จับประเด็นเศรษฐกิจเชียงราย
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ ไวรัสโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจ เชียงราย ด้านการค้าชายแดน และการท่องเที่ยว
26 กุมภาพันธ์ 2563 พรพินันท์ ยี่รงค์ การระบาดของไวรัสสายพันธุ์ ใหม่ ‘Coronavirus’ หรือ COVID-19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน ของเศรษฐกิจมากกว่าที่ใครจะคาดคิด โดยนักเศรษฐศาสตร์จาก Oxford ได้คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจของโลก จะเติบโตลดลงร้อยละ 1.3 หรือสูญเสียรายเป็น มูลค่าประมาณ 1.1 พั นล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2020 นี้ (Guardian, 19 Feb 2020) ดังนั้น การเกิดขึ้น ของโรคระบาดชนิดใหม่ในครั้งนี้น่าจะส่ งผลกระทบอย่ าง รุนแรง และยาวนาน ซ้้าเติมเศรษฐกิจโลกที่ก้าลังอยู่ในภาวะชะลอตัว ในระดับของเมืองขนาดเล็กอย่างจังหวัดเชียงรายเอง ก็ได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน โดยจากข่าวสารที่ถูก น้าเสนอออกมาในช่วงปลายปี 2562 และช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2563 จะเห็นถึงผลกระทบใน 2 ด้านหลัก ประกอบด้วย ผลกระทบต่อการค้าชายแดน และการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นภาคส่วนที่มีความส้าคั ญต่อ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายอย่างมาก ผลกระทบต่อการค้าชายแดนเชียงราย สถานการณ์การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงรายในปีพ.ศ.2562 มีการขยายตัวสูงขึ้นร้อยละ 3.23 จากปีก่อน ซึ่งมูลค่าการน้าเข้า มีการขยายตัวที่สูงกว่าการส่งออกอย่างมาก นั้นเป็นผลจากการที่การส่งออกไปประเทศ เพื่อนบ้านอย่างสปป.ลาวมีการมูลค่าลดลงกว่าร้อยละ 30 ขณะที่การส่งออกไปจีนตอนใต้มีการขยายตัวกว่า ร้อยละ 50 โดยเฉพาะสินค้าเกษตรขั้นต้น (ประเภทผัก ผลไม้สดและแช่แข็ง เช่น ล้าไย ยางพารา ข้าว เป็น ต้น ส้าหรับในด้านของการน้าเข้ามีการขยายตัวได้ดี โดยเฉพาะการน้าเข้าสินค้าแร่ โลหะอื่นๆจากเมียนมา สาเหตุส้าคัญที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกไปสปป.ลาวมาจากการที่เงินบาทของไทยแข็งค่า อย่างต่อเนื่องใน ระยะที่ผ่านมา จึงท้าให้ผลตอบแทนจากก้าไรเมื่อแลกเปลี่ยนเงินตราของผู้ประกอบการลดลง อย่างไรก็ดี ความต้องการบริโภคสินค้าของไทยในสปป.ลาว หรือเมียนมา ยังคงเป็นที่ต้องการอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น การค้าชายแดนยั งได้ รั บ ผลกระทบเรื้ อรังจากสงครามการค้ าระหว่างจีน -สหรัฐ และการชะลอตั ว ทาง เศรษฐกิจของโลก ท้าให้กิจกรรมการค้าชายแดนเริ่มเข้าสู่ภาวะซบเซา และสินค้าเริ่มมีการไหลเวียนสู่พื้นที่ ชายแดนลดลง เมื่อความเก่ายังไม่ห าย ปัญ หาการระบาดของไวรัส COVID-19 ที่มีต้นเหตุส้าคัญ มาจาก ประเทศคู่ค้าหลักของไทยอย่างประเทศจีน ซ้้าเติมให้เกิดการหดตัวอย่างรุนแรงของการค้าชายแดน
แม้ว่าทางอธิบ ดีก รมการค้า ต่า งประเทศจะออกมาบอกว่าไวรัส โควิด -19 จะไม่ส่ งผลกระทบต่อการค้า ชายแดน หากแต่การหดตัว ทางเศรษฐกิจเป็นผลมาจากค่าเงินบาทที่แข็งตัวเป็นหลัก และปัจจัยอื่นๆ อาทิ การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ความยืดเยื้อของสงครามการค้า และการขาดเสถียรภาพของค่าเงินของแต่ ละประเทศในภู มิภ าค (ฐานเศรษฐกิจ , 22 กุมภาพัน ธ์ 2563) อย่างไรก็ตามทางศูน ย์วิจัยกสิ กรไทย (6 กุมภาพันธ์ 2563) กลับมองว่าหากสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ยืดระยะเวลานานถึง 