OBELS Economic Outlook 2020

Page 1

การรายงานภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายในแต่ละปี ถื อ ว่ าเป็ น หนึ่ ง ในภารกิ จ ที่ ส าคัญของส านั ก งานเศรษฐกิ จ ชายแดน และโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics Study: OBELS) ในการนาเสนอสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในด้านต่างๆที่มี ความสาคัญให้มีความเท่าทัน เพื่อเตรียมพร้อมให้เกิดการการปรับตัว ของทุกภาคส่วนในปัจจุบัน และอนาคต โดยข้อมูลเศรษฐกิจที่รวบรวม มา ประกอบด้วย 2 ด้านหลัก ดังนี้ 1) อุปทาน (Supply-sided) หรือด้านการผลิต (Production) ประกอบด้วย ภาคเกษตรกรรม และภาคอุตสาหกรรม 2 ) อุ ปสง ค์ ( Demand-sided) หรื อ ด้ าน ก าร บริ โ ภ ค (Consumption) ประกอบด้วย การบริโภคภายในจังหวัด การลงทุน ของภาคเอกชน การใช้จ่ายของภาครัฐ และการค้าชายแดน ในปี 2018 เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัวจากปีก่อน ร้ อ ยละ 4.15 ซึ่ ง มี อั ต ราการเติ บ โตสู ง ขึ้ นจากปี ก่อ นเล็ ก น้อ ย หาก พิ จ ารณาจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมของประเทศไทยในช่ ว งระหว่างปี 2008-2018 หรือในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าเศรษฐกิจ ของประเทศเริ่ ม มี ก ารฟื้ น ตั ว ที่ ดี ขึ้ น หลั ง จากที่ มี ก ารถดถอยอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งในช่ ว งระหว่ า งปี 2010-2014 โดยปั จ จั ย ที่ ส าคั ญ สื บ เนื่องมาจากผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจฝั่งทวีปยุโรปที่เป็นปัญหา อั น เรื้ อ รั ง มากกว่ าหนึ่ ง ทศวรรษ ทาให้ เ ศรษฐกิ จ โลกเกิ ดการชะลอ ตัวอย่างรุนแรง ประกอบกับปัญหาภัยแล้งภายในประเทศได้ ส่ ง ผล กระทบเชิงลบต่อภาคเกษตรกรรมที่เปรียบเสมือนฟั่นเฟืองหลักในการ ขับเคลื่อนให้เศรษฐกิจเติบโต มากกว่านี้ ในปี 2018 ได้เกิดสงคราม


การค้าระหว่างประเทศจีนและสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้เกิดการชะงักงัก ของห่วงโซ่อุปทานโลก ซึ่งประเทศไทยก็เป็นส่วนหนึ่งที่สาคัญของห่วง โซ่อุปทานของสินค้าที่ผลิตในหลากหลายประเทศ ต่อมาในปี 2020 เศรษฐกิจของไทยเองได้ถู กซ้าเติมอย่างหนักจากวิกฤตไวรัสระบาด หรือ ‘โควิด-19’ ทาให้ระบบเศรษฐกิจถูกแช่แข็งในระยะเวลาอัน สั้น นั้นยังไม่รวมถึงกับปัญหาเชิงโครงสร้าง เช่น การเข้าใกล้สู่สังคมสูงวัย อย่างเต็มตัว ทาให้จานวนประชากรวัยแรงงานลดลง ส่งผลกระทบ อย่างเนื่องต่อผลิตภาพทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะสั้น และ ระยะยาว ดั ง นั้ น ในปี 2020 World bank หรื อ ศู น ย์ วิ จั ย ธนาคาร พาณิชย์ (EIC) ของประเทศไทยเอง รวมถึงหน่วยงานที่มีการประมาณ การทางเศรษฐกิจ ได้ประมาณการว่าเศรษฐกิจไทยจะมีการอัตราการ เติบโตติดลบประมาณร้อยละ 8-9 จากการสูญเสียเครื่องยนต์ในการ ขั บ เคลื่ อ นเสาหลั ก อย่ า งภาคการส่ ง ออก (Export) การลงทุ น ภาคเอกชน (Private investment) การบริ โ ภคภายในประเทศ (Domestic consumption) และการท่ อ งเที่ ย ว (Tourism) ท าให้ เครื่องมือกระตุ้นเศรษฐกิจเดียวที่สามารถทางานได้อยู่ คือ การใช้จ่าย ของภาครั ฐ (Government spending) โดยรั ฐ บาลได้ พยายามที่จะ ออกมาตรการทางการเงิ น เข้ า มาเยี ย วยาผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบทาง เศรษฐกิจมาโดยตลอดทั้งปี จากสถานการณ์ ที่ ผ่ า นมาและบริ บ ททางเศรษฐกิ จ ที่ เปลี่ยนแปลง ทาให้เศรษฐกิจของประเทศไทยไม่มีช่องว่างให้กลับมา เติบโตดังเช่นในอดีตที่ผ่านมา ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวม ประเทศไทยในปี 2018 มาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิ จในจังหวัด กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นหลัก โดยมีอัตราการเติบโตอยูที่ ร้อยละ 5.01 รองามาเป็น ภาคเหนือ และภาคตะวันตก อยู่ที่ร้อยละ 4.76 และ 4.53 ตามลาดับ ขณะที่ภาคกลางมีอัตราการเติบโตต่า


ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.45 แต่กระนั้น เศรษฐกิจของภาคกลางมีขนาด ใหญ่ เ ป็ น อั น ดั บ 2 รองจากกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ทั้ ง นี้ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา จากปี 2014-2018 เศรษฐกิจในหลายภาคมี ก าร ขย าย ตั ว สู ง ขึ้ น อ ย่ าง ต่ อ เ นื่ อ ง หลั ง ปี 2 0 1 4 เ ช่ น ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ แต่ในบางภาคก็มียังมีความผัน ผวนอยู่ เช่น ภาคตะวันออก และภาคกลาง อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจจังหวัดเชียงรายในปี 2018 มี การขยายตัวร้อยละ 4.38 ซึ่งลดลงจากปีก่อนเพียงเล็กน้อย และมี อัตราการเติบโตที่ต่ากว่าเศรษฐกิจภายในภูมิภาค (รูปที่ 1) อย่างไรก็ดี หลังจากที่เศรษฐกิจมีการหดตัวในปี 2014 ก็เริ่มที่จะขยายตัวอย่าง ต่อเนื่องมาจนกระทั่งปี 2018 โดยภาคเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวเป็น อย่ างดี คือ ภาคบริ ก าร (Service sector) อยู่ ที่ร้ อ ยละ 5.00 ซึ่ ง มี อัตราการเติบโตสูงกว่าปีก่อน ในขณะที่ภาคเกษตรกรรม (Agricultural sector) และภาคอุตสาหกรรม (Industrial sector) มีการเติบโตอยู่ที่ ร้อยละ 3.78 และ 1.90 ตามลาดับ โดยมีอัตราการเติบโตลดลงจากปี ก่อนอย่างมาก ขณะที่เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายในปี 2018 มีอัตราการ เติ บ โตอยู่ ที่ร้ อ ยละ 4.38 ซึ่ ง ลดลงจากปี ก่ อ นเพี ย งเล็ กน้ อ ย และมี อัตราต่ากว่าการเติบโตของเศรษฐกิจภูมิภาค (รูปที่ 1) ทั้งนี้ หลังจาก ที่เศรษฐกิจมีการหดตัวในปี 2014 ก็มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องมา โดยตลอด โดยภาคเศรษฐกิ จที่ มีก ารขยายตัว เป็ นอย่างดี คือ ภาค บริการ (Service sector) มีการขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 5.00 มีอัตราการ เติ บ โตที่ สู ง ขึ้ น อย่ า งมากจากปี ก่ อ น ในขณะที่ ภ าคการเกษตร (Agricultural sector) และภาคอุ ตสาหกรรม (Industrial sector) มี การขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.78 และ 1.90 ตามลาดับ โดยทั้งสองภาค เศรษฐกิจต่างก็มีอัตราการเติบโตที่ลดลงจากปีก่อนค่อนข้างมาก


อุตสาหกรรม 2017

4.40% 4.38%

เกษตร

3.43% 5.00%

1.90%

3.78%

4.43%

6.29%

รูปที่ 1 อัตราการเติบโตของ GPP ปี 2017-18 ของจังหวัดเชียงราย

บริการ

รวม

2018

รูปที่ 2 อัตราการเติบโตของ GPP ระยะ 10 ปี 9.59%

4.40% 2.15%

1.91%

2.21%

1.66%

2%

1.19%

6%

3.47%

8%

4%

CAGR 5 ปี = 2.55% CAGR 10 ปี = 3.38%

6.11%

10%

4.38%

12%

0%

-4%

2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 -1.72%

-2%

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2563)


อย่างไรก็ดี เมื่อทาการจาแนกรายสาขาการผลิตของแต่ละ ภาคเศรษฐกิ จ (รู ปที่ 3) พบว่ ามี เ พี ย ง 2 สาขาที่ มี ก ารขยายตั ว ใน ภาคอุตสาหกรรม คือ สาขาเหมืองแร่และเหมืองหิน และสาขาประปา และการกาจัดของเสีย อยู่ที่ร้อยละ 18.94 และ 4.69 ตามลาดับ ส่วน สาขาอุ ต สาหกรรม และสาขาไฟฟ้ า , ก๊ า ซ, ไอน้ า และระบบปรั บ อากาศ กลับมีการหดตัวร้อยละ 0.04 และ 0.73 ตามลาดับ ในภาค ของการบริการ ส่วนใหญ่มีการขยายตัวที่ดีในทุกสาขา ยกเว้นแต่สาขา กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ สาขาการศึกษา และสาขาการบริการอื่นที่มี การหดตัวลดลง โดยสาขาที่มีอัตราการเติบโตสูงสุด คือ สาขาข้อมูล ข่าวสารและการสื่อสาร อยู่ที่ร้อยละ 17.92 รองมาได้แก่ สาขาศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ และสาขาการขนส่งและจัดเก็บสินค้า มี อัตราการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 15.98 และ 13.22 ตามลาดับ ดังนั้นจึง เห็นได้ว่าในปี 2018 ภาคบริการมีบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจของ จังหวัดเชียงรายเป็นหลัก ขณะที่ภาคเกษตรยังคงมีการขยายตัวได้ดี เช่นเดียวกัน ส่วนภาคอุตสาหกรรมกลับมีการเติบโตค่อนข้างน้อย ดังนั้น ภาพรวมเศรษฐกิจของเชียงรายในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา เริ่มที่จะมีการขยายตัวสูงขึ้นจากปี 2014 แต่ก็ถูกทาให้เกิดการชะลอ ตัวอีกครั้งในปี 2018 (รูปที่ 2) ด้วยการสะสมผลกระทบของวิก ฤต เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในทุกปี โดยภาคบริการเป็นตัวขับเคลื่อน การเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดเป็นสาคัญในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวค่อนข้างคงที่ ส่วนภาคเกษตร ค่อนข้างมีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอก จึงทา ให้มีการเติบโตไม่มีความต่อเนื่อง เมื่อเปรียบกับภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ในส่วนถัดไปจะเป็นการนาตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจที่ถือเป็นเครื่องมือ ที่ ส าคั ญ อย่ า งต่ อ ประเมิ น เศรษฐกิ จ ให้ มี ค วามเท่ า ทั น ในแต่ ล ะปี เนื่องจากการประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรายจังหวัดมีความ ล่าช้า จึงทาให้การติดตามสถานการณ์เศรษฐกิจในปั จจุบันไม่เท่าทัน


ต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งส่งผลต่อการออกนโยบาย และการปรับตัวของ ภาคส่วนทางเศรษฐกิจต่างๆ รูปที่ 3 อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจรายสาขาของจังหวัดเชียงรายปี 2018 การทาเหมืองแร่-หิน ข้อมูลข่าวสาร/การสื่อสาร ศิลปะ/ความบันเทิง/นันทนาการ การขนส่ง/สถานที่เก็บสินค้า การก่อสร้าง กิจกรรมบริหารและบริการสนับสนุนอื่นๆ กิจกรรมอสังหาริมทรัพย์ กิจกรรมสาธารณสุข

ที่พักแรม/บริการด้านอาหาร การบริหารจัดการสาธารณะ/ความมั่นคง ขายส่ง-ปลีก/ซ่อมยานยนต์-จักรยานยนต์ ประปา/การกาจัดของเสีย กิจกรรมทางการเงิน/การประกันภัย การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ไฟฟ้า/ก๊าซ/ไอน้า/ระบบปรับอากาศ การศึกษา กิจกรรมการบริการอื่นๆ

วิชาชีพ/วิทยาศาสตร์/วิชาการ

-20%

-10%

0%

10%

20%

30%

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2563)


ในส่วนนี้จะเป็นการรายงานสถานการณ์ของภาคการผลิตใน จังหวัดเชียงรายที่เป็นห่วงโซ่การผลิตที่อยู่ระหว่างต้นน้าจนถึงกลางน้า ประกอบด้ ว ย ภาคเกษตรกรรม ซึ่ ง จะรายงานสถานการณ์ ก าร เปลี่ยนแปลงของผลผลิต และราคาสินค้าเกษตรที่สาคัญของจังหวัด ขณะที่ใน ภาคอุตสาหกรรม เป็นการรายงานถึงการเปลี่ยนแปลงของ จานวนโรงงาน ประเภทของอุตสาหกรรม เงินทุน และการจ้างงาน ซึ่ง ถือเป็นตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจหนึ่งที่สาคัญ ถึงแม้ว่าจังหวัดเชียงรายจะมี โครงสร้างทางเศรษฐกิจที่อิงอยู่ภาคอุตสาหกรรมมาก แต่ก็เป็นภาค ส่วนที่มีความเชื่อมโยงกับภาคการเกษตร เช่น อุตสาหกรรมการแปร รูปสินค้าเกษตร เป็นต้น

