การประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนตามแนว รถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงของ พรพินันท์ ยี่รงค์ ณัฐพรพรรณ อุตมา บทคัดย่อ หลังจากมีการประกาศโครงการรถไฟทางคู่สายเด่นชัย -เชียงของอย่างเป็นทางการตามมติของคณะรัฐมนตรี ในวันที่ 31 ธันวาคม ทาให้เส้นทางคมนาคมเหนือจรดใต้ของประเทศไทยครบมิติทั้งถนน ระบบราง และอากาศ ซึ่งถือ เป็นโอกาสอย่างมากในด้านของการค้า และการท่องเที่ยว ส่งผลต่อเศรษฐกิจในภาพรวมของทั้งภูมิภาค โดยพื้นที่ที่มี การตัดผ่านของเส้นทางรถไฟประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย พะเยา ลาปาง และน่าน ดังนั้นงานศึกษานี้จึงมีจุดประสงค์ ในการประเมินศักยภาพตามแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ รอบสถานีขนส่งมวลชน (Transit-Oriented Development: TOD) โดยมีเกณฑ์ชี้วัดทั้งหมด 4 ด้าน ได้แก่ ความหนาแน่น ความหลากหลาย การออกแบบ และการพัฒนา จากผล การศึกษาพบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ขาดความพร้อมอย่างมากต่อการพัฒนา โดยเฉพาะพื้นที่ที่อยู่ตามเส้นทางที่รถไฟตัดผ่าน ซึ่งควรได้รับการปรับปรุงในเกณฑ์ชี้วัดที่แตกต่างกัน ดังนั้นควรมีการวางแนวทางในการพัฒนา TOD ที่ควรอาศัยความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อทาให้เกิดการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Inclusive growth) 1. บทนา ในช่วงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเกือบ 60 ปี ที่ได้มีการเสนอแนวโครงการรถไฟทางคู่สายเด่นชัย-เชียงของ ซึ่ง เป็นเส้นทางที่เริ่มต้นตั้งแต่จังหวัดแพร่ ตัดผ่านจังหวัดลาปาง พะเยา มาจนถึงจังหวัดเชียงราย ได้ถูกนากลับมา พิจารณา และผ่านการอนุมัติของคณะรัฐมนตรีในวันที่ 31 ธันวาคม 2561 ได้ มอบหมายให้การรถไฟแห่งประเทศไทย เป็นผู้ดาเนินการขั้นตอนต่างๆ โดยปัจจุบันอยู่ในระหว่างการจ้างที่ปรึกษาเพื่อทาการศึกษาการจัดทาพื้นที่เวนคืน ทั้งนี้ กาหนดการก่อสร้างเส้นทางสายดังกล่าวจะเริ่มต้นในปีพ.ศ. 2563 มีระยะทางทั้งหมด 323 กิโลเมตร และงบประมาณ การลงทุนทั้งหมด 1,764 ล้านบาท มี 26 สถานี ลานขนถ่ายสินค้า 4 แห่ง และลานเก็บตู้สินค้าอีก 1 แห่ง 1 โดยคาดว่า เส้ น ทางสายนี้จ ะช่ วยเกิด ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ ทั้ งในด้ านของการเดิ น ทาง การค้า ชายแดน การท่ องเที่ ยว ตลอดจนโลจิ ส ติ ก ส์ เนื่ อ งจากเป็ น เส้ น ทางที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ พื้ น ที่ แ นวระเบี ย ง เศรษฐกิ จ เหนื อ ใต้ (North-South Economic Corridor) ซึ่งสถานีที่มีการจัดตั้งในแต่ละจังหวัดแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ สถานีเล็ก และสถานีใหญ่ โดย จังหวัดแพร่เป็นจังหวัดต้นทาง มีทั้งหมด 5 สถานี ประกอบด้วย สถานีใหญ่ 2 จุด อยู่ที่อาเภอเด่นชัย และแพร่ สถานี เล็ก 3 จุด อยู่ที่อาเภอสูงเม่น แม่คามี และสอง จังหวัดลาปางมีสถานีเล็กเพียงสถานีเดียวอยู่ที่อาเภองาว จังหวัด พะเยา มีทั้งหมด 2 สถานี ประกอบด้วย สถานีเล็กที่มหาวิทยาลัยพะเยา และสถานีใหญ่อาเภอเมืองพะเยา จังหวัด เชียงรายเป็นจังหวัดปลายทาง มีทั้งหมด 5 สถานี ประกอบด้วย สถานีใหญ่ 1 จุด อยู่ที่อาเภอเมืองเชียงราย สถานีเล็ก
1
ประชาชาติธุรกิจ. (30 มกราคม 2562). ลงพื้นที่เวนคืน 4 จังหวัดหรือ สร้างรถคู่สายมาราธอนเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ.
4 จุด อยู่ที่อาเภอป่าแดด เวียงเชียงรุ้ง ชุมชนบ้านป่าซาง และเชียงของ2 ฉะนั้นจึงมีเพียงแค่ 13 สถานี จาก 26 สถานี ที่ได้มีการประกาศออกมา โดยจุดที่เหลือจึงเป็นเพียงแค่ป้ายหยุดรถไฟสาหรับการรับ -ส่งผู้โดยสารระหว่างพื้นที่เพียง เท่านั้น ดังนั้นการเข้ามาของรถไฟย่อมสร้างผลกระทบต่อการพัฒนาของพื้นที่ชุมชนที่มีการจัดตั้งสถานี เพื่อทาให้เกิด การเติบโตอย่างมีส่วนร่วม (Inclusive growth) และมีการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable development) ในงานวิจัย ชิ้ น นี้ จึ ง มี จุ ด ประสงค์ในการศึกษาศั กยภาพของพื้ น ที่ ต ามแนวคิด การพั ฒ นาพื้ น ที่ รอบสถานี (Transit-oriented Development: TOD) เพื่อนาไปสู่ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นโดยอาศัยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ทางระบบราง โดยในร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ได้ระบุ ถึงการพัฒนาพื้นที่ตามแนวเส้นทางรถไฟ และรถไฟฟ้า ตั้งแต่ระยะที่ 1-4 ซึ่งรัฐบาลมองว่าเป็นโอกาสของการพัฒนา พื้นที่พาณิชย์ของภาคเอกชน ซึ่งอาจจะนาไปสู่การเพิ่มสูงขึ้นของรายได้ และมูลค่าที่ดิน3 สาหรับพื้นที่ที่ทาการศึกษาทั้งหมด 4 จังหวัด ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย พะเยา ลาปาง และแพร่ โดย ในปีพ.ศ.2560 พบว่าเชียงรายเป็นจังหวัดที่มีมูลค่าของผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงสุด (ณ ราคาปีฐานพ.ศ.2545) อยู่ที่ 55,079 ล้านบาท รองมาคือ จังหวัดลาปาง พะเยา และแพร่ อย่างไรก็ดี เมื่อเปรียบเทียบกับจานวนของประชากร ภายในจังหวัด จังหวัดลาปางถือว่ามีรายได้ของประชากรเฉลี่ยต่อหัวมากที่สุดอยู่ที่ 55,422 บาทต่อปี ตามมาด้วย จังหวัดเชียงราย พะเยา และแพร่ ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของทั้ง 4 จังหวัด คิดเป็นสัดส่วนเพียงแค่ร้อยละ 19.85 และร้อยละ 1.28 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมโดยรวมของภาคเหนือ และประเทศ นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาถึงการขยายตัว ทางเศรษฐกิจในระยะยาว ในช่วงเวลากว่า 22 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีพ.ศ.2538-2560 จังหวัดเชียงรายมีการขยายตัว เฉลี่ยสะสม (Compound average growth rate: CAGR) สูงที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 3.35 ซึ่งมีการขยายตัวสูงกว่า CAGR ของภาคเหนือ และประเทศ ขณะที่จังหวัดอื่นๆมีอัตราต่ากว่า ส่วนจังหวัดที่มี CAGR รองลงมา ได้แก่ จังหวัดพะเยา แพร่ และลาปางมีอัตราอยู่ที่ 2.50, 1.80 และ 1.28 ตามลาดับ โดยหากแบ่งช่วงการเติบโตทางเศรษฐกิจออกเป็น 2 ช่วงระหว่างปีพ.ศ. 1995-2005 และปีพ.ศ. 2006-2017 พบว่าทุกจังหวัดมีอัตราการเติบโตถดถอย โดยเฉพาะจังหวัด พะเยาที่มีในช่วงปีพ.ศ. 1995-2005 มี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 3.65 ลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 1.55 ในปีพ.ศ.2006-2017 ในขณะที่จังหวัดเชียงรายมีการรักษาระดับการเติบโตค่อนข้างดี โดยในช่วงปีพ.ศ. 1995-2005 มี CAGR อยู่ที่ร้อยละ 3.78 ลดลงเพียงเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 3.40 ในปีพ.ศ. 2006-2017 ตารางที่ ... ผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้เฉลี่ยต่อหัว และอัตราการเติบโตเฉลี่ยรายจังหวัด ภูมิภาค และประเทศ พื้นที่ เชียงราย พะเยา ลาปาง 2
ผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้เฉลี่ยต่อหัว 2560 55,079 48,155 18,803 45,868 40,753 55,422
อัตราการเติบโตเฉลี่ย 2538-2548 2549-2560 2538-2560 3.78% 3.40% 3.35% 3.65% 1.55% 2.50% 1.83% 1.05% 1.28%
สานักงานนโยบายและแผนขนส่งและจราจร. (2560). โครงการศึกษาทบทวนความเหมาะสมโครงการก่อสร้างรถไฟสายเด่น ชัย-เชียงราย-เชียงของ. 3 กระทรวงคมนาคม. (30 พฤศจิกายน 2559). แผนงานในภารกิจหลักของกระทรวงคมนาคมภายใต้ (ร่าง) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของไทย.
