ธุรกิจเพื่อความเป็นสังคมเมืองในพื้นที่ชายแดนจังหวัดพะเยา วราวุฒิ เรือนคา จังหวัดพะเยาเป็นหนึ่งในจังหวัดภาคเหนือที่มีพื้นที่ชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ บริเวณบ้านฮวก อ.ภู ซาง จังหวัดพะเยา มีพื้นที่ติดกับแขวงไชยะบุลี สปป.ลาว โดยมีด่านชายแดนบ้านฮวกเป็นจุดผ่อนปรนสาหรับการค้า ชายแดนระหว่างสองประเทศ และสามารถเชื่อมโยงสู่หลวงพระบาง ได้ทางถนนหมายเลข 3603 อ.ภูซางมีคาขวัญประจา อาเภอคือ “ประตูสู่หลวงพระบาง ยางพาราชั้นเลิศ แหล่งกาเนิดน้าตกอุ่น หวานละมุนน้าอ้อยสบบง สูงส่งถิ่นพระธาตุ ตลาดค้าชายแดนไทย-ลาว” ซึ่งบ่งบอกถึงศักยภาพด้านเศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ของพื้นที่ อาเภอภูซางได้เป็นอย่างดี
รูปที่ 1: บริเวณด่านชายแดนบ้านฮวก (กิ่วหก) อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60) ด้วยศักยภาพและที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่มีความได้เปรียบ จึงทาให้บ้านฮวกถูกพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวชายแดน อี ก แห่ ง หนึ่ ง ของภาคเหนื อ ไม่ แ พ้ ช ายแดนแม่ ส าย เชี ย งแสนและเชี ย งของ จ. เชี ย งราย สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ดึ ง ดู ด นักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศที่ขึ้นชื่อได้แก่ ภูชี้ฟ้า ผาตั้ง ภูชมดาว น้าตกภูซาง (ซึ่งเป็นน้าตกน้าอุ่นแห่งเดียวใน ประเทศไทย) รวมถึงตลาดค้าชายแดนไทยลาว และเทศกาลตักบาตรสองแผ่นดิน ดังนั้นจึงท าให้มีธุรกิจเกี่ยวกับการ ท่องเที่ยวจานวนมากเข้ามาเปิดกิจการในช่วงเวลาที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจที่พัก (Accommodation Business) ธุรกิจ สวนและฟาร์ม (Garden and Farm) ธุรกิจนันทนาการ (Recreation Business) รวมถึงธุรกิจเพื่อความเป็นสังคมเมือง (Business for Urbanization) เริ่มเข้าลงทุนในพื้นที่ชายแดนในส่วนนี้มากขึ้น ผนวกกับการผลักดันยกระดับด่านผ่อนปรน บ้ านฮวกให้ เป็ น ด่ านผ่ านแดนถาวรเพื่ ออานวยความสะดวกในการเคลื่ อนย้ ายสิน ค้า แรงงานและการท่ องเที่ ยวให้ มี ประสิทธิภาพมากขึ้น จึงทาให้ราคาที่ดินและการเข้ามาลงทุนมีแรงดึงดูดมากขึ้น
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวที่สังเกตได้ชัดที่สุดได้แก่ธุรกิจที่พัก (Accommodation Business) ซึ่งสามารถ พบเจอได้โดยทั่วไป ที่พักตั้งแต่บริเวณด่านชายแดนบ้านฮวกลงมาตามทางหลวงหมายเลข 1093 ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นรี สอร์ทขนาดเล็กและขนาดกลางที่มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติ บรรยากาศเงียบสงบเหมาะกับการมาพักผ่อน เจ้าของธุรกิจ ส่วนใหญ่ เป็นคนในพื้นที่ อีกจานวนหนึ่งจะเป็นโฮมสเตย์บริหารจัดการโดยชุมชน โดยนาเอาอัตลักษณ์ ของชุมชนและ วัฒนธรรมมาส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ จุดแข็ง (strength) ของการประกอบธุรกิจที่พักได้แก่ การเป็นเจ้าแรก ในพื้นที่ ความคุ้นเคยกับชาวบ้าน ความสามารถในการหาพันธมิตรทางธุรกิจ การเป็นเจ้าของที่ดิน การหาทาเลที่ตั้ง ความ ใกล้ชิดธรรมชาติที่งดงาม ความสงบเหมาะสาหรับเป็นที่พักตากอากาศ ความภักดีในตราสินค้าจากลูกค้าประจา รวมถึง ความยากในการเข้ามาแข่งขันของนักลงทุนจากนอกพื้นที่ ทาให้ธุรกิจในพื้นที่มีความเข้มแข็งจากการเข้ามาแย่งตลาดของ ธุรกิจภายนอก
รูปที่ 2: กิจการโฮมสเตย์ในพืน้ ที่บ้านฮวก อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60) ทั้งนี้ยังมีโอกาส (Opportunity) ในการขยายตลาดหากการผลักดันด่านผ่อนปรนให้เป็นด่านถาวรได้สาเร็จ ซึ่งจะ ส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวจากทั้งฝั่งไทยและฝั่งลาวที่จะข้ามมาเที่ยวมีจานวนมากขึ้น อีกทั้งยังสามารถรองรับนักธุรกิจ ของทั้งสองประเทศที่จะเข้ามาดาเนินธุรกิจในพื้นที่ หรือหากสามารถพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างบ้านฮ วก-ไชยะบุลี-หลวงพระบาง อาจจะทาให้ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในพื้นที่เติบโตได้ในอนาคต เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวไทย รุ่นใหม่นิยมเที่ยวใกล้ชิดธรรมชาติและหลวงพระบางมากขึ้น ดังนั้นหากสามารถเดินทางทางถนนผ่านเส้นทางนี้ได้ก็จะเพิ่ม ทางเลือกให้นักท่องเที่ยวได้เพิ่มขึ้นจากทางเรือที่อ.เชียงของ อีกทั้งวัฒนธรรมของชาวสปป.ลาวฝั่งตรงข้าม กับชาวบ้านอ.ภู ซางมีความใกล้ชิดเสมือนเป็นบ้านพี่เมืองน้อง ดังนั้นหากยกข้อจากัดด้านการผ่านแดนออก ชาวบ้านทั้งสองฝั่งจะมีการไป มาหาสู่และติดต่อสัมพันธ์กันมากขึ้น
รูปที่ 3: ทางหลวงหมายเลข 1093 (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60) อีกธุรกิจที่เป็นผลพวงจากการท่องเที่ยวและการพัฒนาเมืองชายแดนได้แก่ กลุ่มธุรกิจเพื่อความเป็นสังคมเมือง (Business for Urbanization) ตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าที่ต้องการความทันสมัย ซึ่งได้แก่ธุรกิจร้านอาหาร ร้านกาแฟ คาเฟ่ ธุรกิจยานยนต์ และธุรกิจความงาม โดยพื้นที่ชายแดนบ้านฮวกก็มีธุรกิจดังกล่าวรองรับนักท่องเที่ยวทั้งที่ เป็นคนในพื้นที่และนอกพื้นที่อย่างหลากหลาย ธุรกิจที่พบมากที่สุดในกลุ่มนี้คือธุรกิจยานยนต์ขนาดเล็ก เนื่องจากบ้านฮวก เป็นทางผ่านการขนส่งอุปกรณ์ก่อสร้างไปยังสปป.