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ภาคเกษตรต้องเผชิญกับวิกฤตจาก การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (climate change) ภาวะภัย แล้ง (drought) ตลอดจนความผันผวนของราคาน้ามัน และสิน ค้า เกษตรในตลาดโลก ปัจจัยภายนอกเหล่านี้ล้วนแต่มีผลต่อภาคเกษตร ของจังหวัดเชียงรายอย่างมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกร และความเป็นอยู่ที่ดีของประชากรส่วนใหญ่ในจังหวัด จากสถิติของ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในปี 2019 ได้มีการรายงานข้อมูลสถิติ ผลผลิ ต ทางการเกษตรทั้ ง หมด 6 ประเภท ได้ แ ก่ ข้ าวนาปรั ง มั น สาปะหลัง ลาไย ลิ้นจี่ กาแฟ และสัปปะรดโรงงาน


ข้าวที่ปลูกในฤดูแล้งนอกฤดูกาลการทานา ข้าวถือเป็นสินค้า เกษตรที่มีความสาคัญอย่างมากต่อจังหวัดเชียงราย มีการเพาะปลูกใน เกื อ บทุ ก พื้ น ที่ ยกเว้ น แต่ อ าเภอเวี ย งแก่ น และอ าเภอแม่ ฟ้าหลวง สถานการณ์ ป ริ ม าณผลผลิ ต ในปี 2019 ทั้ ง หมดของจั ง หวั ด อยู่ ที่ 296,970 ตัน สูงขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 4.63 โดยพื้นที่ที่มีการเพิ่มขึ้น ของผลผลิตมากที่สุดคือ อาเภอพาน มีการขยายตัวถึงร้อยละ 44.89 ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีผลผลิตข้าวนาปรังมากที่สุด รองมาได้แก่ อาเภอแม่จัน อ าเภอแม่ ส าย และอ าเภอเวี ย งชั ย ขณะที่ พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ มี ผ ลผลิ ต ลดลงต่ากว่าร้อยละ 10 ส่วนราคาเฉลี่ยในปี 2019 สาหรับข้าวเปลือก อยู่ที่ 7,812 บาทต่อตัน และข้าวเปลือกหอมมะลิอยู่ที่ 14,282 บาท ต่ อ ตั น ซึ่ ง ลดลงจากปี ก่ อ นเล็ ก น้ อ ยที่ ร้ อ ยละ -1.01 และ -6.03 ตามล าดั บ จากรู ป ที่ 1 จะเห็ น ได้ ว่ า ในช่ ว งที่ ผ่ า นมาราคาของ ข้ า วเปลื อ กค่ อ นข้ า งคงที่ อยู่ ใ นช่ ว งระหว่ าง 8-7 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม ในขณะที่ราคาของข้าวเปลือกหอมมะลิมีความผันผวนมากกว่า แต่มี ระดับของราคาที่สูงกว่า เนื่องจากข้าวเปลือกหอมมะลิถื อเป็ น ข้ า ว เกรดที่สูงกว่า แม้ว่าในช่วงต้นปี 2020 จะเผชิญกับปัญหาภัยแล้งหนักถึง ขั้นมีการคาดการณ์ว่าผลผลิตของประเทศจะลดลงกว่าครึ่งหนึ่ง 1 แต่ ชาวนาได้มีการปรับตัวด้วยการเจาะแหล่งน้าบาดาลขึ้นมาทานาแทน การรอน้าจากฝน 2 แต่มีแนวโน้มว่าผลผลิตข้ าวนาปรังจะมีปริ ม าณ สูงขึ้น ส่วนราคาข้าวมีแนวโน้มที่จะปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งมาจาก ปัจจัยสาคัญ 3 ประการ ได้แก่ 1) ภาครัฐได้ออกมาตรการส่งเสริมการ 1

ฐานเศรษฐกิจ. (13 มกราคม 2563). แล้งเผาข้าวนาปรัง คาดผลผลิตวูบ 50%. สานักข่าวอิศรา. (5 เมษายน 2563). ‘โรงสี’ ไล่ซื้อดันราคาข้าวเปลือกดีสุดรอบ 3 ปี ‘2 สมาคมฯ’ ยันในประเทศไม่ขาดแคลน. 2


กั ก ตุ น ข้ า วเพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ เงิ น ชดเชย 2) ความต้ อ งการของตลาด ต่างประเทศสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากเข้าพยายามในการกักตุนสินค้า ช่วงวิกฤต3 และ 3) ประเทศผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่อย่างอินเดีย และ เวี ย ดนาม มี ก ารชะลอการส่ ง ออกข้ า ว จากวิ ก ฤตโควิ ด -19 แพร่ ระบาด 4 อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การส่งออกข้าวของไทยยังคงมี ความเสี่ยง หากสถานการณ์โลกมีการปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ ซึ่งการ เพิ่มขึ้นของราคาข้าวน่าจะส่งผลให้เกษตรกรเร่งเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น ในอนาคต รูปที่ 4 อัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาเฉลี่ยข้าวนาปรังปี 2015-2019 ผลผลิตข้าวนาปรัง (ตัน) 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0

60% 40% 20% 0% -20% -40% -60% 2015 2016 2017 2018 2019 ผลผลิต

3

อัตราการเติบโต

มติชนออนไลน์. (8 เมษายน 2563). จุรินทร์ แจ้งราคาข้าวนาปรังแตะหมื่นบาท ส่วนชาวใต้เฮ! รับส่วนต่างงวดล่าสุดวันนี้. 4 เหมือนอ้างอิง 2


ราคาข้าวเปลือก (บาท/ตัน) 8,000 7,900 7,800 7,700 7,600 7,500 7,400 7,300

6% 4% 2% 0% -2% -4% 2015

2016 ราคา

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2014-2019) การผลิตข้าวนาปรัง ในจังหวัดเชียงรายมีแนวโน้มลดลงเกือบทุกพื้นที่ ซึ่งมีอัตราการเติบโต เฉลี่ ย สะสม (Compound Average Growth Rate: CAGR) อยู่ ที่ ร้อยละ -3.26 ในขณะเดียวกัน ราคาเฉลี่ยกลับสวนทางกับปริมาณ ผลผลิตที่ลดลง โดยที่ข้าวเปลือก และข้าวเปลือกหอมมะลิยังคงมีการ ขยายตัวที่ดี มี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 0.15 และ 2.03 ตามลาดับ ปริ ม าณผลผลิ ต ของมั น ส าปะหลั ง ในปี 2019 อยู่ ที่ 134,036 ลดลงจากปี ก่ อ นร้ อ ยละ 16.26 โดยพื้ น ที่ ใ นจั ง หวั ด เชียงรายที่มีผลผลิตมัน ส าปะหลัง มากที่ สุด ได้แก่ อาเภอเชียงของ อาเภอเชียงแสน อาเภอเวียงชัย และอาเภอพญาเม็งราย ทั้ง 4 อาเภอ มีผลผลิตรวมกันกว่าร้อยละ 63.11 ของผลผลิตมันสาปะหลังทั้งหมด ในจังหวัดเชียงราย อย่างไรก็ดี ในช่ วงก่อนปี 2017 อาเภอเวียงเชียง รุ้งเป็นพื้นที่ที่มีผลผลิตมากที่สุด ก่อนที่ปริมาณผลผลิตจะลดลงอย่าง


ต่อเนื่องมาอยู่ที่ 8,548 ตัน จึงทาให้อาเภอเชียงของกลายมาเป็นพื้นที่ ที่มีการผลิตมันสาปะหลังมากที่สุดในจังหวัดเชียงรายแทน มีปริมาณ ผลผลิตอยู่ที่ 31,506 ตัน ทั้งนี้ พื้นที่ส่วนใหญ่มีปริมาณผลผลิตลดลง โดยเฉพาะในอ าเภอเมื อ งเชี ย งรายที่ มี ก ารหดตั ว ถึงร้ อ ยละ 76.11 สาหรับราคาของมันสาปะหลังสดเฉลี่ยทั้งปี 2019 อยู่ที่ 2.07 บาท ต่อกิโลกรัม ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 8 ทั้งที่ในปี 2018 ราคาของมัน สาปะหลังมีการขยายตัวถึงร้อยละ 48.03 อยู่ที่ประมาณ 2.25 บาท ต่อกิโลกรัม เนื่องจากในปีดังกล่าวผลผลิตมันสาปะหลังลดลงอย่ าง มาก จนไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการทั้ ง ภายในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งถือว่าสูงสุดในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา5 จากที่ เ กษตรกรสามารถแก้ ไ ขปั ญ หาโรคระบาดของมั น ส าปะหลั ง ตลอดจนปั ญหาภั ย แล้ ง อย่ างต่ อ เนื่ อ ง จึ ง มี แ นวโน้ ม ว่ า ปริมาณผลผลิตในปี 2020 จะสูงขึ้น นอกจากนี้ เกษตรกรได้มีการ ปรับเปลี่ยนจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ได้รับผลกระทบจากการ แพร่ ร ะบาดของหนอนกระทู้ มาปลู ก มั น ส าปะหลั ง มากขึ้ น ขณะเดียวกัน ความต้องการมันสาปะหลังทั้งในและต่างประเทศเพิ่ม สูงขึ้น เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายพลังงานที่ส่งเสริมให้ใช้น้ามัน แก๊ส โซฮอล์ E20 หรือน้ามันเบนซิน ซึ่งมันสาปะหลังและอ้อยเป็นวัตถุดิบ หลักที่ใช้ในการผลิต ประกอบกับปัญหาภัยแล้งในช่วงปีก่อนทาให้ผล ผลิตในประเทศลดลง เช่นเดียวกันกับผลผลิตในประเทศเพื่อนบ้านที่ ปลูกมันสาปะหลัง6 ดังนั้น ปัจจัยดังกล่าวจะช่วยผลักให้ราคารับซื้อใน ประเทศสูงขึ้น 5

ประชาชาติธุรกิจ. (1 กรกฎาคม 2561). หัวมันสาปะหลังชอตทั่วอาเซียน โรค ใบด่างคุกคาม-ราคาพุ่ง 3 บาท/กก. 6 กรุงเทพธุรกิจ. (25 กุมภาพันธ์ 2563). ‘สมาคมการค้ามันสาปะหลัง’ ชี้โอกาส หัวมันสดทะลุ 2.50 บาทต่อกิโลกรัม.


อย่างไรก็ดี นับตั้งแต่ปี 2015 เป็นต้นมา ปริมาณผลผลิตมัน สาปะหลังมีการหดตัวในทุกปี จึงทาให้ช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตมี แนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน โดยมี CAGR หดตัวอยู่ที่ร้อยละ 7.85 ซึ่ง อาจจะมีผลมาจากการแพร่ระบาดของโรครากหัวเน่ามันสาปะหลัง และภาวะภัยแล้งอย่างยาวนาน 7 ส่วนราคาเฉลี่ยของมันสาปะหลังมี การเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างผันผวน แต่ก็ยังมีการขยายตัวสูงขึ้ นจาก อดีตเพียงเล็กน้อย โดยมี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 1.60 รูปที่ 5 อัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาเฉลี่ยมันสาปะหลังปี 2015-2019

ผลผลิต (ตัน) 250,000

10%

200,000

5% 0%

150,000

-5%

100,000

-10%

50,000

-15%

0

-20% 2015

2016 ผลผลิต

7

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

รักบ้านเกิด. (28 กรกฎาคม 2558). เกษตรจ.เชียงรายเตือนระวังโรครากเน่าหัว เน่ามันสาปะหลัง หลังพบระบาดกว่า500ไร่.


ราคา (บาท/กิโลกรัม) 2.5

60%

2.0

40%

1.5

20%

1.0

0%

0.5

-20%

0.0

-40% 2015

2016 ราคา

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ผลผลิตของลาไยในปี 2019 มีปริมาณลดลงจากปีก่อนร้อย ละ -11.78 โดยเกือบพื้นที่ของจังหวัดมีการหดตัวของผลผลิต ยกเว้น อาเภอแม่สรวยที่มีปริมาณสูงขึ้นร้อยละ 48 ซึ่งอาเเภอแม่สรวยถือเป็น พื้นที่ที่มีปริมาณผลผลิตของลาไยสูงสุดในจังหวัด คิดเป็นสัดส่วนกว่า ร้อยละ 27.46 ของผลผลิตทั้งหมด ซึ่งสาเหตุที่สาคัญมากจากภาวะ ฝนแล้งทาให้ขาดแคลนน้าในการเพาะปลูกลาไย 8 ขณะที่ราคาเฉลี่ย ของตลาดลดลงจาก 26.72 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม ในปี 2018 มาอยู่ ที่ 26.31 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2019 ซึ่งในความเป็นจริง ราคาควรที่ จะสูงขึ้น เนื่องจากแหล่งพื้นที่ปลูกลาไยอย่างภาคเหนือต่างก็ได้รับ ผลกระทบจากภั ย แล้ ง ท าให้ ผ ลผลิ ต มวลรวมของประเทศลดลง 8

ประชาชาติธุรกิจ. (12 สิงหาคม 2562). แล้งทา “ลาไย” เชียงรายเสียหายหนัก ผลผลิตไม่พอขาย.


