลน้ำมันปาล์มโลก
น้ำมันปาล์มเป็นสินค้าที่มีปริมาณการค้าระหว่างประเทศมากขึ้นกว่า 2.5 เท่าในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา โดยมาเลเซียเป็นทั้งผู้ผลิตและผู้ส่งออกน้ำมันปาล์มอันดับหนึ่งของโลก
7
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
หน่วย: ล้านตัน
ชนิด ผลผลิต นำเข้า ส่งออก บริโภค สต็อค
10 ปีที่ผ่านมา 5 ปีที่ผ่านมา ปี 2545 ปี 2550 25.360 37.329 16.930 26.740 17.640 27.538 24.920 35.984 2.580 4.710
3 ปีที่ผ่านมา ปี 2551 41.084 30.284 32.307 39.318 4.132
2 ปีที่ผ่านมา ปี 2552 43.992 33.664 34.795 42.108 4.885
ปีที่ผ่านมา ประมาณการ ปี 2553 ปี 2554 45.862 47.260 34.751 35.424 35.632 36.202 44.629 47.292 5.237 4.427
ที่มา: กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา, กรกฎาคม 2554
2.4 การส่งออกน้ำมันปาล์มของมาเลเซีย
มาเลเซียส่งออกปาล์มน้ำมันประมาณร้อยละ 90 ของผลผลิต โดยส่งออกกระจายไปทั่ว ทุกทวีป ผู้นำเข้ารายใหญ่ได้แก่ จีน อินเดีย ปากีสถาน และกลุ่มประเทศ EU เป็นต้น ประเทศ
จีน อินเดีย ปากีสถาน กลุ่ม EU 24 ปท. อื่นๆ รวม
ปี 2549 3.578 0.562 0.968 2.600 6.716 14.423
ปี 2550 3.840 0.512 1.070 2.063 6.262 13.747
ปี 2551 3.794 0.971 1.257 1.967 7.337 15.413
ปี 2552 4.027 1.354 1.769 1.892 6.838 15.881
ปี 2553 3.484 1.170 2.135 2.064 7.811 16.664
หน่วย: ล้านตัน
ปี 2554* 1.695 0.797 0.594 0.806 4.011 7.904
ที่มา: Malasian Plam Oil Board ปี 2554* เป็นตัวเลข 5 เดือน (ม.ค.-มิ.ย. 54)
2.5 ราคาตลาดโลก
น้ำมันปาล์มและน้ำมันถั่วเหลืองเป็นสินค้าที่ใช้ทดแทนกัน ดังนั้นราคาจะเคลื่อนไหวใน ทิศทางเดียวกันในช่วงที่น้ำมันปาล์มมีปริมาณตึงตัว ราคาจะเคลื่อนไหวสูงใกล้เคียงกัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
8
ราคาน้ำมันปาล์มตลาดมาเลเซีย & น้ำมันถั่วเหลืองตลาดชิคาโก
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ราคาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ตลาดมาเลเซีย (US$/ตัน) 2550 575 584 599 690 775 793 2551 1,057 1,183 1,334 1,280 1,273 1,242 2552 609 609 631 761 818 745 2553 780 788 817 819 805 796 2554 1,263 1,292 1,206 1,185 1,212 1,162 ราคาส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ตลาดมาเลเซีย (บาท/กก.) 2550 20.70 20.87 21.01 24.07 26.83 27.42 2551 35.07 38.64 41.98 40.42 40.85 41.19 2552 21.28 21.52 22.54 26.97 28.29 25.44 2553 25.77 26.12 26.58 26.45 26.07 25.83 2554 38.60 39.65 36.64 35.58 36.66 35.47 ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองตลาดชิคาโก (US$/ตัน) 2550 635 676 680 714 748 786 2551 1,143 1,307 1,315 1,292 1,330 1,414 2552 755 704 693 787 844 832 2553 839 840 871 868 833 822 2554 1,258 1,270 1,245 1,279 1,256 1,252 ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันถั่วเหลืองตลาดชิคาโก (บาท/กก.) 2550 22.91 24.26 23.91 25.00 25.99 27.16 2551 38.08 42.74 41.55 40.95 42.85 47.13 2552 26.48 24.93 24.89 28.01 29.40 28.51 2553 27.83 27.97 28.48 28.16 27.06 26.81 2554 38.95 35.42 37.97 38.67 38.15 38.35
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
807 1,160 659 808
794 319 735 921
817 777 688 927
878 943 949 587 521 535 683 715 769 990 1,101 1,208
27.20 28.87 22.45 26.11
27.14 30.90 25.01 29.27
28.00 26.66 23.28 28.58
29.98 20.18 22.82 29.66
พ.ย.
31.96 18.27 23.79 32.93
ธ.ค.
31.98 18.74 25.56 36.37
เฉลี่ย 767 989 702 897 1,220 26.43 32.65 24.08 28.31 37.10
819 797 853 880 988 1,027 800 1,377 1,164 1,042 808 729 680 1,133 753 812 750 799 855 866 788 834 897 930 1,033 1,124 1,206 925 1,260 27.67 46.30 25.75 27.09
27.34 39.53 25.75 29.07
9
29.31 35.86 25.46 28.78
30.17 27.92 26.80 31.11
33.60 25.65 28.57 33.70
34.75 23.94 28.91 26.40
27.64 37.71 27.12 29.37 37.86
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
3. ปาล์มน้ำมันของไทย
3.1 อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันทั้งระบบของไทย
ในระบบการค้าปาล์มน้ำมัน-น้ำมันปาล์ม ในอดีตประกอบด้วยผู้เกี่ยวข้องหลัก 3 ฝ่าย คือ 1. ชาวสวนปาล์มน้ำมัน 2. โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ 3. โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ ต่อมาเริ่มมีอีกฝ่ายหนึ่งเข้ามาเกี่ยวข้องในระบบการค้า คือ 4. โรงงานผลิตไบโอดีเซลเชิงพาณิชย์ ซึ่งเริ่มเป็นผู้ผลิตรายใหม่ที่ใช้น้ำมันปาล์มดิบในวัตถุดิบตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา
ระบบอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทย
ปาล์มน้ำมัน-น้ำมันปาล์มของไทย ณ ปัจจุบนั ยังเป็นอุตสาหกรรมเน้นหนักการแปรรูปเป็น “น้ำมันพืช” และในระบบการค้าน้ำมันพืชมีการผลิตน้ำมันพืชหลายชนิด ได้แก่ น้ำมันปาล์ม น้ำมัน ถั่วเหลือง น้ำมันเมล็ดในปาล์ม น้ำมันมะพร้าว น้ำมันทานตะวัน และน้ำมันรำข้าว ซึ่งทั้งระบบ มีปริมาณน้ำมันปาล์มในสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 66 ตั้งแต่ปี 2550 ซึ่งน้ำมันปาล์มจำแนกได้เป็น 2 ชนิด 1. น้ำมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil) สกัดได้จากส่วนเปลือกสดของผลปาล์มน้ำมัน และ 2. น้ำมันเมล็ดในปาล์ม (Crude Palm Kernel Oil) สกัดได้จากเมล็ดในของผลปาล์มน้ำมัน น้ำมันปาล์มสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย และแบ่งกลุ่มการนำไปใช้ประโยชน์ได้ดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
10
อุ ต สาหกรรมด้ า นอาหาร
โดยใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายประเภท ได้แก่ น้ำมันทอด น้ำมันปรุงอาหาร มาการีน วานาสปาติ ไอศครีม ครีมเทียม นมเทียม เนยขาว เนยโกโก้ ขนมเค้ก ขนมปัง ฯลฯ รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ ได้แก่ วิตามินอี วิตามินเอ ใช้ประโยชน์สำหรับการผลิตสินค้าอุปโภค โดยผ่าน กระบวนการทางเคมี ได้แก่ การทำกรดไขมันประเภทต่างๆ ทัง้ กรดไขมันอิม่ ตัว และกรดไขมันไม่อมิ่ ตัว เพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมมากมาย ได้แก่ กรดลอริก ใช้ทำเป็นเรซิน กรดปาล์มมิติก ใช้ในการ เลี้ยงเชื้อรา เพื่อสกัดเป็นยาปฏิชีวนะ เมื่อนำไปรวมกับกรดสเตียติคทำเทียนไข กรดโอเลอิก ใช้ใน อุตสาหกรรมเสื้อผ้า กรดสเตียริค ใช้ในการผลิตเครื่องสำอาง สบู่เด็ก บวกกับกรดลิโนเลอิก ใช้เป็น ยาฉีดสำหรับลดไขมันในเส้นเลือด อุตสาหกรรมโอลิโอเคมิคอล
การผลิ ต เมทธิ ล เอสเทอร์ เป็ น สารที่ ไ ด้ จ ากการทำ กระบวนการทางเคมี คือน้ำมันปาล์ม และเมทธิลอัลกอฮอล์ โดยใช้โซดาไฟเป็นตัวเร่ง ซึ่งมี สารที่สำคัญและมีมูลค่ามาก ได้แก่ กลีเซอรอล เมทธิลเอสเทอร์ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ หลากหลาย เช่น ด้านพลังงาน (ไบโอดีเซล) อุ ต สาหกรรมไบโอดี เ ซล
ระบบอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันของไทย
11
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
3.2 แหล่งผลิตปาล์มน้ำมันของไทย
การผลิตปาล์มน้ำมันของไทยเติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในระยะ 15 ปีทผี่ า่ นมา จากพืน้ ทีป่ ลูก 1.109 ล้านไร่ในปี 2540 เป็น 3.754 ล้านไร่ในปัจจุบัน หรือเพิ่มขึ้นเกือบ 4 เท่าตัว
แหล่งผลิตปาล์มน้ำมัน ปี 2554 จังหวัด รวมทั้งประเทศ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ 1. กระบี่ 2. สุราษฎร์ธานี 3. ชุมพร 4. ประจวบคีรีขันธ์ 5. นครศรีธรรมราช 6. ตรัง 7. สตูล 8. ชลบุรี 9. พังงา 10. ระนอง 11. ตราด 12. นราธิวาส 13. สงขลา 14. ระยอง 15. อุบลราชธานี 16. สระแก้ว 17. พัทลุง 18. ฉะเชิงเทรา 19. ปัตตานี 20. ยะลา 21. อื่นๆ 30 จังหวัด
เนื้อที่ให้ผล (ไร่) 3,753,740 3,302,590 396,910 45,860 8,380 935,330 950,550 731,960 185,590 182,870 114,290 108,680 79,760 105,420 71,310 67,370 36,260 27,640 18,050 13,070 12,010 12,170 14,030 14,000 10,960 62,420
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
12
ผลผลิต (ตัน) 9,119,720 8,124,490 944,470 44,900 5,860 2,533,800 2,317,170 1,887,000 432,050 294,990 279,330 244,000 217,170 211,890 165,640 164,110 79,470 60,120 52,930 22,050 20,250 19,390 18,950 15,470 14,450 69,490
ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 2,430 2,460 2,380 979 699 2,709 2,438 2,578 2,328 1,613 2,444 2,245 2,723 2,010 2,323 2,436 2,192 2,175 2,932 1,687 1,686 1,593 1,351 1,105 1,318 100-2,720
พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตรวม ผลผลิตต่อไร่ ปี 2540-2554 ปี 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554E
พื้นที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) 1.109 1.284 1.345 1.437 1.517 1.643 1.799 1.932 2.026 2.374 2.663 2.884 3.187 3.552 3.754
ผลผลิตรวม (ล้านตัน) 2.577 2.523 3.413 3.343 4.096 4.001 4.902 53182 5.003 6.715 6.389 9.270 8.162 8.223 9.120
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 2,323 1,964 2,537 2,325 2,699 2,434 2,725 2,682 2,469 2,828 2,399 3,214 2,561 2,315 2,430
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร: Eมิถุนายน 2554
ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ำมันของไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2541-54 มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยดังนี้
ต้นทุนการผลิตปาล์มน้ำมันของไทยปี 2541-2554 ปี ต้นทุนผันแปร (บาท/ไร่) ต้นทุนคงที่ (บาท/ไร่) 2541 2,605.69 1,478.06 2542 2,691.73 1,478.06 2543 2,517.07 1,478.06 2544 2,663.82 1,478.06 2545 2,580.82 696.88 2546 2,759.43 696.88 2547 2,676.80 700.23 2548 3,438.88 700.23 2549 3,626.41 700.23 2550 3,403.90 700.41 2551 5,899.87 947.83 2552 5,996.52 947.65 2553 5,730.61 1,135.47 2554E 6,166.57 1,192.94
ต้นทุนรวม (บาท/ไร่) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) ต้นทุนต่อ กก. (บาท) 4,083.75 2,185 2.08 4,169.79 2,819 1.64 3,995.13 2,325 1.72 4,141.88 2,699 1.53 3,277.79 2,434 1.35 3,456.31 2,725 1.27 3,377.03 2,682 1.26 4,139.11 2,469 1.68 4,326.64 2,828 1.53 4,404.31 2,399 1.84 6,847.70 3,214 2.13 6,944.17 2,561 2.71 6,866.08 2,315 2.97 7,359.51 2,430 3.03
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
13
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
3.3 ฤดูกาลและราคา
ฤดูกาล ปาล์มน้ำมันให้ผลผลิตเก็บเกีย่ วได้ตลอดปี มีชว่ งผลปาล์มออกสูต่ ลาดมาก 2 ช่วง คือ ต้นปี ราวเดือนมีนาคม-พฤษภาคม และปลายปี ราวเดือนกันยายน-พฤศจิกายน
ร้อยละผลผลิตปาล์มน้ำมันเก็บเกี่ยวรายเดือน ม.ค. 3.98
ก.พ. 5.72
มี.ค. 9.08
เม.ย. 9.73
พ.ค. 9.47
ปี 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. 9.03 8.84 8.09
หน่วย: ร้อยละ ปริมาณ: ล้านตัน
ก.ย. ต.ค. พ.ย. 9.26 10.46 9.42
ธ.ค. 6.92
รวม 100
0.363 0.522 0.828 0.887 0.864 0.824 0.806 0.738 0.844 0.954 0.859 0.631 3.120 ช่วงเดือนผลผลิตออกสู่ตลาด ช่วงเดือนผลผลิตออกมาก ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ราคา
ราคารับซื้อผลปาล์ม ณ ขณะใดขณะหนึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ
ได้แก่
ฤดูกาล
หรือปริมาณผลปาล์มที่เก็บเกี่ยวออกขาย ช่วงมีปริมาณมากขึ้น ราคา จะลดลง ช่วงปริมาณน้อยลง ราคาจะสูงขึ้น ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวตามฤดูกาล ราคาน้ำมันปาล์มดิบในประเทศทีซ่ อื้ ขายกันระหว่างโรงกลัน่ ฯ และโรงสกัดฯ รวมทัง้ โรงงานผลิตไบโอดีเซล ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลิต สต็อค และการจำหน่าย น้ำมันพืช ราคาน้ำมันปาล์มดิบและบริสุทธิ์ตลาดมาเลเซีย ซึ่งมีผลต่อการกำหนดราคา น้ำมันปาล์มดิบในประเทศอย่างมาก คุณภาพปาล์ม เป็นปัจจัยสำคัญมากอีกประการหนึ่ง ซึ่งขึ้นอยู่กับพันธุ์ที่ใช้ปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
ดังนี้ เกษตรกร หรือผูร้ บั จ้าง ต้อง 1) ตัดทะลายปาล์มน้ำมันที่สุกพอดี คือทะลายปาล์มเริ่มมีผลร่วง ต้องไม่ตัดปาล์มดิบ เพราะ ในผลปาล์มดิบยังมีสภาพเป็นน้ำและแป้งอยู่ ยังไม่แปรสภาพเป็นน้ำมัน ส่วนทะลายที่สุกเกินไปจะมี กรดไขมันอิสระ และผลปาล์มสดอาจมีสารบางชนิดอยู่ อาจเป็นอันตรายกับผู้บริโภคได้ 2) รอบ ของการเก็บเกี่ยวในช่วงผลปาล์มออกชุก ควรจะอยู่ในช่วง 7-10 วัน 3) ผลปาล์มลูกร่วงที่บริเวณ โคนปาล์มน้ำมันและที่ค้างในกาบต้น ควรเก็บออกมาให้หมด 4) ก้านทะลายควรตัดให้สั้น โดย ต้องให้ติดกับทะลาย 5) พยายามให้ทะลายปาล์มชอกช้ำน้อยที่สุด ลานเทผู้รับซื้อผลปาล์ม ข้อควรปฏิบต ั ใิ นการเก็บเกีย่ วทะลายปาล์มน้ำมัน
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
14
จะต้องไม่หมักผลปาล์มให้ร่วงหลุดจากทะลาย ไม่ฉีดน้ำรดปาล์มให้มากเกินควร ไม่แยกขายลูกร่วง และไม่ใส่ทะลายเปล่า โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบจะต้องร่วมมือกันรับซื้อผลปาล์มที่มีคุณภาพ ไม่ต่ำกว่า 17% โดยรับซื้อตามคุณภาพที่แท้จริง และให้ราคาอย่างเป็นธรรม เพื่อเป็นการผลักดัน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลผลิต การกำหนดเกณฑ์คณ ุ ภาพมาตรฐานทางการค้าของผลปาล์มสดทะลาย
ทีโ่ รงงาน
สกัดรับซื้อผลปาล์มของแต่ละรายมีแตกต่างกัน แต่สามารถสรุปได้ดังนี้ รายการ 1. ความสด 2. ความสุก 3. ความสมบูรณ์ 4. ความบอบช้ำ 5. ทะลายเป็นโรค 6. ทะลายสัตว์กิน 7. สิ่งเจือปน 8. ทะลายเปล่า 9. ก้านทะลาย
เกณฑ์คุณภาพมาตรฐานทางการค้า ผลปาล์มสดที่ตัดส่งถึงโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มภายใน 24 ชั่วโมง ทะลายปาล์มน้ำมันที่สุก ได้มาตรฐานคือ มีสีแดงส้ม ลูกปาล์มชั้นนอกสุดของทะลายที่ร่วงหลุดจาก ทะลายประมาณ 10 ผล ลูกปาล์มน้ำมันมีจำนวนเต็มทะลาย และเห็นได้ชัดว่าได้รับการบำรุงรักษาอย่างดี ไม่มีทะลายที่มีความบอบช้ำ และเสียหายอย่างรุนแรง ไม่มีทะลายเป็นโรคใดๆ หรือเน่าเสีย ไม่มีทะลายที่มีรอยสัตว์กัดกิน หรือทำความเสียหายแก่ลูกปาล์ม ไม่มีสิ่งสกปรกใดๆ เจือปน เช่น หิน ดิน ทราย โคลน กาบหุ้มทะลาย ฯลฯ ไม่มีทะลายเปล่าผสม และเจือปนมา ความยาวของก้านทะลาย ยาวไม่เกิน 2 นิ้ว หรือ 5 ซม.
การจัดการคุณภาพผลปาล์มที่ดีจะเป็นผลดีต่อระบบการค้าน้ำมันปาล์มของประเทศ
ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยน้ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้จะมีคุณภาพได้มาตรฐาน สามารถเก็บ รักษาไว้ได้นานขึ้น ปริมาณน้ำมันที่สกัดได้มีมากขึ้น สามารถสร้างมูลค่าให้ระบบเศรษฐกิจของ ประเทศมากขึ้น และโรงงานกลั่นฯ สามารถลดต้นทุนในการกลั่นน้อยลงได้ ซึ่งทางการค้ามีเกณฑ์ คุณภาพมาตรฐานน้ำมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil) ไว้ดังนี้ รายการ 1. คุณสมบัติกายภาพ Appearance 2. ความชื้น & ความบริสุทธิ์ Moisture & Impurity (M&I) 3. กรดไขมันอิสระ Free fatty acid (FFA) 4. ค่าไอโอดีน Iodine value (IV)
คุณภาพมาตรฐานทางการค้า ของเหลวสีส้ม/สีแดงอมส้ม หรือกึ่งแข็ง ณ อุณหภูมิปกติ ไม่เกิน 0.58% ไม่เกิน 0.5% ไม่ต่ำกว่า 50 meq/g.
