รายนามสมาชิก
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย 1. บมจ. กรุงไทยอาหารสัตว์ 2. บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด 3. บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด 4. บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด 5. บมจ. ไทยลักซ์เอ็นเตอร์ ไพรส์ 6. บมจ. ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ 7. บริษัท คาร์กิลล์สยาม จำกัด 8. บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด 9. บมจ. อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย 10. บมจ. เบทาโกร 11. บริษัท ซี.เอ็น.พี. อาหารสัตว์ จำกัด 12. บมจ. กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร 13. บริษัท แหลมทองสหการ จำกัด 14. บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด 15. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อีสาน 16. บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 17. บริษัท โกรเบสท์คอร์ โพเรชั่น จำกัด 18. บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 19. บมจ. เจริญโภคภัณฑ์อาหาร 20. บริษัท ฟีดสเปเชียลตี้ จำกัด 21. บริษัท เอเชี่ยน ฟีด จำกัด 22. บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด 23. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด 24. บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด 25. บริษัท คาร์กิลล์มีทส์ (ไทยแลนด์) จำกัด 26. บริษัท ยูไนเต็ดฟีดมิลล์ จำกัด 27. บริษัท มิตรภาพอาหารสัตว์ จำกัด 28. บริษัท เหรียญทองฟีด (1992) จำกัด
29. บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด 30. บริษัท บี.พี. ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด 31. บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด 32. บริษัท เอส พี เอ็ม อาหารสัตว์ จำกัด 33. บริษัท อีสเทิร์น ฟีดมิลล์ จำกัด 34. บริษัท เบทาโกรนอร์ธเทอร์น จำกัด 35. บริษัท ซันฟีด จำกัด 36. บริษัท ยูนโี กร อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 37. บริษัท พนัสโภคภัณฑ์ จำกัด 38. บริษัท ยู่สูงอาหารสัตว์ จำกัด 39. บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด 40. บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด 41. บมจ. บางกอกแร้นซ์ 42. บริษัท กาญจนาอาหารสัตว์ จำกัด 43. บริษัท ก้าวหน้าอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ จำกัด 44. บมจ. กรุงเทพโปรดิ๊วส 45. บริษัท วี.ซี.เอฟ. กรุ๊ป จำกัด 46. บริษัท ชัยภูมิฟาร์มผลิตภัณฑ์การเกษตร จำกัด 47. บริษัท ไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์ จำกัด 48. บริษัท อินเทคค์ ฟีด จำกัด 49. บริษัท บุญพิศาล จำกัด 50. บริษัท เฮกซ่า แคลไซเนชั่น จำกัด 51. บริษัท บีทจี ี ฟีดมิลล์ จำกัด 52. บริษัท หนองบัวฟีดมิลล์ จำกัด 53. บริษัท ไทย ฟู้ดส์ อาหารสัตว์ จำกัด 54. บริษัท โกล์ด คอยน์ สเปเชียลลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด 55. บริษัท แม่ทา วี.พี. ฟีดมิลล์ จำกัด 56. บริษัท อาร์ที อะกริเทค จำกัด
อภินันทนาการ
คณะกรรมการ
สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ ไทย ประจำปี 2554-2555 1. นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล 2. นายนพพร วายุโชติ 3. นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ 4. นายไพศาล เครือวงศ์วานิช 5. นางเบญจพร สังหิตกุล 6. นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ 7. นายประกิต เพียรศิริภิญโญ 8. นายโดม มีกุล 9. นายศักดิ์ชัย ศักดิ์ชัยเจริญกุล 10. นายสถิตย์ บำรุงชีพ 11. นายวีรชัย รัตนบานชื่น 12. นางภัทนีย เล็กศรีสมพงษ์ 13. นายวิทิต ภูธนทรัพย์ 14. นายอุทัย ตันติพิมลพันธ์ 15. นายสุนทร ตันทนะเทวินทร์ 16. นางสาวถนอมวงศ์ แต้ไพสิฐพงษ์ 17. นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง 18. นายวิชัย คณาธนะวนิช ย์ 19. นายวิศิษฐ คณาธนะวนิช ย์ 20. นายสุจิน ศิริมงคลเกษม 21. นายวราวุฒิ วัฒนธารา 22. นายเชฎฐพล ดุษฎีโหนด 23. นางสาวนลิน เหล่าวรวิทย์
นายกสมาคม อุปนายก คนที่ 1 อุปนายก คนที่ 2 อุปนายก คนที่ 3 เหรัญญิกสมาคม เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บริษัท ราชบุรีอาหาร จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคเหนือ เกษตรอุตสาหกรรม จำกัด บริษัท ป.เจริญพันธ์อาหารสัตว์ จำกัด บริษัท กรุงเทพโปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน) บริษัท กรุงเทพผลิตผลอุตสาหกรรมการเกษตร จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสระบุรี จำกัด บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท กรุงเทพผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท ซีพีเอฟ ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) บริษัท บี พี ผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อุตสาหกรรม จำกัด บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำกัด บริษัท เบทาโกร โฮลดิ้ง จำกัด บริษัท แหลมทองเกษตรภัณฑ์ จำกัด บริษัท แหลมทองอะควอเทค จำกัด บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลีพ ัฒนาอาหารสัตว์ จำกัด บริษัท อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารเซ็นทรัล จำกัด
มุมมอง นักธุรกิจปศุสัตว์ มองอนาคตภาคปศุสัตว์ (ภาพสไลด์ ที่นำมาเสนอต่อ ไม่มีคำบรรยายประกอบภาพ แต่ภาพแต่ละภาพ ตารางข้อมูล ทุกตาราง มีความหมาย บรรยายอย่างลึกซึ้งที่ท่านต้องเจาะลึกและใช้ประโยชน์ อย่างเต็มที่ เหนือกว่าคำบรรยายใดๆ ) ซึง่ จากการฟังบรรยาย มาแล้ว สรุปได้ว่า ต้องระมัดระวังกันอย่างมาก กับการนำเสนอว่า ภาพของปริมาณสัตว์ที่ยังมี ล้นเหลือเกินความต้องการอยู่มาก และต้องหาวิธีการจัดการที่ต้องได้รับความร่วมมือกันอย่าง เต็มที่ หากจะให้มีความมั่นคงของธุรกิจ แต่ก็คงเป็นเรื่องยากมาก เพราะความระแวงซึ่งกัน และกันในการให้ขอ้ มูล สุดท้ายต้องอาศัยธรรมชาติเข้าจัดการ เหมือนเช่น หลายครัง้ ทีเ่ คยเกิดขึน้ ที่ธรรมชาติจัดการเอง (โรคระบาดและภัยธรรมชาติ) ซึ่งจะเป็นตัวแปรในการปรับสมดุลย์ ให้เกิดขึ้นโดยไม่ต้องมีใครมาสั่งการ ดังนั้น ต้องจัดการดูแลเฝ้าระวังฟาร์มและสัตว์เลี้ยงของ ตัวเองให้ดีที่สุด เมื่อความสมดุลย์ของปริมาณผลผลิตและความต้องการบริโภคดีแล้ว นั่นคือ ความรุ่งเรืองของภาคปศุสัตว์จะกลับมา
บรรณาธิการ
แถลง
ภาพของความแห้งแล้งของแหล่งผลิตวัตถุดิบสำหรับการเลี้ยงสัตว์ ทั้ง ข้าวโพด ถั่วเหลือง ใน สหรั ฐ อเมริ ก า ได้ ส ร้ า งความหวาดหวั่ น ว่ า อนาคตอั น ใกล้ ราคาสิ น ค้ า โภคภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ ราคาปศุสัตว์ เนื้อสัตว์ จะสูงขึ้น ต้นทุนการเลี้ยงสัตว์ จะสูงขึ้น แต่ราคาผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ของไทย กลับเป็นไปในทางตรงกันข้าม คือ ราคาลดลง ด้วยเหตุของปริมาณการเลี้ยงที่มากขึ้น จากการ วางแผนการเลี้ยงที่ไร้ทิศทาง กำลังซื้อลดลง ทำให้ปริมาณล้นเหลือ เป็นการซ้ำเติมแก่ผู้เลี้ยงสัตว์ หวังให้การจัดการของฟาร์มทุกแห่ง มีความระมัดระวังและวางแผนให้ดี ทำด้วยความพอเพียงแก่ กำลัง ถ้าทำได้เช่นนี้แล้ว จะเจ็บตัวน้อยกว่าใครๆ บก.
วารสารธุ ร กิ จ อาหารสั ต ว์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมความรู้และเผยแพร่อุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ 2. เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างสมาชิกและผู้ที่เกี่ยวข้องทั่วไป 3. เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และการปศุสัตว์ของประเทศ ให้เจริญรุ่งเรืองในแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจของชาติ 4. ไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง
ปีที่ 29
Vol.
144
พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
สารบัญ
มุมมองตลาดสินค้าปศุสัตว์และสัตว์ปีก ............................... 5 รายงานการสำรวจภาวะการผลิตและการค้า มันสำปะหลัง ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ............... 16 จับตาสถานการณ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ลางร้ายต่อวงการปศุสัตว์ในอนาคต ......................... 28 การแข่งขันในอุตสาหกรรม การผลิตสุกรใน AEC .............................................................. 31 ธุรกิจปาล์มน้ำมัน หลังก้าวเข้าสู่ AEC ............................... 41 ภัยแล้ง-ราคาอาหารโลกพุ่ง: วิกฤตซ้ำซากที่ซ้ำเติมประชากรโลก .......................... 49 ผลการพยากรณ์ผลผลิตการเกษตร .................................... 53 ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ................................. 65 ขอบคุณ ..................................................................................................... 80
ดำเนินการโดย : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายประเสริฐ พุ่งกุมาร รองประธานกรรมการที่ปรึกษา : นายวีรชัย รัตนบานชื่น นายพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล กรรมการที่ปรึกษา : นายสมชาย กังสมุทร นายนพพร วายุโชติ นายพงษ์ เหล่าวรวิทย์ นายประสิทธิ์ ศิริมงคลเกษม นายอดิเรก ศรีประทักษ์ นายนิพนธ์ ลีละศิธร นางเบญจพร สังหิตกุล นายณรงค์ชัย ศรีสันติแสง นายบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ นายประจักษ์ ธีระกุลพิศุทธิ์ บรรณาธิการ : นายปรีชา กันทรากรกิติ กองบรรณาธิการ : นายไพบูลย์ ขุนทอง นายณรงค์ศักดิ์ โชวใจมีสุข นายณัฐพล มีวิเศษณ์ นางสาวปัทมา ศรีเที่ยงตรง สำนักงาน : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 889 ไทย ซีซี ทาวเวอร์ ห้อง 170 ชั้น 17 ถนนสาทรใต้ ยานนาวา สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0-2675-6263-4 โทรสาร 0-2675-6265 www.thaifeedmill.com พิมพ์ที่ : ธัญวรรณการพิมพ์ 800/138 หมู่บ้านริเวอร์ปาร์ค ถนนพหลโยธิน ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12130 โทร. 0-2536-5311, 0-2990-1568 โทรสาร 0-2990-1568
(5)
มุมมองตลาดสินค้าปศุสัตว์และสัตว์ปีก น.สพ.ไชยศักดิ์ บุญประสพธนโชติ • ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร (C.E.O) บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป • นายกสมาคมผู้เลี้ยงไก่พันธุ์ 2549-2554 • กรรมการสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย • บุคคลคุณภาพแห่ง ปี2554 สถาบันวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี • ศิษย์เก่าดีเด่นภาคธุรกิจ คณะสัตวแพทย์ จุฬาฯ • คณะกรรมการบริหารผลิตภัณฑ์ไก่เนื้อแห่งชาติ กรมปศุสัตว์
สถานการณ์ปัจจุบันของสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญ ชนิดสัตว์ ไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร เป็ดเนื้อ
ประมาณการปี 2555 การผลิตรวม (ล้านตัว) มูลค่า (ล้านบาท) 1,300 104,000 83.5 25,000 14 84,000 51 8,450
ประมาณการมูลค่าส่งออก (ล้านบาท) 72,500 1,000 2,000 3,000
ตารางประมาณการประชากรสัตว์ ปี 2545-2555 ประชากร ปี 2545 ปี 2546 สัตว์ (ล้านตัว) (ล้านตัว) ไก่เนื้อ 990.00 957.00 (ลูกไก่) ไก่พ่แม่พันธุ์ 10.79 12.34 (ร่น+ไข่) ไก่ไข่เล็กรุ่น 25.507 27.97 ไก่ไข่ให้ไข่ 29.549 32.4 ไก่ไข่ 0.445 0.488 พ่อแม่พันธุ์ หมูขุน 8.41 9.94 หมูพันธุ์ 0.68 0.71 เป็ดเนื้อ 17.68 19 เป็ดพันธุ์ 0.19 0.2 เป็ดไข่ 1.5 1.5 โคนม (ตัว) 352,800 370,000 กุ้ง (ตัน) 215,000 280,000 ปลา (ตัน) -
ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) (ล้านตัว) 717.60
675.00
858.00
811.72
923.52
945.75 1,060.00 1,183.00 1,300.00
9.259
8.64
10.62
10.04
11.42
11.57
12.07
13.3
15.91
21.257 24.624
27.55 31
30.63 37.05
30.63 37.05
30.63 37.05
28.96 34.52
30.46 36.31
35.33 40.12
38.86 44.13
0.37
0.34
0.52
0.52
0.5
0.44
0.47
0.55
0.6
9.94 11 12.09 13.23 11.05 10.2 11 12.9 14 0.74 0.73 0.93 0.98 0.85 0.8 0.85 0.88 0.9 15 18 23.92 25.12 25.12 30 30 30 30 0.13 0.18 0.24 0.25 0.25 0.3 0.3 0.3 0.3 1 1 2 2 2 2 2 2.5 2.6 370,000 390,000 350,000 315,000 325,000 325,000 325,000 341,250 350,000 320,000 300,000 387,000 550,000 550,000 450,000 450,000 500,000 600,000 237,000 268,000 230,400 341,250 341,250 330,000 340,000 357,000 374,850 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(6)
ไก่เนื้อ ประเทศผู้ผลิตเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ประเทศ
สหรัฐฯ จีน บราซิล EU (27) เม็กซิโก อินเดีย รัสเซีย อาร์เจนติน่า ไทย* ญี่ปุ่น อื่นๆ รวม
2554 16,982 14,111 11,760 8,750 2,946 2,853 1,833 1,597 1,371 1,298 12,965 76,464
หน่วย: พันตัน
% สัดส่วนปี 54 22.2 18.5 15.4 11.4 3.9 3.7 2.4 2.1 1.8 1.7 17.0 100.0
ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association
ประเทศผู้ส่งออกเนื้อไก่ที่สำคัญของโลก No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ประเทศ
บราซิล สหรัฐอเมริกา EU (27) ไทย* จีน แคนาดา อาร์เจนติน่า คูเวต สหรัฐอาหรับฯ ออสเตรเลีย อื่นๆ รวม
2554 3,708 2,931 628 462 291 155 139 72 31 26 194 8,637
หน่วย: พันตัน
% สัดส่วนปี 54 43.4 34.3 7.4 5.3 3.4 1.8 1.6 0.8 0.4 0.3 2.3 100.0
ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(7) ประเทศผู้นำเข้าไก่เนื้อที่สำคัญของโลก No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ประเทศ
รัสเซีย ญี่ปุ่น EU (27) ซาอุดิอารเบีย จีน เม็กซิโก เวเนซูเอลา สหรัฐอาหรับฯ ฮ่องกง เวียดนาม อื่นๆ รวม
2554 1,226 700 700 515 464 464 330 309 258 258 2,876 8,098
หน่วย: พันตัน
% สัดส่วนปี 54 15.1 8.6 8.6 6.4 5.7 5.7 4.1 3.8 3.2 3.2 35.5 100.0
ที่มา: USDA October 2008, *Thai Broiler Processing Exporters Association
ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ต่อคนต่อปีของประเทศที่สำคัญ No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
UAE คูเวต สหรัฐฯ เวเนซูเอล่า บราซิล อาร์เจนติน่า ออสเตรเลีย แคนาดา เม็กซิโก ไต้หวัน แอฟริกาใต้ รัสเซีย ยูเครน EU (27) ญี่ปุ่น ไทย* เกาหลีใต้ จีน อินโดนีเซีย อินเดีย
ประเทศ
2554 65.7 63.1 45.9 40.7 40.2 35.7 34.9 32.3 30.5 30.1 27.3 21.8 19.7 16.6 15.7 15.3 13.1 10.7 3.6 2.5
(กิโลกรัม/คน/ปี)
ที่มา: USDA, จากการคำนวณ, World Fact Book (*Thai Broiler Processing Exporters Association) ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(8) ประมาณการเป้าหมายการส่งออก ปี 2555 รายการ เนื้อไก่ - ปริมาณ - มูลค่า เนื้อไก่แปรรูป - มูลค่า - มูลค่า - ราคา เนื้อไก่สด - มูลค่า - มูลค่า - ราคา อัตราแลกเปลี่ยน บาท/$ สัดส่วนส่งออก - เนื้อไก่แปรรูป - เนื้อไก่สด
ปี หน่วย ตัน ล้านบาท ล้าน$ ตัน ล้านบาท ล้าน$ บาท/กก. ตัน ล้านบาท ล้าน$ บาท/กก. 33 % %
2552 ส่งจริง 397,180 52,737 1,598 378,832 51,494 1,560 136 18,348 1,243 38 68 30
2553 ส่งจริง 420,662 53,474 1,782 404,591 52,384 1,746 129 16,071 1,090 36 67 31
2554 ส่งจริง 462,568 62,173 2,006 435,284 60,292 1,945 139 27,282 1,881 61 69 31
2555
เป้าหมาย 566,107 72,535 2,340 470,107 65,815 2,123 140 96,000 6,720 217 70
95.38 4.62
96.18 3.82
94.10 5.90
83.04 16.96
ส่งจริง
ที่มา: กรมปศุสัตว์
ประเทศคู่ค้าเนื้อไก่แปรรูป ปี 2554 กลุ่ม ประเทศสหภาพยุโรป ประเทศเอเซีย ประเทศอาเซียน AEC ประเทศตะวันออกกลาง ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศอื่น รวมทั้งหมด
กก. 197,438,307 220,178,374 12,564,678 1,069,699 95,674 2,928,017 434,274,749
บาท 25,529,851,873 32,401,097,617 1,633,780,267 147,690,260 9,520,065 431,941,426 60,153,881,508
สัดส่วน (%) 45.46 50.70 2.89 0.25 0.02 0.67 100.00
บาท 1,089,557,209 399,133,378 211,106,528 180,888,675 1,880,685,790
สัดส่วน (%) 55 19 14 12 100
ที่มา: กรมปศุสัตว์
ประเทศคู่ค้าเนื้อไก่สด ปี 2554 กลุ่ม อาเซียน (AEC) เอเซีย ตะวันออกกลาง ประเทศอื่น รวมทั้งหมด
กก. 15,033,153 5,063,090 3,745,009 3,385,567 27,226,819
ที่มา: กรมปศุสัตว์ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(9) Table 1 : Estimated Chicken Meat Exports of Thailand 2012 [Jan-Jun]
Estimated Change 2012 11/12 MT Mill.Baht (%)
2011 Product - Raw Further (Cooked) Total Market Destination - Japan - EU - Others Total Ratio (%)
MT
Mill.Baht
Change 11/12 Mill.Baht (%)
Jan-Jun 11
Jan-Jun 12
MT
MT
Mill.Baht
27,258 1,881 81,000 5,508 197.16 7,029 456 30,749 2,092 337.46 435,267 60,290 439,000 60,582 0.86 206,194 27,717 224,427 30,955 8.84 462,525 62,171 520,000 66,090 12.43 213,223 28,173 255,176 33,047 19.68 205,602 30,635 208,000 31,616 198,151 25,561 250,000 28,400 58,772 5,975 62,000 6,074 462,525 62,171 520,000 66,090 2011
2012
Jan-Jun 2011
2012
Product - Raw 5.89 15.58 3.30 12.05 Further (Cooked) 94.11 84.42 96.70 87.95 Total 100.00 100.00 100.00 100.00 Market Destination - Japan 44.45 40.00 44.16 39.07 - EU 42.84 48.08 45.58 41.77 - Others 12.71 11.92 10.26 19.17 Total 100.00 100.00 100.00 100.00
1.17 26.17 5.49 12.43
94,168 13,654 99,688 15,153 5.86 97,185 12,245 106,577 13,322 9.66 21,870 2,273 48,911 4,572 123.64 213,223 28,173 255,176 33,047 19.68
2011 2012 Change ไตรมาส ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า 11/12 (ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท) (%) 1 104,654 13,334 124,051 16,483 18.53 2
108,569 14,839 131,125 16,564
3
130,051 17,956
4
119,251 16,042
20.78
462,525 62,171
Source : Thai Broiler Processing Exporters Association Caution : ราคาที่ใช้ในการคำนวณ ใช้ตัวเลขของกรมปศุสัตว์ ดังนี้ ปี 2011 ไก่สด = 69 บาท/Kg ไก่ปรุงสุก = 139 บาท/ Kg ปี 2012 ไก่สด = 68 บาท/Kg ไก่ปรุงสุก = 138 บาท/ Kg อัตราแลกเปลี่ยน ปี 2009 ปี 2010 ปี 2011
บาท/USD 34.46 31.87 30.64
Yen/USD 93.62 87.85 79.72
Euro/USD 0.72 0.75 0.72
Real/USD 2.01 1.77 1.67
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(10) กราฟแสดงประชากรไก่พ่อแม่พันธุ์ (รุ่น+ไข่) 2545-2555
กราฟแสดงประชากรไก่เนื้อ (ลูกไก่) 2545-2555
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(11) ปริมาณเคลื่อนย้ายลูกไก่ และไก่ใหญ่ (ล้านตัว/สัปดาห์) เดือน
ลูกไก่
ไก่ใหญ่
ม.ค.-มี.ค. 53 เม.ย.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ก.ย. 53 ต.ค.-ธ.ค. 53 เฉลี่ย ม.ค.-มี.ค. 54 เม.ย.-มิ.ย. 54 ก.ค.-ก.ย. 54 ต.ค.-ธ.ค. 54 เฉลี่ย ม.ค.-55 ก.พ.-55 มี.ค.-55 เม.ย.-มิ.ย. 55 ก.ค.-55
20.07 21.05 21.46 21.79 21.09 22.02 22.36 23.51 23.16 22.76 24.06 23.33 24.07 24.60 25.88
20.08 19.48 21.07 20.87 20.37 21.57 20.68 22.97 22.46 21.92 22.66 24.54 24.51 24.21 24.07
ไก่เข้าโรงงาน ส่งออก 16.12 15.74 16.84 17.05 16.44 16.63 15.97 18.36 18.27 17.31 17.55 19.40 19.93 19.28 -
ตารางเปรียบเทียบไก่เข้าเชือดเฉลี่ย เฉลี่ยปี 2554 และปี 2555
จํานวนไไกเขาเชือด (ลลานตัว/สัปดาห)
(โรงงานมาตรฐานส่งออก) 24.00 23.00 22.00 21.00 20.00 19.00 18.00 17.00 16.00 15.00 14.00 .00 13.00 12.00 11.00 10 00 10.00
เฉลี่ย 54= 17.37 เฉลี่ย 55 เฉลย 55= 19 19.48 48
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
มิ.ย
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ไกเขาเชือดเฉลี่ย 54 17.20 16.37 16.83 14.70 16.44 17.29 17.02 17.44 19.08 18.05 18.18 19.85 ไกเขาเชือดเฉลี่ย 55 18.87 19.70 19.55 17.09 19.99 20.68 20.26 19.73
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(12) เปรียบเทียบราคาขายชิ้นส่วนไก่ปี 2554/2555 60.00 50.00
บาท/ ก.ก..
40.00 30.00 20 20.00 10.00 -
ม.ค
ก.พ.
มี.ค.
เม.ษ.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค
ส.ค
ก.ย
ต.ค
พ.ย
ธ.ค
ราคาชิ้นสวนไก 2554 41.56 43.31 45.98 50.56 51.84 49.46 43.03 37.30 37.81 36.89 36.88 36.57 ราคาชนสวนไก ราคาชิ้นสวนไก 2555 34.14 32.48 28.91 28.05 32.12 35.56 35.28
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด ปี 55 เทียบกับปี 54 ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ผลกระทบ ต่อการผลิต ต่อการตลาด ปริมาณการผลิตสัตว์เพิ่มขึ้นกว่าความต้องการของตลาด (การผลิตนำการตลาด) +ve -ve % สูญเสียจากการเลี้ยงน้อยลง +ve -ve ต้นทุนค่าแรงในการผลิตที่สูงขึ้น -ve +ve ต้นทุนค่าวัตถุดิบอาหารสัตว์ที่สูงขึ้น -ve +ve ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ/โลก -ve -ve กำลังการซื้ออันเนื่องมาจากน้ำท่วมใหญ่ในปลายปี 2554 ต่อเนื่องจนครึ่งปีแรก 2555 -ve -ve การส่งออกเนื้อไก่ดิบไป EU เดือนกรกฎาคม 2555 +ve +ve แนวโน้มการส่งออกเนื้อไก่ดิบไป ญี่ปุ่น/เอเชียในปี 2556 +ve +ve อัตราแลกเปลี่ยนที่แข็งค่า/US dollar -ve -ve ปัจจัยต่างๆ
บทสรุป ตลอด ปี 2555 = -ve ม.ค.-เม.ย. 2556 = -ve พ.ค.-ธ.ค. 2556 = +ve/-ve
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(13)
ไก่ไข่
ประเทศผู้ผลิตไข่ไก่ที่สำคัญของโลก
(หน่วย: ล้านฟอง)
ประเทศ จีน สหภาพยุโรป (27) สหรัฐอเมริกา อินเดีย ญี่ปุ่น รัฐเซีย เม็กซิโก บราซิล อินโดนีเซีย ไทย อื่นๆ รวมทั้งโลก
2554 % สัดส่วนปี 54 452,794 41.81 10,062 0.93 90,255 8.33 47,005 4.34 43,846 4.05 35,819 3.31 39,663 3.66 27,859 2.57 20,379 1.88 11,371 1.05 303,861 28.06 1,082,912 100.00
ที่มา: FAO
ประเทศผู้นำเข้าไข่ไก่ที่สำคัญของโลก
ประเทศผู้ส่งออกไข่ไก่ที่สำคัญของโลก
(หน่วย: ล้านฟอง)
ประเทศ จีน อเมริกา มาเลเซีย บราซิล อินเดีย สหภาพยุโรป (25) ไทย อื่นๆ รวมทั้งโลก ที่มา: FAO
อัตราการบริโภคไข่ไก่ต่อคนต่อปี ของบางประเทศ
(หน่วย: ฟอง/คน/ปี)
ประเทศ
(หน่วย: ล้านฟอง)
ประเทศ ฮ่องกง สิงคโปร์ แอฟริกา สหภาพยุโรป (27) สหรัฐอาหรับเอมิเรต แคนาดา โอมาน เกาหลีใต้ อื่นๆ รวมทั้งโลก ที่มา: FAO
2554 % สัดส่วนปี 54 1,389 5.07 1,125 4.11 1,074 3.92 829 3.03 479 1.75 357 1.30 161 0.59 6 0.02 21,986 80.23 27,404 100.00
2554 % สัดส่วนปี 54 1,299 4.15 1,273 4.07 1,273 4.07 690 2.21 589 1.88 130 0.42 408 1.31 25,605 81.89 31,266 100.00
จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน เม็กซิโก อเมริกา รัฐเซีย ฝรั่งเศส มาเลเซีย เยอรมัน ฮ่องกง ไทย
2554 333 325 323 312 299 251 254 230 202 199 173
ที่มา: FAO, ปี 2549 International Egg Commission ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(14) ประชากรไก่ไข่พ่อแม่พันธุ์ 2545-2555 0.7
จํานวน (ลานตัตัว)
0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
ไกไขใหไข ไก ไขใหไข 00.445 445
0 488 0.488
37 00.37
0 34 0.34
0 52 0.52
0 52 0.52
05 0.5
0 44 0.44
0 47 0.47
0 55 0.55
06 0.6
กราฟแสดงการผลิตและการบริโภคไข่ไก่ของไทย 2545-2555 จํานวน ((ลานตัว)
50 40 30 20 10 0
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
จํานวนน (ลานตัว)
ไกพอแมพันธุ 25.507 27.97 21.257 27.55 30.63 30.63 30.63 28.96 30.46 35.33 38.86
50 40 30 20 10 0
2545
2546
2547
ไกไขใหไข 29.549 32.4 24.624
2548 31
2549
2550
2552
2553
2554
2555
37.05 37.05 37.05 34.52 36.31 40.12 44.13
หมายเหตุ: *ประมาณการ **ประมาณการ มิถุนายน 2554 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมศุลกากร
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
2551
(15)
สุกร ประเทศผู้ผลิตเนื้อสุกรที่สำคัของโลก ประเทศ จีน EU -27 สหรัฐฯ บราซิล รัสเซีย เวียดนาม แคนาดา ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไทย* อื่นๆ รวม % การเปลี่ยนแปลง
2552 46,000 22,100 10,507 3,010 2,180 1,850 1,770 1,240 1,200 1,170 1,045 866 4,924 97,862
2555 47,380 22,763 10,822 3,100 2,245 1,906 1,823 1,277 1,236 1,205 1,076 892 5,072 100,798 3%
หน่วย: พันตัน
% สัดส่วนปี 55 47.00 22.58 10.74 3.08 2.23 1.89 1.81 1.27 1.23 1.20 1.07 0.88 5.03 100.0
ที่มา: USDA
ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรต่อคนต่อปี ประเทศ ฮ่องกง ไต้หวัน ยุโรป-27 จีน เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย ออสเตรเลีย เวียดนาม ญี่ปุ่น ไทย
2552 72.3 40.9 38.8 34.5 30.3 27.9 23.4 22.0 21.6 22.0 19.5 13.5
หน่วย: กิโลกรัม/คน
2555 75.9 42.9 40.7 36.2 31.8 29.3 24.6 23.1 22.7 23.1 20.5 14.2
ราคาขายสุกรมีชีวิตของบางประเทศ ในอาเซียนและจีน ประเทศ เวียดนาม กัมพูชา ลาว จีน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย
ก.ค. 2554 91-92 98-100 83-84 100 84-85 64-65 75
หน่วย: บาท/กก.
เม.ย. 2555 67-68 77-78 65-67 74-75 82-83 70-71 57
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก และ www.pig333.com
ที่มา: FAS ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(16) กราฟแสดงประชากรสุกรพันธุ์ 2545-2555 1.2 1 จํานวน (ลานตั น ว)
0.8 0.6 0.4 0.2 0
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
หมพัพนนธุธ 0.68 หมู
0.71
0.74
0.73
0.93
0.98
0.85
0.8
0.85
0.88
0.9
กราฟแสดงประชากรสุกรขุน 2545-2555 16 14 จํานวน (ลานตัวั )
12 10 8 6 4 2 0
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
หมูขุน 8.41
9.94
9.94
11
12.09
13.23
11.05
10.2
11
12.9
14
กราฟราคาขายสุกร เปรียบเทียบราคาขายปี 54/55 80.00 70.00
บาท/กกก.