อย่างไรก็ดี ผลผลิตที่ออกมาน้อย และมีขนาดที่ไม่ได้คุณภาพ จากการ ไม่ ไ ด้ รั บ น้ าที่ เ พี ยงพอ ทาให้ ร าคาตลาดที่ อ อกมาไม่ไ ด้แ ปรผัน จาก ปริมาณผลผลิตที่ลดลง และมีการกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง9 หลังจากหลุดพ้นภาวะภัยแล้งในช่วงต้นปี 2020 ที่มีความ ต่อเนื่องมาจากปีก่อน ทาให้มีแนวโน้มน่าจะสูงขึ้น แต่ด้วยวิกฤตโควิด19 ทาให้ประเทศผู้ส่งออกอย่างประเทศจีนได้มีการระงับการสั่ง ซื้อ ชั่วคราวในช่วงแรกที่เกิดสถานการณ์ขึ้น ทาให้ปริมาณผลผลิตลาไยที่ เพิ่ ม ขึ้ น มาอย่ า งมหาศาล ไม่ มี ต ลาดรั บ ซื้ อ และเกิ ด การล้ น ตลาด ภายในประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อราคาลาไยที่เข้าสู่ภาวะตกต่า 10 แม้ว่าต่อมาจีนเริ่มมีการสั่งซื้อสินค้าจากประเทศไทย แต่ก็ยังคงติด ปัญหาในการขนส่งระหว่างประเทศ ยิ่งส่งผลให้ราคาลาไยดิ่งลงอย่าง ต่อเนื่อง11 ในปี 2015-2016 เป็ น ช่ ว งที่ ผ ลผลิ ต ล าไยออกน้ อ ย จาก สภาพอากาศที่แปรปรวน จึงผลักให้ราคามีการขยายตัวสู งขึ้น ต่อมา ในปี 2017 มีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ผลผลิตออกดี ราคาจึงตกลงอย่าง มาก แต่กระนั้นในปี 2018 ผลผลิตยังคงมีการขยายตัวสูงขึ้น ขณะที่ ราคาก็มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน เนื่องจากมีความต้องการจาก ตลาดต่ า งประเทศที่ ส าคั ญ อย่ างประเทศจี น จึ ง ถื อ เป็ น ปี ท องของ

9

ฐานเศรษฐกิจ. (23 สิงหาคม). ลาไยภาคเหนือผลผลิตลดลง ชี้ผลพวงแล้งอากาศแปรปรวน/ป้องกันพ่อค้าคนกลางกดราคา. 10 BBC News ไทย. (30 เมษายน 2563). โควิด-19 : ลาไยไทยในวิกฤตไวรัส เมื่อจีนไม่ขยับ เกษตรกรไทยจะอยู่อย่างไร. 11 ฐานเศรษฐกิจ. (14 กรกฎาคม 2563). “ลาไย” ราคาดิ่ง หน้าสวน 6 บาท/กก. ปล่อยร่วงเกลื่อน จ้างแรงงานไม่คุ้ม.


เกษตรกรผู้ปลูกลาไย12 อย่างไรก็ตาม ในปี 2019 ผลผลิตหดตัวอย่าง มากจากภัยแล้ง ส่วนราคามีการหดตัวเพียงเล็กน้อย ดังนั้น ในช่วง ระยะ 5 ปีที่ผ่านมา ปริมาณผลผลิตลาไยถือว่ามีทิศทางที่ลดลงอย่าง ต่อเนื่อง ขณะที่ราคาตลาดก็มีการขยายตัวค่อนข้างต่า ทาให้การปลูก ลาไยของเกษตรกรเชียงรายและประเทศไทยถือเข้าขั้นวิกฤต ไม่ว่าจะ มาจากการที่ผลผลิตไม่มีความแน่นอน การควบคุมคุณภาพยาก ทั้งยัง ขาดแรงจูงใจด้านราคาที่มีแนวโน้มที่จะลดลงในทุกปี รูปที่ 6 อัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาเฉลี่ยลาไยปี 2015-2019 ผลผลิต (กิโลกรัม) 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 0

60% 40% 20% 0% -20% -40%

2015

2016 ผลผลิต

12

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ประชาชาติธุรกิจ. (19 กรกฎาคม 2563). ลาไยล้านกว่าตันทะลัก “สนธิรัตน์” วิ่งวุ่นหาที่ขายระบายผลผลิต.


ราคา (บาท/กิโลกรัม) 35 30 25 20 15 10 5 0

30% 20% 10% 0% -10% -20% -30% -40% 2015

2016 ราคา

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ผลผลิตของลิ้นจี่ ในปี 2019 มีปริมาณลดลงมาอย่างมาก จากปี ก่ อ น จาก 5,650 ตั น ในปี 2018 มาอยู่ ที่ 4,492 ตั น ในปี 2019 หรื อ หดตั ว ถึ ง ร้ อ ยละ 55.89 ซึ่ ง ทุ ก พื้ น ที่ มี ผ ลผลิ ต ที่ ล ดลง ทั้งหมด โดยพื้นที่ที่มีผลผลิตของลิ้นจี่สูงสุด คือ อาเภอเมืองเชียงราย อยู่ที่ 925 ตัน รองมาได้แก่ อาเภอแม่สรวย และอาเภอแม่จัน อยู่ที่ 590 ตั น และ 194 ตั น ตามล าดั บ ซึ่ ง น่ า จะได้ รั บ ผลกระทบจาก สภาพอากาศที่ ร้ อ นจั ด ส่ ง ผลกระทบต่ อ ลิ้ น จี่ ที่ ไ ม่ อ อกดอกตาม ฤดูกาล13 ขณะที่ราคาลิ้นจี่ขยายตัวสวนทางกับผลผลิตอยู่ที่ร้อยละ 80.63 เนื่องจากผลผลิตออกสู่ตลาดน้อยผลักให้ราคาสูงขึ้นเป็นไป ตามกลไกราคา ฉะนั้นในปี 2019 แม้ว่าแรงจูงใจทางราคาจะสูง แต่ 13

มติชน. (27 เมษายน 2562). 10 ล้านบาทหายวับ สวนลิ้นจีไ่ ม่ออกผลจาก อากาศร้อนสุดสุด.


เกษตรกรกลับไม่มีผลผลิตให้ขายเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมาก ต่อรายได้ของเกษตรกรโดยรวม อย่างไรก็ดี สภาพอากาศที่ดีขึ้นจากอุณหภูมิที่ ลดลง ทาให้ ลิ้นจี่น่าจะมีผลผลิตสูงขึ้นในปี 2020 ซึ่งจะส่งผลให้ราคารับซื้อลดลง ทั้งตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศ 14 ทั้งนี้ เกษตรกรเชียงราย ต้องเผชิญกับปัญหาการขนส่งสินค้าไปยังประเทศผู้จีน ผ่านทางอาเภอ เชียงของบนเส้นทาง R3A เนื่องด้วยมาตรการควบคุมไวรัสโควิด-19 ของประเทศเพื่อนบ้านอย่างสปป.ลาว ไม่ว่าจะเป็นมาตรการบังคับ เปลี่ยนถ่ายสินค้าไปยังรถลาวที่ต้องเป็นคนขับรถชาวลาวเท่านัน้ 15 ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา ผลผลิ ต ของลิ้ น จี่ มี รู ป แบบการ เปลี่ยนแปลงที่เหมือนกับลาไย เนื่องจากเป็นพืชที่เติบโตได้ดีในสภาพ อากาศหนาวทั้งคู่ ฉะนั้นจะเห็นได้ว่าในช่วงปี 2017-2018 ลิ้นจี่และ ลาไยมีการเพิ่มขึ้นของผลผลิต หากแต่ลิ้นจี่มีการขยายตัวของผลผลิตที่ ค่อนข้างต่ากว่าลาไย เป็นเพราะลิ้นจี่เป็นผลไม้ที่ปลูกได้ดีในพื้นที่สูงที่ มีการระบายที่ดี ซึ่งแตกต่างจากลาไยที่สามารถปลูกได้ในทุก สภาพ พื้นที่ ด้วยการหดตัวของผลผลิตในหลายปีที่ผ่านมา ทาให้ผลผลิตลิ้นจี่ มี ห ดตั ว อย่ างมากในระยะยาว โดยมี CAGR อยู่ ที่ร้ อ ยละ -18.86 ในขณะที่ ร าคาตลาดมี ก ารหดตั ว ลดลงแค่ใ นปี 2017 หลั ง จากนั้ น ราคามีการปรับตัวสูงขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะในปี 2019 ระดับราคา ของลิ้นจี่จึงมีการขยายตัวที่ดี มี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 27.88

14

Thai PBS. (2 เมษายน 2563). วิกฤต COVID-19 ลิ้นจี่ขายไม่ออกยกสวน. Thai PBS. (21 เมษายน 2563). ปิดชายแดนคุม COVID-19 กระทบส่งออก ลิ้นจี่เชียงราย. 15


รูปที่ 7 อัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาเฉลี่ยลิ้นจี่ปี 2015-2019 ผลผลิต (กิโลกรัม) 8,000

20%

6,000

0%

4,000

-20%

2,000

-40%

0

-60% 2015 2016 2017 2018 2019 ผลผลิต

อัตราการเติบโต

ราคา (บาท/กิโลกรัม) 50

100% 80% 60% 40% 20% 0% -20% -40%

40 30 20 10 0 2015 2016 2017 2018 2019 ราคา

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ปริ ม าณผลผลิ ต ของกาแฟในปี 2019 ลดลงกว่ า ร้ อ ยละ 30.88 จากปีก่อน จาก 4,922 ตัน ในปี 2018 มาอยู่ที่ 3,402 ตัน ในปี 2019 ซึ่งเกิดจากปัญหาของการระบาดของมอดที่เจาะทาลาย


กาแฟอาราบิ ก้ าที่ เ ป็ น พั น ธุ์ ก าแฟที่ นิ ย มปลู ก ในจั ง หวั ด เชี ย งราย 16 ขณะเดียวกัน ราคาที่มีการปรับตัวลดลงร้อยละ 2.21 จากกิโลกรัมละ 69.35 บาท ในปี 2018 ลดลงมาอยูที่ 67.82 บาท ในปี 2019 ซึ่ง เป็ น การหดตั ว ต่ อ เนื่ อ งมาจากปี ก่ อ น โดยแม้ ว่ าผลผลิ ต ของกาแฟ ภายในประเทศจะลดลง และไม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการบริ โ ภค ภายในประเทศ แต่ รั ฐ บาลอนุ ญ าตให้ มี ก ารน าเข้ า กาแฟมาจาก ต่ า งประเทศได้ ทั้ ง นี้ เมล็ ด กาแฟจากเมี ย นมาร์ สปป.ลาว และ เวียดนาม ที่มีต้นทุนในการผลิต ราคา และคุณภาพที่ต่ากว่า ได้ทะลัก เข้ามาสวมสิทธิ์ แย่งตลาดกาแฟไทย ฉะนั้นกาแฟที่เกษตรกรเก็บไว้ หลังเก็บเกี่ยวก็ไม่สามารถระบายได้จนหมด ทั้งราคาก็ถูกกดต่าลง อย่ างต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลต่ อ ให้ เ กษตรกรลดแรงจู ง ใจด้ านราคาในการ เพาะปลูก17 อย่างไรก็ตาม หากราคาตลาดของกาแฟภายในประเทศ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในปี 2020 ซึ่ ง มี ส าเหตุ ม าจากการน าเข้ า มาจาก ต่างประเทศทั้งถูกกฎหมาย และลักลอบเข้ามาจากประเทศเพื่อนบ้าน เกษตรกรอาจขาดแรงจูงใจในการเพาะปลูก จึงน่าจะทาให้ปริมาณ ผลผลิตตกลงอย่างมาก ทั้งนี้ รัฐบาลได้พยายามเข้ามาช่วยเหลือด้วย การประกันราคากาแฟไว้ที่กิโลกรัมละ 60 บาท18 ทั้งนี้ ทั้งผลผลิตและราคากาแฟมี ความผันผวนอย่ างมาก ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา ซึ่ ง ถื อ เป็ น ตลาดที่ มี ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลที่ หลากหลาย ทั้งภายในประเทศ เช่น การระบาดของโรค สภาพอากาศ 16

โพสต์ทูเดย์. (5 กรกฎาคม 2562). มาอีกแล้วศัตรูพืชตัวใหม่ล่าสุด “มอด” ระบาดหนักไร่กาแฟอะราบิกาในเชียงราย. 17 ประชาชาติ. (5 เมษายน 2562). พ่อค้าหัวใสนาโรบัสต้าลาวสวมสิทธิ์ไทยส่ง โรงงาน. 18 ประชาชาติ. (13 มีนาคม 2563). สวนกาแฟใต้ช้าผลผลิตวูบกว่า 60% จุกอก ยักษ์ใหม่ขอนาเข้ากาแฟนอกเร็วขึ้น 1 เดือน.