15
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
3.4 แหล่งแปรรูป (โรงงานสกัดฯ/โรงงานกลั่นฯ/โรงงานผลิตไบโอดีเซล)
เกษตรกรเจ้าของสวนปาล์ม หรือลานเทผู้รับซื้อ ต้องนำส่งผลปาล์มทั้งหมดถึงโรงงาน สกัดน้ำมันปาล์มดิบโดยเร็ว (ไม่ควรเกิน 1½ วันหลังการเก็บเกี่ยว) เพื่อการสกัดน้ำมันปาล์มดิบ ทีไ่ ด้คณ ุ ภาพและปริมาณทีม่ ากขึน้ ซึง่ ข้อจำกัดทีไ่ ม่สามารถชะลอการจำหน่ายผลปาล์มได้ จะเป็นเหตุ ให้ผู้ซื้อกำหนดราคารับซื้อผลปาล์มต่ำลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่ผลปาล์มทะลักออกสู่ตลาดพร้อมกัน จำนวนมาก โรงงานสกัดน้ำมันปาล์มดิบ ปัจจุบันเป็นแบบสกัดน้ำมันปาล์มดิบจากเปลือกผลปาล์ม เกือบทั้งหมด ซึ่งมีประมาณ 76 บริษัท (80 โรงงาน) ตั้งอยู่ในพื้นที่ปลูกปาล์ม มีกำลังการผลิต รวมประมาณปีละ 10-12 ล้านตันผลปาล์มทะลาย มากกว่าปริมาณวัตถุดิบผลปาล์มที่ผลิตได้ ประมาณปีละ 8-9 ล้านตันในปัจจุบัน
ขั้นตอนการแปรรูปและการใช้น้ำมันปาล์มในประเทศ
น้ำมันปาล์มดิบทีโ่ รงงานสกัดฯ
ผลิตได้ในแต่ละเดือน ส่วนใหญ่จำหน่ายให้กบั โรงงาน กลั่นฯ ซึ่งปัจจุบันมีประมาณ 17 บริษัท (17 โรงงาน) เพื่อกลั่นเป็นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์สำหรับ บริโภค และบางส่วนจำหน่ายให้กับโรงงานผลิตไบโอดีเซลที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล (บี 100) บางช่วงปริมาณน้ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้มีมากเกินความต้องการใช้ อีกทั้งได้รับปัจจัยบวก จากราคาตลาดมาเลเซียที่อยู่ระดับสูงกว่า หรือใกล้เคียง โรงงานสกัดฯ จะระบายส่วนเกินด้วยการ ส่งออกไปต่างประเทศอีกทางหนึ่ง ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
16
ปริมาณการใช้น้ำมันพืช
ได้เพิ่มขึ้นจากอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับผลิต กระแสไฟฟ้าและในอุตสาหกรรมผลิตน้ำมันไบโอดีเซล (แต่ยังไม่เต็มที่ เนื่องจากปริมาณวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิตไม่สม่ำเสมอ และราคาน้ำมันพืชอยูใ่ นระดับสูง) รวมทัง้ การบังคับให้ผสมน้ำมันไบโอดีเซล ในน้ำมันดีเซล นั่นคืออนาคตการเติบโตของการใช้ไบโอดีเซลไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านราคาเพียง อย่างเดียว การนำน้ำมันปาล์มดิบ
น้ำมันปาล์มกึ่งบริสุทธิ์ (RBD PO) และไขปาล์ม เพื่อไปใช้ ผลิตไบโอดีเซลเป็นพลังงานทดแทนมากขึน้ ตามแผนการส่งเสริมให้มกี ารใช้นำ้ มันปาล์มทีผ่ ลิตภายใน ประเทศ ปัจจุบันมีผู้ผลิตที่ได้คุณภาพตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงาน จำนวน 15 ราย การจัดเก็บน้ำมันปาล์มดิบของโรงงานสกัดฯ
หลายรายจะฝากเก็บรักษาไว้ที่คลัง รับฝากสาธารณะ ณ จ. สุราษฎร์ธานี และ จ. ฉะเชิงเทรา เพื่อความสะดวกในการจัดส่งสินค้าให้กับ โรงงานกลั่นฯ และส่งออกต่างประเทศ
โรงงานสกัดฯ โรงงานกลั่นน้ำมันปาล์ม และโรงงานผลิตไบโอดีเซล (B100) จังหวัด กระบี่ สุราษฎร์ธานี ชุมพร ตรัง สตูล ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี ระนอง สงขลา นครศรีธรรมราช พังงา ปทุมธานี เพชรบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา นครปฐม หนองคาย ปราจีนบุรี อยุธยา สระบุรี เชียงราย ระยอง รวมทั้งประเทศ
โรงสักดฯ 20 16 21 4 5 4 2 1 3 2 1 1 80
โรงกลั่นฯ 1 2 1 1 1 6 3 1 1 17
คลังรับฝาก 1 1 2
17
โรงผลิต B100 1 1 1 1 1 2 1 3 1 1 2 15
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
3.5 ปริมาณการผลิตและความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบ ปริมาณการผลิตน้ำมันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้มเพิม ่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง
แต่ปริมาณ
แต่ละเดือนไม่สม่ำเสมอ อาจทำให้เกิด: ผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้ไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ ต้องนำเข้าจากต่างประเทศเพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลน โดยนำเข้าจากประเทศมาเลเซียในรูปน้ำมัน ปาล์มดิบชนิด Crude Palm Olein ปั ญ หาผลผลิ ต ตึ ง ตั ว
ผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้เกินความต้องการใช้ ต้องระบาย ส่วนเกินไปต่างประเทศ การส่งออกมีทั้งน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ โดยส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และน้ำมันปาล์มดิบซึ่งเป็นส่วนเกินที่อุตสาหกรรมน้ำมันพืชรับซื้อได้ไม่หมด ผู้ผลิตที่เป็นโรงสกัดฯ ก็จะส่งออกไปยังมาเลเซีย อินเดีย โดยไม่ได้มกี ารแปรรูปเพิม่ มูลค่าในประเทศ หรือกำหนดมาตรการ ให้ผสมน้ำมันไบโอดีเซลในน้ำมันดีเซลให้เพิ่มมากขึ้น ปัญหาผลผลิตล้นตลาด
การใช้ น้ ำ มั น ปาล์ ม ดิ บ ในประเทศเพื่ อ การบริ โ ภคและอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ ง
มี ปริมาณเพิม่ สูงขึน้ ในแต่ละปี เนือ่ งจากน้ำมันปาล์มเป็นน้ำมันพืชทีม่ คี วามได้เปรียบด้านราคาจำหน่าย เมื่อเทียบกับน้ำมันพืชอื่น (ราคาถูกกว่าน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันรำข้าว น้ำมันทานตะวัน) โดยเฉพาะ ในปีทมี่ ปี ริมาณผลผลิตมากและราคาต่ำ จะจูงใจให้มกี ารบริโภคมากด้วย อีกทัง้ อุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง เช่น บะหมี่สำเร็จรูป ขนมทอดกรอบ ไอศครีม ฯลฯ มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง
ปริมาณการผลิตและการใช้น้ำมันปาล์มดิบในประเทศ ปี 2546-2554 ปี 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554E
ผลปาล์ม 4,858,596 4,663,872 4,415,938 6,518,380 6,194,554 9,253,549 8,021,495 7,936,743 9,219,049
ผลผลิต
น้ำมันปาล์มดิบ 863,836 820,838 783,953 1,167,126 1,051,089 1,543,761 1,345,245 1,287,510 1,546,056
การใช้น้ำมันปาล์มดิบในประเทศ บริโภค+อุตฯ อื่นๆ ไบโอดีเซล 670,388 714,546 744,672 905,408 809,175 1,005,528 269,781 785,770 370,776 814,508 382,228 849,862 343,885
ที่มา: โรงงานสกัดฯ แจ้งปริมาณการผลิตเป็นรายเดือน, กรมการค้าภายใน กรกฎาคม 2554 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
18
หน่วย: ตัน
3.6 การนำเข้า
การนำเข้าน้ำมันปาล์มจะต้องขออนุญาต เนื่องจากภาครัฐมีการจัดระบบการนำเข้า อย่างรัดกุม ทั้งด้านปริมาณ ชนิด ผู้นำเข้า และช่วงระยะเวลา เพื่อลดผลกระทบในทางลบต่อ เกษตรกรผู้ปลูกปาล์ม และอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในภาพรวม โดยให้ อคส. เป็นผู้นำเข้า ทั้งภายใต้ WTO และ AFTA โดยการกำกับดูแลของคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ ซึ่งจะให้นำเข้าเฉพาะกรณีจำเป็น (ขาดแคลนน้ำมันปาล์มบริโภค) ถึงแม้จะมีผลผลิตเกินความต้องการใช้ในประเทศ แต่ผู้ประกอบการมีการนำเข้าเพื่อ ส่งออกจำนวนมากในช่วงปี 2546-48 โดยอาศัยช่องว่างของกฎหมาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ กฎหมายศุลกากร และกฎหมายการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ใช้สิทธิพิเศษในการนำเข้า โดยการยกเว้นภาษีนำเข้า และให้คืนภาษีนำเข้าภายหลังการส่งออก จึงมีผู้ค้านอกระบบใช้ประโยชน์ จากช่องว่างดังกล่าว นำเข้าน้ำมันปาล์มของมาเลเซียที่มีราคาถูกกว่าของไทย ซึ่งสร้างผลกระทบ ให้กับเกษตรกรและอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในประเทศทั้งระบบ
ปริมาณการนำเข้าน้ำมันปาล์มดิบและบริสุทธิ์ของไทย ปี 2546-2554 ปี 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 (ม.ค.-พ.ค.)
น้ำมันดิบ (1) 2 12 97 28,541 37 17 59,763
น้ำมันบริสุทธิ์ (2) 9,714 74,767 18,930 1,302 1,310 1,144 1,254 1,081 1,971
ดิบ+บริสุทธิ์ (3) 9,716 74,767 18,930 1,314 1,407 29,685 1,291 1,098 61,764
หน่วย: ตัน
การนำเข้าโดยผู้ผลิตในระบบ 83,531 24,595 311 35,481 59,668
ที่มา: (1) (2) (3) จากกรมศุลกากร การนำเข้าโดยผู้ผลิต: จากการแจ้งปริมาณของผู้ผลิตโดยคิดในรูปน้ำมันปาล์มดิบ
จากข้อเท็จจริงที่น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ของมาเลเซียมีราคาถูกกว่าของไทยค่อนข้างมาก ยังจูงใจผู้ค้านอกระบบทำการค้าน้ำมันปาล์มจากมาเลเซียโดยไม่ถูกต้องอีกหลายวิธี ได้แก่ การ ลักลอบนำเข้า การนำเข้าโดยปรุงแต่งน้ำมันปาล์มด้วยสารเคมีเพื่อหลีกเลี่ยงภาษีนำเข้า รวมทั้ง ทำการขนผ่านแดนประเทศไทยไปยังประเทศที่สาม (ถ่ายลำ)
19
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
เปรียบเทียบราคาน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ของไทย & มาเลเซีย
3.7 การส่งออก
ไทยสามารถส่ ง ออกน้ ำ มั น ปาล์ ม ของไทยไปยั ง ตลาดต่ า งประเทศได้ เ สรี ปริ ม าณ การส่งออกทั้งน้ำมันปาล์มดิบ และบริสุทธิ์แตกต่างกันแต่ละปี ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ (ปริมาณ ผลผลิตราคาในประเทศและในต่างประเทศ) หากปริมาณผลผลิตในประเทศมีมากและราคาต่ำ หรือราคาในต่างประเทศสูงกว่า ก็จะจูงใจให้มีการส่งออกมาก ตลาดที่ส่งออกน้ำมันปาล์มดิบ ได้แก่ มาเลเซีย และอินเดีย และตลาดส่งออกน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ ได้แก่ พม่า ลาว และกัมพูชา เป็นต้น
ปริมาณการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและบริสุทธิ์ของไทย ปี 2546-2554 ปี 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 (ม.ค.-พ.ค.)
น้ำมันดิบ (1) 76,667 3,014 163,180 221,826 288,222 67,292 66,001 20,899
น้ำมันบริสุทธิ์ (2) 61,170 121,259 81,057 41,929 61,239 72,119 46,551 55,328 11,037
ดิบ+บริสุทธิ์ (3) การส่งออกน้ำมันปาล์มในประเทศ 137,837 160,946 124,273 144,815 81,057 95,507 205,109 211,175 293,945 317,520 360,341 432,314 113,843 161,128 121,329 158,506 31,936 39,455
ที่มา: (1) (2) (3) จากกรมศุลกากร การส่งออกโดยผู้ผลิต: จากการแจ้งปริมาณของผู้ผลิตโดยคิดในรูปน้ำมันปาล์มดิบ ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
20
หน่วย: ตัน
4. นโยบายและมาตรการของรัฐ
4.1 ด้านการตลาด
(1) มาตรการจัดระบบการค้าในประเทศ ในอดีต ไทยผลิตน้ำมันปาล์มได้ไม่เพียงพอ และมีปัญหาการลักลอบนำเข้าจำนวนมาก จึงอาศัยอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยราคาสินค้าและ บริการมากำหนดมาตรการเพื่อดูแลเกษตรกรให้ได้รับราคาขายผลปาล์มที่เหมาะสมสอดคล้องกับ ราคาน้ำมันปาล์มดิบ ดังนี้
ควบคุมการขนย้ายน้ำมันปาล์มตัง้ แต่ปี
2528 โดยผูป้ ระสงค์จะขนย้ายน้ำมันปาล์ม ตัง้ แต่ 25 กิโลกรัมขึน้ ไป จะต้องได้รบั หนังสืออนุญาตการขนย้ายตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนด กำหนดให้ผผู้ ลิตน้ำมันปาล์มทัง้ โรงงานสกัด และโรงงานกลัน่ แจ้งปริมาณการรับซือ้ การผลิต การจำหน่าย สต็อคคงเหลือ และสถานทีเ่ ก็บ เป็นประจำทุกเดือน ตัง้ แต่ ปี 2532 กำหนดให้ผู้รับซื้อปิดป้ายแสดงราคารับซื้อผลปาล์มตามคุณภาพ (% น้ำมัน) ออกตรวจสอบเครื่องชั่งและการปิดป้ายราคาของผู้รับซื้อเป็นประจำ
(2) มาตรการการแทรกแซงตลาด หากปริมาณผลผลิตปาล์มภายในประเทศมีมาก เกินความต้องการใช้จำนวนมาก เกิดปัญหาราคาผลปาล์มตกต่ำอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลอาจต้องเข้า แทรกแซงตลาดเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร โดยให้ อคส. รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบจากโรงสกัด และให้ โรงสกัดรับซื้อผลปาล์มทะลายจากเกษตรกรในราคาที่กำหนด ซึ่งจะดำเนินการกรณีจำเป็นเท่านั้น เพราะการแทรกแซงตลาดเกิดผลดีกบั เกษตรกรเฉพาะกลุม่ แต่มภี าระงบประมาณจำนวนมาก อีกทัง้ กลไกตลาดเกิดการบิดเบือน ไม่เป็นผลดีต่อระบบการค้าทั้งระบบ (3) มาตรการจัดระบบการค้า สืบเนื่องจากการอาศัยช่องว่างของกฎหมายศุลกากร และกฎหมายการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีการนำเข้าเพื่อส่งออก (ถ่ายลำ) กระทรวง พาณิชย์ได้ใช้มาตรการแก้ไขปัญหาการตลาดปาล์มน้ำมันอย่างเป็นระบบ โดยวางระบบการค้าใน ประเทศและระบบการนำเข้าให้รัดกุมเหมาะสมยิ่งขึ้น (4) มาตรการรักษาเสถียรภาพราคา น้ำมันพืชบริโภค ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะอนุกรรมการพิจารณากำหนดราคาน้ำมันพืชบริโภค เพือ่ ดูแลผูบ้ ริโภคและค่าครองชีพให้สอดคล้อง เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวม
4.2 ด้านพลังงาน
กระทรวงพลังงานมีนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนเพื่อทดแทนการนำเข้า น้ำมันดิบจากต่างประเทศที่ไทยต้องสูญเสียเงินตราในราคานำเข้าที่แพง ในส่วนของดีเซลได้เร่ง ส่งเสริมการผลิตไบโอดีเซลเพื่อให้ผู้ค้าผสมกับดีเซลจำหน่าย ซึ่งเน้นหนักการใช้น้ำมันปาล์มดิบเป็น
21
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
วัตถุดิบ โดยใช้มาตรการบังคับในการส่งเสริมโดยให้ผู้ค้าน้ำมันจำหน่ายดีเซลที่มีการผสมไบโอดีเซล การบังคับผสมในน้ำมันดีเซลสอดคล้องกับปริมาณผลผลิตน้ำมันปาล์มและกำหนดสูตรโครงสร้าง ราคา B100
4.3 การค้าระหว่างประเทศ
(1) การส่งออก กระทรวงพาณิชย์ให้ส่งออกน้ำมันปาล์มและน้ำมันเมล็ดในปาล์มได้โดย เสรี เพื่อส่งเสริมการส่งออกผลผลิตในประเทศ แต่หากช่วงใดเกิดปัญหาน้ำมันปาล์มขาดแคลน จะกำหนดให้มมี าตรการเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษ เช่น ช่วงปี 2541-2542 กำหนดให้นำ้ มันปาล์มดิบ เป็นสินค้าทีต่ อ้ งเสียค่าธรรมเนียมพิเศษในการส่งออกเป็นการชัว่ คราว ในอัตราร้อยละ 10 ของราคา ส่งออก F.O.B. (2) การนำเข้า กระทรวงพาณิชย์มมี าตรการควบคุมการนำเข้าน้ำมันปาล์มเพือ่ คุม้ ครอง เกษตรกรและผู้ผลิตภายในประเทศตั้งแต่ปี 2525 ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการนำ สินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร ฉบับที่ 19 (พ.ศ. 2525) และปัจจุบันมีผลบังคับใช้ตามประกาศ ฉบับที่ 69 (พ.ศ. 2532) (3) การเปิดตลาดภายใต้ WTO: เนือ่ งจากกฎเกณฑ์การค้าของโลกกำหนดให้เปิดตลาด สินค้าควบคุมการนำเข้า เป็นผลให้ไทยต้องเปิดตลาดนำเข้าน้ำมันปาล์มภายใต้ WTO ตัง้ แต่ปี 2538 แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ในโควตา (กำหนดปริมาณ และภาษี 20%) และนอกโควตา (ไม่จำกัดปริมาณ โดยมีภาษีสงู ที่ 143% ตัง้ แต่ปี 2547) มีคณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติเป็นผูพ้ จิ ารณา โดยการนำเข้าในโควตาให้ (อคส. เป็น ผู้นำเข้า) (4) การเปิดตลาดภายใต้ AFTA: ตามข้ อ ตกลงเขตการค้ า เสรี อาเซียน (AFTA) ไทยต้องปฏิบัติตาม ข้ อ ตกลงการเปิ ด ตลาดนำเข้ า ปาล์ ม น้ำมันในปี 2554 ไม่เสียภาษีนำเข้า (ร้อยละ 0)
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
22
(5) มาตรการบริหารการนำเข้า เนื่องจากข้อตกลงภายใต้ AFTA ให้ยกเลิกมาตรการ ที่มิใช่ภาษี และเกิดการนำเข้าเพื่อส่งออก ได้ส่งผลกระทบต่อราคาผลปาล์มและการค้าน้ำมันปาล์ม ในประเทศ กระทรวงพาณิชย์โดยคณะกรรมการแก้ไขปัญหาปาล์มน้ำมันอย่างเป็นระบบและความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2547 ได้กำหนดมาตรการการนำเข้าอย่าง รัดกุมเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันภายในประเทศ โดย
การนำเข้าภายใต้
AFTA กำหนดให้องค์การคลังสินค้าเป็นผู้นำเข้า การนำเข้าเพื่อส่งออก (นอกโควตา ภายใต้ WTO) กำหนดให้ผู้นำเข้ารับซื้อผล ผลิตภายในประเทศเพื่อส่งออกด้วย 1 ส่วน และต้องส่งออกรวม 2 ส่วนภายใน 30 วัน
ภาคผนวก
ผลผลิต ความต้องการใช้และสต็อคน้ำมันปาล์มดิบของไทย ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. 1. ผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบ 2549 38,557 70,974 117,322 127,328 127,967 95,313 89,922 101,715 106,503 114,103 2550 77,428 75,664 89,388 80,373 83,688 76,056 81,829 98,494 102,783 107,954 2551 89,691 118,310 152,272 138,354 171,915 151,842 148,506 137,372 138,394 121,839 2552 85,915 90,817 127,638 131,876 124,476 111,007 116,181 126,533 137,276 129,899 2553 95,083 118,567 144,809 130,154 137,485 127,236 126,220 112,454 98,838 84,531 2554 53,128 77,430 133,118 145,021 175,830 2. ปริมาณการใช้ในประเทศ บริโภค-อุตสาหกรรม (ไม่รวมการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและบริสุทธิ์) 2549 67,525 58,642 57,414 69,273 86,626 73,393 85,417 90,645 74,364 89,195 2550 67,323 57,294 71,200 64,042 67,646 58,181 57,681 73,135 65,554 76,537 2551 74,037 71,613 70,217 72,819 62,635 76,965 73,557 72,954 64,683 60,950 2552 70,634 49,053 69,853 79,902 53,536 61,166 60,763 63,783 60,318 72,392 2553 64,545 55,959 89,885 68,743 73,624 68,746 78,116 76,002 59,107 84,516 2554 31,770 51,761 76,613 90,317 74,401 3. ปริมาณสต็อคทั้งหมด (น้ำมันปาล์มดิบ บริสุทธิ์ กึ่งบริสุทธิ์) ในรูปน้ำมันปาล์มดิบ 2549 79,581 87,909 144,196 195,296 232,683 246,755 232,755 226,535 230,609 211,806 2550 141,728 135,194 117,931 94,764 98,489 108,646 126,480 113,229 121,534 102,778 2551 79,795 127,659 151,937 149,100 162,563 168,432 176,685 172,233 167,093 170,677 2552 88,133 102,625 130,047 144,987 154,176 155,702 167,113 189,414 222,972 210,401 2553 131,937 158,515 168,506 191,141 212,924 228,200 233,699 219,760 193,036 142,075 2554 79,420 75,408 139,371 156,318 213,781
หน่วย: ตันน้ำมันปาล์มดิบ
พ.ย.
ธ.ค.
รวม
97,792 99,815 92,203 91,371 62,524
79,629 1,167,126 79,629 1,053,101 83,063 1,543,761 72,257 1,345,245 49,608 1,287,510 584,528
87,472 78,389 89,559 78,321 54,034
65,442 78,000 68,124 66,050 41,232
180,217 101,238 127,337 166,622 110,367
164,522 83,303 107,947 135,518 67,787
905,408 814,982 858,115 785,770 814,508 324,862
ที่มา: โรงงานสกัดฯ และโรงกลั่นน้ำมันปาล์ม แจ้งตามประกาศคณะกรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
23
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
24
ปี ม.ค. ก.พ. มี.ค. 1. ผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบ (Crude Palm Oil) 2549 936,592 1,051,904 1,243,204 2550 1,115,340 989,681 1,080,853 2551 1,424,244 1,227,969 1,294,710 2552 1,330,195 1,187,381 1,275,822 2553 1,321,244 1,156,814 1,387,234 2554 1,057,961 1,094,339 1,416,403 2. ปริมาณส่งออกน้ำมันปาล์ม (Palm Oil) 2549 973,298 938,666 1,184,145 2550 957,874 809,533 1,055,799 2551 1,040,983 1,065,151 1,244,033 2552 1,355,460 1,258,535 1,260,805 2553 1,461,796 1,295,438 1,396,988 2554 1,218,646 1,114,593 1,235,261 3. ปริมาณสต็อคน้ำมันปาล์ม (Palm Oil) 2549 1,539,796 1,645,637 1,586,070 2550 1,474,373 1,494,377 1,337,132 2551 1,872,780 1,927,549 1,824,453 2552 1,832,907 1,565,592 1,365,615 2553 2,004,006 1,790,242 1,657,559 2554 1,418,663 1,481,410 1,614,466 1,171,616 1,152,505 1,200,490 1,229,000 1,372,737 1,406,321 1,573,407 1,117,603 1,913,360 1,371,038 1,563,768 1,923,003
1,518,594 1,190,029 1,789,799 1,292,202 1,622,603 1,671,108
1,391,347 1,201,255 1,457,878 1,395,275 1,385,854 1,741,827
1,310,806 1,125,726 1,327,591 1,281,852 1,306,228 1,529,985 1,238,356 1,120,657 1,259,884 1,193,533 1,295,161 1,344,680
พ.ค.