60.00 50.00 40.00 30.00 20.00 20 00 10.00 -
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
หมุขุน 2554 49.39 56.53 59.16 65.41 67.74 67.35 71.58 71.64 63.43 47.45 49.71 62.20 หมุขุน 2555 47.02 44.47 46.39 58.42 55.72 51.21 49.28
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(17)
เป็ดเนื้อ
ประเทศผู้ผลิตเป็ดที่สำคัญของโลก
(หน่วย: พันตัน)
ประเทศ จีน ฝรั่งเศส ไทย* เวียดนาม สหรัฐฯ เกาหลีใต้ อินเดีย ฮังการี อังกฤษ เยอรมันนี อื่นๆ รวมทั้งโลก
2554 % สัดส่วนปี 54 2,828.0 70.00 237.4 5.88 92.9 2.30 82.8 2.05 84.8 2.10 72.7 1.80 74.7 1.85 42.4 1.05 40.4 1.00 39.4 0.98 444.4 11.00 4,040.0 100.00
ประเทศผู้ส่งออกเนื้อเป็ดที่สำคัญของโลก
(หน่วย: ตัน)
ประเทศ จีน ฮังการี ฝรั่งเศส ไทย* สหรัฐฯ เนเธอร์แลนด์ เยอรมันนี อังกฤษ แคนาดา ไอร์แลนด์ อื่นๆ รวมทั้งโลก
2554 % สัดส่วนปี 54 26,260 21.85 17,675 14.71 13,736 11.43 13,903 11.57 12,221 10.17 7,878 6.55 7,070 5.88 5,656 4.71 2,929 2.44 2,626 2.18 10,236 8.52 120,190 100.00
ที่มา: FAO
ที่มา: FAO
ประเทศผู้นำเข้าเนื้อเป็ดที่สำคัญของโลก
การบริโภคเนื้อเป็ดต่อคนต่อปี แยกรายประเทศ
(หน่วย: ตัน)
ประเทศ จีน เยอรมันนี ญี่ปุ่น อังกฤษ สเปน เดนมาร์ก ออสเตรีย รัสเซีย สหรัฐฯ แคนาดา อื่นๆ รวมทั้งโลก
2554 % สัดส่วนปี 54 50,500 42.02 12,322 10.25 8,787 7.31 8,181 6.81 5,050 4.20 2,828 2.35 2,020 1.68 2,020 1.68 1,717 1.43 2,121 1.76 24,644 20.50 120,190 100.00
ประเทศ ฝรั่งเศส ฮังการี จีน ไทย เวียดนาม อังกฤษ เยอรมันนี สิงคโปร์ สหรัฐฯ
(หน่วย: กก.)
2554 3.66 2.47 2.08 1.21 0.95 0.58 0.39 0.34 0.23
ที่มา: FAO
ที่มา: FAO ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(18)
AEC (ASEAN ECONOMIC COMMUNITY) กับสินค้าปศุสัตว์ ไทย กฎบัตรอาเซียน (AEC BLUEPRINT) มี 4 เรื่อง 1. กฎระเบียบการค้าในประเทศสมาชิกทัง้ หมด เป็นอย่างเดียวกัน: มาตรฐาน, คุณภาพ, อัตราภาษี, ระเบียบการซื้อขาย, การขจัดข้อกีดกันทางการค้า, การอำนวยความสะดวกทางการค้า, การ เคลื่อนย้ายบุคคลสัญชาติอาเซียน, การลงทุนและการบริการที่เสรีมากขึ้น 2. การทำให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงในเวทีการค้าโลก ได้แก่ โครงสร้างพืน้ ฐาน, การสือ่ สารโทรคมนาคม, การเงินการธนาคาร, ระบบการค้าทีเ่ ป็นธรรม และ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 3. การพัฒนาเศรษฐกิจให้เท่าเทียบกันในระหว่างสมาชิก 4. การร่วมมือกันในการเชื่อมโยงอาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลก ตารางเปรียบเทียบความสามารถในการแข่งขันด้านปศุสัตว์ 2555-2560 ลำดับ หัวข้อประเมิน 1 วิสัยทัศน์ ทางธุรกิจปศุสัตว์ (ประสบการณ์) 2 ความสามารถทางการผลิต 3 คุณภาพของสินค้า (มาตรฐานสินค้า) 4 ความสามารถทางการตลาด (การส่งออก) 5 การบริหารจัดการธุรกิจ 6 เศรษฐกิจและการลงทุน (การลงทุนและโครงสร้างพืน้ ฐาน) 7 วัฒนธรรมและสังคม (ศาสนา, ภาษา, คน) 8 ความปลอดภัยทางชีวภาพ 9 Food Safety 10 ความมั่นคงและการเมือง รวม (เต็ม 100)
ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย บรูไน เวียดนาม ลาว กัมพูชา พม่า 10
9
5
8
7
5
7
3
3
3
10
8
3
8
7
3
7
5
5
3
10
9
10
8
7
5
7
5
5
5
10
7
5
8
7
5
6
2
2
2
10
9
10
8
7
5
6
3
3
3
9
9
10
8
8
9
7
5
5
5
8
7
10
7
7
8
5
7
5
5
9 9 6 91
9 9 9 85
9 10 10 82
7 8 8 78
7 7 9 73
8 8 10 66
5 6 9 65
5 5 9 49
5 5 9 47
5 5 6 42
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(19)
รายงานการสำรวจภาวะการผลิตและการค้ามันสำปะหลัง ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ระหว่างวันที่ 22–25 กรกฎาคม 5–10 สิงหาคม และ 2–7 กันยายน 2555
จัดโดย สมาคมการค้ามันสำปะหลัง, สมาคมโรงงานผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไทย สมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย คณะสำรวจ ภาวะการผลิตและการค้ามันสำปะหลัง ฤดูการผลิตปี 2555/2556 การสำรวจภาวะการผลิตและการค้ามันสำปะหลัง ฤดูกาลผลิตปี 2555/2556 สมาคม ที่เกี่ยวข้องกับการค้ามันสำปะหลัง ทั้ง 4 สมาคม ประกอบด้วย สมาคมมันสำปะหลังไทย สมาคม โรงงานผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังไทย สมาคมโรงงานผู้ผลิตมันสำปะหลัง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสมาคมแป้งมันสำปะหลังไทย ร่วมกับ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ได้ดำเนินการจัดโครงการ การสำรวจภาวะการผลิตและการค้ามันสำปะหลัง ฤดูกาลผลิต 2555/ 2556 โดยมีนายบุญชัย ศรีชัยยงพานิช เป็นประธานคณะสำรวจฯ ซึ่งคณะสำรวจประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานข้างต้น พร้อมด้วย สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง
สรุปภาวะการผลิตมันสำปะหลัง ฤดูการผลิตปี 2555/2556 ดังนี้ 1. พื้นที่การเก็บเกี่ยวลดลงเล็กน้อยจากปี 2554/2555 ประมาณ -0.08% คิดเป็น 7,905,056 ไร่ ผลผลิ ต เฉลี่ ย 3.485 ตั น ต่ อ ไร่ ทำให้ มี ผ ลผลิ ต รวม 27,547,242 ตั น ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 3.56% โดยปัจจัยหลักมาจากสภาพดินฟ้าอากาศที่ดีเหมาะกับการเจริญ เติบโตของมันสำปะหลัง แต่แล้งสำหรับพืชไร่ชนิดอื่นๆเช่น ข้าวโพด ประกอบกับต้นทุนการผลิตโดย เฉลีย่ ต่ำกว่าพืชไร่ชนิดอืน่ ๆ และโครงการรับจำนำของภาครัฐ ทำให้เกษตรกรได้รบั แรงจูงใจดังกล่าว ในการปลูก 2. โดยปกติพื้นที่ในการเพาะปลูกมันสำปะหลังจะมีการสลับกับข้าวโพดอยู่ตลอดเวลา แต่ จากการสำรวจในครัง้ นี้ พบว่า เกษตรกรให้ความสำคัญกับการเปลีย่ นพืชในการปลูกหลายพืน้ ที่ อาทิ อ้อย และยางพารา โดยเฉพาะในส่วนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนั้น พื้นที่การปลูก มันสำปะหลังเดิมในจังหวัดจันทบุรีก็ได้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกไม้ผลอย่างลำไย แต่โดยรวมแล้ว มันสำปะหลังก็ยังมีพื้นที่ทรงๆ ไม่แตกต่างจากเดิมเท่าไหร่นัก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(20) 3. ผลผลิตของมันสำปะหลังที่เพิ่มสูงขึ้นจากเดิมมาจากสภาพดินฟ้าอากาศเป็นหลัก ฝนไม่ชุก จนเกินไปที่ทำให้หัวมันเน่า และไม่แล้งจนทำให้ลีบฝ่อ รวมถึงศัตรูพืชอย่างเพลี้ยแป้งสีชมพูที่เคย ระบาดเมื่อปีที่แล้ว ก็ไม่ค่อยพบเจอจากการบำรุงรักษาและการปล่อยแตนเบียน แมลงช้างปีกใส มาคอยป้องกันการระบาด ตารางสรุปพื้นที่การเก็บเกี่ยว ผลผลิตต่อไร่ และผลผลิตรวม ปี 2555/ 2556 ภาค/จังหวัด รวมทั้งประเทศ เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน เชียงใหม่ ตาก กำแพงเพชร สุโขทัย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี เพชรบูรณ์ เลย หนองบัวลำภู อุดรธานี หนองคาย
เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ปี 2554/55 ปี 2554/55 7,911,323 7,905,056 1,537,741 1,549,938 4,373,133 4,366,997 2,000,449 1,988,121 23,876 22,554 5,111 4,943 5,690 6,539 6,567 6,781 1,379 1,428 70,883 73,476 581,609 588,636 40,836 48,497 4,668 5,093 2,142 1,754 20,023 17,718 180,406 170,969 9,083 6,207 349,255 357,568 149,937 145,954 86,276 91,829 311,496 309,198 46,144 42,127 255,415 252,177 23,120 15,738
% เพิ่ม-ลด -0.08 0.79 -0.14 -0.62 -5.58 -3.29 14.92 3.26 3.55 3.66 1.21 18.76 9.10 -18.13 -11.51 -5.23 -31.66 2.38 -2.66 6.44 -0.74 -8.71 -1.27 -31.93
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ปี 2554/55 ปี 2554/55 % เพิ่ม-ลด ปี 2554/55 ปี 2554/55 % เพิ่ม-ลด 3.362 3.485 3.66 26,601,090 27,547,240 3.56 3.445 3.558 3.28 5,298,175 5,514,210 4.08 3.314 3.444 3.92 14,493,229 15,039,948 3.77 3.404 3.517 3.32 6,809,686 6,993,082 2.69 3.281 3.309 0.85 78,333 74,598 -4.77 3.047 3.350 9.94 15,574 16,559 6.32 3.06 3.49 13.97 17,436 22,834 30.96 3.486 3.533 1.35 22,893 23,958 4.65 3.471 3.493 0.63 4,786 4,988 4.22 3.652 3.675 0.63 258,843 270,032 4.32 3416 3.35 -1.93 1,986,754 1,971,931 -0.75 3.173 3.673 15.76 129,570 178,129 37.48 3.119 3.266 4.71 14,559 16,634 14.25 3.49 3.607 3.34 7,475 6,325 -15.38 3.203 3.356 4.78 64,132 59,462 -7.28 3.542 3.671 3.64 638,994 627,627 -1.78 3.166 3.50 10.55 28,761 21,725 -24.46 3.507 3.935 12.2 1,224,842 1,407,030 14.87 3.404 3.396 -0.24 510,396 495,660 -2.89 3.417 3.449 0.94 294,827 316,718 7.43 3.436 3.671 6.84 1,070,229 1,135,066 6.06 3.239 3.277 1.17 149,452 138,050 -7.63 3.215 3.348 4.14 821,075 844,289 2.83 3.161 3.184 0.73 73,077 50,110 -31.43
(21)
ภาค/จังหวัด บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท สุพรรณบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ระยอง ชลบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี
เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่) ผลผลิตรวม (ตัน) ปี 2554/55 ปี 2554/55 % เพิ่ม-ลด ปี 2554/55 ปี 2554/55 % เพิ่ม-ลด ปี 2554/55 ปี 2554/55 % เพิ่ม-ลด 25,709 22,588 -12.14 3.277 3.358 2.47 84,256 75,851 -9.98 138,902 142,844 2.84 2.933 3.129 6.68 407,430 446,959 9.70 64,458 61,373 -4.79 3.15 3.244 2.98 203,051 199,094 -1.95 129,344 121,094 -6.38 3.137 3.23 2.96 405,750 391,134 -3.60 55,462 55,454 -0.01 3.115 3.296 5.81 172,759 182,776 5.80 35,927 34,375 -4.32 2.858 3.134 9.66 102,678 107,731 4.92 209,828 222,949 6.25 3.23 3.39 4.95 677,736 755,797 11.52 108,584 108,366 -0.20 3.37 3.62 7.42 365,921 392,285 7.2 58,812 59,519 1.20 3.144 3.167 0.73 184,906 188,497 1.94 200,978 199,308 -0.83 3.401 3.34 -1.79 683,524 665,689 -2.61 96,432 96,057 -0.39 3.176 3.283 3.37 306,264 315,355 2.97 54,416 53,073 -2.47 3.246 3.381 4.16 176,634 179,440 1.59 220,987 204,064 -7.66 3.362 3.469 3.18 742,954 707,898 -4.72 209,088 201,354 -3.70 3.135 3.321 5.93 655,484 668,697 2.02 368,864 393,574 6.70 3.327 3.452 3.76 1,227,193 1,358,617 10.71 1,759,167 1,771,765 0.72 3.401 3.52 3.50 5,982,857 6,236,613 4.24 29,920 27,417 -8.37 3.523 3.337 -5.28 105,404 91,491 -13.2 175,605 181,503 3.36 3.41 3.418 0.23 598,807 620,377 3.6 60,728 59,779 -1.56 3.125 3.133 0.26 189,773 187,288 -1.31 24,050 22,952 -4.57 3.235 3.287 1.61 77,801 75,443 -3.03 174,413 168,624 -3.32 3.39 3.495 3.10 591,251 589,341 -0.32 289,716 287,866 -0.64 3.459 3.531 2.08 1,002,113 1,016,455 1.43 370,688 366,797 -1.05 3.403 3.572 4.97 1,261,438 1,310,199 3.87 170,701 165,136 -3.26 3.459 3.631 4.97 590,449 599,609 1.55 88,248 86,997 -1.42 3.387 3.42 0.97 298,893 297,530 -0.46 281,181 281,522 0.12 3.523 3.622 2.81 990,554 1,019,673 2.94 271,626 276,838 1.92 3.301 3.544 7.36 896,628 981,114 9.42 62,913 61,989 -1.47 3.25 3.263 0.40 204,469 202,270 -1.08 660 701 6.19 3.191 3.271 2.50 2,106 2,292 8.83
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(22) ข้อมูลการเพาะปลูก และการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังประเทศกัมพูชา ปี 2010/2011 จังหวัด/กรุง บันเตียเมียนจัย พระตะบอง พระวิหาร โพธิสัตว์ เสียมเรียบ อุดรมีชัย ไพลิน กัมปงจาม กัมปงทม กราดี มณฑลคีรี ไปรเวง รัตนคีรี สวายเรียง ตะแก้ว กัมปงชะนัง กัมปงสะปือ กัมปอด กันดาล พนมเปญ สีหนุวิลล์ เกาะกง แกบ สตรึงเตรง
ชายแดน การติดต่อ ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย ไทย เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม เวียดนาม ทะเล ทะเล ลาว
รวม ปี 2009 /2010 ผลต่าง
พื้นที่เพาะปลูก (เฮกตาร์) 21,169 33,952 5,501 449 2,615 430 4,006 60,718 13,651 19,260 5,966 1,507 4,558 20,831 896 765 2,864 663 43 1 105 50 73 6,135 206,226 160,326 45,900
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
พื้นที่เก็บเกี่ยว (เฮกตาร์) (ไร่) 19,894 124,338 25,592 159,950 5,501 34,381 449 2,806 2,615 16,344 430 2,688 10,006 62,538 60,718 379,488 13,651 85,319 19,260 120,375 5,966 37,288 1,507 9,419 4,558 28,488 20,730 129,563 896 5,600 765 4,781 2,864 17,900 663 4,144 43 269 1 6 105 656 50 313 73 456 6,135 28,456 202,490 1,265,563 157,083 981,769 45,407 283,794
ผลผลิต/ ไร่ (ตัน) 3.28 5.00 2.40 2.72 2.26 3.38 6.40 3.47 1.95 1.91 2.85 1.30 3.53 3.08 1.45 0.90 2.39 0.59 0.70 1.60 2.40 3.23 3.34 2.88 3.36 3.56 -0.20
ปริมาณ (ตัน) 407,719 799,710 82,515 7,633 36,986 9,075 400,240 1,318,109 166,392 229,975 106,261 12,216 100,686 398,635 8,141 4,298 42,846 2,446 187 10 1,575 1,009 1,524 110,754 4,248,942 3,498,306 751,636
(23)
สรุปภาวะด้านราคาและการค้ามันสำปะหลังตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศ จากที่ทราบกันดีแล้วว่าฤดูการผลิตปี 2554/2555 ที่ผ่านมาผู้ประกอบการค้ามันสำปะหลัง ประสบกับปัญหาการผลิตอย่างหนัก โดยในช่วงไตรมาสที่ 4 (เดือน ต.ค.-ธ.ค.) ประเทศไทยเกิด อุทกภัยรุนแรงทำให้ท่าเรือที่ส่งออกมันเส้นที่บางไทร และนครหลวงไม่สามารถส่งสินค้าไปยัง ต่างประเทศได้ ซึ่งท่าเรือหลักในการส่งมันเส้นคือ บางปะกง และชลบุรีส่งรวมกันระหว่างเดือน ต.ค. และพ.ย. ได้เพียง 4 แสนตันเท่านั้น ในส่วนของโครงการรับจำนำมันสำปะหลังจำนวน 10 ล้านตัน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ ราคามันสำปะหลังทั้งในส่วนของหัวมันสด และมันเส้นไต่ระดับสูงขึ้นที่ 3.50 บาท/กก. และ 7.60 บาท/กก. ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันสำปะหลังไตรมาสที่ 4/2555 (ต.ค.-ธ.ค. 2554) สินค้า มันเส้น/ มันอัดเม็ด
ต.ค.-ธ.ค.54 ปริมาณ มูลค่า (ตัน) (ล้านบาท) 1,066,044 8,459
ต.ค.-ธ.ค.53 ปริมาณ (+/-) มูลค่า (+/-) ปริมาณ มูลค่า (ตัน) (%) (ล้านบาท) (%) (ตัน) (ล้านบาท) 644,816 4,384 421,228 65.33 4,075 92.95
ไตรมาสที่ 1 ปี 2555 (ม.ค.-มี.ค.) • ท่าเรือหลักในการนำเข้ามันเส้นจากต่างประเทศ รวมถึงประเทศไทย คือท่าเรือเหลียนหยุน่ กัง่ ได้ประกาศห้ามมีการขนถ่ายสินค้ามันเส้นที่ไม่บรรจุกระสอบ และเทกองตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2555 ส่งผลให้ผสู้ ง่ ออกมันเส้นไทยไม่สามารถส่งสินค้าให้แก่ผนู้ ำเข้าจีนได้ ทัง้ นี้ เกิดจากปัญหาด้าน มลภาวะฝุ่นของมันเส้นที่มีขนาดชิ้นที่เล็กโดยการใช้เครื่องจักร ทำให้ประเทศไทยต้องมีการหารือถึง การทำผลผลิตให้ได้ชิ้นที่ได้มาตรฐานและเกิดฝุ่นน้อยที่สุด • ราคาหัวมันสดในตลาดต่ำกว่าราคาแทรกแซงของภาครัฐ ทำให้ผซู้ อื้ จากจีนชะลอการนำเข้า ส่งผลให้ราคาส่งออกมันเส้นไทยลดลงเหลือ FOB เกาะสีชัง 260 USD/TON (เดือน ม.ค.) และ 235 USD/TON (เดือน มี.ค.)
ไตรมาสที่ 2 ปี 2555 (เม.ย.-มิ.ย.) • ลานรับซือ้ มันสำปะหลังเริม่ มีปญ ั หาจากการทีฝ่ นตกตลอดเวลา ทำให้ไม่สามารถตากมันได้ แต่ในทางเดียวกัน ผลผลิตมันสำปะหลังมีออกมาอยู่ตลอดเวลา และมันเส้นที่เข้าโครงการฯ วันละ ประมาณหลายหมืน่ ตัน ซึง่ รัฐบาลได้ขยายระยะเวลาโครงการรับจำนำต่อไปอีก 1 เดือน สิน้ สุดเดือน มิถุนายน 2555 ทำให้ในที่สุดแล้วมีมันเส้นอยู่ใน Stock ของรัฐบาลถึง 2.4 ล้านตัน และมีแป้งมัน 0.91 ล้านตัน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(24) • จากปริมาณความต้องการมันเส้นอย่างสูงในประเทศจีน ทำให้มกี ารเจรจาระหว่างรัฐกับรัฐ (G2G) ในการขายมันเส้น แต่เนือ่ งจากราคามันเส้นของเวียดนามทีถ่ กู กว่า จึงทำให้จนี นำเข้ามันเส้น จากเวียดนามไปก่อน 1.45 ล้านตัน และมีการเลือกซื้อมันเส้นคุณภาพดี และปราศจากฝุ่น จากเอกชนไทยทีหลัง โดยมีปริมาณการส่งออกในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้น 23% (4.2 แสนตัน) • วันที่ 12 มิถุนายน 2555 คณะรัฐมนตรีได้มีการอนุมัติระบาย Stock มันเส้น และ แป้งมันสำปะหลัง ซึ่งจนถึง ณ ปัจจุบันภาครัฐได้ขายให้กับโรงงานเอทานอลจำนวน 65,000 ตัน และยังคงมีข่าวอย่างต่อเนื่องที่รัฐบาลไทยจะขายมันเส้นและแป้งมันทั้งหมดที่เหลือให้กับรัฐบาลจีน ซึ่งยังต้องมีการติดตามอย่างใกล้ชิดต่อไป • คณะกรรมการนโยบายมันสำปะหลังได้มีการเสนอโครงการแทรกแซงตลาดมันสำปะหลัง ประจำปี 2555/2556 โดยดำเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2555-มีนาคม 2556 จำนวนรับจำนำ 15 ล้านตัน ราคาเริ่มต้นที่ 2.50 บาท/กก. เชื้อแป้ง 25% และปรับราคาสูงขึ้นทุกเดือนๆ ละ 5 สตางค์ ซึ่งคาดว่าโครงการดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างของกลไกตลาดภายในประเทศ พอสมควร • สหรัฐอเมริกามีพื้นที่ที่รับความเสียหายจากภัยแล้งรุนแรงในรอบ 56 ปี ทำให้ปริมาณ ข้าวโพดและถั่วเหลืองลดลง ในขณะที่สหภาพยุโรปมีปัญหาทั้งภัยแล้งและฝนตกหนักเช่นกัน ทำให้ ข้าวโพดและข้าวสาลีมีปัญหาเรื่องปริมาณความต้องการที่ไม่เพียงพอ ส่งผลต่อราคาในตลาดโลก ขยับตัวสูงขึ้น • รัสเซียปรับผลผลิตข้าวสาลีลดลงเหลือ 38.5 ล้านตัน รวมถึงรัฐบาลอยูร่ ะหว่างการพิจารณา ประกาศห้ามส่งออกเนื่องจากไม่เพียงพอต่อการใช้ภายในประเทศ ภาพรวมการส่งออกมันเส้น และมันอัดเม็ดของไทย ประเทศผู้นำเข้า สเปน อังกฤษ สหภาพยุโรป จีน ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ ไต้หวัน นอกสหภาพยุโรป รวม
1 ม.ค. – 15 ส.ค. 54 มันเส้น มันอัดเม็ด 20 20 2,360,565 11,670 4,236 2,360,565 15,906 2,360,565 15,926
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
1 ม.ค. – 15 ส.ค. 55 มันเส้น มันอัดเม็ด 20 13 13 20 2,974,919 1,000 1,989 7,167 4,501 100 2,976,908 12,769 2,976,920 12,769
(25)
สรุปภาวะด้านราคาและการค้าแป้งมันสำปะหลังตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศ ผลผลิตมันสำปะหลังในฤดูการผลิต 2554/2555 มีปริมาณมาก ในขณะที่ตลาดมันเส้นซึ่ง ได้รับผลกระทบจากปัญหาการขนถ่ายสินค้าที่ท่าเรือเหลียนหยุนกั่ง ทำให้ไม่สามารถรองรับปริมาณ ผลผลิตได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ดังนัน้ เกษตรกรจึงได้สง่ มันสำปะหลังจากการเก็บเกีย่ วเข้าสูโ่ รงงาน แป้งมันสำปะหลังมากขึ้น เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2553/2554 รวมกับอีกส่วนหนึ่ง ที่โรงงานแป้งรับจ้างจากภาครัฐในการแปรสภาพของหัวมันจากโครงการแทรกแซงที่มีอยู่เกินความ ต้องการในประเทศ โดยความต้องการในประเทศมีเพียงประมาณ 1.2-1.3 ล้านตัน/ปี และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ในส่วนของตลาดต่างประเทศซึ่งมีผู้นำเข้าแป้งมันสำปะหลังจากประเทศไทย 5 อันดับได้แก่ อินโดนีเซีย จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน และมาเลเซีย โดยอินโดนีเซียนำเข้าแป้งมันสำปะหลังจากไทยมาก ที่สุด จากภัยแล้งที่กระทบต่อผลผลิตทางการเกษตรในประเทศที่ต่ำ ทำให้ปริมาณแป้งมันสำปะหลัง ไม่เพียงพอต่อความต้องการ รวมถึงในฤดูการผลิต 2555/2556 ประเทศผู้ผลิตแป้งรายใหญ่ของ โลกอีกหลายประเทศก็ได้ประสบปัญหาด้านภัยธรรมชาติเช่นกัน ทำให้มีการคาดการณ์ว่าแนวโน้ม การส่งออกจะเป็นไปในทางที่ดี ในช่วง 10 เดือนแรก (ต.ค. 54-ก.ย. 55) ปริมาณการส่งออกของแป้งมันสำปะหลังเพิ่มขึ้น 26% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ในขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้น 5% เป็นผลมาจากการปรับตัวของ ราคาแป้งที่ลดลง ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
ต.ค. 53 – ก.ย. 54 1,798,679 34,559
ต.ค. 54 – ก.ย. 55 2,259,842 36,395
การเปลี่ยนแปลง 26% 5%
สำหรับการแข่งขันทางการตลาดนั้น นับว่าประเทศไทยยังคงมีความได้เปรียบเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณมากกว่าประเทศคู่แข่งอย่างเวียดนาม โดยเวียดนามมีราคาที่ถูกกว่า แต่คุณภาพ ยังไม่ดเี ท่า ซึง่ ไม่เป็นทีย่ อมรับในมาตรฐานสากล รวมถึงอุตสาหกรรมปลายน้ำของแป้งมันสำปะหลัง ยังคงมีเส้นทางที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็น การผลิตกระดาษ ผลิตกลูโคส เป็นต้น ทำให้ตลาดของ แป้งมันสำปะหลังยังคงมีทิศทางที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
ปัญหาอุปสรรค และข้อสังเกตุที่พบ • ท่าเรือขนถ่ายมันเส้นหลักของประเทศจีน ได้ห้ามการนำเข้ามันเส้นแบบเทกอง ที่มีฝุ่นผง ฟุง้ กระจาย เป็นอุปสรรคสำคัญอย่างยิง่ ต่อการส่งออกมันเส้นของประเทศไทย และผูซ้ อื้ ได้หนั ไปรับซือ้ มันเส้นสับมือที่มีฝุ่นผงน้อยกว่าจากประเทศเวียดนาม และกัมพูชาที่มีการแปรรูปจากหัวมันสดเป็น มันสับมือที่มีขนาดชิ้นใหญ่กว่า และมีการบรรจุสินค้าลงกระสอบเพื่อส่งออก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(26) • เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ปรับช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิตให้ตรงกับระยะเวลาของโครงการ แทรกแซงฯ ทำให้ชว่ งเวลาดังกล่าว มีผลผลิตออกสูต่ ลาดมากกว่าทีค่ วรจะเป็น เกษตรกรจำนวนมาก เร่งขุดหัวมันฯ ก่อนครบอายุ ทำให้ได้ผลผลิตต่อไร่น้อย หัวมันมีขนาดเล็ก และมีเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ • ลานตากมันส่วนใหญ่ปฏิเสธรับซือ้ หัวมันสดจากเกษตรกรทีไ่ ม่ได้มาตรฐาน เนือ่ งจากโครงการ รับจำนำที่ทำให้เกษตรกรขุดหัวมันออกก่อนกำหนด ซึ่งทำให้หัวมันเล็กและเชื้อแป้งน้อย • ต้นทุนการผลิตมันเส้น และแป้งมันสำปะหลังมีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากค่าน้ำมัน ค่าไฟฟ้า ค่าจ้างแรงงาน ปรับตัวสูงขึ้น นอกจากนั้น หลายพื้นที่ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานในภาค อุตสาหกรรม • ปกติจังหวัดเพชรบูรณ์ และนครราชสีมา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตมันสำปะหลังที่ใหญ่แห่งหนึ่ง จะมีมันค้างไร่ที่เก็บเกี่ยวไม่ทันอยู่ราว 20-30% ต่อปี แต่เนื่องจากโครงการรับจำนำของภาครัฐ ทำให้เกษตรกรเร่งขุดมันออกมาเกือบหมด ทำให้ในปีหน้ามันค้างไร่ที่ให้ผลผลิตสูงจะลดน้อยลง • เกษตรกรทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการปรับเปลีย่ นการเพาะปลูกไปเป็นยางพารา และ อ้อยเพิ่มมากขึ้น จากโรงงานน้ำตาลที่เปิดเพิ่มขึ้น และกำลังก่อสร้าง อีกทั้งกระแสของการปลูก ยางพาราในกลุ่มเกษตรกรด้วยกันเองก็มีแนวโน้มสูงขึ้นทำให้พื้นที่การปลูกมันสำปะหลังลดลง
แนวทางแก้ไขและข้อเสนอแนะ • ในการส่งออกมันเส้นไปยังท่าเรือเหลียนหยุนกั่ง ผู้ผลิตมันเส้นต้องปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ในการผลิตเพือ่ ให้มนั เส้นชิน้ ใหญ่ และฝุน่ น้อยลง ในส่วนของผูส้ ง่ ออกจะต้องมีการปรับเปลีย่ นวิธกี าร เก็บรักษารวมถึงการบรรจุหีบห่อให้มิดชิดเพื่อป้องกันฝุ่น • โครงการแทรกแซงฯ ควรมีบทบาทในการสร้างเสถียรภาพราคาของหัวมันสำปะหลังตลอด ทั้งปี ควรประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงเวลาที่เหมาะสมควบคู่กัน • ในระยะสัน้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และทุกหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง พิจารณาแนวทางและมาตรการ แก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานร่วมกัน ในระยะยาวผู้ประกอบการควรปรับเปลี่ยนเครื่องจักรให้มี ความทันสมัยเพื่อลดการใช้แรงงาน เพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุนการผลิต
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(27) สรุปผลการสำรวจภาคเหนือ (พื้นที่เก็บเกี่ยว 19.61% ของทั้งประเทศ) 16 จังหวัด พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตรวม
ปี 54/55 1,537,741 3.445 5,298,175
ปี 55/56 1,549,938 3.558 5,514,211
% การเปลี่ยนแปลง 0.79 3.28 4.08
สรุปผลการสำรวจภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก (พื้นที่เก็บเกี่ยว 25.15% ของทั้งประเทศ) 13 จังหวัด พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตรวม
ปี 54/55 2,000,449 3.404 6,809,686
สรุปผลการสำรวจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พื้นที่เก็บเกี่ยว 55.24% ของทั้งประเทศ) 20 จังหวัด พื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ผลผลิตรวม
ปี 54/55 4,373,133 3.314 14,493,229
ปี 55/56 1,988,121 3.517 6,993,083
