รายงานภาวะเศรษฐกิจเชียงราย 2558

Page 1

ราฝงานภาวะเศรผฐกิจ

เชีฝงราฝ 2558 จัดถาโดฝ

สานักงานเศรผฐกิจชาฝแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy & Logistics Study: OBELS)


- ราฝงานภาวะเศรผฐกิจเชีฝงราฝ 2558 สารบัญ  ภาพรวมเศรผฐกิจเชีฝงราฝปี 2558 o อุปถาน

2

 เกผตรกรรม ประมง และปศุสัตว์  อุตสาหกรรม  การถ่องเถี่ฝว  การลงถุน o อุปสงค์

13

 การบริโภค  ดัชนีราคาพู้บริโภค o การค้าชาฝแดน

17

 การส่ งออก  การนาเข้า o การเงิน

20

 เงินฟาก  สิ นเชื่อ o การคลัง

21

 ราฝโด้  ราฝจ่าฝ o นโฝบาฝ/มาตรการถี่สาคัญ

22


2

อุปถาน การรายงานสถานการณ์ด้านอุปทานหรือการผลิตของจังหวัดเชียงรายประกอบด้วย ภาคเกษตรกรรม ปศุ สัตว์ และประมง ภาคอุตสาหกรรม ภาคการท่องเที่ยว และภาคการลงทุน พบว่าผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญ ของจังหวัดเชียงรายส่วนใหญ่ยังคงได้รับผลกระทบจากภาวะภัยแล้งที่ต่อเนื่องมาจากปีก่อน ทาให้มีการหดตัวของ ผลผลิต หรือมีการขยายตัวไม่มากนัก แต่สินค้าเกษตรที่มีผลผลิตสูงขึ้นอย่างมากคือ กาแฟ ที่ขยายตัวตามความ ต้องการของตลาด ส่วนในด้านของราคาสินค้าเกษตรโดยรวมมีการปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สัปปะรด ที่มี การถีบตัวของราคาขึ้นอย่างมาก สอดคล้องกั บผลผลิตที่มีการหดตัว ในด้านของปศุสัตว์ พบว่าโคเนื้อมีปริมาณ ผลผลิ ตลดลง ไม่เพี ย งพอต่อการบริ โ ภคในประเทศ ทาให้ ราคาดีดตั ว สู งขึ้นอย่ างมาก ขณะที่เนื้อสุ กรก็ได้รั บ ผลกระทบจากภาวะภัยแล้งที่ทาให้เกิดการขาดแคลนน้าสะอาดมาเลี้ยง ทาให้ ผลผลิตลดลง หากแต่ด้วยภาวะ เศรษฐกิจตกต่า ประกอบกับหมูล้นตลาดที่มาจากภายนอก กดให้ราคาเนื้อหมูลดต่าลง ในด้านของประมง ปลานิล ราคาไม่มีการเปลี่ยนแปลงจากปีก่อน แต่เกษตรกรมีการเพิ่มผลผลิตออกสู่ตลาดมากขึ้น ทั้งนี้ การลงทุนโดยทั่วไป และอุตสาหกรรมมีการจดทะเบียนที่ลดลง สวนทางกับภาคการท่องเที่ยวที่มีจานวนผู้โดยสารเพิ่มขึ้นในทุกปี ภาคเกผตรกรรม ปศุสัตว์ และประมง  ผลผลิตทางการเกษตร กาแฟเป็นหนึ่งในสินค้าเกษตรที่มีความสาคัญในจังหวัดเชียงรายจากทั้งหมด 10 ชนิด 1 ซึ่งในปี 2558 มี การเติบโตของผลผลิตสูงสุดที่ร้อยละ 319.75 เพิ่มขึ้นจาก 2,149.5 ตัน จากปีก่อน มาอยู่ที่ 9,022.3 ตัน หรือ เพิ่มขึ้น ประมาณ 6,872.9 ตัน ขณะที่ ในปี 2557 กาแฟมีอัตราการเติบโตเพียงแค่ร้อยละ 3.79 ด้ว ยจังหวั ด เชียงรายเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกกาแฟอาราบิก้าเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติ จึงทา ให้มีการส่งออกไปต่างประเทศในปริมาณมากขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกปี ปัจจุบัน กลุ่มภาคเอกชนและภาครัฐบาลได้ พยายามที่ผลักดันให้เกิดเป็นแบรนด์เฉพาะของจังหวัดจาก 9 แหล่งพื้นที่ ได้แก่ ดอยวาวีและดอยช้าง อาเภอแม่ สรวย, ดอยผาตั้งอาเภอเวียงแก่น, ดอยแม่สลองและดอยตุง อาเภอแม่ฟ้าหลวง, ดอยปางขอน อาเภอเมือง, ดอยภู ชี้ฟ้า อาเภอเทิง, ดอยผาฮี้ อาเภอแม่สาย และดอยหลวง อาเภอขุนตาล หากแต่พื้นที่ที่ได้รับความนิยมที่สุด คือ ดอยช้าง อาเภอแม่สรวย2 เป็นแหล่งผลิตกาแฟที่มีชื่อเสียงระดับโลกอย่าง กาแฟดอยช้าง ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียน ให้เป็นสินค้าที่มีสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications) หรือเป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์เจาะจงและ คุณภาพเฉพาะพื้นที่ปลูก3 1