เม.ย.
1,645,865 1,200,010 2,033,914 1,410,222 1,454,517 2,052,870
1,101,276 947,679 1,120,654 1,279,720 1,443,750 1,581,268
1,328,397 1,166,184 1,468,921 1,447,926 1,419,856 1,753,203
มิ.ย.
1,580,318 1,307,332 1,977,397 1,332,742 1,409,252
1,237,714 1,110,088 1,403,570 1,458,649 1,459,881
1,375,061 1,356,955 1,560,215 1,492,958 1,518,896
ก.ค.
1,684,046 1,452,097 1,848,788 1,416,449 1,709,735
1,311,839 1,244,620 1,467,817 1,317,679 1,211,340
1,537,236 1,559,362 1,600,214 1,496,073 1,606,420
ส.ค.
1,799,200 1,462,939 1,951,399 1,579,299 1,713,926
1,308,067 1,394,985 1,296,746 1,323,019 1,468,840
1,609,939 1,602,065 1,579,442 1,557,764 1,562,912
ก.ย.
ผลผลิต ส่งออกและสต็อคน้ำมันปาล์มของมาเลเซีย
1,593,435 1,557,782 2,091,407 1,974,526 1,796,036
1,432,285 1,334,965 1,335,577 1,478,485 1,460,663
1,400,136 1,579,809 1,652,071 1,984,036 1,636,486
ต.ค.
1,674,732 1,810,272 2,266,156 1,934,613 1,637,164
1,305,330 1,241,016 1,362,886 1,501,506 1,506,266
1,551,684 1,605,004 1,658,417 1,595,592 1,459,021
พ.ย.
1,506,035 1,682,587 1,994,710 2,239,257 1,616,237
1,217,341 1,356,710 1,614,720 1,224,353 1,291,207
1,144,079 1,396,134 1,482,769 1,520,063 1,232,752
ธ.ค.
14,419,933 13,726,431 15,412,511 15,880,744 16,664,067 7,900,769
15,880,385 15,823,368 17,734,441 17,564,937 16,993,717 8,593,718
รวม
หน่วย: ตัน
25
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
อัตราการฟักออกมักสูญเสียไป
เนื่องจากมองข้ามการจัดเก็บไข่ ในฟาร์ม บทนำ อุตสากหรรมปศุสัตว์ประกอบด้วยส่วน งานต่างๆ หลายส่วน ซึ่งแต่ละส่วนก็มีความ สำคัญแตกต่างกัน ส่วนงานที่สำคัญที่สุด ได้แก่ โรงฟักไข่ ฟาร์มไก่พ่อแม่พันธุ์ ฟาร์มไก่กระทง โรงงานอาหารสัตว์ และโรงงานแปรรูปเนื้อสัตว์ โดยแต่ละส่วนจะต้องมีการบริหารจัดการและ ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ให้เกิดผลประโยชน์ และการพัฒนาขึ้นในส่วนงานอื่นๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม ยังมีส่วนงานอื่นๆ ที่มัก ถู ก ละเลย ซึ่ ง สามารถทำให้ เ กิ ด ผลกระทบ ใหญ่หลวงต่อผลการดำเนินงานโดยรวม โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง การเก็ บ ไข่ ฟั ก และการขนส่ ง ลูกไก่อายุหนึ่งวัน หากมีการจัดการที่ผิดพลาด เกิดขึ้นในสองส่วนงานดังกล่าว จะสร้างความ เสียหายกับไข่ฟกั หรือคุณภาพของลูกไก่ ซึง่ ทำให้ ผลของเงินลงทุนทีล่ งไปและการปรับปรุงทีท่ ำขึน้ ยังฟาร์มไก่พ่อแม่พันธุ์ หรือโรงฟักไข่สูญเปล่า ไข่ที่จะฟักเป็นพ่อแม่พันธุ์ไก่กระทง โดย ทั่วไปจะเก็บอยู่ในสถานที่จัดเก็บภายในฟาร์ม ไก่พ่อแม่พันธุ์ตั้งแต่หนึ่งถึงสี่วัน และเก็บอีกครั้ง ในโรงฟักไข่จนกระทั่งถูกนำไปใส่ในตู้ฟัก เมื่อ ที่มา: ฟีด แอนด์ ไลฟสต็อค ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
26
แม่ไก่ออกไข่ ไข่ซึ่งได้รับการผสมทันทีหลังการ ตกไข่ แ ละก่ อ นที่ จ ะมี ก ารสร้ า งไข่ ขึ้ น นั้ น จะมี เอ็มบริโอที่มีชีวิตและกำลังเจริญอยู่แล้ว ดังนั้น การเจริญของเอ็มบริโอก็ได้เกิดขึ้นแล้วก่อนที่ ไข่จะฟักเป็นตัวหลังจากการออกไข่ เราจึงควร พยายามที่จะลด หรือควบคุมการเจริญดังกล่าว ในระหว่างการจัดเก็บไข่ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการควบคุมอุณหภูมภิ ายใน โรงเรือนแม่ไก่ให้คงที่ ได้พัฒนาก้าวหน้าไปมาก รวมถึงคุณภาพของยานพาหนะทีใ่ ช้ในการขนส่ง ไข่ แ ละสถานที่ จั ด เก็ บ ไข่ ภ ายในโรงฟั ก ด้ ว ย ด้วยเทคโนโลยีทลี่ ำ้ หน้านีเ้ อง ทำให้สถานทีจ่ ดั เก็บ ไข่ภายในฟาร์มถูกละเลย จึงทำให้เป็นเรื่องยาก สำหรับผู้ผลิตที่จะควบคุมอุณหภูมิภายในห้อง จัดเก็บไข่ในระดับฟาร์มให้คงที่ ขณะที่วัตถุประสงค์อย่างหนึ่งของการจัด เก็บไข่กค็ อื การรวบรวมไข่ทตี่ รงกับความต้องการ ลูกไก่ และเพื่อใช้โรงฟักให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป้าหมายสูงสุดก็คือเพื่อชะลอการพัฒนาของ เอ็มบริโอด้วย ถึงแม้ว่าอุณหภูมิการจัดเก็บไข่ที่ 68 องศาฟาเรนไฮต์ (20 องศาเซลเซียส) เป็น อุณหภูมทิ ใี่ ช้กนั ทัว่ ไปตามทีอ่ ตุ สาหกรรมปศุสตั ว์
แนะนำ แต่อณ ุ หภูมจิ ริงในการจัดเก็บไข่ตามฟาร์ม ต่างๆ แตกต่างกันไปตัง้ แต่ 60 องศาฟาเรนไฮต์ (15.6 องศงเซลเซียส) จนถึง 75 องศาฟาเรนไฮต์ (23.9 องศาเซลเซียส) อุณหภูมใิ นการจัดเก็บไข่ของแต่ละฟาร์มที่ มีความแตกต่างกันมักขึ้นอยู่กับความแตกต่าง ของโปรแกรมการจัดการ ขณะที่ความผันผวน ของอุณหภูมริ ะหว่างวันภายในฟาร์มเดียวกันเป็น ผลมาจากสถานที่จัดเก็บไข่ที่ด้อยคุณภาพ ซึ่งไม่ สามารถที่จะควบคุมอุณหภูมิให้คงที่ ที่ผ่านมามี การประเมินสภาพการจัดเก็บไข่ฟกั เพือ่ ลดปริมาณ ไข่ที่ไม่สามารถฟักเป็นตัวได้ อย่างไรก็ดี งานวิจัยเกี่ยวกับการจัดเก็บ ไข่ทฟี่ าร์มไก่พอ่ แม่พนั ธุม์ จี ำกัดและยังไม่สมบูรณ์ ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ก็เพื่อค้นหา ผลกระทบของอุณหภูมิในการจัดเก็บไข่ในฟาร์ม ที่เปลี่ยนแปลงขึ้นลงที่มีต่อความสามารถในการ ฟักและการอยู่รอดของเอ็มบริโอของฝูงพ่อแม่ พันธุ์ไก่กระทงที่เลี้ยงในเชิงพาณิชย์
ขั้นตอนการจัดเก็บไข่ และการฟัก ไข่ฟกั ซึง่ ได้รบั มาจากสถาบันวิจยั พ่อแม่พนั ธุ์ ไก่กระทงแห่งมหาวิทยาลัยอาร์คนั ซอ (University of Arkansas) ถูกนำมาแยกเก็บไว้ในห้องจัดเก็บ ไข่หลายห้อง โดยไข่ทั้งหมดได้รับการจัดเก็บใน อุณหภูมิควบคุมที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ (21.1 องศาเซลเซียส) ตัง้ แต่เริม่ ต้นถึงชัว่ โมงที่ 24 หลัง 24 ชั่วโมงแรก ไข่กลุ่มที่ได้รับเลือกจะถูกย้ายไป เก็บในห้องทีต่ งั้ อุณหภูมไิ ว้ที่ 66 องศาฟาเรนไฮต์ (18.9 องศาเซลเซียส) 68 องศาฟาเรนไฮต์ (20.0 องศาเซลเซียส) 72 องศาฟาเรนไฮต์ (22.2 องศา เซลเซียส) หรือ 74 องศาฟาเรนไฮต์ (23.3 องศาเซลเซียส) ตามลำดับตัง้ แต่ชวั่ โมงที่ 24 ถึง 48 นับตั้งแต่ได้ไข่มา หลัง 48 ชั่วโมง ไข่ซึ่งเก็บที่อุณหภูมิ 66 องศาฟาเรนไฮต์ จะถูกย้ายไปเก็บที่อุณหภูมิ 74 องศาฟาเรนไฮต์ ไข่ซึ่งเก็บที่อุณหภูมิ 74 องศาฟาเรนไฮต์ จะถูกย้ายไปเก็บทีอ่ ณ ุ หภูมิ 66 องศาฟาเรนไฮต์ ไข่ซึ่งเก็บที่อุณหภูมิ 68 องศา
27
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ฟาเรนไฮต์ จะถูกย้ายไปเก็บทีอ่ ณ ุ หภูมิ 72 องศา ฟาเรนไฮต์ และไข่ซึ่งเก็บที่อุณหภูมิ 72 องศา ฟาเรนไฮต์ จะถูกย้ายไปเก็บทีอ่ ณ ุ หภูมิ 68 องศา ฟาเรนไฮต์ ตัง้ แต่ชวั่ โมงที่ 48 ถึง 72 นับตัง้ แต่ ได้ไข่มา ไข่กลุ่มหนึ่งจะได้รับการเก็บที่อุณหภูมิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ ตลอดทั้ง 72 ชั่วโมง หลังจาก 72 ชั่วโมงแล้ว ไข่ทั้งหมดจะถูกนำไป เก็บที่อุณหภูมิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ตามเดิม การออกแบบทดลองในลักษณะนีร้ บั ประกันได้วา่ ไข่ทั้งหมดในการทดลองนี้จะถูกเก็บในอุณหภูมิ เฉลี่ยที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ตลอดระยะเวลา สามวันของช่วงการจัดเก็บไข่ “ในฟาร์ม” สรุปว่า ไข่ ฟั ก จากกลุ่ ม ทดลองซึ่ ง ได้ รั บ การจั ด เก็ บ ใน อุณหภูมทิ แี่ ตกต่างกันจะต้องผ่านอุณหภูมทิ มี่ กี าร เปลีย่ นแปลงขึน้ และลง 2 หรือ 4 องศาฟาเรนไฮต์ จากอุณหภูมิฐานที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ หลังช่วงการจัดเก็บจะมีการขนส่งไข่ไปยัง ฟาร์มไก่พอ่ แม่พนั ธุ์ ซึง่ เป็นต้นทางของไข่ทงั้ หมด โดยจะมีการวางไข่ในรถบรรทุกสำหรับขนส่ง ไข่ฟักโดยตรงและส่งไปที่โรงฟักไข่
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
28
สรุปและอภิปรายผล ไข่ฟกั ซึง่ ผ่านอุณหภูมทิ เี่ ปลีย่ นแปลง 2 หรือ 4 องศาฟาเรนไฮต์ จากอุณหภูมิฐานที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ มีอัตราการฟักออกลดลงเกือบ 2 เปอร์เซ็นต์เมือ่ เทียบกับกลุม่ ควบคุม (74.48% กับ 76.47% ตามลำดับ) ไข่ซึ่งผ่านอุณหภูมิที่ เปลี่ยนแปลง 4 องศาฟาเรนไฮต์ทุกวันมีอัตรา การฟักออกลดลงเกือบ 1 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบ กับกลุ่มควบคุม (75.61% กับ 76.47% ตาม ลำดับ) น่าสังเกตว่าไข่ที่ผ่านอุณหภูมิที่มีการ ขึ้ น ลงมากกว่ า ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งสู ญ เสี ย ความ สามารถในการฟักมากกว่าเสมอไป อย่างไรก็ตาม ไม่ ว่ า อุ ณ หภู มิ จ ะเปลี่ ย นแปลงไป 2 หรื อ 4 องศาฟาเรนไฮต์ ไข่ฟักซึ่งถูกย้ายจากโรงเรือน แม่ไก่ไปเก็บในอุณหภูมิที่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ และจากนัน้ เพิม่ อุณหภูมเิ ป็นเวลา 24 ชัว่ โมง และ ลดอุณหภูมลิ งเมือ่ ผ่านไป 48 ชัว่ โมง หลังจากนัน้ ย้ายกลับไปเก็บที่อุณหภูมิ 70 องศาฟาเรนไฮต์ (70-เพิ่มขึ้น-ลดลง-70) จะมีอัตราการฟักออก ลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับไข่ในกลุ่มควบคุม
เป็นสิง่ จำเป็น แต่การเริม่ และหยุดการเจริญของ เอ็มบริโอทำให้เอ็มบริโออ่อนแอและมีอัตราการ รอดลดลง สภาพการณ์ทดี่ ที สี่ ดุ ก็คอื ให้ไข่ฟกั ผ่านการ เปลีย่ นแปลงอุณหภูมเิ พียงสองช่วง ช่วงแรกตัง้ แต่ แม่ไก่ออกไข่จนถึงจุดที่อุณหภูมิต่ำสุดในสถานที่ เก็บไข่ในโรงฟักเชิงพาณิชย์ และช่วงทีส่ องขณะที่ ไข่ถูกย้ายไปยังตู้ฟัก
สรุป (ไข่ที่ไม่สามารถฟักเป็นตัว 3.55% และ 2.16% ตามลำดับ ดูภาพประกอบ 1) อัตราการฟักออก ของไข่สองกลุ่มซึ่งผ่านการจัดเก็บในอุณหภูมิที่มี การเปลี่ยนแปลงในทิศทางดังกล่าวลดลงตั้งแต่ 2% ถึง 3.5% ไข่ในกลุม่ นีผ้ า่ นอุณหภูมทิ เี่ ปลีย่ นแปลงขึน้ ลงหลายครัง้ ตัง้ แต่โรงเรือนแม่ไก่ไปจนถึงโรงฟัก นับตัง้ แต่แม่ไก่ออกไข่มา ไข่เหล่านีม้ อี ณ ุ หภูมลิ ดลง อยูท่ ี่ 70 องศาฟาเรนไฮต์ จากนัน้ อุณหภูมเิ พิม่ ขึน้ เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และลดลงเป็นเวลา 24 ชั่ ว โมง หลั ง จากนั้ น อุ ณ หภู มิ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก 24 ชัว่ โมง และอุณหภูมลิ ดลงขณะถูกย้ายไปทีโ่ รงฟัก (67 องศาฟาเรนไฮต์) หลังจากนั้นอุณหภูมิเพิ่ม ขึน้ เมือ่ ถูกย้ายไปยังตูฟ้ กั (อุณหภูมลิ ดลงสองช่วง และเพิ่มขึ้นสองช่วง) เนื่องจากเอ็มบริโอไม่เคยหยุดการเจริญ ในช่วงทีไ่ ข่ได้รบั การจัดเก็บ แต่ละครัง้ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ ภายในไข่สูงขึ้น การเผาผลาญก็เพิ่มขึ้น รวมถึง การเจริญของเอ็มบริโอก็เพิ่มขึ้นก่อนที่จะชะลอ ลงอีกครั้งในระหว่างที่มีการให้ความเย็นกับไข่ เพิ่มเติม ถึงแม้ว่าการให้ความเย็นกับไข่ฟักจะ
เป็นที่รู้กันดีว่า ปัญหาเกี่ยวกับอัตราการ ฟักออกที่สำคัญที่สุดเป็นผลมาจากภาวะเจริญ พันธุ์ที่ต่ำ อย่างไรก็ตาม เมื่อการผลิตไข่บรรลุ เป้าหมาย และไก่ในฝูงก็มีภาวะเจริญพันธุ์อยู่ใน ระดับสูงแล้ว วิธีการที่เราดูแลไข่ฟักส่งผลอย่าง มากต่ออัตราการฟักออกโดยรวม ขณะทีอ่ ณ ุ หภูมสิ ำหรับการจัดเก็บไข่ฟกั ใน ฟาร์มที่อุตสาหกรรมปศุสัตว์แนะนำในปัจจุบัน แตกต่างกันไปตัง้ แต่ 63 ถึง 70 องศาฟาเรนไฮต์ ข้อมูลจากการวิจัยนี้บ่งชี้ว่าอุณหภูมิสำหรับการ จัดเก็บไข่ในฟาร์มที่แปรผันไปเล็กน้อยเพียง 2 องศาฟาเรนไฮต์ สามารถทำให้อตั ราการฟักออก ลดลงได้มากถึง 3.5% ประสบการณ์จากการ ประเมินค่าของอุณหภูมใิ นการจัดเก็บไข่ในฟาร์ม ในปัจจุบนั ชีว้ า่ ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมจิ ริง กับอุณหภูมิที่แนะนำนั้นมาก และมักจะมากกว่า ค่าที่มีการกำหนดไว้ในการศึกษาครั้งนี้ ดังนัน้ ไม่วา่ เครือ่ งมือในโรงเรือนไก่พอ่ แม่ พันธุแ์ ละโรงฟักจะเป็นอย่างไร อัตราการฟักออก จะมีการสูญเสียไปเสมอในโรงฟักเชิงพาณิชย์ เนื่องจากขาดความเอาใจใส่ดูแลสถานที่จัดเก็บ ไข่ในฟาร์ม
29
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ชี้เปรี้ยงปีมะโรงอีกปีทองกุ้งไทย
ห้องเย็น-สมาคมกุ้งจี้รักษาเพดานผลิต/เตือนระวัง 2 ปัจจัยเสี่ยง ห้องเย็น-เกษตรกร ฟันธงปี 55 เป็นอีก หนึง่ ปีทองอุตสาหกรรมกุง้ ไทย ชีแ้ นวโน้มราคา ในและต่างประเทศดีต่อเนื่อง หากสามารถ รักษาระดับเพดานการผลิตได้สมดุลกับความ ต้องการของตลาดโลก สถาบันอาหารฟันธง ส่งออกกุง้ ปีมงั กรพุง่ 112,867 ล้านบาท ตลาด สหรัฐฯ-ญีป่ นุ่ ยังสดใส บาทอ่อนช่วยหนุน ห่วง 2 ปัจจัยเสี่ยงกีดกันการค้า-โรคระบาดสกัด ดาวรุ่ง ดร.ผณิศวร ชำนาญเวช นายกสมาคม อาหารแช่ เ ยื อ กแข็ ง ไทย เปิ ด เผยถึ ง ทิ ศ ทาง การส่งออกสินค้ากุ้งของไทยในปี 2555 ว่ามี แนวโน้มที่ดี โดยจากการวิเคราะห์ข้อมูลของ สถาบันอาหารคาดในปีนี้ไทยจะส่งออกกุ้งสด แช่เย็นแช่แข็งและแปรรูปได้ราว 402,000 ตัน มูลค่า 112,867 ล้านบาท ขยายตัวเพิม่ ขึน้ จาก ปี 2554 อัตรา 2.2 และ 2.4% ตามลำดับ (ปี 2554 ตัวเลขที่ยังรวบรวมไม่แล้วเสร็จคาดไทย จะส่งออกกุ้งประมาณ 393,000 ตัน มูลค่า 110,235 ล้านบาท) ทั้งนี้เป้าหมายข้างต้น มองว่ามีความเป็นไปได้หากประเทศไทยสามารถ รักษาระดับผลผลิตกุ้งทั้งปีเฉลี่ย 550,000620,000 ตัน ซึ่งจะทำให้ราคากุ้งในประเทศ และราคากุ้งส่งออกยังดีต่อเนื่อง
“ในปีที่ผ่านมา ราคากุ้งสดแช่แข็งและ แปรรูปส่งออกเฉลี่ยที่ 9 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อ กิโลกรัม เวลานีเ้ ฉลีย่ ที่ 9.1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อ กิโลกรัม ถือเป็นระดับราคาที่น่าพอใจ เพราะ หากขึ้นไปมากกว่านี้อาจขายไม่ออก ดังนั้น วิธี ง่ายๆ ที่จะรักษาระดับราคาที่ดีก็คือ ต้องลด หรือคงเพดานการผลิตกุ้งของไทยไว้ เนื่องด้วย เวลานี้ ไทยมี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดกุ้ ง โลกสั ด ส่ ว น ประมาณ 25% เฉพาะสหรัฐอเมริกามีการนำเข้า กุง้ จากไทยสัดส่วนกว่า 30% ของการนำเข้าจาก ทั่วโลก ขณะที่ประเทศอื่นที่ส่งออกกุ้งมองว่า ไม่ ใ ช่ คู่ แ ข่ ง ของไทยเพราะผลผลิ ต เขายั ง น้ อ ย และมีไม่สม่ำเสมอจากโรคระบาด” นอกจากปั จ จั ย ข้ า งต้ น ที่ ส่ ง ผลดี ต่ อ การ ส่งออกกุ้งของไทยแล้ว การส่งออกกุ้งของไทย ที่ยังขยายตัวได้ดีทั้งที่เศรษฐกิจของตลาดหลัก ทั้ ง สหรั ฐ ฯ และยุ โ รปยั ง อยู่ ใ นภาวะชะลอตั ว สื บ เนื่ อ งจากผู้ บ ริ โ ภคที่ เ คยทานอาหารราคา แพงกว่ากุ้ง ได้หันมาบริโภคกุ้งเพิ่มขึ้น เพราะ กุ้ ง ไม่ ใ ช่ สิ น ค้ า ราคาแพงสุ ด หรื อ ราคาถู ก สุ ด แต่อยูก่ ลางๆ ประกอบกับขณะนีเ้ งินบาทอ่อนค่า ทำให้สินค้าราคาถูกลง และส่งออกได้มากขึ้น
ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2,703 วันที่ 8-11 มกราคม พ.ศ. 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
30
ตลาดส่งออกกุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง และแปรรูปของไทย 5 อันดับแรก อันดับที่ 1 2 3 4 5 6
ประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น แคนาดา สหราชอาณาจักร เยอรมนี ตลาด+อื่นๆ
ปริมาณ : ตัน 2553 2554 (ม.ค.-พ.ค.) 186,985.39 144,514.25 74,103.33 63,238.25 21,608.83 18,204.36 16,515.97 15,541.95 11,364.81 8,258.88 407,978.13 315,576.65
มูลค่า : ล้านบาท 2553 2554 (ม.ค.-พ.ค.) 45,726.31 40,923.13 19,839.52 19,420.80 5,218.66 5,154.34 4,316.26 4,625.57 2,966.20 2,479.33 96,644.24 87,896.57
ที่มา: กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร
ด้านนายสมศักดิ์ ปณีตัธยาศัย นายกสมาคมกุ้ ง ไทย กล่ า วว่ า ในรอบปี 2554 คาดผลผลิตกุ้งไทยจะอยู่ที่ระดับ 600,000 ตัน ในจำนวนนี้ส่งออกประมาณเกือบ 400,000 ตัน หรือลดลงจากปี 2553 ที่มีการส่งออก 407,978 ตัน เป็นผลจากผลผลิตกุ้งในพื้นที่ ภาคใต้แหล่งเลี้ยงกุ้งรายใหญ่ของประเทศได้รับ ผลกระทบจากน้ำท่วมใหญ่ในช่วงเดือนมีนาคม ทำให้ผลผลิตกุ้งได้รับความเสียหาย แต่ในด้าน มูลค่าการส่งออกในปีทผี่ า่ นมาไม่ได้ลดลง เพราะ จากผลผลิตที่ลดลง ทำให้เกษตรกรขายกุ้งได้ ในราคาสูงขึ้น เฉลี่ยต่อไซส์ในปีที่แล้วปรับสูงขึ้น กว่า 10% เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ดังนั้น จาก ราคากุ้งในประเทศที่ปรับสูงขึ้น ราคาส่งออก ได้ปรับราคาตามหลักดีมานน์-ซัพพลาย รวมถึง ผลจากเงินบาทอ่อนค่า ทำให้ส่งออกได้ดีขึ้น
สำหรับในปี 2555 มองว่ายังเป็นอีก หนึง่ ปีทดี่ สี ำหรับการผลิตและส่งออกกุง้ ของไทย ซึ่งหากเกษตรกรสามารถรักษาระดับการผลิต ได้ไม่ให้มากเกินความต้องการของตลาด ราคา ทั้งในและต่างประเทศก็จะยังมีโอกาสที่ดี ใน วันที่ 11 มกราคมศกนี้ ทางสมาคมจะประกาศ เพดานการผลิตกุ้งปี 2555 เพื่อประสานกับ ผู้เลี้ยงกุ้งทุกภาคของประเทศในการรักษาระดับ การผลิตที่เหมาะสมต่อไป “ในปี 2555 มองว่าจะเป็นอีกหนึ่งปีที่ดี ของอุตสาหกรรมกุ้งไทยทั้งระบบเพราะตลาด สหรัฐฯ และญี่ปุ่น สองตลาดหลักยังไปได้ดี แม้ ตลาดยุโรปอาจมีปญ ั หาบ้าง หากเราไม่เจอปัญหา ถูกกีดกันทางการค้า เจอปัญหาโรคระบาดในกุง้ เราจะยังไปได้ดี ในเรื่องนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องวางแนวทางป้องกันไม่ให้มีการนำเข้าพ่อแม่ พันธุ์กุ้ง รวมถึงควรห้ามการนำเข้ากุ้งจากแหล่ง ที่มีความเสี่ยงโรคระบาดเข้ามา”
