ปัจจัยที่มีผลต่อความเหลื่อมล้าทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพืนที่ชายแดน อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย สิทธิชาติ สมตา และพรพินันท์ ยี่รงค์
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาหาความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ชายแดน อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เนื่องด้วยปัญหาความเหลื่อมล้้าเป็นปัญหาที่มีความเรื้อรัง และเป็นบ่อเกิด แห่งความเหลื่อมล้้าทางสังคม และเศรษฐกิจในปัจจุบัน ฉะนั้นจึงตระหนักได้ว่าควรต้องมีการหาแนวทางในการแก้ไขอย่าง เร่งด่วน พบว่าปัจจัยตัวผู้เรียนที่มีผลต่อผลการเรียน คือ อายุ เพศ การทบทวนบทเรียน การมาโรงเรียนสาย การร่วม แข่งขัน การเป็นตัวแทนของโรงเรียน ขณะที่ในด้านของปัจจัยครอบครัว ได้แก่ เบี้ยงเลี้ยงประจ้าวัน ลักษณะการเดินทาง การขอค้าปรึกษา และการได้รับรางวัล/ค้าชมเชย ทั้งนี้ จากการสัมภาษณ์ผู้อ้านวยการโรงเรียนพบว่า โรงเรียนแม่สาย ประสิทธิ์ศาสตร์ไม่มีความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาภายในโรงเรียน เนื่องจากมีโครงการที่เป็นแผนแม่บทในการไม่เลือก ปฏิบัติต่อทุกชนชั้น และทุกชนชาติ รวมทั้งเป็นประตูการศึกษาสู่อาเซียน หรือ Education hub ขณะที่โรงเรียนถ้้าปลา วิทยาคมเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ท้าให้ขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆค่อนข้างมาก และมีจ้านวนของนักเรียนไร้ สัญชาติ หรือไร้บัตรประชาชน ซึ่งจ้าเป็นต้องเลือกสายอาชีพ เพราะยากต่อการเข้าสู่สายสามัญ จากความจ้ากัดในด้านของ การไม่ถูกรับรองให้เป็นชาวไทย บทน้า ประเทศไทยด้าเนินการปฏิรูปการศึกษาครั้งแรกในปี 2542 ถือว่ามีความส้าคัญต่อการศึกษาไทยอย่างมาก ด้วย ความพยายามและการจัดสรรทรัพยากรในการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้ จึงได้จัดท้าพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติขึ้นมา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศไทยด้วยงบประมาณที่คิดเป็นสองเท่าภายใน 10 ปี ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าการ เพิ่ ม งบประมาณการศึกษาที่ เพิ่ ม ขึ้น จะช่ ว ยให้ป ระชากรวั ย เรีย นสามารถเข้า ถึง การศึกษามากขึ้น ในเชิ ง ปริม าณ แต่ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษากลับมีแนวโน้มลดลง เช่น O-NET, PISA, และ TIMSS (อัมมาร, ดิลกะ และสมเกียรติ, 2554) อย่ า งไรก็ต าม ในปี 2552 หลั ง การปฏิรูป การศึกษา 10 ปี ผ่า นมา ส้ า นั กงานรับรองมาตรฐานและประเมิ นคุณ ภาพ การศึกษา (NESQA) ได้ด้าเนินตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทั่วประเทศไทย พบว่าโรงเรียนจ้านวน 3,243 จาก 15,515 โรงเรียน ไม่ผ่านข้อก้าหนดการประเมินคุณภาพขั้นต่้า นอกจากนี้ยังพบว่าส่วนใหญ่โรงเรียนที่มีคุณภาพต่้าอยู่ใน พื้นที่ชนบท (Lounkaew, 2013) จะเห็นได้ว่าการปฏิรูปการศึกษาของไทยในช่วงที่ผ่านมานั้นไม่สามารถลงถึงห้องเรียน และนักเรียนเท่าที่ควร เนื่องจากส่วนใหญ่จะเริ่มด้วยการปฏิรูปโครงสร้างกระทรวงมากกว่าการเริ่มที่ห้องเรียน (สมเกียรติ, 2560) ท้าให้การปฏิรูปการศึกษาไม่ประสบความส้าเร็จส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้้าทางการศึกษา
ปัญหาความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาเป็นปัญหาเรื้อรังที่ยังไม่สามารถแก้ไขได้ตลอดช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากสาเหตุ ของปัญหาความเหลื่อมล้้าทางการศึกษานั้นมีมากมายจนมองไม่เห็นหนทางและจับต้องไม่ถูกว่าควรริเริ่มแก้ไขหรือปฏิรูป กันอย่างไร ท่ามกลางช่วงเวลาที่ผ่านมาหลังการปฏิรูปการศึกษาครั้งแรกจนถึงปัจจุบันใกล้ครบสองทศวรรษ ประเทศไทย ยังไม่สามารถท้าให้คุณภาพการศึกษาของประเทศดีขึ้นและเท่าเทียมกัน ได้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากคุณภาพทางการ ศึกษามีส่วนส้าคัญต่อการสร้างเสริมทุนมนุษย์ (Capital Human) ไม่ว่าจะเป็นเรื่องทักษะ ความรู้ ความสามารถ ซึ่งมีผล ต่ออัตราการตอบแทนแต่ละบุคคลและเป็นองค์ประกอบส้าคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจระยะยาวของประเทศ ทั้งนี้ ความไม่ เท่ าเทีย มกันในการศึกษาคือความไม่เท่า เทียมกัน ในการผลิตของทุ นมนุษย์ ซึ่งไม่เพียงแต่ม าตรการกระจาย การศึกษาไม่เท่ากันที่เกิดขึ้นจริงในสังคม แต่ยังรวมไปถึงประสิทธิภาพของนโยบายการศึกษา (Jirada and Yoshi, 2013) คุณภาพทางการศึกษานอกจากหลั กสูต รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้ น ฐานที่มีความส้า คัญต่ อนักเรีย นแล้ วนั้ น คุณภาพของครูก็มีความส้าคัญด้วยเช่นกันในการถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาตนเองของครู และการพัฒนานักเรียนได้มาก น้อยเพียงใด สิ่งที่ควรท้าความเข้าใจคือ จ้านวนครูในแต่ละโรงเรียนมีจ้านวนไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับจ้านวนนักเรียนของ โรงเรียนนั้นๆ หากโรงเรียนมีนักเรียนจ้านวนมากก็จะท้าให้มีครูมากขึ้นตามจ้านวนนักเรียนจะท้าให้โรงเรียนดังกล่าวมีครู เพียงพอต่อการสอนของแต่ละระดับชั้นมัธยมศึกษา ซึ่งจะพบเห็นในโรงเรียนในเขตเมืองเป็นหลัก ตรงกันข้ามกับโรงเรียน พื้นที่ชนบทที่มีจ้านวนักเรียนน้อยท้าให้จ้านวนครูลดลง ท้าให้ครูในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้มีไม่เพียงพอต่อการสอนจาก จ้ า นวนครู ที่ ล ดลงท้ า ให้ค รู ต้ อ งรั บ ภาระการสอนเพิ่ ม ขึ้ น เช่ น โดยปกติ ต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบสอนวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ร ะดั บ มัธยมศึกษาตอนต้นเพียงอย่างเดียว แต่ด้วยจ้านวนครูที่ต้องลดลงตามจ้านวนนักเรียนจึงจ้าเป็นที่ต้องสอนวิชาคณิตศาสตร์ ทั้งในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ด้วยภาระที่เพิ่มขึ้นท้าให้ประสิทธิภาพในการท้างานของครูลดลงตามไปด้วย ส่งผลต่อคุณ ภาพทางการศึกษาของนักเรียนและเหตุ การณ์ เหล่า นี้เกิด ขึ้นกับ โรงเรียนในพื้นที่ ชนบท จึงน้ าไปสู่ ความ แตกต่างกันทางผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและปัญหาความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาระหว่างโรงเรียนในเขตเมืองและโรงเรียน พื้นที่ชนบท ทั้งนี้จากการพิจารณาผลคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับสัดส่วนครูต่อนักเรียนประจ้าปี 2558 แต่ละ โรงเรียนของจังหวัดเชียงราย พบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างคะแนน O-NET กับสัดส่วนครูต่อนักเรียน หากจ้านวน สัดส่วนครูต่อนักเรียนเพิ่มสูงขึ้นจะส่งผลให้คะแนน O-NET เพิ่มขึ้นตาม รวมทั้งมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมากกับ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม และโรงเรียนด้ารงราษฎร์สงเคราะห์ เมื่อเทียบกับโรงเรียนอื่นๆ ในจังหวัดเชียงราย ยกเว้น โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนเอง ท้าให้ผล คะแนน O-NET สูง ถึงแม้สัดส่วนครูต่อนักเรียนจะค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับโรงเรียนอื่นๆ (ดังรูปที่ 1)