พื้นที่ แพร่ ภาคเหนือ ประเทศ
ผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้เฉลี่ยต่อหัว 2560 16,757 39,594 661,992 58,069 10,237,021 151,315
อัตราการเติบโตเฉลี่ย 2538-2548 2549-2560 2538-2560 2.47% 1.55% 1.80% 3.29% 2.27% 2.69% 3.05% 3.27% 3.25%
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2562) โครงสร้างเศรษฐกิจของภาคเหนือโดยรวมมีการพึ่งพิงการขับเคลื่อนของภาคบริการเป็นหลัก คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 55.44 หรือมากกว่าครึ่งหนึ่งของมูลค่าเศรษฐกิจ รองมาเป็น ภาคเกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ในสัดส่วน ร้อยละ 24.78 และ 19.78 ตามลาดับ เช่นเดียวกับโครงสร้างเศรษฐกิจของแต่ละจังหวัดในภาคเหนือ รวมถึงจังหวัด เชียงราย พะเยา ลาปาง และแพร่ โดยจังหวัดเชียงราย และพะเยา มีโครงสร้างทางเศรษฐกิจที่มีความคล้ายคลึงกัน อย่างมาก กล่าวคือสัดส่วนของภาคบริการค่อนข้างสูง รองมาคือภาคเกษตรกรรม และมีสัดส่วนของภาคอุตสาหกรรม ค่อนข้างต่า หรือน้อยกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่าเศรษฐกิจของจังหวัด ซึ่งแตกต่างจากจังหวัดลาปางที่แม้ว่าโครงสร้าง เศรษฐกิจส่วนใหญ่อยู่ในภาคบริการ แต่ภาคเศรษฐกิจที่ความสาคัญรองลงมากลับเป็นภาคอุตสาหกรรม มากกว่านี้ จังหวัดแพร่มีโครงสร้างเศรษฐกิ จที่ขึ้นอยู่กับภาคบริการมากกว่าจังหวัดอื่นๆ แต่มีสัดส่วนของภาคเกษตรกรรม และ ภาคอุตสาหกรรมที่ใกล้เคียงกันอย่างมาก รูปที่ ... โครงสร้างเศรษฐกิจของพื้นที่ที่การศึกษา และภาคเหนือ 100% 80% 60% 40% 20% 0% เชียงราย
พะเยา ภาคเกษตรกรรม
ลาปาง
แพร่
ภาคอุตสาหกรรม
ภาคบริการ
ภาคเหนือ
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2562) ดังนั้นการเกิดขึ้นของรถไฟเชียงของ-เด่นชัยอาจจะเป็นตัวแปรสาคัญที่ส่งผลต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจใน อนาคตที่ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลง รวมทั้งอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจของแต่ละ จังหวัดเช่นเดียวกัน มากกว่านี้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นจุดเชื่อมต่ อเส้นทางคมนาคมที่เป็นเครือข่ายขนาด ใหญ่อาจส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเมือง หรือแปรเปลี่ยนจากพื้นที่ชุมชน และชนบทไปสู่เมืองที่มีขนาดใหญ่ที่มี
ความเป็นเมืองมากยิ่งขึ้น (Urbanization) จึงควรที่จะทาการศึกษาความพร้อมของแต่ละพื้นที่ที่มีการตัดผ่านของ เส้นทางรถไฟภายใต้หลักการของการพัฒนาแนวคิดรอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD Principles) 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานศึกษาที่ทาการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (Potential) ซึ่งใช้ ในการประเมินในระดับภูมิภาค หรือพื้นที่ศึกษาโดยรวมได้ถูกประยุกต์ใช้ในหลายพื้นที่ และในบริบทที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี งานที่ทาการประเมิน TOD ในเชิงปริมาณ (quantitative measurement) มีจานวนไม่มาก ส่วนใหญ่เป็น การประเมินเมื่อเกิดการพัฒนา TOD ที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ ไม่ได้เป็นการประเมินเพื่อวางแผนการพัฒนาในอนาคต โดย งานที่นาแนวคิดการพั ฒนา TOD มาพัฒนาเป็นเครื่องมือในการชี้วัดอย่างชัดเจน คือ งานของ Singh Y. J. et al. (2014) ซึ่งได้ทาการประเมินศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนเมือง Arnhem และ Njimegan ใน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งในงานนี้ได้ทาการประเมินแค่บริเวณพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนด้วยดัชนี Actual TOD และประเมินพื้นที่ที่ทาการศึกษาทั้งหมดด้วย Potential TOD โดยทั้งสองดัชนีมีเกณฑ์ชี้วัดเหมือนกัน ประกอบด้วย ความหนาแน่น ความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ที่ดิน การออกแบบพื้นที่เมือง และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซึ่ง Actual TOD เหมาะสมต่อการประเมินเมื่อมีการพัฒนา TOD เกิดขึ้นในพื้นที่แล้ว ขณะที่ Potential TOD สามารถที่ จะใช้ในการประเมินเพื่อวางแผนการพัฒนา TOD ใหม่ ทั้งนี้ การประเมินดังกล่าวได้อาศัย ระบบสารสนเทศทาง ภูมิศาสตร์ (Geographical Information System: GIS) และกรอบการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ Spatial Multiple Criteria Analysis (SMCA) ซึ่งให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามีส่วนร่วมในการให้น้าหนักความสาคัญต่อเกณฑ์ชี้วัดต่างๆ รวมถึงอาศัย Spatial Decision Support System (SDSS) ในการวางแผนนโยบายในการพัฒนา จากการศึกษาพบว่าพื้นที่บริเวณ ตัวเมืองมีค่าดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบขนส่งมวลชน (Potential TOD Index) ในระดับสูง แต่ขาด ความเชื่ อ มโยงของคมนาคมขนส่ ง ภายในพื้ น ที่ ในขณะที่ ง านของ Taki H. M. and H. Maatouk M. M. ท าการ วิเคราะห์ศักยภาพในการพัฒนา TOD ในพื้นที่เมืองของ Jakarta ประเทศอินโดนีเซีย พบว่าพื้นที่ที่มีศักยภาพในการ พัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนมีการกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่ศูนย์กลางของเมือง (middle of city) 3. วิธีการศึกษา 3.1 การรวบรวมข้อมูล ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นข้อมูลข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) รวบรวมมาจากข้อมูลที่มีการเผยแพร่ ในเว็บไซต์ต่างๆของหน่วยงานภาครัฐ โดยทาการรวบรวมข้อมูลด้านของจานวนประชากรปีพ.ศ.2561 มาจากระบบ ทางการทะเบียนของสานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมูลการจดทะเบียนธุรกิจปีพ.ศ.2561 มาจากกรม พัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และข้อมูล จานวนผู้มีงานทามาจากการประมาณการระหว่างจานวนกาลัง แรงงานกับอัตราการจ้างงานปีพ.ศ.2561 จากสานักงานแรงงานประจาจังหวัด ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินปีพ.ศ. 2558-2559 ของแต่ละจังหวัดด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ผา่ นฐานข้อมูล Agri-Map ของกรมพัฒนาที่ดิน และ ข้อมูลจุดตัดผ่านของเส้นทางคมนาคมจากการดึงภาพถ่ายทางอากาศจากเว็บไซต์ Open Street Map นอกจากนี้ ได้ ทาการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและภาคเอกชนของจังหวัดเชียงราย พะเยา ลาปาง และแพร่
3.2 ขั้นตอนการศึกษา ขั้นตอนที่ 1 การประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพในพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (Potential TOD Index) เป็นการประเมินพื้นที่ในระดับภูมิภาค (Regional scale) อ้างอิงจากงานศึกษาของ Singh Y. J. et al. (2014) โดย อาศัย 4 เกณฑ์ตัวชี้วัดในการประเมิน (4Ds) ซึ่งในแต่ละเกณฑ์ชี้วัดประกอบด้วยตัวแปรชี้วัดที่แตกต่างกันดังนี้ 1) เกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่น (Density criteria) ประกอบด้วย 3 ตัวแปรชี้วัด ได้แก่ ความหนาแน่น ของประชากร ความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ และความหนาแน่นของการจ้างงาน 2) เกณฑ์ชี้วัดด้านความหลากหลาย (Diversity criteria) มีเพียงตัวแปรชี้วัดเดียว คือ ความหลากหลาย ในการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land use diversity) หรือ Entropy Index ซึ่งมีค่าระหว่าง 0 ถึง 1 โดยมีสมการในการ คานวณดังนี้ 𝐸𝑛𝑡𝑟𝑜𝑝𝑦 = −1 ∗ ∑𝑛
𝑃𝑖 ∗ln(𝑃𝑖 ) ln(n)
โดยที่
𝑃𝑖 =
𝑆𝑖𝑗 𝑆𝑖
Sij = จานวนพื้นที่ใช้ประโยชน์ทงั้ หมดในพื้นที่ j ภายในพื้นทีท่ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ i Si = จานวนพื้นทีท่ ั้งหมดที่ใช้ในการวิเคราะห์ i n = จานวนลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดนิ 3) เกณฑ์ชี้วัดด้านการออกแบบ (Design criteria) ประกอบด้วย 2 ตัวแปรชี้วัด ได้แก่ ความผสมผสานใน การใช้ประโยชน์ที่ดิน (Mixed-ness of land use) ซึ่งพิจารณาระหว่างสัดส่วนการใช้ประโยชน์พื้นที่ที่อยู่อาศัยกับ พื้นที่อื่นๆ ค่าดัชนีที่มีความผสมผสานของการใช้ประโยชน์ที่ดินสูงควรอยู่ที่ 0.5 โดยมีสมการดังนี้ 𝑀𝐼(𝑖) =
∑∩𝑖 𝑆𝑐 ∀𝑖 ∑∩𝑖(𝑆𝑐 + 𝑆𝑟 )
Sc = ผลรวมของพื้นที่พาณิชย์ พื้นที่อุตสาหกรรม และอื่นๆ Si = ผลรวมของพื้นที่อยู่อาศัย ขณะที่อีกตัวแปรชี้วัดหนึ่ง คือ ดัชนีชี้วัดจุดตัดผ่านของเส้นทางคมนาคม (Intersection index) ที่อาศัย ข้อมูลจากเว็บไซต์ Open Street Map โดยทาการครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 150 ตารางกิโลเมตรจากจุดศูนย์กลางของ อาเภอมาเปรียบเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งได้อาศัยซอฟท์แวร์ QGIS ในการคานวณจุดตัดผ่าน 4) เกณฑ์ชี้วัดด้านการพัฒนา (Development criteria) มีเพียงตัวชี้วัดเดียว คือ ความหนาแน่นของ ธุรกิจทะเบียนทั้งหมด ซึ่งไม่รวมถึงธุรกิจจดทะเบียนพาณิชย์ที่เป็นองค์ประกอบในเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่น อย่างไรก็ตาม ในเกณฑ์ชี้วัดนี้ ควรรวมถึงตัวแปรชี้วัดอื่นๆ อาทิ อัตราการจ้างงาน และมูลค่าภาษีท้องถิ่น ซึ่งไม่สามารถ จัดเก็บข้อมูลได้ในรายอาเภอ ขั้นตอนที่ 2 การปรับตัวแปรชี้วดั ที่มีความซับซ้อนให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นบรรทัดฐาน (Normalization) โดย ใช้วิธีการค่าสูง-ค่าต่า (max-min) ซึ่งมีสมการในการคานวณดังนี้ 𝑧𝑖 =
𝑥𝑖 − min(𝑥) max(𝑥) − min(𝑥)
ขั้นตอนที่ 3 การถ่วงน้าหนักตัวแปรชี้วัด และเกณฑ์ชี้วัด ซึ่ง ควรใช้วิธีการให้น้าหนักคะแนนของผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องในการวางแผนด้านการคมนาคม และการใช้ประโยชน์ที่ดิน แต่ในงานศึกษาชิ้นนี้ได้อ้างอิงค่าถ่วงน้าหนักจาก งานของ Singh Y. J. et al. (2014) โดยมีเกณฑ์การถ่วงน้าหนักดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 เกณฑ์ในการถ่วงน้าหนักเกณฑ์ชี้วัดและตัวแปร เกณฑ์ชี้วัด น้าหนัก ตัวแปร ความหนาแน่นของประชากร ความหนาแน่น 0.3 ความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ ความหนาแน่นของการจ้างงาน ความหลากหลาย 0.2 ความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ความผสมผสานในการใช้ประโยชน์ที่ดนิ การออกแบบ 0.1 ความหนาแน่นของการตัดผ่านของเส้นทาง การพัฒนา 0.4 ความหนาแน่นของธุรกิจทะเบียน ที่มา: Yamani Jain Singh (2015)