สินค้าเกษตร 10 ชนิดที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง สัปปะรด ยางพารา ลาไย ชา กาแฟ ขิง และลินจี่ ประชาชาติธุรกิจ. (8 พ.ค. 2558). จับตากาแฟไทย (5) เชียงราย"เมืองอราบิกา้ " แหล่งผลิต"กาแฟสด-คั่ว". 3 ประชาชาติธุรกิจ. (6 ส.ค. 2558). เชียงรายบูม "เมืองชา-กาแฟ" ขนผลิตภัณฑ์เด่นดัง 9 ดอยโชว์. 2

2


3

รูปที่ 1 อัตราการเติบโตของสินค้าเกษตร 10 ชนิด 350% 300% 250% 200% 150% 100% 50% 0% -50% -100%

ข้าว ข้าวโพด ขิง 2557 -4.63% -7.02% 2.42% 2558 -26.54% -17.53% -5.00%

2557 2558 มัน สัปปะรด ชา กาแฟ ยางพารา ลาไย ลิ้นจี่ -7.98% -9.18% -33.32% 3.79% 70.30% 45.28% -5.54% 29.65% -22.81% 30.30% 319.75% -5.11% 10.00% 10.00%

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย สินค้าเกษตรที่มีอัตราการเติบโตรองมาได้แก่ ชา ขยายตัวร้อยละ 30.3 มันสาปะหลังขยายตัวร้อยละ 29.65 ลาไย และลิ้นจี่ขยายตัวร้อยละ 10 เท่ากัน ขณะที่สินค้าอื่นๆ เช่น ข้าวมีการหดตัวของปริมาณสูงสุดอยู่ที่ ร้อยละ 26.54 รองมาคือ สัปปะรดหดตัวร้อยละ 22.81 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หดตัวร้อยละ 17.53 ยางพาราหดตัวร้อย ละ 5.11 และขิงหดตัวร้อยละ 5 ซึ่งการหดตัวของปริมาณในสินค้าดังกล่าวเป็นผลมาจากภาวะภัยแล้งที่ทาให้ขาด น้าที่เพียงพอ ส่งผลต่อการลดลงของผลผลิตต่อไร่ โดยเฉพาะยิ่งในการเพาะปลูกข้าว 4 และสินค้าเกษตรที่ต้องการ น้าในปริมาณมาก เมื่อพิจารณาในระยะยาวตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา อัตราการเติบโตที่สูงและต่ามีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ ละช่วงเวลา เช่น ในปี 2549 และ 2551 เป็นช่วงที่ผลผลิตสัปปะรดมีการขยายตัวอย่างหนักร้อยละ 189.23 และ 310.89 ตามลาดับ ส่วนช่วงปี 2552 2553 และ 2555 เป็นช่วงของการขยายตัวของผลผลิตยางพาราที่ร้อยละ 480.52 405.2 และ 342.1 ตามลาดับ หากแต่เกษตรกรก็ต้องมาประสบกับปัญหาภัยแล้งในปี 2556 5 และเรื้อรัง มาจนถึง 2557 ทาให้ปริมาณดัชนีผลผลิตโดยรวมตกลงอย่างมาก6 จากการที่สินค้าเกษตรเกือบทุกชนิดมีการหดตัว ยกเว้นชาที่มีความต้องการน้าไม่มาก ผลผลิตจึงยังคงมีการขยายตัว และต่อมาในปี 2558 ก็กลายมาเป็นกาแฟที่มี การเติบโตของผลผลิตในอัตราที่สูง