รูปที่ 1 สัดส่วนคะแนน O-NET ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับสัดส่วนครูต่อนักเรียนประจ้าปี 2558 60 จุฬาภรณ์
50
สามัคคี ด้ารงราษฎร์
คะแนน O-NET
40 30 20 10 0 0
5
10
15
20
25
30
สัดส่วนครูต่อนักเรียน
ที่มา : ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 นอกจากความแตกต่างในผลลัพธ์ของการศึกษา ซึ่งเป็นผลเกี่ยวเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆที่มากกว่าแค่คุณภาพของ การเรียนการสอน แต่ครอบคลุมไปถึงปัจจัยต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องทั้งหมด ตั้งแต่ปัจจัยเฉพาะของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว ไปจนถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา (นณริฎ, 2559) ทั้งนี้การศึกษาของประเทศไทยในระยะ หลังเริ่มเล็งเห็นมูลเหตุของความเหลื่อมล้้าที่เพิ่มขึ้นอย่า งมากในการเข้าถึงอุดมศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี ว่า ไม่ได้เกิดขึ้นจากการขาดแคลนปัจจัยระยะสั้นเพียงอย่างเดียว แต่ต้นเหตุส้าคัญเกิดจากความเหลื่อมทางปัจจัยระยาวที่ รวมถึงภูมิหลังทางครอบครัว และคุณภาพการศึกษาที่ได้รับตั้งแต่วัยเด็ก (ดิลกะ, 2555) จากการส้ารวจทางเศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรือนของประเทศไทยเกี่ยวกับความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายการศึกษาของไทยในปี 2011 จ้านวนปี ในการเข้าเรียนของระดับประเทศอยู่ในระดับกลางๆ ประมาณ 7.63 ปี และค่าสัมประสิทธิ์จีนีของประเทศไทยเป็น 0.349 โดยจังหวัดที่ตั้งอยู่ใกล้เขตกรุงเทพมหานครมีความเท่าเทียมกันมากขึ้นในการศึกษายกเว้นสมุทรสาคร ขณะที่จังหวัดใน ภาคเหนือของประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันอย่างรุนแรงในการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งจังหวัดชายแดน (Jirada and Yoshi, 2013) บทความความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาในที่นี้หมายถึงความแตกต่างในผลสัมฤทธิ์ ของการศึกษา โดยพิจารณาถึง ปัจจัยพื้นฐานที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยส่วนบุคคลของนักเรียนแต่ละคน ปัจจัยทางด้านครอบครัว และปัจจัย ทางด้านโรงเรียน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ต่างมีส่วนท้าให้นักเรียนแต่ละคนได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ไม่เท่ากัน จึงสะท้อนออกมา เป็นผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่แตกต่างตามไปด้วย เพื่อศึกษาช่องว่างความเหลื่อมล้้าของผลสัมฤทธิ์ดังกล่าวและเพื่อศึกษา
ถึงปัจจัยที่ท้าให้ผลผลสัมฤทธิ์ของเด็กนักเรียนในวัยเดียวกันมีความแตกต่างกัน งานวิจัยได้เลือกใช้ผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ในการศึกษาเรื่องความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาของพื้นที่อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านผู้เรียน และครอบครัวที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ในอ้าเภอแม่สาย 2. เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของปัจจัย ด้านสภาพแวดล้อมของโรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในอ้าเภอแม่สาย 3. เพื่อเปรียบเทียบ และให้ข้อเสนอแนะทางนโยบายต่อการลดช่องว่างของผลสัมฤทธิ์ทางการศึก ษาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในอ้าเภอแม่สาย กรอบแนวคิดในการวิจัย รูปที่ 2 กรอบแนวคิดในการวิจัยความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในพืน้ ทีช่ ายแดน อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การวิเคราะปัจจัยที่ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (GPA) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ 1. ปัจจัยตัวผู้เรียน เช่น เพศ อายุ 2. ปัจจัยทางครอบครัว เช่น การศึกษาของพ่อแม่
การวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression) กดหกด และ การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ (Cross-tabulation)
การวิ เคราะห์ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของโรงเรียน กดหกด จากการสัมภาษณ์ผู้อ้านวยการสถานศึกษา
การวิเคราะห์เนื้อหา กดหกด (Content Analysis)
แนวทางการลดช่องว่าง ความเหลื่อมล้าทางการ ศึกษาภายใน และระหว่าง โรงเรียน
วิธีด้าเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตั้งแต่ปีที่ 1 – 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาของพื้นที่ชายแดน อ้าเภอแม่ สาย จังหวัดเชียงรายปีการศึกษา 2560 ได้แก่ โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ทั้งหมด 2,794 คน และโรงเรียนถ้้าปลา วิทยาคม 315 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จากโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์จ้านวน 256 คน และโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคมจ้านวน 170 คน รวมทั้งสิ้น 426 คน โดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบก้าหนด (Quota Sampling) 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น แบ่งออกเป็น 3 ปัจจัย ดังนี้ 2.1.1 ปัจจัยด้านผู้เรียน ได้แก่ อายุ เพศ จ้านวนชั่วโมงที่ใช้ในการทบทวนบทเรียน จ้านวนชั่วโมงที่ใช้ใน การท้าการบ้าน จ้านวนชั่วโมงที่ใช้ในการค้นคว้าข้อมูลในห้องสมุด/อินเตอร์เน็ต ประสบการณ์เรียนซ้้าชั้น ประสบการณ์ การเรียนชั้นอนุบาล ทัศนคติต่อโรงเรียน ทัศนคติต่อห้องเรียน การมาโรงเรียนสาย และกิจกรรมหลังเลิกเรียน การแข่งขัน วิชาการ/กีฬา และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน 2.1.2 ปัจจัยด้านครอบครัว ได้แก่ วุฒิการศึกษาของผู้ปกครอง การท้างานของผู้ปกครอง อาชีพของ ผู้ปกครอง จ้านวนพี่น้อง ล้าดับการเกิด การอยู่อาศัยกับครอบครัว ขนาดของครอบครัว สถานะของครอบครัว ระยะทาง จากที่อยู่อาศัยถึงโรงเรียน ลักษณะการเดินทางการโรงเรียน เบี้ยเลี้ยง ทรัพยากรภายในบ้าน การรับค้าปรึกษา การได้รับ รางวัล/ค้าชมเชยจากผู้ปกครอง และการท้างานเสริม 2.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนเฉลี่ยสะสม (Grade Point Average: GPA) ปีการศึกษา 2560 3. ประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก 3.1 สิ่งอ้านวยสะดวกทางด้านกายภาพทีส่ ่งเสริมการเรียนการสอน เช่น ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ ระบบรักษาความปลอดภัย อาทิ สารวัตรนักเรียน กล้องวงจรปิด รปภ. และงบประมาณในการ ก่อสร้าง 3.2 บุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ความเพียงพอของครู หลักสูตรอบรมการเรียนการสอน การมีครูตรงตามสาขา ที่เชี่ยวชาญ การมีครูช้านาญการพิเศษ การจ้างครูต่างชาติ การประเมินจากครูภายนอก 3.3 หลักสูตรและกระบวนการการเรียนการสอน ได้แก่ กิจกรรมเสริมส้าหรับการพัฒนาผลการเรียน การมีอิสระ ในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก การส่งเสริมความเป็นเลิศด้านวิชาการ กิจกรรม แข่งขัน การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง 3.4 ความเหลื่อมล้้าทางการศึกษา ภายในโรงเรียน และระหว่างโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ลักษณะ ส่วนบุคคลของตัวนักเรียน จ้านวน 19 ข้อ และข้อมูลพื้นฐานทางครอบครัว จ้านวน 14 ข้อ และการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) เกี่ยวกับข้อมูลของโรงเรียน