31
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
จับชีพจรราคาสินค้าเกษตรปี 55 ภาพรวมขาลงแต่ไม่น่าเลวร้าย ความเคลื่อนไหวของราคาสินค้าเกษตร ในแต่ละปี นับว่ามีความสำคัญอย่างมาก เพราะมี อิทธิพลต่อกำลังซือ้ ของคนในประเทศ เนือ่ งจาก เกษตรกรเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ ทั้งยังมี ผลต่อนโยบายรัฐบาลที่จะเข้ามาดูแลยกระดับ ราคา มีผลต่อการดำเนินธุรกิจของภาคเอกชน ทิ ศ ทางราคาสิ น ค้ า เกษตรปี 2555 หรื อ หลายคนมองว่าเป็นปีมังกรไฟ ภาพรวมสินค้า เกษตรสำคัญหลายชนิดเคลื่อนไหวในทิศทางที่ อ่อนตัวลง แต่ไม่น่าจะเลวร้ายมากนัก
ข้าวสัญญาณดิ่ง เริ่มจากสินค้าข้าว พืชเศรษฐกิจสำคัญ ของประเทศที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรจำนวนมาก ที่สุด ราคาข้าวในตลาดโลกมีสัญญาณอ่อนตัว ลงตั้งแต่กลางปี 2553 สาเหตุหลักคือรัฐบาล อินเดียอนุญาตให้สง่ ออกข้าวทีไ่ ม่ใช่ขา้ วบาสมาติ ได้ หลังจากระงับการส่งออกมาระยะหนึ่ง ส่ง ผลให้การส่งออกข้าวนึ่งของไทยซึ่งเป็นชนิดข้าว ที่อินเดียส่งออกมากที่สุดสะดุดลง อย่างไรก็ดี ราคาข้าวในตลาดโลกที่อ่อน ตัวลง ไม่ได้กระทบกับเกษตรกรชาวนาของไทย เพราะรัฐบาล “ยิ่งลักษณ์” มีนโยบายรับจำนำ ข้าวเปลือกนาปี 2554/55 ซึ่งจะสิ้นสุดเดือน กุมภาพันธ์ 2555 เกษตรกรจึงมีรายได้จากการ
รับจำนำข้าวเปลือกเจ้าตันละประมาณ 12,000 บาท (หักความชื้นแล้ว เพราะราคาจำนำเต็ม ข้าวเปลือกเจ้า 5% ตันละ 14,800 บาท) แต่ กระนัน้ ก็ดี โครงการรับจำนำปีการผลิต 2554/ 55 ที่เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2554 เกษตรกรไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร เพราะปีนี้ เกิดมหาอุทกภัยหลายพื้นที่ต้องรีบเก็บเกี่ยวข้าว หนีน้ำ ไม่ทันเข้าร่วมโครงการ จึงเกิดการนำ ข้าวของเกษตรกรไปสวมสิทธิ์โครงการจำนำ รวมถึงการนำเข้าข้าวจากประเทศเพื่อนบ้านมา เข้าโครงการจำนำ หากโครงการรับจำนำข้าวสิ้นสุดลงเดือน กุมภาพันธ์ 2555 รัฐบาลไม่เตรียมการรับจำนำ ต่อ มีแนวโน้มสูงทีร่ าคาข้าวปี 2555 จะอ่อนตัว ลง ทิศทางราคาข้าวหลังจากเดือนกุมภาพันธ์ จึงขึ้นอยู่กับรัฐบาลว่าจะดำเนินการอย่างไรกับ นโยบายข้าวต่อไป
ยางพาราขาลง ยางพารา พืชเศรษฐกิจสำคัฐอีกพืชหนึ่ง ที่มีสัญญาณของราคาอ่อนตัวลงอย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม 2554 โดยยางแผ่นดิบ เฉลี่ยทั้งปี 2553 อยู่ที่ กก. ละ 106.30 บาท มกราคม 2554 กก. ละ 154 บาท กุมภาพันธ์ กก. ละ 174 บาท มีนาคม กก. ละ 144 บาท
ที่มา: ฐานเศรษฐกิจ ปีที่ 32 ฉบับที่ 2,701 วันที่ 1-4 มกราคม พ.ศ. 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
32
ตั้ ง แต่ ต้ น เดื อ นพฤศจิ ก ายนราคายางแผ่ น ดิ บ ลดลงต่ำกว่า กก. ละ 100 บาท เช่นเดียวกับ ราคายางแผ่นรมควันเฉลี่ยปี 2553 กก. ละ 109.83 บาท มกราคม 2554 กก. ละ 160.86 บาท กุมภาพันธ์ กก. ละ 180 บาท มีนาคม กก. ละ 152 บาท เดือนธันวาคม ลดลงต่ำกว่า กก. ละ 100 บาท ราคายางทีอ่ อ่ นตัวลงดังกล่าว และคาดว่า จะต่อเนื่องถึงปี 2555 คนวงการยางสะท้อน ในทิ ศ ทางที่ ส อดคล้ อ งกั น ว่ า สาเหตุ ห ลั ก คื อ รัฐบาลชุดนี้ให้ความสำคัญและมีความรู้เกี่ยวกับ พืชยางพาราน้อยมาก ผูม้ อี ำนาจไม่มกี ารกระตุน้ หรื อ ช่ ว ยขั บ เคลื่ อ นราคายางให้ สู ง ขึ้ น ซึ่ ง ไม่ จำเป็นต้องใช้วธิ ใี ช้เม็ดเงินเข้ามาแทรกแซง เพียง การประกาศเรื่องราคายางจากระดับรัฐมนตรี ราคาก็เคลื่อนไหวสูงได้ แม้ว่าในด้านผลผลิตและความต้องการใช้ ยางของโลกจะอยู่ในระดับที่สมดุลกันคือ ปีนี้ ผลผลิตยางโลกจะเพิง่ ขึน้ ราว 5% ความต้องการ ใช้ ย างของโลกเพิ่ ม ขึ้ น ระดั บ เดี ย วกั น คื อ 5% เศรษฐกิจโลกมีความผันผวน แต่ปัจจัยเหล่านี้ ไม่มผี ลให้ราคายางลดลง อดีตทีผ่ า่ นมา การผลิต รถยนต์ไม่เคยลดลงแต่อย่างใด เพราะฉะนั้น เรื่องเศรษฐกิจโลก เรื่องการผลิตรถยนต์ไม่มีผล ต่อราคายาง
ผลผลิตปาล์มดิบ ปี 2553 ผลผลิตปาล์มน้ำมันประสบ ปั ญ หาขาดแคลนอั น เนื่ อ งจากสถานการณ์ ภัยแล้ง จนทำให้ราคาปลายปี 2553 ต่อเนื่อง ถึงต้นปี 2554 สูงเฉลี่ย กก. ละ 9-10 บาท น้ำมันปาล์มดิบขยับสูงขึ้นตาม ขณะที่น้ำมัน
ปาล์มบริโภคถูกควบคุมราคาที่ขวดลิตรละ 47 บาท และลดลงมาเหลือ 42 บาทในปัจจุบัน ที่สุดแล้วต้นปี 2554 ทำให้เกิดสถานการณ์ น้ำมันปาล์มบริโภคขาดแคลนกระทั่งประชาชน ต้องเข้าแถวซื้อ เนื่องจากปี 2554 สถานการณ์น้ำฝนดี ผลผลิตปาล์มดิบเพิ่ม ข้อมูลจากชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนปาล์มน้ำมันกระบี่จำกัด ระบุ ปี 2553 ผลผลิตปาล์มดิบ 7.97 ล้านตัน น้ำมันปาล์มดิบ 1.35 ล้านตัน ผลผลิตปาล์มดิบปี 2554 มี ปริมาณ 10.6 ล้านตัน น้ำมันปาล์มดิบ 1.8 ล้านตัน ปี 2555 ผลปาล์มดิบ 10.8 ล้านตัน น้ำมันปาล์มดิบ 1.83 ล้านตัน มีเพียงพอสำหรับ ป้อนโรงงานสกัด หากแต่ราคาจะอ่อนตัวลงอยูท่ ี่ กก. ละประมาณ 5.10-5.30 บาท ไม่สูงเท่าปี ที่ผ่านมา เรื่องของปาล์มน้ำมันปี 2555 สำหรับ เกษตรกรได้รับราคาที่ลดลง แต่ไม่ถือว่าวิกฤติ แต่ ภ าพรวมอุ ต สาหกรรมปาล์ ม น้ ำ มั น ยั ง ไม่ สามารถชะล่าใจได้ แม้ว่าจะมีผลผลิตที่เพียงพอ เนื่องจากราคาผลปาล์มปลายปี 2554 ที่อยู่ ระดับ กก. ละ 5.10-5.30 บาท ทำให้ราคาน้ำมัน ปาล์มดิบอยู่ที่ กก. ละ 32 บาท บวกค่าผลิต ค่าบริหารจัดการแล้ว จะทำให้ตน้ ทุนน้ำมันปาล์ม บริโภคอยู่ที่ขวดลิตรละ 47 บาท ขณะที่ราคา เพดานควบคุมน้ำมันปาล์มบริโภคอยู่ที่ขวดลิตร ละ 42 บาท โรงงานกลัน่ จึงไม่สามารถซือ้ น้ำมัน ปาล์มดิบ กก. ละ 32 บาทได้ ส่วนโรงงานสกัด น้ำมันปาล์มได้หันไปส่งออกต่างประเทศมากขึ้น ที่คาดว่าปี 2554 มีการส่งออกน้ำมันปาล์มดิบ มากถึง 300,000 ตัน
33
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
พยากรณ์การผลิตพืชเศรษฐกิจ ปีเพาะปลูก 2554/55 ลำดับที่ 1 2 3 4
ชื่อพืช ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง
2553/54 61,784,125 16,102,293 7,248,382 7,096,173
เนื้อที่เพาะปลูก ปีเพาะปลูก 2554/55 ร้อยละ เพิ่ม-ลด 2553/54 61,946,260 0.26 24,343,504 16,692,120 3.66 10,141,451 7,031,010 -3.00 4,683,386 7,242,298 2.06 21,912,416
ผลผลิต (ตัน) ปีเพาะปลูก 2554/55 ร้อยละ เพิ่ม-ลด 20,363,990 -16.35 11,110,480 9.56 4,611,540 -1.53 24,847,806 13.40
ที่มา: สำนักเศรษฐกิจการเกษตร
ทัง้ นีผ้ ลผลิตน้ำมันปาล์มดิบทีค่ าดว่าจะได้ 1.83 ล้านตัน ปี 2555 จำนวนนี้ใช้ในอุตสาหกรรมไบโอดีเซล 500,000 ตัน บริโภค 1.2 ล้านตัน เหลือสต๊อกเพียง 130,000 ตันเท่านัน้ เพราะฉะนั้นปี 2555 รัฐบาลจึงมีความจำเป็น ต้องบริหารจัดการสต๊อกน้ำมันปาล์มให้ดี มิฉะนัน้ แล้วจะเกิดเหตุการณ์ซ้ำรอยปลายปี 2553 ต่อ ต้นปี 2554 ได้
มันสำปะหลังทรงๆ ปี 2554 ราคาหั ว มั น สำปะหลั ง สดที่ เกษตรกรขายได้เฉลีย่ กก. ละ 2.50-3.00 บาท ปี 2555 แม้ว่าผลผลิตจะเพิ่มขึ้นเป็น 24-25 ล้านตัน จากปี 2554 ที่มีผลผลิต 20-22 ล้าน ตัน แต่ราคาคาดว่าจะทรงอยู่ในระดับใกล้เคียง ปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจากปีนรี้ ฐั บาลไม่มสี นิ ค้า (คุณภาพดี) อยู่ในสต๊อก ทั้งมันเส้น และแป้งมันสำปะหลัง แต่เนื่องจากมีกระแสเรียกร้องจากชาวไร่ มันสำปะหลังให้รฐั บาลดำเนินโครงการรับจำนำ ราคาไม่ต่ำกว่า กก. ละ 3 บาท เพราะฉะนั้น หากมีโครงการรับจำนำ ชาวไร่จะได้รบั ราคาทีส่ งู ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
34
ขึ้น แต่การส่งออกอาจต้องลดลงไปเพราะสินค้า ส่วนหนึง่ อยูใ่ นสต๊อกของรัฐบาล ขณะทีผ่ สู้ ง่ ออก อาจมีปัญหาแข่งขันกับประเทศผู้ผลิตอื่น
ไก่ลุ้นตลาดส่งออก ต้นปี 2554 แทบจะเรียกได้ว่าเป็นปีทอง ของคนเลี้ยงไก่ เพราะราคาหน้าฟาร์มขึ้นไปถึง กก. ละ 55 บาท สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ สาเหตุ เพราะว่ า เกิ ด โรคระบาด การเลี้ ย งมี ค วาม สู ญ เสี ย สู ง แต่ เ ข้ า สู่ ป ลายปี ร าคาเริ่ ม อ่ อ นตั ว ลง เพราะภาวการณ์ระบาดของโลกดีขึ้น ราคา เฉลี่ยทั้งปี 2554 กก. ละ 40-42 บาท ถือว่า ยังเป็นราคาอยู่ในเกณฑ์ดี สำหรับปี 2555 ปริมาณการเลี้ยงไก่ได้ เพิ่มขึ้นประมาณ 10% จากสัปดาห์ละ 23 ล้านตัว ธันวาคม 2555 คาดว่าจะอยู่ที่ 26 ล้านตัวต่อสัปดาห์ เพราะฉะนัน้ ปี 2555 ภาวะ ราคาขึ้นอยู่กับสถานการณ์ระบาดของโรค และ การส่งออกเนื้อไก่ไปอียูที่ยังถูกคุมโควตาอยู่ปีละ 160,033 ตัน หากอียูให้โควตาเพิ่มและเกิดโรค ระบาดจะเป็นผลดีมานด์เพิ่ม แต่ซัพพลายลดลง จะเป็นผลดีต่อราคาไก่ปี 2555
สภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง กับการเลี้ยงกุ้ง ปรากฏการณ์โลกร้อนอันเกิดจากสภาวะ เรื อ นกระจกนั้ น ได้ ส่ ง ผลกระทบให้ อุ ณ หภู มิ โดยรวมของโลกเพิม่ สูงขึน้ เป็นเหตุให้เกิดการ ละลายและลดขนาดของธารน้ ำ แข็ ง ขั้ ว โลก ระดับน้ำทะเลสูงขึน้ เกิดการเปลีย่ นแปลงของ ฝนที่ตก ทั้งปริมาณและรูปแบบ ซึ่งอาจทำให้ เกิ ด น้ ำ ท่ ว มและความแห้ ง แล้ ง รวมทั้ ง เกิ ด การเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศอย่างมาก ทั้งความถี่ และความรุนแรงที่มากขึ้น ดังที่ ในปัจจุบันเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งสามารถรับรู้ได้ ถึ ง ความเปลี่ ย นแปลงของสภาวะอากาศที่ แตกต่างไปจากในอดีตมาก โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นช่วงฤดูกาลที่ผิดไป จากเดิม หรือการทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ หรือต่ำกว่า ปกติมากในบางช่วงเวลา ความแปรปรวนของ สภาวะลมฟ้าอากาศดังกล่าวนั้น มีแนวโน้มที่ จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและรุนแรงมากขึ้นใน อนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบในด้านต่างๆ ต่อ เกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ผลกระทบของสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ต่อการเลี้ยงกุ้ง กุ้ง
1. ผลกระทบต่อระบบนิเวศในบ่อเลี้ยง
แพลงก์ตอนพืชเป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มหนึ่ง ที่มีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในระบบนิเวศ
ของบ่อเลี้ยงกุ้ง เนื่องจากทำหน้าที่ควบคุมการ หมุนเวียนของสารอาหาร ช่วยลดระดับความ เป็นพิษของแอมโมเนียซึ่งเป็นของเสียที่เกิดจาก การขับถ่ายของกุ้ง และจากการย่อยสลายสาร อินทรีย์ต่างๆ ในบ่อ ช่วยเพิ่มปริมาณออกซิเจน ซึ่งเกิดจากการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอน พืชในเวลากลางวัน ทำให้กงุ้ กินอาหารและเจริญ เติบโตได้ดี โดยมีอุณหภูมิและความเข้มของแสง เป็นตัวควบคุมระดับกิจกรรม ความรวดเร็วและ สมดุลของธาตุอาหาร การเปลี่ยนแปลงของ สภาวะอากาศทำให้กระบวนการควบคุมดังกล่าว และระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปจนไร้สมดุล ซึ่ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งชนิดและปริมาณ ของแพลงก์ตอนพืช โดยอาจจะมีชนิดที่เป็นพิษ เกิดขึ้นมาแทนที่ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายและสร้าง ความเสียหายต่อกุง้ ทีเ่ ลีย้ งในบ่อได้ มีรายงานว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก โดย เฉพาะอุณหภูมิและแสงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ชนิดของแพลงก์ตอนพืช เนื่องจากการเจริญ เติ บ โตแต่ ล ะชนิ ด มี ช่ ว งอุ ณ หภู มิ แ ละความเข้ ม แสงที่เหมาะสมแตกต่างกัน นอกจากนี้ การ เปลีย่ นแปลงอุณหภูมยิ งั เป็นปัจจัยสำคัญทีส่ ำคัญ ต่อกระบวนการทางชีวิเคมีที่เกิดขึ้นในน้ำและ ดินตะกอน โดยจุลินทรีย์ซึ่งเป็นทั้งแหล่งกำเนิด และแหล่งดูดซับสารอาหารจำพวกไนโตรเจน และฟอสฟอรัส มีกิจกรรมเพิ่มขึ้น หรือลดลง
ที่มา: วารสารข่าวกุ้ง ธันวาคม 2554
35
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ตามความแปรปรวนของระบบนิเวศในบ่อเลี้ยง กุ้ ง ที่ เ ปลี่ ย นแปลงรุ น แรงมากขึ้ น (จุ ฑ ารั ต น์ กิตติวานิช และพุทธ ส่องแสงจินดา) ในบ่อเลี้ยงกุ้งจะมีการสะสมของสาร อาหารอยู่ในบ่อเลี้ยงเป็นปริมาณมากเนื่องจาก การให้อาหาร เพื่อให้กุ้งมีการเจริญเติบโตและ ทำให้ได้ผลผลิตต่อไร่ที่สูง ในสภาวะปกติจะมี การแลกเปลี่ยนหมุนเวียนระหว่างสารอาหาร เหล่านีก้ บั สิง่ มีชวี ติ ในบ่อ เช่น กุง้ แพลงก์ตอนพืช และจุลินทรีย์ เป็นต้น ซึ่งการแลกเปลี่ยนหมุน เวียนระหว่างสารอาหารเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นไป อย่างสมดุล แต่ในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศทำให้อุณหภูมิของน้ำในบ่อ และความเข้ ม ของแสงเปลี่ ย นแปลงไป จะไป รบกวนความสมดุลของระบบนิเวศในบ่อเลี้ยง ทำให้เกษตรกรจัดการด้านการเลี้ยงได้ยากขึ้น เช่น การให้อาหาร การควบคุมสีนำ้ รวมทัง้ การ ควบคุมคุณภาพน้ำให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 2. ผลกระทบต่อการกินอาหารของกุ้ง สภาวะที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไปจะส่ง ผลกระทบต่อการกินอาหารของกุง้ เป็นอย่างมาก เนื่องจากกุ้งเป็นสัตว์เลือดเย็น ซึ่งอุณหภูมิของ ร่างกายจะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิของน้ำ ตามปกติกุ้งจะกินอาหารได้ดีที่อุณหภูมิในช่วง 28-30 องศาเซลเซียส แต่เมื่อใดก็ตามที่สภาพ สภาวะอากาศเปลีย่ นแปลงไป ทำให้อณ ุ หภูมขิ อง น้ำในบ่อเลี้ยงกุ้งสูง หรือต่ำเกินไปกว่าระดับที่ เหมาะสม ก็จะทำให้การกินอาหารของกุ้งลดลง ถ้าเกษตรกรยังให้อาหารเท่ากับการกินปกติ ก็จะ ทำให้เกิดการตกค้างของอาหารในบ่อมากขึ้น อาหารกุ้งที่ตกค้างอยู่ในปริมาณมากจะเกิดการ ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
36
ย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในบ่อเลี้ยง ซึ่งจะมีการ ใช้ออกซิเจนปริมาณมากในการย่อยสลายอาหาร ที่ ต กค้ า งอยู่ ใ นบ่ อ ทำให้ บ ริ เ วณพื้ น ก้ น บ่ อ มี ปริมาณออกซิเจนต่ำ กุง้ จะมีอาการขาดออกซิเจน รวมทัง้ จะทำให้เกิดสภาวะทีเ่ หมาะสมกับการเกิด สารพิษที่เป็นอันตรายต่อกุ้ง เช่น แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ เป็นต้น 3. ผลกระทบต่อสุขภาพกุ้ง ในสภาวะอากาศเย็ น หรื อ สภาวะ อากาศมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น หรือลดลง อย่ า งรวดเร็ ว จะส่ ง ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพกุ้ ง โดยตรง เพราะเมื่อสภาพแวดล้อมของกุ้งมีการ เปลี่ ย นแปลง กุ้ ง จะต้ อ งใช้ พ ลั ง งานที่ ไ ด้ จ าก อาหารส่วนใหญ่ไปใช้ในกระบวนการหายใจเพื่อ รั ก ษาสมดุ ล ของร่ า งกายมากกว่ า สภาวะปกติ ประกอบกั บ การกิ น อาหารของกุ้ ง ที่ ล ดลงใน สภาวะดังกล่าว ทำให้พลังงานที่จะใช้ในการ เจริ ญ เติ บ โต หรื อ สร้ า งภู มิ คุ้ ม กั น ลดน้ อ ยลง กุ้งก็จะอ่อนแอสามารถติดเชื้อ-ก่อโรคได้ง่ายขึ้น มีการศึกษาผลของอากาศเย็น หรือ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น หรือลดลง อย่างรวดเร็วต่อระบบภูมิคุ้มกันของกุ้ง พบว่า ปริมาณเม็ดเลือดขาว และความสามารถในการ ทำลายแบคทีเรียลดลง ส่งผลให้กุ้งสามารถติด เชื้อแบคทีเรียได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า ผล ของอากาศเย็นจะทำให้กุ้งที่ติดเชื้อไวรัสแสดง อาการและเกิดโรคได้เร็วขึ้นกว่าปกติ ดังนั้น ใน สภาวะอากาศที่ เ ย็ น หรื อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง อุณหภูมอิ ย่างรวดเร็ว จะทำให้กงุ้ มีความเสีย่ งต่อ การติดเชื้อ-ก่อโรคมากกว่าในสภาวะปกติ
การลดความเสี่ยงของการเลี้ยงกุ้ง ในสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง การเลีย้ งกุง้ ในสภาวะทีม่ อี ากาศแปรปรวน นัน้ เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งกุง้ จะต้องมีการเตรียมพร้อม และวางแผนอย่างรัดกุม รวมทั้งติดตามการ เปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศอย่างใกล้ชิดเพื่อ ลดความเสี่ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ สภาวะอากาศดังนี้ 1. ปล่อยกุ้งในความหนาแน่นที่ต่ำลง การเลี้ ย งกุ้ ง ในช่ ว งที่ อ ากาศเปลี่ ย น แปลง ควรปล่อยลูกกุ้งในอัตราความหนาแน่น ที่น้อยกว่าการเลี้ยงในช่วงปกติประมาณร้อยละ 20 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมของแต่ละ ฟาร์มเป็นสำคัญ การปล่อยกุง้ บางลงจะทำให้การ จัดการสภาพแวดล้อมในบ่อ การรักษาให้คณ ุ ภาพ น้ำและสภาพพืน้ บ่ออยูใ่ นสภาวะทีเ่ หมาะสมตลอด การเลี้ยงทำได้ง่ายขึ้น ส่งผลทำให้กุ้งอยู่สบาย แข็งแรง และไม่เครียด ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยง ของการเกิดโรคลง