4

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). รายงานภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2558. ไทยรัฐออนไลน์. (2 ม.ค. 2556). ชะตากรรมเกษตรไทย 2556 วิกฤติภัยแล้ง...ให้โอกาส?. 6 การคานวณดัชนีผลผลิตเกษตรได้นาอัตราการเติบโตมาถ่วงน้าหนักด้วยสัดส่วนจากผลรวมในแต่ละปี 5

3


4

รูปที่ 2 อัตราการเติบโตของปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงราย 4%

600%

3%

วิกฤตภัฝแล้ง

800%

400% 200%

2% 1%

ลิ้นจี่ ลาไย ยางพารา กาแฟ ชา สัปปะรด

0%

0% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

-200%

-600%

ขิง ข้าวโพด

ประกันราคา

-400%

-1%

มัน

-2% -3%

ข้าว

ดัชนีปริมาณ

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย  ราคาสินค้าเกษตร

สาหรับการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าเกษตรในปี 2558 สัปปะรดเป็นพืชผลที่มีการขยายตัวของราคา สูงสุดที่ร้อยละ 103.7 เพิ่มขึ้นประมาณ 5,813.3 บาทต่อตัน ซึ่งขยายตัวเพิ่มขึ้นจากราคาในปีก่อนที่มีการขยายตัว ร้อยละ 2.66 การดีดตัวของราคาสัปปะรดในตลาดน่าจะเป็นผลจากขาดแคลนผลผลิตที่มีการหดตัวมาตั้งแต่ปี 2555 เมื่อความต้องการสัปปะรดในตลาดสูงกว่าผลผลิตที่มี จึงทาให้ราคามีการปรับตัวตามกลไกตลาด รองมาคือ ลาไยมีการขยายตัวร้อยละ 45.16 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ขยายตัวร้อยละ 32.35 กาแฟขยายตัวร้อยละ 20.71 มัน สาปะหลังขยายตัวร้อยละ 8.6 และขิงขยายตัวร้อยละ 1.18 ขณะที่ พืช ที่ มีการหดตัว ของราคาในตลาดประกอบด้ว ย ชาหดตั ว ร้อ ยละ 18.3 โดยปี ที่แล้ ว ไม่ มีการ เปลี่ยนแปลงของราคาตลอดทั้งปี ยางพาราหดตัวร้อยละ 17.79 มีการปรับตัวที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับอัตราการเติบโต ในปีก่อน ลิ้นจี่หดตัวร้อยละ 13.43 ทั้งที่ในปี ก่อนมีการขยายตัวร้อยละ 13.08 และข้าวหดตัวร้อยละ 4.66 หดตัว น้อยลงกว่าปีก่อน ในระยะเวลาที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2549 ราคาของสินค้าเกษตรมีความผันผวนอย่างมาก กล่าวได้ว่า มีการขยายตัว และหดตัวในเกือบทุกปี จึงเป็นสาเหตุทาให้รายได้ของเกษตรไม่คงที่ นอกจากนี้ เกษตรกรยังต้ อง ประสบกับภาวะราคาสินค้าเกษตรที่ตกต่า ที่มีสาเหตุมาจากการผลิตที่ล้นตลาด การชะลอของเศรษฐกิจจีนที่ส่งผล ต่อเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินดอลลาร์7 ทาให้ผลผลิตสินค้าลดลงตามราคาอย่างต่อเนื่อง 7

สถาบันวิจัยเพือ่ การพัฒนาประเทศไทย. (2558). ทีดีอาร์ไอเตือนเกษตร ‘ขาลงยาว’ เร่งดันนวัตกรรม-อาหาร. 4


5

รูปที่ 3 อัตราการเติบโตของราคาสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงรายและดัชนีราคาเกษตรกรรม 120% 100% 80% 60% 40% 20% 0% -20% -40%