% การเปลี่ยนแปลง -0.62 3.32 2.69
ปี 55/56 4,366,997 3.444 15,039,948
% การเปลี่ยนแปลง -0.14 3.92 3.77
สรุปต้นทุนการผลิตหัวมันสำปะหลังของเกษตรกรทั้งประเทศ ต้นทุนการผลิต ต้นทุนการผลิตเมื่อรวมต้นทุนอื่นๆ (ค่าพันธุ์, ค่าเช่าที่ดิน) ค่าเก็บเกี่ยว ค่าขนส่ง ต้นทุนเกษตรกรส่งถึงผู้ซื้อ
ปี 54/55 1.53 0.25 0.22 2.01
ปี 55/56 1.56 0.27 0.22 2.05
สรุปรายงานการสำรวจ : ณัฐพล มีวิเศษณ์ สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 11 กันยายน 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(28)
จับตาสถานการณ์ข้าวโพดเลี้ย งสัตว์
ลางร้ายต่อวงการปศุสัตว์ในอนาคต
จากสถานการณ์ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง นับวันจะถีบตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ที่ผู้ใช้ ผูผ้ ลิต และผูส้ ง่ ออกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์รายใหญ่ ที่สุดของโลกอย่างสหรัฐอเมริกา เริ่มนำข้าวโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ไ ปผลิ ต เอทานอล เพื่ อ ใช้ ใ น วงการพลังงานทดแทนพลังน้ำมันเชือ้ เพลิง ซึง่ อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะการขาดแคลนข้ า วโพด เลี้ยงสัตว์ และจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคง ด้านอาหารสัตว์จำพวกไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกรขุน และโค อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ หากย้อนไปเมื่อ 25 ปีก่อน สถานการณ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของไทยนั้น ส่งออกเป็นอันดับ สองรองจากข้าว โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2528/ 2529 มีการส่งออกสูงสุดถึง 3.8 ล้านตัน คิด เป็น 76.4% ของผลผลิตทั้งประเทศ แต่ในปี เพาะปลูก 2553/2554 ปริมาณความต้องการ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขยายขึ้นถึงปีละ 4.07 ล้าน ตัน ขณะที่ผลผลิตภายในประเทศเฉลี่ย 4.16 ล้านตัน จากพื้นที่ปลูก 7.851 ล้านไร่ มีการ นำเข้า 0.12 ล้านตัน และส่งออกเพียง 0.27 ล้านตัน สำหรับฤดูการปีเพาะปลูก 2555/56 ข้อมูลจากสำนักเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ระบุ ว่ า มี พื้ น ที่ ที่ เ พาะปลู ก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์
ทั้งประเทศ 7.195 ล้านไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 60,610 ไร่ หรือร้อยละ 0.84 แต่ผลผลิตเพิม่ คือ ได้ 4.813 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้ว 31,440 ตัน หรือร้อยละ 0.66 เนื่องจากผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้น จากการที่มีการพัฒนาสายพันธุ์นั่นเอง ส่วนสาเหตุทเี่ นือ้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวโพดเลีย้ ง สัตว์ลดลง สศก. ระบุว่า เกษตรกรปรับเปลี่ยน ไปปลูกมันสำปะหลัง และอ้อยโรงงานที่มีความ เสี่ยงจากภัยแล้งน้อยกว่า และให้ผลตอบแทน ดีกว่า ประกอบกับในภาคเหนือ เกษตรกรที่เคย ปลู ก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ แ ซมในสวนยางพารา ปัจจุบันต้นยางพาราเจริญเติบโต ไม่สามารถ ปลูกแซมได้อกี ทำให้วงการผลิตอาหารสัตว์ของ ไทยมีการใช้ข้าวสาลีทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ บางส่วนในสูตรอาหารสัตว์ด้วย บนเวทีประชุมทางวิชาการว่าด้วย “สถานการณ์ แ ละแนวโน้ ม การผลิ ต ข้ า วโพดไทยกั บ ความมั่ น คงด้ า นอาหารสั ต ว์ ” ที่ จั ด ขึ้ น โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ที่ โ รงแรมรามาการ์ เ ด้ น ส์ กรุ ง เทพฯ เมื่อเร็วๆ นี้ รศ.ดร.เอมอร อังสุรัตน์ อาจารย์ ประจำภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร คณะเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์
ที่มา: ดลมนัส กาเจ - คม ชัด ลึก ฉบับวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(29)
กำแพงแสน ระบุว่า จากการวิจัยในโครงการ “ศักยภาพของเศรษฐกิจการผลิตข้าวโพดไทย ภายใต้ความเป็นพลวัตของอนาคตอาหารสัตว์ และพลังงาน” พบว่า มีแนวโน้มว่าพื้นที่เพาะ ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของไทยจะลดลงอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้ เนื่องจากเกษตรกรเปลี่ยนแปลง พื้นที่ปลูกพืชอาหารและพืชพลังงาน รวมพืช เศรษฐกิ จ ชนิ ด อื่ น อาทิ ยางพารา และมั น สำปะหลัง ทีเ่ กษตรกรได้รบั ผลตอบแทนทีส่ งู กว่า ประกอบกับโอกาสในการขยายพืน้ ทีป่ ลูกในแหล่ง ผลิตสำคัญของประเทศมีข้อจำกัด โดยเฉพาะ พื้นที่ชลประทานและพื้นที่ต้นน้ำลำธารอันเนื่อง มาจากพั น ธกรณี ต ามข้ อ ตกลงขององค์ ก าร การค้าโลกและการเข้าสู่การค้าเสรีของประเทศ ทำให้หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องต้องมีกฎหมาย คุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ในระดับสากลหลายระดับ กระทบโดยตรงต่อการเพิ่มขีดความสามารถใน การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และความ มั่นคงทางด้านอาหารของประเทศ
ด้าน รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการ อาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ กล่าวว่า ความ เป็นพลวัตของตลาดข้าวโพดมีสูงมาก เนื่องจาก มีความแปรปรวนด้านราคาทีส่ งู ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นเรื่องของต้นน้ำ เพราะอาหารสัตว์สว่ นใหญ่ใช้ขา้ วโพดเป็นวัตถุดบิ ขณะที่ อุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว์ เ ป็ น กลางน้ ำ ดังนั้นเราจะต้องเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ ร่วมมือกัน เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ย นได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ความร่วมมือดังกล่าวยังมีอยู่น้อย ทั้งนี้เราต้อง มีการวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับเรือ่ งนีใ้ นทุกๆ ด้าน ทั้งด้านวัตถุดิบ บุคลากร การผลิต ขณะที่ รศ.ดร.จั น ทร์ จ รั ส เรี่ ย วเดชะ ผู้อำนวยการฝ่ายเกษตร สกว. กล่าวว่า รัฐบาล จะต้อ งมี นโยบายและแนวทางปฏิ บั ติที่ ชัดเจน ขณะที่ ก ลไกการวิ จั ย จะต้ อ งเป็ น ไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน ซึ่งหน่วยงานที่ให้ทุนควรเข้ามาร่วมกัน ขับเคลื่อนเพื่อแก้ปัญหานี้ เช่นเดียวกับนักวิจัย เองก็ต้องมองเห็นถึงประโยชน์ของประเทศ และ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(30) ให้ความสำคัญกับงานวิจยั เชิงวิชาการด้านเกษตร บนพื้นฐานที่ต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมของ เกษตรกรรายย่อยและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น หากประเมินจากข้อมูลและการสะท้อน มุ ม มองของผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ บ นเวที เ สวนาแล้ ว ยอมแสดงให้เห็นว่า สถานการณ์การผลิตข้าวโพด เลี้ยงสัตว์นั้น กำลังเข้าสู่ภาวะวิกฤติ และจะ กระทบต่อความมัน่ คงด้านอาหารสัตว์ในอนาคต อย่างแน่นอน
ทางออกใน 3 มิติ สำหรับผลงานวิจยั ในโครงการ “ศักยภาพ ของเศรษฐกิจการผลิตข้าวโพดไทยภายใต้ความ เป็นพลวัตของอนาคตอาหารสัตว์และพลังงาน” ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการ ของรัฐในการสนับสนุนธุรกิจข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ใน 3 มิติ 1. มิติการคุ้มครองพันธุ์พืช ควรทบทวน เนื้อหาสาระทั้งหมดของ พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์ พืช พ.ศ. 2542 ให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มี ส่วนร่วมในการปรับปรุงข้อกำหนด เพื่อให้เกิด ความชัดเจนและปฏิบัติได้จริงในการคุ้มครอง ประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และแยกการ คุ้มครองพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปกับพันธุ์พืชป่า
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ออกจากการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่และพันธุ์พืช พื้นเมืองเฉพาะถิ่น ซึ่งอาจจัดเป็นการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงกำหนดช่วงเวลาที่ แน่นอนในการแบ่งปันผลประโยชน์ด้วย 2. มิ ติ ก ารผลิ ต ควรจั ด ตั้ ง ชุ ด วิ จั ย และ พัฒนาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เป็น “คณะกรรมการ ระดับชาติ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างหน่วย งานภาครั ฐ และเอกชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ขณะที่ หน่วยงานให้ทนุ วิจยั ควรจัดเป็นนโยบายเร่งด่วน ในการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการวิจยั และ พัฒนาพันธุ์ เมล็ดพันธุ์ใหม่ ตลอดจนนโยบาย เร่ ง ด่ ว นเพื่ อ เอื้ อ อำนวยต่ อ ภาคเอกชนในการ ลงทุนผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การสนับสนุนการ พัฒนาระบบชลประทานในแหล่งที่มีศักยภาพ เพื่อเป็นพื้นที่ผลิตหลักเป็นต้น 3. มิติการตลาดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รัฐ ควรตั้ ง คณะกรรมการเฉพาะกิ จ เพื่ อ กำหนด มาตรการและวิธีการสนับสนุนด้านการตลาด ธุรกิจข้าวโพดที่ได้มาจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีกลไกในการควบคุมและมาตรการกำกับ ดูแลในระบบการซื้อขายในตลาดแต่ละประเภท การจัดระบบนำเข้าที่ไม่ส่งผลกระทบต่อการค้า ในประเทศ เข้มงวดต่อการนำเข้าข้าวโพดอย่าง ผิดกฎหมายของประเทศเพื่อนบ้านด้วย
(31)
การแข่งขันในอุตสาหกรรม
การผลิตสุกรใน AEC ประเทศในอาเซี ย นเป็ น แหล่ ง ผลิ ต สุ ก ร ที่สำคัญแหล่งหนึ่งของโลก รองจากจีน สหรัฐฯ และสหภาพยุ โ รป ซึ่ ง การผลิ ต ส่ ว นใหญ่ เ พื่ อ ตอบสนองความต้องการในประเทศเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็วของประเทศในอาเซียน ส่งผลให้รายได้ ของประชากรมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ตามไปด้ ว ย ทำให้อัตราการบริโภคเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์ มีแนวโน้มขยายตัว ทำให้ประเทศในอาเซียนเร่ง ขยายการผลิ ต สุ ก รเพื่ อ รองรั บ ความต้ อ งการ บริโภคในประเทศที่เพิ่มขึ้น และเพื่อการส่งออก ในภูมิภาคที่มีแนวโน้มเติบโตเช่นกัน สำหรั บ ไทยมี ศั ก ยภาพในการผลิ ต และ การส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ก รดี ก ว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ประเทศอื่นๆ ในอาเซียน เนื่องจากผลิตภัณฑ์ สุกรของไทยได้รับการยอมรับจากประเทศใน อาเซียนถึงมาตรฐานการผลิต ตั้งแต่ในระดับ ฟาร์มไปจนถึงระดับโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ รวมทัง้ การบริโภคสุกรในประเทศยังไม่สงู มากนัก เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเวียดนาม ซึ่ ง แม้ ว่ า จะผลิ ต สุ ก รได้ ม ากเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ใน อาเซียน แต่ปริมาณการบริโภคในประเทศก็อยู่
ในเกณฑ์สงู เช่นกัน ดังนัน้ ไทยมีโอกาสอย่างมาก ในการขยายตลาดส่งออกเพิ่มขึ้น ในAEC โดย เฉพาะการส่งออกเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์สุกร รวมทั้งยังมีโอกาสในการขยายเข้าไปลงทุนใน ธุ ร กิ จ ฟาร์ ม สุ ก ร และโรงงานแปรรู ป สุ ก รใน ประเทศอาเซียนใหม่ โดยเฉพาะลาวและกัมพูชา ซึ่ ง รั ฐ บาลแต่ ล ะประเทศให้ ก ารสนั บ สนุ น การ เข้าไปลงทุนของนักลงทุนต่างประเทศเพื่อยก ระดับมาตรฐานและขยายปริมาณการผลิตอุตสาหกรรมสุกรของประเทศ
การผลิตสุกรใน AEC • ในปี 2554 ปริมาณการผลิตสุกรใน อาเซียนเท่ากับ 88.118 ล้านตัว เมื่อเทียบกับ ปีที่ผ่านมาขยายตัวร้อยละ 0.3 YoY เนื่องจาก ปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้หวัดสุกร หรือโรค พีอาร์อาร์เอส (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) เป็นโรคเกี่ยว กั บ ระบบสื บ พั น ธุ์ แ ละระบบทางเดิ น หายใจใน สุกร โดยประเทศที่ปริมาณการผลิตสุกรลดลง คือ เวียดนาม ไทย และกัมพูชา (กรณีของ เวียดนามผลผลิตสุกรเริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2553)
ที่มา: K SME ANALYSIS ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มิถุนายน 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(32) • ประเทศในภูมิภาคอาเซียนที่เป็นแหล่งผลิตสุกรที่สำคัญแหล่งหนึ่งของโลก โดยปริมาณ การผลิตอยู่ในอันดับ 4 ของโลก ปริมาณการผลิตสุกรในอาเซียนมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 7 ของ ปริมาณการผลิตสุกรของโลก รองจากจีน (ร้อยละ 50.2) อียู (ร้อยละ 21.9) และสหรัฐฯ (ร้อยละ 9.8) • ประเทศผูผ้ ลิตสุกรทีส่ ำคัญในอาเซียน คือ เวียดนาม (สัดส่วนร้อยละ 30.7 ของปริมาณการ ผลิตสุกรของอาเซียน) พม่า (ร้อยละ 21.8) ฟิลิปปินส์ (ร้อยละ 17.6) และไทย (ร้อยละ 13.5) • ลักษณะการผลิตสุกรในอาเซียนส่วนใหญ่ยังเป็นการผลิตในระดับเกษตรกรรายย่อย หรือ การเลี้ยงแบบพื้นบ้าน (Backyard) ซึ่งยังมีปัญหาในมาตรฐานการจัดการฟาร์ม ส่งผลให้ยังคงมี การแพร่ระบาดของโรคในบางช่วง ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับปริมาณการผลิตสุกรในอาเซียนเป็น อย่างมาก เช่น กรณีการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดสุกร หรือโรคพีอาร์อาร์เอส ซึ่งสร้างความ เสียหายให้กับปริมาณการผลิตสุกรในปี 2554 เป็นต้น ทำให้ประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการ แพร่ระบาดของโรคมีความต้องการนำเข้าเพิ่มขึ้น ประเด็นที่ต้องติดตามคือ ในปัจจุบันประเทศใน อาเซียนเริ่มมีการขยายการลงทุนในการเลี้ยงสุกรเชิงพาณิชย์ หรือการเลี้ยงสุกรที่เป็นฟาร์มขนาด ใหญ่ (รวมทั้งการเลี้ยงระบบลูกเล้า) รวมทั้งการลงทุนในโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรเพื่อรองรับ การขยายตัวของตลาดผลิตภัณฑ์แปรรูปสุกร การผลิต การบริโภคและการค้าสุกรและผลิตภัณฑ์ใน AEC ปี 2554
ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์
: พันตัน
การผลิตและการบริโภค การค้า การผลิต การบริโภค การบริโภคต่อคน ส่งออก นำเข้า 893.26 877.26 13.5 16 นำเข้าน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นเครื่องในและ ผลิตภัณฑ์สุกร 1,960 1,945 21.9 15 นำเข้าน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นสุกรมีชีวิต เนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์สุกร ส่งออกน้อยมาก แต่มีแผนจะขยายการส่งออกไปยังมาเลเซีย 1,260 1,359 14.2 และสิงคโปร์ นำเข้าเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์สุกรจากสหรัฐฯ สหภาพยุโรป
ที่มา: FAS USDA, Livestock and Poultry: World Market and Trade หมายเหตุ: ประเทศไทยข้อมูลจากสมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(33) • ปริมาณสุกรทีผ่ ลิตได้ในภูมภิ าคอาเซียน ส่วนใหญ่เพื่อการบริโภคในประเทศ แต่ด้วยการ เติบโตของชนชัน้ กลาง และรายได้ของประชาชน ที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ส่ ง ผลให้ ค วามต้ อ งการ บริ โ ภคเนื้ อ สั ต ว์ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น รวมทั้ ง พฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม นั้น ผู้บริโภคในอาเซียนนิยมบริโภคเนื้อสุกรสด แช่เย็น แต่จากการขยายตัวของความเป็นเมือง ทำให้เวลาในการประกอบอาหารมีจำกัด และ ความนิยมบริโภคอาหารแบบตะวันตกมากขึ้น รวมทั้งผู้บริโภคเน้นความสะดวกสบายมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ เนือ้ สุกรแช่แข็ง และแปรรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • ประเทศในอาเซียนที่มีการส่งออกสุกร และผลิตภัณฑ์ คือ ไทย (สัดส่วนร้อยละ 0.25 ของปริ ม าณการส่ ง ออกสุ ก รของโลก) และ เวียดนาม (ร้อยละ 0.24) ซึ่งในปัจจุบันทั้งไทย และเวียดนามมีการขยายปริมาณการผลิตสุกร แต่เวียดนามมีขอ้ จำกัดคือ อัตราการบริโภคสุกร และผลิตภัณฑ์ในเวียดนามอยู่ในเกณฑ์สูงที่สุด ในอาเซียน คือ 21.9 กิโลกรัมต่อคนต่อปี และ มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนือ่ งตามการเพิม่ ขึน้ ของรายได้ประชากรที่ส่งผลต่อความต้องการ บริโภคสุกรและผลิตภัณฑ์ ในขณะที่ไทยมีอัตรา การบริโภคเพียง 13.5 กิโลกรัมต่อคนต่อปี และ มีความสามารถในการขยายการผลิตและผลักดัน การส่งออกสุกรและผลิตภัณฑ์ โดยทัง้ ภาครัฐบาล และเอกชนที่เกี่ยวข้องเร่งแก้ไข อุปสรรคสำคัญ ในการส่งออกคือ การยื่นต่อองค์การโรคระบาด สัตว์ระหว่างประเทศ (The Office International des Epizooties: OIE) เพื่อขอขยายเขตปลอด โรคปากและเท้าเปื่อยในภาคตะวันออก
จุดแข็ง-จุดอ่อนในการเลี้ยงสุกร ของประเทศในAEC ประเทศในอาเซี ย นเป็ น ที่ น่ า จั บ ตามอง ในแง่ของศักยภาพของการขยายการเลี้ยงสุกร เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สั ต ว์ ที่ มี แ นวโน้ ม ขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตามการ ขยายตัวของจำนวนประชากร และการเจริญ เติ บ โตของเศรษฐกิ จ ในภู มิ ภ าคนี้ ที่ ส่ ง ผลให้ กำลังซื้อของประชาชนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งทำ ให้ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ เพิม่ ขึน้ ตามไปด้วย รวมทัง้ ศักยภาพในการลงทุน ของโรงงานแปรรูปสุกรตัง้ แต่โรงฆ่าและชำแหละ สุกรที่ทันสมัย ถูกสุขอนามัย ไปจนถึงโรงงาน ผลิตภัณฑ์แปรรูปสุกร ซึง่ รัฐบาลในแต่ละประเทศ ในอาเซียนให้การสนับสนุนทั้งในแง่ของกิจการ ฟาร์มสุกร และการตั้งโรงงานแปรรูปสุกร ทั้ง เพือ่ ตอบสนองความต้องการภายในประเทศ และ การขยายการส่งออกในอนาคต ซึ่งตลาดสุกร มีชีวิต เนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ในอาเซียนด้วยกัน เอง นับว่าเป็นตลาดที่น่าสนใจอย่างมาก เนื่อง จากแต่ละประเทศใน AEC ยังต้องพึ่งพาการ นำเข้าที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม แต่ละประเทศใน AEC มี จุดอ่อนและจุดแข็งของการเลี้ยงสุกรที่แตกต่าง กัน ดังนี้ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(34) จุดแข็งและจุดอ่อนของการเลี้ยงสุกรของประเทศใน AEC ไทย
เวียดนาม
ฟิลิปปินส์
จุดแข็ง - มีการพัฒนาสายพันธุ์สุกรเหมาะสมการเลี้ยงในภูมิภาคนี้ - มีเทคโนโลยีการผลิต (ทั้งระดับฟาร์มและโรงฆ่าชำแหละ) ที่เป็นไปตามข้อกำหนดมาตรฐานสากลและอยู่ในเกณฑ์ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอาเซียนด้วยกัน - การพัฒนามาตรฐานการจัดการฟาร์มให้ได้ระดับสากล และมีการผลิตที่ครบวงจร รวมทั้งมีการวิจัยและพัฒนา ทั้งการเลี้ยงและโรงงานแปรรูป ส่งผลให้มีผลิตภัณฑ์ หลากหลายออกสู่ตลาด เพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค - การพัฒนาโรงฆ่าและชำแหละ รวมทั้งโรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์สุกร โดยภาคเอกชนไทย และการร่วมทุนกับ ต่างประเทศเพื่อขยายตลาดทั้งในประเทศและตลาดส่งออก - รัฐบาลสนับสนุนให้มีการนำเข้าสุกรพันธุ์ดีโดยเฉพาะจาก สหรัฐฯ และออสเตรเลียเพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพสูงขึ้น และสามารถส่งออกในราคาที่สามารถแข่งขันได้ (กำหนด เป้าหมายประมาณ 40,000-50,000 ตัว/ปี) - รัฐบาลสนับสนุนการพัฒนาฟาร์มให้เป็นระบบและมี มาตรฐานเชิงพาณิชย์มากขึ้น - การขยายตัวอย่างรวดเร็วของฟาร์มเลี้ยงสุกรขนาดใหญ่ โดยเฉพาะรอบๆ เมืองใหญ่ เพื่อตอบสนองความต้องการ บริโภคผลิตภัณฑ์สุกรที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จุดอ่อน - ต้นทุนการผลิตอยู่ในเกณฑ์สูง เนื่องจากปริมาณการผลิต วัตถุดิบอาหารสัตว์ไม่เพียงพอกับความต้องการและราคา อยู่ในเกณฑ์สูงเมื่อเทียบกับประเทศผู้ผลิตสุกรอื่นๆ - ปัญหาโรคปากและเท้าเปื่อย นับเป็นอุปสรรคสำคัญต่อทั้ง การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสุกร การปรับปรุงคุณภาพ ของเนื้อสุกร ทำให้เกิดการแข่งขันภายในประเทศสูงมาก และกำไรต่อหน่วยต่ำ ฟาร์มขนาดเล็กและฟาร์มที่มีเงินลงทุน น้อยประสบความยากลำบากในการแข่งขัน
- เนื้อสุกรของเวียดนามยังมีสัดส่วนของเนื้อแดงต่ำกว่า มาตรฐาน และมีปัญหาการใช้ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโต ซึ่งส่งผลให้มีสารเคมีตกค้างในเนื้อสุกร - ปัญหาโรคระบาด เนื่องจากระบบการจัดการฟาร์มส่วนใหญ่ ยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้ในบางปีต้องพึ่งพาการนำเข้าลูก สุกรขุน และเนื้อสุกรเพื่อบรรเทาภาวะขาดแคลนในประเทศ - ปัญหาการนำเข้าสุกรมีชีวิตและเนื้อสุกรที่ไม่ได้คุณภาพ จำนวนมาก โดยเฉพาะในเขตที่มีชายแดนติดต่อกับจีน ซึ่ง ส่งผลต่อความเสี่ยงในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค - อัตราการบริโภคเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์สูง เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนอื่นๆ - มีการเข้าไปลงทุนฟาร์มสุกรขนาดใหญ่ (1,000-12,000 - สภาพพื้นที่เป็นเกาะ นับเป็นอุปสรรคในการขนส่งสุกร ตัว) ของนักลงทุนต่างชาติ โดยเฉพาะในเขตfree port zone และวัตถุดิบอาหารสัตว์ รวมทั้งการขยายตัวของการเลี้ยง เนื่องจากได้รับสิทธิพิเศษทางภาษี ในลักษณะเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ - สมาคมผู้ผลิตสุกรแห่งฟิลิปปินส์เร่งให้ผู้เลี้ยงสุกรใน - ปัญหาโรคปากและเท้าเปื่อยยังเป็นอุปสรรคสำคัญของการ ฟิลิปปินส์พัฒนาการเลี้ยงสุกรเพื่อความสามารถทำกำไร ส่งออกเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ ได้มากขึ้น และลดราคาสุกรหน้าฟาร์ม โดยการจำหน่ายสุกร ภายใต้ยี่ห้อของตนเอง - การขยายเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยส่งผลให้สามารถ ขยายการส่งออกได้มากขึ้น โดยในเดือน พ.ค. 2553 องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ ประกาศให้ พื้นที่เลี้ยงสุกรในเขตตอนเหนือ และตอนใต้ของเกาะลูซอน เป็นพื้นที่ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(35)
อินโดนีเซีย/ มาเลเซีย ลาว/พม่า/ กัมพูชา
จุดแข็ง จุดอ่อน - รัฐบาลสนับสนุนการจัดการเขตการเลี้ยงสุกร (เพื่อควบคุม - การขยายการผลิตเผชิญข้อจำกัดในการบริโภคเนื้อสุกรและ มลภาวะที่เกิดจากฟาร์มสุกร)โดยการปริมาณการผลิตสุกร ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ เนื่องจากเผชิญปัญหามลภาวะ เน้นเพื่อการบริโภคในประเทศ ทั้งนี้เพื่อพึ่งพาตนเองในเรื่อง จากการเลี้ยงสุกร รวมทั้งเหตุผลทางศาสนา ซึ่งทำให้ตลาด ปริมาณการผลิตสุกร การบริโภคสุกรในประเทศมีขนาดเล็ก - นักลงทุนต่างชาติสนใจเข้าไปลงทุนขยายการเลี้ยงสุกร - ระบบการจัดการฟาร์มส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐานสุกร และโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกร เนื่องจากความต้องการ ที่เลี้ยงในประเทศราคาสูง ส่งผลให้ยังต้องพึ่งพาการนำเข้า บริโภคเพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีการปรับมาตรฐานการเลี้ยงสุกร รวมทั้งผู้เลี้ยงรายย่อยไม่สามารถหาเงินกู้เพื่อขยายขนาด - มีพื้นที่ในการขยายการปลูกพืชอาหารสัตว์เพื่อตอบสนอง การผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นได้ - ต้องพึ่งพาการนำเข้าสุกรพันธุ์ และลูกสุกรขุนเพื่อพัฒนา การขยายตัวของการเลี้ยงสุกร ฟาร์มสุกรในประเทศ
ที่มา: รวบรวมโดย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
จากความต้ อ งการบริ โ ภคเนื้ อ สุ ก รและ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ก รที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ในภู มิ ภ าค อาเซียน ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ในอาเซียนเร่ง พัฒนาศักยภาพการผลิตสุกร โดยการเปิดรับ การเข้ามาร่วมลงทุนในธุรกิจการเลี้ยงสุกร และ แปรรูปสุกรจากต่างประเทศ โดยแนวทางการ ปรับจุดอ่อนให้เป็นจุดแข็งของการเลีย้ งสุกรของ ประเทศใน AEC ได้แก่ • การเลี้ยงในลักษณะฟาร์มขนาดใหญ่ เพือ่ การค้าทดแทนฟาร์มรายย่อยและการเลีย้ ง สุกรแบบพื้นบ้าน เดิมการเลี้ยงสุกรส่วนใหญ่ เป็นการเลีย้ งของเกษตรกรรายย่อยและการเลีย้ ง แบบพื้นบ้าน ซึ่งส่งผลให้ปริมาณสุกรที่ผลิตได้ นั้นไม่แน่นอน เนื่องจากมักจะประสบปัญหาใน เรื่องระบบการจัดการฟาร์มที่ไม่ได้มาตรฐาน โดยเฉพาะปัญหาการป้องกันโรคระบาดที่สร้าง ความเสียหายอย่างมากต่อปริมาณการผลิตสุกร ดังนั้น การพัฒนาการเลี้ยงสุกรในระยะ 4-5 ปี ทีผ่ า่ นมาจึงมุง่ เน้นไปทีก่ ารเลีย้ งในลักษณะฟาร์ม ขนาดใหญ่เพื่อการค้า หรือระบบลูกฟาร์ม โดย เน้นระบบการจัดการฟาร์มที่ทันสมัย ปลอดโรค