ลาวและทางขนส่งหินของธุรกิจไทยที่ได้รับสัมปทานในฝั่งลาว อีกทั้งใน สปป.ลาวก็ยังขาดธุรกิจประเภทยานยนต์ ธุรกิจยานยนต์ที่พบจากการสารวจภาคสนามประกอบด้วยร้านขายอะไหล่ยนต์ ซึ่งเป็ น กลุ่ม ที่มี ส่วนแบ่ งการตลาดสูงสุด รองลงมาคือซ่ อมยานยนต์ขนาดเล็ก ร้านขายจักรยานยนต์ และร้านล้างรถ ตามลาดับ จุดแข็ง (Strength) ของธุรกิจยานยนต์ในพื้นที่ ได้แก่ การให้บริการที่ครบวงจร ความสามารถในการสร้าง พั น ธมิ ต รกับ ลู กค้า และผู้ ขายส่งรายใหญ่ ท าเลที่ ตั้ งที่ ได้เปรียบ และมีความต้องการสิ น ค้าจากสปป.ลาว ส่ วนโอกาส (Opportunity) ขึ้นอยู่กับการขยายตัวของสังคมเมืองและความต้องการของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น กลุ่มธุรกิจร้านอาหาร ร้านกาแฟ และคาเฟ่ มีการเติบโตคงที่เมื่อเทียบกับหลายปีที่ผ่านมาจากการปรับตัวเป็น สังคมเมืองของและการท่องเที่ยวในพื้นที่ชายแดนบ้านฮวกและอาเภอภูซาง ลักษณะร้านอาหาร ร้านกาแฟ และคาเฟ่มีการ ปรับตัวให้เข้ากับธุรกิจในสังคมเมืองมากขึ้น โดยจุดแข็ง (Strength) ของธุรกิจจาพวกนี้ได้แก่การประยุกต์ใช้วัตถุดิบและ ผลไม้ในท้องถิ่นเช่น เสาวรส กระท้อน ลูกหม่อนฯ มาสร้างมูลค่าเพิ่มเป็นเมนูที่ของหวานที่มีความหลากหลายและเป็น สากลมากขึ้น ส่วนธุรกิจร้านอาหารโดยทั่วไปจะเป็นร้านอาหารจานเดียวขนาดกลางและขนาดเล็กรองรับการสัญจรของนัก ธุรกิจและนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวสปป.ลาว
รูปที่ 4: ร้านกาแฟในพืน้ ที่ตาบลป่าสัก อ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมือ่ เดือน มิ.ย. 60) จุดแข็ง (Strength) ของธุรกิจดังกล่าว คือนักธุรกิจเป็นคนในพื้นที่ มีความสามารถในการหาวัตถุดิบในท้องถิ่น และการสร้างพั นธมิต รกับ ผู้ผ ลิต ทั้ งจากต้น น้ าถึงปลายน้า การแข่งขัน ของธุรกิจประเภทเดี ยวกัน น้อย การให้บ ริการ หลากหลาย สินค้าและบริการตรงความต้องการผู้บริโภค รวมถึงความสามารถในการควบคุมต้นทุนเนื่องจากเป็นเจ้าของที่ รวมถึงการออกแบบร้านให้สอดคล้องกับธรรมชาติ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการก่อสร้างเป็นต้น ส่วน โอกาส (Opportunity) ของธุรกิจกลุ่มนี้คือการพัฒนาเข้าสู่สั งคมเมือง พฤติกรรมผู้บริโภคที่นิยมสินค้าเพื่อความทันสมัย มากขึ้น อีกทั้งชาวบ้านมีความเชื่อมั่นว่าการเป็นเป็นด่านถาวรจะช่วยให้มีการเดินทางเข้าออกด่านมากยิ่งขึ้น
รูปที่ 5: ธุรกิจร้านอาหารและสระว่ายน้า (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60)