ข้าว 2557 -29.48% 2558 -4.66%

ข้าวโพด -26.69% 32.35%

ขิง 11.51% 1.18%

มัน 8.72% 8.60%

สัปปะรด ชา 2.66% 0.00% 103.07% -18.30%

กาแฟ 11.51% 20.71%

ยางพารา -25.38% -17.79%

ลาไย -29.61% 45.16%

ลิ้นจี่ 13.08% -13.43%

รูปที่ 4 อัตราการเติบโตของราคาสินค้าเกษตรของจังหวัดเชียงราย 400%

5% 4%

300%

3% 200%

ลิ้นจี่ ลาไย ยางพารา

2%

กาแฟ

100%

1%

ชา

0%

0%

สัปปะรด 2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

-100%

2558

-1% -2%

-200%

-3%

-300%

มัน ขิง ข้าวโพด ข้าว ดัชนีราคา

-4%

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย  เนื้อโคน้อยลง ราคาเพิ่ม

สถานการณ์การผลิตโคเนื้อของจังหวัดเชียงรายในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเข้าสู่ภาวะวิกฤต เนื่องจากผลผลิตมี การหดตัวอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2552 ซึ่งเป็นผลมาจากราคาที่มีการตกต่ามาตั้งแต่ปี 2550 ทาให้เกิดการขาดทุน

5


6

ประกอบกับราคาปาล์มน้ามันและยางพาราที่มีราคาแพง และการรับประกันราคาข้าวของรัฐ8 เกษตรกรรายย่อยจึง ลดการเลี้ย งโคเนื้อไปเป็น จานวนมาก หลั งจากปี 2552 ราคาเริ่มมีการดีดตัว สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สวนทางกับ ผลผลิตมีการหดตัวในทุกปีจนถึงปี 2558 หากแต่สถานการณ์ของผลผลิตโคเนื้อก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร แม้ว่าตอนนี้จะมี ราคาเป็นแรงจูงใจในการเลี้ยง อย่างไรก็ตาม แนวโน้มของผลผลิตโคเนื้อในปี 2558 มีทิศทางที่สูงขึ้น เนื่องจาก ปริ ม าณโคเนื้ อ ที่ ผ ลิ ต ได้ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการภายในประเทศ ท าให้ ปั จ จุ บั น มี ก ารน าเข้ า เนื้ อ มาจาก ต่างประเทศ อาทิ นิวซีแลนด์ และออสเตรีเลีย ที่มีคุณภาพดีกว่า และราคาต่ากว่า เป็นผลจากการจัดตั้งเขตการค้า เสรีแบบทวิภาคีกับประเทศไทย ทาให้ภาษีศุลกากรในการนาเข้าเนื้อโคมีอัตราลดลง 9 นอกจากนี้ โคเนื้อยังเป็นที่ ต้องการของประเทศเวีย ดนามและจี น อย่างมาก มีพ่อค้าเริ่มเข้ามากว้านซื้อในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ประเทศไทยเพื่อส่งกลับประเทศตนเองตั้งแต่ 2 - 3 ปีที่แล้ว เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ราคาเนื้อโคปรับตัวขึ้นสูง10 รูปที่ 5 อัตราการเติบโตของผลผลิต ราคา และมูลค่าตลาดโคเนื้อ 40% 20% 0% -20%

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

-40% -60%

โคเนื้อ

ราคาโคเนื้อ

มูลค่าตลาดโคเนื้อ

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย (2559)  เนื้อหมูลดลง ราคาตก

ในปี 2558 ทั้งปริมาณผลผลิตและราคาสุกรมีการหดตัวลดลงร้อยละ 5.86 หรือลดลง 5,852 ตัว และ 12.03 หรือลดลง 9 บาทต่อกิโลกรัม ตามลาดับ ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อผลผลิตคือ ภาวะภัยแล้งยาวนาน ที่ทาให้ เกษตรกรขาดแคลนน้าสะอาดมาเลี้ยงสุกร จึงมีต้นทุนสูงขึ้นจากการต้องซื้อน้ามาใช้ในฟาร์มมากกว่าปีที่ผ่านมา เป็นผลให้เนื้อสุกรออกสู่ตลาดน้อย 11 สาหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการลดลงของราคาเนื้อหมู คือ กาลังซื้อที่ลดลงตาม ภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่กาลังตกต่า ประกอบกับการที่หมูล้นตลาด กล่าวคือ มีการเข้ามาของเนื้อสุกรที่ถูก ผลิตจากภายนอกจังหวัดเชียงราย ทั้งสองปัจจัยกดดันให้ราคาเนื้อหมูต้องมีการปรับตัวลดลงตามกลไกราคา12 ด้วย 8