1-3 เดือน อาจจะส่งผลให้ เศรษฐกิจไทยได้รับผลกระทบอย่างมาก โดยเฉพาะผลกระทบต่อการส่ งออก สินค้าขั้นกลางไปจีน และกระทบต่อการน้าเข้าวัตถุดิบจากจีนที่ส้าคัญอย่างมากต่อภาคการผลิตของไทย มากกว่านี้ ทางรองประธานหอการค้า จังหวัดเชียงราย ฝ่ายกิจการค้าชายแดน ได้ออกมาเปิดเผยว่า ตั้งแต่ ช่วงตรุษจีนที่ผ่านมาไม่มีชาวจีน เข้ามาตามด่านชายแดนจังหวัดเชียงราย (ด่านแม่สาย เชียงแสน และเชียง ของ) ซึ่งส่งผลกระทบต่อการค้าชายแดนด้านจังหวัดเชียงรายค่อนข้างมาก ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 26 มกราคม 2563 เป็นต้นมา ทางการจีนไม่อนุญาตให้บุคคลภายนอกที่ไม่ใช่สัญชาติจีนเดินทางเข้าออกด่านพรมแดนบ่อ เต็น -บ่อหานที่เป็น รอยต่อระหว่างสปป.ลาวและจีน แต่ก็ไม่ได้ถูกสั่งปิดจากทางการจีน เป็นผลให้ สินค้า ประเภทผักและผลไม้ที่ส่งออกผ่านเส้นทาง R3A ต้องหยุดชะงักอยู่ที่ด่านบ่อเต็นเป็นระยะเวลานานหลาย เดือน ในอีกด้านหนึ่ง คือ การขนส่งผ่านเส้นทางแม่น้าโขง ตั้งแต่เ กิดปัญหาการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 ได้มีการคุมเข้มบริเวณของท่าเรือสบโหลยในฝั่งประเทศเมียนมาต่อการเข้าออกของชาวจีน ท้าให้ไม่มี การขนส่งสินค้าในแม่น้ าโขงหยุดชะงักไม่ต่างกับการขนส่งทางบก อย่างไรก็ตาม หลังวันที่ 31 มกราคม 2563 ด่านชายแดนบ่อเต็นก็ได้รับการผ่อนปรนให้รถบรรทุกสินค้าจากจีนมารับสินค้าไทย เพื่อขนส่งสินค้า กลับไปที่มณฑลยูนนานของประเทศจีนทางตอนใต้ รูปที่ 1 สถิติมูลค่าการค้าชายแดนรวมและแยกประเทศของจังหวัดเชียงรายปีพ.ศ. 2558-2562 มูลค่าการค้าชายแดนแยกประเทศคู่ค้า
60,000
10%
60,000
50,000
8%
50,000
40,000
6%
30,000
4%
20,000 10,000 0 2558 2559 2560 2561 2562 Export
Import
%YoY
Million Baht
Million Baht
มูลค่าการค้าชายแดนรวม
40,000 30,000 20,000
2%
10,000
0%
0 2558 Myanmar
2559 Lao PDRs
2560
2561
2562
South China
ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ (2563) ทั้งนี้ จากการสัมภาษณ์ ลงพื้นที่ส้ารวจ และสอบถามจากผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องกับขนส่งสินค้าในพื้นที่ ชายแดนทั้ง 3 อ้าเภอ พบว่าไวรัส COVID-19 ได้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ชายแดนทั้งหมด โดยเฉพาะต่อการ ขนส่งสินค้าข้ามแดนไปประเทศจีนตอนใต้ ดังนี้
อ าเภอแม่ ส าย - จากการลงส้ ารวจพื้ น ที่ ข องนั ก วิจั ย Be Logist1 ซึ่ งได้ ท้ าการสั ม ภาษณ์ ด่ า น ศุลกากรแม่สาย พบว่า ภาวะเศรษฐกิจอยู่ในช่วงชะลอตัว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการค้าชายแดนอย่าง มาก สินค้าที่เคยท้าการส่งออกและน้าเข้ามีปริมาณลดลง ผู้ประกอบการน้าเข้า -ส่งออกไม่มีการ กักตุนหรือสต็อกสินค้าเหมือนในอดีต แต่มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปเป็นการน้าสินค้ามาจ้าหน่ายให้หมด ก่ อ นจะสั่ งซื้ อ สิ น ค้ าจากผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ใหม่ ท้ าให้ สิ น ค้ าไม่ เกิ ด การไหลเวีย นดั งเช่ น เคย ส้ าหรั บ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัส ดังกล่าว ได้ส่ งผลให้ทางการเมียนมางดการน้าเข้าและ ส่งออก สินค้าทั้งหมดที่ขนไปที่บริเวณชายแดนก็ไปวางนิ่งไว้ที่คลังสินค้าจ้านวนมาก โดยเฉพาะ สิน ค้าที่จ ะท้าการส่ งออกไปประเทศจีนตอนใต้ อาทิ ยาหม่อง สมุนไพรอบแห้ ง สิ นค้าอุปโภคบริโภค เป็นต้น ทั้งนี้ ทางเมืองลา และบริเวณด่านชายแดนเมียนมา-จีนมีการคุมเข้มงวดต่อการเข้า