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยขอหนังสือจากส้านักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงถึงผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อ ขอความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูลและแจกแบบสอบถามให้ กลุ่มตัวอย่างจ้านวน 298 ชุด พร้อมทั้งขอความอนุเคราะห์ ในการสัมภาษณ์ผู้บริการสถานศึกษาในแต่ละแห่ง การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยด้าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส้าเร็จรูปทางสถิติ และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยเลือก ข้อมูลที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ และสมมติฐานของงานวิจัย ดังนี้ 1. การวิ เคราะห์ ปั จ จั ย ด้ า นผู้ เรี ย น และด้ า นครอบครั ว ที่ มี ผ ลต่ อผลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึก ษาของนั กเรีย นชั้ น มัธยมศึกษา อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) 2. การวิ เคราะห์ ปั จ จั ย ด้ า นผู้ เรี ย น และด้ า นครอบครั ว ที่ มี ผ ลต่ อผลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึ ก ษาของนั กเรีย นชั้ น มัธยมศึกษา อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) 3. การวิเคราะห์การแจกแจงตารางแบบไขว้ (Cross-tabulation) ระหว่างผลการเรียนกับข้อมูลลักษณะส่วนตัว ของนักเรียน และพื้นฐานทางครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 4. การวิเคราะห์ปัจจัยด้านโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา อ้าเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ด้วยการ วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย 1. จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในพื้นที่ชายแดนอ้าเภอแม่สาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีเกรดเฉลี่ยรวมอยู่ระหว่าง 3.00 - 3.49 คิดเป็นร้อยละ 30.6 รองมาได้แก่ เกรด 2.50 – 2.99 และ 0.00 – 2.49 ร้อยละ 29.3 และ 25.1 ตามล้าดับ โดยเป็นเพศหญิงร้อยละ 55.5 มากกว่าเพศชายที่มีสัดส่วนอยู่ร้อย ละ 44.5 ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการทบทวนบทเรียนอยู่ที่ประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 41.5 ท้าการบ้าน ประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อวัน ร้อยละ 40.0 และเข้าห้องสมุดประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ร้อยละ 38.8 ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่างไม่ได้มีการเรียนพิเศษเสริม ร้อยละ 74.5 ไม่มีประสบการณ์ในการซ้้าชั้น ร้อยละ 95.3 และเคยเรียนชั้น อนุบาลมากกว่า 1 ปี ร้อยละ 83.6 รวมถึงส่วนใหญ่ร้อยละ 60.8 ไม่เคยมาโรงเรียนสาย นอกจากนี้ นักเรียนส่วนใหญ่มี ส่วนร่วมในการแข่งขันทางวิชาการ และเป็นตัวแทนโรงเรียนไปแข่งขันภายนอก ทั้งนี้ ทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อโรงเรียน ในแต่ละด้านเฉลี่ยรวมอยู่ที่ประมาณ 3.47 หรืออยู่ในระดับดี ขณะเดียวกันทัศนคติของเด็กที่มีต่อห้องเรียนมีคะแนนไม่ ต่างกันมากเฉลี่ยรวมอยู่ที่ประมาณ 3.55 หรืออยู่ในระดับดีเช่นเดียวกัน ด้านปัจจัยพื้นฐานทางครอบครัว พบว่าผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษา ในระดับต่้ากว่ามัธยมศึกษา ร้อยละ 67.9 ท้างานประเภทรับจ้าง ร้อยละ 53.6 และประกอบอาชีพค้าขาย ร้อยละ 46.6 มี พี่น้องรวมตัวเองประมาณ 1 - 2 คน ซึ่งเป็นพี่คนโต และคนรองกว่าร้อยละ 90 ทั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีการอาศัยอยู่ กับทั้งพ่อและแม่ ร้อยละ 55.8 เป็นครอบครัวเดี่ยว ร้อยละ 62.0 และมีสถานะทางครอบครัวที่สมบูรณ์หรืออยู่ด้วยกัน ร้อยละ 63.7 ส้าหรับระยะทางจากบ้านมาโรงเรียนของเด็กในกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 5 - 10 กิโลเมตร มีการ
เดินทางมาด้วยตนเองเป็นหลัก รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่ง และรถรับจ้าง ซึ่งได้รับเบี้ยเลี้ยงเฉลี่ยวันละ 20 - 80 บาท ใน ด้านของทรัพยากรทางการศึกษาภายในบ้าน เด็กส่วนใหญ่มีอุปกรณ์ครบครันตั้งแต่ห้ องส่วนตัว คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต โต๊ะเขียนหนังสือ สถานที่สงบ มือถือ ยกเว้นเครื่องเกมที่ร้อยละ 79.3 ไม่มีเป็นของตนเอง ผู้ปกครองของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนมากจะมีการให้รางวัลหรือให้ค้าชมเชยแก่เด็กร้อยละ 75.8 ขณะที่ร้อยละ 91.5 ไม่มีการท้างานเสริม 2. ผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษา อ้าเภอแม่สาย จังหวัด เชียงราย ในด้านของตัวผู้เรียน พบว่ามี 6 ปัจจัย ที่มีผลต่อผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ อายุ (P-value = 0.004, B = -0.046) เพศหญิง (P-value = 0.000, B = 0.393) การทบทวนบทเรียน 30 นาที – 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ (Pvalue = 0.005, B = -0.161) การมาโรงเรียนสาย (P-value = 0.003, B = 0.095) การเข้าร่วมแข่งขันกีฬา/วิชาการ (Pvalue = 0.000, B = 0.258) และการเป็นตัวแทนของโรงเรียน (P-value = 0.001, B = 0.226) ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าสถิติของตัวแปรอิสระด้านตัวผู้เรียนที่มผี ลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตัวแปรอิสระ
b Std. Error Beta t ค่าคงที่ 2.751 0.275 10.008 อายุ** -0.046 0.016 -0.130 -2.881 เพศหญิง*** 0.393 0.056 0.310 6.990 การทบทวนบทเรียน 30 นาที – 1 ชม.** -0.161 0.057 -0.124 -2.812 การมาโรงเรียนสาย** 0.095 0.032 0.134 3.002 การร่วมแข่งขันวิชาการ/กีฬา*** 0.258 0.066 0.198 3.881 การเป็นตัวแทนโรงเรียน*** 0.226 0.065 0.177 3.466 2 หมายเหตุ : R = 0.266, R = 0.221, S.E.E = 0.560 * = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.001
P-value 0.000 0.004 0.000 0.005 0.003 0.000 0.001
3. ผลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษา อ้าเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย ในด้านของปัจจัยผู้เรียน พบว่ามี 9 ปัจจัย ที่มีผลต่อผลการเรียนเฉลี่ย (GPA) ของนักเรียน ได้แก่ เบี้ยเลี้ยง ประจ้าวัน (P-value = 0.007, B = -2.782) การเดินทางด้วยรถรับจ้าง (P-value = 0.180, B = 0.020) การเดินทางด้วย ผู้ปกครองมาส่ง (P-value = 0.004, B = 0.218) การปรึกษาเพื่อน (P-value = 0.044, B = 0.151) การได้รับรางวัล/ค้า ชมเชย (P-value = 0.000, B = 0.360) ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ค่าสถิติของตัวแปรอิสระด้านครอบครัวที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษานักเรียนมัธยมศึกษา อ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตัวแปรอิสระ b Std. Error Beta t P-value ค่าคงที่ 2.026 0.166 12.236 0.000 เบี้ยเลี้ยงประจ้าวัน** -2.782 1.025 -0.130 -2.714 0.007 การเดินทางด้วยรถรับจ้าง* 0.180 0.077 0.117 2.334 0.020 การเดินทางด้วยผู้ปกครองมาส่ง** 0.218 0.074 0.147 2.930 0.004 การปรึกษาเพื่อน* 0.151 0.074 0.097 2.024 0.044 การได้รับรางวัล/ค้าชมเชย** 0.360 0.070 0.245 5.126 0.000 2 หมายเหตุ : R = 0.120, R = 0.102, S.E.E = 0.601 * = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.05 ** = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.01 *** = นัยส้าคัญสถิติระดับ 0.001 4. การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและปัจจัยตัวผู้เรียน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ย (Grade Point Average : GPA) ต่อปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล พบว่า ผลการเรียนเฉลี่ยของเพศหญิงดีกว่าผู้ชาย จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นเพศชาย ร้อยละ 84.8 และเพศหญิงร้อยละ 15.2 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 50.7 และ เพศหญิงร้อยละ 49.3 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเพศชายร้อยละ 54.7 และเพศหญิงร้อยละ 45.3 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นเพศชายร้อยละ 26.2 และเพศหญิงร้อยละ 73.8 ตารางที่ 3 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและเพศ ชาย หญิง GPA 0.00 - 1.99 84.8% 15.2% GPA 2.00 - 2.49 50.7% 49.3% GPA 2.50 - 2.99 54.7% 45.3% GPA > 3.00 26.2% 73.8% รวม 43.5% 56.5% ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์ พบว่า นักเรียนที่มีการทบทวนบทเรียน 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ มีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป มีการทบทวน บทเรียน 30 นาที - 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 41.8 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็น ร้อยละ 26.6 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นร้อยละ 19.0 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นร้อยละ 12.7
ตารางที่ 4 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการทบทวนบทเรียนต่อสัปดาห์ < 30 นาที 1/2 - 1 ชม. 1 - 2 ชม. 2 - 3 ชม. 3 - 4 ชม. > 4 =ชม. GPA 0.00 - 1.99 15.2% 60.6% 12.1% 3.0% 6.1% 3.0% GPA 2.00 - 2.49 22.4% 44.8% 13.4% 4.5% 13.4% 1.5% GPA 2.50 - 2.99 29.1% 35.9% 21.4% 4.3% 4.3% 5.1% GPA > 3.00 18.6% 36.1% 24.0% 8.7% 8.2% 4.4% รวม 22.0% 39.5% 20.5% 6.3% 7.8% 4.0% ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านอายุ พบว่า นักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี มีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นนักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 78.8 รองลงมาคือ นักเรียนที่มีอายุ 16 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 18.2 และนักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 3.0 ต่อมา ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นนักเรียนที่ มีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 53.0 รองลงมาคื อ นักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 24.2 และนักเรียนที่มีอายุ 16 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 22.7 และผลการเรียน เฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นนักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 51.3 รองลงมาคือ นักเรียนที่มีอายุ 16 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 33.3 และนักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 15.4 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นนักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 14 – 16 ปี ร้อยละ 53.6 รองลงมาคือ นักเรียนที่มีอายุช่วงระหว่าง 11 – 13 ปี ร้อยละ 29.0 และนักเรียนที่มีอายุ 16 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 17.5 ตารางที่ 5 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและช่วงอายุ 11 – 13 ปี 14 – 16 ปี > 16 ปี GPA 0.00 - 1.99 3% 79% 18% GPA 2.00 - 2.49 24% 53% 23% GPA 2.50 - 2.99 15% 51% 33% GPA > 3.00 29% 54% 17% รวม 22% 55% 23% ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านการมาโรงเรียนสาย พบว่า นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีไม่เคยมา โรงเรียนสาย จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นการมาโรงเรียนสายเป็นครั้งคราว (1 - 2 วัน/สัปดาห์) ร้อยละ 48.5 รองลงมาคือ การไม่เ คยมาโรงเรียนสายร้อยละ 36.4 การมาโรงเรียนสายบ่อยครั้ง (3 วัน/ สัปดาห์) ร้อยละ 9.1 และการมาโรงเรียนสายทุกวัน (5 วัน/สัปดาห์) ร้อยละ 6.1 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นการไม่เคยมาโรงเรียนสายร้อยละ 58.2 รองลงมาคือ การมาโรงเรียนสายเป็นครั้งคราว ร้อยละ 31.3 การมา โรงเรียนสายทุกวัน ร้อยละ 9.0 และการมาโรงเรียนสายบ่อยครั้งร้อยละ 1.5 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99
คิดเป็นการไม่เคยมาโรงเรียนสายร้อยละ 58.1 รองลงมาคือ การมาโรงเรียนสายเป็นครั้งคราว ร้อยละ 27.4 การมา โรงเรียนสายทุกวัน ร้อยละ 10.3 และการมาโรงเรียนสายบ่อยครั้งร้อยละ 4.3 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้น ไป คิดเป็นการไม่เคยมาโรงเรียนสายร้อยละ 67.2 รองลงมาคือ การมาโรงเรียนสายเป็นครั้งคราว ร้อยละ 23.5 การมา โรงเรียนสายทุกวันร้อยละ 7.1 และการมาโรงเรียนสายบ่อยครั้งร้อยละ 2.2 ตารางที่ 6 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการมาโรงเรียนสาย ทุกวัน บ่อยครัง เป็นครังคราว ไม่เคย GPA 0.00 - 1.99 6.1% 9.1% 48.5% 36.4% GPA 2.00 - 2.49 9.0% 1.5% 31.3% 58.2% GPA 2.50 - 2.99 10.3% 4.3% 27.4% 58.1% GPA > 3.00 7.1% 2.2% 23.5% 67.2% รวม 8.3% 3.3% 28.0% 60.5% ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านเข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการหรือกิจกรรมอื่นๆ พบว่า นักเรียนที่มีผล การเรียนเฉลี่ยดีเข้าร่วมการแข่งขันทางวิชาการหรือกิจกรรมอื่นๆ จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นเคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 72.1 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 27.9 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเคยเข้าร่วมการแข่งขันร้อยละ 61.5 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 38.5 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ย ระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 50.7 และไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 49.3 และผลการเรียน เฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นไม่เคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 78.8 และเคยเข้าร่วมแข่งขันร้อยละ 21.2 ตารางที่ 7 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการเข้าร่วมการแข่งขัน ไม่เคย เคย GPA 0.00 - 1.99 78.8% 21.2% GPA 2.00 - 2.49 49.3% 50.7% GPA 2.50 - 2.99 38.5% 61.5% GPA > 3.00 27.9% 72.1% รวม 38.8% 61.3% ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านการเป็นตัวแทนของโรงเรียนในการท้ากิจกรรมในโรงเรียน/นอกโรงเรียน พบว่า นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดี เป็นตัวแทนของโรงเรียนในการท้ากิจกรรมในโรงเรียน/นอกโรงเรียน จากกลุ่ม ตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 62.3 และไม่ตัวแทนของโรงเรียนร้อย ละ 37.7 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 58.1 และไม่ตัวแทน