ประชาชาติธุรกิจ. (2557). กรมปศุสัตว์ยันโคเนื้อไม่ขาดตลาดดัน “ธนาคารโค-กระบือ” ส่งเสริมเกษตรกรเลี้ยงเพิ่ม. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2554). สถานการณ์โคเนื้อปี 2554 และแนวโน้มปี 2555. 10 ประชาชาติธุรกิจ. (2558). เนื้อวัวพุ่งกิโลละ 320 บ. จีน-เวียดนามกว้านซื้อ ตลาดบูม “โพนยางคา-ศรีวิขัย-กาแพงแสน”. 11 คมชัดลึก. (2558). พิษแล้ง-ราคาหมูขยับจับตา ‘วิกฤตชั่วคราว?’. 12 สยามรัฐ. (2559). วัฏจักรราคาหมูเวียนมา... ต้องแก้อย่างยั่งยืน. 9

6


7

การหดตัว อย่ างหนั กของราคาสุ ก ร จึ งทาให้ มูล ค่าตลาดมีการหดตั ว ร้อยละ 17.19 หรื อลดลง 1.2 ล้ านบาท โดยประมาณ รูปที่ 6 อัตราการเติบโตของผลผลิต ราคา และมูลค่าตลาดสุกร 60% 40% 20% 0% -20%

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

-40% -60% สุกร

ราคาสุกร

มูลค่าตลาดสุกร

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย (2559) ส่วนอัตราการเติบโตในระยะยาวจากปี 2548 พบว่าผลผลิตและมูลค่าตลาดมี อัตราการขยายตัว เฉลี่ย สะสมติดลบร้อยละ 5.91 และ 2.59 ตามลาดับ หากแต่ราคากลับมีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 3.52 แสดงว่า แนวโน้มของอาจเข้าสู่ ภาวะขาดแคลนเนื้ อหมูในอนาคต ถ้าเกษตรกรยังต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนการผลิตที่ เพิ่มขึ้นที่เป็นปัจจัยลบ ส่วนราคาแม้ว่าในปี 2558 จะมีการปรับตัวลดลง แต่ก็มีแนวโน้มที่จะขยายตัวสูงขึ้นจาก ปั จ จั ย บวกอย่ า ง การเพิ่ ม ขึ้ น ของประชากร ที่ ส่ ง ผลต่ อ ความต้ อ งการในการซื้ อ เนื้ อ หมู เ พื่ อ การบริ โ ภคทั้ ง ภายในประเทศและต่างประเทศ  ปลานิลผลผลิตเพิ่ม ราคาคงที่

ปลานิลเป็นสัตว์เศรษฐกิจ ที่นิยมเลี้ยงไว้เพื่อเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ อุดมไปด้วยสารอาหารที่สาคัญอย่าง โปรตีน ไขมัน และกรดไขมันจาเป็น นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งโปรตีนที่มีราคาถูก รสชาติอร่อย เป็นนิยมของทั้งผู้คน ภายในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนทุกชนชั้นในสังคม ทาให้ปลานิลกลายเป็นอาหารที่มีความต้องการสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกรจานวนมากหันมาเพาะเลี้ยงปลานิลทั้งที่เป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม จนปลานิล ได้รับฉายาว่าเป็น “ปลาที่มีความสาคัญที่สุดในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในศตวรรษที่ 21” มากกว่ากลุ่มปลาดุก หรือ ปลาแซลมอน หรือกล่าวได้ว่าเป็นปลาน้าจืดที่สาคัญที่สุดของประเทศไทย 13 ในช่วงปี 2549 - 2551 ผลผลิตปลา นิลของจังหวัดเชียงรายมีการขยายตัวได้ดีเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 20 ซึ่งในช่วงดังกล่าวราคาในตลาดก็มีการขยายตัว อย่างต่อเนื่องเฉลี่ยร้อยละ 22.38 จนถึงปี 2552 เข้าสู่ช่วงที่ผลผลิตมีการหดตัวร้อยละ 6.39 หลังจากนั้นเป็นต้นมา 13