น้าหนัก 0.5 0.33 0.17 1 0.5 0.5 1
อย่างไรก็ดี งานศึกษาของ Singh Y. J. et al. (2014) ได้อาศัยเทคนิค grid cell ในการแบ่งพื้นที่ออกเป็น ตาราง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่กว่า 300x300 เมตร เพื่อช่วยให้การประเมินมีความละเอียดมากยิ่งขึ้น ตลอดจนใช้ Spatial Multi-Criteria Analysis (SMCA) ผ่ า นซอฟท์ แ วร์ ILWIS ทั้ ง การ standardization และการ weighing ซึ่ ง ด้ ว ย ข้อจากัดทางด้านเวลา ข้อมูล และความเชี่ยวชาญของผู้วิจัยเอง ทาให้ไม่สามารถนาเทคนิคดังกล่าวมาใช้ในงานศึกษา ชิ้นนี้ จึงถือเป็นข้อจากัดในประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานี 4. ผลการศึกษา 4.1 เกณฑ์ชี้วัดความหนาแน่น (Density Criteria) การประเมินดัชนีชี้วัดความหนาแน่นเป็นหนึ่งในเกณฑ์ที่มีความสาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ขนส่งมวลชน ซึ่งความหนาแน่นที่สูงจะส่งผลให้เกิดการใช้งานของขนส่งสาธารณะมากยิ่งขึ้น ประกอบด้วย 3 ตัวแปรชี้ วัด ประกอบด้วย ความหนาแน่นของประชากร ความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ และความหนาแน่นของการจ้างงาน ซึ่งทาการรวบรวมของข้อมูลสถิติประชากรและบ้านจากระบบทางการทะเบียนของสานักบริหารการทะเบียน กรมการ ปกครอง ข้อมูลการจดทะเบียนพาณิชย์มาจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และข้อมูลจานวนผู้มีงานทา มากจากสานักงานแรงงานประจาจังหวัด โดยทาการประมาณการจากอัตราการว่างงาน หรืออัตราการจ้างงานโดยรวม ของจังหวัด เนื่องจากในระดับอาเภอไม่มีข้อมูลตัวเลขของจานวนผู้มีงานทาที่ชัดเจน จังหวัดเชียงรายแบ่งขอบเขตออกเป็น 18 อาเภอ มีพื้นที่รวมทั้งหมด 11,438.41 ตารางกิโลเมตร โดยอาเภอ ที่มีพื้นที่มากที่สุด คือ อาเภอแม่สรวย พื้นที่อยู่ที่ประมาณ 1,428 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.49 ของ พื้นที่ทั้งหมด รองมาเป็น อาเภอเวียงป่าเป้า และอาเภอเมืองเชียงราย ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน ในตัวแปรชี้วั ดด้าน
ความหนาแน่นของประชากร อาเภอที่มีการอยู่อาศัยของประชากรสูงสุดคือ เมืองเชียงราย อยู่ที่ 164,830 คน ต่าสุด คือ อาเภอดอยหลวง มีพื้นที่เพียงแค่ 223 ตารางกิโลเมตร เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มี การกระจุกตัวของประชากรสูงสุด คือ อาเภอแม่สาย อยู่ที่ประมาณ 326 คนต่อตารางกิโลเมตร และต่าสุดเป็นอาเภอ เวียงป้าเป้า อยู่ที่ประมาณ 50 คนต่อตารางกิโลเมตร ในตัวแปรชี้วัดด้านความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ พื้นที่ที่มี จานวนของธุรกิจจดทะเบียนพาณิชย์ หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับค้าปลีกค้าส่งมากที่สุด คือ อาเภอเมืองเชียงราย มี จานวนทั้งหมด 1,026 แห่ง หรือ หรือคิดเป็นสัดส่วนเกือบครึ่งหนึ่งของธุรกิจพาณิชย์ทั้งหมดในจังหวัด รองมาเป็น อาเภอแม่สาย และอาเภอแม่จัน เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีการกระจุกตัวมากที่สุด คือ อาเภอแม่สาย อยู่ที่ประมาณ 1.41 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย และอาเภอแม่จัน ในตัว แปรชี้วัดด้านความหนาแน่นของการจ้างงาน อาเภอที่มีจานวนการจ้างงานสูงสุด คือ อาเภอพาน อยู่ที่ประมาณ 98,919 คน รองมาคือ อาเภอเมืองเชียงราย และอาเภอเทิง แต่เมื่อเปรียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีการ กระจุกตัวมากที่สุด คือ อาเภอแม่สาย มีจานวนการจ้างงานอยู่ที่ประมาณ 130 คนต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเวียงชัย และอาเภอพาน ตารางที่ 2 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่นของจังหวัดเชียงราย อาเภอ ขุนตาล เชียงของ เชียงแสน ดอยหลวง เทิง ป่าแดด พญาเม็งราย พาน เมืองเชียงราย แม่จัน แม่ฟ้าหลวง แม่ลาว แม่สรวย แม่สาย เวียงแก่น เวียงชัย เวียงเชียงรุ้ง เวียงป่าเป้า
พื้นที่ (ตร.กม.) 234 836.9 554 223 821 333.3 620 1023 1,216 551 641 406 1,428 285 526 259 263 1,217
จานวน ประชากร 25,409 54,450 48,516 19,213 75,684 26,135 38,133 115,410 164,830 103,781 76,463 24,902 78,417 92,920 35,549 62,604 23,717 61,192
ธุรกิจ พาณิชย์ 19 127 146 11 78 22 25 118 1,026 151 12 35 50 401 13 58 20 69
การ จ้างงาน 12,309 20,134 35,849 15,558 62,020 10,241 22,263 98,920 85,197 49,481 40,717 21,466 57,830 36,986 24,173 33,287 19,945 48,639
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 108.59 0.08 52.60 65.06 0.15 24.06 87.57 0.26 64.71 86.16 0.05 69.76 92.19 0.10 75.54 78.41 0.07 30.73 61.50 0.04 35.91 112.82 0.12 96.70 135.54 0.84 70.06 188.35 0.27 89.80 119.21 0.02 63.48 61.33 0.09 52.87 54.89 0.03 40.48 326.04 1.41 129.78 67.58 0.02 45.96 241.90 0.22 128.62 90.08 0.08 75.75 50.28 0.06 39.97
ค่าดัชนี 0.20 0.22 0.37 0.21 0.26 0.17 0.21 0.22 0.74 0.49 0.14 0.23 0.10 0.83 0.11 0.47 0.24 0.08
อาเภอ รวม/เฉลี่ย
จานวน พื้นที่ (ตร.กม.) ประชากร 11,438 1,127,325
ธุรกิจ พาณิชย์ 2,381
การ จ้างงาน 695,014
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 112.64 0.22 65.93
ค่าดัชนี 0.29
ที่มา: กรมการปกครอง (2562), กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2562), สานักงานแรงงานจังหวัด (2562) พื้นที่จังหวัดพะเยาแบ่งขอบเขตออกเป็น 9 อาเภอ มีพื้นที่รวมทั้งหมด 6,335 ตารางกิโลเมตร โดยอาเภอที่มี พื้นที่มากที่สุด คือ อาเภอปง อยู่ที่ประมาณ 1,783 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 28.15 ของพื้นที่ทั้งหมด ของจังหวัด รองมาได้แก่ อาเภอเมืองพะเยา และอาเภอดอกคาใต้ ขณะที่อาเภอที่มีขนาดของพื้นที่น้อยที่ สุด คือ อาเภอภูกามยาว อยู่ที่ประมาณ 214 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นสัดส่วนเพียงร้อยละ 3.37 ในตัวแปรชี้วัดด้านของ ความหนาแน่นของประชากร ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 27.40 อาศัยอยู่ในพื้นที่อาเภอเมืองพะเยา รองมาอยู่ใน อาเภอเชียงคา และดอกคาใต้ ในสัดส่วนร้อยละ 16.91 และ 14.13 ตามลาดับ เช่นเดียวกับในด้านของขนาดพื้นที่ ภู กามยาวเป็นอาเภอที่มีประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุด มีสัดส่วนเพียงแค่ร้อยละ 2.90 เมื่อเปรียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าตัวอาเภอเมืองพะเยาเป็นพื้นที่ที่มีการกระจุ กตัว ของประชากรมากที่สุด อยู่ที่ประมาณ 143 คนต่อตา ราง กิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอภูซาง และอาเภอแม่ใจ ส่วนอาเภอที่มีความหนาแน่นต่าที่สุด คือ อาเภอเชียงม่วน มี จานวนประชากรอยู่ที่ประมาณ 8 คนต่อตารางกิโลเมตร ในตัวแปรชี้วัดด้านของความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ ทั้ง จังหวัดมีธุรกิจจดทะเบียนพาณิชย์ค้าปลีกค้าส่งอยู่ที่ 506 แห่ง ซึ่งจานวนเกือบครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 44.86 อยู่ที่ อาเภอเมืองพะเยา ตามมาด้วย อาเภอเชียงคา และอาเภอดอกคาใต้ โดยพื้นที่ที่มีกิจการพาณิชย์น้อยที่สุดคือ อาเภอ เชียงม่วน จานวนทั้งหมด 15 แห่ง เมื่อเปรียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าอาเภอเมืองพะเยาเป็นพื้นที่ที่ มีการกระจุกตัว ของธุรกิจพาณิชย์มากที่สุดอยู่ที่ 0.27 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รองมาคืออาเภอเชียงคา และอาเภอภูซาง ส่วนอาเภอที่ มีการกระจุกตัวต่าสุด คือ อาเภอปง อยู่ที่ 0.02 แห่งต่อตารางกิโลเมตร ในตัวแปรชี้วัดด้านของความหนาแน่นของการ จ้างงาน พื้นที่ที่มีจานวนของผู้มีงานทามากที่สุด คือ อาเภอเชียงคา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 20.63 ของการจ้างงานใน จังหวัดทั้งหมด รองมาเป็นพื้นที่อาเภอเมืองพะเยา และอาเภอดอกคาใต้ ส่วนพื้นที่ที่มีการจ้างงานต่าสุด คือ อาเภอ เชียงม่วน มีสัดส่วนเพียงร้อยละ 3.79 ของทั้งหมด เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มีการ กระจุกตัวของการจ้างงานสูงสุด คือ อาเภอภูซาง อยู่ที่ประมาณ 46 คนต่อตารางกิโลเมตร รองมาเป็นอาเภอแม่ใจ และอาเภอเชียงคา ส่วนอาเภอที่มีการกระจุกตัวของการจ้างงานต่าที่สุด คือ อาเภอเชียงม่วน อยู่ที่ประมาณ 8 คนต่อ ตารางกิโลเมตร ตารางที่ 3 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่นของจังหวัดพะเยา อาเภอ แม่ใจ เมืองพะเยา ภูซาง ภูกามยาว ปง
พื้นที่ (ตร.กม.) 301 842 293 214 1783
จานวน ประชากร 28,992 120,457 32,208 12,753 42,213
ธุรกิจ พาณิชย์ 21 227 29 17 27
การ จ้างงาน 11,817 25,017 13,464 7,277 21,103
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 96.38 0.07 39.29 143.06 0.27 29.71 109.74 0.10 45.88 59.65 0.08 34.03 23.67 0.02 11.83
ค่าดัชนี 0.47 0.93 0.52 0.38 0.07
อาเภอ ดอกคาใต้ เชียงม่วน เชียงคา จุน รวม/เฉลี่ย
พื้นที่ (ตร.กม.) 823 723 784 571 6,335
จานวน ประชากร 62,121 16,780 74,345 49,675 439,544
ธุรกิจ พาณิชย์ 59 15 86 25 506
การ จ้างงาน 21,955 5,562 30,282 10,285 146,763
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 75.45 0.07 26.67 23.21 0.02 7.69 94.82 0.11 38.62 86.97 0.04 18.01 79.22 0.09 27.97
ค่าดัชนี 0.39 0.05 0.53 0.38 0.41