ของโรงเรียนร้อยละ 41.9 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 44.8 และไม่ ตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 55.2 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 30.3 และไม่ตัวแทนของโรงเรียนร้อยละ 69.7 ตารางที่ 8 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการเป็นตัวแทนของโรงเรียน ไม่เคย เคย GPA 0.00 - 1.99 69.7% 30.3% GPA 2.00 - 2.49 55.2% 44.8% GPA 2.50 - 2.99 41.9% 58.1% GPA > 3.00 37.7% 62.3% รวม 44.5% 55.5% 5. การแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและปัจจัยครอบครัว ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนเฉลี่ย (Grade Point Average : GPA) ต่อปัจจัยพื้นฐานทาง ครอบครัว พบว่า นักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยดีได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 50 – 79 บาท จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียน เฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 60.6 รองลงมาคือ ได้รับเงินมา โรงเรียนจ้านวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 24.2 ได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 12.1 และได้รับเงินมา โรงเรียนจ้านวนมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 3.0 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียน จ้านวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 65.7 รองลงมาคือ ได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 25.4 ได้รับเงินมา โรงเรียนจ้านวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 7.5 และได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวนมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 1.5 และผลการ เรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 50.4 รองลงมาคือ ได้รับเงิน มาโรงเรียนจ้านวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 34.2 ได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 14.5 และได้รับเงิน มาโรงเรียนจ้านวนมากกว่า 110 บาท ร้อยละ 0.9 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไป คิดเป็นได้รับเงินมา โรงเรียนจ้านวน 20 – 49 บาท ร้อยละ 50.0 รองลงมาคือ ได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 50 – 79 บาท ร้อยละ 44.3 และ ได้รับเงินมาโรงเรียนจ้านวน 80 – 109 บาท ร้อยละ 44.4 ตารางที่ 9 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและเบี้ยเลี้ยงประจ้าวัน 20 – 49 บาท 50 – 79 บาท 80 – 109 บาท > 110 บาท GPA 0.00 - 1.99 12.1% 60.6% 24.2% 3.0% GPA 2.00 - 2.49 25.4% 65.7% 7.5% 1.5% GPA 2.50 - 2.99 34.2% 50.4% 14.5% .9% GPA > 3.00 33.3% 53.6% 13.1% 0.0%
รวม
20 – 49 บาท 50 – 79 บาท 80 – 109 บาท > 110 บาท 30.5% 55.3% 13.5% .8%
นักเรียนที่มีการเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองมีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่ า 3.00 ขึ้นไป มีการเดินทางด้วยตนเองคิดเป็นร้อยละ 35.5 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่งร้อยละ 29.0 และรถรับจ้างน้อยละ 23.0 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 40.2 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่งร้อยละ 23.1 และรถรับจ้างร้อยละ 22.2 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นเดินทางมา โรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 34.3 รองลงมาคือ ผู้ปกครองมาส่งและรถรับจ้างร้อยละ 20.9 ในอัตราเท่ากัน และเดินทางมา ด้วยรถโรงเรียนร้อยละ 14.9 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นเดินทางมาโรงเรียนด้วยตนเองร้อยละ 57.6 รองลงมาคือ รถรับจ้างร้อยละ 15.2 และอื่นๆ ร้อยละ 12.1 ตารางที่ 10 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและลักษณะการเดินทาง รถโรงเรียน รถรับจ้าง รถโดยสาร ผู้ปกครองมาส่ง เดินทางเอง อื่นๆ GPA 0.00 - 1.99 6.1% 15.2% 0.0% 9.1% 57.6% 12.1% GPA 2.00 - 2.49 14.9% 20.9% 3.0% 20.9% 34.3% 6.0% GPA 2.50 - 2.99 4.3% 22.2% 1.7% 23.1% 40.2% 8.5% GPA > 3.00 4.9% 23.0% 3.3% 29.0% 35.5% 4.4% รวม 6.5% 21.8% 2.5% 24.3% 38.5% 6.5% นักเรียนที่มีได้รับค้าปรึกษาจากพ่อแม่มีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้น ไป ได้รับ ค้า ปรึกษาจากพ่อแม่ คิดเป็น ร้อยละ 60.7 รองลงมาคือ ได้ รับ ค้าปรึกษาจากเพื่อนร้อยละ 25.1 และได้ รับ ค้าปรึกษาจากพี่น้องร้อยละ 10.4 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 2.99 คิดเป็นได้รับค้าปรึกษาจากพ่อแม่ร้อยละ 69.2 รองลงมาคือ ได้รับค้าปรึกษาจากเพื่อนร้อยละ 18.8 และได้รับค้าปรึกษาจากพี่น้องร้อยละ 8.5 และผลการเรียน เฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 คิดเป็นได้รับค้าปรึกษาจากพ่อแม่ร้อยละ 73.1 รองลงมาคือ ได้รับค้าปรึกษาจากเพื่อนร้อยละ 17.9 และได้รับค้าปรึกษาจากญาติร้อยละ 6.0 ขณะที่ผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 คิดเป็นได้รับค้าปรึกษาจาก พ่อแม่ร้อยละ 66.7 รองลงมาคือ ได้รับค้าปรึกษาจากเพื่อนร้อยละ 15.2 และได้รับค้าปรึกษาจากพี่น้องและญาติร้อยละ 9.1 ในอัตราเท่ากัน ตารางที่ 11 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการขอค้าปรึกษา พ่อแม่ ญาติ พี่/น้อง เพื่อน GPA 0.00 - 1.99 66.7% 9.1% 9.1% 15.2% GPA 2.00 - 2.49 73.1% 6.0% 3.0% 17.9% GPA 2.50 - 2.99 69.2% 3.4% 8.5% 18.8%
GPA > 3.00 รวม
พ่อแม่ 60.7% 65.8%
ญาติ 3.8% 4.5%
พี่/น้อง 10.4% 8.5%
เพื่อน 25.1% 21.3%