อีกหนึ่งธุรกิจที่ส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเป็นเมืองท่องเที่ยวคือ กลุ่มธุรกิจนันทนาการ (Recreation Business) เช่นธุรกิจสวนและฟาร์ม และสถานออกกาลังกาย เนื่องจากภูซางตั้งอยู่ห่างไกลจากศูนย์กลางความเจริญ จึงถูกโอบล้อม ด้วยธรรมชาติที่สวยงาม สิ่งที่เป็นเอกลักษณ์ของที่นี่คือ การผสมผสานระหว่างความเป็นเมืองและธรรมชาติได้อย่างลงตัว ดังนั้นหากบ้านจะหมุนรอบตัวเอง 360 องศา เพื่อชื่นชมความงามของธรรมชาติคงจะเป็นเรื่องที่ไม่แปลก แต่สิ่งที่แปลก และแตกต่างจากการออกแบบบ้านทั่วไปคือ “นวัตกรรมบ้านหมุน” นวัตกรรมการออกแบบฝีมือคนไทยที่พลิกผมบังภูเขา จัดการปัญหาองศาตัวบ้านไม่ลงตัวด้วยการหมุนรับแดด ลม และฝน การทาให้ตัวอาคารหมุนได้ 360 องศา ไม่ได้มีเหตุผล เพียงแค่ชมวิวเท่านั้น แต่เพื่อความปลอดภัยและการป้องกันภัยธรรมชาติ เช่น พายุ และ แผ่นดินไหว ด้วยตัวฐานที่ไม่ยึด ติดและสามารถเคลื่อนไหวได้จึงสามารถรับแรงแผ่นดินไหวและพายุได้อย่างปลอดภัย บ้านหมุนอ.ภูซาง เปิดให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านนวั ตกรรม พลังงานย้อนกลับ สวนสมุนไพร ร้านกาแฟ ธุรกิจสวน และฟาร์ม โดยไม่เพียงให้บริการนักท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว แต่ยังพยายามส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการเป็น ศูนย์เรียนรู้ การแปรรูปและพัฒนาสินค้าเกษตร รวมถึงสร้างเป็นจุดดึงดูด (Landmark) ส่งเสริมสถานที่ท่องเที่ยวท่องเที่ยว ในพื้นที่
รูปที่ 6 : นวัตกรรมบ้านหมุนอ.ภูซาง จ.พะเยา (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60) ในส่วนธุรกิจสถานออกกาลังกายและฟิตเนสค่อนข้างบางตา เนื่องจากชาวบ้านนิยมออกกาลังกายข้างนอกตัว อาคาร เช่น เดิน ปั่นจักรยาน และวิ่งตามสถานที่ต่างๆที่มีความใกล้ชิดธรรมชาติ ส่วนหนึ่งนิยมออกกาลัง กายในบ้านหรือ ในสวน จึงไม่ค่อยออกไปใช้บริการฟิตเนสหรือสถานออกกาลังกายนอกบ้าน ถึงอย่างไรก็ตามในพื้นที่มีธุรกิจร้านอาหารที่ ให้บริการสระว่ายน้าไปในตัว ทาให้ผู้บริโภคที่นิยมรักสุขภาพมาใช้บริการ รวมถึงพาบุตรหลานมาพักผ่อนหย่อนใจ อีกส่วน หนึ่งจะเป็นสถานออกกาลังกายตามสถานที่สาธารณะต่างๆที่รัฐบาลเป็นผู้สร้าง
รูปที่ 7: ธุรกิจเพื่อการออกกาลังกาย (ถ่ายเมื่อเดือน มิ.ย. 60) อย่ า งไรก็ต าม จุ ด อ่ อ น (Weakness) ของการด าเนิ น ธุ รกิ จ ในบ้ า นฮวก อ.ภู ซ างได้ แ ก่ โครงสร้า งอาชี พ ของ ประชากรในพื้ น ที่ ที่ ส่วนใหญ่ เกิน ร้อยละ 90 ท างานในภาคเกษตร ซึ่งมีรายได้ไม่ แน่ น อน รวมถึงผู้ป ระกอบการยั งไม่ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีในการให้บริการและการประชาสัมพันธ์ การดาเนินธุรกิจส่วนใหญ่ยังมีรูปแบบดั้งเดิม การชาระ เงินส่วนใหญ่ใช้เป็นเงินสดเนื่องจากกลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่นิยมใช้เงินสดด้วยเช่นกัน