ที่มา: กรมการปกครอง (2562), กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2562), สานักงานแรงงานจังหวัด (2562) พื้นที่จังหวัดลาปางแบ่งขอบเขตออกเป็น 13 อาเภอ มีพื้นที่รวมทั้งหมด 12,079 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ ส่วนใหญ่อยู่ในขอบเขตของอาเภอเสริมงาม งาว และแจ้ห่ม ขณะที่ห้างฉัตรเป็นอาเภอที่มีพื้นที่น้อยที่สุด ซึ่งประชากร ส่วนใหญ่ของจังหวัดอาศัยอยู่ในอาเภอเมืองลาปางมีประชากรทั้งหมด 184,374 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 27.69 รอง มาได้แก่ อาเภอเถิน และอาเภอเกาะคา ส่วนอาเภอที่มีประชากรอาศัยอยู่น้อยที่สุดคือ อาเภอแม่พริก มีประชากร เพียงแค่ 13,512 คน ดังนั้นในด้านของตัวแปรชี้วัดด้านความหนาแน่นของประชากร เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดของ พื้ น ที่ พบว่ า อาเภอเมื องล าปาง เป็ น พื้ น ที่ที่ มี การกระจุ กตัว ของพลเมื องที่อยู่ อาศัยในจัง หวัด มากที่สุ ด มี จ านวน ประชากรประมาณ 230 คนต่อตารางกิโลเมตร รองมาเป็นอาเภอเกาะคา และอาเภอห้างฉัตร ส่วนพื้นที่ที่มีความ หนาแน่นของประชากรต่าสุดคือ อาเภอแม่พริก โดยที่พื้นที่อื่นๆมีความหนาแน่นของประชากรไม่เกินกว่า 100 คนต่อ ตารางกิโลเมตร ในด้านของตัวแปรชี้วัดด้านความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ โดยกิจการพาณิชย์ที่มีการจดทะเบียน ของจังหวัดมีทั้งหมด 1,060 แห่ง ซึ่งกว่าร้อยละ 70 อยู่ในอาเภอแม่ ทะ และกระจายไปในพื้นที่ต่างๆในสัดส่วนไม่ถึง ร้อยละ 5 ดังนั้นอาเภอแม่ทะจึงเป็นพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวของธุรกิจพาณิชย์สูงสุดอยู่ที่ 0.92 แห่งต่อตารางกิโลเมตร ส่ ว นอาเภอเมื องล าปางที่ มี จานวนจดทะเบีย นธุรกิจ พาณิ ชย์ มากที่ สุดมี การกระจุ กเพีย งแต่ 0.01 แห่ ง ต่ อตาราง กิโลเมตร สูงกว่าอาเภอแม่เมาะที่เป็นอาเภอที่การกระจุกตัวต่าสุดเพียงเล็กน้อย ในตัวแปรชี้วัดด้านความหนาแน่นของ การจ้างงาน พื้นที่ที่มีจานวนผู้มีงานทามากที่สดุ คือ อาเภอเมืองลาปาง อยู่ที่ประมาณ 48,480 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อย ละ 19.33 ของการจ้ า งงานรวมทั้ ง หมดของจั ง หวั ด รองมาได้ แ ก่ อ าเภองาว และอ าเภอห้ า งฉั ต ร เมื่ อ ท าการ เปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวของการจ้างงานสูงสุด คือ อาเภอเมืองลาปาง อยู่ที่ ประมาณ 61 คนต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอห้างฉัตร และอาเภอเกาะคา ทั้งนี้ อาเภองาวที่มีการจ้างงาน ในอันดับ 2 รองมาจากอาเภอเมืองลาปาง มีการกระจุกตัวเพียงแค่ประมาณ 14 คนต่อตารางกิโลเมตร ตารางที่ 3 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่นของจังหวัดลาปาง อาเภอ ห้างฉัตร เสริมงาม สบปราบ วังเหนือ
พื้นที่ (ตร.กม.) 685 632 502 1,034
จานวน ประชากร 47,578 22,693 21,568 41,415
ธุรกิจ พาณิชย์ 15 48 45 32
การ จ้างงาน 48,480 25,596 19,768 12,401
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 27.60 69.48 0.02 11.87 35.92 0.08 13.00 42.92 0.09 14.40 40.04 0.03
ค่าดัชนี 0.27 0.23 0.25 0.21
อาเภอ แม่เมาะ แม่พริก แม่ทะ เมืองลาปาง เมืองปาน เถิน แจ้ห่ม งาว เกาะคา รวม/เฉลี่ย
พื้นที่ (ตร.กม.) 861 539 811 801 865 1,635 1,349 1,815 551 12,079
จานวน ประชากร 39,851 13,512 56,260 184,374 33,226 59,149 35,979 55,090 55,122 665,817
ธุรกิจ พาณิชย์ 4 40 747 5 26 16 17 44 21 1,060
การ จ้างงาน 5,058 15,680 48,480 17,568 25,885 12,068 11,514 18,271 19,358 280,125
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 19.95 46.30 0.005 8.23 25.07 0.07 25.42 69.41 0.92 102.58 230.24 0.01 13.41 38.41 0.03 13.21 36.18 0.01 9.62 26.67 0.01 10.98 30.36 0.02 34.85 100.04 0.04 60.85 0.10 28.49
ค่าดัชนี 0.21 0.15 0.76 0.27 0.25 0.07 0.12 0.13 0.35 0.25
ที่มา: กรมการปกครอง (2562), กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2562), สานักงานแรงงานจังหวัด (2562) พื้นที่จังหวัดแพร่แบ่งขอบเขตออกเป็น 8 อาเภอ มีพื้นที่รวมทั้งหมด 816 ตารางกิโลเมตร อาเภอที่มีพื้นที่ มากที่สุด คือ อาเภอสอง อยู่ที่ประมาณ 6,530 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24.88 ของพื้นที่ทั้งหมด รอง มาได้แก่ อาเภอลอง และอาเภอวังชิ้น ส่วนอาเภอที่มีขนาดของพื้นที่น้อยที่สุด คือ อาเภอหนองม่วงไข่อยู่ที่ 222 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.39 ในตัวแปรชี้วัดด้านของความหนาแน่นของประชากร การอาศัยของ พลเมืองส่วนใหญ่อยู่ตัวเมืองอาเภอแพร่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 28.34 รองมาได้แก่ อาเภอสูงเม่น และอาเภอลอง ขณะที่อาเภอหนองม่วงไข่มีจานวนของประชากรน้อยที่สุดอยู่ที่ 17,883 คน หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อย 4.30 จากการ เปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าอาเภอสูงเม่นเป็นพื้นที่ที่มีการกระจุกของประชากรมากที่สุดอยู่ที่ประมาณ 191 คนต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเมืองแพร่ และอาเภอเด่นชัย ส่วนพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวน้อยที่สุด คือ อาเภอสอง โดยพื้นที่ส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวของประชากรไม่ถึง 100 คนต่อตารางกิโลเมตร ในตัวแปรชี้วัดด้ านของ ความหนาแน่นของธุรกิจพาณิชย์ อาเภอเมืองแพร่เป็นพื้นที่ที่มีการจัดตั้งของกิจการที่เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกค้าส่ง มากที่สุด มีจานวนอยู่ที่ 358 แห่ง คิดเป็นสัดส่วนกว่าร้อยละ 64.16 ของจานวนธุรกิจจดทะเบียนพาณิชย์ทั้งหมด เมื่อ เปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ จึงพบว่าอาเภอเมืองแพร่มีการกระจุกตัวของธุรกิจพาณิชย์มากที่สุดอยู่ที่ 0.47 แห่งต่อ ตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอสูงเม่น และอาเภอเด่นชัย ส่วนอาเภอที่มีการกระจุกตัวต่าที่สุด คือ อาเภอวังชิ้น มี จานวนอยู่เพียง 0.01 แห่งต่อตารางกิโลเมตร ในตัวแปรชี้วัดด้านของความหนาแน่นของการจ้างงาน อาเภอที่มีจานวน ผู้มีงานมากที่สุดอยู่ที่อาเภอสูงเม่นอยู่ที่ประมาณ 61,854 คน รองมาเป็นอาเภอเมืองแพร่ และอาเภอวังชิ้น ขณะที่ อาเภอที่มีการจ้างงานน้อยที่สุดคือ อาเภอหนองม่วงไข่ มีจานวนอยู่ที่ 11,590 คน เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาด ของพื้นที่ พบว่าอาเภอสูงเม่นมีการกระจุกตัวของแรงงานสูงสุดอยู่ที่ประมาณ 164.94 คนต่อตารางกิโลเมตร ตารางที่ 4 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่นของจังหวัดแพร่ อาเภอ เด่นชัย
พื้นที่ (ตร.กม.) 257
จานวน ประชากร 30,042
ธุรกิจ พาณิชย์ 32
การ จ้างงาน 16,981
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 47.15 117.08 0.12
ค่าดัชนี 0.37
อาเภอ เมืองแพร่ ร้องกวาง ลอง วังชิ้น สอง สูงเม่น หนองม่วงไข่ รวม/เฉลี่ย
พื้นที่ (ตร.กม.) 756 631 1,447 1,217 1,625 375 222 6,530
จานวน ประชากร 117,918 44,594 47,308 43,324 43,504 71,580 17,883 416,153
ธุรกิจ พาณิชย์ 358 25 24 8 33 62 16 558
การ จ้างงาน 54,912 30,812 26,754 36,694 36,662 61,854 11,486 276,155
ความหนาแน่น (หน่วย/ตร.กม.) ประชากร พาณิชย์ จ้างงาน 67.66 155.96 0.47 24.12 70.63 0.04 11.75 32.69 0.02 12.06 35.60 0.01 9.60 26.78 0.02 72.15 190.88 0.17 30.67 80.68 0.07 34.39 88.79 0.11
ค่าดัชนี 0.77 0.30 0.10 0.17 0.08 0.54 0.34 0.37
ที่มา: กรมการปกครอง (2562), กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2562), สานักงานแรงงานจังหวัด (2562) 4.2 เกณฑ์ชี้วัดความหลากหลาย (Diversity Criteria) ในด้านของดัชนีชี้วัดความหลากหลาย ตัวแปรที่เป็นเสมือนตัวแทนที่ใช้ในการประเมินที่เกี่ยวโยงกับการใช้ ประโยชน์ที่ดิน (Land Use Diversity) โดยหากการใช้ประโยชน์ที่ดินมีความหลากหลายมากขึ้น ยิ่งส่งผลให้เกิดการใช้ งานขนส่งมวลชนสาธารณะ ซึ่งใช้ดัชนีชี้วัดที่เรียกว่า ‘Entropy Index’ อาศัยข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินด้วยระบบ สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของกรมพัฒนาที่ดินผ่านฐานข้อมูล Agri-Map ในช่วงระหว่างปีพ.ศ.2558-2559 พื้นที่จังหวัดเชียงราย ค่าเฉลี่ยของดัชนีความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ของทั้งจังหวัดอยู่ที่ 0.63 โดย อาเภอที่มีค่าของดัชนีสูงสุด คือ พื้นที่อาเภอแม่จัน อยู่ที่ 0.73 รองมาได้แก่ อาเภอเชียงแสน และอาเภอเมืองเชียงราย ส่วนอาเภอที่มีค่าดัชนีต่าที่สุด คือ อาเภอเวียงป่าเป้า อยู่ที่ 0.51 จากรูปที่ ... เห็นได้ว่าพื้นที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของ อาเภอแม่จันเป็นพื้นที่เกษตรกรรม รองมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ในสัดส่วนร้อยละ 27.45 และ 7.51 ตามลาดับ ขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ อาเภอเวียงป่าเป้าเป็นพื้นที่ป่าถึงร้อยละ 59.52 มีพื้นที่เกษตรกรรมอยู่ที่ ร้อยละ 37.02 และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพียงแค่ร้อยละ 2.30 ฉะนั้นด้วยการใช้ประโยชน์ที่ดินของอาเภอแม่ จันเน้นไปในด้านของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการทาเกษตรเป็นหลัก จึงถือว่ามีความหลากหลายในการใช้ ประโยชน์ที่ดินค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับอาเภอเวียงป่าเป้า ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีสัดส่วนของพื้นที่ป่าไม้ในพื้นที่สงู ทีส่ ดุ ในจังหวัด ทั้งนี้ อาเภอที่มีการใช้ประโยชน์เพื่อเกษตรกรรมมากที่สุด คือ พญาเม็งราย มีสัดส่วนในพื้นที่กว่าร้อยละ 70.52 อย่างไรก็ดี อาเภอเมืองเชียงราย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของจังหวัดกลับมีสัดส่วนของพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างต่า กว่าอาเภอแม่สาย เนื่องจากอาเภอเป็นพื้นที่ที่เชื่อมต่อกับชายแดนของประเทศเมียนมา จังหวัดท่าขี้เหล็ก รัฐฉาน ซึ่งมี กิจกรรมการค้าชายแดนอย่างต่อเนื่อง ทาให้มีการเดินทางเข้ามาค้าขายสินค้าที่มาจากเมียนมา และจีนตอนใต้ รวมถึง มีการอพยพเข้ามาอยู่อาศัยและทางาน ส่งผลให้มีขยายตัวของความเป็นเมืองสูงกว่าอาเภอเมืองเชียงราย รูปที่ 1 สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินรายอาเภอของจังหวัดเชียงรายปีพ.ศ.2558-2559
100% 80% 60% 40% 20%
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
พื้นที่เกษตรกรรม
พื้นที่ป่าไม้
พื้นที่น้า
เวียงป่าเป้า
เวียงเชียงรุ้ง
เวียงแก่น
แม่สาย
แม่สรวย
แม่ลาว