ผลการเรียนเฉลี่ยมีผลต่อปัจจัยทางด้านการได้รับรางวัล/ค้าชมเชยจากผู้ปกครอง พบว่า นักเรียนที่ได้รับรางวัล/ ค้าชมเชยจากผู้ปกครองมีผลการเรียนเฉลี่ยดี จากกลุ่มตัวอย่างผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.00 ขึ้นไปที่เคยได้รับรางวัล/ค้า ชมเชยจากผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 84.7 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยร้อยละ 15.3 รองลงมาคือ ผลการเรียนเฉลี่ย ระหว่าง 2.50 – 2.99 เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยจากผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 72.6 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยร้อย ละ 26.5 ต่อมาผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 2.00 – 2.49 เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยจากผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 64.2 และ ไม่เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยร้อยละ 35.8 และผลการเรียนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 – 1.99 เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยจาก ผู้ปกครองคิดเป็นร้อยละ 60.6 และไม่เคยได้รับรางวัล/ค้าชมเชยร้อยละ 39.4 ตารางที่ 12 ผลการแจกแจงข้อมูลแบบไขว้ระหว่างผลการเรียนเฉลี่ยและการได้รับรางวัล/ค้าชมเชย ไม่เคย เคย GPA 0.00 - 1.99 39.4% 61.6% GPA 2.00 - 2.49 36.8% 64.2% GPA 2.50 - 2.99 26.5% 72.6% GPA > 3.00 15.3% 84.7% รวม 24.0% 75.8% 6. ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง 2 แห่ง ในอ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ได้แก่ โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ และโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคม ประกอบด้วยประเด็นเกี่ยวกับ สิ่ง อ้านวยทางกายภาพ บุคลากรทางการศึกษา หลักสูตรการเรียนการสอน และความเหลื่อมล้้าทางการศึกษา ดังตารางที่ 13 ตารางที่ 13 สรุปความแตกต่างของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอ้าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประเด็นการสัมภาษณ์ เชียงแสนวิทยาคม บ้านแซววิทยาคม 1. สิ่งอ้านวยความสะดวกด้านกายภาพ 1.1 สิ่งอ้านวยสะดวกทางด้าน + สิ่งอ้านวยความสะดวกเพิ่มขึ้น เนื่องด้วย - โรงเรียนขนาดใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่ กายภาพที่สง่ เสริมการเรียน อัตราการเพิ่มขึ้นของนักเรียน ทันสมัย โดยทางโรงเรียนต้องใช้ต่อจาก การสอน (เช่น ห้องสมุด - ขนาดห้องสมุดกับจ้านวนนักเรียน (3,000 โรงเรียนขนาดใหญ่ จึงท้าให้เครื่องเกิด ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ คน) ไม่เพียงพอ การล้าสมัย ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ) + ใช้เทคโนโลยีเข้ามาเสริม โดยในแต่ละกลุ่ม + มีกล้องจุลทรรศน์
ประเด็นการสัมภาษณ์
เชียงแสนวิทยาคม สาระจะมีคอมพิวเตอร์ส้าหรับการสืบค้น - โรงอาหารไม่เพียงพอต่อจ้านวนนักเรียน +/- มีห้องปฎิบัติการวิทยาศาสตร์ แต่ยังไม่ สมบูรณ์ ก้าลังจะได้รับการพัฒนา
1.2 สิ่งอ้านวยความสะดวก ทางด้านกายภาพที่เป็น จุดเด่นของโรงเรียน และมี ความแตกต่างโรงเรียนอืน่ 1.3 ระบบรักษาความ +/- มีกล้องวงจรปิด แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ ปลอดภัย (อาทิ สารวัตร ของโรงเรียนทั้งหมด นักเรียน กล้องวงจรปิด รปภ.) + มีสภานักเรียน และรปภ. ช่วยในการ สอดส่องดูแลนักเรียน + มีบัตรประจ้าตัวนักเรียน เพื่อเข้า-ออก โรงเรียน
1.4 งบประมาณในการสร้าง สิ่งอ้านวยความสะดวกเพื่อ การเรียนการสอน
บ้านแซววิทยาคม
+ มีการจ้างยามเมื่อต้นปีการศึกษา 2560 โดยเงินได้มาจากการสนับสนุน จากผู้ปกครอง + /- กล้องวงจรปิดมี 7 ตัว ถ้า เปรียบเทียบกับโรงเรียนด้ารงราษฎร์นุ เคราะห์ที่มีอยู่ 70 ตัว ถือว่าค่อนข้างน้อย แต่โรงเรียนไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อ เพิ่มเติม - ไม่มีสารวัตรนักเรียน. มีแต่ครูที่ดูแล นักเรียน - ไม่ มี ก ารเก็ บ เงิ น เพิ่ ม จากผู้ ป กครอง ด้ ว ย - ตอนนี้มี นักเรียนทั้งหมด 365 คน ตาม จ้ า นวนนั ก เรี ย นที่ ม าก ท้ า ให้ ง บประมาณ สัดส่วนของนักเรียนถือว่าเป็นโรงเรียน สูงขึ้น ขนาดเล็ก โดยเงินที่ได้รบั การสนับสนุน + มี ห ล ากหลา ยโครง การที่ ส นั บ สนุ น จากภาครัฐรายหัว 3,500 หรือ 3,800 งบประมาณให้แก่โรงเรียน บาท ฉะนั้น ถ้าโรงเรียมที่มีนักเรียน จ้านวนมาก จะได้รับงบประมาณ สนับสนุนมาก จึงเป็นผลให้ทางโรงเรียน ได้รับงบประมาณมาซื้อสิง่ อ้านวยสะดวก ทางด้านกายภาพน้อย และท้าให้เกิดขาด แคลนจ้านวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับ บริจาคจาก รร. ขนาดใหญ่ เช่น คอมพิวเตอร์ - การใช้เงินในการพัฒนาค่อนข้างจ้ากัด โดยมีงบประมาณในส่วนของ ดูแลอาคาร สถานที่ สาธารณูปโภค เป็นจ้านวนมาก
ประเด็นการสัมภาษณ์
2. บุคลากรทางการศึกษา 2.1 ความเพียงพอของ บุคลากรทางการศึกษา
2.2 หลักสูตรอบรมการเรียน การสอน หรือการพัฒนา ตนเองให้กับครู
2.3 การมีครูที่สอนตรงตาม สาขาที่เชีย่ วชาญ 2.4 การมีครูช้านาญการ พิเศษ
เชียงแสนวิทยาคม
บ้านแซววิทยาคม แต่การจัดซื้ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์น้อย และเก็บได้ไม่นาน
- จ้านวนครูตามก้าลังขาดแคลน ตามจ้านวน นักเรียนต่อครู 30 คน ต่อ ครู 1 คน ทาง โรงเรียนมีนักเรียน 45 คน ต่อ ครู 1 คน ด้วย สาเหตุที่ 1 คือ จ้านวน นักเรียนเพิ่มขึ้นทุกปี และสาเหตุที่ คือ ครูที่ไม่ใช่คนในพื้นที่ก็ยา้ ย ออกไปเมื่อครบวาระ ปัจจุบนั นีด้ ีขึ้น เพราะ ครูผู้ช่วยได้ถูกก้าหนดให้อยู่ในพืน้ ที่ทั้งหมด 4 ปี เพิ่มขึ้นจากเดิม 2 ปี จึงจะสามารถย้าย ออกไปอยู่ที่อื่นได้ - ปัจจุบนั นักเรียนอยู่ที่ประมาณ 3,000 คน โดยที่โรงเรียนต้องการลดเหลือเพียงแค่ ประมาณ 2,500 – 2,700 คน + มีคูปองคนละ 10,000 บาท ส้าหรับส่งครู ไปอบรมพัฒนาตนเอง
+ มีครูทั้งหมด 20 ท่าน จ้านวนครูที่มีใน ปัจจุบนั เพียงพอ และผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน - ที่ผ่านมามีจา้ นวนครูมากกว่านี้ แต่มี จ้านวนลดลง เนื่องจากมีการย้ายออกไป สอนที่อื่น
+ มีการส่งครูไปอบรมและพัฒนา บุคลากรอย่างสม่้าเสมอ ในกลุ่มเครือข่าย ความร่วมมือ ได้แก่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวง, จังหวัดเชียงราย และ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย - มีการน้าครูเคมีไปสอนวิชาสังคม ที่ครู สามารถสอนได้
+ ปัจจุบันไม่มีการสอนข้ามกลุ่มสาระ แต อดีตมีการสอนแนะแนวข้ามกลุม่ สาระ - ครูหนุ่ม สาว เยอะ จึงไม่ค่อยมีการแข่งขัน กันเพื่อขอวิทยาฐานะ ท้าให้การขอวิทยฐานะ ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของแต่ละคน - กฎหมายยังไม่ออกบังคับให้มีการประเมิน ครูวิทยฐานะ 2.5 การจ้างครูต่างชาติเข้ามา +/- มีการจ้างครูต่างชาติ แต่ยงั ไม่เพียงพอ - ไม่มีงบประมาณเพียงพอที่จะไปจ้าง สอน + แต่เดือนสิงหาคม จะมีนักศึกษาจาก ประเทศเยอรมัน มาเป็นครูอาสาฝึกสอน ที่โรงเรียน
ประเด็นการสัมภาษณ์ เชียงแสนวิทยาคม 2.6 การประเมินครูจาก - มีการประเมินครูผู้ช่วยเท่านัน้ หน่วยงานภายนอก 3. หลักสูตรและกระบวนการการเรียนการสอน 3.1 กิจกรรมเสริมส้าหรับการ +/- คะแนน O-NET อยู่ในระดับที่เหมาะสม พัฒนาผลการเรียน (เช่น การ เนื่องจากไม่ได้คัดเลือกนักเรียน เตรียมความพร้อมส้าหรับ - เคยมีการติวพิเศษ O-NET และ GAT/PAT สอบ O-NET, A-NET, GAT, + การติว O-NET ปัจจุบันเป็นเป็นหน้าที่ของ PAT หรือตามรายวิชา) ครู ส่วน GAT-PAT เป็นวิทยากรภายนอก
บ้านแซววิทยาคม
+/- คะแนน O-NET อยู่ในระดับกลางไป ยังท้าย โดยส้านักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มัธยมศึกษา (สพม.) เขต 36 มีจ้านวน ทั้งหมด 59 โรงเรียน ซึ่งทางโรงเรียนอยู่ ในอันดับ 40 กว่า + มีโครงการสอนพิเศษ โดยก้าชับครู สอนตั้งแต่เปิดเทอม เนื่องจากนักเรียน ไม่ได้ถูกคัดมา โดยเป็นโรงเรียนใน โครงการพิการเรียนร่วม และมีนักเรียนที่ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แต่ขอให้มีการ พัฒนาและสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมใน การอย่างมีความสุข คือ เป้าหมาย + เน้นวินัยควบคู่กบั วิชาการ และการมี จิตอาสา + โรงเรียนได้ชนะเลิศการช่วยเหลือและ ดูแลเด็กอย่างดี + มีการสอนเสริมเด็กที่อ่านไม่ออก เขียน ไม่ได้ โดยมีกลุ่มสาระภาษาไทยเข้าเป็น แกนน้า + มีการคัดกรอกงเด็กที่อ่านไม่ออกเขียน ไม่ได้ ออกจากเด็กทั่วไป - เคยมีพี่เลี้ยงส้าหรับเด็กพิการ