การทาธุรกรรมทางการเงินจาเป็นต้องเข้า มาทาในอาเภอเท่านั้น ส่วนการเดินผ่านด่านชายแดนมีกฎระเบียบที่ไม่เอื้ออานวยต่อการท่องเที่ยวเนื่องจากด่านผ่านแดนมี สถานะเป็นจุดผ่อนปรน ดังนั้นจึงมีข้อจากัดในการเดินทางเข้า -ออก นักท่องเที่ยวชาวลาวที่ข้ามมาซื้อสินค้าส่วนใหญ่นิยม เข้าไปซื้อในตัวอาเภอและตามห้างสรรพสินค้า จึงทาให้ธุรกิจท้องถิ่นได้รับผลกระทบ ถึงอย่างไรก็ตามได้มีการจัดทาตลาด ชายแดนสองแผ่นดินที่มีลักษณะเป็นตลาดนัด บริเวณบ้านฮวก และตลาดนัดคลองถมหมู่บ้านป่าสัก ดึงดูดให้ชาวลาวแวะ ซื้อสินค้าในท้องถิ่น อุปสรรค (Threat) ของการประกอบกิจการได้แก่พื้นที่ทาการเกษตรน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าเขาจึงไม่สามารถ ทาการเพาะปลูกได้มากทั่วที่ควร เกษตรกรสามารถทานาได้ปีละ 1 ครั้งเท่านั้น หลักจากนาปีนิยมปลูกพืชไร่ทดแทน เช่น กระเทียม ข้าวโพด และ ถั่วลิสง เป็นต้ น ดังนั้ น ปัญ หาที่ มักเกิดขึ้นคือการผันผวนของราคาสิน ค้าเกษตรซึ่งเป็ นปั จจัย ภายนอกที่ควบคุมยาก ดังนั้นเมื่อราคาผลผลิตสูงชาวบ้านจะมีรายได้ เพิ่มขึ้น เมื่อราคาตกต่าก็จะได้รับผลกระทบเป็นวง กว้ า ง ส่ งผลให้ ค วามต้ อ งการ (Demand) และอ านาจซื้ อ (Purchasing power) ลดลงตามระดั บ ราคาสิ น ค้ า เกษตร อุปสรรคอีกหนึ่งข้อที่ไม่อาจเลี่ยงได้ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจซบเซาซึ่งส่งผลให้จานวนนักท่องเที่ยวซบเซาตาม ผลกระทบที่ เกิดขึ้นและพบได้ชัดเจนสุดคือยอดขายของทุ กๆกิจการลดลงกว่า 100 % บางกิจการจาเป็นต้องปรับกลยุทธ์ด้วยการลด ราคาสินค้าและเปลี่ยนกลุ่มลูกค้าเป้าหมายจากกลุ่มนักท่องเที่ยวเป็นชาวบ้านในชุมชน ถึงแม้การเข้ามาประกอบธุรกิจในพื้นที่ชายแดนบ้านฮวกไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็มีโอกาสเติบโตจากการเป็นสังคมเมือง การขยายตัวการท่องเที่ยว การจัดเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงสองแผ่นดิน การเติบโตของระบบโลจิสติกส์ และแนวโน้มการ ผลักดันด่านชายแดนให้เป็นด่านถาวร ดังนั้นการเข้ามาประกอบธุรกิจในพื้นที่ชายแดนบริเวณนี้ควรมีการศึกษาข้อมูลอย่าง ครบถ้วน และมีความจาเป็นที่ต้องเข้าไปสารวจพื้นที่จริงก่อนตัดสินใจลงทุน และที่สาคัญควรมีการวางแผนระยะสั้น กลาง ยาว รองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภค และสถานการณ์การท่องเที่ยว ฯ
และควรทาความเข้าใจวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวบ้านสองฝั่งชายแดน หลีกเลี่ยงการสร้า งผลกระทบต่อชาวบ้านและ สิ่งแวดล้อมเพื่อการประกอบธุรกิจที่อย่างยั่งยืน...