แม่ฟ้าหลวง
พาน
พญาเม็งราย
ดอยหลวง
เชียงแสน
ขุนตาล
ป่าแดด
เทิง
เชียงของ
เวียงชัย
เมืองเชียงราย
แม่จัน
0%
พื้นที่เบ็ดเตล็ด
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) พื้นที่จังหวัดพะเยาเกือบครึ่งหนึ่งเป็นพื้นที่ป่าไม้ในสัดส่วนร้อยละ 52.80 รองมาเป็นพื้นที่เกษตรกรรม และ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างร้อยละ 40.14 และ 3.68 ตามลาดับ โดยมีพื้นที่น้า และพื้นที่เบ็ดเตล็ดรวมกันเพียงร้อย ละ 3.38 โดยอาเภอปงเป็นอาเภอที่มีพื้นที่ป่าไม้ และเกษตรกรรมสูงที่สุดในจังหวัดมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 36.82 และ 17.78 ตามลาดับ ดังนั้นอาเภอปงถือว่าเป็นพื้นที่มีความผสมผสานของการเป็นชุมชนเกษตรกรรม และมีความอุดม สมบูรณ์ทางธรรมชาติ ส่วนอาเภอเมืองพะเยาเป็นพื้นที่ศูนย์กลางของชุมชนขนาดใหญ่ โดยมีสัดส่วนพื้นที่ชุมชนและสิง่ ปลูกสร้างสูงสุดในจังหวัดอยู่ที่ร้อยละ 36.82 ทั้งนี้ อาเภอที่มีค่าดัชนีความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ที่ดินสูงสุด คือ อาเภอเมืองพะเยา อยู่ที่ 0.65 รองมาได้แก่อาเภอเชียงคา และอาเภอแม่ใจ ส่วนอาเภอที่มีค่าดัชนีต่าที่สุด คือ อาเภอเชี ยงม่วน อยู่ที่ 0.36 โดยค่าเฉลี่ยของทั้งจังหวัดอยู่ที่ 0.54 จากรูปที่ ... เห็นได้ว่าอาเภอเมืองพะเยามีการ สัดส่วนของพื้นที่ป่า และพื้นที่เกษตรกรรมใกล้เคียงกันอยู่ที่ร้อยละ 39.81 และ 48.49 ตามลาดับ เป็นพื้นที่ชุมชนและ สิ่งก่อสร้างร้อยละ 8.88 ขณะเดียวกัน อาเภอเชี ยงม่วนเป็นพื้นที่ป่าไม้กว่าร้อยละ 75.35 มีพื้นที่เกษตรกรมร้อยละ 21.04 และพื้นที่ชุมชนและสิ่งก่อสร้างเพียงแค่ร้อยละ 1.15 รูปที่ 2 สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินรายอาเภอของจังหวัดพะเยาปีพ.ศ.2558-2559 100% 80% 60% 40% 20% 0%
จุน
เชียงคา
เชียงม่วน ดอกคาใต้
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
พื้นที่เกษตรกรรม
ปง
ภูกามยาว พื้นที่ป่าไม้
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560)
ภูซาง พื้นที่น้า
เมืองพะเยา
แม่ใจ
พื้นที่เบ็ดเตล็ด
พื้นที่จังหวัดลาปางโดยรวมส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมกว่าร้อยละ 51.13 รองมาเป็นพื้นที่ป่าร้อยละ 39.70 ตามมาด้วย พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่เบ็ดเตล็ด และพื้นที่น้า ในสัดส่วนร้อยละ 5.23, 2.49 และ 1.45 ตามลาดับ โดยอาเภอที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างหลากหลายมากที่สุด คือ อาเภอเกาะคา มีค่าดัชนีอยู่ที่ 0.58 รอง มาได้แก่ อาเภอเมืองลาปาง และอาเภอเมืองทะ ส่วนอาเภอที่มีการใช้ประโยชน์อย่างหลากหลายน้อยที่สุด คือ อาเภอ เมืองปาน มีค่าดัชนีอยู่ที่ 0.25 โดยค่าเฉลี่ยของทั้งจังหวัดอยู่ที่ 0.50 จากรูปที่ ... พื้นที่ส่วนใหญ่ของอาเภอเกาะคาเป็น พื้นที่ป่าไม้ในสัดส่วนร้อยละ 49.98 รองมาได้แก่ พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชนและสิ่งก่อสร้างร้อยละ 38.67 และ 5.99 ตามลาดับ ขณะที่เมืองปานมีพื้นที่มากกว่าร้อยละ 80 เป็นพื้นที่ป่าไม้ โดยมีพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ชุมชน และสิ่งก่อสร้างอยู่ที่ร้อยละ 13.14 และ 1.93 ตามลาดับ เห็นได้ว่าอาเภอเกาะคามีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่เน้นในด้าน ของกิจกรรมเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรมเป็นสาคัญ ซึ่งมีสัดส่วนของพื้นที่ทางการเกษตรสูงที่สุดในจังหวัด แต่ กระนั้นก็มีพื้นที่ป่าที่ค่อนข้างสมบูรณ์เช่นเดียวกัน ตรงกันข้ามกับอาเภอเมืองปานที่พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นพื้นที่ป่า มี การทาเกษตรกรรมเล็กน้อย และมีการกระจุกตัวของความเป็นชุมชนเมืองต่า สาหรับอาเภอเมืองลาปางมีสัดส่วนของ พื้ น ที่ ชุ ม ชนและสิ่ ง ก่อสร้า งอยู่ ที่ ร้อยละ 12.50 เป็ น พื้ น ที่ เกษตรกรรม และพื้ น ที่ ป่ า ร้อยละ 32. 79 และ 50.98 ตามลาดับ รูปที่ 3 สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินรายอาเภอของจังหวัดลาปางปีพ.ศ.2558-2559 100% 80% 60% 40% 20% 0%
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
พื้นที่เกษตรกรรม
พื้นที่ป่าไม้
พื้นที่น้า
พื้นที่เบ็ดเตล็ด
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) พื้นที่จังหวัดแพร่โดยรวมส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรมกว่าร้อยละ 53.28 โดยมีพื้นที่ป่าไม้ และพื้นที่ชุมชน และสิ่งปลูกสร้างร้อยละ 35.62 และ 5.37 ตามลาดับ อีกร้อยละ 5.72 โดยชุมชนเมืองหลักของจังหวัดอยู่ที่อาเภอ เมืองแพร่ มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 25.78 รองมาเป็นอาเภอร้องกวาง และอาเภอลอง ขณะที่พื้นที่เกษตรกรรมที่ใหญ่ ที่สุดอยู่ในอาเภอวังชิ้นมีสัดส่วนร้อยละ 19.00 ซึ่งมีสัดส่วนใกล้เคียงกับอาเภอร้องกวาง อาเภอลอง และอาเภอสอง ทั้งนี้ สัดส่วนของพื้นที่ที่ป่าไม้ของจังหวัดอยู่ที่อาเภอสอง และอาเภอที่ร้อยละ 26.91 และ 20.68 ตามลาดับ จากการ ประเมินความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ที่ดิน พบว่าค่าดัชนีเฉลี่ยโดยรวมของจังหวัดอยู่ที่ 0.48 โดยอาเภอหน่อง ม่วงไข่เป็นอาเภอที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดนิ อย่างหลากหลายมากที่สุด มีค่าดัชนีอยู่ที่ 0.59 รองมาได้แก่ อาเภอร้องกวาง และอาเภอสูงเม่น ส่วนอาเภอสองเป็นอาเภอที่มีค่าดัชนีต่าที่สุดอยู่ที่ 0.37 จากรูปที่ ... เห็นได้ว่าอาเภอหน่องม่วงไข่มี การใช้ประโยชน์ในด้านของเกษตรกรรมเป็นหลัก ถึงร้อยละ 53.28 มีสัดส่วนของพื้นที่ไม้อยู่ที่ร้อยละ 35.62 และพื้นที่ ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างร้อยละ 5.37 ในขณะที่อาเภอสองเป็นพื้นที่ป่าไม้มากกว่าร้อยละ 70 เป็นพื้นที่เกษตรกรรมร้อย
ละ 22.60 และพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพียงร้อยละ 1.69 อย่างไรก็ดี อาเภอเมืองแพร่มีค่าดัชนีต่ากว่าค่าเฉลี่ยของ จังหวัดเล็กน้อยอยู่ที่ 0.47 โดยพื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงเป็นพื้นที่ป่าไม้กว่าร้อยละ 63.34 แต่ก็มีพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูก สร้างสูงกว่าพื้นที่อื่นๆ อยู่ที่ร้อยละ 7.41 ใกล้เคียงกับอาเภอสูงเม่นที่มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 6.27 รูปที่ 4 สัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดินรายอาเภอของจังหวัดแพร่ปีพ.ศ.2558-2559 100% 80% 60% 40% 20% 0% เด่นชัย
เมืองแพร่
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง
ร้องกวาง
ลอง
พื้นที่เกษตรกรรม
วังชิ้น พื้นที่ป่าไม้
สอง พื้นที่น้า
สูงเม่น
หนองม่วงไข่
พื้นที่เบ็ดเตล็ด
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) 4.3 เกณฑ์ชี้วัดการออกแบบ (Design Criteria) ในเกณฑ์ชี้วัดการออกแบบประกอบด้วย 2 ตัวแปรหลัก ประกอบด้วย ดัชนีชี้วัดความผสมผสานของการใช้ ประโยชน์ ที่ดิ นระหว่ างพื้ นที่ อยู่ อาศัย และพื้ นที่อื่นๆ (Mixed-ness of residential land with other land uses) และดัชนีชี้วัดความหนาแน่นของการตัดผ่านของเส้นทาง (Intersection density) ซึ่งใช้ในการประเมินศักยภาพใน การเดินทางด้วยเท้าและจักรยานภายในพื้นที่ สาหรับพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย ค่าเฉลี่ยของดัชนีชี้วัดความผสมผสาน ของที่ดินโดยรวมอยู่ที่ 0.94 โดยทุกอาเภอมีค่าดัชนีมากกว่า 0.9 หรือเข้าใกล้กับ 1 หมายความว่า ทุกพื้นที่แทบไม่มี ความผสมผสานในการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีสัดส่วนของพื้นที่อื่นๆถึงประมาณร้อยละ 90 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งหากพื้นที่ ดังกล่าวมีความผสมผสานค่าดัชนีชี้วัดจะไม่เกินกว่า 0.5 ซึ่งเกิดขึ้นทั้งในจังหวัดอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นจังหวัดพะเยา ลาปาง หรือแพร่ จึงไม่สร้างความแตกต่างในแต่ละพื้นที่เมื่อทาการพิจารณาถึงดัชนีวัดนี้ อย่างไรก็ตาม มีเพียงอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และอาเภอเมืองลาปาง จังหวั ดลาปาง ที่มีค่าดัชนีค่อนข้างต่ากว่าพื้นที่อื่นๆ อยู่ที่ 0.85 และ 0.88 ตามลาดับ ขณะเดียวกัน ในการคานวณดัชนีชี้วัดการตัดผ่านของเส้นทางที่ได้ในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการ คานวณจุดตัดผ่านของเส้นทางถนนในพื้นที่ศูนย์กลางของแต่ละอาเภอในรัศมี 150 ตารางกิโลเมตร พบว่าในจังหวัด เชียงราย พื้นที่ที่มีการตัดผ่านของเส้นทางภายในศูนย์กลางเมืองมากที่สุด คือ อาเภอเมืองเชียงราย อยู่ที่ประมาณ 14,508 จุด หรือ 96.72 จุด รองมาได้แก่ อาเภอแม่สาย และอาเภอเวียงชัย ส่วนพื้นที่มีจุดตัดผ่านน้อยที่สุด คือ อาเภอดอยหลวง อยู่ที่ประมาณ 928 จุด เมื่อทาการเปรียบเทียบกับพื้นที่ของแต่ละอาเภอ พบว่าอาเภอเมืองเชียงราย เป็นพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่านสูงที่สุดอยู่ที่ประมาณ 26.33 จุดต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอ เชียงของ และอาเภอเวียงป่าเป้า ส่วนอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่านต่าที่สุด คือ อาเภอแม่ฟ้าหลวง อยู่ที่ ประมาณ 0.94 จุดต่อตารางกิโลเมตร โดยค่าเฉลี่ยของจุดตัดผ่านของจังหวัดอยู่ที่ประมาณ 6.41 จุดต่อตารางกิโลเมตร
ตารางที่ 5 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดการออกแบบของจังหวัดเชียงราย อาเภอ ขุนตาล เชียงของ เชียงแสน ดอยหลวง เทิง ป่าแดด พญาเม็งราย พาน เมืองเชียงราย แม่จัน แม่ฟ้าหลวง แม่ลาว แม่สรวย แม่สาย เวียงแก่น เวียงชัย เวียงเชียงรุ้ง เวียงป่าเป้า รวม/ค่าเฉลีย่
พื้นที่อยู่อาศัย 8,553 19,393 16,970 6,873 22,319 6,929 11,169 43,870 100,394 31,710 11,447 11,950 16,845 27,839 6,360 17,591 10,386 17,753 388,351
พื้นที่อื่นๆ 156,516 457,051 267,369 190,973 511,704 153,975 282,639 568,051 929,537 390,456 402,735 121,647 858,780 162,623 281,599 200,251 160,397 755,468 6,851,771
ค่าดัชนี 0.95 0.96 0.94 0.97 0.96 0.96 0.96 0.93 0.90 0.92 0.97 0.91 0.98 0.85 0.98 0.92 0.94 0.98 0.94