ถูกสุขลักษณะ และปลอดจากสารเคมีตกค้าง ในเนื้อสุกร ซึ่งนอกจากจะเป็นการสร้างความ เชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคในประเทศแล้วยังเป็นการ สร้างตลาดส่งออกในอนาคต เนื่องจากประเทศ ในภูมิภาคอาเซียนยังคงไม่ได้รับการรับรองจาก องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (The Office International des Epizooties: OIE) เป็น เขตปลอดโรคปากและเท้าเปือ่ ย ซึง่ เป็นอุปสรรค สำคั ญ ในการขยายการส่ ง ออกเนื้ อ สุ ก รสดแช่ เย็นแช่แข็ง โดยการส่งออกส่วนใหญ่ยังเป็นสุกร แปรรูป โดยเฉพาะเนือ้ สุกรต้มสุก และผลิตภัณฑ์ สุกรเท่านั้น • การพัฒนาโรงฆ่าและชำแหละสุกรที่ ทันสมัยและได้มาตรฐานสากล เดิมการฆ่าและ ชำแหละสุกรส่วนใหญ่ยังไม่ได้มาตรฐาน รวม ทั้ ง ระบบการจั ด เก็ บ และการขนส่ ง ที่ ยั ง ไม่ มี ระบบการควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมเพื่อรักษา คุณภาพของเนื้อสุกรก่อนถึงมือผู้บริโภค เนื่อง จากผู้บริโภคในภูมิภาคอาเซียนส่วนใหญ่ยังนิยม บริโภคเนื้อสุกรสด และนิยมซื้อจากตลาดสด ซึ่ง ปัจจุบันตลาดลักษณะนี้ยังเป็นตลาดส่วนใหญ่ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(36) ของการจำหน่ายเนื้อสุกรในประเทศต่างๆ ใน อาเซียน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันผู้บริโภคเริ่ม ตระหนั ก ถึ ง ความปลอดภั ย ในการบริ โ ภคเนื้ อ สุกรที่ได้มาตรฐานมากขึ้น ทำให้เริ่มมีตลาดเนื้อ สุกรที่มีตรายี่ห้อ อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการ สร้างตลาดส่งออกในอนาคตอีกด้วย เนื่องจาก ผู้นำเข้าในต่างประเทศสามารถตรวจสอบย้อน กลับถึงระดับฟาร์มทีเ่ ลีย้ งสุกร และโรงฆ่าชำแหละ สุกร ซึ่งทำให้มั่นใจในคุณภาพของเนื้อสุกร • การลงทุ น ตั้ ง โรงงานแปรรู ป ผลิ ต ภัณฑ์สุกร โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรเริ่ม เป็นธุรกิจที่น่าสนใจมากขึ้น จากเดิมที่มีการ แปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ก รในลั ก ษณะผลิ ต ภั ณ ฑ์ พื้นบ้าน เช่น ลูกชิ้นหมู กุนเชียง หมูยอ แหนม หมูหยอง หมูแผ่น เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันโรงงาน เหล่านี้มีการพัฒนาให้มีการผลิตที่ทันสมัย ได้ มาตรฐานมากขึ้ น และสามารถขยายตลาด ส่งออกได้ดว้ ย นอกจากนี้ จากความนิยมบริโภค อาหารตะวันตกมากขึ้น ทำให้ผลิตภัณฑ์สุกร ประเภทไส้กรอก แฮม เบคอน ฯลฯ ได้รับความ นิ ย มมากขึ้ น และมี ก ารตั้ ง โรงงานผลิ ต ใน บางประเทศในอาเซียน เช่น ไทย ฟิลิปปินส์ เวี ย ดนาม เป็ น ต้ น เพื่ อ ทดแทน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นำเข้า • การลงทุ น ขยายพื้ น ที่ ป ลู ก วั ต ถุ ดิ บ อาหารสั ต ว์ แ ละตั้ ง โรงงานผลิ ต อาหารสั ต ว์ สำเร็จรูป จากการขยายตัวของธุรกิจฟาร์มสุกร ส่งผลให้ตอ้ งมีการขยายพืน้ ทีป่ ลูกวัตถุดบิ อาหาร สัตว์เพื่อรองรับปริมาณความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเหลือง นอก จากนี้ อาหารสัตว์นบั ว่าเป็นต้นทุนการผลิตสำคัญ โดยมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 70 ของต้นทุน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
การผลิตทัง้ หมด ดังนัน้ การมีวตั ถุดบิ อาหารสัตว์ ทีเ่ พียงพอนับว่าเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิง่ สำหรับ ธุรกิจการผลิตสุกร สำหรั บ ในอนาคตโรงงานผลิ ต อาหาร สั ต ว์ ส ำเร็ จ รู ป ก็ จ ะมี บ ทบาทสำคั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น เนื่องจากในปัจจุบันเกษตรกรส่วนใหญ่ใน AEC ยังคงผสมอาหารเลี้ยงสุกรเอง แต่ในอนาคต เมื่อธุรกิจฟาร์มสุกรมีการพัฒนาเป็นการเลี้ยง ในลักษณะฟาร์มขนาดใหญ่เพื่อการค้ามากขึ้น เกษตรกรคงต้องหันไปใช้อาหารสัตว์สำเร็จรูป มากขึ้น ทั้งเพื่อการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานในการผลิตสุกร รวมทั้งการควบคุมต้นทุน การผลิต เนื่องจากโรงงานอาหารสัตว์สำเร็จรูป มีการปรับส่วนผสมของวัตถุดิบอาหารสัตว์ตาม การเปลี่ยนแปลงของราคาในแต่ละช่วงภายใต้ การควบคุมคุณค่าของโภชนาการให้เหมาะสม กับแต่ละช่วงอายุของสุกร
โอกาสและอุปสรรคในการขยายตลาด ผลิตภัณฑ์สุกรของไทยใน AEC ไทยนับเป็นประเทศที่มีศักยภาพในการ ขยายตลาดส่งออกในภูมิภาคอาเซียน ทั้งในรูป ของสุกรมีชีวิต (สุกรพันธุ์ และลูกสุกรขุน) เนื้อ สุกร และผลิตภัณฑ์สุกร เนื่องจากมีความพร้อม ในการขยายปริมาณการผลิตเพื่อรองรับความ ต้องการทีข่ ยายตัวอย่างรวดเร็วในภูมภิ าคนี้ จาก ปัจจุบันที่ไทยมีปริมาณการผลิตอยู่ที่ 10-12 ล้านตัว/ปี และการเลี้ยงร้อยละ 75 เป็นการ เลี้ยงของเกษตรกรรายย่อย ที่เหลืออีกร้อยละ 25 เป็นการเลี้ยงในลักษณะฟาร์มขนาดใหญ่ เพื่อการค้า หรือการเลี้ยงลักษณะลูกเล้า (การ เลี้ยงในระบบประกันราคากับโรงงานแปรรูป สุกร) คาดว่าในอนาคตการเลีย้ งจะเข้าสูร่ ะบบการ
(37) เลีย้ งเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ หรือการเลีย้ งลักษณะ ลูกเล้ามากขึน้ ซึง่ ทำให้มกี ารยกระดับมาตรฐาน การจัดการฟาร์มสุกร และสามารถขยายปริมาณ การผลิตเนื้อสุกรและผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน เพือ่ การส่งออกได้เพิม่ ขึน้ จากปัจจุบนั ทีก่ ารผลิต ร้ อ ยละ 98 เพื่ อ การบริ โ ภคภายในประเทศ โดยมีปัจจัยสนับสนุนสำคัญ คือ • พันธุส์ กุ รทีม่ คี ณ ุ ภาพ ทัง้ สุกรพ่อแม่พนั ธุ์ และสุกรขุน ซึ่งเป็นที่ยอมรับในภูมิภาคอาเซียน รวมทัง้ มีระบบมาตรฐานฟาร์มทีไ่ ด้มาตรฐาน ทำ ให้ประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศอาเซียน ใหม่ (ลาว พม่า กัมพูชา เวียดนาม) มีการ นำเข้าสุกรมีชีวิตและนำเอาระบบการจัดการ ฟาร์มไปเป็นแบบอย่างเพือ่ ยกระดับฟาร์มสุกรใน แต่ละประเทศ • โรงงานชำแหละสุกรมาตรฐานเพือ่ การ ส่งออก 8 แห่ง กำลังการผลิตประมาณ 6,750 ตัน/วัน ทำให้ไทยมีกำลังการผลิตเนื้อสุกรสด แช่เย็นแช่แข็งที่ได้มาตรฐานการส่งออก รวมทั้ง มีโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรที่ทันสมัย ที่ได้ มาตรฐานสากล 28 โรงงาน ทัง้ โรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์ โอกาสที่ได้รับประโยชน์ สุกรมีชีวิต จากตลาดที่กว้างขึ้น (สุกรพันธุ์และสุกรขุน)
โอกาสออกไป ลงทุนในอาเซียน
ผลิตภัณฑ์สุกรพื้นเมือง เช่น ลูกชิ้นหมู กุนเชียง แหนม หมูหยอง หมูแผ่น เป็นต้น และโรงงาน แปรรูปผลิตภัณฑ์สกุ รแบบตะวันตก เช่น ไส้กรอก แฮม เบคอน เป็นต้น ซึ่งไทยสามารถขยาย ปริมาณการผลิตผลิตภัณฑ์สุกรเหล่านี้ได้อีกมาก ในตลาด AEC • รั ฐ บาลสนั บ สนุ น การขยายตลาดส่ ง ออกสุ ก ร โดยการจั ด ทำยุ ท ธ์ ศ าสตร์ ก ารค้ า ชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว เวียดนาม และพม่า สำหรับใน อนาคต กระทรวงพาณิชย์จะเสนอคณะกรรมการ นโยบายพั ฒ นาสุ ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ พิ จ ารณา กำหนดนโยบายดูแลด้านการผลิตให้ปริมาณผล ผลิตสุกรมีเสถียรภาพสอดคล้องกับตลาด รองรับ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ และกำหนดราคา ขัน้ สูงและขัน้ ต่ำของสุกรมีชวี ติ เพือ่ ให้เกษตกรกร จำหน่ายเพือ่ รักษาเสถียรภาพราคาสุกรให้ผเู้ ลีย้ ง สุกรมีความมั่นคงในอาชีพ และผู้บริโภคได้รับ ความเป็นธรรมในด้านราคา ซึ่ ง โอกาสของธุ ร กิ จ สุ ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ของไทยในตลาด AEC พอสรุปได้ดังนี้
เหตุผล การส่งเสริมขยายธุรกิจฟาร์มสุกรเพื่อ ตอบสนองความต้องการในประเทศที่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนือ้ สุกรสดแช่เย็นแช่แข็ง - ความต้องการบริโภคมีแนวโน้ม ขยายตัวตามกำลังซื้อที่มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น เนื้อสุกรแปรรูป/1 - การยอมรับในผลิตภัณฑ์จากไทย ผลิตภัณฑ์สุกร/2 ทั้งในแง่ของคุณภาพ และรสชาติ ธุรกิจฟาร์มสุกร - ประเทศในAECส่งเสริมธุรกิจฟาร์ม ธุรกิจอาหารสุกร สุกรและธุรกิจต่อเนื่อง เพื่อเพิ่ม โรงงานแปรรูปสุกร ปริมาณการผลิตตอบสนองความ (รวมโรงฆ่าและชำแหละ) ต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้น
ประเทศเป้าหมาย กัมพูชา/ลาว/เวียดนาม/พม่า ลาว/เวียดนาม/สิงคโปร์/กัมพูชา สิงคโปร์/ลาว/กัมพูชา สิงคโปร์/กัมพูชา/พม่า/ลาว/ มาเลเซีย กัมพูชา/ลาว
ที่มา: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย หมายเหตุ : 1/เนื้อสุกรแปรรูป หมายถึง เนื้อสุกรตากแห้ง รมควัน และแช่เกลือ 2/ผลิตภัณฑ์สุกร หมายถึง ไส้กรอก เบคอน แฮม ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(38) ประเด็นที่ผู้ประกอบธุรกิจสุกรและธุรกิจ ต่อเนือ่ งจะต้องคำนึงถึงด้วยคือ ในอนาคตความ ต้องการสุกรและผลิตภัณฑ์อาจจะเปลี่ยนไปเป็น ความต้องการสินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น เช่น ผลิตภัณฑ์สุกรอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์สุกรจากฟาร์ม ที่เป็นมิตรกับสภาพแวดล้อม เป็นต้น รวมทั้งผู้ บริโภคมีแนวโน้มจะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุกรโดย พิจารณาจากตรายีห่ อ้ มากขึน้ เนือ่ งจากผูบ้ ริโภค ต้องการความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐาน ของการผลิต ดังนั้น ผู้ประกอบธุรกิจสุกรและ ธุรกิจต่อเนือ่ งต้องปรับตัวเพือ่ เตรียมรับกับความ ต้องการของผู้บริโภคด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ธุรกิจสุกรและผลิตภัณฑ์ ของไทยในตลาด AEC ยังต้องเผชิญกับอุปสรรค ได้แก่ • มาตรการของรั ฐ บาลแต่ ล ะประเทศ เช่น กัมพูชาลดการนำเข้าสุกรมีชีวิตจากไทย ตั้งแต่เดือนเมษายนปี 2555 เป็นต้นไป เพื่อยก ระดับราคาสุกรพ่อพันธุ์ภายในประเทศ เป็นต้น • เผชิ ญ การแข่ ง ขั น ทั้ ง จากประเทศ อาเซียนด้วยกัน เช่น กรณีการส่งออกสุกรมี ชีวิตไปยังสิงคโปร์ที่ต้องแข่งขันกับอินโดนีเซีย ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ มี เ ป้ า หมายขยายการส่ ง ออกไปยั ง มาเลเซีย และสิงคโปร์ เป็นต้น และต้องแข่งขัน กับสุกรและผลิตภัณฑ์จากประเทศนอก AEC โดยเฉพาะสหรัฐฯ สหภาพยุโรป และออสเตรเลีย รวมทั้งจีน ที่ต่างเล็งเห็นโอกาสในการขยาย ตลาดใน AEC รวมทั้งประเทศเหล่านี้มีต้นทุน การผลิตที่อยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำกว่าไทย และมีการ พัฒนาธุรกิจการผลิตที่ครบวงจรตั้งแต่การเลี้ยง ไปจนถึงการแปรรูปสุกร รวมถึงการมีตรายี่ห้อ ของผลิตภัณฑ์สกุ รทีไ่ ด้รบั การยอมรับอย่างกว้าง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ขวาง และการมีระบบการจัดจำหน่ายที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการเจาะขยายตลาด • การขยายการเลีย้ งสุกรใน AEC ส่งผล ให้มีแนวโน้มว่า ในอนาคตประเทศเหล่านี้จะมี ปริมาณสุกรเพียงพอบริโภคในประเทศ และอาจ จะสามารถก้าวขึ้นมาเป็นประเทศผู้ส่งออกสุกร และผลิตภัณฑ์แข่งกับประเทศไทย โดยประเทศ ที่ต้องจับตาคือ เวียดนาม ซึ่งมีการขยายการ เลี้ยงสุกรอย่างรวดเร็ว โดยมีเป้าหมายเพื่อตอบ สนองความต้องการในประเทศที่เพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว และเพื่อขยายการส่งออกด้วย นอก จากนีป้ ระเด็นทีต่ อ้ งจับตาด้วยคือ ความต้องการ วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เพิ่มขึ้นของเวียดนาม อาจ ส่งผลให้มีการแย่งชิงวัตถุดิบ อาหารสัตว์ภายใน AEC มีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น ซึ่งอาจส่งผล ต่อต้นทุนการผลิตสุกรในอนาคต นอกจากนี้ ประเด็ น สำคั ญ ที่ บ รรดาผู้ ประกอบธุ ร กิ จ สุ ก รและธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งจะต้ อ ง คำนึงถึงคือ การลงทุนในธุรกิจสุกรที่จะประสบ ความสำเร็จในอนาคตต้องเป็นลักษณะการลงทุน ที่ครบวงจร ตั้งแต่การปลูกวัตถุดิบอาหารสัตว์ การตั้งโรงงานผลิตอาหารสัตว์สำเร็จรูป การ ลงทุนฟาร์มสุกร โรงฆ่าและชำแหละ ไปจนถึง โรงงานแปรรูปสุกร ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้สามารถควบคุม ต้นทุนปริมาณการผลิต ทั้งในแง่ของคุณภาพ และปริมาณการผลิต รวมทั้งต้องมีการวิจัยและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการผลิตและ การตลาดเพื่ อ ปรั บ การผลิ ต ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนไปได้ทันกับ สถานการณ์อีกด้วย โดยสรุป ผู้ประกอบการในธุรกิจสุกรของ ไทยมีความได้เปรียบอย่างมากในการจะขยาย
(39) การส่ ง ออกสุ ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ข้ า ไปในตลาด AEC ด้วยความได้เปรียบในเรื่องการยอมรับ ในมาตรฐานการผลิตตั้งแต่ระดับฟาร์มไปจนถึง โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ ความได้เปรียบใน เรื่องระยะทางการขนส่ง รวมทั้งรสนิยมการ บริโภคที่คล้ายคลึงกัน (รูปแบบผลิตภัณฑ์ และ รสชาติ) ทำให้ตลาด AEC ยอมรับเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์จากไทย แม้ว่าปริมาณการผลิต ของไทยยังเป็นอันดับ 4 รองจากเวียดนาม พม่า และฟิลิปปินส์ แต่ไทยมีอัตราการบริโภค ภายในประเทศที่ อ ยู่ ใ นระดั บ ต่ ำ กว่ า และยั ง สามารถขยายการผลิตเพือ่ การส่งออกได้อกี เพือ่ รองรั บ ความต้ อ งการที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากประเทศ กัมพูชา และลาว รวมทั้งรัฐบาลและภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องเร่งขยายการส่งออก โดยการยื่น ให้ OIE พิจารณาพื้นที่ปลอดโรคปากและเท้า เปื่อยเพิ่มเติม โดยเฉพาะในภาคตะวันออก เพื่อ ขยายการส่งออกไปยังสิงคโปร์ อย่างไรก็ตาม ผู้ส่งออกของไทยอาจต้องเผชิญการแข่งขันกับ ประเทศอาเซียนด้วยกันเอง และประเทศนอก อาเซียนที่เล็งเห็นโอกาสในการขยายตลาดใน อาเซียนเช่นเดียวกัน รวมทั้งในอนาคตประเทศ
ใน AEC ซึ่งมีการลงทุนขยายการเลี้ยงสุกรและ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกรก็จะมีปริมาณการ ผลิ ต สุ ก รเพี ย งพอกั บ ความต้ อ งการบริ โ ภคใน ประเทศ และอาจจะสามารถก้ า วขึ้ น มาเป็ น ประเทศผู้ส่งออกเช่นเดียวกับไทย นอกจากนี้ การขยายการเลี้ยงสุกรทำให้อาจเกิดปัญหาการ แย่งวัตถุดิบอาหารสัตว์ ซึ่งอาจส่งผลให้ราคา อาหารสัตว์ ซึ่งเป็นต้นทุนการผลิตที่สำคัญมี แนวโน้ ม สู ง ขึ้ น ด้ ว ย ส่ ว นประเด็ น สำคั ญ ที่ ผู้ ประกอบธุ ร กิ จ สุ ก รและธุ ร กิ จ ต่ อ เนื่ อ งต้ อ ง พิจารณาคือ ในอนาคตการลงทุนที่จะประสบ ความสำเร็จคือ การลงทุนอย่างครบวงจร ตัง้ แต่ การปลูกวัตถุดบิ อาหารสัตว์ โรงงานผลิตอาหาร สัตว์สำเร็จรูป ฟาร์มสุกร โรงฆ่าและชำแหละ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สกุ ร รวมถึงการพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ ผู้ บ ริ โ ภคที่ ต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพมาก ขึ้น โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีตรายี่ห้อเพื่อเพิ่ม ความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานการผลิต หรือสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงขึน้ เช่น ผลิตภัณฑ์สกุ ร อินทรีย์ ผลิตภัณฑ์สุกรที่ผลิตโดยคำนึงถึงสิ่ง แวดล้อม เป็นต้น
Disclaimer รายงานวิจยั ฉบับนีจ้ ดั ทำเพือ่ เผยแพร่ทวั่ ไป โดยจัดทำขึน้ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทีน่ า่ เชือ่ ถือ แต่บริษทั ฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความน่าเชือ่ ถือ หรือความสมบูรณ์เพือ่ ใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อนื่ ใด บริษทั ฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงข้อมูลได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ผู้ใช้ข้อมูลต้องใช้ ความระมัดระวังในการใช้ข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณของตนเองและรับผิดชอบในความเสี่ยงเองทั้งสิ้น บริษทั ฯ จะไม่รบั ผิดต่อผูใ้ ช้ หรือบุคคลใดในความเสียหายใดจากการใช้ขอ้ มูลดังกล่าว ข้อมูลในรายงานฉบับนี้ จึงไม่ถือว่าเป็นการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจแต่อย่างใดทั้งสิ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(40)
ภาคผนวก
ปริมาณการผลิตสุกรใน AEC รวม AEC %∆ เวียดนาม %∆ พม่า %∆ ฟิลิปปินส์ %∆ ไทย %∆ อินโดนีเซีย %∆ ลาว %∆ มาเลเซีย %∆ กัมพูชา %∆
2550 80.030 1.5 26.561 -1.1 14.707 -0.4 13.701 1.8 11.620 11.7 6.378 7.0 2.186 7.6 2.488 -5.3 2.389 -12.8
2551 78.004 -2.5 26.702 0.5 13.107 -10.9 13.596 -0.8 10.500 -9.6 6.969 9.3 2.548 16.6 2.366 -4.9 2.216 -7.2
2552 81.109 4.0 27.628 3.5 13.797 5.3 15.136 11.3 10.200 -2.9 6.941 -0.4 2.947 15.7 2.334 -1.4 2.126 -4.1
ที่มา: CEIC, USDA ,Department of Veterinary Services, Ministry of Agriculture, Malaysia (ข้อมูลปี 2553-2554 ประมาณการ) และสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร หมายเหตุ: บรูไนมีการเลี้ยงสุกรน้อยมาก และสิงคโปร์ประกาศหยุดการเลี้ยงสุกรตั้งแต่ปี 2533
ภาพรวมอุตสาหกรรมสุกรของไทย 2551
2552
2553
2554
การผลิต - สุกรมีชีวิต (ล้านตัว) 10.50 10.20 11.50 11.80 - เนื้อสุกร (พันตัน) 794.85 772.14 870.55 893.26 การบริโภค (พันตัน) 782.57 761.14 857.69 877.26 ส่งออก (ล้านบาท) - สุกรมีชีวิต 1,316 1,786 1,165 1,898 (%∆) (+1,024.4) (+35.7) (-34.8) (+62.9) - เนื้อสุกรสดแช่เย็นแช่แข็ง 337.81 141.50 78.04 140.24 (%∆) (+48.9) (-5.8) (-44.8) (+79.7) /1 66.55 44.62 11.23 24.6 - เนื้อสุกรแปรรูป (%∆) (+218.1) (-33.0) (-74.8) (+119.1) - เครื่องใน 1.52 0.17 13.90 58.11 (%∆) (+998.8) (-89.0) (+8,076.5) (+318.2) - ผลิตภัณฑ์สุกร/2 1,909.24 2,471.82 2,742.05 3,474.57 (%∆) (+101.2) (+29.4) (+10.9) (+26.7)
2553 87.860 8.3 27.373 -0.9 19.109 38.5 15.298 1.1 12.10 18.6 6.941 0.0 2.753 -6.6 2.300 -1.5 1.986 -6.6
2554 88.118 0.3 27.056 -1.2 19.240 0.7 15.521 1.5 11.890 -1.7 7.108 2.4 3.114 13.1 2.300 0.0 1.887 -5.0
2555/f 12.15 920.0 900.0 2,270 (+20.0) 250.0 (78.3) 12.30 (-49.6) 61.0 (+5.0) 4,170 (+20.0)
ตลาดสำคัญใน AEC กัมพูชา/ลาว/พม่า/เวียดนาม ลาว/เวียดนาม/สิงคโปร์ สิงคโปร์/ลาว/กัมพูชา มาเลเซีย/ลาว/กัมพูชา สิงคโปร์/กัมพูชา/พม่า/ลาว/มาเลเซีย
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตและแปรรูปสุกรเพื่อการส่งออก และ กระทรวงพาณิชย์ หมายเหตุ : 1/เนื้อสุกรแปรรูป หมายถึง เนื้อสุกรตากแห้ง รมควัน และแช่เกลือ 2/ผลิตภัณฑ์สุกร หมายถึง ไส้กรอก เบคอน แฮม ข้อมูลปี 2555 การผลิตคาดการณ์โดยสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร การส่งออกคาดการณ์โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
: ล้านตัว
(41)
ธุรกิจปาล์มน้ำมัน ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีความสำคัญต่อ ประเทศทั้ ง ในแง่ เ ศรษฐกิ จ รวมถึ ง การช่ ว ย สร้ า งความมั่ น คงทางด้ า นอาหาร และด้ า น พลั ง งานของประเทศ ปั จ จุ บั น แม้ ว่ า ไทยจะ สามารถผลิตน้ำมันปาล์มได้เพียงพอต่อความ ต้องการใช้ภายในประเทศในด้านต่างๆ แต่จาก โครงสร้างการผลิตที่ส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกร และผู้ ป ระกอบการรายย่ อ ย ทำให้ ก ารผลิ ต น้ำมันปาล์มของไทยมีต้นทุนที่สูงกว่าประเทศ ผู้ผลิตรายใหญ่ อย่างมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งนับว่าเป็นจุดอ่อนสำคัญที่จะมีผลกระทบต่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม น้ ำ มั น ปาล์ ม ไทย หากไทยก้ า วเข้ า สู่ ก ารเป็ น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 อย่างไรก็ตาม แม้วา่ อัตราภาษีนำเข้าน้ำมันปาล์ม ของไทยจะลดลงเหลือร้อยละ 0 ตั้งแต่ปี 2553 แต่ปัจจุบันไทยยังคงมีมาตรการควบคุมการนำ เข้านำมันปาล์ม โดยกำหนดให้น้ำมันปาล์มเป็น สินค้าที่ต้องขออนุญาตนำเข้า เพื่อไม่ให้มีผล กระทบต่ออุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันในประเทศ ซึ่งจะช่วยชะลอผลกระทบ และยังคงมีระยะเวลา ให้ผู้ประกอบการไทยปรับตัวเพื่อลดต้นทุน เพิ่ม ศั ก ยภาพในการผลิ ต น้ ำ มั น ปาล์ ม ให้ ส ามารถ แข่งขันกับผู้ผลิตรายใหญ่ในอาเซียนได้ภายหลัง จากที่ก้าวเข้าสู่ AEC ในปี 2558
หลังก้าวเข้าสู่ AEC อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไทย ปี 2555 ปาล์มน้ำมัน นับว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่ สำคั ญ ของประเทศ ปั จ จุ บั น ไทยมี จ ำนวน เกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มน้ำมันมากกว่า 1.28 แสน ครัวเรือน มีพื้นที่เพาะปลูกและพื้นที่ให้ผลผลิต ประมาณ 4.28 และ 3.98 ล้านไร่ ตามลำดับ สามารถผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้ปลี ะ 1.9 ล้านตัน ซึ่ ง ช่ ว ยสร้ า งรายได้ ใ ห้ แ ก่ เ กษตรกรประมาณ 6 หมื่นล้านบาทต่อปี ทั้งนี้ การผลิตน้ำมัน ปาล์มดิบของไทยในปี 2555 มีแนวโน้มขยาย ตัวร้อยละ 5-7 จากปีก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็น ผลมาจากที่ภาครัฐได้มีการดำเนินยุทธศาสตร์ ปาล์มน้ำมันในช่วงปี 2551-2555 เพือ่ เร่งผลัก ดันให้เกษตรกรขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกปาล์มน้ำมัน เพิ่มผลผลิต และผลิตภาพการผลิตน้ำมันปาล์ม ดิบเพื่อรองรับกับยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน และลดความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ ความมั่ น คง ทางด้านอาหารของประเทศ ประกอบกับราคา ผลปาล์มดิบในช่วง 4 ปีที่ผ่านมาปรับตัวเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง จากเดิมที่มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัม ละ 4 บาท ในปี 2552 ปรับขึ้นเป็นกิโลกรัม ละ 6 บาท ในปี 2555 จึงเป็นแรงจูงใจที่ ทำให้เกษตรกรขยายพื้นที่การเพาะปลูก
ที่มา: K SME ANALYSIS ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(42)
ส่วนทางด้านของปริมาณผลผลิตน้ำมัน ปาล์มในประเทศ ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 ผลิต เพื่อตอบสนองความต้องการใช้ภายในประเทศ โดยการใช้น้ำมันปาล์มสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักๆ คือ • ใช้เพื่อการบริโภค (ร้อยละ 60) ทั้ง ในรู ป แบบของน้ ำ มั น พื ช ที่ ใ ช้ ใ นการประกอบ อาหาร และใช้เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมอาหาร ต่างๆ เช่น ขนมขบเคี้ยว บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน ครีมและเนยเทียม ทั้งนี้ น้ำมัน ปาล์มนับว่าเป็นน้ำมันพืชที่มีการใช้บริโภคมาก ที่สุดในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 65 ของมูลค่า ตลาดน้ำมันพืชทั้งหมด เนื่องจากน้ำมันปาล์มมี ราคาที่ ค่ อ นข้ า งถู ก หากเที ย บกั บ น้ ำ มั น พื ช ประเภทอืน่ ประกอบกับคุณสมบัตทิ เี่ หมาะในการ ประกอบอาหารประเภททอด และไม่ ท ำให้ อาหารมีกลิน่ หืน จึงทำให้คนส่วนใหญ่นยิ มเลือก บริโภคน้ำมันปาล์ม • ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต พลั ง งาน ทดแทน ที่ เ รี ย กว่ า ไบโอดี เ ซล (ร้ อ ยละ 28) เพื่อช่วยลดการใช้น้ำมันดีเซล เพิ่มความมั่นคง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ทางด้ า นพลั ง งานให้ กั บ ประเทศ อี ก ทั้ ง ยั ง จะ ช่วยลดปัญหาผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม อีกด้วย เป็นที่น่าสังเกตว่าในช่วงตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา สัดส่วนการใช้น้ำมันปาล์มในภาค พลังงานมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น จากร้อยละ 21 ในปี 2551 เพิ่มเป็นร้อยละ 28 ในปี 2554 และสำหรับในปี 2555 คาดว่าการใช้น้ำมัน ปาล์มในภาคพลังงานจะยังคงมีสัดส่วนสูงถึง ร้อยละ 35-40 ของการใช้น้ำมันปาล์มทั้งหมด • ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ต่างๆ (ร้อยละ 13) เช่น สบู่ ผงซักฟอก เครื่อง สำอาง ผลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์ต่างๆ และอาหาร สัตว์ สำหรั บ สถานการณ์ ข องอุ ต สาหกรรม ปาล์มน้ำมันในปี 2555 แม้สำนักงานเศรษฐกิจ การเกษตรจะมีการคาดการณ์วา่ น้ำมันปาล์มดิบ ทีผ่ ลิตได้จะมีปริมาณมากกว่า 1.9 ล้านตัน หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5-7 แต่ในช่วง 8 เดือนแรก ที่ผ่านมา ตลาดสินค้าอุปโภคบริโภคยังคงเผชิญ ปัญหาน้ำมันพืชบรรจุขวดทีว่ างจำหน่ายไม่เพียง พอต่ อ ความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคในบางช่ ว ง