ความต้องการในการบริโภค รสนิยม เป็นต้น และปัจจัยภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงของผลผลิตจากต่างประเทศ ราคาตลาดโลก เป็นต้น ทาให้การคาดการณ์ต่อสถานการณ์ราคาและผลผลิตกาแฟในอนาคต ทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัดเป็นไปได้ยาก โดยในภาพรวม ผลผลิตถือว่ามีการหดตัวเพียงเล็กน้อย ซึ่งมี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 0.29 เนื่องจากส่วนใหญ่ผลผลิตมีการขยายตัวที่ดีในหลายปี เช่น ปี 2015 และ 2018 หากแต่ลดลงอย่างมากในปี 2019 ขณะที่ราคามี การปรับตัวสูงขึ้นและลดลงปีเว้นปี หรือมีความผันผวนค่อนข้างสูง แต่ โดยเฉลี่ยถือว่ายังมีการขยายตัวสูงขึ้น ซึ่ง CAGR อยู่ที่ร้อยละ 0.70 จึงถือเป็นโจทย์ที่ท้าทายสาหรับเกษตรกรและรัฐบาลอย่างมากสาหรับ การรับมือกับตลาดสินค้าเกษตรที่ได้รับความนิยมที่สุดในทศวรรษนี้ รูปที่ 8 อัตราการเติบโตของผลผลิตและราคาเฉลี่ยกาแฟปี 2015-2019 ผลผลิต (กิโลกรัม) 6,000

30% 20% 10% 0% -10% -20% -30% -40%

5,000 4,000 3,000

2,000 1,000 0 2015 2016 2017 2018 2019 ผลผลิต

อัตราการเติบโต


ราคา (บาท/กิโลกรัม) 100

40%

80

30% 20%

60

10%

40

0%

20

-10%

0

-20% 2015

2016 ราคา

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ผลผลิตของสัปปะรดโรงงานในปี 2019 ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ 23.98 จาก 80,967 ตัน ในปี 2018 ลดลงมาอยู่ที่ 61,553 ตั น ในปี 2019 โดยสั ป ปะรดเป็ น หนึ่ ง ในสิ น ค้ า เกษตรที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากภัยแล้ง ทาให้ขาดแคลนน้าสาหรับทาการเพาะปลูก 19 ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายถือเป็นพื้นที่ที่รัฐบาลไม่สนับสนุนให้มีการปลูก สัปปะรดโรงงาน เนื่องจากเป็นหนึ่งในกลุ่มจังหวัดที่อยู่ห่างไกลโรงงาน แปรรู ป เช่ น เดี ย วกั บ จั ง หวั ด อื่ น ๆ ได้ แ ก่ พิ ษ ณุ โ ลก อุ ต รดิ ต ถ์ และ ลาปาง20 ส่วนราคาขายก็เป็นไปตามกลไกตลาด ซึ่งเมื่อผลผลิตมวล รวมของประเทศลดลงจากปั ญ หาภั ย แล้ ง และปั ญ หาราคาตกต่ า 19

มติชน. (12 พฤษภาคม 2562). เพือ่ ไทย ลงพื้นที่เชียงราย รับปากเร่งรัฐแก้ภัย แล้งหนัก ฝนไม่ตก 5 เดือน. 20 ประชาชาติ. (8 มิถุนายน 2562). ก.เกษตรฯเตรียมแผนรับมือปัญหาราคา สัปปะรด.


ต่อเนื่องในหลายปีที่ผ่านมา21 ส่งผลให้ราคามีการปรับตัวสูงขึ้นถึงร้อย ละ 98.99 จากกิโลกรัมละ 2.97 บาท ในปี 2018 มาอยู่ที่ 5.91 ใน ปี 2019 สถานการณ์ของภัยแล้งอย่างต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมาจนถึง ต้นปี 2020 ยังคงส่งผลกระทบต่อผลผลิตของสัปปะรดที่ลดลง และ ออกล่ าช้ า ซึ่ ง จะผลั ก ให้ ร าคาเฉลี่ ยสู งขึ้ น มากกว่ าปี ก่ อ นอย่างมาก ขณะที่ ผู้ ส่ ง ออกสั ป ปะรดในประเทศอื่ น ก็ มี ผ ลผลิ ต ออกน้ อ ย เช่ น เดีย วกั น เช่ น ฟิลิ ปปิ น ส์ และอิ น โดนีเซี ย 22 ในทางตรงกั นข้าม ราคาที่ถีบตัวสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด ได้ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรม แปรรูปสัปปะรดในบางพื้นที่ เช่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทยอยปิดตัว ลง หลังจากต้องแบกรับต้นทุนที่สูงขึ้น 23 อย่างไรก็ดี ผลผลิตถือว่ามี การขยายตัวได้ดีมากในช่ วงที่ผ่านมาในระยะ 5 ปี เนื่องจากผลผลิต สัปปะรดมีการเพิ่มขึ้ นอย่ างต่อเนื่ องในช่ วงระหว่ างปี 2015-2018 และเริ่มหดตัวแค่ในปี 2019 โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ ที่ ร้อยละ 14.53 หากไม่เผชิญกับภาวะภัยแล้ง สัปปะรดโรงงานคงมี แนวโน้มสูงขึ้นอย่างแน่นอน ขณะที่ราคาที่มีการปรับตัวลดลงในช่วง ระหว่างปี 2015-2018 กลับมาดีดตัวอย่างก้าวกระโดดในปี 2019 เป็นเพราะผลผลิตที่ลดลงอย่างรวดเร็วจากการขาดแคลนน้าอย่ าง รุนแรงเพื่อทาการเพาะปลูก ทาให้ในช่วงที่ผ่ านมา การเปลี่ยนแปลง ของราคาสัปปะรดถือว่ามีแนวโน้มที่ตกต่าลงอย่างเห็นได้ชัด

21

กรุงเทพธุรกิจ. (28 กันยายน 2562). สัปปะรดราคาพุ่ง79%. ประชาชาติธุรกิจ. (21 กุมภาพันธ์ 2563). “ผัก-ผลไม้” อ่วมแล้ง ราคาดี-ไม่มี ขาย. 23 เดลินิวส์. (12 มิถน ุ ายน 2563). โรงงานสัปปะรดกระป๋อง ทยอยปิด ผลกระทบจากโควิด-19. 22


รูปที่ 9 ผลผลิตและราคาเฉลี่ยสัปปะรดโรงงานปี 2015-2019 ผลผลิต 100,000

60%

80,000

40%

60,000

20%

40,000

0%

20,000

-20%

0

-40% 2015 2016 2017 2018 2019 ผลผลิต

อัตราการเติบโต

ราคา 12

150%

10

100%

8

50%

6

0%

4

-50%

2 0

-100% 2015

2016 ราคา

2017

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563)


ข้ า วนาปรั ง เป็ น เพี ย งสิ น ค้ า เกษตรประเภทเดี ย วที่ มี ก าร ขยายตัวสูงขึ้นในปี 2019 ขณะที่สินค้าเกษตรอื่น มีปริมาณผลผลิ ต ลดลง โดยเฉพาะลิ้นจี่ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะภั ย แล้ ง อย่ างต่ อ เนื่ อ งในช่ ว งที่ ผ่ านมา ตลอดจนลดการเพาะปลู ก จากการ ปัจจัยด้านราคา ทาให้เกษตรกรบางกลุ่มได้มีการเปลี่ยนแปลงไปปลูก พืชชนิดอื่นที่ให้ราคาตลาดที่สูงกว่า ขณะเดียวกัน สินค้าเกษตรกรบาง ชนิ ด ก็ ไ ด้ รั บ ผลกระทบต่ อ เนื่ อ งจากโรคระบาดของพื ช เช่ น มั น สาปะหลัง และกาแฟ อย่างไรก็ดี ด้วยภาวะวิกฤตใหม่อย่างโควิด -19 ก็เป็นตัวสร้างปฏิกิริยาเร่งให้กับความต้องการอาหารที่เพิ่ มขึ้น ซึ่งส่วน ใหญ่ ม าจากความต้ อ งการของตลาดต่ า งประเทศที่ ส ถานการณ์ ภายในประเทศยังไม่คลี่คลายดี เป็นปัจจัยบวกที่ผลักให้ราคารับซื้อใน ตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นในบางประเภทสินค้า เช่น ลิ้นจี่ และสัปปะรด โรงงาน แต่ ก ระนั้ น ราคาสิ น ค้าเกษตรอย่ าง กาแฟ ล าไย และมั น ส าปะหลั ง กลั บ ปรั บ ตั ว ลดลง ดั ง นั้ น จึ ง สามารถแบ่ งกลุ่ มประเภท สิ น ค้ า เกษตรที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางด้ า นผลผลิ ต และราคาในปี 2019 ออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) สินค้าเกษตรที่มีราคาสูงขึน้ แต่ผลผลิตลดลง ได้แก่ ลิ้นจี่ และสัปปะรดโรงงาน 2) สินค้าเกษตรที่ มี ก ารหดตั ว ทั้ง ผลผลิ ตและราคา ได้ แ ก่ มั น ส าปะหลัง ล าไย และ กาแฟ และ 3) สินค้าเกษตรที่มีการขยายตัวของผลผลิต แต่ราคา ปรับตัวลดลง คือ ข้าวนาปรัง นอกจากนี้ ด้วยสถานการณ์ทางด้าน เกษตรกรรมที่มีแนวโน้มลดลง ทาให้ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมของ จังหวัดเชียงรายหดตัวถึงร้อยละ 10.8 ทั้งในปี 2018 มีการขยายตัว ร้อยละ 7.4 (สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2563) ทั้ ง นี้ ท่ า มกลางผลผลิ ต ของสิ น ค้ า เกษตรที่ ล ดลงอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ่ า นมา สั ป ปะรดโรงงานเป็ น สิ น ค้ า เกษตร ประเภทเดียวที่มีปริมาณผลผลิตสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งมีการ


ลดลงในปี 2019 นับตั้งแต่ราคาเริ่มตกต่า จากเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 10.18 บาท ในปี 2016 มาอยู่ที่กิโลกรัมละ 4.95 บาท ในปี 2017 และลดลงมาอยู่ที่ 2.97 บาท ในปี 2018 ส่งผลให้เกษตรกรเปลี่ยนไป ปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นที่สร้างรายได้มากกว่า แม้ว่าราคาจะมีการปรับตัว สู ง ขึ้ น ในปี 2019 แต่ ก็ ถื อ ว่ า ยั ง ต่ ากว่ า ราคาเฉลี่ ย ในช่ ว งปี 20152016 ส่วนสินค้าเกษตรอื่นแม้ว่ามีผลผลิตลดลง แต่ราคาก็ปรับตัว สูงขึ้นไม่มาก ยกเว้นลิ้นจี่ที่ผลผลิต และราคา สวนทางกันอย่างมาก เนื่องจากเป็นสินค้าที่ค่อนข้างที่ตลาดมีความยืดหยุ่นของสูง กล่าวคือ เมื่อราคาของสินค้ามีการปรับตัวลดลงก็จะส่งผลให้เกษตรกรลดการ เพาะปลูกอย่างมาก ในทางตรงกันข้าม เมื่อผลผลิตลดลงก็จะส่งผลให้ ราคาถีบตัวสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดดเช่นเดียวกัน ฉะนั้น จึงสรุปได้ว่าใน 5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตของสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีการหดตัว และราคา ตลาดมีการปรับตัวสูงขึ้น ได้แก่ ข้ าวนาปรัง ลาไย ลิ้นจี่ และกาแฟ ขณะที่ ผ ลผลิ ต และราคาของมั น ส าปะหลั ง กลั บ มี แ นวโน้ ม ลดลงไป พร้อมกัน ส่วนสัปปะรดโรงงาน แม้ว่าจะมีแนวโน้มของผลผลิตที่สูงขึ้น แต่ราคากลับมีการปรับตัวลดลง


รูปที่ 10 อัตราการเติบโตของสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงรายปี 2019 120% 100% 80% 60% 40% 20% 0% -20% -40% -60% -80% ผลผลิต ราคา

ข้าวนาปรัง 4.63% -6.03%

มันสาปะหลัง -16.26% -8.00%

ลาไย -11.78% -1.53%

ลิ้นจี่ -55.89% 80.63%

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563)

กาแฟ -30.88% -2.21%

สัปปะรดโรงงาน -23.98% 98.99%


รูปที่ 11 อัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมของสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงรายปี 2015-2019 40% 30% 20% 10% 0% -10% -20% -30% ผลผลิต ราคา

ข้าวนาปรัง -3.26% 2.03%

มันสาปะหลัง -7.85% -1.03%

ลาไย -5.91% 0.73%

ลิ้นจี่ -18.86% 27.88%

ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563

กาแฟ -0.29% 0.70%

สัปปะรดโรงงาน 14.53% -3.74%


สถานการณ์ ข องการผลิต ในภาคอุต สาหกรรมของจั งหวัด เชี ย งรายในปี 2019 ที่ ผ่ า นมา ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น จากปี ก่ อ น โดยดั ช นี ผลผลิ ต ภาคอุ ต สาหกรรมมี ก ารขยายตั ว ที่ ร้ อ ยละ 2.5 ขณะที่ ใ นปี 2018 มีการหดตัวอยู่ที่ร้อยละ -0.8 ซึ่งอุตสาหกรรมการผลิตมีการหด ตัวเล็กน้อยในช่วงไตรมาสที่ 1 ก่อนที่จะขยายตัวอย่างมากในช่วงไตร มาสที่ 3 และ 4 ที่ร้อยละ 5.8 และ 4.5 ตามลาดับ แต่กลับมาหดตัว อี ก ครั้ ง ในไตรมาสสุ ด ท้ า ยที่ ร้ อ ยละ 4.2 อย่ า งไรก็ ต าม แม้ ว่ าในปี 2019 มีจานวนโรงงานที่จดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้นมา 9 แห่ง มีเงินทุน เพิ่ ม ขึ้ น เกื อ บ 1,400 ล้ านบาท และมี ก ารจ้ า งงานสู ง ขึ้ น กว่ า 416 ตาแหน่ง (สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2563) รูปที่ 12 เปรียบเทียบอัตราการเติบโตของดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมปี 2561 และ 2562