ประพันธ์ศกั ดิ์ ศีรษะภูม.ิ (2557). ปลานิล: ความเสี่ยงที่จะยอมรับหรือเตรียมรับ. โครงการศึกษาประเมินผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงที่มีบทบาทต่อ อุตสาหกรรมเพาะเลีย้ งปลานิลของประเทศไทย. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 7


8

ปลานิลก็ถูกผลิตออกสู่ตลาดในปริมาณมาก ซึ่งการขยายตัวสูงที่สุดในปี 2555 ที่ร้อยละ 93.89 โดยที่ช่วงนั้นกรม ประมงได้จัดทาโครงการยกระดับมาตรฐานปาร์มเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อการส่งออก มีการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญจาก 50 จังหวัดทั่วประเทศ พัฒนากลุ่มเกษตรเลี้ยงปลานิล สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่เข้าไปให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพ การตลาดด้วยการจัดเทศกาลปลานิลใน 10 จังหวัด กระจายไปในแต่ละภูมิภาค 14 ขณะที่ราคาปลานิลในช่วงปี 2553 - 2555 กลับมีการขยายตัวติดลบ และอยู่ในระดับต่า ในปี 2556 ผลผลิตมีการหดตัว ลดลง ซึ่งเป็นสาเหตุ จากภาวะผลผลิตล้นตลาด แต่ราคาหดตัวต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา รูปที่ 7 อัตราการเติบโตของผลผลิต ราคา และมูลค่าตลาดปลานิล 100% 80% 60% 40% 20% 0% -20%

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

-40% ปลานิล

ราคาปลานิล

มูลค่าตลาดปลานิล

ที่มา: สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย (2559) เข้าสู่ช่วงของปี 2557 ราคามีการปรับตัวสูงขึ้น โดยที่ผลผลิตมีการหดตัวเหมือนเดิม แต่มีแนวโน้มที่จะดี ขึ้น และในปี 2558 ผลผลิตก็มีการขยายตัวร้อยละ 8.5 หรือเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 1,068.57 ตัน ขณะที่ราคากลับไม่มี การเปลี่ยนแปลง หรืออยู่ที่ 57,000 บาทต่อตัน ทั้งนี้ จังหวัดเชียงรายถือว่าเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลานิลที่มีจานวน มากเป็นอันดับ 1 ของภาคเหนือ มีพื้นที่เพาะพันธุ์มากที่สุดในพื้นที่อาเภอพาน ปัจจุบัน ผลผลิตของปลานิลกาลัง เข้าสู่ภาวะล้นตลาด แม้ว่าจะมีการกระจายสินค้าภายในประเทศไปยัง 7 จังหวัดภาคเหนือ อย่างไรก็ตาม ประเทศ เพื่อนบ้านอย่างสปป.ลาว และเมียนมาร์ ยังมีช่องว่างของความต้องการผลผลิตปลานิลในปริมาณที่ สูง แต่ขาดใน เรื่องของเทคโนโลยีห้องเย็นที่จะช่วยให้สามารถขนส่งปลาไปยังประเทศเพื่อนบ้านแบบมีชีวิตจนถึงมือผู้บริโภค 15 โดยที่เกษตรกร ภาครัฐ และภาคเอกชนก็เริ่มที่จะมีความร่วมมือในการแปรรูปปลานิลเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม อาทิ ปลานิลเส้นปรุงรส ปลานิลแดดเดียว ไส้อั่ว ปลานิล เป็นต้น กลายเป็นอาหารสาเร็จรูปพร้อมรับประทาน และ สามารถตั้งราคาที่สูงกว่าปลานิลสด16 แนวโน้มของผลผลิตของปลานิลน่าจะมีการเพิ่มขึ้นอย่างมากในอนาคต จาก ปัจจั ยบวกในการขยายตลาดไปยั งประเทศเพื่อนบ้านที่มีความต้องการในปริมาณที่สู ง ตั้งแต่ปี 2549 - 2558 14