อย่ า งมาก โดยอาหารที่ เ หลื อ สะสมในบ่ อ ซึ่ ง เป็นสารอินทรีย์ จะถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ทำให้ ไ ด้ ธ าตุ อ าหารต่ า งๆ และสารที่ เ ป็ น พิ ษ เช่น แอมโมเนีย ไนไตรท์ และไฮโดรเจนซัลไฟด์ ทีเ่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพกุง้ และเมือ่ ธาตุอาหาร ต่างๆ มีปริมาณมากขึน้ จะทำให้แพลงก์ตอนพืช เพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการแกว่ง ของคุณภาพน้ำในรอบวันมาก และเมื่อแพลงก์ตอนเหล่านี้ตายลงก็จะเกิดการทับถมสะสมที่ พื้นบ่อ ทำให้พื้นบ่อเน่าเสีย ซึ่งสภาวะดังกล่าว จะทำให้กุ้งเครียดอ่อนแอ และเกิดโรคได้ง่าย 3. ใช้ลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อไวรัสจากพ่อแม่ พันธุ์ที่เลี้ยงในระบบไบโอซีเคียวระดับสูง
2. เพิม่ ความระมัดระวังในการให้อาหาร
ลูกกุ้งที่ใช้ ต้องเป็นลูกกุ้งที่ปลอดเชื้อ ไวรัสตัวแดงดวงขาว ไวรัสหัวเหลือง ไวรัสทอร่า และไวรัสไอเอชเอชเอ็น การใช้ลกู กุง้ จากโรงเพาะ ฟักที่นำกุ้งจากบ่อดินมาเป็นพ่อแม่พันธุ์ จะเสี่ยง ต่อการปนเปื้อนของเชื้อในลูกกุ้งทั้งจากพ่อแม่ พันธุ์และระบบการเลี้ยงที่ยังไม่เป็นระบบไบโอซีเคียวระดับสูงสุด
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ อากาศ ส่งผลกระทบต่อการกินอาหารของกุ้ง โดยตรง ดังนั้นเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งจะต้องหมั่น สังเกตและตรวจสอบการกินอาหารของกุ้งว่า กินได้มากน้อยเพียงใด เพือ่ ให้สามารถปรับอาหาร ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับความต้องการกิน อาหารของกุ้งจริงๆ ซึ่งในสภาวะดังกล่าวนี้ ไม่ ควรรีบปรับเพิ่มอาหารเร็วเกินไป ควรค่อยๆ ปรับเพิ่มเพื่อป้องกันอาหารเหลือ เพราะอาหาร ที่ เ หลื อ จะส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพน้ ำ และพื้ น ก้ น บ่ อ
ดังนั้น การลดความเสี่ยงของเชื้อที่ ปนเปื้อนมากับลูกกุ้ง จะต้องใช้ลูกกุ้งจากพ่อแม่ พันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงพัฒนาสายพันธุ์ ทำให้ แน่ ใ จได้ ว่ า ทั้ ง พ่ อ แม่ พั น ธุ์ แ ละระบบการเลี้ ย ง ปลอดเชื้ อ ไวรั ส ที่ รุ น แรงร้ อ ยเปอร์ เ ซ็ น ต์ ซึ่ ง สายพันธุ์กุ้งขาวของซีพีเอฟ นอกจากจะปลอด เชื้อแล้ว ยังมีคุณสมบัติในการทนโรค โตเร็ว และอัตรารอดสูง เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่ได้รับ การคั ด เลื อ กปรั บ ปรุ ง ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพ แวดล้อมในเมืองไทย
37
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
4. เน้นการใช้จุลินทรีย์ ตามโปรแกรม โปรไบโอติกฟาร์มมิ่ง
5. เน้นการป้องกันโรคด้วยระบบไบโอซีเคียวอย่างเคร่งครัด
โปรแกรม โปรไบโอติกของซีพีเอฟ ได้ ถูกออกแบบให้สอดคล้องกับระบบนิเวศภายใน บ่อเลี้ยงกุ้งในแต่ละช่วงเวลาของการเลี้ยง ซึ่ง ประกอบไปด้วยโปรไบโอติกหลากหลายชนิดและ สายพันธุ์ที่ทำหน้าที่แตกต่างกัน โดยโปรแกรม โปรไบโอติกของซีพเี อฟประกอบไปด้วย ไบโอทริม ซึ่งมีคุณสมบัติในการย่อยสลายสารอินทรีย์ใน บ่อ ทั้งในน้ำและพื้นบ่อ ช่วยลดปัญหาน้ำหนืด จากสารอินทรีย์สะสมและแพลงก์ตอนบลูมไซมิตินพลัส ซึ่งเป็นโปรไบโอติกสูตรพิเศษผสมพรีไบโอติก ช่วยปรับสมดุลในทางเดินอาหาร กระตุน้ การย่อยอาหารและเพิม่ ความต้านทานเชือ้ ก่อโรค ซุปเปอร์ไบโอติก มีคุณสมบัติในการควบคุมเชื้อ วิบริโอ และเชื้อฉวยโอกาสในบ่อเลี้ยง พีเอชฟิกเซอร์ ช่วยควบคุมพีเอชในน้ำไม่ให้แกว่ง ทำให้กงุ้ ไม่เครียด และซุปเปอร์พีเอส มีคุณสมบัติในการ ควบคุมก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ และย่อยสลาย อินทรีย์ที่พื้นบ่อ ดังนั้น การใช้โปรแกรมโปรไบโอติก จะทำให้การจัดการสภาพแวดล้อมและ สุขภาพกุง้ ในบ่อเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ กุ้งไม่เครียด แข็งแรง และมีภูมิต้านทานโรคสูง จึงทำให้สามารถลดความเสีย่ งจากความเสียหาย ของกุ้งที่อาจเกิดขึ้นในช่วงที่สภาวะอากาศมีการ เปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างมาก
เป็ น ที่ ย อมรั บ กั น โดยทั่ ว ไปว่ า การ เปลี่ ย นแปลงสภาวะอากาศ มี ผ ลกระทบต่ อ สุขภาพของกุ้งในบ่อโดยตรง เรามักจะพบว่าใน ช่วงของการเปลีย่ นฤดูจะเกิดการระบาดของโรค ตัวแดงดวงขาว หรือโรคหัวเหลืองในหลายๆ พื้นที่ ดังนั้น การเน้นการป้องกันโรคด้วยระบบ ไบโอซีเคียวอย่างจริงจังจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญ มากต่อความสำเร็จของการเลี้ยงกุ้งในสภาวะ ดังกล่าว ซึ่งสามารถทำได้โดยการป้องกันไม่ให้ เชื้อโรค หรือสัตว์พาหะเข้าสู่ฟาร์ม หรือบ่อเลี้ยง ทั้งจากทางบก น้ำ หรืออากาศ อย่างไรก็ตาม การมีอุปกรณ์ป้องกันที่ครบถ้วนอย่างเดียวไม่ เพียงพอ จำเป็นต้องมีมาตรการติดตาม ตรวสอบ และเฝ้าระวังเป็นระยะๆ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าระบบและ วิธปี ฏิบตั ติ า่ งๆ ทีไ่ ด้กำหนดไว้ยงั ได้รบั การปฏิบตั ิ และดำเนินการอยู่อย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ การปลูกฝังให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับมีความเข้าใจ ใส่ใจ และมีจติ สำนึกในเรือ่ งนีก้ จ็ ะทำให้การดำเนิน การมีประสิทธิภาพสูงสุดและประสบความสำเร็จ ได้มากยิ่งขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
38
การเลี้ยงกุ้งในช่วงที่มีสภาวะอากาศ เปลี่ยนแปลงนั้น ทำให้การเลี้ยงมีความยากมาก กว่าปกติ ดังนั้น เกษตรกรจะต้องคำนึงถึงผล กระทบและความเสี่ยงที่มีในภาวะดังกล่าวอย่าง รอบด้าน รวมทั้งมีการเตรียมความพร้อมและ ติดตามเอาใจใส่การจัดการอย่างใกล้ชดิ จะทำให้ สามารถลดความเสี่ยงและประสบความสำเร็จ ในการเลี้ยงได้ในที่สุด
ผลิตภัณฑ์ ไข่
ผลิตภัณฑ์อาหารแบบครบวงจร ปัจจุบนั ผูบ้ ริโภคหันมาใส่ใจสุขภาพ และให้ ความสำคัญเรือ่ งความปลอดภัยในอาหารมากขึน้ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ ได้มุ่งเน้นมาตรฐานการผลิตและ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหารแบรนด์ซีพี เป็นอย่างยิง่ การสร้างแบรนด์สนิ ค้าให้เป็นทีร่ จู้ กั จึงเป็นเรือ่ งทีบ่ ริษทั ให้ความสำคัญอย่างต่อเนือ่ ง เพื่ อ ให้ ผู้ บ ริ โ ภคมั่ น ใจว่ า สิ น ค้ า จากซี พี เ อฟ มี คุณภาพปลอดภัย และมีรสชาติเป็นที่พึงพอใจ อันสอดคล้องกับปรัชญาในการดำเนินธุรกิจของ บริษัทที่ให้ความสำคัญกับมาตรฐานการผลิต และคุณภาพสินค้าว่าต้องเป็นเลิศ จากวิสัยทัศน์ของบริษัทฯ ที่ต้องการก้าว ขึน้ เป็น “ครัวของโลก” (Kitchen of the world) จึงมุ่งมั่นที่จะผลิตผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณภาพ มีคุณค่าทางโภชนาการ สะอาด ถูกสุขอนามัย และปลอดภัยต่อการบริโภค สอดคล้องกับความ พึงพอใจและพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยน แปลงตลอดเวลา ในส่วนของผลิตภัณฑ์ไข่ไก่นั้น ได้ศึกษาค้นคว้าเพื่อผลิตไข่สดมาตรฐานปลอด เชื้อ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยนำเทคโนโลยี
การผลิตจากสหรัฐอเมริกามาใช้ในกระบวนการ ผลิต เช่น การล้างไข่ไก่ การคัดไข่ไก่ การบรรจุ ด้วยระบบอัตโนมัติ กระบวนการต่างๆ ทีน่ ำมาใช้ ทัง้ หมดนีท้ ำให้ผลิตไข่ไก่สดซีพเี ป็นทีย่ อมรับ และ ได้รับความเชื่อมั่นจากผู้บริโภคว่าเป็นผลิตภัณฑ์ ที่สด สะอาด ปลอดภัย เหมาะแก่การบริโภค นอกจากนี้ ด้ ว ยวิ สั ย ทั ศ น์ ก ารเป็ น ครั ว ของโลก และรัฐบาลก็เห็นพ้องที่จะนำมาเป็น นโยบายการทำให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก เช่นเดียวกัน จึงเป็นแนวทางให้ซีพีเอฟได้ดำเนิน การพัฒนาไข่ไก่สดสูไ่ ข่แปรรูป เพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร และสินค้าพร้อม รับประทานสำหรับผู้บริโภค
ผลิตภัณฑ์หลากหลายจากไข่ฟองดี ปัจจุบนั มีสนิ ค้าไข่ไก่แปรรูปภายใต้แบรนด์ “ซี พี ” ที่ ซี พี เ อฟผลิ ต อยู่ ห ลายชนิ ด ได้ แ ก่ ไข่ขาว เหลว ไข่แดงเหลว ไข่รวมเหลว ไข่ขาวผง ไข่แดงผง ไข่รวมผง ตลอดจนไข่เหลวในรูปแช่ แข็ง (Frozen) ไข่ต้มสุกพร้อมทาน ไข่สมุนไพร ไข่ลูกรอก เต้าหู้ไข่ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ แปรรูป โดยเฉพาะไข่เหลว และไข่ผงสามารถ ทดแทนการนำเข้าไข่เหลวในอุตสาหกรรมอาหาร และเบเกอรี่ด้วย ปัจจุบันมีผู้นำเข้าไข่แปรรูป หลายรายที่หันมาใช้ไข่เหลวของซีพีเอฟ เช่น
ที่มา: Food Focus Thailand January 2012
39
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
โรงแรม โรงงานผลิตกุ้งแปรรูปเพื่อการส่งออก โรงงานผลิตไก่แปรรูปเพื่อการส่งออก ผู้ผลิต เบเกอรีช่ นั้ นำต่างๆ เป็นต้น โดยผลิตภัณฑ์ทงั้ หมด ได้ผ่านมาตรฐานการผลิตที่มุ่งเน้นด้านคุณภาพ เป็นหลัก ซึ่งจะเห็นได้จากบรรจุภัณฑ์ ความ สะอาด และแหล่งที่มาของผลผลิต ซึ่งสามารถ ตรวจสอบได้วา่ มาจากฟาร์มแห่งใด และมีมาตรฐานหรือไม่ และที่สำคัญยังสามารถตรวจสอบ ย้อนกลับได้ในทุกขั้นตอนการผลิต ไม่มีแอนตี้ไบโอติกปนเปื้อน อีกทั้งผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ยังเป็น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารที่ ผ่ า นกระบวนการผลิ ต ที่ มี มาตรฐานระดับโลก อาทิ GMP HACCP และ ISO ผู้บริโภคจึงมั่นใจได้อย่างสูงสุดในความ ปลอดภัยและคุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่เลือกบริโภค ในส่วนของไข่เหลวและไข่ผง ซีพีเอฟนำ เทคโนโลยี ทั น สมั ย จากสหรั ฐ อเมริ ก ามาใช้ ใ น กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่ได้จึงมีคุณภาพ ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
40
และอายุการเก็บรักษา (Shelf-life) ทีย่ าวนานกว่า มาตรฐานทั่ ว ไป อย่ า งไรก็ ต าม การผลิ ต ไข่ แปรรูปอื่นๆ ก็ได้พัฒนาเทคโนโลยีสำหรับการ ผลิตอันเป็นมาตรฐานเฉพาะสูงสุดของซีพีเอฟ เอง เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และ เหมาะสมกับวัฒนธรรมการรับประทานของผู้ บริโภคชาวไทย คุณพิษณุ แสงนาค รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ กล่าวถึงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไข่ หรือไข่แปรรูปว่า “ปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยน ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ให้อยู่ในรูปแบบของอาหารพร้อม ทานมากขึ้น โดยอาศัยกระบวนการแปรรูปไข่ เพื่อเพิ่มมูลค่าของไข่ไก่ อาทิ ไข่ต้ม ไข่เหลว ไข่ปรุงสำเร็จ หรือผลิตภัณฑ์ไข่สำหรับทำไข่คน ไข่ดาวน้ำ ไข่หวานญี่ปุ่น และเต้าหู้ไข่ เป็นต้น”
ไข่เปลี่ยนไป...กลายเป็นไข่ผง ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารที่มี ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่เป็นจำนวนมาก ถึงแม้ว่าการผลิตไข่ผงสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม อาหารในประเทศจะสามารถผลิตได้เองก็ตาม แต่กย็ งั คงประสบปัญหาเรือ่ งต้นทุนทีค่ อ่ นข้างสูง จึงสูร้ าคาสินค้านำเข้าไม่ได้ ส่งผลให้ประเทศไทย ต้องนำเข้าไข่ไก่จากต่างประเทศในรูปของผลิตภัณฑ์ไข่ไก่แปรรูป ได้แก่ ไข่ขาวผง ไข่แดงผง ไข่ผงรวม เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป และเบเกอรี่ โดยปริมาณการใช้ไข่ผงในประเทศ ไทยมีประมาณ 1,300 ตัน แบ่งเป็น ไข่ขาวผง 900 ตัน และไข่รวมผง 200 ตัน ไข่แดงผง 200 ตัน ทั้งนี้ ไข่ขาวผงที่นำเข้ามาใช้มี 3 ลักษณะ คือ Standard type, High gel และ High whip ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป เบเกอรี่ และไอศกรีม
กะเทาะเปลือก...มองทิศทางไข่ คุณพิษณุ กล่าวถึงแนวโน้มสถานการณ์ ไข่ไก่ โดยพิจารณาตลาดไข่จากภาคอุตสาหกรรม อาหาร พบว่ามีอัตราการเจริญเติบโตอย่างต่อ เนื่อง ส่งผลให้โรงงานผลิตอาหารยิ่งมีความ ต้องการแหล่งวัตถุดบิ ไข่ทมี่ คี ณ ุ ภาพ มีมาตรฐาน รั บ รอง และสามารถตรวจสอบย้ อ นกลั บ ได้ สำหรับใช้ในกระบวนการผลิต ไข่เหลวจึงเป็น อีกแนวทางหนึ่งที่จะตอบสนองความต้องการ
ดังกล่าวนี้ ดังนั้น ไข่เหลวจึงเติบโตอย่างต่อ เนื่องตามไปด้วย ในขณะเดียวกัน สินค้าไข่ไก่ พร้อมทานก็มีอัตราการเติบโตของตลาดมากขึ้น ดังนั้น หากมองโดยภาพรวมแล้ว ผลิตภัณฑ์ไข่ มีแนวโน้มการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้ง สินค้าที่จำหน่ายในประเทศและต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการผลิตไข่สด จนถึงไข่แปรรูปจะต้องมีมาตรฐานมากขึน้ ตัง้ แต่ ฟาร์มที่ผลิตไข่ไก่ที่มีมาตรฐาน ปลอดภัย ตรวจ สอบย้อนกลับได้ เมื่อนำมาผลิตเป็นไข่แปรรูป ก็ต้องใช้วัตถุดิบไข่ไก่ที่ได้มาตรฐาน ที่สามารถ ตรวจสอบได้เช่นกัน และจากแนวโน้มการเติบโต ดังกล่าวข้างต้น ผู้ผลิตอาหารจึงต้องมุ่งพัฒนา และคิดค้นผลิตภัณฑ์ไข่พร้อมรับประทานมาก ยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ไข่ ไ ก่ ส ดให้ ไ ด้ มาตรฐานปลอดภัยสามารถตรวจสอบย้อนกลับ ได้ นอกจากนี้ยังพัฒนาผลิตภัณฑ์ไข่แปรรูปและ ไข่ ไ ก่ พ ร้ อ มรั บ ประทานให้ ไ ด้ ม าตรฐาน และ คุณภาพที่ดีเช่นกัน
41
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
Update ข้อมูล 20 อันดับ
บริษัทผู้ผลิตสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ผลสำรวจของ WATT)
ถือเป็นธรรมเนียมที่วงการต่างๆ มักจะปฏิบัติกันก็คือ ทุกสิ้นปีจะมีการ Update สถานการณ์ ของแต่ละวงการ เพื่อประมวลสถานการณ์ในช่วงที่ผ่านมา และเป็นข้อมูลต่อการตัดสินใจในการ ดำเนินธุรกิจในอนาคต วงการอุตสาหกรรมสัตว์ปกี โลกก็เช่นเดียวกัน Poultry (www.WATTANGNET. com) ได้ทำการรวบรวมข้อมูลการดำเนินธุรกิจของบริษัทสัตว์ปีกชั้นนำในปีที่ผ่านมา ประกอบกับ ข้อมูลจาก USDA ที่พยากรณ์ข้อมูลปีหน้า ในโอกาศนี้จึงอยากนำข้อมูลดังกล่าวมามอบให้กับผู้อ่าน ทุกท่านเพื่อประโยชน์ต่อการดำเนินธุรกิจดังนี้
1. ภาพรวมอุตสาหกรรมสัตว์ปีกโลก FAO มองว่าปริมาณการผลิตเนื้อสัตว์ของโลกน่าจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1.8% โดยมีเนื้อสัตว์ปีก และสุกรเป็นเนื้อสัตว์ที่เพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากที่สุด ในปี 2011 USDA คาดการณ์วา่ การผลิตไก่ของทัง้ โลกน่าจะมีประมาณ 83 ล้านตัน ใน ขณะที่มีการนำเข้าประมาณ 8 ล้านตัน โดยมีประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้ามากที่สุด ขณะเดียวกันก็มีการส่งออกประมาณ 10 ล้านตัน โดยบราซิลเป็นประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่มาก ที่สุด
ที่มา: วารสารสาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 10 ฉบับที่ 104 เดือนมกราคม 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
42
ตารางแสดงปริมาณการผลิตเนื้อไก่ของประเทศที่สำคัญของโลก ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ประเทศ สหรัฐอเมริกา จีน บราซิล EU-27 เม็กซิโก อินเดีย รัสเซีย อาร์เจนตินา อิหร่าน ตุรกี ไทย อื่นๆ รวม
2551 16,561 11,840 11,033 8,594 2,853 2,490 1,680 1,435 1,450 1,170 1,360 13,114 73,580
2552 15,935 12,100 11,023 8,756 2,781 2,550 2,060 1,500 1,525 1,250 1,384 13,444 74,308
2553 16,563 12,550 12,312 9,245 2,810 2,650 2,310 1,625 1,600 1,430 1,478 13,883 78,397
2554 16,757 13,200 12,954 9,500 2,922 2,700 2,520 1,700 1,660 1,560 1,493 14,067 81,033
2555 (f) 16,603 13,800 13,602 9,630 2,892 2,750 2,750 1,775 1,710 1,650 1,538 15,912 83,074
หน่วย: พันตัน
2555 (%) 19.99 16.61 16.37 11.59 3.48 3.31 3.31 2.14 2.06 1.99 1.85 17.30 100.00
ที่มา: Livestock and Poultry: World Markets and Trade 2012, *Thai Broiler Processing Exporters Association
ตารางแสดงปริมาณการส่งออกเนื้อไก่ของประเทศที่สำคัญของโลก ลำดับ 1 2 3 4 5
ประเทศ บราซิล สหรัฐอเมริกา EU-27 ไทย จีน อื่นๆ รวมทั้งหมด
2551 3,242 3,157 742 401 285 632 8,459
2552 3,992 3,093 783 397 291 753 8,309
2553 3,181 3,069 992 435 379 890 8,909
2554 3,300 2,966 1,100 470 410 947 9,153
2555 (f) 3,465 3,039 1,120 490 445 1,027 9,596
หน่วย: พันตัน
2555 (%) 36.11 31.67 11.67 5.21 4.64 10.70 100.00
ที่มา: Livestock and Poultry: World Markets and Trade 2012, *Thai Broiler Processing Exporters Association
ตารางแสดงปริมาณการนำเข้าเนื้อไก่ของประเทศที่สำคัญของโลก ลำดับ 1 2 3 4 5
ประเทศ ซาอุดีอาระเบีย ญี่ปุ่น EU-27 เม็กซิโก UAE อื่นๆ รวมทั้งหมด
2551 510 737 712 433 289 5,140 7,821
2552 605 645 719 492 297 4,918 7,676