8 6 4 2 0 -2 -4

ไตรมาส 1

ไตรมาส 2 2561

ไตรมาส 3

ไตรมาส 4

2562

ที่มา: สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย, 2563


แต่ทว่าจานวนโรงงานรวมลดลงจาก 719 แห่ง ในปี 2018 มาอยู่ที่ 611 แห่ง ในที่ 2019 (กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม, 2563) ฉะนั้น แม้ว่าจะการลดลงของจานวนโรงงาน โดยรวม แต่มีจานวนโรงงานจดทะเบียนใหม่เพิ่มขึ้น จึงน่าจะส่งผล ให้ ผ ลผลิ ตของอุต สาหกรรมสู งขึ้น ทั้ ง นี้ จากรู ปที่ 13 จะสั งเกตถึง แนวโน้มของการจดทะเบียนโรงงานใหม่เริ่ม สูงขึ้นนับตั้งแต่ปี 2010 ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา จานวนโรงงานจดทะเบียนใหม่หดตัวลดลงอย่าง มากหลังปี 2010 เป็นต้นมา มากกว่านี้ ในปี 2019 สัดส่วนของเงินทุนต่อจานวนโรงงาน จดทะเบียนใหม่โดยเฉลี่ยค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับการจัดตั้ง โรงงานในอดีต ซึ่งโรงงานหนึ่งอาจมีเงินทุนเกือบ 50 ล้านบาท ขณะที่ ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2010-2019 ไม่เกิน 30 ล้านบาทต่อโรงงาน รวมทั้ง มีสัดส่วนของจานวนคนงานต่อโรงงานที่สูงเช่นเดียวกัน ซึ่งโรงงานหนึ่ง อาจมีจานวนคนงานถึง 20 คน ขณะที่ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ปี 2010-2019 อยู่ที่ประมาณ 12 คนต่อโรงงาน อย่างไรก็ ดี อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ ของจั ง หวั ด เชี ย งรายส่ ว นใหญ่ ยั ง คงมี ข นาดเล็ ก เนื่ อ งจากจ านวน คนงานในโรงงานโดยเฉลี่ยน้อยกว่า 20 คน24

24

ตามพระราชบัญญัติโรงงานปีพ.ศ. 2562 ที่ออกใหม่โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ขยายขอบเขตการขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) จาก 7 คน หรือ 5 แรงม้า มาเป็น 50 คน หรือ 50 แรงม้า ทาให้โรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งใน จังหวัดเชียงรายเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เมื่อพิจารณาจากขอบเขตนิยามความ เป็นโรงงานใหม่ หรือแม้แต่ในพระราชบัญญัติโรงงานปีพ.ศ. 2552 ก็จดั อยู่ใน จาพวกที่ 1


รูปที่ 13 สถิติจานวนโรงงาน เงินทุน และคนงานในภาคอุตสาหกรรมปี 2010-2019 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0

2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 เงินทุน (ล้านบาท) 1,449 833 2,628 3,366 1,034 679 1,406 527 1,177 2,576 คนงานรวม (คน) 547 537 1,044 909 496 369 616 310 516 932 จานวนโรงงาน (โรงงาน) 62 71 80 61 46 38 37 23 44 53

ที่มา: กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2563)

90 80 70 60 50 40 30 20 10 0


การติ ด ตามสถานการณ์ ก ารบริ โ ภคของจั ง หวั ด ต้อ งอาศัย ตั ว ชี้ วั ด ต่ างๆ เพื่ อ ให้ เ ท่ าทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของเศรษฐกิ จ ใน ปั จ จุ บั น โดยการบริ โ ภคเป็ น หนึ่ ง ในปั จ จั ย ที่ ช่ ว ยในการขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจ นอกจากการบริโภคของประชากรภายในจังหวัด การเข้ามา ของนักท่องเที่ยวถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการใช้จ่ายซื้อสินค้าและ บริการเช่นเดียวกัน ในตัวชี้วัดแรกจะสะท้อนถึงการบริโภคในรูปแบบของสินค้า คงทนที่เป็นยานพาหนะ จากรูปที่ 14 ในปี 2019 จานวนของรถจด ทะเบี ย นสะสมประเภทรถยนต์ ย นต์ ส่ ว นบุ ค คลไม่ เ กิ น กว่ า 7 คน เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 7.95 หรื อ มี จ านวนรถที่ จ ดทะเบี ย นใหม่ เพิ่ ม ขึ้นมา 9,605 คั น ขณะที่ ร ถยนต์ นั่ ง ส่ ว นบุ ค คลมากกว่ า 7 คน มี ก ารจด ทะเบี ย นเพิ่ ม ขึ้ น เพี ย ง 78 คัน หรื อ ร้ อ ยละ 1.40 ส่ ว นยอดการจด ทะเบียนสะสมของรถจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นกว่า 6,153 คัน หรือร้อย ละ 6,153 คัน หากพิจารณาจากสถิติในช่วงที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า อัตราการเติบโตของการจดทะเบียนรถสะสมตั้งแต่ปี 2017-2019 ใน ประเภทของรถยนต์นั่งส่วนบุคคลต่ากว่า 7 คน มีแนวโน้มสูงขึ้นในทุก ปี สวนทางกับอัตราการเติบโตของการจดทะเบียนสะสมของรถยนต์ จักรยายนต์ส่วนบุคคล ขณะที่การจดทะเบียนสะสมของรถรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคลมากกว่า 7 คน มีอัตราการเติบโตคงที่ระหว่างร้อยละ 11.5 หรือมีการเปลี่ยนแปลงไม่มาก


รูปที่ 14 อัตราการเติบโตของจานวนพาหนะส่วนบุคคลจดทะเบียน สะสมปี 2017-2019 รถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล รถยนต์นั่งส่วนบุคคล>7 คน รถยนต์นั่งส่วนบุคคล<7 คน 0% 2019

2% 2018

4%

6%

8%

10%

2017

ที่มา: สานักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย (2563) ตัวชี้วัดต่อมาคือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value-added Tax) หรือที่ ถูกเรียกโดยทั่วไปว่า ‘VAT’ เป็นภาษีที่ถูกจัดเก็บจากสินค้าและบริการ ที่ ข ายในตลาด ซึ่ ง มี อั ต ราคงที่ อ ยู่ ที่ ร้ อ ยละ 7 ฉะนั้ น หากรั ฐ บาล สามารถจั ด เก็ บ VAT ได้ ใ นปริ ม าณที่ ม ากขึ้ น นั้ น หมายความว่ า ประชากรมีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น และเศรษฐกิจมีการหมุนเวียนที่ ดี โดยในปี 2019 การจัดเก็บ VAT มีการขยายตัวร้อยละ 3.31 ซึ่ง เพิ่มขึ้นจากปีก่อนที่มีการขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 1.21 ทั้งนี้ การจัดเก็บ VAT มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2017


รูปที่ 15 การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มและอัตราการเติบโตปี 20152019 1,150

10%

1,100

8%

1,050

6%

1,000

4%

950

2%

900 850

0% 2015

2016

2017

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

2018

2019

อัตราการเติบโต

ที่มา: สานักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย (2563) การท่องเที่ยวถือเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดที่มีความสาคัญอย่างมาก ต่ อ การบริ โ ภคของจังหวั ดเชี ยงราย โดยในปี 2019 มี แ นวโน้ มของ จานวนผู้เยี่ยมเยือน (visitor) ที่ลดลงอย่างมากจากปีก่อน จากจานวน ของผู้เยี่ยมเยือน 3.67 ล้านคนในปี 2018 ลดลงมาอยู่ที่ 2.32 ล้าน คน ในปี 2019 หรื อ ลดลงร้ อ ยละ 36.70 ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น การหดตั ว สูงสุดในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนในจังหวัดมี การเติบโตมากขึ้นอย่างต่อเนื่องเกือบทุกปี ส่งผลให้รายได้ที่ได้รับจาก ผู้เยี่ยมเยือนลดลงเกือบร้อยละ 40 ขณะที่จานวนผู้เข้าพักมีจานวน ลดลงเช่นเดียวกัน แต่กระนั้นอัตราการเข้าพักกลับลดลงเพียงเล็กน้อย จาก อัตราร้อยละ 50.75 ในปี 2018 ลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 52.18 ในปี 2019 แสดงว่าจานวนของผู้เข้ามาเยี่ยมเยือนส่วนใหญ่ยังคงมี การเข้าพักค้างคืนไม่แตกต่างจากปีก่อนมาก


รูปที่ 16 สถิติจานวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนปี 2015-2019 จานวนผู้เยี่ยมเยือน (คน) 4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000

2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019

0

Thai

Foreigners

Thai

2019

2018

2017

2016

2015

2014

2013

2011

2010

35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

2012

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน (คน)

Foreigners

ที่มา: กรมการท่องเที่ยว, กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา (2563)


หนึ่งในตัวชี้วัดทางด้านเศรษฐกิจที่มีความสาคัญอย่างมาก ต่อการเติบโตในระยะยาว คือ การลงทุน โดยในแต่ละหน่วยงานได้มี การกาหนดตัวชี้วัด ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ธนาคารแห่งประเทศ ไทย ได้ มี ก ารก าหนดตั ว ชี้ วั ดที่ ส ร้างเป็ น ดัชนี ก ารลงทุ น ภาคเอกชน (Private Investment Index: PII) ได้แก่ พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง ปริมาณการจาหน่ายวัสดุก่อสร้าง การนาเข้าสินค้าทุน ปริมาณการ จาหน่ายเครื่องจักรและอุปกรณ์ในประเทศ และยอดจดทะเบียนยาน ยนต์ใหม่ หากแต่ในบริบทของรายจังหวัดจะพิจารณาจากข้อมูลที่เก็บ รวบรวมสานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย ซึ่งมีองค์ประกอบของตัว แปรแทน (proxy) ทั้งหมด 3 ตัวแปรหลัก ได้แก่ พื้นที่อนุญาตก่อสร้าง รวม รถยนต์ เ พื่ อ การพาณิ ชย์จ ดทะเบี ย นใหม่ และสิ น เชื่ อ เพื่ อ การ ลงทุน โดยในปี 2019 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชนของจังหวัดเชียงราย มีการขยายตัวเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 7.2 ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นจากปี ก่อนที่มีการขยายตัวอยู่เพียงร้อยละ 2.6 โดยตัวแปรที่มี อิทธิ พลต่อ การเติบโตของการลงทุนภาคเอกชน คือ พื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม ที่ มีการเติบโตร้อยละ 18.6 สูงขึ้นจากปีก่อนที่มีการขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 8.5 ขณะที่สินเชื่อเพื่อการลงทุนมีการขยายตัวสูงขึ้นเช่นเดียวกัน อยู่ที่ ร้อยละ 2.6 แม้ว่าจะเป็นอัตราการเติบ โตที่ลดลงจากปีก่อ นก็ ต าม ทั้งนี้ รถยนต์เพื่อการพาณิชย์จดทะเบียนใหม่มีการหดตัวลดลงร้อยละ 1.7 ทั้งที่ในปีก่อนมีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.9 ดังนั้นดัชนีการลงทุน ภาคเอกชนจึงสะท้อนถึงการลงทุนใหม่มากกว่าการขยายการลงทุน หรือการบริโภคของภาคเอกชนที่มีอยู่ปัจจุบัน


รูปที่ 18 ดัชนีและตัวชี้วัดการลงทุนภาคเอกชนปี 2018 และ 2019 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน สินเชื่อเพื่อการลงทุน รถยนต์พาณิชย์จดทะเบียนใหม่ พื้นที่อนุญาตก่อสร้างรวม -5

0 2019

5

10

15

20

2018

ที่มา: สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย (2563) สถิ ติ ก ารจดทะเบี ย นนิ ติ บุ คคลใหม่ ข องจั ง หวั ด เชี ย งรายมี แนวโน้มสูงขึ้น โดยในปี 2019 จานวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 10 ราย มี การขยายตัวของมูลค่าเงินลงทุนจาก 91.39 ล้านบาท ในปี 2018 มา อยู่ที่ 119.70 ในปี 2019 หรือเติบโตร้อยละ 30.97 โดยมีการลงทุน โดยเฉลี่ยใกล้เคียงกันในทั้งสองปีอยู่ที่ประมาณ 1.6 ล้านบาทต่อราย ส าหรั บ แนวโน้ ม การลงทุ น ในปี 2020 น่ า จะมี ก ารขยายตั ว สู ง ขึ้ น เนื่องจากสถิติข้อมูลในช่วงระหว่างเดือนมกราคมถึงตุลาคม 2020 มี จานวนนิติบุคคลจดทะเบียนใหม่อยู่ที่ 86 ราย และมีมูลค่าการลงทุน อยู่ที่ 169.55 ล้านบาท ถึงแม้ว่าจานวนของนิติบุคคลจะเพิ่มขึ้นมา จากปีก่อนไม่มาก แต่เงินลงทุนขยายตัวในอัตราที่สูงกว่าปีก่อน


รูปที่ 19 การจัดตั้งนิติบุคคลใหม่ในจังหวัดเชียงรายปี 2018-2020 200

169.55

150

86

74

91.39 54

50

119.70

100

0 2018 จานวน (ราย)

2019

2020 (ม.ค.-ต.ค.)