(43) โดยมีสาเหตุหลักมาจากความต้องการใช้น้ำมัน ปาล์ ม ดิ บ ในประเทศมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น โดย เฉพาะการใช้ผลิตพลังงานทดแทน ประกอบกับ ปริ ม าณผลผลิ ต ปาล์ ม ในช่ ว งที่ ผ่ า นมาออกสู่ ตลาดน้อยลงกว่าช่วงปกติ เพราะเป็นช่วงนอก ฤดูกาลผลิตและประสบปัญหาสภาพอากาศร้อน แล้งเมื่อช่วงต้นปี นอกจากนี้ ปัญหาภัยแล้งที่ เกิดขึน้ ในทวีปอเมริกา (สหรัฐฯ บราซิล อาร์เจนติ น า) กดดั น ให้ ร าคาน้ ำ มั น พื ช เช่ น น้ ำ มั น ถั่ ว เหลื อ ง และน้ ำ มั น ปาล์ ม ในตลาดโลกมี แนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งจูงใจให้การส่งออก น้ำมันปาล์มดิบ และน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2555 ปรับเพิ่มขึ้นจากปี ก่อนหน้าถึงร้อยละ 364 และร้อยละ 92.3 ตามลำดับ จากปัญหาน้ำมันพืชขาดตลาดที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติอนุญาต การนำเข้ า น้ ำ มั น ปาล์ ม ปริ ม าณ 4 หมื่ น ตั น สำหรับใช้ในการผลิตน้ำมัน ปาล์มบรรจุขวด เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาน้ำมันปาล์มขาดตลาด และชะลอการปรับขึ้นราคาน้ำมันปาล์มบรรจุ ขวดที่กำหนดเพดานไว้ที่ 42 บาทต่อขวด (1 ลิตร) ในขณะที่ทางกรมพัฒนาธุรกิจพลังงาน ต้องประกาศปรับลดสัดส่วนในการผสมน้ำมัน ปาล์มบริสุทธิ์ บี 100 ในการผลิตไบโอดีเซล เหลือร้อยละ 3.5-5 ต่อน้ำมันดีเซล 1 ลิตร (จาก เดิมร้อยละ 4.5-5) เพื่อลดการใช้น้ำมันปาล์ม ดิบในการผลิตพลังงานทดแทน และมีปริมาณ เพียงพอต่อการบริโภคในประเทศ อย่างไรก็ตาม 1 2
สำหรั บ ปริ ม าณการผลิ ต น้ ำ มั น ปาล์ ม ที่ อ อกสู่ ตลาดในระยะถัดไป ยังคงต้องติดตามปัจจัยเสีย่ ง ต่างๆ คือ ความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ แนวโน้มราคาพืชน้ำมัน และน้ำมันพืชในตลาด โลกยั ง คงเผชิ ญ ปั ญ หาภั ย แล้ ง ในทวี ป อเมริ ก า รวมถึ ง มาตรการนโยบายภาครั ฐ ต่ า งๆ เช่ น การส่งเสริมการผลิต และการใช้พลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล) และมาตรการชะลอการปรับขึ้น ของค่าครองชีพและราคาสินค้า ซึ่งรวมไปถึง การควบคุมราคาจำหน่ายปลีกน้ำมันพืชบรรจุ ขวดขนาด 1 ลิตร
ผลกระทบจากการก้าวสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ต่ออุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันไทย อาเซียนเป็นแหล่งผลิตน้ำมันปาล์มหลัก ของโลก ซึ่งมีประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย เป็นประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ โดยผลผลิตน้ำมัน ปาล์มดิบทีผ่ ลิตได้ในปี 2555 มีปริมาณประมาณ 27 ล้านตัน และ 18 ล้านตัน1 หรือมีปริมาณ ผลผลิตรวมกันกว่าร้อยละ 87 ของปริมาณ ผลผลิตน้ำมันปาล์มทั้งหมด ส่วนประเทศไทย เป็นผู้ผลิตที่สำคัญอันดับสาม แต่ปริมาณน้ำมัน ปาล์มดิบทีผ่ ลิตได้นอ้ ยมาก หากเทียบกับประเทศ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย โดยที่ไทยผลิตน้ำมัน ปาล์มดิบได้ประมาณ 1.9 ล้านตัน2 หรือคิด เป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 3.3 ของปริมาณผล ผลิ ต น้ ำ มั น ปาล์ ม ดิ บ ทั้ ง หมด ทั้ ง นี้ ในช่ ว งที่ ผ่านมา ปริมาณน้ำมันปาล์มดิบที่ไทยผลิตได้ ส่วนใหญ่มีปริมาณเพียงพอต่อการบริโภค และ
ข้อมูลจาก Oilseeds: World Markets and Trade ข้อมูลจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(44) การใช้เพือ่ การผลิตพลังงานทดแทน ยกเว้นบางปี ทีเ่ ผชิญกับปัจจัยเสีย่ งจากสภาพอากาศ จนทำให้ ไทยต้องนำเข้าน้ำมันปาล์มเพื่อใช้ในการบริโภค สำหรับการเปิดเสรีสินค้าน้ำมันปาล์ม ภายใต้กรอบอาเซียน แม้วา่ ไทยจะทยอยปรับลด ภาษี น ำเข้ า สิ น ค้ า น้ ำ มั น ปาล์ ม ให้ แ ก่ ป ระเทศ สมาชิกอาเซียนจนเหลือ ร้อยละ 0 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553 แต่ปัจจุบันการนำเข้าน้ำมัน ปาล์มของไทย ยังคงต้องมีการขออนุญาตนำเข้า (Import license) และจะได้รับอนุญาตให้นำเข้า ได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์3 อย่างไร ก็ตาม การก้าวเข้าสูก่ ารเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในปี 2558 ประเทศสมาชิก อาเซียน รวมทั้งไทย ต้องทยอยปรับลด/เลิก มาตรการกีดกันที่ไม่ใช่ภาษีต่างๆ เพื่อให้สินค้า และบริการมีการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ซึ่งข้อ ผูกพันดังกล่าว สร้างความกังวลอย่างมากต่อ เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน และผู้ประกอบการ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจน้ำมันปาล์ม เนื่องจากการ ผลิตน้ำมันปาล์มของไทยยังมีจุดอ่อนทางด้าน ศักยภาพการผลิต หากเทียบกับผู้ผลิตรายใหญ่ อย่างเช่น อินโดนีเซีย และมาเลเซีย กล่าวคือ
3
มาตรการนำเข้า-ส่งออกสินค้าของไทย (กรมการค้าต่างประเทศ)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
• การเพาะปลูกปาล์มน้ำมันของไทยยัง คงได้ปริมาณผลผลิตค่อนข้างต่ำ ประมาณ 14.47 ตัน/เฮกเตอร์ ในขณะทีอ่ นิ โดนีเซีย และมาเลเซีย ได้ผลผลิต ประมาณ 16.76 และ 21.90 ตัน/ เฮกเตอร์ • อัตราการให้น้ำมันของผลผลิตปาล์ม น้ำมันของไทยประมาณร้อยละ 15.7 ในขณะที่ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มีอัตราที่สูงถึงร้อยละ 22 และ 19.4 ตามลำดับ สาเหตุสำคัญทีท่ ำให้การผลิตปาล์มน้ำมัน ของประเทศผู้ผลิตทั้งสองมีศักยภาพการผลิตที่ สูงกว่าไทย มาจากทั้งสองมีพื้นที่การเพาะปลูก
(45)
ปาล์มทีม่ ขี นาดใหญ่ มีการปลูกปาล์มน้ำมันแบบ ครบวงจรทำให้สามารถวางแผนการผลิตและ ควบคุ ม ต้ น ทุ น การผลิ ต อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาเลเซีย ซึ่งมีศักยภาพการ ผลิตสูงสุด การเพาะปลูกปาล์มน้ำมันส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ของเกษตรกรรายใหญ่ (ร้อยละ 60) และผู้ผลิตปาล์มในรูปแบบสหกรณ์ หรือนิคม กว่าร้อยละ 30.5 ส่วนที่เหลือเพียงร้อยละ 9.5 เป็นเกษตรกรรายย่อย ที่มีพื้นที่การเพาะปลูก ประมาณ 250 ไร่ ต่ อ ราย ซึ่ ง แตกต่ า งกั บ เกษตรกรรายย่ อ ยของไทยที่ มี จ ำนวนมากถึ ง ร้อยละ 60 และมีพื้นที่เพาะปลูกไม่เกินรายละ 25 ไร่ นอกจากนี้ โรงสกัด และบีบน้ำมันของ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เป็นโรงงานขนาดใหญ่ ที่มีกำลังการผลิตมาก และยังมีการสกัดน้ำมัน แยกระหว่างเนื้อปาล์มและเนื้อในเมล็ดปาล์ม (palm Kernel) ซึ่งจะช่วยให้อัตราการให้น้ำมัน มีมากขึ้นกว่าการสกัดรวมผลปาล์มน้ำมันทั้งผล
ทั้งนี้ จุดอ่อนทางด้านศักยภาพการผลิต ปาล์มน้ำมันของไทย ส่งผลให้ไทยมีต้นทุนการ ผลิตน้ำมันปาล์ม และราคาน้ำมันปาล์มสูงกว่า หากเทียบกับราคาของมาเลเซียที่เป็นทั้งผู้ผลิต และผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก โดยราคาเฉลี่ยใน ช่วง 3 ปีที่ผ่านมา (ปี 2553-2555) น้ำมัน ปาล์ ม ดิ บ ของไทยสู ง กว่ า ราคาของมาเลเซี ย ประมาณร้อยละ 8 และราคาน้ำมันปาล์มบริสทุ ธิ์ ของไทยสูงกว่ามาเลเซียถึงร้อยละ 14.3 ดังนั้น หากในอนาคตภายหลังจากที่ไทยก้าวเข้าสู่การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และจำเป็น ต้องลด/ยกเลิกข้อจำกัดที่ไม่ใช่ภาษี ในเรื่องของ การขออนุญาตนำเข้าน้ำมันปาล์ม อาจส่งผล ให้น้ำมันปาล์มจากมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ที่มีข้อได้เปรียบทางด้านราคา มีการนำเข้ามา ในประเทศ และมาแข่งขันกับน้ำมันปาล์มใน ประเทศมากขึ้น ถ้าหากเป็นเช่นนี้ อุตสาหกรรม น้ำมันปาล์มและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ อาจจะ ได้รับผลกระทบดังต่อไปนี้
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(46)
ด้านผู้ผลิต
ด้านผู้บริโภค
เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันที่เป็นลูกไร่ของโรงสกัดและโรงกลั่นน้ำมันปาล์ม เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน บริสุทธิ์ จะได้รับผลกระทบน้อยกว่าเกษตรกรผู้ปลูกน้ำมันปาล์มอิสระ เนื่องจากผลปาล์มน้ำมันที่ผลิตได้มีตลาดรองรับที่แน่นอน อาจเผชิญการแข่งขันที่ค่อนข้างรุนแรงจากน้ำมันปาล์มดิบที่นำเข้าจาก มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ทั้งนี้โรงสกัดที่อาจได้รับผลกระทบมาก ได้แก่ โรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ โรงสกัดที่ไม่ได้เป็นบริษัทเครือข่าย หรือไม่ได้เป็นพันธมิตรกับโรงงานกลั่น น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นโรงสกัดรายย่อยขนาดเล็กที่มีกำลัง การผลิตไม่มาก และมีต้นทุนในการสกัดสูงกว่าโรงสกัดขนาดใหญ่ อาจมีทางเลือกมากขึ้นในการจัดหาวัตถุดิบในการผลิตที่มีราคาถูกจากการ นำเข้า ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของน้ำมันปาล์มดิบ หรือน้ำมันปาล์มกึ่งบริสุทธิ์ เพื่อใช้ผลิตน้ำมันปาล์มสำหรับการบริโภค และการใช้ในอุตสาหกรรม ต่อเนื่องต่างๆ ขณะเดียวกัน อาจเผชิญการแข่งขันกับน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ โรงกลั่นน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ นำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อจำหน่ายให้กับผู้บริโภค หรืออุตสาหกรรม ต่อเนื่องโดยตรง ทั้งนี้ น้ำมันปาล์มบรรจุขวดที่ใช้บริโภคในภาคครัวเรือน อาจจะได้รับผลกระทบไม่มากนัก เนื่องจากน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ที่นำเข้ามา จากมาเลเซีย และอินโดนีเซียมีสีค่อนข้างแดง และขุ่น แต่ผู้บริโภคไทย นิยมเลือกใช้น้ำมันปาล์มที่มีสีเหลืองใส อุตสาหกรรมต่อเนื่องที่ใช้น้ำมันปาล์มในประเทศ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร รวมถึงการผลิตไบโอดีเซล จะได้รับประโยชน์จากการนำเข้าน้ำมันปาล์ม อุตสาหกรรมต่อเนื่อง รวมถึงการปรับตัวเพื่อเพิ่มศักยภาพใน การผลิตของโรงสกัดและโรงกลั่น ที่ใช้น้ำมันปาล์ม น้ำมันปาล์มในประเทศ ซึ่งจะช่วยทำให้ต้นทุนการใช้น้ำมันปาล์มใน อุตสาหกรรมลดลง จะได้รับประโยชน์จากแนวโน้มราคาน้ำมันปาล์มในประเทศที่ลดลง จากการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการในและต่างประเทศ ซึ่งจะส่งผลให้ น้ำมันปาล์มบรรจุขวด สินค้าที่ใช้น้ำมันปาล์ม รวมถึงไบโอดีเซลมีราคา ผู้บริโภคในประเทศ ลดลง นอกจากนี้ กรณีที่ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้ การนำเข้า จะเป็นทางหนึ่งที่ช่วยลดปัญหาน้ำมันปาล์มขาดแคลนในประเทศได้
อย่างไรก็ตาม ผลกระทบภายหลังจากการก้าวเข้าสูก่ ารเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ตามทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น จะมีผลกระทบมากหรือน้อยเพียงใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ตัวแปรสำคัญต่างๆ ได้แก่ แนวโน้มความต้องการบริโภคน้ำมันปาล์มในตลาดโลก สถานการณ์การผลิตน้ำมันปาล์มของประเทศ ผูผ้ ลิตรายใหญ่อย่างมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ทัง้ นี้ หากความต้องการบริโภคมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ หรือ ปริมาณผลผลิตน้ำมันปาล์มที่ออกสู่ตลาดโลกน้อยลง จะผลักดันให้ราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลก ปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งอาจจะทำให้ส่วนต่างราคาน้ำมันปาล์มในประเทศและต่างประเทศลดลง หรือ ใกล้เคียงกัน จนส่งผลให้ความต้องการนำเข้าน้ำมันปาล์มจากต่างประเทศลดลง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(47)
แนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการ เพื่อรองรับผลกระทบจาก AEC จากผลกระทบทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วในข้างต้น ทำให้ เ กษตรกร และผู้ ป ระกอบการในธุ ร กิ จ น้ำมันปาล์มจำเป็นต้องปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิตน้ำมันปาล์มของไทยทั้งระบบ ตั้งแต่ ในระดับเกษตรกรผู้ปลูก โรงสกัดและโรงกลั่น น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ โดยเน้นการลดต้นทุนและ เพิ่มปริมาณผลผลิตที่ได้จากการผลิต เพื่อให้ ราคาจำหน่ายสามารถแข่งขันได้กบั น้ำมันปาล์ม นำเข้า ดังนี้ • เกษตรกรผู้ปลูกปาล์ม ควรให้ความ สำคัญกับการปรับปรุงการเพาะปลูก เพื่อให้ได้ ผลผลิตต่อไร่สูง เช่น การเลือกพื้นที่เพาะปลูกที่ เหมาะสมทั้งทางด้านภูมิประเทศ (ใกล้แหล่งน้ำ สภาพดินร่วนปนดินเหนียว) และสภาพภูมอิ ากาศ (อากาศชุ่มชื้น มีฝนตกชุก มีช่วงฤดูแล้งสั้น มี อุ ณ หภู มิ ป ระมาณ 25-30 องศาเซลเซี ย ส) รวมถึงการคัดเลือกพันธุ์ ในการเพาะปลูกที่มี อัตราการให้น้ำมันสูง การศึกษาระยะเวลาใน การใส่ปุ๋ย และประเภทของปุ๋ยที่ใส่ในแต่ละช่วง อายุของต้นปาล์ม การตัดแต่งทางใบ ตลอดจน
การวางแผนเพาะปลูกปาล์มน้ำมันทดแทนต้น เก่าที่มีอายุมากซึ่งจะให้ปริมาณผลผลิตลดลง • โรงสกัดน้ำมันปาล์มดิบ ควรเร่งปรับปรุงประสิทธิภาพในการรวบรวมวัตถุดิบ (ผล ปาล์มน้ำมัน) และการสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อให้ อัตราการให้น้ำมันเพิ่มขึ้น โดยอาจพัฒนาการ สกัดน้ำมันแยกระหว่างเนื้อในปาล์ม และเนื้อ ปาล์ ม สำหรั บ โรงสกั ด ที่ มี ข นาดใหญ่ อ าจหา แนวทางในการลดต้นทุนการผลิต โดยการนำ ของเศษปาล์มที่เหลือจากกระบวนการสกัด (by product) เช่ น กะลาปาล์ ม ทะลายปาล์ ม เส้ น ใยปาล์ ม ไปผลิ ต กระแสไฟฟ้ า เพื่ อ ใช้ ใ น โรงงาน อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนในการกำจัด เศษวัสดุเหลือใช้ของปาล์มอีกด้วย • โรงกลัน่ น้ำมันปาล์มบริสทุ ธิ์ นอกจาก ที่ผู้ประกอบการควรจะเพิ่มประสิทธิภาพในการ กลัน่ น้ำมันปาล์มบริสทุ ธิแ์ ล้ว ควรเน้นการบริหาร จัดด้านการขนส่งสินค้า (น้ำมันปาล์ม) ไปยัง คลั ง สิ น ค้ า ของผู้ ค้ า ปลี ก รายใหญ่ แ ละโรงงาน อุตสาหกรรมที่ใช้น้ำมันปาล์มในการผลิต เพื่อ ลดต้นทุนในการขนส่ง ซึ่งปัจจุบันนับว่ามีต้นทุน ในส่วนนี้สูงถึงประมาณ ร้อยละ 20 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(48)
นอกจากนี้ กลุม่ ผูป้ ระกอบการทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้ ง โรงกลั่ น โรงสกั ด รวมถึ ง สมาคม และ สหกรณ์การเกษตรในระดับท้องถิ่นต่างๆ ควร ติ ด ตามสถานการณ์ ก ารผลิ ต การจำหน่ า ย และราคา และความต้องการน้ำมันปาล์มใน ตลาดโลกอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐาน ในการวางแผนการผลิต การตั้งราคา และการ กระจายสิ น ค้ า ไปสู่ ต ลาด รวมถึ ง การศึ ก ษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการที่สามารถ ช่วยบรรเทา/ลดผลกระทบจากการเปิดการค้า เสรีการค้าสินค้าเกษตรคือ มาตรการป้องกัน การนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure: SG) ตามข้อผูกพันไว้กับ WTO ซึ่งเปิด โอกาสให้ประเทศผู้นำเข้า (ที่ได้รับผลกระทบ) สามารถใช้มาตรการดังกล่าวเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศที่ได้รับความเสียหาย หรือมีแนวโน้มที่จะได้รับความเสียหายจากการ นำเข้าที่เพิ่มมากขึ้นมากกว่าปกติ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
โดยสรุป ปัจจุบันน้ำมันปาล์มเป็นหนึ่ง ในสินค้าเกษตรที่ไทยยังคงใช้มาตรการที่ไม่ใช่ ภาษีเพื่อปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศ โดย ระบุให้การนำเข้าน้ำมันปาล์มจะต้องมีการขอ อนุญาตนำเข้า (Import License) ตามความ เหมาะสมของสถานการณ์ โดยในการที่ ไ ทย จะก้าวเข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) หนึ่งในข้อผูกพัน จะต้องลด/ ขจัดมาตรการกีดกันที่ไม่ใช่ภาษีที่ใช้ในประเทศ ซึ่ ง หากไทยจำเป็ น ต้ อ งยกเลิ ก มาตรการขอ อนุญาตนำเข้า จะส่งผลต่ออุตสาหกรรมน้ำมัน ปาล์มไทยค่อนข้างมาก โดยเฉพาะทางด้านของ ผู้ผลิต ได้แก่ เกษตรกร โรงสกัดและโรงกลั่น น้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ เนื่องจากการผลิตน้ำมัน ปาล์มของไทยในปัจจุบัน ยังมีจุดอ่อนทางด้าน ต้ น ทุ น การผลิ ต ทำให้ ร าคาน้ ำ มั น ปาล์ ม ใน ประเทศสูงกว่าประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ อย่าง เช่น มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งอาจส่งผลให้ น้ำมันปาล์มจากประเทศดังกล่าวเข้ามาแข่งขัน กั บ น้ ำ มั น ปาล์ ม ในประเทศมากขึ้ น ในขณะที่ ผู้บริโภคจะเป็นกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากการ แข่งขันของผู้ผลิตที่จะส่งผลให้ราคาน้ำมันปาล์ม รวมถึงสินค้าที่ใช้น้ำมันปาล์มเป็นวัตถุดิบราคา มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ตาม การเตรียมรับมือ กับการก้าวเข้าสู่การเป็น AEC ในอนาคต เป็น สิ่งที่สำคัญสำหรับกลุ่มผู้ที่อาจได้รับผลกระทบ ทั้ ง นี้ เกษตรกรและผู้ ป ระกอบการควรเร่ ง แนวทางเพื่ อ ลดต้ น ทุ น การผลิ ต ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิต เพื่อให้น้ำมันปาล์มไทย สามารถแข่งขันได้ในอาเซียน
(49)
ภัยแล้ง-ราคาอาหารโลกพุ่ง:
วิกฤตซ้ำซากที่ซ้ำเติมประชากรโลก
ในปัจจุบันนี้ สภาวการณ์ที่เราต้องเผชิญ ล้ ว นแล้ ว แต่ มี ค วามรุ น แรงถึ ง ขั้ น ที่ เ รี ย กได้ ว่ า “วิกฤต" ในด้านต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นวิฤตเศรษฐกิจ วิกฤตการเงิน วิกฤตการเมืองและอืน่ ๆ แต่วกิ ฤต ที่ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าส่งผลกระทบต่อปากท้อง ของประชาชนโดยตรงก็คือ วิกฤตราคาอาหาร ทั่วโลก วิ ก ฤตอาหารโลกอาจจะไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งใหม่ และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นต่อเนื่องเป็นระยะในช่วง หลายปีที่ผ่านมา โดยส่วนใหญ่มักจะมีสาเหตุมา จากปัจจัยเดิมๆ แต่ปจั จัยทีเ่ ป็นต้นตอดูเหมือนว่า จะทวีความรุนแรงเพิม่ มากขึน้ แม้องค์การอาหาร และเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ระบุเมื่อ เดือนก.ค. ว่าสถานการณ์โดยรวมด้านอุปสงค์ และอุปทานในปี 2555-2556 ยังคงอยู่ใน ระดับที่เพียงพอ หลังจากที่ความวิตกเกี่ยวกับ ภาวะขาดแคลนอาหารได้ผ่อนคลายลงนับแต่ปี 2551 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ราคาอาหารที่พุ่งสูงได้ ก่อให้เกิดการจลาจลและการประท้วงไปทั่วโลก อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากสภาพอากาศ ที่เลวร้ายรุนแรงในปีนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พืน้ ทีเ่ พาะปลูกสินค้าเกษตรทีส่ ำคัญแห่งหนึง่ ของ โลกอย่างสหรัฐอเมริกา ซึง่ เผชิญกับภัยแล้งรุนแรง ที่สุดเป็นประวัติการณ์ในรอบหลายทศวรรษนั้น จึงทำให้สถานการณ์อาหารโลกในปีนอี้ อกอาการ น่าเป็นห่วง
ภัยพิบัติธรรมชาติที่นับวันทวีความรุนแรง สภาพอากาศที่ แ ห้ ง แล้ ง ในสหรั ฐ ฯ ดู เหมือนจะมีความรุนแรงสูงสุดในช่วงเดือนก.ค. ทีผ่ า่ นมา โดยรายงานของสำนักงานสมุทรศาสตร์ และบรรยากาศแห่งชาติของสหรัฐฯ (NOAA) ซึง่ เปิดเผยในช่วงกลางเดือนก.ค. ระบุวา่ สหรัฐฯ กำลังเผชิญกับภัยแล้งที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2499 และรายงานของ NOAA ยังเปิดเผยว่า ดัชนี้ชี้วัดบ่งชี้ว่าภัยแล้งในปี 2555 มีลักษณะ คล้ายกับเหตุภัยแล้งในทศวรรษที่ 1950 ซึ่งแผ่ ปกคลุมพื้นที่เป็นวงกว้างและรุนแรงถึงแม้ว่าจะ ไม่ยาวนานก็ตาม ในช่วงเวลาไล่เลีย่ กัน ศูนย์บรรเทาภัยแล้ง แห่งชาติของสหรัฐฯ ก็เปิดเผยรายงานติดตาม สถานการณ์ภยั แล้ง ซึง่ ระบุวา่ สหรัฐฯ กำลังเผชิญ กับภัยแล้งครั้งรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1950 โดย 2 ใน 3 ของประเทศกำลังเผชิญกับ ความแห้งแล้งอย่างรุนแรง โดยรายงานดังกล่าว ระบุว่า ณ วันที่ 17 ก.ค. 64% ของพื้นที่ ติดต่อกันในสหรัฐฯ กำลังประสบกับภัยแล้งอย่าง รุนแรง หลังมีสภาพอากาศแห้งแล้งติดต่อกันเป็น สัปดาห์ที่ 10 ขณะเดียวกันรายงานแสดงให้เห็น ว่า พื้นที่ 42% กำลังเผชิญกับภัยแล้งที่ร้ายแรง เป็นประวัตกิ ารณ์ ในขณะทีก่ ว่า 80% ของผิวดิน มีความแห้งอย่างผิดปกติ
ที่มา: พันธุ์ทิพย์ คำเพิ่มพูล/รัตนา - สำนักข่าวอินโฟเควสท์ (IQ) พุธที่ 19 กันยายน 2555 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(50) นายทอม วิลแซค รัฐมนตรีเกษตรของ สหรัฐฯ กล่าวในงานแถลงข่าวที่ทำเนียบขาวว่า 78% ของพืน้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวโพดของสหรัฐฯ ได้ ถูกประกาศให้เป็นพื้นที่ได้รับผลกระทบจากภัย แล้ง และ 77% ของพื้นที่เพาะปลูกถั่วเหลือง ที่ ก ำลั ง เติ บ โตก็ ไ ด้ รั บ ผลกระทบเช่ น เดี ย วกั น นอกจากนี้ 38% ของข้าวโพดยังถูกจัดอันดับให้ มีภาวะการเติบโตทีแ่ ย่ถงึ แย่มาก ในขณะที่ 30% ของถั่วเหลืองได้รับการจัดอันดับภาวะเติบโตใน เกรดเดียวกัน นายวิลแซคระบุว่า สถานการณ์ ดังกล่าวอาจมีผลกระทบต่อผลผลิตและราคา ซึง่ อาจนำไปสู่ราคาอาหารขยับสูงขึ้นในปี 2556
พื้นที่ประสบภัยแล้งขยายวงกว้าง นับแต่นั้นมา สหรัฐฯ ก็ได้มีการประกาศ พืน้ ทีป่ ระสบภัยแล้งเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยใน ช่วงปลายเดือนก.ค. หน่วยข้อมูลภัยแล้งของ สหรัฐฯ รายงานว่า พื้นที่กว่า 70% ในรัฐอิลลินอยส์ของสหรัฐฯ กำลังประสบกับภาวะแห้งแล้ง อย่างรุนแรง พร้อมระบุว่า อิลลินอยส์เป็นรัฐที่ ได้รบั ผลกระทบหนักทีส่ ดุ จากภัยแล้งครัง้ นี้ พร้อม ทัง้ เสริมว่า ภัยแล้งในพืน้ ทีต่ อนกลางของสหรัฐฯ กำลังทวีความรุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ โดยไม่มสี ญ ั ญาณ ใดๆ บ่งบอกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น ต่อมาในช่วงต้นเดือนส.ค. กระทรวงเกษตร สหรัฐฯ ได้ประกาศรายชื่อเขตพื้นที่ประสบภัย ธรรมชาติเพิ่มอีก 44 เขตใน 12 รัฐ เนื่องจาก เกิดความเสียหายและสูญเสียทรัพย์สินจากภาวะ แล้งและอุณหภูมิที่พุ่งสูง ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้น อย่างรุนแรงนี้ กินพื้นที่ตั้งแต่แคลิฟอร์เนียและ ขึน้ เหนือไปยังนิวยอร์ก และได้สร้างความเสียหาย อย่างมากแก่ผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งรวมถึง ข้าวโพด ถั่วเหลือง พืชอาหารสัตว์ และทุ่งหญ้า ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ปศุสัตว์ นับว่าเป็นภัยคุกคามต่อการเก็บเกี่ยว ผลผลิตทางการเกษตรสำหรับสหรัฐฯ ซึ่งเป็น ประเทศผู้ผลิตธัญพืชและเนื้อสัตว์รายใหญ่ที่สุด เป็นอันดับ 2 ของโลก ขณะที่ข้อมูลจากศูนย์ เฝ้าระวังภัยแล้งของสหรัฐฯ ว่า 66% ของพื้นที่ เพาะปลูกและ 73% ของพืน้ ทีป่ ศุสตั ว์ในประเทศ กำลังอยู่ในภาวะแล้ง และเมื่อกลางเดือนส.ค. กระทรวงเกษตรของสหรัฐฯ ประกาศเพิ่มพื้นที่ ประสบภัยแล้งเบือ้ งต้นอีก 172 เขต ใน 15 รัฐ เนื่องจากมีความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยแล้ง และอากาศที่ร้อนเกินไป
องค์กรระหว่างประเทศ ร่วมส่งสัญญาณเตือน ในช่วงเดือนก.ย. นี้ หลายองค์กรได้ออกมา ระบุถึงความวิตกเกี่ยวกับวิกฤตราคาอาหารจาก ภัยแล้ง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อประชากรทั่วโลก โดยล่าสุดองค์การสหประชาชาติ (UN) แนะ ประเทศทัว่ โลกจับตาราคาอาหารโลกต่อไป พร้อม หาแนวทางสกัดไม่ให้ราคาอาหารพุ่งสูงขึ้นมาก จนเกินไป แม้ราคาอาหารโลกยังคงที่ในเดือน ส.ค. แถลงการณ์ของ UN มีขนึ้ ภายหลังองค์การ อาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เปิดเผยดัชนีราคาอหาร (FPI) ประจำเดือนส.ค. ซึ่งระบุว่าราคาอาหารในเดือนส.ค. ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก.ค. ในเดือนส.ค. ดัชนี FPI ซึ่งเป็นมาตรวัด การเปลี่ยนแปลงของราคาตระกร้าอาหาร 55 ชนิดทั่วโลก ประกอบด้วยเนื้อสัตว์ นม น้ำตาล และธัญพืชนัน้ เฉลีย่ อยูท่ ี่ 213 จุด ไม่เปลีย่ นแปลง จากเดือนก.ค. หลังจากที่ดัชนี FPI ในเดือนก.ค. พุ่งขึ้น 6% ซึ่ง FAO ระบุว่า ราคาที่สูงขึ้นส่วน หนึ่งเกิดจากผลผลิตข้าวโพดได้รับความเสียหาย
(51) อย่างรุนแรงในสหรัฐฯ เนือ่ งจากภัยแล้งทีย่ ดื เยือ้ ทำให้ราคาข้าวโพดสูงขึ้นเกือบ 23% ทางด้านออกซ์แฟม ซึ่งเป็นองค์กรระดับ โลกที่ต่อสู้กับความยากจน ได้เตือนว่าราคาผล ผลิตที่เป็นอาหารหลักของประชากรอาจจะพุ่ง สูงขึ้นเป็นเท่าตัวภายในช่วง 20 ปีข้างหน้าจาก การเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงของสภาพอากาศ โดยผลการศึ ก ษาวิ จั ย ในนามของออกซ์ แ ฟม ระบุว่า ภัยแล้งหรือคลื่นความร้อนที่รุนแรงใน ช่วงฤดูร้อนของสหรัฐฯ ในปีนี้ ส่งผลให้มีการ ประเมินว่าราคาข้าวโพดในปี 2573 อาจจะพุ่ง สูงกว่าในปี 2553 อยู่ถึง 177% และราคา ข้าวสาลีจะทะยานขึน้ 120% รายงานระบุอกี ว่า ผลกระทบของสภาพอากาศที่ แ ปรปรวน ซึ่ ง รวมถึงอุณหภูมทิ สี่ งู ขึน้ และปริมาณฝนทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปนั้น จะส่งผลกระทบต่อราคาพืชผลด้าน อาหารเพียง 30-50% เท่านั้น แต่คาดว่าสภาพ อากาศที่เลวร้ายและรุนแรงจะส่งผลกระทบใน ระยะยาวมากกว่ า ต่ อ ราคาอาหารหลั ก ของ ประชากรโลก ออกซ์แฟมระบุวา่ ภัยแล้งทีเ่ กิดขึน้ ในสหรัฐฯ ในปี 2555 แสดงให้เห็นว่าสภาพ อากาศที่เลวร้ายรุนแรงจะส่งผลให้ราคาอาหาร ผันผวนรุนแรงตามไปด้วย ส่วนธนาคารโลกเตือนว่า ราคาอาหาร ทัว่ โลกพุง่ ขึน้ 10% ในช่วงเดือนก.ค. ราคาพืชผล บางประเภทได้แตะระดับสูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ เนื่องจากภัยแล้งที่เกินคาดคิดในพื้นที่เพาะปลูก สำคั ญ โดยเฉพาะสภาพอากาศที่ ร้ อ นจั ด ใน สหรัฐฯ ขณะทีร่ ายงานเกีย่ วกับราคาอาหารล่าสุด ของธนาคารโลกระบุว่า ตั้งแต่เดือนมิ.ย. ถึง เดือนก.ค. ราคาข้าวโพด และข้าวสาลีเพิ่มขึ้น ประเภทละ 25% และราคาถั่วเหลืองเพิ่มขึ้น