3.2 หลักสูตรพิเศษ (เช่น - มีห้องเรียนพิเศษ ได้แก่ gifted + ไม่มีห้องเรียนพิเศษ English Program, Trilingual Program เป็นต้น) 3.3 การมีอิสระในการพัฒนา +/- มีอิสระในการปรับหลักสูตร ตามห้อง - ยึดหลักสูตรแกนกลางเป็นหลัก และปรับปรุงหลักสูตรการ พิเศษ แต่ยังขาดผู้เชี่ยวชาญ จึงค่อยๆปรับไป + มีการเสริมหลักสูตรท้องถิ่น เข้าไปให้
ประเด็นการสัมภาษณ์ เรียนการสอนในอนาคต
เชียงแสนวิทยาคม
บ้านแซววิทยาคม เรื่อย เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น มีการวิทยากร - ยึดหลักสูตรแกนกลางเป็นหลัก ท้องถิ่น เรื่องของการเกษตร ท้าไร่ ท้า สวน การฝีมือ หัตถกรรม 3.4 ความร่วมมือกับ + โครงการส่งเสริมระเบียบวินัย ด้านความ + มีความร่วมมือมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หน่วยงานภายนอก อาทิ ตรงต่อเวลา ร่วมกับทางมหาวิทยาลัน หลวงในการวิจัย เช่น การท้าโครงงาน ภาคเอกชน ภาครัฐ เชียงใหม่ วิทยาศาสตร์ สถาบันการศึกษาอื่นๆ + มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยพะเยา และ + มีภาคเอกชน ให้การสนับสนุนด้าน แม่ฟ้าหลวง ทุนการศึกษา + ท้าความร่วมมือกับ องค์การเทศบาล ต้าบลโป่งงาม + ได้รับงบประมาณด้านอาหารจาก โรงพยาบาลสุขภาพ + ต้ารวจได้เข้ามาช่วยตรวจสอบความ เรียบร้อย และความปลอดภัย 3.5 การส่งเสริมความเป็นเลิศ + มีการส่งเสริมให้ไปแข่งขันทางวิชาการ + มีการส่งเสริมให้ไปแข่งขันทางวิชาการ ด้านวิชาการ ตามที่มีการแจ้งหนังสือมายังต้นสังกัด 3.6 กิจกรรมแข่งขันทาง + มีการเข้าร่วมแข่งขัน ตั้งแต่ระดับเขต + มีจัดกีฬาสี วิชาการ กีฬา หรือศิลปะ ระดับภูมิภาค ไปจนถึงระดับชาติทุกปี ทั้ง + มีการแข่งขันวิชาการ ด้านศิลปะ ดนตรี และเพิ่งกีฬา โดยมีตัวแทน นักกีฬา/ไตรกีฬา 3.7 การมีส่วนร่วมของ + มีสมาคมผู้ปกครอง + ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแล ผู้ปกครอง นักเรียน + มีการระดมทรัพยากร และ งบประมาณส้าหรับค่าบ้ารุงรักษา + มีการเปิดเผยผลการเรียนให้แก่ ผู้ปกครอง ทางเว็บไซต์ และมีตดิ ประกาศ และวันประชุมผูป้ กครอง 4. ความคิดเห็นต่อความเหลื่อมล้าทางการศึกษา 4.1 ความเหลื่อมล้้าภายใน + มีความแตกต่างจากโรงเรียนในเมือง + ในโรงเรียนไม่มีความเหลื่อมล้า้ เรา โรงเรียน โดยทั่วไป ทั้งในด้านของเชื้อชาติ และชนชาติ จัดการเรียนการสอนให้เกิดความเท่า โดยตามกฎหมายได้ให้โอกาสแก้ทุกชนชัน้ เทียม ถ้าจะเกิดความเหลือมล้้าเกิดขึน้ ก็
ประเด็นการสัมภาษณ์
เชียงแสนวิทยาคม ฉะนั้น โรงเรียนไม่สามารถที่จะเลือกปฏิบัติ ถ้าตามตรงกับคุณสมบัติ ก็สามารถเข้ามา เรียนได้ + เปิดโอกาสให้กับนักเรียนทุกชนชาติ เป็น ประตูสู่อาเซียน เป็นนโยบายลดความเหลื่อม ล้้า โดยให้การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นเท่ากัน แต่สามารถแยกเป็นสาย สามัญ หรือสายอาชีพได้ตอนขึ้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย + ให้พื้นฐานการเรียนเท่ากันหมดทุกคน และ ในช่วงม.ปลาย โดยให้โอกาสทางเข้า การศึกษามากขึ้น โดยมีหลักสูตรวิทย์-คณิต, ศิลป์-ภาษา และสายอาชีพโดยในวุฒิ ม.6 กับ ปวช. มี 3 สาขา ได้แก่ ก่อสร้าง ไฟฟ้าก้าลัง และอุตสาหกรรมเกษตร เป็นโครงการน้าร่อง เป็นโครงการส้าคัญที่จะลดความเหลื่อมล้้า เนื่องจากมีหลากหลายโครงการเริ่ม ปี 2560 เป็นปีแรก ถือเป็นโอกาสทางการศึกษา + ตามแผนแม่บท คือ การไม่เลือกชนชาติ และชนชัน้ ตลอดจนเป็นโรงเรียนที่เปิดประตู สู่อาเซ๊ยน หรือ Education hub
4.2 ความเหลื่อมล้้าระหว่าง โรงเรียน
หมายเหตุ: + คือ ปัจจัยเชิงบวก – คือ ปัจจัยเชิงบวก +/- คือ ก้ากึ่ง
บ้านแซววิทยาคม เกิดจากขีดความสามารถในการพัฒนา ตนเองของนักเรียน + ไม่มีการดูแลเด็กกลุ่มใดเป็นพิเศษ - เด็กส่วนใหญ่ไม่มีสัญชาติ ซึ่งไปเรียน สายอาชีพเกือบทั้งหมด เพราะกลัวว่า เรียนหากเลือกที่จะเรียนต่อมัธยมศึกษา ปีที่ 6 กลัวจะไม่มีใครรับเรียน หรือเข้า ท้างาน เพราะไม่มีสัญชาติ - เด็กที่มาเรียนส่วนใหญ่เน้นเข้าสาย อาชีพ เนื่องจากส่วนใหญเป็นเด็กชนเผ่า มาเรียน มีอยู่ 10 ชนเผ่า จ้านวนมาก ที่สุด คือ ไทใหญ่ และอาข่า
- มีความเหลื่อมล้้ากับโรงเรียนขนาดใหญ่ ที่มีอุปกรณ์การเรียนพร้อม + ถึงแม้ว่าจะไม่มีอุปกรณ์การเรียนที่ ทันสมัยหรือวิชาการที่เข้มข้น แต่แก้ไข ด้วยการส่งเสริมทักษะการใช้ชีวติ และ การด้ารงอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุข และเน้นในด้านการเกษตร ทักษะกีฬา + โรงเรียนมีกลุ่มงานการอาชีพที่เปิด สอนและสามารถไปใช้ต่อได้
การอภิปรายผล 1. ปัจจัยด้านตัวผู้เรียน อายุที่เพิ่มขึ้นส่งผลต่อการลดลงของผลการเรียน ขณะที่เพศหญิงมีผลการเรียนที่สูงกว่าเพศชาย ทั้งนี้ นักเรียนที่ทบทวนบทเรียนอยู่ระหว่าง 30 นาที – 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ มีผลการเรียนที่ดีกว่านักเรียนที่ทบทวน น้อยกว่า 30 นาที หรือครึ่งชั่วโมง อย่างไรก็ตาม เด็กที่มาโรงเรียนสายกลับมีผลการเรียนสูงกว่าเด็กที่มาโรงเรียนก่อน หรือตรงต่อเวลา นอกจากนี้ การเข้าร่วมแข่งขันต่างๆ และการเป็นตัวแทนโรงเรียน ท้าให้นักเรียนมีผลการเรียนที่ดี 2. ปัจจัยด้านครอบครัว การที่เด็กได้รับเงินไปโรงเรียนในแต่ละวันมาก ท้าให้ผลการเรียนแย่ลง ขณะเดียวกัน การที่เด็ก เดินทางมากับรถรับจ้าง หรือ มีผู้ปกครองมาส่ง จะท้าให้มีผลการเรียนที่ดีกว่าเดินทางมากับโรงเรียน นอกจากนั้น การ ที่เด็กไปขอค้าปรึกษากับเพื่อนจะได้ให้เด็กมีผลการเรียนที่สูงกว่าขอค้าปรึกษาจากผู้ปกครอง มากกว่านี้ เด็กจะมีผล การเรียนที่ดี หากได้รับรางวัล หรือการชมเชยจากผู้ปกครอง 3. ความแตกต่างระหว่างโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ และโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคม 3.1. สิ่งอ้านวยความสะดวกทางกายภาพ พบว่า โรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคมไม่ได้ขาดแคลนด้านทรัพยากรที่ส้าคัญต่อ การเรียนรู้ของนักเรียน อาทิ คอมพิวเตอร์ แต่ได้รับช่วงต่อมาจากโรงเรียนขนาดใหญ่อีกที ท้าให้เครื่องที่ได้รับมา เกิดการล้าสมัย ขณะที่โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์มีสิ่งอ้านวยความสะดวกจ้านวนมาก แต่ไม่เพียงพอ เพราะมีนักเรียนเป็นจ้านวนมาก รวมไปถึงความไม่เพียงพอของงบประมาณในปัจจุบัน ส่วนโรงเรียนถ้้าปลา วิทยาคมมีงบประมาณในการก่อสร้างสิ่งอ้านวยความสะดวก ตลอดจนซื้ออุป กรณ์ต่า งๆ เช่ น อุปกรณ์ทาง วิทยาศาสตร์ ที่ค่อนข้างจ้ากัด เพราะมี จ้านวนนักเรียนน้อย ท้าให้ได้รับงบประมาณตามรายหัวจากส่วนกลาง น้อยตามลงไป 3.2. บุค ลากรทางการศึกษา แม้ โ รงเรียนถ้้า ปลามี นั กเรีย นจ้ า นวนน้ อย แต่ก็มี จ้ า นวนครูที่ เพี ย งพอ ตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ส่วนกลางก้าหนด ทั้งนี้ โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ จึงมีจ้านวนนักเรียน มาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในทุกปี ท้า ให้เกิดการขาดแคลนครู โดยมีการลดลงของจ้านวนครูของทั้งสอง โรงเรียน