มูลค่า (ล้านบาท)

ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2563) ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายถือเป็นหนึ่งพื้นที่ที่ได้รับการยกระดับให้ เป็นพื้นที่พัฒนาเขตเศรษฐกิจในระยะที่ 2 ที่มีการส่งเสริมให้เกิดการ ลงทุ น ภายในพื้ น ที่ อ าเภอเชี ย งของ เชี ย งแสน และแม่ ส าย จึ ง มี ความสาคัญอย่างมากในการติดตามสภาวะการลงทุนในพื้นที่ดังกล่าว โดยในปี 2019 จานวนของนิติบุคคลจัดตั้งใหม่อยู่ที่ 155 ราย ลดลง จากปีก่อนที่มีจานวนอยู่ที่ 167 ราย ซึ่งนับตั้งแต่ปี 2017 เป็นต้นมา (รูปที่ 19) จานวนของการจดทะเบียนนิติบุคคลใหม่มีแนวโน้มลดลง มาอย่างต่อเนื่อง ส่วนมูลค่าการลงทุนลดลงจากปีก่อนร้อยละ 6.22 อย่างไรก็ดี แม้ว่าจานวนและมูลค่าของการจดทะเบียนนิติบุคคลจะ ลดลงจากปี ก่ อ น แต่ ถื อ ว่ า มู ล ค่ า การลงทุ น โดยเฉลี่ ย ต่ อ รายสู ง ขึ้ น กล่าวคือ ในปี 2018 มูลค่าการลงทุนโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 1.77 ล้านบาท แต่ ใ นปี 2019 อยู่ ที่ 1.79 ล้ านบาท จึ ง ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ ามี ก ารลงทุ นใน


กิจการที่มีขนาดใหญ่ขึ้นในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ทั้งนี้ ธุรกิจที่มีจานวนการจัดตั้งใหม่มากที่สุด คือ การก่อสร้างทั่วไป มี จานวน 9 ราย รองมาคือ การขายส่งสินค้าทั่วโดยได้รับค่าตอบแทน/ ค่ า จ้ า งตามสั ญ ญา และอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ จ านวน 6 และ 5 ราย ตามล าดั บ แต่ ห ากมองตามทุ น จดทะเบี ย นนั้ น การลงทุ นใน อสังหาริมทรัพย์ถือว่ามีมูลค่ามากที่สุดอยู่ที่ 22 ล้านบาท ส่วนการ ขายส่งสินค้าทั่วโดยได้รับค่าตอบแทน/ค่าจ้ างตามสั ญญา และการ ก่อสร้างทั่วไป มีมูลค่าลงทุนอยู่ที่ 13.50 และ 8.10 ตามลาดับ รูปที่ 20 การจัดตั้งนิติบุคคลใหม่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ปี 2016-2020 400

2.5

300

2.0 1.5

200

1.0

100

0.5

0

0.0 2016

2017

2018

จานวน (ราย)

2019

2020 (ม.ค.-ก.ย.)

มูลค่า (ล้านบาท)

เฉลี่ยต่อราย (ล้านบาท)

ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2563) การลงทุ น ในพื้ น ที่ เ ขตเศรษฐกิ จ เชี ย งรายในปี 2020 มี แนวโน้ ม สู ง ขึ้ น เมื่ อ เปรี ย บเที ยบจากช่ ว งระหว่ างเดือ นมกราคมถึง


กันยายนในปี 2020 มีจานวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 1.60 หรือมี การจั ด ตั้ ง นิ ติ บุ ค คลใหม่ เ พิ่ ม ขึ้ น 22 ราย และมี ก ารลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น 80.93 ล้านบาท โดยพื้นที่ที่ได้รับการลงทุนมากที่สุด คือ อาเภอแม่ สาย มี จ านวนทั้ ง หมด 1,400 ราย และมู ล ค่ า ลงทุ น รวมอยู่ ที่ 4,530.59 ล้านบาท รองมาเป็นอาเภอเชี ยงแสน และอาเภอเชียงของ โดยการลงทุนในทั้งสามอาเภอชายแดน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.13 ของจานวนนิติบุคคล และสัดส่วนร้อยละ 11.44 ของมูลค่าการลงทุน จัดตั้งใหม่ของจังหวัดเชียงราย อย่างไรก็ดี การลงทุนส่วนใหญ่มากกว่า ร้อยละ 90 มีขนาดกิจการค่อนข้างเล็ก (small) และอยู่ ในด้านของ การขายปลีก-ส่ง (retail) และบริการ (service) เป็นหลัก รูปที่ 21 ประเภทและขนาดของธุรกิจในพื้นที่เขตเศรษฐกิจจังหวัด เชียงรายปี 2020 100%

80%

4

63

20

5 กลาง

1 ใหญ่

554

60% 40%

7

641

20% 0%

105 เล็ก

การผลิต

ขายปลีก-ส่ง

บริการ

ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2563)


จั ง หวั ด เชี ย งรายเป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ช ายแดนเชื่ อ มต่ อ กั บ หลาย ประเทศ ทั้งประเทศเพื่อนบ้านอย่างสปป.ลาว และเมียนมา ที่มีอัตรา การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงอย่างมากในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ท่ามกลางการชะลอตัวและอิ่มตัวทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทั่ ว โลก จึ ง ถู ก จั ด ให้ เ ป็ น ประเทศเศรษฐกิ จ เกิ ด ใหม่ (Emerging country) ตลอดจนประเทศจีนทางตอนใต้ ที่มีจานวนประชากรและ กาลังซื้อสูง ทาให้เชียงรายค่อนข้างเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพทั้งในด้าน ของการค้าชายแดนและการลงทุน ในปี 2019 ที่ ผ่ า นมา มู ล ค่ า การค้ า ชายแดนของจั ง หวั ด เชี ย งรายมีการขยายตั ว ร้อ ยละ 6.81 โดยทั้ ง มูล ค่าการส่ งออกและ นาเข้ามีการเติบโตสูงขึ้น หากแต่การส่งออกมีอัตราการเติบโตอยู่ที่ร้อย ละ 14.82 สูงกว่าการนาเข้าที่มีอัตราการเติบ โตอยู่ ที่ร้อยละ 5.32 โดยเมื่อพิจารณาจากประเทศที่มีการส่งออกและนาเข้าผ่านจังหวัด เชียงราย พบว่าการค้าชายแดนกับจีนตอนใต้มีการขยายตัวสูงสุดอยู่ที่ ร้อยละ 37.87 ซึ่งมีการเติบโตสูงขึ้นทั้งในด้านของการส่งออกและการ น าเข้ า อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 50.24 และ 13.18 ตามล าดั บ ขณะที่ ก ารค้ า ชายแดนกับประเทศเมียนมาก็มีการขยายตัวที่ดีเช่นกันอยู่ที่ร้อยละ 14.88 ซึ่ ง การน าเข้ า มี ก ารเติ บ โตอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 31.90 สู ง กว่ า การ ส่งออกที่มีอัตราอยู่ที่ร้อยละ 14.40 หากแต่การค้ากับสปป.ลาวมีการ หดตัวลดลงร้อยละ 35.67 ซึ่งเป็นผลมาจากการที่มีการส่งออกไปยัง สปป.ลาวลดลง หรือหดตัวกว่าร้อยละ 37.28 แม้ว่าการนาเข้ามีการ ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 29.71 ก็ตาม เนื่องจากสัดส่วนการค้าส่วนใหญ่ อยู่ ใ นด้ านของการส่ ง ออกเป็ น หลั ก สรุ ปได้ ว่ าภาพรวมของการค้ า


ชายแดนของจั ง หวั ด เชี ย งรายในปี 2019 ยั ง คงได้ รั บ อานิ ส งค์ ก าร เติบโตที่ดีจากคู่ค้าหลักอย่างประเทศจีนตอนใต้ และคู่ค้ารองอย่าง ประเทศเมียนมา สวนทางกับแนวโน้มของการค้าชายแดนกับสปป.ลาว โดยเฉพาะในด้านของการส่งออก รูปที่ 22 อัตราการเติบโตของการค้าชายแดน แยกประเทศ ปี 2561 60% 40% 20%

0% -20%

เมียนมา

สปป.ลาว

จีนตอนใต้

รวม

-40% -60% ส่งออก

นาเข้า

ค้ารวม

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563) สิ น ค้ า ส่ ง ออกผ่ า นจั ง หวั ด เชี ย งรายค่ อ นข้ า งมี ความ หลากหลาย แต่สินค้าส่งออกอันดับแรกมีสัดส่วนถึงร้อยละ 30 ของ มูลค่าการส่งออกทั้งหมด โดยในปี 2019 สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออก เป็นอันดับแรก คือ ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็ง และแห้ง มีมูลค่าอยู่ที่ 12,881.03 ล้านบาท และมีการเติบโตสูงขึ้นร้อยละ 88.56 แต่เป็น อัตราการเติบโตที่ลดลงจากปีก่อนอย่างมาก เป็นสินค้าที่มีการส่งออก ผ่ า นทั้ ง ทางอ าเภอเชี ย งแสนไปสปป.ลาว และจี น ตอนใต้ และทาง


อาเภอเชียงของไปจีนตอนใต้ จึงมีแนวโน้มว่าสินค้าดังกล่าว น่าจะมี จุดหมายปลายทางของสินค้าที่แท้จริงอยู่ที่ประเทศจีนมากกว่าสปป. ลาว ซึ่งเส้นทางที่ใช้ในการขนส่งหลัก คือ เส้นทาง R3A หรือสะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ส่วนสินค้าที่มีการส่งออกเป็นอันดับสองรองลงมา คือ สินค้า ปศุสัตว์ มีมูลค่าอยู่ที่ 3,051.94 ล้านบาท มีการหดตัวจากปีก่อนร้อย ละ 27.43 ทั้ ง ในปี ก่ อ นหน้ า นี้ มี ก ารขยายตั ว ร้ อ ยละ 71.37 มี ก าร ส่งออกผ่านด่านเชียงแสนเป็นหลัก หรือขนส่งทางเรือผ่านทางแม่น้า โขง และอีกส่วนหนึ่งส่งออกผ่านทางอาเภอเชียงของทางรถไปสปป. ลาว สาหรับอันดับสามของสินค้าส่งออกที่มีมูลค่าสูงสุด คือ น้ามัน ดีเซล มีมูลค่าอยู่ที่ 188.09 ล้านบาท มีการหดตัวจากปีก่อนร้อยละ 12.69 เป็ น สิ น ค้ า ที่ ถู ก ส่ ง ออกผ่ า นช่ อ งทางที่ ห ลากหลาย แต่ ก าร ส่งออกผ่านด่านแม่สายไปยังเมียนมาเป็นช่องทางที่มีมูลค่าสูงสุด รอง มาเป็นการส่งออกผ่านด่านเชียงของไปสปป.ลาว และอีกส่วนหนึ่งผ่าน ด่านเชียงแสนไปจีนตอนใต้ อย่างไรก็ดี สินค้าที่มีมูลค่าการส่งออก สูงสุด 10 อันดับแรก ครึ่งหนึ่งมีการขยายตัวสูงขึ้น แต่อีกครึ่งหนึ่งมี การหดตัวลดลง มากกว่านี้ สินค้าที่มีการเติบโตของมูลค่าการส่งออก ค่อนข้างสูง ได้แก่ สิ่งทออื่นๆ และเครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้างและ ส่วนประกอบ ผ่านด่านเชียงแสนไปยังสปป.ลาว และลาไยสด ผ่าน ด่านเชียงของไปยังจีนตอนใต้ ตารางที่ 1 สินค้า 10 อันดับแรกที่มีมูลค่าส่งออกสูงสุดในปี 2019 อันดับ 1 2 3 4

รายการสินค้าส่งออก ผลไม้สด แช่เย็น แช่แข็งและแห้ง สินค้าปศุสัตว์อื่น ๆ น้ามันดีเซล ลาไย แห้ง

61/60 327% 71% 30% 7%

62/61 89% -27% -13% 195%


อันดับ 5 6 7 8 9 10 รวม

รายการสินค้าส่งออก เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอส์ น้ามันสาเร็จรูปอื่น ๆ ปูนซิเมนต์ ไก่ ยางพารา เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอส์ มูลค่า 10 อันดับ มูลค่าทั้งหมด

61/60 309% 29% 7% 17% -69% -1% 38% 11%

62/61 24% -17% 7% -48% -26% 16% 20% 5%

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563) สินค้าที่นาเข้าผ่านจังหวัดเชียงราย มีมูลค่าไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ มู ล ค่ า การส่ ง ออก และมี ก ารกระจุ ก ตั ว ถึ ง ร้ อ ยละ 75 ในสิ น ค้ า 3 อันดับแรกที่มีมูลค่าการนาเข้าสูงสุด โดยสินค้าที่มีสัดส่วนการนาเข้า สู ง สุ ด ในปี 2019 คื อ ข้ า ว อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 36.73 หรื อ มี มู ล ค่ า อยู่ ที่ 3,102.32 ล้านบาท ซึ่งมีการขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 3.31 ถือว่า ปรับตัวดีขึ้นจากปีก่อนที่มีอัตราติดลบร้อยละ 2.68 โดยส่วนใหญ่ถูก ขนส่งมาจากจีนตอนใต้ทางรถผ่านด่านเชียงของมากกว่าขนส่งทางเรือ ผ่านด่านเชียงแสน สินค้าที่มีการส่งออกเป็นอันดับต่อมา คือ ผลไม้ และของปรุงแต่งจากผลไม้ มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 27.96 ของมูลค่า การนาเข้า ซึ่งมีการขยายตัวสูงขึ้นร้อยละ 17.42 มีการปรับตัวดีขึ้น เช่นเดียวกับข้าว จากที่ปีก่อนมีอัตราติดลบร้อยละ 9.64 โดยมีการ นาเข้าทางรถผ่านทางด่านเชียงของมาจากจีนตอนใต้เป็นหลัก รองมา เป็นการนาเข้าทางรถมาจากเมียนมาผ่ านทางด่ านแม่ส าย สาหรั บ สินค้าที่มีมูลค่าการนาเข้าเป็นอันดับสาม มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 10.52 ของมูลค่าการนาเข้า คือ ผักและของปรุงแต่งจากผัก มีการขยายตัว สูงขึ้นร้อยละ 62.96 เป็นการขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อนที่มีอัตราการ


เติบโตอยู่ที่ร้อยละ 11.28 โดยมีการนาเข้ามาจากจีนตอนใต้ผ่านด่าน เชียงของเป็นส่วนใหญ่เช่นเดียวกับอันดับหนึ่งและสอง มีการนาเข้า เล็กน้อยจากจีนตอนใต้ผ่านทางด่านเชียงแสน และจากเมียนมาผ่าน ทางด่านแม่สาย จึงเห็นได้ว่าสินค้านาเข้าที่มีการกระจุกตัวสามอันดับ แรกล้วนแต่เป็นสินค้าที่มาจากประเทศจีนเป็นสาคัญ ซึ่งจีนกับไทยนั้น เป็นข้อตกลงทวิภาคีที่สาคัญที่เรียกว่า ‘ข้อตกลงการค้าเสรีไทย-จีน (China-Thailand Free Trade Agreement: CTFTA)’ ทาให้สินค้าที่ อยู่ในจาพวกของสินค้าเกษตรมีอัตราภาษีอยู่ที่ร้อยละ 0 น่าจะเป็น ปัจจัยสาคัญอย่างมากที่เอื้อให้เกิดการนาเข้าอย่างมากในปัจจุบัน ตารางที่ 2 สินค้า 10 อันดับแรกที่มีมูลค่านาเข้าสูงสุดในปี 2019 อันดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม

รายการสินค้านาเข้า ข้าว ผลไม้และของปรุงแต่งจากผลไม้ ผักและของปรุงแต่งจากผัก เครื่องใช้/เครื่องตกแต่งภายในบ้านเรือนอืน่ ๆ

ถ่านหิน สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์อื่นๆ

แป้ง เครื่องจักรใช้ในการแปรรูปไม้ และส่วนประกอบ

ผลิตภัณฑ์โลหะทาด้วยเหล็ก เคมีภัณฑ์อนินทรีย์ มูลค่า 10 อันดับ มูลค่าทั้งหมด

61/60 62/61 -3% 3% -10% 17% 11% 63% 60% 24% 28% 51% 77% 92% 19% -17% -58% -40% -91% 1724% -40% -23% -4% 16% -5% 15%

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563)


ในปี 2020 แนวโน้มของการค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย น่าจะมีการหดตัวลดลง เนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 ที่ระบาดทั่ว โลก ส่งผลให้เกิดการเข้มงวดต่อการเคลื่อนย้ายของสิน ค้าระหว่ าง ประเทศ และในมีมาตรการปิด ประเทศในบางประเทศ แต่กระนั้ น การค้าชายแดนตั้งแต่เดือนมกราคมถึงกันยายน มีมูลค่าลดลงจากปี ก่อนในช่วงเดียวกันเพียงแค่ร้อยละ 14.29 ซึ่งสาเหตุที่การค้าขยายตัว มาจากที่มูลค่าการนาเข้ายั งคงมีการขยายตัวร้อยละ 24.22 ขณะที่ มูลค่าการส่งออกมีการหดตัวร้อยละ 21.29 โดยมูลค่าการส่งออก ลดลงในทุกประเทศ โดยเฉพาะสปป.ลาวที่หดตัวถึงร้อยละ 42.40 ส่วนการส่งออกไปจีนตอนใต้มีการหดตัวอยู่ที่ร้อยละ 21.84 ขณะที่ การส่งออกไปเมียนมาลดลงเพียงแค่ร้อยละ 1.46 ด่านเชียงแสน เป็นด่านที่ได้รับผลกระทบจากการส่งออกที่ ลดลงมากที่สุด มีมูลค่าการส่งออกลดลงกว่าร้อยละ 57.06 ทั้งการ ส่งออกไปยังสปป.ลาว และจีนตอนใต้ โดยกลุ่มสินค้าที่มีการส่งออก สูงสุดใน 10 อันดับแรก มีการส่งออกลดลงเกือบทั้งหมด ได้แก่ สินค้า ปศุสัตว์ ไก่ รถยนต์นั่ง น้าตาลทราย ปูนซิเมนต์ ผลไม้แปรรูป น้ามัน ดีเซล ยางพารา และสุกรสดแช่เย็น/แช่แข็ง ยกเว้นแต่สินค้ากสิกรรมที่ ยังคงมีการขยายตัวร้อยละ 12.37 ซึ่งมีการส่งออกอย่างต่อเนื่องมา โดยตลอด ด่านที่ได้รับผลกระทบรองลงมาคือ ด่านเชียงของ มีการ ส่งออกลดลงเกือบทุกสินค้าที่มีมูลค่าสูงสุด 10 อันดับแรกในปี 2562 ทั้งในประเภทของสินค้าเกษตร สินค้าปศุสัตว์ ปูนซิเมนต์ เครื่องดื่มที่ ไม่มีแอลกฮอล์ ยกเว้นแต่ลาไยแห้งที่ยังคงมีการขยายตัวสูงขึ้นร้อยละ 100.96 ซึ่งเป็นสินค้าที่มีการส่งออกไปประเทศจีน อย่างมาก ส่วน สินค้าที่มีการขยายตัวอย่างมากในปี 2563 ได้แก่ น้าตาลทราย และ ผลไม้แปรรูป สาหรับด่านแม่สาย แม้ว่าจะมีการหดตัวของมูลค่าการ ส่งออก แต่ก็ลดลงเพียงแค่เล็กน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับอีกสองด่าน


ชายแดน โดยสินค้าที่มีการส่งออกลดลงค่อนข้างมาก ได้แก่ น้ามัน ดีเซล และน้ามันสาเร็จรูป ส่วนในประเภทของเครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ ปู น ซิ เ มนต์ เครื่ อ งส าอาง/เครื่ อ งหอม/สบู่ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข้ าวสาว ยังคงมีการขยายตัวที่ดีอยู่ ขณะเดียวกัน การนาเข้ามีการเติบโตสูงขึ้น ทั้งในด่านของแม่ สาย และเชียงของ โดยการนาเข้าจากเมียนมาผ่านด่านแม่สายมีการ ขยายตั ว อย่ างมากถึ ง ร้ อ ยละ 315.67 ซึ่ ง มาจากการน าเข้ าสิ น ค้า ประเภทใหม่ที่ไม่เคยมีการนาเข้ามาก่อนในช่วงก่อนโควิด -19 ระบาด คือ ‘ธัญพืช’ ได้มีการนาเข้ามาในมูลค่ามากกว่า 1,000 ล้านบาท ซึ่ง ในอดีตมูลค่าการนาเข้าจากเมียนมาผ่านด่านแม่สายไม่เคยเกินกว่ า 500 ล้านบาท โดยปัจจัยมาจากการที่รัฐบาลไทยยกเว้น ภาษีให้กับผู้ ส่งออกเมียนมาในช่วงระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 สิงหาคม ตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างประเทศไทยและเมียนมา 25 ส่วนสินค้า อื่นมีมูลค่าการนาเข้าสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ได้แก่ เครื่องใช้ในครัวและโต๊ะ อาหาร ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ เครื่องทาน้าร้อน ขณะที่กลุ่มสินค้าที่เคยมี การขยายตัวได้ดีในปี 2562 ได้แก่ สินแร่โลหะ ผลไม้และของปรุงแต่ง จากผลไม้ เหล็ก กาแฟ ชา เครื่องเทศ และอลูมิเนียมและผลิตภัณฑ์ มี การหดตัวลดลง ส่วนสินค้าที่ยังคงมีการขยายตั วต่อเนื่ องมาจากปี 2562 ได้ แ ก่ พื ช และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพื ช อื่ น ๆ ผ้ า ทอด้ ว ยด้ า ยฝ้ าย เครื่องพักกระแสไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้าและส่วนประกอบ สาหรับการ นาเข้าผ่านด่านเชียงของมีมูลค่าสูงขึ้นร้อยละ 11.14 มีสาเหตุมาจาก การนาเข้าสินค้าจากจีนตอนใต้เพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 15.19 เนื่องจาก การนาเข้าจากสปป.ลาวติดลบอยู่ที่ร้อยละ 43.07 โดยสินค้าที่มีมูลค่า การนาเข้าผ่านด่านเชียงของสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้าว ผลไม้และ 25

Eleven Myanmar. (23 Jan 2020). Millet grains pile up to export to Thailand.


ของปรุงแต่งจากผลไม้ และผักและของปรุงแต่งจากผัก มีการขยายตัว สู ง ขึ้ น ซึ่ ง สิ น ค้ า ทั้ ง หมดเป็ น สิ น ค้ า ที่ น าเข้ า มากจาประเทศจี น นอกจากนี้ มีสินค้าที่มีมูลค่าการนาเข้าเติบโตค่อนข้างสูง ได้แก่ บรรจุ ภัณฑ์กระดาษ ไม้แปรรูป กาแฟ ชา เครื่องเทศ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากสัตว์ ทั้งนี้ ด่านเชียงแสนเป็นเพียงด่านเดียวที่มีมูลค่าการนาเข้า ลดลงร้อยละ 44.28 ซึ่งเป็นผลจากการหดตัวของมูลค่านาเข้าจาก ประเทศจี น ตอนใต้ ร้ อ ยละ 46.67 โดยสิ น ค้าเกื อ บทั้ ง หมดใน 10 อันดับแรกที่มีมู ลค่าสูงสุด ไม่ว่าจะเป็นข้าว แป้ง สัตว์น้า กระดาษ เครื่ อ งจั ก รในการแปรรู ป ไม้ พื ช เป็ น ต้ น ซึ่ ง เป็ น สิ น ค้ า ที่ ส่ ง ผลไป ประเทศจีนเป็นหลักมีมูลค่าลดลง ยกเว้นแต่ เคโอลินและดินที่ใช้ใน อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ฉะนั้น สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด -19 อาจเป็น ปัจจัยที่ทาให้การค้าชายแดนของจังหวัดเชียงรายมีแนวโน้มลดลงใน ด้านของการส่งออก แต่ในทางตรงกันข้ามกลับเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาต่อ การนาเข้าจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างประเทศเมียนมา และสปป.ลาว ตลอดจนจีนตอนใต้ ในบางกลุ่มสินค้าที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต มากกว่าสินค้าอื่น มากกว่านี้ หากสถานการณ์ของการระบาดไวรัสทั่ว โลกยังไม่ดีขึ้น อาจเป็นปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบ การค้าชายแดนใหม่ รวมทั้งการมีอยู่ของสงครามการค้าระหว่างจีน และสหรัฐที่ยังคงเป็นเหมือนภูเขาไฟที่รอเวลาการปะทุ โดยที่ความท้า ทายที่ ต ามมา คื อ การขึ้ น มาของประธานาธิ บ ดี ค นใหม่ ข อง สหรัฐอเมริกาว่าจะมีนโยบายการต่างประเทศอย่างไรต่อประเทศไทย ในด้านของการค้า และความร่วมมือทางการค้าในภูมิภาครูปแบบใหม่ ซึ่งย่อมส่งผลอย่างต่อเนื่องต่อการค้าชายแดนของจังหวัดเชียงราย


รูปที่ 23 อัตราการเติบโตของการค้าชายแดนผ่านด่านอาเภอแม่สายปี 2563 (ม.ค.-ก.ย.) 350%

315.67%

300% 250% 200%

150%

91.51%

100% 50% 0% -50%

10.50% -1.46%

เมียนมา

-36.86%

-100% ส่งออก

นาเข้า

จีนตอนใต้

ค้ารวม

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563)

-25.27%

.


รูปที่ 24 อัตราการเติบโตของการค้าชายแดนผ่านด่านอาเภอเชียงของปี 2563 (ม.ค.-ก.ย.) 20%

15.19%

10%

0% สปป.ลาว

-10%

จีนตอนใต้ -9.96%

-20% -30%

-18.04% -24.60%

-26.35%

-40% -50%

-43.07% ส่งออก

นาเข้า

ค้ารวม

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563)


รูปที่ 25 อัตราการเติบโตของการค้าชายแดนผ่านด่านอาเภอเชียงแสนปี 2563 (ม.ค.-ก.ย.) 40%

28.12%

20% 0% -20%

สปป.ลาว

จีนตอนใต้

-40% -60% -80%

-57.03%

-46.67% -54.92% -57.12%

-56.74%

ส่งออก

นาเข้า

ค้ารวม

ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์ (2563)


เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายเริ่มมีการชะลอตัวในช่วงหลาย ปีที่ผ่านมา ซึ่งแม้ว่าจะไม่เกิดผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิด19 ก็ยากที่เศรษฐกิจที่จะกลับมาเติบโตดังเช่นในช่วงก่อนปี 2014 หรือช่วงระหว่างปี 2011-2012 ที่มีการเติบโตถึงร้อยละ 6-9 โดย ภาคเกษตรกรรมยังคงเป็ นกาลังที่สาคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของจั ง หวั ด หากแต่ ใ นช่ ว งหลายปี ที่ ผ่ า นมา ‘ภาคบริ ก าร’ กลั บ มี บทบาทมากขึ้น ด้วยอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น และอาจกลายมาเป็น กาลังหลักต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจแทนที่ภาคเกษตรที่ต้องเผชิญกับ ภาวะความไม่ แ น่ น อน (Uncertainty) จากปั จ จั ย ภายใน (Internal factor) อย่างภัยแล้ง โรคพืชระบาด และสภาพอากาศ ตลอดจนปัจจัย ภายนอก (External factor) ราคาตลาดโลก การทะลั ก เข้ ามาของ สิ น ค้ า น าเข้ า ซึ่ ง ล้ ว นแต่ เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ ท าให้ ผ ลผลิ ต และราคาสิ น ค้า เกษตรเกิดความผันผวน ส่วนภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดเชียงรายมี การขยายตัวได้ดีในปี 2017 แต่ในปี 2018 มีอัตราการเติบโตลดลง สะท้ อ นถึ ง ความไม่ ห วื อ หวาของสภาวะอุ ต สาหกรรมของจั ง หวั ด เชียงรายอย่างเสมอต้นเสมอปลาย สถานการณ์ของการผลิตในด้านของ เกษตรกรรม ผลผลิต ของสินค้าเกษตรส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้งอย่างต่อเนื่อง และแรงจูงใจของเกษตรกรต่อราคาที่ลดลง ทาให้มีปริมาณออกมาสู่ ตลาดลดลง มีเพียงข้าวนาปรังที่ยังคงมีผลผลิตสูงขึ้น แต่เพิ่มขึ้นมา เพียงเล็กน้อย ส่วนราคาของสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีการปรับตัวลดลง หรือมีการขยายตัวไม่มาก หากแต่ลิ้นจี่และสัปปะรดโรงงานกลั บ มี ขยายตัวในอัตราค่อนข้างสูง แนวโน้มของสินค้าเกษตรส่วนใหญ่ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีปริมาณของผลผลผลิตลดลง โดยที่ราคามีการเพิ่มขึ้น เพียงเล็กน้อย จึงถือเป็นสถานการณ์ที่กลืนไม่เข้าและคายไม่ออกของ


เกษตรกรเชี ย งรายในการรั บ มื อ กั บ ราคาที่ ต กต่ าอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะในกรณีของสัปปะรดโรงงาน ส่วนลิ้นจี่มีแนวโน้มของราคาที่ สูงขึ้น ซึ่งสวนทางกับปริมาณผลผลิตที่ลดลง ขณะเดียวกัน ในด้านของ อุตสาหกรรม มีการจานวนของโรงงาน เงินทุน และการจ้างงานสูงขึ้น จากปีก่อน สาหรับตัวชี้วัด การบริโภคภายในจังหวัด ในด้านของการจด ทะเบียนสะสมในประเภทของรถยนต์จักรยานยนต์ และรถยนต์นั่ง ส่วนบุคคลมีการขยายตัวสูงขึ้น ส่วนการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ที่มาจากการจับจ่ายใช้สอยสินค้าของประชาชนในจังหวัดมีมูลค่าสูงขึ้น เช่นเดียวกัน แต่กระนั้นในด้านของการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบอย่าง มากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจโลก เนื่องจากจังหวัดเชียงรายถือเป็น เป้าหมายหนึ่งในการเข้ามาของนักท่องเที่ยวต่างชาติ เช่น จีน ยุโรป อเมริกา นอกจากนั้น จังหวัดเชียงรายยังเป็นพื้นที่เมืองรองที่ไม่ได้รับ ความนิยมอย่างมากจากท่องเที่ยวภายในประเทศ อย่ างไรก็ ต าม การลงทุ น ภาคเอกชน กลั บ มี แ นวโน้ ม ที่ ดี อย่างมาก ซึ่งชี้วัดผ่านดัชนีการลงทุนภาคเอกชน โดยตัวแปรที่เป็น องค์ประกอบของดัชนีที่สาคัญต่อการเติบโต คือ พื้นที่อนุญาตก่อสร้าง รวม ที่มีการขยายตัวสูงขึ้นจากปีก่อนอย่างเห็นได้ชัด แม้ว่าตัวแปรอื่น จะหดตั ว ลดลงก็ ต าม ขณะที่ ใ นด้ านของการจั ด ทะเบี ยนธุ ร กิจ ใหม่ ภายในจั ง หวั ด มี จ านวนและเงิ น ทุ น มากขึ้ น แต่ ใ นพื้ น ที่ ข องเขต เศรษฐกิจพิเศษ ได้แก่ อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงของ และอาเภอเชียง แสน มีการจัดตั้งนิติบุคคลใหม่ลดลงอย่างต่อเนื่อง แนวโน้มของ การค้าชายแดน ได้รับผลกระทบจากทั้งการ ชะลอตั ว ทางเศรษฐกิ จ และสงครามการค้า ระหว่ างจี น และสหรั ฐ ในช่วงของปี 2019 โดยเฉพาะในด้านของการส่งออกไปสปป.ลาว แต่ การค้ากั บ ประเทศอื่ น ได้ แ ก่ จี น ตอนใต้ และเมี ย นมา ยั ง คงมี ก าร ขยายตั ว ที่ ดี ทั้ ง ในด้ า นของการน าเข้ า และส่ ง ออก แต่ ทิ ศ ทางของ


การค้าชายแดนในปี 2020 หลังการสถานการณ์การระบาดของไวรัส โควิด-19 การค้ามีอัตราการติดลบ เนื่องจากการส่งออกมีมูลค่าลดลง อย่างรุนแรงในทุกด่าน โดยเฉพาะการค้าผ่านด่านเชียงแสน ในทาง ตรงกันข้าม การนาเข้าผ่านด่านแม่สายกลับมีการเติบโตสูงขึ้นอย่ าง มาก ทั้งที่มาจากประเทศเมียนมา และจีนตอนใต้ ดั ง นั้ น จึ ง สามารถสรุ ป ได้ ว่ า ในปี 2019 สถานการณ์ เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายกาลังอยู่ในภาวะทรงตัว ซึ่งได้รับแรง กระตุ้นจากหลายภาคเศรษฐกิจแต่เพียงเล็กน้อยช่วยให้เศรษฐกิจมีการ เติบโต ในแต่ปี 2020 การระบาดของไวรัสโควิด -19 เป็นปัจจัยลบที่ ทาให้เครื่องยนต์ที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจต่างๆมีการหยุดชะงักไปถึง 2-3 เดือน และแม้สถานการณ์จะเริ่มดีขึ้น แต่การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจยังไม่ สามารถกลับมาได้เหมือนเดิม โดยเฉพาะในด้านการท่องเที่ยวที่ถือว่า ส่วนที่สาคัญอย่างมากต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะผลกระทบ ต่อรายได้ของภาคบริการ หรือการลดลงของการบริโภคภายในจังหวัด ทาให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าในปีนี้ เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายจะ มีอัตราติดลบ เหมือนที่หน่วยงานต่างๆได้คาดการณ์ไว้เช่นเดียวกับ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทั้งนี้ ภาครัฐจึงกลายมาเป็นเครื่องยนต์เดียวที่ช่วยกระตุ้น และเยียวยาช่องว่างทางเศรษฐกิจที่หายไปผ่านการใช้งบประมาณเพื่อ กระตุ้นการบริโภคต่างๆที่ออกมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงต้นปี 2020 ที่ผ่านมา แต่กระนั้นนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจถือเป็นการแก้ไขในระยะ สั้ น ที่ ช่ ว ยผ่ อ นหนั ก เป็ น เบา ท าให้ ใ นระยะยาวภาครั ฐ ต้ อ งหาแนว ทางแก้ไขปัญหาที่มีประสิทธิภาพในด้านเศรษฐกิจ ควบคู่ไปกับการ ควบคุมความปลอดภัยด้านของสาธารณสุข เพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่มีแนวโน้มจะขึ้นในระลอกที่สอง


Eleven Myanmar. (23 Jan 2020). Millet grains pile up to export to Thailand. Retrieved from https://elevenmyanmar.com/news/millet-grains-pile-upto-export-to-thailand เดลินิวส์. (12 มิถุนายน 2563). โรงงานสัปปะรดกระป๋อง ทยอยปิด ผลกระทบจากโควิด-19. สืบค้นจาก https://www.dailynews.co.th/regional/779542 โพสต์ทูเดย์. (5 กรกฎาคม 2562). มาอีกแล้วศัตรูพืชตัวใหม่ล่าสุด “มอด” ระบาดหนักไร่กาแฟอะราบิกาในเชียงราย. สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/economy/news/594047 กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2535). พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535. สืบค้นจาก https://www.diw.go.th/hawk/news/62.pdf กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2562). พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2562. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/ 056/T_0213.PDF กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2563). สถิติ โรงงานอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนกับกระทรวงอุตสาหกรรม และได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่ (ตามพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535) จาแนกตามประเภทโรงงาน ปี พ.ศ. 2553 – 2562. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. ข้อมูลธุรกิจเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เชียงราย. สืบค้นจาก


https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisi c/2563/ECONOMICZONE/Q3_63_Chiangrai.pdf.pdf กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. ข้อมูลนิติบุคคลรายจังหวัดปี 2561 และ 2562. สืบค้นจาก https://www.dbd.go.th/more_news.php?cid=1459 กรุงเทพธุรกิจ. (25 กุมภาพันธ์ 2563). ‘สมาคมการค้ามันสาปะหลัง’ ชี้โอกาสหัวมันสดทะลุ 2.50 บาทต่อกิโลกรัม. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/89567 4 กรุงเทพธุรกิจ. (28 กันยายน 2562). สัปปะรดราคาพุ่ง79%. สืบค้น จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/84894 6 ฐานเศรษฐกิจ. (13 มกราคม 2563). แล้งผาข้าวนาปรัง คาดผลผลิต วูบ 50%. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/Macro_econ/41 8512 ฐานเศรษฐกิจ. (14 กรกฎาคม 2563). “ลาไย” ราคาดิ่ง หน้าสวน 6 บาท/กก. ปล่อยร่วงเกลื่อน จ้างแรงงานไม่คุ้ม. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/content/Macro_econ/44 3175 ฐานเศรษฐกิจ. (23 สิงหาคม). ลาไยภาคเหนือผลผลิตลดลง ชี้ผลพวง แล้ง-อากาศแปรปรวน/ป้องกันพ่อค้าคนกลางกดราคา. สืบค้น จาก https://www.thansettakij.com/content/business/87044 ประชาชาติ. (13 มีนาคม 2563). สวนกาแฟใต้ช้าผลผลิตวูบกว่า 60% จุกอกยักษ์ใหม่ขอนาเข้ากาแฟนอกเร็วขึ้น 1 เดือน.


สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/localeconomy/news-431567 ประชาชาติ. (5 เมษายน 2562). พ่อค้าหัวใสนาโรบัสต้าลาวสวมสิทธิ์ ไทยส่งโรงงาน. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/local-economy/news311786 ประชาชาติ. (8 มิถุนายน 2562). ก.เกษตรฯเตรียมแผนรับมือปัญหา ราคาสัปปะรด. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/economy/news-336082 ประชาชาติธุรกิจ. (1 กรกฎาคม 2561). หัวมันสาปะหลังชอตทั่ว อาเซียน โรคใบด่างคุกคาม-ราคาพุ่ง 3 บาท/กก. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/economy/news-183105 ประชาชาติธุรกิจ. (12 สิงหาคม 2562). แล้งทา “ลาไย” เชียงราย เสียหายหนักผลผลิตไม่พอขาย. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/local-economy/news359741 ประชาชาติธุรกิจ. (19 กรกฎาคม 2563). ลาไยล้านกว่าตันทะลัก “สนธิรัตน์” วิ่งวุ่นหาที่ขายระบายผลผลิต. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/economy/news-192893 ประชาชาติธุรกิจ. (21 กุมภาพันธ์ 2563). “ผัก-ผลไม้” อ่วมแล้ง ราคา ดี-ไม่มีขาย. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/economy/news-423615 มติชน. (12 พฤษภาคม 2562). เพื่อไทย ลงพื้นที่เชียงราย รับปาก เร่งรัฐแก้ภัยแล้งหนัก ฝนไม่ตก 5 เดือน. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/region/news_1491851 มติชน. (27 เมษายน 2562). 10 ล้านบาทหายวับ สวนลิ้นจี่ไม่ออก ผลจากอากาศร้อนสุดสุด. สืบค้นจาก


https://www.matichon.co.th/newsmonitor/news_1468517 มติชนออนไลน์. (8 เมษายน 2563). จุรินทร์ แจ้งราคาข้าวนาปรัง แตะหมื่นบาท ส่วนชาวใต้เฮ! รับส่วนต่างงวดล่าสุดวันนี้. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/newsmonitor/news_2128756 สานักข่าวอิศรา. (5 เมษายน 2563). ‘โรงสี’ ไล่ซื้อดันราคาข้าวเปลือก ดีสุดรอบ 3 ปี ‘2 สมาคมฯ’ ยันในประเทศไม่ขาดแคลน. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/article/isranewsnews/87252-rice-2.html สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ข้อมูลการผลิตและราคาสินค้าเกษตร. สืบค้นจาก http://www.oae.go.th/ สานักงานการคลังจังหวัดเชียงราย. (2563). รายงานภาวะเศรษฐกิจ การคลังจังหวัดเชียงราย. สืบค้นจาก https://www.cgd.go.th/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.