17% ราคาอาหารโลกที่พุ่งสูงได้สร้างความ กังวลแก่ประเทศที่เผชิญกับปัญหาความยากจน อยู่แล้ว โดยในกลุ่มประเทศที่ยากจนที่สุด ซึ่ง ประชาชนใช้จ่ายเงิน 2 ใน 3 ของรายได้ต่อวัน ไปกับอาหารนั้น ราคาที่เพิ่มสูงขึ้นคือภัยคุกคาม ต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจและเสถียรภาพ ของสังคม นายจิม ยอง คิม ประธานธนาคารโลก ได้แถลงไว้เมื่อปลายเดือนก.ค. ว่า "เมื่อราคา อาหารเพิม่ สูงขึน้ มาก ประชาชนก็จะแก้ไขปัญหา โดยการให้ลกู ออกจากโรงเรียนและบริโภคอาหาร ทีถ่ กู ลง คุณค่าทางโภชนาการน้อยลง ซึง่ จะทำให้ เกิดผลกระทบระยะยาวอย่างใหญ่หลวง ทั้งทาง ด้านสังคม ร่างกาย และจิตใจของเด็กๆ หลาย ล้านคน"
เวทีโลกถกแนวทางที่ยั่งยืน จากสภาวการณ์สภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน รุนแรงและการปรับตัวสูงขึ้นของราคาอาหาร ในปีนี้ ได้นำไปสู่วาระการประชุมที่มักถูกรวมไว้ ในระเบียบวาระการประชุมที่สำคัญๆ ระดับโลก นัน้ ก็คอื ประเด็นการเสริมสร้างความมัน่ คงทาง อาหาร ซึ่งเป็นความพยายามที่จะร่วมกันรับมือ กับสถานการณ์ในปัจจุบนั รวมทัง้ วางแผนทีเ่ ป็น รูปธรรมในอนาคต ในการประชุมประจำปีกลุ่มความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) ในระหว่างวันที่ 2-9 ก.ย. ที่ประเทศรัสเซีย นั้น ความมั่นคงทางด้านอาหารนับเป็นหนึ่งใน ประเด็นหลักซึง่ ทีป่ ระชุมให้ความสนใจ โดยบรรดา รัฐมนตรีพาณิชย์เอเปกได้เรียกร้องไม่ให้ประเทศ ต่างๆ ใช้วิธีการระงับการส่งออก เพราะจะยิ่ง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(52)
เป็นการซ้ำเติมปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ให้ทวีความรุนแรง ขึ้น เนื่องจากสมาชิกกลุ่มเอเปกหลายประเทศ ต้องพึ่งพาการนำเข้าอาหารเป็นหลัก ในขณะที่ บรรดาผู้นำเอเปกก็ได้หารือในเรื่องการเพิ่มผล ผลิตอาหาร การเพิ่มการลงทุนในด้านเกษตรกรรม รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม การใช้ เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมใหม่ๆ ทางด้านการเกษตรเพือ่ ช่วยเพิม่ ผลผลิต ช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา ที่ประชุมเศรษฐกิจ โลก หรือเวิลด์ อิโคโนมิค ฟอรัม ทีเ่ มืองเทียนจิน ประเทศจีน ได้มีการหารือกันเพื่อพยายามหา แนวทางสร้างความมัน่ ใจเกีย่ วกับปริมาณอาหาร ทีย่ งั่ ยืนในโลกทีก่ ำลังมีจำนวนประชากรเพิม่ มาก ขึ้น และระบุถึงความจำเป็นในการเพิ่มศักยภาพ การผลิตของเกษตรกรรายย่อย โดยการจัดสรร ความช่วยเหลือทางการเงินและเทคโนโลยี ซึ่ง จะเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรเพาะปลูกผลผลิต ด้ า นอาหารต่ อ ไปโดยได้ ผ ลตอบแทนมากขึ้ น จากราคาอาหารโลกที่พุ่งสูง ควบคู่กับการทำให้ ประชาชนตื่นตัวและตระหนักว่า อาหารไม่ได้มา จากชั้นวางของตามห้างสรรพสินค้า แต่มาจาก พื้นที่เกษตร และมาจากเกษตกร และผู้นำภาค ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
รัฐบาลก็ต้องดำเนินการเพื่อสร้างความมั่นใจ เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหาร นอกจากนี้ ที่ ประชุมยังได้แสดงความกังวลเกี่ยวกับมาตรการ กีดกันทางการค้า โดยเรียกร้องให้มีการสร้าง ความมั่นใจว่า การค้าโลกยังคงเปิดกว้าง และ ไม่จำกัดการส่งออกสินค้าเกษตร ซึ่งจะส่งผล กระทบต่อประเทศอื่นๆ และประชากรที่ยากจน ซึ่ ง เผชิ ญ ความยากลำบากอยู่ แ ล้ ว จากราคา อาหารที่พุ่งสูง จะเห็นได้ว่าประเด็นราคาอาหาร และ อุ ป สงค์ - อุ ป ทานในตลาดโลกดู เ หมื อ นจะเป็ น เรื่ อ งที่ ผู้ น ำทั่ ว โลกไม่ อ าจเพิ ก เฉยได้ อี ก ต่ อ ไป พร้อมกันนั้น ก็ต้องร่วมกันหาแนวทางสู่ทาง ออกที่ยั่งยืนในการบรรเทา และป้องกันมิให้ วิ ก ฤตอาหารโลกที่ รุ น แรงเกิ ด ซ้ ำ รอยขึ้ น อี ก เพราะคงไม่อาจปฏิเสธคำพูดที่ว่า “กองทัพต้อง เดินด้วยท้อง" ซึ่งเมื่อประเทศมีความมั่นคงทาง อาหาร ประชาชนสามารถมี อ าหารบริ โ ภค อย่างเพียงพอ ก็เป็นจุดเริ่มต้นที่จะมีกำลังขับ เคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ที่จะนำไปสู่การขยายตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศต่อไป
(53)
ผลการพยากรณ์ผลผลิตการเกษตร ข้าวนาปี ปี 2555 (ปีเพาะปลูก 2555/56) เดือนกันยายน 2555
เนือ้ ทีเ่ พาะปลูก รวมทัง้ ประเทศ 61.175 ล้านไร่ เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 0.640 ล้านไร่ หรือร้อยละ 1.05
ปลายปี ทำให้ผลผลิตเสียหาย แต่สำหรับปีนี้ จากปริมาณน้ำฝนที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตและผลผลิตต่อไร่เพิ่ม ขึ้น
ผลผลิต รวมทั้งประเทศ 26.186 ล้าน ตันข้าวเปลือก เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 2.920 ล้านตันข้าวเปลือก หรือร้อยละ 12.55 ผลผลิตต่อไร่ ทั้งประเทศ 424 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 43 กิโลกรัม หรือร้อยละ 11.29 สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูก เพิม่ ขึน้ จากปีทแี่ ล้ว โดยเฉพาะภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลาง ซึ่ ง ปี ที่ แ ล้ ว แหล่ ง ผลิ ต ลุ่ ม เจ้ า พระยาไม่สามารถปลูกข้าวนาปีรอบ 2 ได้ เนือ่ ง จากประสบอุทกภัยในช่วงปลายปี ประกอบกับ ราคาข้าวที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี และ ภาครัฐมีนโยบายรับจำนำข้าว ทำให้ราคาข้าว มีแนวโน้มสูงขึ้น จึงจูงใจให้เกษตรกรปลูกข้าว เพิ่มขึ้น สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ภาคใต้ เนื้อที่เพาะปลูกข้าวลดลง เนื่องจาก ในบางพื้นที่เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อย โรงงานและปาล์มน้ำมัน และจากปีที่แล้วหลาย แหล่งผลิตประสบอุทกภัยทั้งในช่วงกลางปีและ
หมายเหตุ ผลผลิตข้าวนาปี ที่ความชื้น 15%
สถานการณ์ตลาดและราคา จากการ คาดการณ์ของกระทรวงเกษตรสหรัฐ ณ เดือน สิงหาคม 2555 ผลผลิตข้าวโลก ปี 2555/56 มีปริมาณ 463.215 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก ปี 2554/55 ร้อยละ 0.99 ความต้องการใช้ใน ประเทศมีปริมาณ 466.40 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปี 2554/55 ร้อยละ 1.70 ขณะที่ การค้าข้าวโลก มีเพียง 35.495 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2554/55 ร้อยละ 0.45 ส่งผล ให้สต็อกปลายปีข้าวโลกลดลงเหลือ 101.819 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปี 2554/55 ร้อยละ 3.03
ที่มา: วารสาร การพยากรณ์ผลผลิตการเกษตร ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน 2555 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(54)
สำหรับแนวโน้มราคาข้าวน่าจะอยู่ใน เกณฑ์ดี เนื่องจากปัญหาภัยแล้งที่กำลังคุกคาม หลายประเทศทัว่ โลก ซึง่ ประเทศผูป้ ลูกข้าว และ ผูส้ ง่ ออกข้าวรายใหญ่ เช่น อินเดีย กำลังประสบ ปัญหาฝนตกน้อยเช่นกัน โดยสำนักงานอุตุนิยม วิทยาอินเดีย (The India Meteorological Department; IMD) คาดการณ์ว่า ช่วงฤดูมรสุมปีนี้ ซึ่งอยู่ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน จะมีปริมาณฝนตกน้อยกว่าระดับปกติประมาณ ร้อยละ 10
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2555 (ปีเพาะปลูก 2555/56) เดือนกันยายน 2555
เนื้อที่เพาะปลูก รวมทั้งประเทศ 7.188 ล้านไร่ ลดลง จากปีที่แล้ว 68,390 ไร่ หรือ ร้อยละ 0.94 ผลผลิต รวมทั้งประเทศ 4.688 ล้านตัน ลดลง จากปีที่แล้ว 94,060 ตัน หรือร้อยละ 1.97 ผลผลิตต่อไร่ ทั้งประเทศ 652 กิโลกรัม ลดลง จากปีที่แล้ว 7 กิโลกรัม หรือร้อยละ 1.06 สถานการณ์การผลิต เนื้อที่เพาะปลูก ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลง เนื่องจากการลดของ เนือ้ ทีเ่ พาะปลูกข้าวโพดเลีย้ งสัตว์รนุ่ 1 ทีม่ คี วาม เสีย่ งจากภัยแล้ง เกษตรกรจึงปรับเปลีย่ นไปปลูก อ้อยโรงงาน และมันสำปะหลังที่ให้ผลตอบแทน ดีกว่า ประกอบกับเกษตรกรที่เคยปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์แซมในสวนยางพารา ปัจจุบันต้นยาง พาราเจริญเติบโต ไม่สามารถปลูกแซมได้อีก ยกเว้นจังหวัดลำปาง และน่าน ซึ่งมีพื้นที่ปลูก เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว จากพื้นที่ว่างเปล่า และ พื้นที่อ้อยโรงงาน เนื่องจากโรงงานน้ำตาลใน จังหวัดลำปางได้ยา้ ยฐานการผลิตออกนอกพืน้ ที่ เกษตรกรที่เคยปลูกอ้อยโรงงานจึงหันมาปลูก ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แทน ส่วนผลผลิตต่อไร่ลดลง จากการที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่น 1 ปีนี้สภาพ อากาศไม่เอื้ออำนวยเกิดสภาวะฝนทิ้งช่วง ทำให้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เจริญเติบโตไม่เต็มที่ ส่งผลให้ ภาพรวมผลผลิตลดลง
(55) สถานการณ์ตลาดและราคา ผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของไทย คาดว่าจะไม่เพียงพอ เมื่ อ เที ย บกั บ ความต้ อ งการใช้ ภ ายในประเทศ เนื่องจากในหลายพื้นที่ของประเทศไทยที่เป็น แหล่งปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รบั ผลกระทบจากภัยแล้ง ฝนตกทิ้งช่วง ทำให้ผลผลิตบางส่วนได้รับความ เสียหาย ขณะเดียวกันผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ของโลกทีค่ าดการณ์โดยกระทรวงเกษตรสหรัฐฯ เดือนสิงหาคม 2555 ลดลงเมื่อเทียบกับเดือน มิถุนายน 2555 ร้อยละ 10.62 เนื่องจาก ผลกระทบของสภาวะการเปลีย่ นแปลงของสภาพ ภูมิอากาศในหลายพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่ง เป็นปัจจัยที่จะส่งผลให้ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ช่วงเดือนกันยายน ถึงธันวาคม 2555 ของไทย จะยังคงอยู่ในเกณฑ์สูง
ถั่วเหลือง ปี 2555 (ปีเพาะปลูก 2555/56) เดือนกันยายน 2555
เนื้อที่เพาะปลูก รวมทั้งประเทศ 0.401 ล้านไร่ ลดลง จากปีที่แล้ว 20,587ไร่ หรือ ร้อยละ 4.88 ผลผลิต รวมทัง้ ประเทศ 0.105 ล้านตัน ลดลง จากปีที่แล้ว 3,376 ตัน หรือร้อยละ 3.10 ผลผลิตต่อไร่ ทั้งประเทศ 263 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 5 กิโลกรัม หรือร้อยละ 1.94 สถานการณ์ ก ารผลิ ต ที่ เ พาะปลู ก ถั่วเหลืองลดลงจากปีที่แล้ว เนื่องจากการขาด
แคลนเมล็ดพันธุ์ ทำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไป ปลูกพืชอืน่ ทีใ่ ห้ผลตอบแทนดีกว่า โดยแหล่งผลิต ทีส่ ำคัญทางภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สุโขทัย และเชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ แ ก่ จั ง หวั ด เลย หนองบั ว ลำภู ขอนแก่ น และชัยภูมิ ปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน มัน สำปะหลัง ยางพารา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่น 1 และข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ รุน่ 2 ข้าวนาปรัง สำหรับ ผลผลิตต่อไร่ ถั่วเหลืองรุ่น 1 เพิ่มขึ้น เนื่องจาก ปริมาณน้ำฝนเพียงพอต่อการเพาะปลูก และ บางแหล่งไม่ประสบปัญหาน้ำท่วมในช่วงเก็บ เกี่ยวเหมือนปีที่ผ่านมา ส่วนถั่วเหลืองรุ่น 2 คาดว่าเพิ่มขึ้นหากสภาพภูมิอากาศเอื้ออำนวย ปริมาณน้ำฝนเพียงพอต่อการเพาะปลูก สำหรับ ผลผลิตในภาพรวมลดลง เนือ่ งจากเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก ลดลง
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(56) สถานการณ์ตลาดและราคา แนวโน้ม ราคาถั่วเหลืองภายในประเทศมีทิศทางปรับตัว ทางบวกเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากประเทศผู้ ผ ลิ ต รายใหญ่ที่สุดของโลกคือสหรัฐอเมริกา ผลผลิต ได้ รั บ ความเสี ย หาย และลดลง จากสภาพ อากาศที่แห้ง แล้ ง ซึ่งเป็ นปัจจัย บวกส่งผลให้ ราคาถั่วเหลืองที่เกษตรกรขายได้ ปีเพาะปลูก 2555/56 ปรับสูงขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ภาวะเศรษฐกิจของประเทศผู้นำ เข้าถั่วเหลืองที่สำคัญของโลกอย่างจีน ซึ่งเผชิญ กับภาวะเศรษฐกิจถดถอย จะเป็นตัวชะลอราคา ถั่วเหลือง
มันสำปะหลัง ปี 2556 (ปีเพาะปลูก 2555/56) เดือนกันยายน 2555
เนื้อที่เก็บเกี่ยว รวมทั้งประเทศ 7.905 ล้านไร่ ลดลง จากปีที่แล้ว 6,267 ไร่ หรือ ร้อยละ 0.08 ผลผลิต รวมทั้งประเทศ 27.547 ล้าน ตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ แ ล้ ว 0.946 ล้ า นตั น หรือร้อยละ 3.56 ผลผลิ ต ต่ อ ไร่ ทั้ ง ประเทศ 3,485 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 123 กิโลกรัม หรือร้อยละ 3.66 สถานการณ์ ก ารผลิ ต เนื้ อ ที่ เ ก็ บ เกี่ ย ว ใกล้เคียงกับปีที่แล้ว เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกยาง พารา ประกอบกับเกษตรกรทีป่ ลูกมันสำปะหลัง แซมในสวนยางพารา ปั จ จุ บั น ต้ น ยางพารา เจริญเติบโตจึงไม่สามารถปลูกแซมได้อีก เช่น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
จังหวัดหนองคาย บึงกาฬ นครพนม มุกดาหาร ยโสธร อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ และ ร้อยเอ็ด และภาคกลาง เกษตรกรปรับเปลี่ยน ไปปลูกอ้อยโรงงาน เช่น จังหวัดสุพรรณบุรี ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา ซึง่ ทัง้ ยางพารา และ อ้อยโรงงานเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า แต่ ทางภาคเหนือเกษตรกรปลูกมันสำปะหลังแทน ในพื้นที่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่กระทบแล้งเสียหาย ในช่วงเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน และปลูกเพิ่ม ในพื้นที่ว่าง เช่น จังหวัดตาก กำแพงเพชร สุ โ ขทั ย นครสวรรค์ และเพชรบู ร ณ์ ทำให้ ภาพรวมเนื้อที่เก็บเกี่ยว ทั้งประเทศลดลงไม่ มากนัก สำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เนื่องจาก มีฝนตกกระจาย และเหมาะสมสำหรับต้นมัน สำปะหลั ง ทำให้ เ จริ ญ เติ บ โตดี และในปี นี้
(57) การแพร่ระบาดของเพลี้ยแป้งลดลง ไม่รุนแรง เหมือนปีที่ผ่านมา ประกอบกับ เกษตรกรมีการ ดูแลโดยการใส่ปุ๋ย และฉีดยากำจัดวัชพืช ส่งผล ให้ผลผลิตในภาพรวมเพิ่มขึ้น สถานการณ์ตลาดและราคา ปี 2556 คาดว่ า ราคามั น สำปะหลั ง ที่ เ กษตรกรขายได้ จะใกล้เคียงกับ ปี 2555 อย่างไรก็ตาม หาก ผลผลิตมันสำปะหลังของเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะ กัมพูชา เวียดนาม และลาว ขยายตัวเพิ่มขึ้น จะส่งผลทางลบต่อราคามันสำปะหลังทีเ่ กษตรกร ขายได้ของไทย ในด้านการส่งออก ผลิตภัณฑ์ มันสำปะหลังโดยเฉพาะมันเส้นของเวียดนาม ซึ่งเป็นคู่แข่งที่สำคัญ มีคุณภาพตรงกับความ ต้องการของจีน ส่งผลให้จีนซึ่งเป็นผู้นำเข้าหลัก ของไทยจะนำเข้าจากเวียดนามก่อน เช่นเดียวกับ ปี 2555 ส่งผลให้การส่งออกมันเส้นไทยชะลอ ตัวตั้งแต่ต้นฤดูเก็บเกี่ยว
ไก่เนื้อ ปี 2555 (เดือนกันยายน)
จำนวนไก่เนือ้ ณ วันที่ 1 มกราคม รวม ทั้งประเทศ 141.818 ล้านตัว เพิ่มขึ้น จากปี ที่แล้ว 4.172 ล้านตัว หรือร้อยละ 3.03 ปริ ม าณการผลิ ต รวมทั้ ง ประเทศ 1,055.935 ล้ า นตั ว เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ แ ล้ ว 61.615 ล้านตัว หรือร้อยละ 6.20 สถานการณ์การผลิต สหภาพยุโรป (EU) เปิ ด ให้ น ำเข้ า ไก่ ส ดแช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง จากไทยได้ ตั้งแต่เดือนกรกฏาคม 2555 ทำให้การส่งออก ไก่เนื้อของไทยในปีนี้มีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจาก ประเทศผู้นำเข้าหลักจากไทย ได้แก่ อังกฤษ
เยอรมนี และเนเธอร์แลนด์ ไม่ได้เป็นประเทศที่ ประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ ประกอบกับปริมาณ ความต้องการบริโภคเนื้อไก่ปรับเพิ่มขึ้น เพราะ เนื้อไก่เป็นอาหารหลักที่มีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์ ชนิ ด อื่ น จึ ง คาดว่ า ปริ ม าณการผลิ ต ไก่ เ นื้ อ ปี 2555 จะขยายตัวเพิ่มขึ้นมากกว่าปีที่ผ่านมา สถานการณ์ ต ลาดและราคา ในปี 2555 (ม.ค.-ส.ค. 2555) ราคาไก่เนื้อมีชีวิตที่ เกษตรกรขายได้เฉลี่ย กิโลกรัมละ 42.63 บาท ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 11.75 เนื่องจากปริมาณการผลิตไก่เนื้อเพิ่ม ขึ้น และมีไก่ใหญ่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้นด้วย ด้าน การส่ ง ออกเนื้ อ ไก่ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ (มกราคมมิถนุ ายน 2555) ทัง้ หมดจำนวน 263,183.83 ตัน มูลค่า 33,305.28 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้น จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 20.78 ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(58) และ 20.32 ตามลำดับ แม้ว่าจะเกิดวิกฤต เศรษฐกิจยุโรป แต่การส่งออกไก่เนื้อก็ไม่ได้รับ ผลกระทบมากนัก และเป็นระยะเวลา 8 ปี ที่ ไทยโดนระงับการส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งไป สหภาพยุโรป แต่คณะกรรมการยุโรปด้านห่วงโซ่ อาหารและสุขภาพสัตว์ได้มีมติยกเลิกการห้าม นำเข้าไก่สดจากประเทศไทย โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2555 เป็นต้นไป การส่ ง ออกเนื้ อ ไก่ ส ดแช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง ไป สหภาพยุโรป (EU) ประเทศไทยเริ่มส่งไปตั้งแต่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2555 จำนวน 1 ตูค้ อนเทนเนอร์ เป็นจำนวน 24 ตัน (ข้อมูล ณ เดือน ก.ค. 2555) สินค้าในช่วงแรกอาจต้องมีการ ตรวจทีเ่ ข้มงวดจากทางสหภาพยุโรปทีค่ าดว่าจะ มีการเข้มงวดเป็นอย่างมาก ซึ่งมีผู้ประกอบการ บางรายยั ง คงรอดู ท่ า ที ว่ า จะสามารถส่ ง ออก ไก่สดได้จริงหรือไม่ แล้วจึงตัดสินใจว่าจะเพิ่ม ปริมาณการผลิตเพื่อการส่งออกไปสหภาพยุโรป หรื อ ไม่ ซึ่ ง ในระยะแรกต้ อ งค่ อ ยๆ ผลิ ต และ ส่งออกจึงอาจจะผลิตได้ไม่เต็มที่
ไข่ไก่ ปี 2555 (เดือนกันยายน)
จำนวนไก่ไข่ ณ วันที่ 1 มกราคม รวม ทั้งประเทศ 41.489 ล้านตัว เพิ่มขึ้น จากปี ที่แล้ว 1.039 ล้านตัว หรือร้อยละ 2.57 ปริมาณการผลิตไข่ไก่ รวมทั้งประเทศ 11,023 ล้านฟอง เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 998 ล้านฟอง หรือร้อยละ 9.96 อัตราการให้ไข่ รวมทัง้ ประเทศ 292 ฟอง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ต่อตัวต่อปี เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 3 ฟองต่อตัว ต่อปี หรือร้อยละ 1.04 สถานการณ์การผลิต ปริมาณการผลิต ไข่ ไ ก่ คาดว่ า เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ แ ล้ ว เนื่ อ งจาก เกษตรกรผู้เลี้ยไก่ไข่ เร่งพัฒนาการเลี้ยงตั้งแต่ คุณภาพสายพันธุ์ โรงเรือนปรับอากาศ ตลอดจน การจัดการต่างๆ ภายในฟาร์มให้ดีขึ้น ทำให้ ประสิทธิภาพการผลิตสูงขึ้น ส่งผลให้ปริมาณ ไข่ไก่ออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น และจากนโยบายของ รั ฐ บาลที่ มี ก ารเปิ ด ให้ น ำเข้ า พ่ อ -แม่ พั น ธุ์ ไ ก่ ไ ข่ (PS) โดยเสรี และภาคเอกชนมีการนำเข้ามา ตั้งแต่ปลายปี 2553 ทำให้จำนวนพ่อแม่พันธุ์ และแม่ ไ ก่ ไ ข่ ที่ ใ ห้ ไ ข่ ใ นระบบมี ม ากขึ้ น ส่ ง ผล ให้ปริมาณการผลิตไข่ไก่เพิ่มขึ้นด้วย อย่างไร ก็ดี ปริมาณการผลิตดังกล่าวยังเพิ่มขึ้นไม่มาก นัก เนื่องจากภาวะตลาดที่ไม่แน่นอนและราคา
(59) ที่ไม่จูงใจ ภาคเอกชนจึงยังนำเข้าพ่อ-แม่พันธุ์ ไม่ครบตามแผนที่เคยกำหนดไว้ สถานการณ์ตลาดและราคา ราคาไข่ไก่ ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศปรับตัวลดลง โดยไตรมาสแรกราคาอยู่ที่ฟองละ 2.65 บาท ไตรมาสที่สองเฉลี่ยฟองละ 2.63 บาท และ ไตรมาสที่สามเฉลี่ยฟองละ 2.61 บาท เนื่อง จากมีแม่ไก่ยนื กรงจำนวนมาก ทำให้ผลผลิตออก สู่ตลาดมากขึ้น แม้ว่ากลุ่มเกษตรกรจะปลดแม่ ไก่ไข่บางส่วนก่อนกำหนด เพื่อลดการขาดทุน แต่ก็ยังไม่ส่งผลให้ระดับราคาเพิ่มขึ้น
สุกร ปี 2555 (เดือนกันยายน)
จำนวนสุกร ณ วันที่ 1 มกราคม รวม ทั้งประเทศ 7.821 ล้านตัว เพิ่มขึ้น จากปี ที่แล้ว 35,855 ตัว หรือร้อยละ 0.46 ปริ ม าณการผลิ ต รวมทั้ ง ประเทศ 12.824 ล้านตัว เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้ว 0.934 ล้านตัว หรือร้อยละ 7.86 สถานการณ์ ก ารผลิ ต ปริ ม าณการ ผลิตคาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการขยายการ
เลีย้ งของผูเ้ ลีย้ งรายใหญ่ โดยเฉพาะในภาคกลาง และภาคใต้ สำหรับภาคใต้มีการขยายการเลี้ยง จนมีปริมาณสุกรเกินความต้องการมาก ประกอบ กับปัจจัยเสี่ยงด้านโรคระบาดลดลง โดยเฉพาะ โรคทางระบบสืบพันธุ์และระบบทางเดินหายใจ (Porcine Reproductive and Respiratory Syndrome: PRRS) เนื่องจากเกษตรกรมีการ บริหารจัดการฟาร์มที่ดี สามารถควบคุมความ เสียหายจากโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานการณ์ตลาดและราคา ปี 2555 คาดว่ า ปริ ม าณการบริ โ ภคเนื้ อ สุ ก รจะเพิ่ ม ขึ้ น เนื่องจากราคาสุกรลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 อย่างไรก็ตาม การที่สินค้าต่างๆ มีการปรับ ราคาสู ง ขึ้ น ตามต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จาก การปรับค่าแรงขั้นต่ำและราคาน้ำมันที่ปรับตัว สู ง ขึ้ น จะทำให้ ก ำลั ง ซื้ อ ของประชาชนลดลง และส่งผลให้ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรเพิ่มขึ้น ได้ไม่มากนัก ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย ปี 2555 คาดว่าจะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 โดยราคาสุ ก รเฉลี่ ย เดื อ นมกราคม-สิ ง หาคม 2555 กิโลกรัมละ 57.94 บาท ลดลงจากช่วง เดียวกันของปี 2554 ร้อยละ 11.86 ทั้งนี้ ราคาสุกรได้ลดลงตั้งแต่ต้นปี 2555 เพราะมี ปริมาณสุกรเพิม่ ขึน้ ขณะทีค่ วามต้องการบริโภค ค่อนข้างทรงตัว ทำให้มีปริมาณสุกรส่วนเกิน ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(60) เหลือสะสมเพิม่ ขึน้ ส่งผลให้เกษตรกรผูเ้ ลีย้ งสุกร ประสบการขาดทุน แต่ในเดือนเมษายน ราคา สุกรปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากปริมาณสุกรส่วน เกิ น ลดลง เพราะมี ก ารจั ด จำหน่ า ยเนื้ อ สุ ก ร ราคาถูกเพื่อกระตุ้นการบริโภค ทำให้สามารถ ลดปริมาณสุกรส่วนเกินได้ส่วนหนึ่ง และมีการ ส่งออกสุกรมีชีวิตไปยังประเทศเพื่อนบ้านเพื่อ ระบายผลผลิต ประกอบกับสภาพอากาศร้อน ทำให้สุกรเจริญเติบโตช้าลง ในเดือนพฤษภาคม 2555 ราคาสุกรทรงตัว และเริ่มอ่อนตัวลง ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนเป็นต้นมา เนื่องจากความ ต้องการบริโภคลดลงเพราะมีฝนตกบ่อยในหลาย พื้นที่ ขณะที่มีปริมาณสุกรออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ด้ า นการส่ ง ออกเนื้ อ สุ ก รชำแหละในปี 2555 คาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาสุกร ภายในประเทศลดลงเมื่อเทียบกับ ปี 2554 จึง เอือ้ อำนวยให้สามารถส่งออกได้เพิม่ ขึน้ ส่วนเนือ้ สุกรแปรรูปคาดว่าการส่งออกยังมีแนวโน้มเพิ่ม ขึ้น สำหรับสุกรมีชีวิตที่ส่งออกไปยังประเทศ เพื่อนบ้าน โดยเฉพาะกัมพูชา คาดว่าจะเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกัน ส่วนการนำเข้าคาดว่าปี 2555 การนำเข้าส่วนอื่นๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่นๆ) จะไม่เพิ่มขึ้น เนื่องจาก ราคาสุกรภายในประเทศจะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2554 ทำให้ความต้องการนำเข้าไม่เพิ่มขึ้น
มาณ ร้อยละ 2553/54 2554/55 2555/56 ปริ เพิ่ม-ลด เพิม่ -ลด 2553/54 ข้าวนาปี 64,574,071 61,074,780 61,714,660 639,880 1.05 25,741,507 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7,480,933 7,255,950 7,187,560 -68,390 -0.94 4,860,746 ถั่วเหลือง 577,191 422,037 401,450 -20,587 -4.88 152,047 มันสำปะหลัง 7,096,173 7,911,323 7,905,056 -6,267 -0.08 21,912,416
ชื่อพืช 23,266,374 26,186,199 4,781,970 4,687,910 108,776 105,400 26,601,090 27,547,242
2554/55 2555/56
ผลผลิต (ตัน) ปีเพาะปลูก ปริมาณ เพิ่ม-ลด 2,919,825 -94,060 -3,376 946,152
ไก่เนื้อ ไก่ไข่ สุกร
ชื่อปศุสัตว์
หมายเหตุ: · จำนวนตัว ณ วันที่ 1 มกราคม เป็นข้อมูลผลการสำรวจ · ปริมาณการผลิตในรอบปีของไก่ไข่ คือ ไข่ไก่ หน่วย: ฟอง
1 2 3
ลำดับที่
จำนวน ณ วันที่ 1 มกราคม (ตัว) ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปริมาณ เพิ่ม-ลด 131,331,732 137,646,821 141,818,460 4,171,639 39,424,265 40,449,726 41,488,920 1,039,194 7,623,730 7,785,525 7,821,380 35,855
ผลพยากรณ์ปริมาณการผลิตปศุสัตว์ ปี 2555 ร้อยละ เพิ่ม-ลด 6.20 9.96 7.86
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) ปีเพาะปลูก ปริมาณ ร้อยละ ร้อยละ เพิ่ม-ลด 2553/54 2554/55 2555/56 เพิ่ม-ลด เพิม่ -ลด 12.55 399 381 424 43 11.29 -1.97 650 659 652 -7 -1.06 -3.10 263 258 263 5 1.94 3.56 3,088 3,362 3,485 123 3.66