2553 681 789 677 549 289 5,038 8,023
2554 830 840 700 590 330 4,709 7,999
2555 (f) 880 805 710 625 360 4,926 8,306
หน่วย: พันตัน
2555 (%) 10.59 9.69 8.55 7.52 4.33 59.31 100.00
ที่มา: Livestock and Poultry: World Markets and Trade 2012, USDA
43
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ตารางแสดงอัตราการบริโภคเนื้อไก่ของประเทศที่สำคัญของโลก ประเทศ สหรัฐอเมริกา บราซิล อาร์เจนตินา รัสเซีย EU (27) ไทย จีน
2550 45.1 38.1 30.0 18.2 17.0 14.8 8.6
2551 44.2 39.7 31.4 19.2 17.4 14.8 9.0
2552 42.1 39.3 32.4 19.4 17.7 15.0 9.1
2553 43.3 40.1 34.0 17.7 17.8 16.0 9.3
หน่วย: กิโลกรัมต่อคนต่อปี
2554 43.6 40.8 36.0 19.6 18.0 16.3 9.5
ที่มา: Livestock and Poultry: World Markets and Trade 2012, USDA
ผลสำรวจของ WATT ระบุว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของการบริโภค 2 สาเหตุใหญ่คือ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
• ปริมาณการส่งออกของเนื้อสัตว์ของโลก คาดว่าจะเพิ่มขึ้นประมาณ 3.3% • นโยบายเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม และลดโลกร้อน ยังคงเป็นกระแสที่ได้รับความนิยม ในอุตสาหกรรมไก่เนื้อ
2. 20 อันดับบริษัทผู้ผลิตสัตว์ปีกที่ ใหญ่ที่สุดในโลก (ผลสำรวจของ WATT) เพื่อให้เห็นรายละเอียดในเชิงของการเปรียบเทียบได้ดีขึ้น ในกรณีนี้ จึงขอนำเสนอข้อมูล รายละเอียดของบางบริษัทที่น่าสนใจ ดังนี้
บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลกในอุตสาหกรรมสัตว์ปีก (ผลสำรวจของ WATT) ลำดับ
บริษัท
ประเทศ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Tyson Foods Inc. Pilgrim’s Corp Brasil Foods Groupe Doux Marfrig Perdue Farms Inc. (broiler) Industrias Bachoco Koch Foods Inc. Sanderson Farms Inc. Indykpol
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา บราซิล ฝรั่งเศส บราซิล สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา โปแลนด์
กำลังการผลิต (ไก่เป็น ล้านตัวต่อปี) 1,945 1,780 1,690 840 650 626 503 494 405 250
หน่วย: กิโลกรัมต่อคนต่อปี
โรงงานแปรรูป (โรง) ไม่ระบุ 9 ไม่ระบุ 16 ไม่ระบุ 6 7 13 1 ไม่ระบุ
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
44
ลำดับ 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
บริษัท Doux-Frangosul LDC Plukon Royale Group Anhui Hewei Agricultural Rainbow Chicken Henan Doyoo Group Co. Ltd Pilgrim’s de Mexico Al-watania DIP-CMI
ประเทศ บราซิล สเปน เนเธอร์แลนด์ จีน แอฟริกาใต้ จีน เม็กซิโก ซาอุดีอาระเบีย อเมริกากลาง เม็กซิโก
กำลังการผลิต (ไก่เป็น ล้านตัวต่อปี) 247 230 225 220 200 200 184 175 160 157
โรงงานแปรรูป (โรง) ไม่ระบุ 3 10 1 4 1 3 4 ไม่ระบุ 2
ที่มา: Livestock and Poultry: World Markets and Trade 2012, USDA
และเพื่อให้เห็นรายละเอียดของบริษัทชั้นนำจากประเทศคู่แข่งที่น่าสนใจ เช่น บราซิล เป็นประเทศทีส่ ง่ ออกมากทีส่ ดุ ของโลก มีตลาดกว่า 110 ประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม WATT ได้คาดการณ์ว่าบราซิลจะมีศักยภาพการส่งออกลดลงเมื่อเทียบกับคู่แข่งของประเทศอื่นๆ เนื่องจากค่าเงินของบราซิลอ่อนค่าลงน้อยกว่าค่าเงินของประเทศอื่นๆ
จีน เป็นประเทศที่มีอัตราการเจริญเติบโตของการผลิตเนื้อไก่มากที่สุดในโลก
เม็กซิโก เคยนำเข้าจากสหรัฐอเมริกา แต่ปจั จุบนั เม็กซิโกมีบริษทั ขนาดใหญ่ทตี่ ดิ 20 อันดับแรก ของโลกถึง 2 บริษทั คือ Industrias Bachoco และ Tyson de Mexico ซึง่ ทัง้ สองบริษทั ลงทุนโดย สหรัฐอเมริกา
โปแลนด์ เป็นประเทศที่มีการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก เพื่อตอบสนองผู้บริโภคใน EU ซึ่งเป็น ตลาดที่สำคัญของไทย จึงน่าสนใจว่า แล้วผู้ส่งออกไทยจะแข่งขันอย่างไร
ตารางแสดงค่าเงินของประเทศที่สำคัญ ค่าเงินต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ บราซิล (เรียล) จีน (หยวน) ไทย (บาท) ยุโรป (ยูโร)
2543 1.829 8.278 40.146 1.084
2548 2.432 8.184 40.212 0.804
2554 1.628 6.481 30.122 0.711
54/43 (%) -11.00 -21.71 -24.97 -34.42
ที่มา: www.oanda.com
45
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ซาอุดีอาระเบีย ผู้ส่งออกไทยเคยคาดว่าซาอุดีอาระเบียจะเป็นตลาดที่น่าสนใจของสินค้า ประเภท Halal แต่ในปัจจุบนั บริษทั Al-Watania ของซาอุดอี าระเบียสามารถผลิตไก่เป็นได้ปลี ะ 175 ล้านตัว หรือคิดเป็นการผลิตประมาณ 0.2 ของการผลิตเนื้อไก่เป็นของไทย
แอฟริกาใต้ เริม่ มีการผลิตในปริมาณทีเ่ พิม่ มากขึน้ เช่นกัน โดยมีบริษทั Rainbow Chicken สามารถผลิตไก่เนื้อติดอันดับ 1 ใน 20 บริษัทรายใหญ่ของโลก
3. สถานการณ์การผลิตสัตว์ปีกในสหรัฐอเมริกา และ NAFTA สหรัฐอเมริกา ยังคงเป็นประเทศผู้ผลิตไก่มากที่สุดในโลก (USDA คาดว่าปี 2011 สหรัฐ อเมริกาจะผลิตเนื้อไก่ได้ประมาณ 17 ล้านตัน หรือประมาณกว่า 10 เท่าของการผลิตในไทย)
บริษัท Tyson Foods Inc. เป็นบริษัทสัตว์ปีกที่ใหญ่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา และของโลก โดยมีปริมาณไก่เป็นเข้าเชือดปีละประมาณ 1,945 ล้านตัว (หรือประมาณ 2 เท่า ของกำลังการผลิต รวมทั้งประเทศของไทยที่มีการผลิตไก่ไทยเป็นประมาณ 1,000 ล้านตัวในปี 2553)
เม็กซิโก มีปริมาณการผลิตเนื้อไก่เพิ่มขึ้นมากในช่วงระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา เริ่มไม่ยอม กับการทุ่มตลาดขาไก่ของสหรัฐอเมริกาที่ส่งเข้ามาขายในเม็กซิโกด้วยราคาที่ต่ำกว่าราคาตลาดใน สหรัฐอเมริกา ดังนัน้ เม็กซิโกจึงใช้มาตรการตอบโต้การ Anti dumping ของสหรัฐอเมริกา (ทีน่ า่ แปลกใจ คือ ทั้งสองบริษัทขนาดใหญ่ของเม็กซิโก คือ บริษัทของสหรัฐอมเริกา และคำถามต่อมาคือ เมื่อ สหรัฐอเมริกามีปริมาณการผลิตเท่าเดิม และเริ่มส่งออกไปบางประเทศไม่ได้ ผลผลิตส่วนเกินที่เหลือ จะถูกส่งไปที่ไหน ซึ่งในขณะนี้สหรัฐอเมริกาพยายามผลักดันขยายตลาดที่อินเดีย ซึ่งมีความต้องการ 2.6 ล้านตัน และเติบโตเฉลี่ยปีละ 8-10%)
4. สถานการณ์การผลิต และการค้าในยุโรป
การเปลี่ยนแปลงอากาศ เป็นอุปสรรคสำคัญต่อการผลิตเนื้อไก่ในยุโรป
ผลสำรวจจาก WATT พบว่า บริษัท LDC เป็นบริษัทผลิตอาหารที่ทำจากสัตว์ปีกที่ใหญ่ ที่สุดในยุโรป มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สเปน มีกำลังการผลิตประมาณ 230 ล้านตัว/ปี โดยผลิตและ จำหน่ายในหลากหลายแบรนด์สินค้าทั่วยุโรป
สำหรับการผลิตไข่ของยุโรป ยังคงให้ความสำคัญกับ “Animal welfare การเลีย้ งในกรงตับ” โดยข้อมูลจาก The UK’s National Farmer’s Union อ้างว่า มีการใช้งบประมาณกว่า 648 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อปรับปรุงระบบฟาร์มใหม่ รวมถึงสหภาพยุโรปยังตรวจสอบมิให้มีการนำเข้า ไข่ที่เลี้ยงจากไก่ในกรงตับเข้ามาจำหน่ายอย่างเคร่งครัด โดยมีการใช้แสง UV เข้ามาคัดกรองไข่ที่ จำหน่ายในอังกฤษ
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
46
มีการขยายการผลิตเนือ้ ไก่ไปหลายประเทศในยุโรป โดยเฉพาะประเทศแถบยุโรปตะวันออก ซึ่งมีต้นทุนหลายด้านต่ำกว่ายุโรปตะวันตก เห็นได้จาก บริษัท Indykpol ของโปแลนด์ สามารถ เติบโตจนกระทั่งกลายเป็นบริษัทผู้ผลิตสัตว์ปีกที่ติดอันดับ 20 บริษัทแรกของโลก
5. สถานการณ์การผลิต และการค้าในอเมริกาใต้ USDA ระบุวา่ ปี 2011 บราซิลเป็นประเทศทีส่ ง่ ออกเนือ้ ไก่มากทีส่ ดุ ของโลก โดยมีการส่งออก ประมาณ 3 ล้านตัน
ผลสำรวจของ WATT พบว่า บริษทั ผลิตสัตว์ปกี ของบราซิลเป็นบริษทั ขนาดใหญ่ทตี่ ดิ อันดับ 20 อันดับแรกของโลกมากถึง 3 บริษัท ได้แก่
1) Brasil Foods 2) Marfrig 3) Doux-Frangosul
กำลังการผลิต (ไก่เป็น) กำลังการผลิต (ไก่เป็น) กำลังการผลิต (ไก่เป็น)
1,690 ล้านตัวต่อปี 650 ล้านตัวต่อปี 247 ล้านตัวต่อปี
6. เอเชียจะเป็นภูมิภาคที่มีการเปลี่ยนแปลงของการผลิตสัตว์ปีกมากที่สุด เอเชียจะเป็นภูมิภาคที่มีการเปลี่ยนแปลงของการผลิตสัตว์ปีกมากที่สุด ซึ่งเป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศจีน อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 คาดว่าจีนน่าจะมีการ เติบโตทางเศรษฐกิจช้าลง
การระบาดของไข้หวัดนกเกิดขึ้น ล่าสุดในเอเชีย ในเดือนสิงหาคม 2554 ที่ กัมพูชา ซึ่ง FAO ได้ออกมาเตือนว่าอาจ จะมีการระบาดเกิดขึ้นได้อีก
เนื่องจากฟิลิปปินส์เป็นประเทศ ที่ไม่มีไข้หวัดนกระบาด ดังนั้น ฟิลิปปินส์ จึงพยายามห้ามการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกจาก จีน และเวียดนามเข้ามายังฟิลิปปินส์
ผลสำรวจของ WATT ให้ข้อมูล เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งการผลิ ต ของจี น เป็ น รายบริษัท ดังแผนภาพ
47
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
7. การผลิตเนื้อไก่ของรัสเซียเพิ่ม 8.9% จากปี 2553 USDA คาดว่ารัสเซียจะมีการผลิตเนื้อไก่ในปี 2554 ประมาณ 2,520 พันตัน โดยเมื่อเทียบ กับ 5 ปีก่อน มีรายละเอียดดังนี้
ตารางแสดงอุตสาหกรรมไก่เนื้อของรัสเซีย รายการ
การผลิต การนำเข้า การส่งออก การบริโภครวม อัตราบริโภค (กก./คน/ปี)
ปี 2543 786 943 Na 1,320 11.4
ปี 2548 900 1,225 Na 2,139 15
ที่มา: USDA
ถึง ณ ตอนนี้ พวกเราในวงการคงจะพอ ทราบสถานการณ์ และแนวโน้มของอุตสาหกรรมสัตว์ปีกโลกกันบ้างแล้ว อย่างไร ก็ขอเอาใจช่วยให้การดำเนินธุรกิจของ ทุกท่านในปี 2555 เป็นไปด้วยความ ราบรื่นทุกประการ
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
48
ปี 2554 (f) 2,520 600 Na 2,704 19.6
หน่วย: พันตัน
อัตราเติบโต ปี 2554/43 (%) 221 -36 Na 105 72
ไก่ไข่
เริ่มส่งสัญญาณอันตราย หลังเปิดนำเข้าเสรี ไก่ไข่...ไข่ไก่...คงเป็นมหากาพย์ให้ได้เล่า ขานกันไปอีกนาน คนเลี้ยงไก่ไข่พอมีกำไรได้ นานไม่ถึงปี ปัญหาราคาไข่ตกต่ำก็กลับฟื้นคืน กลับมาอีกครั้ง หลังจากเปิดนำเข้าเสรีเมื่อ กลางปี 2552 ซึ่งจะส่งผลให้เห็นภาพชัดเจน ในช่วงต้นปี 2555 และจะยาวต่อเนื่องไปถึง เมื่อไหร่??? ยังไม่ทราบ เมือ่ ปี 2554 มีเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งไก่ไข่จำนวน 47,709 ครัวเรือน (ข้อมูลกรมปศุสัตว์ สำรวจ เมื่อ 15 สิงหาคม 2554) จำนวนไก่ไข่ยืนกรง ทัง้ หมด 49.40 ล้านตัว (ระหว่างเดือนมกราคมพฤศจิกายน 2554) เกษตรกรนำลูกไก่เข้าเลี้ยง ทั้ ง หมด 43.31 ล้ า นตั ว ไก่ ไ ข่ รุ่ น 21.61 ล้านตัว ไก่ไข่ปลดระวาง 23.80 ล้านตัว และ ได้รบั ผลกระทบจากน้ำท่วมจำนวน 4.60 ล้านตัว เหลือไก่ที่ให้ผลผลิตได้จำนวน 43.11 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ 11,376 ล้านฟอง/ปี หรือประมาณ 31 ล้านฟอง/วัน ผลผลิตไข่ไก่เพิ่มมากขึ้น ขณะที่ปริมาณ การบริโภคชะลอตัว ส่งผลให้ปริมาณผลผลิต ไข่ไก่ล้นตลาด และราคาปรับตัวลงอย่างรวดเร็ว
และต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 7 พฤศจิกายน จนถึง ปัจจุบนั (25 ธ.ค. 2554) จากราคาไข่คละฟองละ 3.30 เหลือฟองละ 2.20 บาท (ต้นทุนฟองละ 2.63 บาท) และมีการนำเข้าไข่ไก่ปี 2554 เพิม่ ขึน้ จำนวน 0.1 ล้านฟอง เป็น 1.8 ล้านฟอง เพิม่ ขึน้ มากกว่าหลายเท่า ขณะทีก่ ารส่งออกไข่ไก่ ปี 2554 (ม.ค.-ต.ค.) จำนวนทั้งหมด 59.77 ล้านฟอง ลดลงจากจำนวน 128.95 ล้านฟอง ในช่ ว งเดี ย วกั น ของปี ที่ แ ล้ ว คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 53.65 จากประมาณการนำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ไก่ไข่ ปี 2553-19 ธ.ค. 2554 จำนวน 872,212 ตัว คาดว่าถึงสิน้ เดือนธันวาคม 2554 ผูป้ ระกอบการ นำเข้าอีกจำนวน 54,420 ตัว รวมพ่อ-แม่พันธุ์ ทัง้ หมด 926,632 ตัว (ยังไม่รวมทีเ่ กิดจาก G.P นำเข้า 600 ตัว) ปัจจุบนั แม่ไก่ยนื กรงประมาณ 45 ล้านตัว ให้ไข่ไก่ 13,320 ล้านฟอง/ปี หรือ 36 ล้านฟอง/ วัน ถ้าในปี 2555 ประชากรบริโภคไข่เพิ่มขึ้น เป็น 200 ฟอง/คน/ปี ตามแผนยุทธศาสตร์ใช้ไข่ จำนวน 12,800 ล้านฟอง หรือ 35 ล้านฟอง/วัน
ที่มา: วารสารสาส์นไก่ & สุกร ปีที่ 10 ฉบับที่ 104 เดือนมกราคม 2555
49
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
จะมีไข่เหลือวันละ 1 ล้านฟอง แต่ถา้ บริโภคไม่ถงึ 200 ฟอง/คน/ปี ไข่จะเหลือเท่าไหร่??? และ ขณะเดียวกัน ไก่ยืนกรงก็เพิ่มมากขึ้นๆ จะมีไข่ เหลือสะสมวันละกี่ล้านฟอง และถ้าไก่ไม่เจ็บ ไม่ป่วย ไม่มีโรคระบาดมารบกวน การบริหาร จัดการดี ผลผลิตดี และราคาจะดีด้วยหรือไม่... ใครก็ตอบไม่ได้ จากการประชุมหารือถึงปัญหาไก่ไข่เมื่อ วันที่ 21 ธันวาคม 2554 โดยนายอยุทธ์ หรินทรานนท์ รองอธิบดีกรมปศุสตั ว์ เป็นประธาน ผู้เข้าประชุมได้แสดงความคิดเห็นหลากหลาย แต่ก็ยังไม่มีทางออกที่ชัดเจน สุดท้ายสรุปว่า ปัญหามาจากต้นน้ำ ลองให้ต้นน้ำนำไปทบทวน เรื่องการนำเข้า แนวทางแก้ไข แผนการตลาด ว่าจะทำอย่างไร เช่น ลดการนำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ ในปี 2555-2556 ปิดตู้ฟัก ส่งออกลูกไก่ไข่ไป
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
50
ประเทศเพื่อนบ้าน ในเมื่อเราต้องการเปิดเสรี แล้วก็ต้องหันมาช่วยเหลือกัน อย่าโยนความผิด ให้ใคร ทุกคนไม่มีใครผิด เพราะทุกคนมีความ ต้องการเหมือนกัน มากน้อยต่างกัน ฝ่ายผู้เลี้ยงก็ต้องหาทางช่วยเหลือตัวเอง ปรึกษาฝ่ายผู้เลี้ยงด้วยกันว่าจะมีทางออกระยะ สั้นๆ อย่างไรบ้าง เช่น จำหน่ายไข่โดยตรงถึง ผู้บริโภค แปรรูปเป็นไข่ผง ไข่เหลว ปลดไก่ก่อน กำหนด ยืดอายุการเข้าไก่ หาตลาดต่างประเทศ เร่งส่งออกให้มากขึน้ ส่วนภาครัฐควรทีจ่ ะเข้ามา ช่วยดูแลเรื่องต้นทุนอาหาร พันธุ์สัตว์ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2554 องค์กร เกษตรกรก็ได้ทำหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ชีแ้ จง เรื่องดังกล่าวให้ทราบ และเสนอแนวทางแก้ไข ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ผลจะเป็นอย่างไรต้อง ติดตามกันต่อไป
ที่ พิเศษ...(1) 22 ธันวาคม 2554 เรื่อง ร้องเรียนความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ พ.ศ. 2554 เรียน ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรี สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารและสำเนารายละเอียดข้อมูลอุตสาหกรรมไข่ไก่ การเลี้ยงไก่ไข่เริ่มมากว่า 70 ปีแล้ว เป็นการเลี้ยงเพื่อการบริโภคภายในประเทศเกือบ ทัง้ หมด เนือ่ งจากไข่ไก่เป็นโปรตีนทีถ่ กู ทีส่ ดุ คุณภาพดีทสี่ ดุ และสามารถขยายการเลีย้ งได้มาก และเร็วกว่าการเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นๆ ที่เลี้ยงไว้เพื่อการบริโภค เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่เป็นสิ่งที่ กระทำได้ง่าย การขยายตัวที่ไร้ทิศทางจึงเกิดขึ้น ผลกระทบทำให้ราคาตกต่ำ ในช่วงปี พ.ศ. 2541-2545 บรรดาผู้เลี้ยงไก่ไข่จึงรวมตัวกันร้องเรียนให้จัดระเบียบการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ ไก่ไข่ เพื่อควบคุมการผลิตไข่ไก่ให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคของตลาด เนื่องจาก ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจนล้นตลาดวันละ 3-4 ล้านฟอง เกษตรกรจึงเร่งระบายผลผลิตออกสู่ ท้องตลาด ราคาไข่คละในปี 2545 ราคาลดลงเหลือฟองละ 1 บาท ในขณะทีต่ น้ ทุนการผลิต ฟองละ 1.50 บาท มาตรการทีท่ ำในขณะนัน้ คือการนำไก่แก่ออกจากระบบ 1,000,000 ตัว ทำให้ปัญหาบรรเทาลง และเป็นเหตุให้ภาครัฐเริ่มเข้ามามีบทบาท เข้าแทรกแซงการผลิตและ ดูแลด้านการตลาด รวมทั้งมีความคิดที่จะตั้งคณะกรรมการที่จะบริหารงานเพื่อคนในอาชีพ นั้นๆ จึงเกิดคณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ (Egg Board) ขึ้นในปี พ.ศ. 2549 (18 สิงหาคม 2549) โดยมีหน้าทีห่ ลักคือ พิจารณาการพัฒนาไก่ไข่ทงั้ ระบบ และกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหา อุปสรรค ในอาชีพการเลี้ยงไก่ไข่ เพื่อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี และสนับสนุนให้เอกชนมี เอกภาพไปในทิศทางเดียวกัน หลังปี พ.ศ. 2549 ได้มกี ารประชุมหลายครัง้ และพิจารณาปรับลดปริมาณพันธุส์ ตั ว์ลง เพือ่ ให้เหมาะสมจนได้จำนวนการนำเข้าพ่อแม่ไก่พนั ธุท์ ี่ 405,721 ตัว ในปี 2552 และยึดถือ ปฏิบัติมาโดยตลอด แต่เนื่องจากการเลี้ยงไก่ไข่ถูกปรับเป็นระบบควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม กับการเลี้ยงคือ 28-32 องศาเซลเซียส หรือระบบอีแว๊ป ทำให้ผลผลิตไข่ไก่เพิ่มขึ้นจาก 275 ฟองต่อแม่ต่อปี เป็น 287 ฟองต่อแม่ต่อปี จึงทำให้ปริมาณไข่ยังคงเหลือสะสมในระบบ หลังจากวันที่ 14 มกราคม 2552 เกษตรกรจึงรวมตัวกันขอร้องให้ผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ทั้ง 9 ราย ปรับลดการฟักลูกไก่ลงอีก ผลของการปรับลดในครั้งนั้น ส่งผลให้ในอีก 1 ปีถัดมา ไข่ไก่มีจำนวนลดลง ส่งผลให้ราคาแพงขึ้น กอปรกับมีโรคระบาดซ้ำเติมนานถึง 8 เดือนอีก ทำให้ผลผลิตเสียหาย จากผลกระทบของทั้งสองเหตุการณ์กลายเป็นที่มาของการที่ไข่ไก่ใน