ออกของรถขนส่งสินค้า อาเภอเชียงแสน - จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการขนส่งรถยนต์ พบว่าการค้าชายแดนไม่มีการ ขยายตัวสูงขึ้น ในบางเดือน สิน ค้าไม่มีการขนส่งเข้ามา ขึ้นอยู่กับผู้บริโภค หรือลูกค้าว่ามีความ ต้องการสินค้าในช่วงใด จึงจะสามารถสั่งสินค้าจากผู้ผลิต (กรณีของการส่งออกรถยนต์นั่ง) ส้าหรับ ผลกระทบจากไวรัส สังเกตได้จากการที่เรือขนส่งสินค้าจากจีนที่ในช่วงเวลาปกติจะมีการกลับไป ฉลองวันตรุษจีน แต่ในปีนี้ชาวจีนที่เดินทางกลับประเทศจีนไปแล้วยังไม่ได้เดินทางกลับมาในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ประกอบกับติดปัญหาที่จีนไม่ได้ปล่อยน้้าจากเขื่อน ท้าให้น้าในแม่น้าโขงแห้ง ไม่ สามารถเดินเรือขนส่งสินค้าได้ อาเภอเชียงของ - จากการสัมภาษณ์คุณสงวน ซ่อนกลิ่นสกุล ประธานหอการค้าอ้าเภอเชียงของ ด้านโลจิสติกส์และการขนส่งสินค้า พบว่าการค้าชายแดนที่ด่านเชียงของได้รับผลกระทบอย่างมาก จากเศรษฐกิจไทย และโลกที่มีการชะลอตัวในช่วงที่ผ่านมา ท้าให้ทั้งการส่งออกและน้าเข้าซบเซา อย่างมาก ประกอบกับภาวะเงินบาทแข็ง ค่า ท้าให้ผู้ประกอบการการค้าชายแดนที่ท้าการส่งออก สิน ค้าไปที่ส ปป.ลาวได้รับ ก้าไรจากการค้าลดลง ขณะเดียวกันผู้ ซื้อจากประเทศเพื่อนบ้าน โดย เฉพาะสปป.ลาว ก็สั่งซื้อสินค้าจากไทยลดลง นอกจากนี้ ได้มีบริษัทจากภาคกลางเข้ามาด้าเนิน กิจการแข่งขันกับ SMEs ภายในท้องถิ่น และแย่งส่วนแบ่งทางก้าไร ท้าให้ผู้ประกอบการภายใน อ้าเภอเชียงของเผชิญกับภัยคุกคามจากภายนอกอย่างมาก ทั้งนี้ ในด้านของผลกระทบจากไวรัสได้ ส่งผลกระทบต่อการค้ากับจีนอย่างมาก เนื่องจากชายแดนบ่อเต็น-บ่อหานถูกสั่งปิด รวมทั้งทางการ ลาวเองไม่อนุญาตให้รถจีนเข้า-ออกประเทศ ดังนั้น ตอนนี้สินค้าทั้งหมดจึงไม่สามารถท้าการน้าเข้า และส่งออกได้ตามปกติ ซึ่งน่าจะส่งผลกระทบยาวนานไม่ต่้ากว่า 2 เดือน ผลกระทบต่อการท่องเที่ยวเชียงราย ท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวงเชียงรายได้ออกมาตรการคุมเข้มเพื่อสกัดกั้นการแพร่ ระบาดของเชื้อ ไวรัสโควิด-19 ทั้งสายการบินภายในและภายนอกประเทศ และที่เดินทางโดยตรงมาจากประเทศจีน ซึ่ง จังหวัดเชียงรายถือว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่างมากจากนักท่องเที่ยวจีน จึงค่อนข้างมีความ เสี่ยงต่อการติดต่อของไวรัส อย่างไรก็ดี ปัจจุบันจีนได้ท้าการปิดไม่ให้มีการเดินทางเข้าออกประเทศ 1
ศูนย์ความเป็นเลิศการวิจัยด้านโลจิสติกส์และเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ (Business Economics and Logistics Research Excellence Center: Be Logist) ส้านักวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ทั้งนี้ เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมค้าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ของสปป.ลาว ตรงข้ามกับอ้าเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงราย ได้มีการคุมเข้มอย่างมากต่อการเข้าออกของบุคคลภายนอก และห้ามชาวจีนข้ามมาเล่นการพนัน ในช่วงก่อนหน้านี้ จนกระทั่งสั่งปิดไม่ให้บุคคลทุกสัญชาติ มีการเข้าออกระยะเวลา 10 กว่าวัน รวมทั้งเกาะ ดอนซาว ซึ่งเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวภายใต้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษไม่อนุญาตให้เรือ ของทุกสัญชาติเข้า เทียบท่า และปิดการให้บริการชั่วคราว พร้อมทั้งปิดไม่ให้มีการเข้าออกของรถทุกประเภทผ่านพื้นที่ของเขต