ปริมาณการผลิตในรอบปี (ตัว) ร้อยละ ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปริมาณ เพิ่ม-ลด เพิ่ม-ลด 3.03 970,943,058 994,319,478 1,055,934,706 61,615,228 2.57 9,786,854,575 10,024,434,690 11,022,545,170 998,110,480 0.46 12,099,175 11,889,894 12,824,010 934,116
หมายเหตุ: มันสำปะหลัง ปีเพาะปลูก 2555/56 (ปี 2556) หมายถึง เนื้อที่เก็บเกี่ยวระหว่าง 1 ตุลาคม 2555-30 กันยายน 2556
1 2 3 4
ลำดับ ที่
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) ปีเพาะปลูก
ผลพยากรณ์การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ปีเพาะปลูก 2555/56
(61)
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(62) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: ผลพยากรณ์การผลิตปี 2555 (ปีเพาะปลูก 2555/56) รายจังหวัด (กันยายน 2555) ประเทศ/ภาค/ จังหวัด
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่)
2554 รวมทั้งประเทศ 7,255,950 รุ่น 1 7,095,010 รุ่น 2 160,940 ภาคเหนือ 4,505,780 รุ่น 1 4,360,340 รุ่น 2 145,440 ภาคตะวันออก 1,888,220 เฉียงเหนือ รุ่น 1 1,872,720 รุ่น 2 15,500 ภาคกลาง 861,950 รุ่น 1 861,950 เชียงราย 457,160 รุ่น 1 444,950 รุ่น 2 12,210 พะเยา 227,710 รุ่น 1 221,880 รุ่น 2 5,830 ลำปาง 83,280 รุ่น 1 79,670 รุ่น 2 3,610 ลำพูน 101,940 รุ่น 1 101,940 เชียงใหม่ 140,100 รุ่น 1 135,960 รุ่น 2 4,140 แม่ฮ่องสอน 8,960 รุ่น 1 8,960 ตาก 641,610 รุ่น 1 626,710 รุ่น 2 14,900 กำแพงเพชร 115,820 รุ่น 1 82,470 รุ่น 2 33,350
2555 % 7,187,560 -0.94 7,019,810 -1.06 167,750 4.23 4,501,210 -0.10 4,349,870 -0.24 151,340 4.06
เนื้อที่ เก็บเกี่ยว (ไร่) 2555 7,009,030 6,850,810 158,220 4,395,940 4,253,300 142,640
ผลผลิต (ตัน) 2554 4,781,970 4,669,640 112,330 3,019,780 2,917,220 102,560
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
2555 % 2554 2555 % 4,687,910 -1.97 659 652 -1.06 4,569,910 -2.14 658 651 -1.06 118,000 5.05 698 703 0.72 2,985,710 -1.13 670 663 -1.04 2,878,160 -1.34 669 662 -1.05 107,550 4.87 705 711 0.85
1,843,520 -2.37 1,777,510 1,186,240 1,148,200 -3.21
628
623 -0.80
1,827,110 16,410 842,830 842,830 460,090 447,630 12,460 226,840 220,960 5,880 89,520 85,690 3,830 102,880 102,880 140,130 135,810 4,320 8,640 8,640 638,980 623,300 15,680 116,480 81,760 34,720
628 630 668 668 692 692 709 635 633 719 693 692 720 680 680 660 658 725 509 509 688 687 719 691 684 708
623 637 657 657 681 680 720 630 627 724 692 690 728 673 673 650 647 734 498 498 686 685 723 687 677 712
-2.44 5.87 -2.22 -2.22 0.64 0.60 2.05 -0.38 -0.41 0.86 7.49 7.56 6.09 0.92 0.92 0.02 -0.11 4.35 -3.57 -3.57 -0.41 -0.54 5.23 0.57 -0.86 4.11
1,761,930 15,580 835,580 835,580 451,980 440,400 11,580 223,510 217,790 5,720 88,510 84,950 3,560 100,780 100,780 137,110 133,010 4,100 8,210 8,210 619,190 604,600 14,590 112,890 80,010 32,880
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
1,176,470 9,770 575,950 575,950 316,570 307,910 8,660 144,640 140,450 4,190 57,730 55,130 2,600 69,320 69,320 92,460 89,460 3,000 4,560 4,560 441,260 430,550 10,710 80,020 56,410 23,610
1,137,750 10,450 554,000 554,000 313,360 304,390 8,970 142,800 138,540 4,260 61,920 59,130 2,790 69,240 69,240 91,040 87,870 3,170 4,300 4,300 438,300 426,960 11,340 80,070 55,350 24,720
-3.29 6.96 -3.81 -3.81 -1.01 -1.14 3.58 -1.27 -1.36 1.67 7.26 7.26 7.31 -0.12 -0.12 -1.54 -1.78 5.67 -5.70 -5.70 -0.67 -0.83 5.88 0.06 -1.88 4.70
-0.80 1.11 -1.65 -1.65 -1.59 -1.73 1.55 -0.79 -0.95 0.70 -0.14 -0.29 1.11 -1.03 -1.03 -1.52 -1.67 1.24 -2.16 -2.16 -0.29 -0.29 0.56 -0.58 -1.02 0.56
(63)
ประเทศ/ภาค/ จังหวัด สุโขทัย รุ่น 1 รุ่น 2 แพร่ รุ่น 1 รุ่น 2 น่าน รุ่น 1 รุ่น 2 อุตรดิตถ์ รุ่น 1 พิษณุโลก รุ่น 1 รุ่น 2 พิจิตร รุ่น 1 รุ่น 2 นครสวรรค์ รุ่น 1 รุ่น 2 อุทัยธานี รุ่น 1 รุ่น 2 เพชรบูรณ์ รุ่น 1 รุ่น 2 เลย รุ่น 1 รุ่น 2 หนองบัวลำภู รุ่น 1 รุ่น 2 อุดรธานี รุ่น 1 หนองคาย รุ่น 1 อุบลราชธานี รุ่น 1
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) 2554 88,180 87,570 610 226,830 221,050 5,780 601,950 584,600 17,350 104,920 104,920 244,090 223,200 20,890 37,720 35,970 1,750 282,050 275,850 6,200 159,950 155,840 4,110 983,510 968,800 14,710 813,890 800,950 12,940 50,670 48,920 1,750 11,690 11,690 1,630 1,630 1,600 1,600
2555 87,400 86,710 690 227,300 221,380 5,920 603,120 585,050 18,070 103,760 103,760 243,670 221,820 21,850 37,560 35,640 1,920 284,580 278,260 6,320 159,250 155,070 4,180 971,010 955,510 15,500 807,540 793,890 13,650 50,940 49,090 1,850 10,850 10,850 1,710 1,710 1,630 1,630
% -0.88 -0.98 13.11 0.21 0.15 2.42 0.19 0.08 4.15 -1.11 -1.11 -0.17 -0.62 4.60 -0.42 -0.92 9.71 0.90 0.87 1.94 -0.44 -0.49 1.70 -1.27 -1.37 5.37 -0.78 -0.88 5.49 0.53 0.35 5.71 -7.19 -7.19 4.91 4.91 1.88 1.88
เนื้อที่ เก็บเกี่ยว (ไร่) 2555 84,800 84,130 670 221,510 215,920 5,590 590,890 574,060 16,830 101,710 101,710 235,210 214,530 20,680 36,630 34,770 1,860 279,740 273,780 5,960 155,740 151,700 4,040 947,530 932,950 14,580 773,210 760,290 12,920 49,300 47,530 1,770 10,140 10,140 1,660 1,660 1,580 1,580
ผลผลิต (ตัน) 2554 53,750 53,330 420 138,570 134,850 3,720 388,250 376,490 11,760 68,090 68,090 167,030 152,220 14,810 26,070 24,820 1,250 195,330 190,960 4,370 108,760 105,820 2,940 667,370 656,850 10,520 525,390 517,190 8,200 30,970 29,890 1,080 6,130 6,130 900 900 1,110 1,110
2555 52,070 51,590 480 138,220 134,370 3,850 383,940 371,510 12,430 66,400 66,400 165,750 150,170 15,580 25,760 24,380 1,380 195,640 191,160 4,480 107,510 104,520 2,990 649,390 638,280 11,110 516,830 508,090 8,740 30,850 29,700 1,150 5,560 5,560 930 930 1,120 1,120
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) % 2554 2555 -3.13 610 596 -3.26 609 595 14.29 689 696 -0.25 611 608 -0.36 610 607 3.49 644 650 -1.11 645 637 -1.32 644 635 5.70 678 688 -2.48 649 640 -2.48 649 640 -0.77 684 680 -1.35 682 677 5.20 709 713 -1.19 691 686 -1.77 690 684 10.40 714 719 0.16 693 687 0.10 692 687 2.52 705 709 -1.15 680 675 -1.23 679 674 1.70 715 715 -2.69 679 669 -2.83 678 668 5.61 715 717 -1.63 646 640 -1.76 646 640 6.59 634 640 -0.39 611 606 -0.64 611 605 6.48 617 622 -9.30 524 512 -9.30 524 512 3.33 552 544 3.33 552 544 0.90 694 687 0.90 694 687
% -2.30 -2.30 1.02 -0.49 -0.49 0.93 -1.24 -1.40 1.47 -1.39 -1.39 -0.58 -0.73 0.56 -0.72 -0.87 0.70 -0.87 -0.72 0.57 -0.74 -0.74 0.00 -1.47 -1.47 0.28 -0.93 -0.93 0.95 -0.82 -0.98 0.81 -2.29 -2.29 -1.45 -1.45 -1.01 -1.01
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(64)
ประเทศ/ภาค/ จังหวัด ศรีสะเกษ รุ่น 1 บุรีรัมย์ รุ่น 1 ขอนแก่น รุ่น 1 รุ่น 2 ชัยภูมิ รุ่น 1 นครราชสีมา รุ่น 1 สระบุรี รุ่น 1 ลพบุรี รุ่น 1 ชัยนาท รุ่น 1 สุพรรณบุรี รุ่น 1 ปราจีนบุรี รุ่น 1 ฉะเชิงเทรา รุ่น 1 สระแก้ว รุ่น 1 จันทบุรี รุ่น 1 ชลบุรี รุ่น 1 กาญจนบุรี รุ่น 1 ราชบุรี รุ่น 1 เพชรบุรี รุ่น 1 ประจวบคีรีขันธ์ รุ่น 1
เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่) 2554 21,410 21,410 670 670 4,880 4,070 810 114,030 114,030 867,750 867,750 181,530 181,530 294,290 294,290 4,340 4,340 55,850 55,850 7,770 7,770 6,770 6,770 157,360 157,360 31,910 31,910 1,200 1,200 96,920 96,920 13,830 13,830 7,570 7,570 2,610 2,610
2555 22,260 22,260 610 610 5,900 4,990 910 106,210 106,210 835,870 835,870 179,880 179,880 285,600 285,600 4,210 4,210 54,660 54,660 6,900 6,900 6,670 6,670 153,470 153,470 30,420 30,420 1,190 1,190 96,410 96,410 14,340 14,340 6,870 6,870 2,210 2,210
% 3.97 3.97 -8.96 -8.96 20.90 22.60 12.35 -6.86 -6.86 -3.67 -3.67 -0.91 -0.91 -2.95 -2.95 -3.00 -3.00 -2.13 -2.13 -11.20 -11.20 -1.48 -1.48 -2.47 -2.47 -4.67 -4.67 -0.83 -0.83 -0.53 -0.53 3.69 3.69 -9.25 -9.25 -15.33 -15.33
เนื้อที่ เก็บเกี่ยว (ไร่) 2555 21,560 21,560 580 580 5,720 4,830 890 4,830 103,330 810,430 810,430 176,530 176,530 287,590 287,590 4,250 4,250 54,380 54,380 6,780 6,780 6,540 6,540 150,090 150,090 29,770 29,770 1,070 1,070 95,830 95,830 13,920 13,920 6,670 6,670 2,160 2,160
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
ผลผลิต (ตัน) 2554 14,880 14,880 410 410 2,890 2,400 490 67,280 67,280 536,280 536,280 127,250 127,250 183,930 183,930 2,670 2,670 39,600 39,600 5,260 5,260 4,510 4,510 111,260 111,260 19,880 19,880 740 740 66,780 66,780 8,330 8,330 4,220 4,220 1,520 1,520
2555 15,380 15,380 360 360 3,490 2,930 560 62,130 62,130 511,550 511,550 125,010 125,010 177,070 177,070 2,600 2,600 38,370 38,370 4,610 4,610 3,990 3,990 102,060 102,060 18,710 18,710 730 730 67,000 67,000 8,700 8,700 3,860 3,860 1,290 1,290
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) % 2554 2555 % 3.36 695 691 -0.58 3.36 695 691 -0.58 -12.20 612 590 -3.59 -12.20 612 590 -3.59 20.76 592 592 0.00 22.08 590 587 -0.51 14.29 605 615 1.65 -7.65 590 585 -0.85 -7.65 590 585 -0.85 -4.61 618 612 -0.97 -4.61 618 612 -0.97 -1.76 701 695 -0.86 -1.76 701 69 -0.86 -3.73 625 620 -0.80 -3.73 625 620 -0.80 -2.62 615 618 0.49 -2.62 615 618 0.49 -3.11 709 702 -0.99 -3.11 709 702 -0.99 -12.36 677 668 -1.33 -12.36 677 668 -1.33 -11.53 666 598 -10.21 -11.53 666 598 -10.21 -8.27 707 665 -5.94 -8.27 707 665 -5.94 -5.89 623 615 -1.28 -5.89 623 615 -1.28 -1.35 617 613 -0.65 -1.35 617 613 -0.65 0.33 689 695 0.87 0.33 689 695 0.87 4.44 602 607 0.83 4.44 602 607 0.83 -8.53 557 562 0.90 -8.53 557 562 0.90 -15.13 582 584 0.34 -15.13 582 584 0.34
(65)
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 __________________
ด้วยคณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร เห็นสมควรกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง เป็นมาตรฐานทั่วไป ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐาน และ ปลอดภัย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 5 มาตรา 15 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัตมิ าตรฐาน สินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จงึ ออกประกาศ เรือ่ ง กำหนด มาตรฐานสินค้าเกษตร : การปฏิบัติที่ดีหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง มาตรฐานเลขที่ มกษ. 4405-2555 ไว้เป็นมาตรฐานทั่วไป ดังมีรายละเอียดแนบท้ายประกาศนี้
ประกาศ ณ วันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
(นายธีระ วงศ์สมุทร) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(66)
มาตรฐานสินค้าเกษตร การปฏิบัติที่ดีหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง 1. ขอบข่าย มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ครอบคลุมการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง ตัง้ แต่การรับการกะเทาะเมล็ด หรือสีฝกั ข้าวโพด การลดความชืน้ การบรรจุ การเก็บรักษา และการ ส่งมอบ
2. นิยาม ความหมายของคำที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน มกษ.4002 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ข้าวโพดเมล็ดแห้ง และ มกษ.4402 มาตรฐานสินเกษตร เรื่อง การ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง
3. เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน ให้เป็นไปตามตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เกณฑ์กำหนด และวิธีตรวจประเมิน รายการ 1. สถานที่ประกอบการ 1.1 ทำเลที่ตั้ง 1.2 อาคารและพื้นที่ปฏิบัติงาน
(ข้อ 3) เกณฑ์ที่กำหนด
วิธีตรวจประเมิน
1.1 ต้องอยู่ในบริเวณที่ไม่เสี่ยงต่อการ 1.1 ตรวจสภาพแวดล้อมและมาตรการ ปนเปื้อนและไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน ป้องกัน แก่ชุมชน 1.2.1 อาคารและพื้นที่ปฏิบัติงานต้อง แข็งแรงและปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
1.2.1 ตรวจโครงสร้างอาคารและพื้นที่ ปฏิบัติงาน และ/หรือสัมภาษณ์ผู้ควบคุม ดูแล 1.2.2 การออกแบบและวางผังการผลิต 1.2.2 ตรวจพื้นที่ปฏิบัติงาน ต้องแยกพื้นที่ใช้สอยให้ถูกต้องชัดเจน ไม่มีการย้อนกลับ 1.2.3 พื้นอาคารต้องเรียบ สะอาด 1.2.3 ตรวจพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่มีน้ำขัง หากไม่ใช่พื้นคอนกรีตต้องปู พื้นด้วยวัสดุที่ป้องกันการปนเปื้อนจาก พื้นได้ 1.2.4 บริเวณปฏิบัติงานต้องมีอากาศ 1.2.4 ตรวจพื้นที่ปฏิบัติงาน ถ่ายเทได้ดีและมีแสงสว่างเพียงพอ ในการปฏิบัติงาน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(67)
รายการ 1.3 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์
2. การควบคุมการปฏิบัติงาน 2.1 การรับซื้อ 2.2 การเก็บรักษาฝักข้าวโพดเพื่อรอ กะเทาะ
2.3 การกะเทาะเมล็ด หรือสีฝักข้าวโพด
2.4 การลดความชื้น
เกณฑ์ที่กำหนด
วิธีตรวจประเมิน
1.3.1 ชนิด ประเภท ขนาด และจำนวน ต้องเหมาะสมกับกำลังการผลิต 1.3.2 ต้องแข็งแรง ทนทาน ทำด้วยวัสดุ ที่เหมาะสมไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนที่ เป็นอันตราย ชิ้นส่วนไม่หลุด หรือ กะเทาะลงปนเปื้อนข้าวโพด 1.3.3 เครื่องมือ เครื่องจักร และ อุปกรณ์การผลิตต้องทำงานได้ถูกต้อง 1.3.4 ตรวจสอบความถูกต้องของ เครื่องชั่ง และเครื่องวัดความชื้น อย่างน้อยปีละครั้ง
1.3.1 ตรวจเครื่องมือ เครื่องจักร และ อุปกรณ์การผลิต พร้อมบันทึกการผลิต 1.3.2 ตรวจสภาพเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ และมาตรการป้องกัน
2.1 ต้องมีประกาศหลักเกณฑ์การรับซื้อ ที่ชัดเจนและมีการตรวจสอบคุณภาพก่อน การรับซื้อ 2.2 เก็บในโรงเก็บ หรือยุ้งเก็บที่สะอาด อากาศ ถ่ายเทได้ดี ป้องกันความชื้น น้ำ การเข้าทำลายของสัตว์เลี้ยง แมลง และสัตว์พาหะนำโรค หรือการปนเปื้อน ที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ โดยให้ปฏิบัติตาม มกษ. 4402 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติ ทางการเกษตรที่ดีสำหรับข้าวโพดเมล็ด แห้ง (ข้อ 6.1)
2.1 ตรวจดูประกาศและตรวจบันทึก ข้อมูลการตรวจสอบคุณภาพ หรือ สัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน 2.2 ตรวจโรงเก็บฝักข้าวโพด และ มาตรการป้องกัน
2.3.1 ต้องตรวจสอบสภาพและความ ถูกต้องของเครื่องกะเทาะก่อนใช้งาน ทุกครั้ง เพื่อลดการแตกหักของเมล็ด ข้าวโพด 2.3.2 ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานต้องมี ความรู้ หรือได้รับการอบรมเรื่องการใช้ งานเครื่องกะเทาะอย่างเหมาะสม ซึ่ง ขึ้นกับความชื้นเมล็ดและเทคนิคในการ ตั้งความเร็วให้เหมาะสม
2.3.1 ตรวจบันทึกการปฏิบัติงาน หรือคู่มือการปฏิบัติงาน
2.4.1 ลดความชื้นเมล็ดข้าวโพดให้เหลือ ไม่เกิน 18% ภายใน 48 h (ชั่วโมง) และให้เก็บได้ไม่เกิน 3 วัน 2.4.2 ลดความชื้นเมล็ดข้าวโพดให้ต่ำ กว่า14% เพื่อเก็บรักษา 3 เดือน หรือ ลดความชื้นเมล็ดข้าวโพดให้ต่ำกว่า 13% กรณีเก็บนาน 12 เดือน
2.4.1 ตรวจบันทึกการลดความชื้น หรือ ชักตัวอย่างโดยวิธีสุ่มเพื่อตรวจสอบ คุณภาพ และสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน 2.4.2 ตรวจบันทึกการเก็บ หรือชัก ตัวอย่างโดยวิธีสุ่มเพื่อตรวจสอบคุณภาพ และ/หรือสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน
1.3.3 ตรวจสภาพเครื่องมือและอุปกรณ์ ตามคู่มือการใช้งาน 1.3.4 ตรวจรายงานผลการทวนสอบ หรือผลการสอบเทียบเครื่องมือ
2.3.2 ตรวจบันทึกการอบรม บันทึก การปฏิบัติงาน และ/หรือสัมภาษณ์ ผู้ควบคุมการปฏิบัติงาน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(68) รายการ
2.5 การบรรจุ
2.6 การจำหน่าย หรือการเก็บรักษา เพื่อรอจำหน่าย
3. การสุขาภิบาลและการบำรุงรักษา 3.1 การทำความสะอาด 3.2 การป้องกันสัตว์เลี้ยง แมลง และสัตว์พาหะนำโรค 3.3 การจัดการของเสีย หรือสิ่งของ ที่ไม่ใช้แล้ว หรือที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การผลิต
เกณฑ์ที่กำหนด 2.4.3 ต้องกำจัดฝุ่น ผง ออกจากเมล็ด ข้าวโพดทั้งก่อนและหลังลดความชื้น 2.4.4 ระหว่างลดความชื้นให้ชักตัวอย่าง โดยวิธีสุ่มเพื่อวัดความชื้นเป็นระยะๆ 2.4.5 หลังอบลดความชื้นต้องรอให้ เมล็ดข้าวโพดมีอุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิ ห้องก่อน จึงจำหน่ายหรือ นำไปเก็บเพื่อ รอจำหน่ายได้
วิธีตรวจประเมิน 2.4.3 ตรวจบันทึกการปฏิบัติงาน
2.5.1 บรรจุเมล็ดข้าวโพดตามชั้น คุณภาพที่กำหนดใน มกษ. 4002 2.5.2 ต้องป้องกันการปนเปื้อนจากเศษ โลหะ เศษแก้ว เศษพลาสติก หรือ สารเคมี ขณะบรรจุ 2.5.3 ภาชนะบรรจุต้องสะอาด อยู่ใน สภาพพร้อมใช้งาน และไม่ใช้ภาชนะเก่า ที่เคยบรรจุวัตถุอันตรายมาก่อน
2.5.1 ตรวจการปฏิบัติงาน
2.6.1 ต้องแยกกองเมล็ดข้าวโพด ตามคุณภาพ พร้อมมีป้ายระบุติดไว้ อย่างชัดเจน 2.6.2 ต้องไม่เก็บรักษาเมล็ดข้าวโพดรวม กับวัตถุอนั ตรายทางการเกษตร ปุย๋ หรือ สารเคมีอื่นที่เป็นอันตรายต่อการบริโภค 2.6.3 ไม่วาง หรือกองเมล็ดข้าวโพด บนพื้นที่ไม่มีการป้องกันความชื้น หรือ มีความชื้นซึมขึ้นมาจากพื้นดิน 2.6.4 มีการตรวจสอบสถานที่ และเมล็ด ข้าวโพดระหว่างเก็บเป็นระยะตามความ เหมาะสม อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 2.6.5 สารเคมี และวิธีการที่ใช้ในการ รมยาเมล็ดข้าวโพด ต้องเป็นไปตามคำ แนะนำของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
2.6.1 ตรวจพินิจโรงเก็บเมล็ดข้าวโพด
3.1 ทำความสะอาด เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสถานที่ เมื่อสิ้นสุดการทำงานในแต่ละวัน 3.2 การป้องกันสัตว์เลี้ยง แมลง และ สัตว์พาหะนำโรค
3.1 ตรวจสถานที่ แผนการปฏิบัติงาน และบันทึกการทำความสะอาด
3.3.1 แยก ฝัก/เมล็ดข้าวโพดที่ไม่มี คุณภาพออกจากส่วนที่มีคุณภาพ เพื่อ ป้องกันการปนเปื้อน
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
2.4.4 ตรวจบันทึกอุณหภูมิการอบและ สัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน 2.4.5 ตรวจบันทึกการปฏิบัติงาน
2.5.2 ตรวจการปฏิบัติงาน และมาตรการป้องกันการปนเปื้อน 2.5.3 ตรวจการปฏิบัติงานและมาตรการ ป้องกันการปนเปื้อน
2.6.2 ตรวจพินิจโรงเก็บเมล็ดข้าวโพด 2.6.3 ตรวจพินิจพื้นโรงเก็บข้าวโพด 2.6.4 ตรวจบันทึกข้อมูลและตรวจสถานที่ 2.6.5 บันทึกการปฏิบัติงาน หรือ ตรวจการปฏิบัติงาน
3.2 ตรวจพื้นที่ปฏิบัติงาน 3.3.1 ตรวจสถานที่ ตรวจบันทึก การปฏิบัติงาน และ/หรือสัมภาษณ์ ผู้ปฏิบัติงาน
(69)
รายการ
3.4 การบำรุงรักษา 4. สุขลักษณะส่วนบุคคล 5. การขนส่ง
6. การฝึกอบรม
เกณฑ์ที่กำหนด 3.3.2 จัดเก็บของเสียและขยะในที่เฉพาะ ซึ่งอยู่นอกบริเวณการผลิต รวมทั้ง การจัดอย่างถูกสุขลักษณะ 3.4 บำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์และสถานที่ให้อยู่ในสภาพดี และพร้อมใช้งาน 4. ผู้ปฏิบัติงานและบุคคลภา ยนอกที่เข้าไปในบริเวณผลิต ต้องรักษาสุขลักษณะส่วนบุคคล 5. พาหนะที่ใช้ขนส่งต้องสะอาด ไม่เคยใช้ขนส่งวัตถุ หรือสิ่งที่เป็นอันตรายมาก่อน สามารถปิดมิดชิด และป้องกันน้ำได้
วิธีตรวจประเมิน 3.3.2 ตรวจบันทึกการปฏิบัติงาน สถานที่ และ/หรือสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน 3.4 ตรวจแผน และบันทึกการ บำรุงรักษา 4. ตรวจระเบียบปฏิบัติของสถานประกอ บการเรื่องสุขลักษณะส่วนบุคคล 5. ตรวจพาหนะ และบันทึกการทำความ สะอาดพาหนะขนส่ง
6.1 ต้องฝึกอบรมเรื่องการปฏิบัติที่ดี 6.1 ตรวจประวัติการฝึกอบรม เกี่ยวกับสุขลักษณะและความปลอดภัย ของอาหารให้กับผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 6.2 มีการอบรมพนักงานตามหน้าที่ 6.2 ตรวจประวัติการฝึกอบรม และ/ ความรับผิดชอบ หรือสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติงาน
7. การบันทึกข้อมูล 7.1 บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ 7.1 ตรวจบันทึกข้อมูลตามตัวอย่างและ (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ รายละเอียดในภาคผนวก ข (2) การควบคุมการปฏิบัติงาน (3) การสุขาภิบาลและการบำรุงรักษา (4) การตรวจสอบความถูกต้อง และการสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ (5) การขนส่งข้าวโพด (6) การฝึกอบรม 7.2 เก็บบันทึกไว้อย่างน้อย 2 ปี 7.2 ตรวจบันทึก
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(70)
ภาคผนวก ก
คำแนะนำหลักการปฏิบัติที่ดีหลังการเก็บเกี่ยวสำหรับข้าวโพดเมล็ดแห้ง (ข้อ 4) ก.1 สถานที่ประกอบการ ก 1.1 ทำเลที่ตั้ง ก.1.1.1 สถานทีต่ งั้ อาคาร ควรตัง้ อยูใ่ นบริเวณทีห่ า่ งจากแหล่งมลพิษ ควัน ฝุน่ ทีเ่ ป็นอันตราย หรือกลิ่นเหม็น ไม่อยู่ในบริเวณที่อาจเกิดน้ำท่วม และไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ชุมชน ก.1.1.2 ถนน และบริเวณรอบอาคารที่ยานพาหนะสามารถเข้าถึง ควรลาดยาง หรือทำด้วย คอนกรีต หรือปูด้วยวัสดุที่แข็งแรง สามารถรับสภาพการใช้งาน ระบายน้ำได้ดี และสามารถทำ ความสะอาดได้ถ้าจำเป็น ก.1.2 อาคารและพื้นที่ปฏิบัติงาน ก.1.2.1 วัสดุทใี่ ช้มคี วามแข็งแรง และทนทาน ทำความสะอาด ซ่อมแซมและบำรุงรักษาได้งา่ ย ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน และ/หรือเปลี่ยนแปลงคุณภาพของข้าวโพด ก.1.2.2 การออกแบบและวางผัง (1) ให้มเี ส้นทางการผลิตส่งต่อถึงกันได้อย่างต่อเนือ่ งและไปในทิศทางเดียว ตัง้ แต่ตน้ จนจบ ไม่มีการย้อนกลับ เริ่มจากการรับข้าวโพดจนสิ้นสุดที่เมล็ดข้าวโพดพร้อมจำหน่าย (2) แยกพืน้ ทีใ่ ช้สอยออกจากกันอย่างชัดเจนตามลักษณะการใช้งาน เช่น ส่วนทีเ่ ป็น ทีอ่ ยูอ่ าศัย ส่วนผลิต ห้องสุขา ส่วนทีเ่ ป็นอันตราย เช่น ทีเ่ ก็บสารเคมี ทีท่ งิ้ ขยะทัว่ ไป และขยะอันตราย สำหรับที่ทิ้งขยะ และห้องสุขาต้องมีเพียงพอ การสร้างห้องสุขาถ้าจำเป็นต้องอยู่ในอาคารต้องไม่มี ช่องผ่านตรงกับบริเวณที่มีกองข้าวโพด (3) มีระบบระบายน้ำและการป้องกันฝน (4) ควรคำนึงถึงเรือ่ งความปลอดภัย เช่น มีฝาครอบหลอดไฟ มีฝาปิดท่อระบายน้ำ สามารถควบคุมการเข้า-ออก แต่ละอาคาร (5) ให้การทำความสะอาดและหรือการบำรุงรักษาทำได้สะดวกและง่าย รวมทั้ง ไม่ก่อให้เกิดการสะสมของฝุ่นละออง และน้ำ เช่น รอยต่อ มุมต่างๆ เว้นช่องว่างระหว่างผนัง และ เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ์ ความสูงของเพดาน หรือหลังคาไม่สงู เกินไป ควรสูงเพียงให้รถยกทำงานได้ เป็นต้น (6) พืน้ ทีป่ ฏิบตั ิงาน เช่น ลานตาก โรงอบ โรงเก็บ เป็นต้น ต้องมีมาตรการป้องกัน สัตว์เลีย้ ง แมลง และสัตว์พาหะนำโรค เช่น สุนขั นก หนู แมลงสาป เป็นต้น ทีอ่ าจทำความเสียหาย หรือ เกิดการปนเปื้อนผลิตผล (7) พื้นที่ปฏิบัติงานควรเรียบ และลาดเอียงเล็กน้อยเพื่อป้องกันน้ำขัง ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(71) ก.1.2.3 อาคารควรมีการไหลเวียนของอากาศได้ดี อุณหภูมิภายในอาคารไม่สูงจนมีผลต่อ คุณภาพข้าวโพด และสุขภาพผู้ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งมีแสงสว่างพอเหมาะกับการปฏิบัติงาน เช่น ทางเดิน 50 lux (ลักซ์) บริเวณทั่วไป 100 lux ก.1.3 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ก.1.3.1 ควรมีเพียงพอต่อการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ มีชนิด ประเภท และขนาดทีเ่ หมาะสมกับกำลัง การผลิต และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้เสมอ ก.1.3.2 วัสดุที่ใช้มีความแข็งแรง และทนทาน ทำความสะอาด ซ่อมแซมและบำรุงรักษาง่าย ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน และ/หรือเปลี่ยนแปลงคุณภาพของข้าวโพด ก.1.3.3 รูปแบบ และการติดตั้ง ควรอยู่ในลักษณะที่สามารถทำความสะอาด ซ่อมแซม และ บำรุงรักษาได้สะดวก และง่าย ก.1.3.4 เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิตต่างๆ ต้องมีการตรวจสอบให้สามารถทำงานได้อย่าง ถูกต้อง ก.1.3.5 เครือ่ งชัง่ ต่างๆ และเครือ่ งวัดความชืน้ ต้องมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยหน่วยงาน รับรองที่มีใบอนุญาต อย่างน้อยปีละครั้ง