51
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
สมัยรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ มีราคาฟองละ 3.50 บาท ซึ่งเมื่อผนวกกับการ ร้องเรียนของเกษตรกรที่ไม่ได้พันธุ์สัตว์นำไปเลี้ยง จึงเป็นเหตุให้เกิดการนำเข้าเสรีไข่ไก่ตาม มติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2553 ดังนั้น จึงขอสรุปปัญหาที่จะเกิดขึ้นในปี 2555 และอาจจะต่อเนื่องไปอีก 2-3 ปี ข้างหน้า 1. แม่ไก่ยนื กรงจะเพิม่ ขึน้ ประมาณ 10-15 ล้านตัว คือ จาก 36 ล้านตัว เป็น 50-60 ล้านตัว 2. ไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นวันละ 10-12 ล้านฟอง 3. เมือ่ ไข่ไก่มปี ริมาณเพิม่ ขึน้ ราคาไข่ไก่ซงึ่ ขึน้ กับต้นทุนการผลิตทีส่ ำคัญคือ อาหารสัตว์ ที่มีราคาคงที่ หรือสูงขึ้นตามราคาในตลาดโลกและราคาน้ำมัน จึงต้องขาดทุนอย่างแน่นอน 4. ปัญหาสำคัญคือ ไข่ที่ล้นตลาดจะจัดการอย่างไร ขณะที่ทำหนังสือร้องเรียนนี้มีไข่ เหลือในท้องตลาดแล้วประมาณ 100 ล้านฟอง และคาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ ทุกวันตามจำนวน พันธุ์สัตว์ที่ฟักเพิ่มขึ้น
เสนอข้อสรุปของการแก้ปัญหา ระยะสั้น 1. ปลดแม่ไก่ยืนกรงที่อายุเกิน 76 สัปดาห์ออก 2. ยืดระยะเวลาการเข้าเลี้ยงใหม่ต่อไปอีกอย่างน้อย 4 สัปดาห์ หลังจากพักเล้า 21 วัน 3. ลดการฟักไข่เชื้อ 4. ตรวจสอบข้อมูลไก่พนั ธุท์ นี่ ำเข้าแล้วในปี 2554 (ข้อมูลจากด่านกักกันสัตว์สวุ รรณภูม)ิ และแผนการนำเข้าของผู้ผลิตไก่พันธุ์ปี 2555 เพื่อใช้ประเมินผลผลิตปี 2556 5. ตรวจสอบข้อมูลจำนวนฟาร์มไก่และจำนวนพันธุส์ ตั ว์ยนื กรงในปี 2554 (ข้อมูลจาก กรมปศุสัตว์) เพื่อเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงกับปี 2550-2551 ที่ปริมาณการบริโภค และการผลิตอยู่ในลักษณะใกล้เคียงกัน ระยะกลาง 1. ตั้งคณะทำงานเพื่อทำแผนการลดจำนวนพันธุ์สัตว์ที่เป็นแผนบูรณาการทั้ง 3 ฝ่าย อันได้แก่ ผู้ผลิตพันธุ์สัตว์ 19 ราย ผู้เลี้ยงไก่ไข่รายใหญ่ องค์กรเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ และ หน่วยราชการ ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
52
2. ลดจำนวนพันธุ์สัตว์ที่นำเข้าและไข่เชื้อเข้าฟักจากภาคผลิตพันธุ์สัตว์ 3. ให้ผู้เลี้ยงรายใหญ่ส่งแผนการผลิต การขาย และการส่งออก ยึดหลักเลี้ยงมาก รับผิดชอบมาก ระยะยาว 1. ทำแผนศึกษาโครงสร้างการบริโภค การเลี้ยงให้สมดุล ยึดหลักเลี้ยงให้พอดีกับการ บริโภค เนื่องจากทรัพยากรคืออาหารสัตว์มีจำกัด จะใช้โดยปราศจากการวางแผน หรือ จะให้เหลือทิ้งขว้างไม่ได้ 2. คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์ ต้องไม่ได้มีหน้าที่แค่ตัวเชื่อม ระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แล้วเสนอให้คณะรัฐมนตรีสั่งการ แต่ ควรมีหน้าที่วางกรอบการเลี้ยง การกระจายพันธุ์สัตว์ให้พอเพียง ไม่กระจุกตัวแต่ภาคบริษัท การสร้างความเข้มแข็งให้คนเลี้ยงสามารถต่อสู้กับการค้าเสรี และสร้างแบบแผนความ กลมเกลียวเป็นไปในทิศทางเดียวกันขององค์กร ในประเทศที่พัฒนาแล้วหน้าที่หลักของ Egg Board ในประเทศนั้นๆ คือส่งเสริมให้ผู้บริโภคกินไข่เพิ่มขึ้นให้ได้ด้วยทุกวิธีการ รวมทั้ง การวางแผนอย่างรัดกุมให้ผลิตไข่ได้พอดีกับการบริโภคและส่งออก โดยฟังตัวแทนที่ได้รับ เลือกเข้ามาว่าควรเป็นไปในทิศทางใด 3. สร้างหลักประกันความเสีย่ งในการเลีย้ งไก่ไข่ให้คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่ฯ สนับสนุนและผลักดันให้ “สมาคมพัฒนาธุรกิจไก่ไข่” ซึง่ เป็นองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ จากการรวมกลุม่ ของเกษตรกรและเอกชน สามารถเก็บเงินเข้ากองทุนเพื่อใช้ในการพัฒนาการผลิต การตลาด ไข่ไก่ทั้งระบบ และแก้ไขปัญหาไก่ไข่ที่สะดวกรวดเร็ว ด้วยเงินทุนของผู้ที่เกี่ยวข้องกับไก่ไข่ ทั้งวงจรมารวมกัน จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และขออนุญาตเข้าพบ ฯพณฯ ท่านนายกรัฐมนตรี เพื่อ ชี้แจงรายละเอียดข้อมูลต่างๆ เพิ่มเติม ขอแสดงความนับถือ
(นายมาโนช ชูทับทิม) นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่ไข่
(นายอาทร ช่วยณรงค์)
ประธานสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่แปดริ้ว จำกัด
(นายมงคล พิพัฒสัตยานุวงศ์)
นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่
(นายบุญยง ศรีไตรราศรี)
ประธานสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ชลบุรี จำกัด
(นายศิริบัญชา บุญแสง)
ประธานสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น้ำน้อย จำกัด
53
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
54
ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ หจก. อุดมชัยฟาร์ม สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ชลบุรี บจก. ไก่พันธุ์เกิดเจริญ บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร บจก. แหลมทองฟาร์ม บจก. ฟาร์มกรุงไทย บจก. อาหารเบทเทอร์ บจก. ยู่สูงอาหารสัตว์ บจก. ฟาร์มไก่พันธุ์ 111 บจก. ฟาร์มนาดีพันธุ์ดี บจก. ฟาร์มสัตว์ปีกล้านนา บจก. ศรีรุ่งเรืองฟาร์ม บจก. รวมพรมิตร บจก. อีสเทิร์นฟีดมิลล์ สหกรณ์โคนมและการเกษตร บจก. ไทยฟู้ดส์เลเยอร์ฟาร์ม บจก. ไทยเอกฟาร์ม บจก. รุ่งโรจน์ฟาร์ม บจก. เอเปกซ์ บรีดเดอร์ฟาร์ม บจก. เกียรติดำรงค์ชัยฟาร์ม บจก. ยูไนเต็ดฟีดดิ้ง รวมทั้งหมด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมปัญหาราคาไข่ไก่ วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์
รายชื่อผู้ผลิตลูกไก่ไข่
ลำดับที่
ปี พ.ศ. 2553 ปี พ.ศ. 2554 22-23 ธ.ค. 54 P.S. 28 ธ.ค. 53 P.S. 53 ที่เหลือ P.S. นำเข้าใหม่ P.S. 54 ที่เหลือ คาดว่าจะนำเข้าอีก (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตัว) 2,036 1,934 3,200 3,536 2,892.00 1,800 1,800 25,857.00 14,107 11,440 25,547 57,130 33,967 41,000 74,967 8,000 269,422 127,330 182,772 310,102 18,000 76,629 38,499 67,220 105,719 31,622 9,320 39,100 48,420 74,091 44,416 80,168 124,584 21,000 17,500 5,272 15,972 14,119 24,941 17,311 19,760 37,071 27,183 9,780 11,448 21,228 6,852 4,775 6,908 7,005 6,000 5,700 4,448 10,148 6,000 5,700 4,430 10,130 14,268 6,905 15,285 22,190 7,420 3,000 2,850 2,850 25,170 25,170 21,235 21,235 6,648 6,391 645,423 327,866 558,004 872,212 54,420
ปริมาณ PS ที่ใช้งาน ปี 2553-2554 และแผน ปี 2555 1,800 25,547 82,967 328,102 105,719 48,420 145,584 14,119 37,071 21,228 7,005 10,148 10,130 29,610 2,850 25,170 21,235 6,391 926,632
ปี 2554 P.S. รวม (ตัว)
ปี 2555 แผนนำเข้า P.S. (ตัว) 3,536 18,000 18,000
เล่ม 129 ตอนพิเศษ 3 ง
ราชกิจจานุเบกษา
6 มกราคม 2555
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก เพื่อปฏิบัติตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก และความตกลง การค้าพหุภาคีอื่นที่ผนวกท้ายความตกลงดังกล่าว รวมทั้งพิธีสาร มติ และตราสารอื่นๆ อันเป็น ผลจากการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบอุรุกวัย และข้อผูกพันตามพิธีสารว่าด้วยการนำพิกัดศุลกากร ฮาร์โมไนซ์อาเซียนมาใช้ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 14 แห่งพระราชกำหนดพิกัดอัตรา ศุลกากร พ.ศ. 2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมพระราชกำหนดพิกัดอัตรา ศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิก (1) ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง การยกเว้นอากร ลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก ลงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2549 (2) ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง การยกเว้นอากร ลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตัง้ องค์การการค้าโลก (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550 (3) ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง การยกเว้นอากร ลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตัง้ องค์การการค้าโลก (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2551 (4) ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง การยกเว้นอากร ลดและเพิม่ อัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตัง้ องค์การการค้าโลก (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2551 (5) ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตัง้ องค์การการค้าโลก (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 24 ธันวามคม พ.ศ. 2553
55
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ข้อ 2 ให้ยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรสำหรับของในภาค 2 แห่งพิกดั อัตราศุลกากร ท้ายพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนดพิกัดอัตรา ศุลกากร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555 ดังต่อไปนี้ (1) ของที่ต้องเสียอากรในอัตราที่สูงกว่าอัตราที่ประเทศไทยได้ผูกพันไว้ในความตกลง มาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก และความตกลงการค้าพหุภาคีอื่นที่ผนวกท้ายความตกลง ดังกล่าว รวมทั้งพิธีสาร มติ และตราสารอื่นๆ อันเป็นผลจากการเจรจาการค้าพหุภาคีรอบอุรุกวัย ให้ได้รับการยกเว้น หรือลดอัตราอากรเท่ากับอัตราตามข้อผูกพันตามที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตรา อากร 1 ท้ายประกาศนี้ (2) ของที่ต้องเสียอากรในอัตราตามข้อผูกพันที่กำหนดไว้ในบัญชีอัตราอากร 1 ท้าย ประกาศนี้ ในอัตราตามสภาพซึ่งเมื่อเทียบเป็นร้อยละของราคาแล้วสูงกว่าอัตราตามราคา ให้ลด อัตราอากรลงเหลือเทียบเท่าอัตราตามราคา ข้อ 3 การยกเว้นอากร และลดอัตราอากรตามข้อ 2 ต้องเป็นของที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศ ที่เป็นภาคีของความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก ข้อ 4 ให้ยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากรสำหรับของในภาค 2 แห่งพิกัดอัตรา ศุลกากรท้ายพระราชกำหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกำหนด พิกัดอัตราศุลกากร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2555 ตามบัญชีอัตราอากร 2 ท้ายประกาศนี้ ข้อ 5 การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากรตามข้อ 4 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) อัตราในโควตา ให้ใช้สำหรับของที่มีหนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิชำระภาษี ตามพันธกรณี ตามความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก สำหรับภาษีในโควตา (แบบ ร. 2) ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ เว้นแต่ใบยาสูบตามพิกัดประเภทย่อย 2401.10.10 ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย
2401.10.20 2401.10.90 2401.20.30 2401.20.90
ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย
2401.10.40 2401.20.10 2401.20.40 2401.30.10
ประเภทย่อย 2401.10.50 ประเภทย่อย 2401.20.20 ประเภทย่อย 2401.20.50 และประเภทย่อย 2401.30.90
ให้ใช้หนังสือรับรองที่ออกโดยกรมสรรพสามิต (2) อัตรานอกโควตา ให้ใช้สำหรับของที่มีหนังสือรับรองแสดงการได้รับสิทธิชำระ ภาษีตามพันธกรณีตามความตกลงการเกษตรภายใต้องค์การการค้าโลก สำหรับภาษีนอกโควตา (แบบ ร. 4) ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ เว้นแต่ใบยาสูบตามพิกัดประเภทย่อย 2401.10.10 ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
56
ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย
2401.10.20 2401.10.90 2401.20.30 2401.20.90
ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย ประเภทย่อย
2401.10.40 2401.20.10 2401.20.40 2401.30.10
ประเภทย่อย 2401.10.50 ประเภทย่อย 2401.20.20 ประเภทย่อย 2401.20.50 และประเภทย่อย 2401.30.90
ให้ใช้หนังสือรับรองที่ออกโดยกรมสรรพสามิต (3) ของที่ได้รับการยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากรตามประกาศนี้ ต้อง เป็นของที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศที่เป็นภาคีของความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก หรือข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรและการค้า 1947 ข้อ 6 ผู้นำของเข้าต้องปฏิบัติตามระเบียบพิธีการที่กรมศุลกากรกำหนด ข้อ 7 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2555 ธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
57
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ประเภท
ประเภท รหัส ย่อย ย่อย
04.01 0401.10.10 0401.10.90 0401.20.10 0401.20.90 0401.40.10 0401.40.20 0401.40.90 0401.50.90 04.02 0402.10.41 0402.10.49 0402.10.91 0402.10.99 07.01 0701.10.00 0701.90.00 07.03 0703.10.11 0703.10.19 0703.20.10 0703.20.90 07.12 0712.20.00 0712.90.10 08.01 0801.11.00 0801.12.00 0801.19.00 08.13 0813.40.10 09.01 0901.11.10 0901.11.90 0901.12.10 0901.12.90 0901.21.10 0901.21.20 0901.22.10 0901.22.20
00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 71 99 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00
บัญชีอัตราอากร 2 ท้ายประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากร ลดและเพิ่มอัตราอากรศุลกากร ตามข้อผูกพันในความตกลงมาร์ราเกชจัดตั้งองค์การการค้าโลก ลงวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2555 ภาค 2 พิกัดอัตราอากรขาเข้า อัตราในโควตา อัตรานอกโควตา ตามราคา ตามสภาพ ตามราคา ตามสภาพ รายการ ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท -- ที่มีสภาพเหลว 20 - 41 -- อื่นๆ 20 - 41 -- ที่มีสภาพเหลว 20 - 41 -- อื่นๆ 20 - 41 -- นมที่มีสภาพเหลว 20 - 41 -- นมที่แช่เย็นจนแข็ง 20 - 41 -- อื่นๆ 20 - 41 -- อื่นๆ 20 - 41 --- บรรจุภาชนะมีน้ำหนักรวมตั้งแต่ 20 กิโลกรัมขึ้นไป 5 - 216 -- อื่นๆ 5 - 216 --- บรรจุภาชนะมีน้ำหนักรวมตั้งแต่ 20 กิโลกรัมขึ้นไป 5 - 216 --- อื่นๆ 5 - 216 - ใช้สำหรับการเพาะปลูก ยกเว้นอากร 125 - เฉพาะที่นำเข้าเพื่อการแปรรูป 27 - 125 - อื่นๆ ยกเว้นอากร 125 --- หัวสำหรับขยายพันธุ์ 27 - 142 --- อื่นๆ 27 - 142 -- หัวสำหรับขยายพันธุ์ 27 - 57 -- อื่นๆ 27 - 57 - หอมหัวใหญ่ 27 - 142 -- กระเทียม 27 - 57 -- ทำให้แห้ง 20 - 54 -- ทั้งกะลา (เอนโดคาร์ป) 20 - 54 -- อื่นๆ 20 - 54 -- ลำไย 30 - 53 --- อะราบิก้าดับเบิลยูไอบี หรือโรบัสต้าโอไอบี 30 - 90 --- อื่นๆ 30 - 90 --- อะราบิก้าดับเบิลยูไอบี หรือโรบัสต้าโอไอบี 30 - 90 ---อื่นๆ 30 - 90 --- ไม่บด 30 - 90 --- บด 30 - 90 --- ไม่บด 30 - 90 --- บด 30 - 90 -
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
58
ประเภท รหัส ประเภท ย่อย ย่อย 09.02
09.04
10.05 10.06
12.01 12.03 12.09 15.07 15.11
0901.90.10 0901.90.20 0902.10.10 0902.10.90 0902.20.10 0902.20.90 0902.30.10 0902.30.90 0902.40.10 0902.40.90 0904.11.10 0904.11.20 0904.11.90 0904.12.10 0904.12.20 0904.12.90 1005.90.90 1006.10.10 1006.10.90 1006.20.10 1006.20.90 1006.30.30 1006.30.40 1006.30.91 1006.30.99 1006.40.10 1006.40.90 1201.10.00 1201.90.00 1203.00.00 1209.91.10 1507.10.00 1507.90.10 1507.90.90 1511.10.00 1511.90.11 1511.90.19 1511.90.91 1511.90.92 1511.90.99
00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 71 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00