เศรษฐกิจพิเศษ มากกว่านี้ เทศกาลงานดอกงิ้วบานที่เป็นงานประจ้าเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีจ้าเป็นต้อง เลื่อนระยะเวลาออกไป สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสดังกล่าว คือ วัดร่องขุ่น ซึ่งปกติจะมีทัวร์จีนจ้านวนมากเข้ามาท่องเที่ยว แม้ว่าจะยังคงมีนักท่องเที่ยวจีนหลั่งไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง แต่กระนั้นยอดกลับมีแนวโน้มลดลงจากช่วงที่สถานการณ์ปกติกว่า 2,000 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 70 ของ จ้านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั้งหมดที่ เดินทางมาท่องเที่ยวที่วัดร่องขุ่น (กรุงเทพธุรกิจ, 29 มกราคม 2563) โดยที่ปัญหาการลดลงอย่างฉับพลันของนักท่องเที่ยวหลังเกิดวิกฤตก็ส่งผลกระทบต่อแหล่งท่องเที่ย วอื่นๆ เช่นเดียวกัน อาทิ ถ้้าหลวงขุนน้้านางนอน เป็นต้น รูปที่ 2 สถิติจ้านวนนักท่องเที่ยว ผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง และนักท่องเที่ยวผ่านสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 อ้าเภอเชียงของ
Million people
จานวนนักท่องเที่ยว
สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4
60
150,000
40
100,000
30% 20% 10%
20
50,000
0
0 2557
2558 Thai
2559
2560
2561
0% -10% 2557
Foreigner
2558
2559
No. of tourist
ผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง 400,000
3,000,000
300,000
2,000,000
200,000 1,000,000
100,000 0
0 2015
2016
2017
Domestic
2018
2019
International
ที่มา: ท่าอากาศยานไทย (2563)
2560 %YoY
แหล่งที่มา ฐานเศรษฐกิจ. (28 มกราคม 2020). ค้าชายแดน-ผ่านปี 62 ติดลบ 3.43%. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/420053 ประชาชาติธุรกิจ. (26 มกราคม 2563). ยกเลิกทัวร์จีน เข้มงวดเข้า-ออกสามเหลี่ยมทองค้า สนามบินแม่ฟ้า หลวง สยองไวรัสโคโรน่า. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/local-economy/news-414481 ผู้จัดการออนไลน์. (28 มกราคม 2563). ชาวจีนทะลักเที่ยวเชียงรายนับหมื่น สธ.ยันคัดกรองทุกรายไม่พบ ติดเชื้อ. สืบค้นจาก https://mgronline.com/l'ocal/detail/9630000009164 กรุงเทพธุรกิจ. (29 มกราคม 2563). ผลพวงโคโรน่า “วัดร่องขุ่น” ทัวร์จีนหาย 2,000 คนต่อวัน. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/864195 ประชาชาติธุรกิจ. (3 กุมภาพันธ์ 2563). ส่งออกจีน 9 แสนล. สะดุด เบรกออร์เดอร์-สวนทุเรียนอ่วม. สืบค้น จาก https://www.prachachat.net/economy/news-417104 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (6 กุมภาพันธ์ 2563). วิกฤตไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ในจีน... กระทบภาคการผลิตไทย สูญเสียไม่ต่้ากว่า 1,500 ล้านดอลลาร์ฯ. กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 3081. สืบค้นจาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/Pages/z3081.aspx กรุงเทพธุรกิจ. (25 กุมภาพันธ์ 2563). ไวรัสโคโรน่า กาสิโน ‘จ้าว เหว่ย’. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/649459?fbclid=IwAR2T2efhyt1tP2bqpNtilmA 4IyJVhI15v3pBAgl4xR3SHtxoH4boD4wO9Ec The Guardian. (19 February 2020). Coronavirus 'could cost global economy $1.1tn in lost income'. Retrieved from https://www.theguardian.com/world/2020/feb/19/coronaviruscould-cost-global-economy-1tn-in-lost-output