ก.2 การควบคุมการปฏิบัติงาน ก.2.1 การรับซื้อ ก.2.1.1 มีประกาศ เกณฑ์หรือข้อกำหนดเกี่ยวกับการรับซื้อไว้อย่างชัดเจน และมีการชัก ตัวอย่างโดยวิธีสุ่ม เพื่อตรวจสอบคุณภาพก่อนการรับซื้อ ก.2.1.2 คัดฝักเสียออก และทำลายทิง้ หากยังไม่สามารถทำลายได้ภายในวันนัน้ ต้องแยกกอง หรือเก็บในภาชนะพร้อมทั้งมีป้ายระบุให้ทราบอย่างชัดเจนว่า “รอทำลายทิ้ง” และไม่ควรเก็บนาน เพราะเชื้อจะแพร่กระจายไปกว้างขึ้น ก.2.2 การเก็บรักษาฝักข้าวโพดเพื่อรอกะเทาะ ก.2.2.1 การเก็บรักษาฝักข้าวโพด ควรปฏิบัติดังนี้ (1) ไม่ควรวางกระสอบบรรจุฝักข้าวโพดที่รอกะเทาะบนพื้นโดยตรง ควรมีวัสดุ รองรับเพือ่ เป็นฉนวนป้องกันความชืน้ การวางกระสอบซ้อนทับกัน ควรเว้นช่องระหว่างแถวกระสอบ เพื่อให้อากาศถ่ายเท และสามารถเดินเข้าตรวจสอบได้โดยง่าย (2) การเก็บแบบกอง จะต้องมีการรองพืน้ ด้วยวัสดุ หรือออกแบบพืน้ ทีส่ ามารถป้องกัน ไม่ให้ฝัก หรือเมล็ดดูดความชื้นจากพื้น ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(72) ก.2.3 การกะเทาะเมล็ด หรือสีฝักข้าวโพด ก.2.3.1 มีการตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องกะเทาะก่อนใช้งานทุกครั้ง ก.2.3.2 ผู้ควบคุมการปฏิบัติงานต้องมีความรู้ หรือผ่านการอบรมเรื่องเครื่องกะเทาะอย่าง เหมาะสมเพื่อลดการแตกหักของเมล็ดข้าวโพด ก.2.3.3 การกะเทาะเมล็ดข้าวโพดควรทำให้เกิดการแตกหักของเมล็ดน้อยที่สุด โดยกะเทาะ เมล็ดข้าวโพดที่มีความชื้น 22% ถึง 26% และควรปรับลูกกะเทาะให้มีความเร็วอยู่ระหว่าง 8 m/s (เมตรต่อวินาที) ถึง 12 m/s (ความเร็วรอบที่ใช้สัมพันธ์กับความชื้นของเมล็ดข้าวโพด) ก.2.4 การลดความชื้น วิธีลดความชื้นเมล็ดข้าวโพดที่นิยมใช้มี 3 วิธี ได้แก่ (1) การผึง่ ลม หรือตากแดด กรณีทตี่ ากบนลานดินต้องมีเสือ่ หรือผ้าพลาสติกทีส่ ะอาดรองพืน้ ในกรณีที่ตากบนคอนกรีต พื้นควรลาดเอียง โดยให้ตรงกลางนูนสูง และมีคูระบายน้ำรอบๆ ลาน เพื่อช่วยระบายน้ำออกได้ เมื่อตากข้าวโพดบนลานตาก ต้องมีการเกลี่ย หรือพลิกกลับเมล็ดข้าวโพด ทุกๆ ชั่วโมง จะทำให้การลดความชื้นดีกว่าการตากข้าวโพดโดยไม่กลับกองถึง 67% (2) ใช้พัดลมเป่าอากาศ โดยใช้ท่อลมวางไว้ในยุ้ง ถ้ายุ้งเก็บเมล็ดข้าวโพดขนาด 5,000 kg (กิโลกรัม) ควรจัดวางท่อลมให้อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลาง เพื่อให้การกระจายลมสม่ำเสมอในทุกทิศทาง ในสภาพความชืน้ สัมพัทธ์สงู โดยเฉพาะช่วงฝนตกให้งดการเป่าลมลดความชืน้ ยกเว้นการลดความชืน้ โดยใช้ลมร้อน (3) ใช้เครื่องอบเมล็ด โดยปรับอุณหภูมิและอัตราการไหลให้เหมาะกับความชื้นที่ต้องการ ลดลง เช่น ความชื้นสูงมาก อาจใช้อุณหภูมิ 90°C ถึง 120°C และปรับลดลงเมื่อความชื้นลดลง แล้ว ในการลดความชืน้ ควรจัดกลุม่ เมล็ดข้าวโพดทีจ่ ะลดความชืน้ คราวเดียวกันมีความชืน้ ต่างกัน 1% ถึง 3% ถ้าความชื้นต่างต้องต่างกันเพียง 1% โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการลดความชื้น ดังนี้ ก.2.4.1 หลังกะเทาะเมล็ด หากยังไม่จำหน่าย ต้องลดความชื้นให้เหลือไม่เกิน 18% ภายใน 48 h และเก็บได้ไม่เกิน 3 วัน แต่ถ้าไม่สามารถทำได้ ควรใช้การรมด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งรักษาคุณภาพของข้าวโพดได้อย่างน้อย 10 วัน โดยมีวิธีการดังนี้ (1) กองเมล็ดข้าวโพดแบบกองพูนบนพื้นคอนกรีตเรียบ ให้ขอบกองห่างจากผนัง อย่างน้อย 1 m (เมตร) เกลีย่ ผิวหน้าของกองเมล็ดให้เรียบสม่ำเสมอ เพือ่ ลดช่องว่างระหว่างผิวกองกับ ผืนพลาสติก จะช่วยประหยัดก๊าซ ขนาดของกองขึ้นกับขนาดของพลาสติกที่จะใช้คลุมกอง (2) คลุมกองเมล็ดข้าวโพดด้วยผืนพลาสติกชนิดเดียวกับที่ใช้รมสารเคมีฆ่าแมลง หรือผืนพีวีซีที่มีความหนาตั้งแต่ 0.10 mm (มิลลิเมตร) คลุมให้ทั่วกอง (ห้ามใช้ผืนพีวีซีที่รั่ว) แล้วใช้ ม้วนกระสอบเปล่า (10 กระสอบต่อม้วน) หรือกระสอบทราย วางทับชายผืนพลาสติกจนรอบกอง เพื่อป้องกันการถ่ายเทอากาศ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(73) (3) รมด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อัตรา 0.5 kg ต่อเมล็ดข้าวโพด 1,000 kg และ รมก๊าซจากด้านใดด้านหนึ่งของกอง โดยใช้สายยางต่อจากถังก๊าซ เสียบปลายสายยางอีกด้านหนึ่ง เข้าไปในกองข้าวโพดลึกประมาณ 15 cm (เซนติเมตร) ถึง 20 cm แล้วปล่อยก๊าซตามปริมาณ ที่ต้องการ จากนั้นดึงสายยางออกแล้วปิดชายทับพลาสติกให้เรียบร้อย ถ้าใช้เครื่องดูดอากาศ ดูดอากาศภายในกองออกก่อน จะใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงเหลืออัตรา 0.3 kg ต่อเมล็ด 1,000 kg ก.2.4.2 หากต้องการเก็บเป็นระยะเวลานานกว่า 3 วัน ต้องลดความชื้นของเมล็ดข้าวโพด ให้อยูใ่ นระดับทีต่ อ้ งการ เช่น ต่ำกว่า 14% เพือ่ เก็บรักษา 3 เดือน และต่ำกว่า 13% เพือ่ เก็บรักษา 12 เดือน ก.2.4.3 กำจัดฝุน่ ผง ออกจากเมล็ดข้าวโพดทัง้ ก่อนและหลังการลดความชืน้ รวมทัง้ ทุกขัน้ ตอน หากสามารถทำได้ ควรมีการคัดเมล็ดเสีย และสิ่งแปลกปลอม เช่น กรวด ออก ก.2.4.4 ระหว่างดำเนินการลดความชื้น ควรมีการชักตัวอย่างโดยวิธีสุ่มเพื่อวัดความชื้นเป็น ระยะๆ เพื่อให้ทราบว่าเมล็ดมีความชื้นตามที่ต้องการแล้วหรือไม่ โดยตัวอย่างที่ทดสอบต้องทิ้งไว้ให้ มีอุณหภูมิเท่าอุณหภูมิห้องก่อน ก.2.4.5 ควรทิ้งเมล็ดที่ร้อนหลังเสร็จสิ้นกระบวนการลดความชื้น ไว้ให้มีอุณหภูมิเท่ากับ อุณหภูมิห้องประมาณ 24 h ก่อนจำหน่าย หรือเก็บรอจำหน่าย ความชื้นเมล็ดอาจลดลงได้อีก ประมาณ 1% ก.2.5 การบรรจุ ก.2.5.1 ก่อนบรรจุต้องมีการคัด และระบุชั้นคุณภาพให้เป็นไปตาม มกษ. 4002 ก.2.5.2 ต้องกระทำภายใต้สภาพที่สามารถควบคุมการปนเปื้อนได้ ก.2.5.3 ภาชนะที่ใช้บรรจุเมล็ด และ/หรือสถานที่เก็บรักษา รวมถึงไซโล และตู้คอนเทนเนอร์ ควรมีลักษณะดังนี้ (1) สะอาด ถูกสุขลักษณะ สามารถป้องกันข้าวโพดจากการปนเปือ้ นจากวัตถุอนั ตราย ตลอดจนสิ่งแปลกปลอมที่อาจก่อให้เกิดอันตราย การปนเปื้อนจากสัตว์พาหะนำโรค เช่น หนู แมลง นก รวมทัง้ สัตว์อนื่ ๆ ได้ กรณีใช้ภาชนะบรรจุทใี่ ช้แล้วจำเป็นต้องทำความสะอาดจนแน่ใจว่าปราศจาก สารเคมี หรือสิ่งปนเปื้อน และทำให้แห้งก่อนนำมาใช้ (2) ควรมีฉลาก หรือป้ายกำกับบ่งบอกสถานะของสิ่งต่างๆ ที่เกิดในแต่ละขั้นตอน การผลิต เช่น วันที่รับซื้อ วันผลิต คุณภาพ ของเสีย ของรอทำลาย เป็นต้น (3) ภาชนะที่บรรจุข้าวโพดแล้ว ควรติดฉลาก หรือเครื่องหมาย ที่ระบุชัดเจนถึง สถานที่ผลิต รุ่นที่ผลิต วันที่ผลิต และชั้นคุณภาพ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(74) ก.2.6 การจำหน่าย หรือการเก็บรักษาเพื่อรอจำหน่าย ก.2.6.1 การจัดวางภาชนะบรรจุในโรงเก็บ ควรปฏิบัติดังนี้ สถานที่เก็บรักษา และวิธีการเก็บรักษา ควรมีอากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อไม่ให้เกิดความ ชื้นและความร้อนสะสม ทำความสะอาดและรมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในโรงเก็บก่อนนำเข้าเก็บรักษา ไม่ควรกองข้าวโพด หรือภาชนะที่บรรจุข้าวโพดบนพื้นที่ไม่มีการป้องกันความชื้น หรือมีความชื้น ซึมขึน้ มาจากพืน้ ดิน กรณีเก็บข้าวโพดในกระสอบ ต้องวางบนฐานรอง หรือวัสดุทปี่ อ้ งกันความชืน้ ได้ จัดวางเป็นกองให้มีช่องว่างระหว่างกอง และจัดเรียงให้ห่างจากผนังหลังคา ทางระบายน้ำ และ ใต้รางน้ำฝน เพื่อให้เกิดการระบายอากาศได้ดี และเอื้อต่อการทำความสะอาด และตรวจสอบ ความเรียบร้อยได้ ควรตรวจสอบข้าวโพดที่เก็บรักษาเป็นระยะๆ เพื่อประเมินความเสียหายที่อาจ มีขึ้น รวมทั้งสำรวจการอยู่อาศัยของสัตว์พาหะนำเชื้อเพื่อการตัดสินใจดำเนินการแก้ไขต่อไป หากเก็บข้าวโพดเป็นเวลานานเกิน 1 เดือน ควรรมสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตามวิธีการที่ถูกต้อง ก.2.6.2 แยกที่เก็บข้าวโพดออกจากบริเวณที่ใช้เก็บวัตถุอันตรายทางการเกษตร ปุ๋ย หรือ สารเคมีที่อันตรายต่อการบริโภคอย่างชัดเจน ก.2.6.3 ลักษณะและวิธีการเก็บ (1) วางกองกับพืน้ โรงเรือน ไม่ควรกองให้หนาหรือสูงเกินไป และไม่ควรกองติดผนัง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้ดี และควรมีการกลับกองเป็นระยะ เพื่อลดอุณหภูมิภายในกองข้าวโพด หรือ อาจใช้วิธีวางท่อระบายอากาศภายในกองเพื่อช่วยระบายอากาศ หรือใช้เป็นช่องทางการเป่าอากาศ แห้งผ่านเพื่อช่วยระบายอากาศและลดอุณหภูมิ (2) การเก็บในไซโลควรมีระบบระบายอากาศที่เหมาะสม (3) การจัดเรียงกองความสูงของกระสอบต้องไม่เกิน 30 กระสอบ และความสูงของ กองวัดจากหลังคาลงมาต้องไม่นอ้ ยกว่า 1.5 m เว้นระยะห่างระหว่างฝาผนังกับกองข้าวโพด และระยะ ห่างระหว่างกองข้าวโพดแต่ละกองไม่ต่ากว่า 1 m สามารถเดินได้รอบกอง ช่องกลางของประตูคลัง สินค้าต้องมีความกว้างไม่ต่ำกว่า 1.5 m (4) โรงเก็บควรมีการเก็บข้อมูลเฉพาะของข้าวโพดแต่ละรุ่นที่ผลิต เช่น วันที่ผลิต และกรรมวิธีพิเศษที่ปฏิบัติต่อข้าวโพดรุ่นนั้นๆ เพื่อให้สามารถตรวจสอบกลับได้ (5) ไม่นำเมล็ดข้าวโพดทีม่ อี ณ ุ หภูมติ า่ งจากอุณหภูมหิ อ้ งมากกว่า 5 °C มาเก็บ หรือ บรรจุ ความชืน้ ของเมล็ดทีน่ ำมาเก็บรวมกัน ควรมีความชืน้ ในระดับใกล้เคียงกัน ความชืน้ ควรต่ำกว่า 14% และไม่เก็บเมล็ดเก่าผสมกับเมล็ดใหม่ (6) ถ้าต้องการเก็บรักษาเมล็ดข้าวโพดเป็นเวลา 1 ปี หรือมากกว่า เมล็ดต้องมีความชืน้ น้อยกว่า 13% ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(75) ก.2.6.4 สถานทีเ่ ก็บควรมีการตรวจวัดอุณหภูมิ และการระบายอากาศ อย่างสม่ำเสมอ สำหรับ การตรวจสอบเมล็ดข้าวโพดระหว่างเก็บรักษา ควรมีการตรวจสอบ (1) ตรวจสอบคุณภาพอย่างน้อยสัปดาห์ละครัง้ ในกรณีทมี่ กี ารเก็บรักษาข้าวโพดไว้ใน โรงเก็บ หรือถังเก็บเมล็ดเป็นเวลานาน ควรสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเมล็ดข้าวโพดทุก สัปดาห์ เช่น สังเกตเชื้อราบนเมล็ด ความชื้นในถังเก็บเมล็ด กลิ่นผิดปกติ และจุดที่มีอุณหภูมิสูง ผิดปกติโดยการตรวจวัดอุณหภูมิเมล็ดในถังเก็บเมล็ด หรือกองเมล็ด ถ้าพบปัญหาควรลดอุณหภูมิ โดยการระบายอากาศ หรือรื้อจุดที่มีอุณหภูมิสูงผิดปกติเพื่อให้อากาศถ่ายเทดีขึ้น หรือนำเมล็ดเสีย ออกไป ควรทำการสุ่มตรวจ และวิเคราะห์คุณภาพของเมล็ดข้าวโพดเป็นระยะจนสิ้นสุดการเก็บ (2) ตรวจสอบ และควบคุมอันตรายที่เกิดจากความชื้นในทุกลักษณะ ตั้งแต่หยดน้ำ ที่เกิดจากเครื่องปรับอากาศ พื้น หรือผนังที่เปียกแฉะ หรือการจับตัวของไอน้ำบนภาชนะบรรจุขณะ ขนถ่ายจากห้องเก็บที่เย็นสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ก.2.6.5 การควบคุมแมลงและสัตว์พาหะนำโรคต้องใช้วิธีการที่อนุญาตให้ใช้กับอุตสาหกรรม อาหาร หากวิธีเหล่านั้นเกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมีอันตรายควรใช้บริการจากผู้ประกอบการที่ได้รับ อนุญาตจากทางราชการเท่านั้น เช่น หากพบการเข้าทำลายของแมลงศัตรูในโรงเก็บ ควรรมเมล็ด ข้าวโพดด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อัตรา 2 kg ต่อเมล็ดข้าวโพด 1,000 kg เป็นเวลา 15 วัน ถ้ารมเมล็ดข้าวโพดโดยใช้สารเคมีควรใช้ตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร
ก.3 การสุขาภิบาลและการบำรุงรักษา ก.3.1 การทำความสะอาด (1) ควรตรวจสอบ ดูแลเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสถานที่ทั้งภายใน ภายนอก อาคารให้สะอาด ไม่มีน้ำขัง (2) ทำความสะอาด เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสถานที่ผลิตเมื่อสิ้นสุดการทำงาน ในแต่ละวัน ถ้าจำเป็นให้ทำก่อนเริ่มปฏิบัติงาน (3) การทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ หรือพื้นที่ทำงานควรหลีกเลี่ยงการใช้น้ำ เพื่อลด โอกาสการเกิดจุดเปียกชื้น หรือการสะสมความชื้นในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นปัจจัยสาคัญทำให้เชื้อราเจริญ และปนเปื้อนได้ หากจำเป็นต้องใช้น้ำ ต้องทำด้วยความระมัดระวังเพื่อป้องกันไม่ให้ข้าวโพดเปียก (4) การใช้ ส ารเคมี ท ำความสะอาดใช้ ไ ด้ เ ฉพาะสารเคมี ที่ อ นุ ญ าตให้ ใ ช้ กั บ อุ ต สาหกรรม อาหารเท่านั้น (5) บริเวณเปลี่ยนเสื้อผ้า รองเท้า และห้องน้ำควรเป็นระเบียบ และรักษาให้สะอาดอยู่ ตลอดเวลา ก.3.2 การป้องกันสัตว์เลี้ยง แมลง และสัตว์พาหะนำโรค ก.3.2.1 วิธกี ารควบคุม ต้องเป็นวิธที อี่ นุญาตให้ใช้กบั อุตสาหกรรมอาหาร การใช้วตั ถุอนั ตราย ต้องใช้ตามคำแนะนำของหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบ ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(76) ก.3.2.2 ตรวจสอบ และเฝ้าระวังการเข้าทำลายของแมลงศัตรูขา้ วโพดในโรงเก็บอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ก.3.3 การจัดการของเสีย หรือของที่ไม่ใช้แล้ว หรือไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ก.3.3.1 แยกเมล็ดข้าวโพดและฝักข้าวโพดที่ไม่มีคุณภาพออก และกรณีที่มีเชื้อราต้องนำไป ทำลาย ก.3.3.2 ของเสียและขยะ (1) ของเสีย หรือสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว หรือไม่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิต ให้เก็บ รวบรวมไว้ในภาชนะทีต่ ดิ ป้ายชัดเจน และควรนำออกไปเก็บยังส่วนเก็บของเสีย หรือทีท่ จี่ ดั ไว้โดยเฉพาะ ทันทีที่เสร็จงานในแต่ละวัน (2) การเก็บสาร หรือวัตถุอนั ตราย : สารทีเ่ ป็นอันตราย เช่น สารเคมีกำจัดศัตรูพชื หรือวัตถุไวไฟ ต้องติดฉลากอย่างชัดเจน และระบุถึงอันตรายของสาร การเก็บรักษาควรเก็บในตู้ หรือสถานที่ที่สามารถล็อคกุญแจได้ และควรมีบันทึกการนำเข้า–ออก หรือนำไปใช้โดยเจ้าหน้าที่ เฉพาะเท่านั้น ควรมีมาตรการป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนของสารอันตรายกับข้าวโพดในโรงเก็บ ก.3.4 สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือ ควรได้รับการตรวจสอบ และซ่อมบำรุง เป็นประจำทุกสัปดาห์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้เป็นปกติดีอยู่เสมอ
ก.4 สุขลักษณะส่วนบุคคล ก.4.1 ผู้ปฏิบัติงานควรมีการปฏิบัติ ดังนี้ (1) การรับพนักงานเข้าทำงาน ควรระบุให้มีการตรวจสุขภาพ และมีใบรับรองแพทย์ว่า ปลอดจากโรคติดต่อ (2) พนักงานที่ทำงานในโรงเก็บ ควรได้รับการฝึกอบรมให้มีความรู้เรื่องสุขอนามัยพื้นฐาน เช่น การดูแลรักษาความสะอาดส่วนบุคคล เป็นต้น (3) พนักงานควรได้รับการตรวจสุขภาพเป็นครั้งคราว และมีการเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ เช่น ท้องร่วง แผลติดเชื้อ พนักงานที่ป่วยควรอนุญาตให้หยุดงานได้ทันที (4) ควรมีการเปลี่ยนรองเท้า/เสื้อผ้า ก่อนการปฏิบัติงาน หรือเข้าไปในบริเวณการผลิต ก.4.2 บุคคลภายนอกที่เข้าไปในบริเวณปฏิบัติงาน ควรมีการปฏิบัติ ดังนี้ (1) ต้องปฏิบัติตามสุขลักษณะส่วนบุคคลที่กำหนดตามที่บริษัทกำหนด (2) เดินในเส้นทางที่กำหนดและอยู่ภายใต้การควบคุมดูแล
ก.5 การขนส่ง ก.5.1 พาหนะขนส่งข้าวโพด ควรมีลักษณะดังนี้ ก.5.1.1 แข็งแรง เหมาะสมกับการขนส่ง บริเวณที่ใช้บรรทุกสามารถทำความสะอาดได้ง่าย ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(77) ก.5.1.2 อยูใ่ นสภาพทีส่ ะอาด ไม่กอ่ ให้เกิดการปนเปือ้ น เช่น ไม่บรรจุสงิ่ ทีเ่ ป็นอันตรายมาก่อน เช่น สารเคมี ก.5.1.3 บริเวณบรรทุกต้องปิดมิดชิด สามารถป้องกันน้ำ และระบายอากาศได้ ก.5.2 การขนส่งข้าวโพดที่มีความชื้นสูงกว่ามาตรฐาน มกษ.4002 ต้องขนส่งโดยเร็วเพื่อ ป้องกันการเน่าเสีย หรือการเสื่อมคุณภาพ
ก.6 การฝึกอบรม ก.6.1 พนักงานทุกคนต้องได้รบั การฝึกอบรมเรือ่ งความรับผิดชอบของตนต่อสินค้า การปฏิบตั ิ หลังการเก็บเกี่ยว สุขอนามัยพื้นฐาน และความปลอดภัยของอาหาร ก.6.2 ผู้ควบคุมเครื่องจักร ผู้ควบคุมคุณภาพ ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัตถุอันตราย ต้องได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมตามหน้าที่และความรับผิดชอบ
ก.7 การบันทึกข้อมูล ก.7.1 ข้อมูลที่บันทึก มีดังต่อไปนี้ บันทึกข้อมูลเกี่ยวข้องกับ (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ประกอบการ (2) การควบคุมการปฏิบัติงาน (3) การสุขาภิบาลและการบำรุงรักษา (4) การตรวจสอบความถูกต้อง และการสอบเทียบเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ (5) การขนส่งข้าวโพด (6) การฝึกอบรม และการตรวจสุขลักษณะส่วนบุคคล (7) ประวัติเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ ก.7.2 เก็บรักษาบันทึกข้อมูลการปฏิบัติงาน และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ไว้อย่างน้อย 2 ปี กรณีเป็นบันทึกที่เกี่ยวข้องกับพนักงานหรือเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ให้เก็บรักษาบันทึกนั้นไว้ตลอดอายุการใช้งาน ก.7.3 ควรบันทึกข้อมูลในกระบวนการผลิตอย่างครบถ้วน จัดทำเอกสาร หรือแบบบันทึก ให้เป็นปัจจุบันสำหรับการผลิตแต่ละครั้ง มีการลงชื่อผู้ปฏิบัติและผู้ควบคุมกำกับบันทึกไว้ในสมุด ทุกครั้งที่จดบันทึกข้อมูล นอกจากการเก็บรักษาข้อมูล
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
(78)
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¢
ตัวอยางแบบบันทึกขอมูล ข. การควบคุมการปฏิบัติงาน ข. 1.1 การรับซื้อ
บันทึกการรับซื้อขาวโพด
สิ่งแปลกปลอม
ความ ชื้น
เมล็ดแตกและลีบ
ชั้นที่ กลิ่น
เมล็ดมอดเจาะ
เมล็ด
เมล็ดเสียจากเชื้อรา
ฝก
ชื่อผูปฏิบัติงาน
เมล็ดขาวโพด เมล็ดเสีย
ทะเบียนรถ
สิ่งแปลกปลอม
ชื่อ
คุณภาพ ฝกขาวโพด
จำนวน (ตัน)
ฝกเสียจากเชื้อรา
ผูขาย/ผูสง
ฝกเสีย
ลำดับที่
วันที่รับซื้อ_________________________________________
บันทึกการผลิต บันทึกการผลิต
การกะเทาะเมล็ด การกะเทาะเมล็ด
วันที่ผลิต_________________________________________ วันที่ผลิต_________________________________________ จำนวน (ตัน) ฝกขาวโพด จำนวน (ตัน) ฝกเสียคัดทิ้ง ฝกขาวโพด ฝกเสียคัดทิ้ง
รุนการผลิต รุนการผลิต
รายงานการอบ หรือตาก รายงานการอบ หรือตาก วัน/เดือน/ป วัน/เดือน/ป
เปอรเซ็นต (%) เปอรความชื เซ็นต้น(%) ความชื้น
เมล็ดขาวโพด เมล็ดขาวโพด
เวลา (น.) เวลา (น.)
อุณหภูมิ ( ํC ) อุณหภูมิ ( ํC )
เมล็ดแตก เมล็ดแตก
ความชื้น (%) ความชื้น (%)
หมายเหตุ หมายเหตุ
คุณภาพเมล็ดขาวโพดหลังลดความชื้น
( ) ลานตาก
คุณภาพเมล็ดขาวโพดหลังลดความชื้น ชั้นคุณภาพ
กลิ่น
ความชื้น (%)
ชั้นคุณภาพ
กลิ่น
ความชื้น (%)
เมล็ดเสีย จากเชื้อรา เมล็ดเสีย จากเชื้อรา
เมล็ดเสีย เมล็ดเสีย
เปอรเซ็นต (%) เมล็ด เปอร เซ็นต (%) มอดเจาะ เมล็ด มอดเจาะ
หมายเหตุ หมายเหตุ
เมล็ดแตก และลีบ เมล็ดแตก และลีบ
( ) เครื่องอบ
( ) ลานตากอะฟลาทอกซิ ( ) เครื่อนงอบ (µg/kg) สิ่งแปลกปลอม อะฟลาทอกซิน (µg/kg) สิ่งแปลกปลอม
จำนวนและการเก็บขาวโพดเมล็ดแหง ไซโล ตัน ตัน
ไซโล
กอง
จำนวนและการเก็บขาวโพดเมล็ดแหง สถานที่
ตัน
สถานที่
ตัน
กอง
สถานที่ สถานที่
ธุรกิจอาหารสัตว์ ปีที่ 29 เล่มที่ 144 พฤษภาคม-มิถุนายน 2555
100 kg
จำนวน จำนวน
100 kg
กระสอบบรรจุขนาด กระสอบบรรจุขนาด สถานที่ จำนวน สถานที่
จำนวน
1,000 kg 1,000 kg
สถานที่ สถานที่
ข.3 การใชวัตถุอันตรายทางการเกษตรระหวางการเก็บรักษาฝก หรือเมล็ดขาวโพด
แบบการใชสารเคมีและวัตถุอันตรายทางการเกษตรระหวางการเก็บรักษาฝก หรือเมล็ดขาวโพด (หมายเลข ลอต/กอง/ถัง) กิจกรรมที่ใชสารเคมีและ วัตถุอันตรายทางการเกษตร
ทะเบียน ชื่อการคา ชื่อสามัญ วัตถุอันตราย
วัน เดือน ป วัน เดือน ป ที่ผลิต แหลงที่ซื้อ ทีใ่ ชสารเคมี หรือหมดอายุ
อัตราการใช วัตถุอันตราย
ปริมาณ ชื่อ รวม ผูปฏิบัติงาน หมายเหตุ ที่ใช
1. การทำความสะอาดโรงเรือน/ถังเก็บ 2. การทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช 3. การทำความสะอาดภาชนะบรรจุ 4. การรม หรืออบเมล็ดขาวโพด 5. การปองกันกำจัดศัตรูโรงเก็บ
ข.4 บันทึกการใชสารเคมีและวัตถุอันตรายทางการเกษตรระหวางการเก็บรักษาฝกหรือเมล็ดขาวโพด (หมายเลข ลอต/กอง/ถัง) กิจกรรมที่ใชสารเคมีและ วัตถุอันตรายทางการเกษตร
วัน เดือน ป ยน อน ป ชื่อการคา ชื่อสามัญ วัตทะเบี ่ผลิต แหลงที่ซื้อ วัทีนใ่ ชเดื ถุอันตราย หรือทีหมดอายุ สารเคมี
มาณ อัตราการใช ปริรวม ชื่อ วัตถุอันตราย ทีใ่ ช ผูปฏิบัติงาน หมายเหตุ
1. การทำความสะอาดโรงเรือน/ถังเก็บ 2. การทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช 3. การทำความสะอาดภาชนะบรรจุ 4. การรม หรืออบเมล็ดขาวโพด 5. การปองกันกำจัดศัตรูโรงเก็บ
ข.5 ประวัติเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ บันทึกประวัติเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ซื้อเครื่องมือ_________________________________________
ข.5 ประวัติเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ ชื่อ
รุน
ชื่อ
รุน
เครื่องมือ การซอมแซม การดัดแปลง/ตอเติม การตรวจสอบ บันทึกประวัติเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ จำนวน กำลังผลิต วันที่ติดตั้ง ที่อยูผูขาย วันที่ ปญหา วิธีการ วันที่ เรื่อง วันที่ เรื่อง ผูตรวจสอบ ซื้อเครื่องมือ_________________________________________ เครื่องมือ จำนวน กำลังผลิต วันที่ติดตั้ง ที่อยูผูขาย
วันที่
การซอมแซม ปญหา วิธีการ
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¤
การดัดแปลง/ตอเติม วันที่ เรื่อง
วันที่
การตรวจสอบ เรื่อง ผูตรวจสอบ
หนวย
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¤
หนวยและสัญลักษณที่ใชในมาตรฐานนี้ และหนวย SI (International System of units หรือ Le Système Intenational d’ Unités) ที่ยอมรับใหใชได มีดังนี้
หนชื่อวหนยวย รายการ สัญลักษณหนวย มวล ้ และหนวย SI (International กิโลกรัม (kilogram) kg Système Intenational d’ Unités) หนวยและสัญลักษณที่ใชในมาตรฐานนี System of units หรือ Le มิลลิเมตร (millimetre) mm ที่ยอมรับใหใชได มีดังนี้ ความยาว เซนติเมตร (centimetre) cm รายการ ชื่อหน วย สัญลักษณ เมตร (metre) m หนวย กิโลกรัยสม (degree (kilogram)Celsius) kg อุณมวล หภูมิ องศาเซลเซี °C เมตรม (millimetre) mm ความเขมขน ไมโครกรัมตมิอลกิลิโลกรั (microgram/kilogram) µg/kg ความยาว เซนติชัเมตร cm เวลา ่วโมง (centimetre) (hour) h (metre) m ความเร็ว เมตรตอวิเมตร นาที (metre/second) m/s อุณหภูมาิง องศาเซลเซียลัสกซ(degree °C ความสว (lux) Celsius) lux ความเขมขน ไมโครกรัมตอกิโลกรัม (microgram/kilogram) µg/kg เวลา ชั่วโมง (hour) h ความเร็ว เมตรตอวินาที (metre/second) m/s ความสวาง ลักซ (lux) lux
ขอขอบคุณบริษัทที่ให้ความสนับสนุน และความร่วมมือในการจัดทำวารสารธุรกิจอาหารสัตว์
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22.
บริษัท เบทาโกร จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สมุทรปราการ บริษัท กรุงไทยอาหารสัตว์ จำกัด (มหาชน) บริษัท อายิโนะโมะโต๊ะ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อาหารสัตว์ ไทยสวนหลวง จำกัด บริษัท ลีพ ัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ซี พี เอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สระบุรี บริษัท ท็อป ฟีด มิลล์ จำกัด บริษัท ธนากรผลิตภัณฑ์น้ำมันพืช จำกัด บริษัท ลีโก้ อินสตรูเมนท์ส (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท อดิสสิโอ เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท โกรเบสท์ คอร์ โพเรชั่น จำกัด บริษัท แลบอินเตอร์ จำกัด บริษัท บี เอ เอส เอฟ จำกัด บริษัท แอนิมัล ซัพพลีเมนท์ แอนด์ ฟาร์มาซูติคอล จำกัด บริษัท ทีเอที เอ็นเนอร์ยี่แอนด์เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด บริษัท เคมิน อินดัสตรีส์ (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอวอร์นิค (ไทยแลนด์) จำกัด บริษัท เวท อะกริเทค จำกัด บริษัท เวอร์แบค (ประเทศไทย) จำกัด บริษัท เอ็น ซี ซี เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด บริษัท ที ซี ยูเนียน อโกรเทค จำกัด
โทร. 0-2833-8000 โทร. 0-2680-4580 โทร. 0-2473-8000 โทร. 0-2247-7000 โทร. 0-2814-3480 โทร. 0-2632-7232 โทร. 0-2680-4500 โทร. 0-2194-5678-96 โทร. 0-2819-8790-7 โทร. 0-2886-4350 โทร. 0-2681-1329 โทร. 0-2279-7534 โทร. 0-3488-6140-46 โทร. 0-2204-9455 โทร. 0-2937-4888 โทร. 0-2910-9728-29 โทร. 0-2938-1406-8 โทร. 0-2784-7900 โทร. 0-2575-5777-86 โทร. 0-2193-8288-90 โทร. 0-2203-4245 โทร. 0-2476-0674-82