จานวนจุดตัด 1,390 3,350 2,498 928 1,600 1,694 1,590 3,524 14,508 3,398 964 2,640 1,990 6,078 1,284 3,888 1,434 2,724 55,482
จานวนจุดตัด/ตร.กม. 1.14 12.72 9.65 1.76 5.61 1.19 3.92 5.49 26.33 2.79 0.94 4.26 5.97 7.40 5.76 7.02 1.71 11.64 6.41
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) ในพื้นที่จังหวัดพะเยา อาเภอที่มีจานวนจุดตัดผ่านของเส้นทางคมนาคมมากที่สุด คือ อาเภอเมืองพะเยาอยู่ที่ 49,122 จุด รองมาได้แก่ อาเภอเชียงคา และอาเภอดอกคาใต้ ส่วนอาเภอที่มีจุดตัดผ่านของเส้นทางน้อยที่สุด คือ อาเภอภูกามยาวอยู่ที่ 5,434 จุด เมื่อนามาเปรียบเทียบกับขนาดพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่าน สูงที่สุด คือ อาเภอภูกามยาว มีจุดตัดอยูที่ประมาณ 12.42 จุดต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเมืองพะเยา และอาเภอแม่ใจ โดยอาเภอภูกามยาวมีขนาดเล็กกว่าอาเภอเมืองพะเยาเกือบ 4 เท่า ส่วนอาเภอที่มีความหนาแน่น ของจุดตัดผ่านต่าที่สุด คือ อาเภอปง มีจุดตัดผ่านประมาณ 0.95 จุดต่อตารางกิโลเมตร โดยค่าเฉลี่ยของจุดตัดผ่าน ของจังหวัดอยู่ที่ประมาณ 5.65 จุดต่อตารางกิโลเมตร ตารางที่ 6 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดการออกแบบของจังหวัดพะเยา อาเภอ จุน เชียงคา
พื้นที่อื่นๆ 14,509 20,451
พื้นที่อยู่อาศัย 317,116 506,080
ค่าดัชนี 0.56 0.61
จานวนจุดตัด 1,738 4,998
จานวนจุดตัด/ตร.กม. 3.04 6.37
เชียงม่วน ดอกคาใต้ ปง ภูกามยาว ภูซาง เมืองพะเยา แม่ใจ รวม/ค่าเฉลีย่
4,994 17,455 13,729 5,434 7,437 49,122 9,395 142,526
430,997 448,576 1,041,841 126,207 176,664 503,983 174,913 317,116
0.36 0.54 0.38 0.56 0.59 0.65 0.60 0.54
974 2,946 1,702 2,656 1,620 7,470 2,624 26,728
1.35 3.58 0.95 12.42 5.52 8.87 8.72 5.65
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) ในพื้นที่จังหวัดลาปาง อาเภอที่มีจานวนจุดตัดผ่านของเส้นทางคมนาคมมากที่สดุ คือ อาเภอเมืองลาปางอยู่ที่ 93,235 จุด รองมาได้แก่ อาเภอห้างฉัตร และอาเภอแม่เมาะ ส่วนอาเภอที่มีจุดตัดผ่านของเส้นทางน้อยที่สุด คือ อาเภอภูกามยาวอยู่ที่ 7,293 จุด เมื่อนามาเปรียบเทียบกับขนาดพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่าน สูงที่สุด คือ อาเภอเมืองลาปาง มีจุดตัดอยู่ที่ประมาณ 22.15 จุดต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเกาะคา และ อาเภอห้างฉัตร ส่วนอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่านต่าที่สุด คือ อาเภองาว มีจุดตัดผ่านประมาณ 0.84 จุดต่อ ตารางกิโลเมตร โดยค่าเฉลี่ยของจุดตัดผ่านของจังหวัดอยู่ที่ประมาณ 5.14 จุดต่อตารางกิโลเมตร ตารางที่ 7 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดการออกแบบของจังหวัดลาปาง อาเภอ เกาะคา งาว แจ้ห่ม เถิน เมืองปาน เมืองลาปาง เมืองทะ แม่พริก แม่เมาะ วังเหนือ สบปราบ เสริมงาม ห้างฉัตร รวม/ค่าเฉลีย่
พื้นที่อยู่อาศัย 19,207 18,082 13,354 23,280 11,808 93,235 26,692 7,376 29,262 14,680 7,293 12,177 32,015 308,461
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560)
พื้นที่อื่นๆ 301,314 935,003 700,280 1,088,312 598,655 652,703 478,630 405,728 679,139 560,677 302,191 449,379 350,251 7,502,262
ค่าดัชนี 0.94 0.98 0.98 0.98 0.95 0.98 0.88 0.98 0.96 0.97 0.98 0.97 0.92 0.96
จานวนจุดตัด 551 1,815 1,349 1,635 865 801 811 539 861 1,034 502 632 685 12,079
จานวนจุดตัด/ตร.กม. 11.52 0.84 1.77 1.70 1.69 22.15 3.70 3.13 3.23 2.13 4.35 3.78 6.76 5.14
ในพื้นที่จังหวัดแพร่ อาเภอที่มีจานวนจุดตัดผ่านของเส้นทางคมนาคมมากที่สุด คือ อาเภอสองอยู่ที่ 1,625 จุด รองมาได้แก่ อาเภอเมืองแพร่ และอาเภอร้องกวาง ส่วนอาเภอที่มีจุดตัดผ่านของเส้นทางน้อยที่สุด คือ อาเภอ หนองม่วงไข่อยู่ที่ 222 จุด เมื่อนามาเปรียบเทียบกับขนาดพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่านสูงที่สุด คือ อาเภอเด่นชัย มีจุดตัดอยู่ที่ประมาณ 57.63 จุดต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเมืองแพร่ และอาเภอสูง เม่น ส่วนอาเภอที่มีความหนาแน่นของจุดตัดผ่า นต่าที่สุด คือ อาเภองาว มีจุดตัดผ่านประมาณ 9.83 จุดต่อตาราง กิโลเมตร โดยค่าเฉลี่ยของจุดตัดผ่านของจังหวัดอยู่ที่ประมาณ 6.92 จุดต่อตารางกิโลเมตร ตารางที่ 8 ผลการประเมินเกณฑ์ชี้วัดการออกแบบของจังหวัดแพร่ อาเภอ เด่นชัย เมืองแพร่ ร้องกวาง ลอง วังชิ้น สอง สูงเม่น หนองม่วงไข่ รวม/ค่าเฉลีย่
พื้นที่อยู่อาศัย 14,789 36,826 20,352 19,184 17,030 15,963 14,341 4,531 143,016
พื้นที่อื่นๆ 326,304 460,092 520,758 767,432 611,800 930,092 214,519 79,822 3,910,819
ค่าดัชนี 0.96 0.93 0.96 0.98 0.97 0.98 0.94 0.95 0.96
จานวนจุดตัด 257 756 631 1,447 1,217 1,625 375 222 6,530
จานวนจุดตัด/ตร.กม. 57.63 48.71 32.23 13.26 13.99 9.83 38.24 20.44 6.92
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2560) 4.4 เกณฑ์ชี้วัดการพัฒนา (Development Criteria) การประเมิ น เกณฑ์ ใ นการชี้ วั ด ด้ า นการพั ฒ นาอาศั ย ตั ว แปรด้ า นการจดทะเบี ย นธุ ร กิ จ (Business establishment) ในแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่รวมถึงกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพาณิชย์ หรือการค้าปลีกค้าส่งที่เป็นหนึ่งในตัว แปรสาหรับเกณฑ์ชี้วัดความหนาแน่น ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จานวนของธุรกิจจดทะเบียนคงอยู่ทั้งหมดอยู่ที่ 6,267 แห่ง สัดส่วนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 37.99 เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกค้าส่ง รองมาเป็นธุรกิจก่อสร้าง และ อสังหาริมทรัพย์ ในสัดส่วนร้อยละ 22.21 และ 9.35 ตามลาดับ ทั้งนี้ มีเพียงแค่อาเภอเมืองเชียงราย และอาเภอแม่ สาย ที่มีการจดทะเบียนธุรกิจสูงกว่า 1,000 แห่ง ดังนั้นการจดทะเบียนธุรกิจจึงกระจุกตัวอยู่ในอาเภอเมืองเชียงราย เป็นหลัก คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 43.95 รองมาเป็นอาเภอแม่สายร้อยละ 15.31 เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาด ของพื้นที่ พบว่าอาเภอแม่สายเป็นอาเภอที่มีความหนาแน่นของธุรกิจมากที่สุดอยู่ที่ประมาณ 2.48 แห่งต่ อตาราง กิโลเมตร ใกล้เคียงกับอาเภอเมืองเชียงรายที่มีความหนาแน่นอยู่ที่ประมาณ 2.34 แห่งต่อตารางกิโลเมตร ส่วนอาเภอ ที่มีการกระจุกตัวของธุรกิจต่าที่สุดคือ อาเภอเวียงแก่น อยู่ที่ประมาณ 0.07 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รูปที่ 5 ความหนาแน่นของธุรกิจจดทะเบียนในจังหวัดเชียงรายปีพ.ศ. 2561
เวียงแก่น
แม่สรวย
เวียงป่าเป้า
พญาเม็งราย
แม่ฟ้าหลวง
ดอยหลวง
ป่าแดด
เทิง
เวียงเชียงรุ้ง
ขุนตาล
แม่ลาว
เชียงของ
พาน
เชียงแสน
แม่จัน
เวียงชัย
เมืองเชียงราย
แม่สาย
แห่ง/ตารางกิโลเมตร
3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0
ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจ (2562) ในพื้นที่จังหวัดพะเยา มีจานวนธุรกิจจดทะเบียนทั้งหมด 1,394 แห่ง โดยส่วนใหญ่เป็นธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง และการก่อสร้างรวมกว่าร้อยละ 63.85 ทั้งนี้ กิจการจดทะเบียนเกือบครึ่งหนึ่งอยู่ในตัวอาเภอเมืองพะเยา คิดเป็น สัดส่วนร้อยละ 42.25 รองมาได้แก่ อาเภอเชียงคา และอาเภอดอกคาใต้ ในสัดส่วนร้อยละ 14.78 และ 12.63 ตามลาดับ เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าอาเภอที่มีความหนาแน่นของธุรกิจมากที่สุด คือ อาเภอ เมืองพะเยา อยู่ที่ประมาณ 0.43 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอเชียงคา และอาเภอแม่ใจ อยู่ที่ประมาณ 0.15 แห่งต่อตารางกิโลเมตรเท่ากัน ส่วนพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวของธุรกิจต่าที่สุด คือ อาเภอปง อยู่ที่ประมาณ 0.03 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รูปที่ 6 ความหนาแน่นของธุรกิจจดทะเบียนในจังหวัดพะเยาปีพ.ศ. 2561
แห่ง/ตารางกิโลเมตร
0.50 0.40
0.30 0.20 0.10 0.00 เมืองพะเยา
ภูซาง
เชียงคา
แม่ใจ
ดอกคาใต้
จุน
ภูกามยาว
เชียงม่วน
ปง
ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจ (2562) ในพื้นที่จังหวัดลาปาง มีจานวนธุรกิจจดทะเบียนทั้งหมด 3,220 แห่ง โดยสัดส่วนร้อยละ 32.11 เป็นธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับการค้าปลีกค้าส่ง รองมาเป็นธุรกิจการก่อสร้างร้อยละ 24.32 ทั้งนี้ ธุรกิจจดทะเบียนมากกว่าครึ่งหนึ่ง หรือสัดส่วนร้อยละ 63.39 ของทั้งหมด ตั้งอยู่ในอาเภอเมืองลาปาง รองมาได้แก่ อาเภอห้างฉัตร และอาเภอแม่เมาะ เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาดของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวของธุรกิจมากที่สุด คือ อาเภอแม่ทะ อยู่ที่ ประมาณ 1.61 แหง่ต่อตารางกิโลเมตร รองมาเป็น อาเภอเสริมงาม และอาเภอสบปราบ ส่วนพื้ นที่ที่มีการกระจุกตัว ของธุรกิจต่าที่สุด คือ อาเภอแจ้ห่ม อยู่ที่ประมาณ 0.02 แห่งต่อตารางกิโลเมตร
รูปที่ 7 ความหนาแน่นของธุรกิจจดทะเบียนในจังหวัดลาปางปีพ.ศ. 2561 แห่ง/ตารางกิโลเมตร
2.00 1.50 1.00 0.50 0.00
ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจ (2562) ในพื้นที่จังหวัดแพร่ จานวนธุรกิจที่มีการจดทะเบียนทั้งหมดอยู่ ที่ 1,445 แห่ง โดยกิจการค้าปลีกค้าส่งเป็น ธุรกิจที่มีการจดทะเบียนสูงสุด มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 38.62 รองมาเป็นธุรกิจก่อสร้าง และการผลิต ในสัดส่วนร้อยละ 24.91 และ 10.31 ตามลาดับ ทั้งนี้ ธุรกิจจดทะเบียนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 57.99 อยู่ในตัวอาเภอเมืองแพร่ ส่วนอาเภอ ที่มีจานวนธุรกิจจดทะเบียนรองลงมา คือ อาเภอสูงเม่น มีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 12.32 เมื่อทาการเปรียบเทียบกับขนาด ของพื้นที่ พบว่าพื้นที่ที่มีความหนาแน่นของธุรกิจจดทะเบียนสูงสุด คือ อาเภอเมืองแพร่ มีจานวนอยู่ที่ประมาณ 0.63 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รองมาได้แก่ อาเภอสู งเม่น และอาเภอเด่นชัย ขณะที่อาเภอลองเป็นอาเภอที่มีการกระจุกตัว ของธุรกิจต่าที่สุดอยู่ที่ประมาณ 0.03 แห่งต่อตารางกิโลเมตร ส่วนพื้นที่ที่มีการกระจุกตัวของธุรกิจต่าที่สุด คือ อาเภอ ลอง อยู่ที่ประมาณ 0.03 แห่งต่อตารางกิโลเมตร รูปที่ 8 ความหนาแน่นของธุรกิจจดทะเบียนในจังหวัดแพร่ปีพ.ศ. 2561 0.70