จากสาเหตุของครูที่เข้าสอนในพื้นที่ในระยะเวลาอันสั้น และย้ายออกไปสอนในพื้นที่อื่น อย่างไรก็ตาม ทางส่วนกลางได้มีการปรับเปลีย่ นข้อก้าหนดให้ขยายเวลาจาก 2 ปี เป็น 4 ปี ส้าหรับการขอเลื่อนวิทยฐานะ ทาง โรงเรียนแม่ประสิทธิ์ มีการส่งผลงานของครูจ้านวนน้อย เนื่องด้วยมีครูหนุ่มสาวจ้านวนมาก ท้าให้ไม่เกิดการ แข่งขัน นอกจากนี้ ทั้งสองโรงเรียนไม่มีงบประมาณเพียงพอในการจ้างครูต่างชาติเข้ามาสอน แต่โรงเรียนถ้้าปลา วิทยาคมมีครูฝึกสอนที่อาสาเข้ามาแทน ส่วนการประเมินครู โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์มีส้าหรับครูผู้ช่วยเท่านั้น 3.3. หลักสูตรกระบวนการการเรียนการสอน ทั้งสองโรงเรียนมีการจัดติวพิเศษส้าหรับการสอบ O-NET และ GAT PAT โดยมีค่าคะแนนที่เหมาะสม หรืออยู่ในระดับกลาง โดยทางโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์มีห้องเรียน พิเศษ แต่โรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคมไม่มี ในด้านความอิสระในการบริหารหรือปรับปรุงหลักสูตร โรงเรียนแม่สาย ประสิทธิ์มีหลักสูตรเพิ่มเติมจากหลักสูตรแกนกลาง คือ ห้องเรียนพิเศษ ขณะที่โรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคมมีการ เสริมหลักสูตรที่เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งท้าการเชิญวิทยากรท้องถิ่นมาให้ความรู้ในด้านเกษตรกรรม และการงาน ต่างๆส้าหรับการใช้ชีวิต ในด้านการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ ทั้งสองโรงเรียนได้ท้าการส่งนักเรียนไป แข่งขันในระดับต่างๆ โดยเฉพาะโรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์ที่มีการสนับสนุนด้านกีฬาค่อนข้างมาก ในด้าน
ของการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ทางโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคม ได้ให้ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล ช่วย ในการระดมงบประมาณเพิ่มเติมส้าหรับการบ้ารุงรักษา และได้เปิดเผยผลการเรียนให้ผู้ปกครองติดตามทาง อินเตอร์เน็ต ขณะที่โรงเรียนแม่สายประสิทธิ์ศาสตร์มีชมรมผู้ปกครอง 3.4. ความเหลื่อมล้้าทางการศึกษา ส้าหรับความเหลื่อมล้้าภายใน ทางแม่สายประสิทธิ์มีนโยบายที่ถูกจัดท้าเป็นแผน แม่บทอย่างชัดเจนไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติ ต้องรับนักเรียนเข้ามาทุกชนชาติ และทุกชนชั้น เปิดโอกาสให้กับทุก คนที่ต้องการเข้ามาศึกษา ตลอดจนให้การเรียนการสอนอย่างเท่าเทียม ส่วนโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคม มีนักเรียน ไร้สัญชาติเป็นจ้านวนมาก แต่ทางโรงเรียนก็ให้การศึกษาอย่างเท่าเทียม โดยที่เด็กกลุ่มนี้จะเลือกไปทางสาย อาชีพมากกว่าสายสามัญ เพราะไม่สามารถเรียนต่อมหาวิท ยาลัย หรือเข้าท้างาน เมื่อไม่ถูกรับรองว่าเป็นชาว ไทย ซึ่งในโรงเรียนถ้้าปลาวิทยาคมมีเด็กชนกลุ่มน้อยกว่า 10 เผ่า ส้าหรับความเหลื่อมระหว่างโรงเรียน แม่สาย ประสิทธิ์ศาสตร์ไม่พบความเหลื่อมล้้า เนื่องด้วยเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ที่สุดในอ้าเภอ หากแต่โรงเรียนถ้้าปลา วิทยาคมมองว่ามีความเหลื่อมล้้ากับโรงเรียนขนาดใหญ่ในด้านของอุปกรณ์การเรียนการสอนที่มีความพร้อม แต่ ทางโรงเรียนก็พยายามที่จะแก้ไขปัญหาด้วยการเสริมสร้างทักษะในการใช้ชีวิตอื่นๆแทน ข้อเสนอแนะ ผลการเรียนในช่วงของการเรียนมัธยมศึกษาอาจจะเป็น ส่ว นหนึ่ง ที่ท้ าให้เด็ กประสบความส้ าเ ร็จ ในอนาคต หากแต่ในบางบริบท เด็กก็ไม่สามารถที่จะก้าวข้ามความเป็นจริงถึงการขาดโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรการเรียนรู้อย่าง เท่าเทียม โดยเฉพาะเด็กที่อยู่บริเวณชายขอบชายแดนอย่างอ้าเภอแม่สาย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรับรองสัญชาติไทย ท้า ให้เสียโอกาสที่จะไปสู่สายสามัญ ซึ่งนั้นก็เป็นปัญหาส้าหรับประเทศที่ต้องขาดบุคลากรที่มีความสามารถในการพัฒนา ประเทศชาติให้เติบโตไปข้างหน้า นอกจากนั้น การเรียนรู้อาจไม่ใช่เพียงการมีผลการเรียนที่ดี แต่โรงเรียนควรที่จะให้ ความส้าคัญกับการออกไปใช้ชีวิตภายนอกของเด็ก ตลอดจนการใช้ชีวิตให้มีความสุขท่า มกลางสภาพแวดล้อมภายนอกที่มี ความหลากหลาย และแตกต่างไปจากขอบเขตของโรงเรียน รวมทั้งควรมีระบบการประเมินครูที่ยืดหยุ่นมากกว่าการยึดกับ ผลการเรียนของเด็ก เช่น การจัดกิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ เป็นต้น ส้าหรับหน่วยงานการศึกษาส่วนกลางควร สนับสนุนงบประมาณให้กับโรงเรียนขนาดเล็กมากขึ้น เพื่อท้าให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรทางการศึกษาได้อย่าง เท่าเทียมกัน เพื่อช่วยลดช่องว่างทางการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่และโรงเรียนขนาดเล็ก ส่วนผู้ปกครองควรที่จะ ให้ความใส่ใจกับลูก โดยมีการให้รางวัลหรือการชมเชย หากลูกได้ผลการเรียนที่ดี หรือได้รับเลือกให้เป็นตัวแทนโรงเรียน หรือเข้าร่วมแข่งขันทางวิชาการ กีฬา และอื่นๆ เอกสารอ้างอิง Dilaka Lathapipat and Lars M. Sondergaard. (2015). Thailand - Wanted: a quality education for all. Washington, D.C.: World Bank Group. Hanushek, E. A. (1979). Conceptual and empirical issues in the estimation of educational production function. Journal of human resources, Volume 14 Issue 3, 351–388.
Hanushek, E. A. (2002). Publicly provided education. In A. J. Auerbach & M. Feldstein (Eds.). Handbook of public economics, Volume 4, 2045–2141. Amsterdam: Elsevier. Jirada Prasartpornsirichoke and Yoshi Takahashi (2013) Assessing Inequalities in Thai Education. Journal of east Asian studies, Volume 18, 1-26. Thai Journals Online (ThaiJO). Kiatanantha Lounkaew. (2013). Explaining urban–rural differences in educational achievement in Thailand: Evidence from PISA literacy data. Economic of Education Review 37, 213-225. แบ๊งค์ งานอรุณโชติ และถิรภาพ ฟักทอง. (2555). สูง ต่้า ไม่เท่ากัน: ท้าไมระบบการศึกษาจึงสร้างความเหลื่อมล้้า. หนังสือชุดถมช่องว่างทางสังคมล้าดับ 3. เครือข่ายถมช่องว่างทางสังคม ส้านักงานคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ. นนทบุรี: ส้านักพิมพ์ศยาม. ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์. (2555). ผลกระทบของการสร้างความรับผิดชอบทางการศึกษาต่อสัมฤทธิผลของนักเรียนไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจ้าปี 2554. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. นณริ ฎ พิ ศ ลยบุ ต ร. (2559). ความเหลื่ อ มล้้ า ทางการศึ ก ษาของไทย : ข้ อ สรุ ป จากผลการสอบปิ ซ่ า (PISA). สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์. (2560). ปฏิรูปการศึกษาไทยแล้วไปไหน. สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. ค้นหาจาก http://tdri.or.th/tdri-insight/2017-01-12. อัม มาร สยามวาลา, ดิ ล กะ ลั ท ธพิ พั ฒ น์ และสมเกีย รติ ตั้ ง กิจ วานิ ย์ . (2555). การปฏิรูป การศึ กษารอบใหม่ : สู่ การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการประจ้าปี 2554 ของสถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศไทย.