สำรวจพื้นที่ชายแดนแม่สาย-เชียงแสน หลังการระบาดของไวรัส COVID-19

Page 1

่ ำยแดนแม่สำย-เชียงแสน สำรวจพื้ นทีช หลังกำรระบำดของไวรัส COVID-19 บทความก่อนหน้านี้ (ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ต่อเศรษฐกิจเชียงราย อ่านได้ใน http://rs.mfu.ac.th/obels/?p=1895) ทีไ่ ด้ทาการรวบรวมจากข่าวสารในช่วงเดือนมกราคมกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าการระบาดของ COVID-19 ได้ส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจที่ สาคัญ 2 ด้านหลัก คือ การค้าชายแดน และการท่องเที่ยว ทางสานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิ สติกส์ หรือโอเบลส์ จึงได้ทาการลงพืน้ ทีเ่ พื่อสารวจสาานการ์​์ท่เี กิดขึน้ จริงภายในพื้นที่ ในระหว่าง วันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2563 โดยเลือกทีจ่ ะทาการสารวจพืน้ ทีอ่ าเภอแม่สาย และอาเภอเชียงแสน 1) จุดผ่านแดนถาวรสามเหลี่ยมคาและเขตเศรษฐกิจพิ เศษคิงส์โรมัน

ในพืน้ ทีอ่ าเภอเชียงแสน จุดทีเ่ ลือกทาการสารวจเป็ นจุดแรก คือ บริเว์ของจุดผ่านแดนาาวร สามเหลีย่ มคา ซึ่งเป็ นจุดทีใ่ ช้ในการข้ามแดนไปยังเมืองต้นผึง้ แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว หรือที่ตงั ้ ของ เขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมทองคา (Kings Romans of LAOS Asian Economic &Tourism Development Zone) พื้นที่ท่ที างการลาวได้ให้กลุ่มดอกงิ้วคาของจีนมาสัมปทาน หากได้ในอ่านใน บทความทีแ่ ล้ว หรือติดตามข่าวสารในช่วงที่ผ่านมา จะทราบว่าพื้นที่ดงั กล่าวได้าูกประกาศให้มกี าร ปิ ดตัวอย่างชัวคราว ่ เพื่อป้ องกันและสกัดกัน้ การระบาดของไวรัส COVID-19 ซึ่งจากการสารวจจะเห็น ได้วา่ จุดผ่านแดนทีเ่ คยหนาแน่นไปด้วยกลุ่มชาวจีนทีเ่ ข็นกระเป๋ าลากขนาดใหญ่มาเพื่อข้ามท่าเพื่อไป แสวงหาความบันเทิงในฝั ง่ ตรงข้าม ปั จจุบนั กลับไม่เห็นชาวจีนแม้เพียงคนเดียวในบริเว์นัน้ เหลือไว้ เพียงแต่รารับจ้างจอดนิ่งว่าง ร้านค้าที่ไม่มีคนเข้า ร้านอาหารที่ติ ดป้ ายภาษาจีนสีแดงที่เงียบเหงา ตลอดจนเรือหางยาว และเรือของทางคาสิโนทีจ่ อดแน่นิ่งอยู่รมิ ฝั ง่ (รูปที่ 1 และ 2) รูปที่ 1 จุดผ่านแดนสามเหลีย่ มทองคา

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2563

รูปที่ 2 เรือหางยาวทีจ่ อดนิง่ อยู่รมิ ฝั ง่ ไทย


2) จุดชมวิวสามเหลี่ยมทองคา และหอฝิ่ น

จุดที่ผู้วจิ ยั ได้ท าการสารวจต่ อมา คือ พื้นที่จุดชมวิวสามเหลี่ยมทองคา ซึ่งาือ เป็ น แหล่ ง ท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างมากจากนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท่มี าใน รูปแบบของทัวร์ ซึ่งหากเป็ นในช่วงปกติจะพบนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวนมากเดินขวักไขว่ ดูของที่ ระลึก า่ายรูป ไหว้พระ และต่อคิวรอเพื่อลงเรือเที่ยวชมวิว แต่ปัจจุบนั แทบไม่พบนักท่องเที่ยวใน บริเว์นัน้ โดยมีเพียงนักท่องเทีย่ วต่างชาติจานวนหนึ่งทีเ่ ดินทางมาเป็ นกลุ่มขนาดเล็กกับราตู้เพียง เท่านัน้ และส่ วนหนึ่ง ก็ใช้บ ริการเรือท่อ งเที่ยว รวมาึงมีนักท่ องเที่ยวชาวไทยเพียงประปราย นอกจากนี้ หอฝิ่นทีเ่ ป็ นอีกหนึ่งสาานทีท่ อ่ี ยู่ใกล้กนั ก็ไม่มรี าตูท้ ่องเทีย่ วจอดเพียงซักคนเดียว รูปที่ 3 นักท่องเทีย่ วกาลังเดินขึน้ จากเรือ

รูปที่ 4 ร้านขายลอตเตอรี่ และราสองแาว

รูปที่ 5 จุดแลนด์มาร์คสาหรับา่ายรูป

รูปที่ 6 ลานจอดราสามเหลีย่ มทองคา

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2563 3) ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 1 และ 2

พื้นที่ท่อี ยู่ใกล้กบั ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 1 คือ บริเว์ของท่าเรือที่เป็ นจุดผ่อนปรนที่มกี าร ขนส่งสินค้าอุปโภค-บริโภคข้ามฝั ง่ ไปสปป.ลาว ในช่วงบ่ายแก่ๆ ยังพบว่ามีการขนสินค้าจากรากระบะ ลงไปยังเรือหางยาวทีจ่ อดรอเป็ นจานวนมาก (รูปที่ 8) เห็นได้ว่าแม้ว่าจะเกิดโรคระบาด แต่กจิ กรรม


การค้าชายแดนในระดับเล็กยังคงดาเนินต่อไป เนื่องจากทางสปป.ลาวเองก็มคี วามต้องการสินค้าจาก ฝั ง่ ไทยจานวนมาก ซึ่ง การค้า แบบไม่ เป็ นทางการ หรือนอกระบบเปรียบเสมือนเส้นเลือดของ ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเว์ชายแดน ส่วนราสามล้อก็มาจอดราชาวลาวที่ขา้ มฝั ง่ มาจับจ่ายใช้สอย (รูปที่ 7) ข์ะเดียวกัน ตัวท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 1 ก็เงียบสงัด เรือสาราญท่องเที่ยว 3 ชัน้ จอดแน่ นิ่ง อยู่ท่ที ่าเรือ (รูปที่ 10) เช่นเดียวกับท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2 ที่เป็ นท่าเรือน้ าลึกสาหรับขนส่งสินค้า ประเภทคอนเทนเนอร์กม็ เี พียงราบรรทุกมาจอดประมา์ 2-3 คัน เพื่อขนส่งสินค้าทางแม่น้ าโขง รูปที่ 7 สามล้อจอดล้อชาวลาวมาซื้อของ

รูปที่ 8 เรือหางยาวจอดรอสินค้า

รูปที่ 9 ลานจอดเรือท่องเทีย่ วท่าเรือเชียงแสน 1

รูปที่ 10 ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2563 4) ตลาดสายลมจอย และจุดผ่านแดนแม่สายแห่งที ่ 1 จุดทีเ่ ป็ นแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ าคัญของแม่สาย คือ ตลาดสายลมจอย ที่มรี ้านค้าจาหน่ ายสินค้า ราคาาูกทีม่ าจากประเทศจีนจานวนมาก ทัง้ เสือ้ ผ้า สินค้าใช้สอยทัวไป ่ เครื่องใช้ไฟฟ้ า อาหาร เป็ นต้น ซึ่งในช่วงก่อนที่จะเกิดโรคระบาด ก็ประสบกับภาวะเศรษฐกิจซบเซา เมื่อเจอปั ญหาไวรั สเข้ามายิ่ง เป็ นการซ้ าเติมให้ตลาดมีความเงียบเหงายิง่ ขึน้ จากการสารวจแทบไม่มนี ักท่องเที่ยวมาเดินตลาด ร้านค้าบางร้านมีการปิ ดตัวลง นักท่องเทีย่ วทีม่ มี าเป็ นชาวไทย ซึ่งมีจานวนไม่มาก ส่วนบริเว์จุดข้าม


แดนตรงด่านแม่สายก็ไม่เห็นนักท่องเที่ยวมาต่อคิวรอข้ามไปฝั ง่ ท่าขี้ เหล็ก ประเทศเมียนมา ราราที่ จอดริมทาง ซึ่งโดยปกติจะมีการกระจุกตัวอยู่บริเว์หน้าด่าน ตอนที่ทาการสารวจมีจานวนค่อนข้าง น้อย และมีการสัญจรไม่พลุกพล่าน รูปที่ 10 และ 11 บริเว์หน้าด่านแม่สาย และตลาดสายลมจอย

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2563 5) ด่านศุลกากรสากลแม่สาย-สะพานแม่สายแห่งที่ 2

ข์ะทีบ่ ริเว์ด่านศุลกากรแม่สายแห่งที่ 2 ซึ่งเป็ นด่านศุลกากรสากลสาหรับการขนส่งสินค้า จานวนมาก ประเภทคอนเทนเนอร์ ผ่านสะพานมิตรภาพแม่น้ าสายแห่งที่ 2 พบว่ามีราบรรทุกที่เป็ น ทัง้ คอนเนอร์ขนสินค้าประเภทอุปโภค-บริโภค เช่น เครื่องดื่มแอลกฮอล์ เป็ นต้น อีกทัง้ ยังมีสนิ ค้า ประเภทน้ ามัน และวัสดุก่อสร้างต่างๆ มาจอดรอเพื่อขนส่งออก และเข้ามาในประเทศ รูปที่ 12 และ 13 บริเว์หน้าด่านแม่สายแห่งที่ 2 และราตูก้ ระจายสินค้า

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2563


นอกจากนี้ ยังพบว่ามีราตู้รุ่นเก่าจานวนมากมารอเพื่อรับสินค้าจากบริเว์หน้าด่านเพื่อนา สินค้าไปกระจายต่อในพื้นที่อ่นื ๆ เนื่องด้วยกลุ่มราตู้ดงั กล่าวปิ ดม่าน และมีฟิล์มค่อนข้า งทึบ จึงไม่ สามาราระบุได้วา่ สินค้าที่นาเข้ามาเป็ นสินค้าประเภทใด จึงจาเป็ นต้องอาศัยราตู้จานวนมากในการ กระจายสินค้า รูปที่ 14 และ 15 บริเว์คลังเก็บสินค้าขาเข้า และราบรรทุกขนวัสดุก่อสร้าง

ทีม่ า: ผูว้ จิ ยั สารวจเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2563 สรุปพืน้ ทีช่ ายแดนเชียงแสน และแม่สายส่วนใหญ่ได้รบั ผลกระทบอย่างมากในด้านของการ ท่องเที่ยว โดยกิจกรรมการค้าชายแดนยังคงดาเนินต่อไปตามปกติ เนื่องจากทางฝั ง่ เมียนมา และ สปป.ลาวเองก็ยงั คงต้องการสินค้าจากประเทศไทยค่อนข้างมาก ท าให้แม้ว่าจะเกิดสาานการ์​์ ดังกล่าวขึ้น ก็ยงั คงมีการขนส่งสินค้าเข้ามาและออกไป แต่ก็เห็นได้าึงแนวโน้มของความซบเซาที่ อาจจะต่อเนื่องมาจากปั จจัยอื่นๆก่อนหน้าไวรัสโควิด -19 ไม่วา่ จะเป็ นการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ ภาวะ เงินบาทแข็งค่า เป็ นต้น พรพินนั ท์ ยีร่ งค์ 2 กุมภาพันธ์ 2563

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจยั ทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การ ยกระดับองค์ความรูท้ เ่ี ป็ นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์และการสร้าง ความสามาราในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุ์ภาพชีวติ ในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. +6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.