แห่ง/ตารางกิโลเมตร
0.60 0.50 0.40
0.30 0.20 0.10 0.00 เมืองแพร่
สูงเม่น
เด่นชัย
ร้องกวาง
หนองม่วงไข่
สอง
วังชิ้น
ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจ (2562) 4.5 ดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (Potential TOD Index)
ลอง
ขั้นตอนการคานวณดัชนีชี้วัดเพื่อประเมินศักยภาพของพื้นที่ในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน คือ การปรับให้ตัวแปรต่างๆในแต่ละเกณฑ์ชี้วัดอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน (Standardization) โดยในงานศึกษาชิ้นนี้ได้ใช้ วิธีการด้วยค่าสูงสุด-ต่าสุด (Max-Min) โดยนาค่าของแต่ละตัวแปรมาลบด้วยค่าต่าสุด และหารด้วยค่าสูงสุดลบค่า ต่าสุด หลังจากนั้นจึงนาค่าที่คานวณไว้มาทาการถ่วงน้าหนักที่กาหนดไว้สาหรับแต่ละตัวแปรย่อย และเกณฑ์ชี้วัดหลัก ดังตารางที่ ... โดยเกณฑ์ได้ให้น้าหนักกับเกณฑ์ชี้วัดการพัฒนาเป็นหลัก อยู่ที่ 0.4 ซึ่งอาศัยตัวแปรความหนาแน่นของ ธุรกิจจดทะเบียน (ไม่รวมธุรกิจพาณิชย์) รองมาคือ ความหนาแน่น มีค่าน้าหนักอยู่ที่ 0.3 ที่ให้ค่าน้าหนักกับตัวแปร ด้านประชากรมากที่สุด ตามมาด้วยธุรกิจพาณิชย์ และการจ้างงาน ส่วนเกณฑ์ชี้วัดความหลากหลายที่อาศัยตัวแปร การใช้ประโยชน์ที่ดิน มีค่าน้าหนักอยู่ที่ 0.2 ส่วนเกณฑ์ชี้วัดที่ให้ค่าน้าหนักต่าที่สุด คือ การออกแบบ มีค่าน้าหนักอยู่ที่ 0.1 ซึ่งอาศัยตัวแปรความผสานในการใช้ประโยชน์ที่ดิน และความหนาแน่นของการตัดผ่านของเส้นทาง โดยในค่า น้าหนักของทั้งสองตัวแปรเท่ากัน จากการปรับมาตรฐาน และถ่วงน้าหนักตัวแปรชี้วัด พบว่าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย แม่สายเป็นอาเภอที่มีค่า คะแนนสูงสุดอยู่ที่ 0.82 โดยอาเภอแม่สายมีค่าคะแนนสูงในเกณฑ์ชี้วัดด้านการพัฒนาเป็นสาคัญอยู่ที่ 0.40 ซึ่งสูงที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับอาเภอ เนื่องจากมีการกระจุกตัวของธุรกิจค่อนข้างสูง เป็นผลจากการมีพื้นที่ชายแดนติดกับ ประเทศเมียนมา ทาให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจจานวนมาก และมีการไหลเข้ามาของแรงงาน และผู้คน จึงทาให้มีค่า คะแนนสูงสุดในเกณฑ์ชี้วัดด้านของความหนาแน่นเช่นเดียวกัน ส่วนอาเภอที่มีค่าคะแนนรองลงมาคือ อาเภอเมือง เชียงราย มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.74 ซึ่งเปรียบเสมือนศูนย์กลางของจังหวัด โดยมีเกณฑ์ชี้วัดในด้านของการพัฒนาต่ากว่า อาเภอแม่สายเพียงเล็กน้อยอยู่ที่ 0.38 แต่มีค่าคะแนนของเกณฑ์ชี้ วัดในด้านของความหนาแน่นต่ากว่ามาก ดังนั้น จึง สามารถแบ่งพื้นที่ของจังหวัดเชียงรายตามคะแนนศักยภาพ TOD ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มที่มีศักยภาพในการ พัฒนาต่า หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.00-0.25 ประกอบด้วย อาเภอเวียงเชียงรุ้ง เชียงของ แม่ลาว พาน พญาเม็ง ราย ดอยหลวง ขุนตาล ป่าแดด แม่ฟ้าหลวง เวียงแก่น แม่สรวย เวียงป่าเป้า 2) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับ ต่า-ปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.25-0.50 ประกอบด้วย อาเภอเทิง เชียงแสน เวียงชัย และแม่จัน 3) กลุ่ม ที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.50-0.75 ประกอบด้วย อาเภอเมืองเชียงราย 4) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับสูง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.75-1.00 ประกอบด้วย อาเภอแม่สาย รูปที่ 9 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนของจังหวัดเชียงราย
1.00
0.80 0.60 0.40 0.20
ความหนาแน่น
ความหลากหลาย
การออกแบบ
เวียงป่าเป้า
แม่สรวย
เวียงแก่น
แม่ฟ้าหลวง
ป่าแดด
ขุนตาล
ดอยหลวง
พญาเม็งราย
พาน
แม่ลาว
เชียงของ
เวียงเชียงรุ้ง
เทิง
เชียงแสน
เวียงชัย
แม่จัน
เมืองเชียงราย
แม่สาย
0.00
การพัฒนา
ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย ในพื้นที่จังหวัดพะเยา พบว่าอาเภอที่มีค่าดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนารอบสถานีขนส่งมวลชนสูงสุด คือ อาเภอเมืองพะเยา มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.91 โดยมีค่าคะแนนสูงที่สุดในจังหวัดทั้งในเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่น ความ หลากหลาย และการพัฒนาอยู่ที่ 0.28, 0.20 และ 0.40 ตามลาดับ กล่าวคือมีการกระจุกตัวสูงของธุรกิจ และการจ้าง งาน รวมถึงมีผู้คนอาศัยอยู่หนาแน่น ทาให้ค่าคะแนนมีการกระโดดสูงจากค่าเฉลี่ยโดยรวมของจังหวัดที่มีค่าคะแนนอยู่ ที่ 0.42 ทั้งนี้พื้นที่ที่มีค่าคะแนนรองลงมา คือ อาเภอภูซาง และอาเภอเชียงคา อยู่ที่ 0.54 และ 0.52 ตามลาดับ ดังนัน้ จึงสามารถแบ่งพื้นที่ของจังหวัดพะเยาตามคะแนนศักยภาพ TOD ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มที่มีศักยภาพในการ พัฒนาต่าที่สุด หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.00-0.25 ประกอบด้วย อาเภอปง และเชียงม่วน 2) กลุ่มที่มีศักยภาพใน การพัฒนาระดับต่า-ปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.25-0.50 ประกอบด้วย อาเภอภูกามยาว ดอกคาใต้ และ จุน 3) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.50-0.75 ประกอบด้วย อาเภอภู ซาง เชียงคา และแม่ใจ 4) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับสูง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.75-1.00 มีเพียงแค่ อาเภอเมืองพะเยา รูปที่ 10 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนของจังหวัดพะเยา 1.00 0.80 0.60 0.40 0.20 0.00 เมืองพะเยา
ภูซาง
เชียงคา ความหนาแน่น
แม่ใจ
ภูกามยาว
ความหลากหลาย
ดอกคาใต้ การออกแบบ
จุน การพัฒนา
ปง
เชียงม่วน
ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย ในพื้นที่จังหวัดลาปาง พบว่าอาเภอที่มีค่าดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนารอบสถานีขนส่ งมวลชนสูงสุด คือ อาเภอแม่ทะ มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.73 โดยแม้ว่าอาเภอแม่ทะไม่ได้มีค่าคะแนนเกณฑ์ชี้วัดสูงสุดในทุกด้าน แต่ในเกณฑ์ชี้ วัดด้านของการพัฒนาแม่ทะได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 0.40 ซึ่งได้ให้ค่าคะแนนสูงสุดต่อการพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ขณะที่อาเภอเมืองลาปางมีค่า คะแนนสูงสุดในเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่น และความหลากหลายอยู่ที่ 0.20 และ 0.10 ตามลาดับ แต่มีค่าคะแนนในเกณฑ์การพัฒนาค่อนข้างต่าอยู่ที่ 0.01 จึงมีค่าคะแนนศักยภาพเพียงแค่ 0.31 ซึ่ง ต่ากว่าอาเภอเกาะคาที่มีค่าคะแนนในเกณฑ์ชี้วัดด้านความหลากหลายสูงสุดอยู่ที่ 0.20 ดั งนั้น จึงสามารถแบ่งพื้นที่ ของจังหวัดลาปางตามคะแนนศักยภาพ TOD ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่า หรือมีค่า คะแนนอยู่ระหว่าง 0.00-0.25 ประกอบด้วย อาเภอห้างฉัตร สบปราบ เมืองปาน เสริมงา แม่เมาะ วังเหนือ แม่พริก งาว แจ้ห่ม และเถิน 2) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับต่า-ปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.25-0.50 ประกอบด้วย อาเภอเกาะคา และเมืองลาปาง 3) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับปานกลาง หรือมีค่าคะแนนอยู่ ระหว่าง 0.50-0.75 ประกอบด้วย อาเภอแม่ทะ โดยไม่มีพื้นที่ใดที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับสูง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.75-1.00 รูปที่ 11 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนของจังหวัดลาปาง 0.80 0.60 0.40 0.20 0.00
ความหนาแน่น
ความหลากหลาย
การออกแบบ
การพัฒนา
ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย ในพื้นที่จังหวัดแพร่ พบว่าอาเภอที่มีค่าดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนารอบสถานีขนส่งมวลชนสูงสุด คือ อาเภอสูงเม่น มีค่าคะแนนอยู่ที่ 0.73 โดยมีค่าคะแนนสูงสุดในเกณฑ์ชี้วัดด้านการพัฒนา และความหนาแน่นอยู่ที่ 0.40 และ 0.24 ตามลาดับ รองมาเป็นอาเภอลอง และเมืองแพร่ ซึ่งอาเภอเมืองแพร่ที่เป็นศูนย์กลางเมืองมีค่าคะแนน ในเกณฑ์ชี้วัดในการพัฒนาอยู่ที่ 0.11 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัดเพียงเล็กน้อย ส่วนอาเภอลองมีค่าคะแนนสูงในเกณฑ์ ชี้วัดด้านความหนาแน่น ดังนั้น จึงสามารถแบ่งพื้นที่ของจังหวัดแพร่ตามคะแนนศักยภาพ TOD ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาต่า หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.00-0.25 ประกอบด้วย อาเภอร้องกวาง หนองม่วง ไข่ และวั ง ชิ้ น 2) กลุ่ ม ที่ มี ศั ก ยภาพในการพั ฒ นาระดั บ ต่ า-ปานกลาง หรื อ มี ค่ า คะแนนอยู่ ร ะหว่ า ง 0.25-0.50
ประกอบด้วย อาเภอเด่นชัย สอง เมืองแพร่ และลอง 3) กลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับปานกลาง หรือมีค่า คะแนนอยู่ระหว่าง 0.50-0.75 ประกอบด้วย อาเภอสูงเม่น โดยไม่มีพื้นที่ใดที่จัดอยู่ในกลุ่มที่มีศักยภาพในการพัฒนา ระดับสูง หรือมีค่าคะแนนอยู่ระหว่าง 0.75-1.00 รูปที่ 12 ผลการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนของจังหวัดแพร่ 0.80 0.60 0.40 0.20 0.00 สูงเม่น
ลอง
เมืองแพร่
ความหนาแน่น
สอง ความหลากหลาย
เด่นชัย
ร้องกวาง
การออกแบบ
หนองม่วงไข่
วังชิ้น
การพัฒนา
ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย สรุปได้ว่ามีเพียงอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และอาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ที่มีศักยภาพในการ พัฒนาพื้นที่รอบสถานีระดับสูง ส่วนจังหวัดลาปาง และแพร่ไม่มีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับสูง ทั้งนี้ เห็นได้ ว่าพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่สุด แต่ส่วนใหญ่มีศักยภาพในการพัฒนาระดับต่า เช่นเดียวกับอาเภอลาปาง ในขณะที่จังหวัดพะเยา และแพร่กลับมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการพัฒนาหลายระดับ นั้นเป็นเพราะในงานศึกษาชิ้นนี้ได้ ให้ค่าน้าหนัก หรือความสาคัญไปที่เกณฑ์ชี้วัดในด้านของการพัฒนาเป็นหลักที่อาศัยตัวชี้วัดด้านความหนาแน่นของ ธุรกิจจดทะเบียน ซึ่งส่วนใหญ่มีการกระจุกอยู่ในบางพื้นที่ที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจสูง ตารางที่ 9 สรุปการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน ระดับศักยภาพ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดลาปาง ต่า เวียงเชียงรุ้ง เชียงของ ปง เชียงม่วน ห้างฉัตร สบปราบ (0.00-0.25) แม่ลาว พาน พญาเม็ง เมืองปาน เสริมงา แม่ ราย ดอยหลวง ขุน เมาะ วังเหนือ แม่ ตาล ป่าแดด แม่ฟา้ พริก งาว แจ้ห่ม เถิน หลวง เวียงแก่น แม่ สรวย เวียงป่าเป้า ต่า-ปานกลาง เทิง เชียงแสน เวียงชัย ภูกามยาว ดอกคาใต้ เกาะคา เมืองลาปาง (0.25-0.50) แม่จัน จุน ปานกลาง เมืองเชียงราย ภูซาง เชียงคา แม่ใจ แม่ทะ
จังหวัดแพร่ ร้องกวาง หนองม่วง ไข่ วังชิน้
เด่นชัย สอง เมือง แพร่ ลอง สูงเม่น
ระดับศักยภาพ จังหวัดเชียงราย (0.50-0.75) สูง แม่สาย (0.50-0.75) ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย
จังหวัดพะเยา
จังหวัดลาปาง
จังหวัดแพร่
เมืองพะเยา
4.6 ดัชนีชี้วัดศักยภาพในการพัฒนาพื้นทีร่ อบสถานีขนส่งมวลชนกับรถไฟทางคู่เด่นชัย-เชียงของ เมื่อทาการเปรียบเทียบระหว่ างแผนการจัดตั้งสถานีในจังหวัด กับระดับของศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่รอบ สถานีขนส่งมวลชน มีเพียงแต่อาเภอเมืองพะเยาที่มีศักยภาพในการพื้นที่ในระดับสูง ซึ่งมีแผนในการจัดตั้งสถานีถึง 2 แห่ง ทั้งสถานีขนาดใหญ่ในตัวเมืองพะเยา และขนาดเล็กบริเวณของมหาวิทยาลัยพะเยา จึงมีความพร้อมอย่างมากต่อ การพัฒนาสถานีรถไฟให้เกิดประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ ขณะที่พื้นที่อื่นควรได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ชี้วัดต่างๆให้มี ระดับศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่ที่สูงขึ้น โดยเฉพาะพื้ นที่ที่มีระดับของศักยภาพต่า ได้แก่ อาเภองาว ป่าแดด เวียง เชียงรุ้ง และเชียงของ รวมถึงพื้นที่ที่มีระดับต่า-ปานกลาง ได้แก่ อาเภอเด่นชัย แพร่ และสอง ตลอดจนพื้นที่ที่มีระดับ ปานกลาง ได้แก่ อาเภอสูงเม่น และเมืองเชียงราย ตารางที่ 10 สรุปการประเมินดัชนีชี้วัดศักยภาพการพัฒนารอบสถานีขนส่งมวลชน ที่ จังหวัด อาเภอ ขนาดสถานี 1 เด่นชัย ใหญ่ 2 สูงเม่น เล็ก 3 แพร่ ใหญ่ เมืองแพร่ 4 เล็ก 5 สอง เล็ก 6 ลาปาง งาว เล็ก 7 เล็ก พะเยา เมืองพะเยา 8 ใหญ่ 9 ป่าแดด เล็ก 10 เมืองเชียงราย ใหญ่ 11 เชียงราย เล็ก เวียงเชียงรุ้ง 12 เล็ก 13 เชียงของ เล็ก ที่มา: จากการคานวณโดยผู้วิจัย
ระดับศักยภาพ ต่า-ปานกลาง ปานกลาง ต่า-ปานกลาง ต่า-ปานกลาง ต่า สูง ต่า ปานกลาง ต่า ต่า
5. บทสรุปและข้อเสนอแนะทางนโยบาย โครงการรถไฟทางคู่เด่นชัย-เชียงของที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอาจจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม โครงสร้างการผลิต รวมถึงวิถีชีวิตของพลเมืองภายในภูมิภาค เพื่อให้เกิดการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน จึงควรมีการวางแผนการพัฒนาตามแนวคิดการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีที่อยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ชี้วัดทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย ความหนาแน่น ความหลากหลาย การออกแบบ และการพัฒนา จากการศึกษาพบว่า ในหลายพื้นที่ขาด ความพร้อมต่อการพัฒนา TOD โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีแผนการจัดตั้งสถานีรถไฟ ซึ่งมีเพียง 2 พื้นที่ที่มีศักยภาพสูงต่อการ พัฒนา TOD ได้แก่ อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และอาเภอเมืองพะเยา ซึ่ งอาเภอแม่สายไม่ได้มีการเข้าถึงของ เส้นทางรถไฟ หรือการจัดตั้งสถานีขนส่ง ดังนั้น ภาครัฐควรมีการวางยุทธศาสตร์ในแต่ละพื้นที่ให้เกิดความชัดเจน เพื่อ กาหนดแนวทางในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่ง โดยในแต่ละจังหวัดมีพื้นที่ที่ควรปรับปรุงเกณฑ์ชี้วัด ดัง ที่แสดงใน ตารางที่ 11 ตารางที่ 11 เกณฑ์ชี้วัดที่มีค่าคะแนนต่ากว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมของแต่ละจังหวัด อาเภอ
ความหนาแน่น
ขุนตาล เชียงของ เชียงแสน ดอยหลวง เทิง ป่าแดด พญาเม็งราย พาน เมืองเชียงราย แม่จัน แม่ฟ้าหลวง แม่ลาว แม่สรวย แม่สาย เวียงแก่น เวียงชัย เวียงเชียงรุ้ง เวียงป่าเป้า
√ √ √ √ √ √ √
ความหลากหลาย จังหวัดเชียงราย √ √
√ √ √ √ √ √ จังหวัดพะเยา
การออกแบบ
การพัฒนา
√ √
√ √
อาเภอ แม่ใจ เมืองพะเยา ภูซาง ภูกามยาว ปง ดอกคาใต้ เชียงม่วน เชียงคา จุน
ความหนาแน่น
ความหลากหลาย
การออกแบบ
การพัฒนา √
√ √ √ √ √
√
√ √
√ √ √ √
√
√
√
√
√ √
√ √ √
√
√ จังหวัดลาปาง
ห้างฉัตร เสริมงาม สบปราบ วังเหนือ แม่เมาะ แม่พริก แม่ทะ เมืองลาปาง เมืองปาน เถิน แจ้ห่ม งาว เกาะคา หนองม่วงไข่ สูงเม่น สอง วังชิ้น ลอง ร้องกวาง เมืองแพร่ เด่นชัย
ที่มา: จากการประเมินโดยผู้วิจยั
√ √ √ √ √
√
√ √ √
√ √ √ √
√ √ √
√ √ √ √ จังหวัดแพร่ √ √
√
√ √ √ √ √ √ √
√ √ √
√ √
√
√ √
√
√
ในงานวิจัยของพรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ (2558) ได้เสนอแนะแนวทางในการพัฒนา TOD ของประเทศไทย ซึ่ง มีความสอดคล้องระหว่างการปรับปรุงเกณฑ์ชี้วัดด้านความหนาแน่น ความหลากหลาย การออกแบบ และการพัฒนา โดยภาครัฐ ควรมีการ 1) กาหนดผังเมืองให้มีความหนาแน่นของครัวเรือนให้อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง พร้อมทั้ง กาหนดโบนัสความหนาแน่นให้กับพื้นที่โครงการที่มีการพัฒนา 2) กาหนดให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างผสมผสาน รวมถึงใช้เครื่องมือจูงใจ Incentive zoning ในการกระตุ้นการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการกาหนด ตาแหน่งและขนาดของพื้นที่ในเขตต่างๆให้เกิดความเหมาะสม และการคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของพื้นที่ด้วยนวัตกรรม ปรับปรุงฟื้นฟูเมือง (Form-based Codes: FBCs) รวมถึงการให้รางวัลสาหรับพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ดีที่สุด 3) กาหนดมาตรฐานที่เข้ามาควบคุมสิ่งอานวยความสะดวกรอบสถานีให้เอื้อต่อการสัญจรด้วยการเดินเท้าและจักรยาน สนับสนุนการออกแบบอาคารให้มีความกระชับ (Compact) มีการผสมผสานทั้งแนวตั้งและแนวดิ่ง และประหยัด พลังงาน (Green) นอกจากนี้ ควรมีการสร้างแรงจูงใจให้กับนักลงทุน และประชาชนในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนา เช่น การกาหนดเกณฑ์ส่งเสริมการลงทุนสาหรับพื้นที่อยู่อาศัยในทุกระดับรายได้ การสนับสนุนโครงการฟื้นฟู สภาพพื้นที่ (Redevelopment) การเสนอรางวัลให้กับผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่และการแก้ไขระบบเครดิตภาษีแก่ผู้มี รายได้น้อย อย่างไรก็ดี ประเด็นที่มีความสาคัญอย่างมาก คือ การใช้ประโยชน์จากผังเมืองท้องถิ่นทั้งในระดับภูมิภาค และจังหวัดในการขับเคลื่อนนโยบาย กระจายอานาจให้กับหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนการปรับปรุง กฎหมาย หรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเช่นเดียวกัน ฉะนั้นการวางแผนการพัฒนา TOD ไม่ได้เป็นการพัฒนาเพียงแค่พื้นที่ให้มีความเจริญแต่เพียงอย่างเดียว หากแต่เป็นการพัฒนาที่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อไม่ให้ ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการ พัฒนากระจุกตัวอยู่แค่คนกลุ่มน้อย หรือเพิ่มความเหลื่อมล้าให้กับพื้นที่อื่นๆที่ไม่มีการตัดผ่านของเส้นทางรถไฟทางคู่ เด่นชัย-เชียงของ โดยการพัฒนา TOD ไม่ได้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ดีขึ้นอย่างเท่าเทียม แต่การพัฒนารอบสถานีรอบ แบบใหม่กลับเข้ามาแทนที่ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย และชุมชนรายได้ผสมผสาน (Mu and de Jong, 2012) นอกจากนี้ ยังส่งผลให้ระดับราคาของอสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่พัฒนาดีดตัวสูงขึ้น เพิ่มภาระในการแบกรักต้นทุน (Hersey and Spotts, 2015) จึ ง ควรน าแนวคิ ด การพั ฒ นาพื้ น ที่ ร อบสถานี ข นส่ ง มวลชนแบบมี ส่ ว นร่ ว ม (Inclusive TOD) มา ประยุกต์ใช้ในการวางแผน โดยมีแก่นสาคัญในเรื่องของ ‘ธรรมาภิบาล (Governance)’
เอกสารอ้างอิง Hersey, John K., and Michael A. Spotts. 2015. “Promoting Opportunity through Equitable TransitOriented Development (eTOD): Making the Case.” Columbia, MD: Enterprise Community Partners. Accessible at: https://s3.amazonaws.com/KSPProd/ERC_Upload/0100913.pdf. Lane, B.G. 2017. “Governance in Inclusive Transit-Oriented Development in Brazil.” Working Paper. Washington, DC: World Resources Institute. Accessible at http://www.wri.org/publication/governance-inclusive-TOD.
Mu, Rui, and Martin de Jong. 2012. “Establishing the Conditions for Effective Transit-Oriented Development in China: The Case of Dalian.” Journal of Transport Geography 24: 234–249. Accessible at: http://dx.doi. org/10.1016/j.jtrangeo.2012.02.010. Singh Y. J. et al. 2014. “Measuring transit oriented development: a spatial multi criteria assessment approach for the City Region Arnhem and Nijmegen.” Journal of Transport Geography 35: 130–143. Accessible at: http://dx.doi. org/10.1016/j.jtrangeo.2014.01.014. Taki H. M. and Maatouk M. M. H. 2018. “Spatial Statistical Analysis for Potential Transit Oriented Development (TOD) in Jakarta Metropolitan Region.” Journal of Geoscience, Engineering, Environment, and Technology, 3(1): 47-56. Accessible at: http://dx.doi. org/10.24273/jgeet.2018.3.01.1091