อัตราในโควตา อัตรานอกโควตา ตามราคา ตามสภาพ ตามราคา ตามสภาพ รายการ ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท -- เปลือกและเยื่อของกาแฟ 30 - 90 -- ของที่ใช้แทนกาแฟที่มีกาแฟผสม 30 - 90 -- ใบ 30 - 90 -- อื่นๆ 30 - 90 -- ใบ 30 - 90 -- อื่นๆ 30 - 90 -- ใบ 30 - 90 -- อื่นๆ 30 - 90 -- ใบ 30 - 90 -- อื่นๆ 30 - 90 --- สีขาว 27 - 51 --- สีดำ 27 - 51 --- อื่นๆ 27 - 51 --- สีขาว 27 - 51 --- สีดำ 27 - 51 --- อื่นๆ 27 - 51 -- เฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 20 - 73 -- เหมาะสำหรับการเพาะปลูก 30 - 52 -- อื่นๆ 30 - 52 -- ข้าวหอมมะลิไทย 30 - 52 -- อื่นๆ 30 - 52 -- ข้าวเหนียว 30 - 52 -- ข้าวหอมมะลิไทย 30 - 52 --- ข้าวนึ่ง 30 - 52 --- อื่นๆ 30 - 52 -- ชนิดที่ใช้สำหรับเป็นอาหารสัตว์ 30 - 52 -- อื่นๆ 30 - 52 - ใช้สำหรับการเพาะปลูก ยกเว้นอากร 80 - อื่นๆ ยกเว้นอากร 80 เนื้อมะพร้าวแห้ง (โคปรา) 20 - 36 --- เมล็ดหอมหัวใหญ่ ยกเว้นอากร 218 - น้ำมันดิบ จะเอากัมออกหรือไม่ก็ตาม 20 - 146 -- แฟรกชันของน้ำมันถั่วเหลืองที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ 20 - 146 -- อื่นๆ 20 - 146 - น้ำมันดิบ 20 - 143 --- แฟรกชันของแข็ง 20 - 143 --- อื่นๆ 20 - 143 --- แฟรกชันของแข็ง 20 - 143 --- อื่นๆ บรรจุภาชนะ มีน้ำหนักสุทธิไม่เกิน 20 กิโลกรัม 20 - 143 --- อื่นๆ 20 - 143 -
59
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ประเภท รหัส ประเภท ย่อย ย่อย 15.13 1513.11.00 1513.19.10 1513.19.90 1513.21.10 1513.21.90 1513.29.11
00 00 00 00 00 00
1513.29.12 00 1513.29.13 00 1513.29.14 1513.29.91 1513.29.92 1513.29.94
00 00 00 00
1513.29.95 1513.29.96 1513.29.27 17.01 1701.12.00 1701.13.00
00 00 00 00 00
1701.14.00 1701.91.00 1701.99.11 1701.99.19 1701.99.90 21.01 2101.11.10 2101.11.90 2101.12.10
00 00 00 00 00 00 00 00
2101.12.90 22.02 2202.90.10 2202.90.20 2202.90.30 2202.90.90 23.04 2304.00.90
00 00 71 71 71 00
รายการ -- น้ำมันดิบ --- แฟรกชันของน้ำมันมะพร้าวที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ --- อื่นๆ --- น้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม --- อื่นๆ ---- แฟรกชันของแข็งของน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม ที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ ---- แฟรกชันของแข็งของน้ำมันบาบาสสุที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ ---- อื่นๆ ของน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม (โอเลอินของ น้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม) ที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ ---- อื่นๆ ของน้ำมันบาบาสสุที่ไม่ทำให้บริสุทธิ์ ---- แฟรกชันของแข็งของน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม ---- แฟรกชันของแข็งของน้ำมันบาบาสสุ ---- โอเลอินของน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์มที่ทำให้บริสุทธิ์ ฟอก และกำจัดกลิ่น (อาร์บีดี) ---- น้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์มอาร์บีดี ---- อื่นๆ ของน้ำมันเนื้อในเมล็ดปาล์ม ---- อื่นๆ ของน้ำมันบาบาสสุ -- น้ำตาลที่ได้จากหัวบีต -- น้ำตาลที่ได้จากอ้อยที่ระบุไว้ในหมายเหตุประเภทย่อย 2 ของตอนนี้ -- น้ำตาลที่ได้จากอ้อยอื่นๆ -- ที่เติมสารปรุงกลิ่นรส หรือสารแต่งสี ---- สีขาว ---- อื่นๆ ---- อื่นๆ --- กาแฟที่ผสมได้ทันที --- อื่นๆ --- ของผสมในลักษณะเป็นเพสต์ ซึ่งมีกาแฟคั่วบดเป็นหลัก ที่มีไขมันจากพืช --- อื่นๆ -- เครื่องดื่มนมยูเอชทีที่ปรุงกลิ่นรส -- เฉพาะเครื่องดื่มที่มีนมผสม -- เฉพาะเครื่องดื่มที่มีนมผสม -- เฉพาะเครื่องดื่มที่มีนมผสม - อื่นๆ - นำเข้าจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2557 - นำเข้าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558
อัตราในโควตา อัตรานอกโควตา ตามราคา ตามสภาพ ตามราคา ตามสภาพ ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท 20 - 52 20 - 52 20 - 52 20 - 143 20 - 143 20 - 143 20 20
-
-
143 143
-
-
20 20 20 20
-
-
143 143 143 143
-
-
20 20 20 65 65
-
-
143 143 143 94 94
-
-
65 65 65 65 65 40 40 40
-
-
94 94 94 94 94 49 49 49
-
-
40 20 20 20 20
-
-
49 84 84 84 84
-
-
2 10
-
-
119 119
-
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
60
ประเภท รหัส ประเภท ย่อย ย่อย 24.01 2401.10.10 2401.10.20 2401.10.50 2401.10.90 2401.20.10 2401.20.20 2401.20.30 2401.20.40 2401.20.50 2401.20.90 2401.30.10 2401.30.90 50.02 5002.00.00
00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00 00
รายการ -- พันธุ์เวอร์จิเนีย บ่มด้วยไอร้อน -- พันธุ์เวอร์จิเนีย นอกจากที่บ่มด้วยไอร้อน -- อื่นๆ บ่มด้วยไอร้อน -- อื่นๆ -- พันธุ์เวอร์จิเนีย บ่มด้วยไอร้อน -- พันธุ์เวอร์จิเนีย นอกจากที่บ่มด้วยไอร้อน -- พันธุ์โอเรียนตัล -- พันธุ์เบอร์เลย์ -- อื่นๆ บ่มด้วยไอร้อน -- อื่นๆ นอกจากที่บ่มด้วยไอร้อน -- ก้านใบยาสูบ -- อื่นๆ ไหมดิบ (ยังไม่เข้าเกลียว)
อัตราในโควตา อัตรานอกโควตา ตามราคา ตามสภาพ ตามราคา ตามสภาพ ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท ร้อยละ หน่วย หน่วยละบาท 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 30 - 72 20 - 226 -
61
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย โดยเลขาธิการสมาคมฯ คุณบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ ได้เข้าร่วมเป็นวิทยากรในการเสวนาเรื่อง
"ความอยู่รอดของอาหารสัตว์... ภายใต้สารพัดวิกฤติ" เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม 2555 ณ โรงแรมรามา การ์เด้นส์
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
62
ภาคปศุสัตว์ไทยมีความต้องการอาหารสัตว์ประมาณ 14.33 ล้านตัน ในปี 2554 ใกล้เคียงกับการประเมินปีที่แล้ว โดยเป็นความต้องการของเนื้อไก่ร้อยละ 35 รองลงมาเป็นสุกรร้อยละ 32 และไก่ไข่ร้อยละ 17
• ไก่เนือ้ : (1) ปริมาณความ ต้องการอาหารของไก่เนื้อในปี 2555 ประมาณ 5.31 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 4.97 ล้านตัน ร้อยละ 6.8 โดยมีอัตราการเติบโตของปริมาณต่อปี เฉลี่ยร้อยละ 5.3 (2) ราคาไก่เนื้อเฉลี่ย 47 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิ่มขึ้น จาก 43 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดย มี อั ต ราการเพิ่ ม ของราคาต่ อ ปี เ ฉลี่ ย ร้อยละ 4 นับเป็นแรงจูงใจในการเข้ามา ดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรม
63
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
• สุกร : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของสุกรในปี 2555 ประมาณ 4.67 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 4.62 ล้านตัน ร้อยละ 1 โดยมีอัตราการเติบโตของ ปริมาณต่อปีเฉลีย่ ร้อยละ 1.9 (2) ราคาสุกรเฉลีย่ 66 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิม่ ขึน้ จาก 60 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 4.9
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
64
• ไก่ไข่ : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของไก่ไข่ในปี 2555 ประมาณ 2.63 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 2.39 ล้านตัน ร้อยละ 10 โดยมีอัตราการเติบโตของ ปริมาณต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 5.4 (2) ราคาไก่ไข่เฉลี่ย 301 บาทต่อร้อยฟอง ในปี 2554 เพิ่มขึ้นจาก 265 บาทต่อร้อยฟอง ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ย ร้อยละ 6.2 ซึ่งขณะนี้ราคาต่ำกว่าต้นทุนการผลิตแล้ว เนื่องจากการปล่อยนำเข้าเสรี พ่อแม่พันธุ์ และการประกาศราคาชี้นำ
65
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
• กุ้ง : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของกุ้งในปี 2555 ประมาณ 9.6 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 8 แสนตัน ร้อยละ 20 โดยมีอัตราการเติบโตของ ปริมาณต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 5.1 (2) ราคากุ้งเฉลี่ย 138 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิ่มขึ้น จาก 115 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 0.3 โดยปัจจุบันเน้นการผลิตกุ้งขาว ซึ่งมีราคาดี ทำให้ผู้เลี้ยงกุ้งมั่นใจในการขยายกำลัง การผลิต
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
66
• เป็ดเนือ้ : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของเป็ดเนือ้ ในปี 2555 ประมาณ 2.74 แสนตัน คงที่จากปี 2554 ที่ 2.74 แสนตัน โดยมีอัตราการเติบโตของปริมาณ ต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 3.5 (2) ราคาเป็ดเนื้อเฉลี่ย 58 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิ่มขึ้น จาก 50 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 4.1 โดยมีสัดส่วนการบริโภคภายในประเทศกว่าร้อยละ 90 เป็นการส่งออกเพียงร้อยละ 10
67
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
• โคนม : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของโคนมในปี 2555 ประมาณ 5.75 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 4.98 แสนตัน ร้อยละ 15.4 โดยมีอัตราการ เติบโตของปริมาณต่อปีเฉลีย่ ร้อยละ 4.9 (2) ราคาโคนมเฉลีย่ 16 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิ่มขึ้นจาก 15 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 3.7 ซึ่งโดยทั่วไปมีการปรับสภาพการเลี้ยงที่ดีขึ้น ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
68
• ปลา : (1) ปริมาณความต้องการอาหารของปลาดุกและปลานิลในปี 2555 ประมาณ 6.3 แสนตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2554 ที่ 6 แสนตัน ร้อยละ 5 โดยมีอัตราการ เติบโตของปริมาณต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 12 (2) ราคาปลานิลเฉลี่ย 61 บาทต่อกก. ในปี 2554 เพิ่มขึ้นจาก 57 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ย ร้อยละ 5 ราคาปลาดุกเฉลี่ย 32 บาทต่อกก. ในปี 2554 คงที่จาก 32 บาทต่อกก. ในปี 2553 โดยมีอัตราการเพิ่มของราคาต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 3.5
69
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
70
ในภาพรวม คาดการณ์ว่าจะมีความต้องการใช้ปริมาณอาหารสัตว์ในปี 2555 กว่า 15.2 ล้านตัน ซึ่งมีอัตราการเติบโตในปี 2555 เปรียบเทียบปี 2554 ที่ร้อยละ 6.3 และมากกว่าค่าเฉลี่ยที่ร้อยละ 3.8 โดยมีการใช้หลักในไก่เนื้อและสุกร
การใช้วัตถุดิบหลักของอาหารสัตว์ในปี 2554 เป็นข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ข้าว และมันสำปะหลัง ร้อยละ 60 และเป็นกากถั่วเหลืองร้อยละ 24 และเป็นปลาป่นร้อยละ 4 ทั้งนี้ หากนโยบายรัฐกำหนดไม่เหมาะสม ก็จะส่งผลกระทบกับอุตสาหกรรม ซึ่งจะเห็น ได้ว่าปัจจุบันมีการรับจำนำข้าวเปลือก หัวมัน และในอนาคตอาจมีการรับจำนำข้าวโพด ก็ได้ ทำให้สินค้าเหล่านี้เป็นสินค้ากึ่งประชานิยม รวมทั้ง กากถั่วเหลืองก็ติดปัญหาภาษี นำเข้าเช่นกัน
ต้นทุนรวมของราคาวัตถุดิบหลัก ตั้งแต่ปี 2538-2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 105 จาก 36.92 บาทต่อกก. ในปี 2538 เป็น 75.72 บาทต่อกก.ในปี 2554 เป็นผลจาก การเพิม่ ขึน้ ของมันเส้นกว่าร้อยละ 241 ปลายข้าวร้อยละ 110 ปลาป่นร้อยละ 100 ข้าวโพด ร้อยละ 95 และกากถั่วเหลืองร้อยละ 79 เนื่องจากมีความต้องการนำไปใช้ในพลังงาน และเชื้อเพลิงทดแทน ทำให้ต้นทุนอยู่ในวงจรขาขึ้น
71
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
72
73
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
74
ปัจจัยที่มีผลกระทบกับอุตสาหกรรม ได้แก่
1. ภาวะเศรษฐกิจโลก : ปัญหาเศรษฐกิจในประเทศอเมริกาและ EU ซึ่งเป็น ผู้ซื้อรายใหญ่ จะส่งผลกระทบกับตลาดส่งออก โดยต้องหาตลาดใหม่ๆ 2. วิกฤติพลังงาน : น้ำมันดิบโลกราคา 18 เหรียญสหรัฐเมื่อ 17 ปีที่แล้ว ตอนนี้ 100 เหรียญสหรัฐ ราคาสูงขึ้นกว่า 5 เท่า ดังนั้น ต้องมีการปรับตามพฤติกรรม และมีระบบป้องกันความเสี่ยงที่ดี เนื่องจากพืชน้ำมันและธัญพืชมีแนวโน้มตามพลังงาน 3. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. โรคระบาดสัตว์ : ต้องอาศัยเทคโนโลยีในการทำฟาร์มให้มีมาตรฐาน เช่น ระบบปิด 5. AEC และการค้าเสรี : Feed per capita ของประเทศในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 5 ประเทศ (ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย) ที่ระดับ 0.09 ซึ่งใกล้เคียงกับอัตราของโลกที่ 0.10 แต่มีอัตราการเติบโตร้อยละ 6.7 ซึ่งสูงกว่าของโลก ที่ร้อยละ 1.5 เป็นอย่างมาก
75
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
เวียดนาม 27%
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
76
ประเทศไทย 28%
แนวทางแก้ไขวิกฤติของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์
• เร่งเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์ของ ไทยโดยเฉพาะกลุ่มผลิตภัณฑ์ข้าวและข้าวโพดให้เทียบเท่าสากล เนื่องจาก yield ของไทย ยังต่ำกว่าค่าเฉลี่ย • ลดภาษีการนำเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์ (19 รายการ) ที่เราผลิตได้ไม่เพียงพอ และเปิดให้มีการนำเข้าวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างเสรี เนื่องจากกระแส WTO ซึ่งจะต้องมีภาษีลดลงเรื่อยๆ (แต่ปัจจุบันเสียปีละกว่า 2-3 พันล้านบาท) และมี NTB ข้าวโพด มัน ข้าว จากประเทศเขมร ลาว พม่า รวมทั้ง การผลักดันราคาสินค้าในประเทศ ซึ่งในเบื้องต้นเห็นด้วยว่าควรส่งเสริมเกษตรกรให้อยู่ได้ แต่จะส่งผลกับกลไกที่เชื่อมโยง ต่างประเทศที่ส่งออกด้วย อย่างไรก็ตาม รัฐควรตั้งกลไกราคาที่สะท้อนราคาตลาด ส่วนต่างราคาก็นำไปช่วยเหลือเกษตรกร โดยกำหนดราคาขั้นต่ำ คล้ายกับการประกัน รายได้ • เอกชนทุกภาคส่วนในภาคปศุสัตว์ควรร่วมมือกันผลักดันและแก้ปัญหาต่างๆ โดยภาครัฐต้องให้การสนับสนุนเพื่อความเจริญเติบโตของภาคปศุสัตว์และความยั่งยืนใน ระยะยาว
77
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
ธุรกิจอาหารสัตว์ เล่มที่ 140 กันยายน-ตุลาคม 2554
78
ใบสมัครสมาชิกวารสาร
ธุรกิจอาหารสัตว์
ของสมาคมผูผ้ ลิตอาหารสัตว์ไทย
ชื่อ_________________________________________________สมาชิกเลขที่_____________________ ที่ทำงาน____________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ โทรศัพท์____________________________________________________________________________ ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่______________________________________________________หมู่ที่__________ ตรอก/ซอย ________________________________ถนน_____________________________________ แขวง_______________เขต_______________จังหวัด___________________รหัสไปรษณีย์_________ สมัครเป็นสมาชิกวารสาร ธุรกิจอาหารสัตว์ ราย 2 เดือน จำนวน 6 เล่ม ตั้งแต่เล่มที่_________________ถึงเล่มที่_________________ พร้อมนี้ได้ส่งค่าสมาชิก และค่าไปรษณีย์ภัณฑ์จำนวนเงิน 300 บาท มาด้วยแล้ว ลงชื่อ _______________________________ ผู้สมัคร
ีย์
ือเช็คไปรษณ
10120 . ท ก า ว า น ป.ท. ยาน รกิติ ร ส่งธนาณัติห
สั่งจ่าย กันทราก ชั้น 17 า ช ี ร ป ณ ุ ค 0 ในนาม เวอร์ ห้อง 17 ว า ท ี ซ ี ซ ย ท ไ เทพฯ 10120 ง ุ ร 889 อาคาร ก ร ท า ส 265 ้ ยานนาวา . 0-2675-6 ถนนสาทรใต ร า ส ร ท โ 4 5-6263 โทร. 0-267
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน
และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19.
บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท บริษัท
เบทาโกร จำกัด (มหาชน) กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด อาหารสัตว์ไทยสวนหลวง จำกัด ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บี. พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด ลีโก้ อินสตรูเมนท์ส (ประเทศไทย) จำกัด อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด โกรเบสท์ คอร์โพเรชั่น จำกัด แลบอินเตอร์ จำกัด ตงชางเครื่องชั่ง (ประเทศไทย) จำกัด บี เอ เอส เอฟ จำกัด เวทโปรดักส์กรุ๊ป จำกัด ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด เคมิน อินดัสตรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด ที. ซี. ยูเนียน อโกรเทค จำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2247-7000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2599-1047-65 โทร. 0-2819-8790-7 โทร. 0-2886-4350 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2279-7534 โทร. 0-3488-6140-46 โทร. 0-2757-4792-5 โทร. 0-2204-9455 โทร. 0-2937-4888 โทร. 0-2831-7299 โทร. 0-2938-1406-8 โทร. 0-2476-0674-82