ไทยรัฐออนไลน์. (2555). กรมประมงยกระดับฟาร์มเพาะปลานิล เพื่อการส่งออก. ฐานเศรษฐกิจ. (2559) .เชียงรายผวาปลานิลล้น! ถกรัฐ-เอกชนผลักเป็นอาหารแช่แข็ง ส่งออกเพือ่ นบ้าน. 16 ประชาชาติธุรกิจ. (2559). ปลานิลเชียงรายโกยเงิน 800 ล้าน ป้อนภาคเหนือ-เมียนมา-ลาว. 15

8


9

ผลผลิตมีอัตราการเติบโตสะสมร้อยละ 15.77 และราคาขยายตัวสะสมที่ร้อยละ 6.63 ซึ่งมูลค่ามีการขยายตัวตาม ปริมาณผลผลิตสะสมร้อยละ 23.45 ภาคอุตสาหกรรม  โรงงานน้อยลง ทุนจดทะเบียนสูงเพิ่มขึ้น

จากปี 2549 - 2558 มีการลดลงของจานวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดเชียงรายอย่างต่อเนื่อง แต่ ยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยู่ โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 1.37 เพิ่มขึ้นจาก 22,298 แห่ง ในปี 2548 เป็น 25,256 แห่ง ในปี 2558 หากเทียบกับปี 2557 มีการเพิ่มขึ้นของจานวนโรงงานเพียง 68 แห่ง หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.68 เศรษฐกิจของเชียงรายไม่ได้ อิงอยู่บนอุตสาหกรรมมากเทียบเท่ากับเกษตรกรรม และการ บริการ ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมมีแนวโน้มที่ถูกลดความสาคัญลงอย่างมาก ในขณะ ที่ ทุนจดทะเบียนในการจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมภายในจังหวัดเชียงรายมีการขยายตัวที่ดีในระยะยาว และในปี 2558 โดยอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 4.21 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 40,274.86 ล้านบาท จาก 78,806.2 ล้านบาท ในปี 2548 เป็น 119,081.1 ล้านบาท ในปี 2558 หากเทียบจากปี 2557 ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.51 ดังนั้น ถึงแม้ว่าจานวนโรงงานจะมีการลดลงของอัตราการเติบโต แต่ทุนจดทะเบียนกลั บเพิ่มขึ้น ชี้ให้เห็นว่ามี โรงงานที่มีเงินทุนสูง หรือขนาดกลางถึงใหญ่ถูกจัดตั้งในจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้น รูปที่ 8 อัตราการเติบโตของจานวนโรงงาน ทุนจดทะเบียน และค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 7% 6% 5% 4% 3% 2% 1% 0% 2549

2550

2551

2552 จานวนโรงงาน

2553

2554 ทุนจดทะเบียน

2555

อุตสาหกรรม

ที่มา: สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย (2559)

9

2556

2557

2558


10

ภาคการถ่องเถี่ฝว  ผู้โดยสารขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง

จังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในเป้าหมายของการท่องเที่ยวของทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวจีน เนื่ อ งจากเชี ย งรายเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ อาทิ ภู ชี้ ฟ้ า ดอยตุ ง ดอยแม่ ส ลอง เชิ ง ศิลปวัฒนธรรม อาทิ วัดร่องขุ่น และพิพิธภัณฑ์บ้านดา ที่สร้างสรรค์ขึ้นมาโดยศิลปินแห่งชาติอย่างอาจารย์เฉลิยชัย โฆษิตพิพัฒน์ และอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี และมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ อาทิ หมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาวรวมมิตร เป็นต้น รวมทั้งยังมีบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง บริษัท สิงห์ คอร์เปอเรชั่น จากัด เข้ามาเปิดไร่บุญรอดที่มีการจัดเทศกาล ในทุกปี ได้แก่ เทศกาลดนตรี Farm Festival ช่วงเดือนพฤศจิกายน และเทศกาลบอลลูนนานาชาติ ที่จัดขึ้นใน เดือนกุมภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา นอกจากนี้ ด้วยความที่มีพื้นที่ติดชายแดนถึง 3 ประเทศ ได้แก่ เมียนมาร์ สปป. ลาว และจีนตอนใต้ ทาให้เป็นจุดศูนย์กลางทางภาคเหนือที่สามารถเชื่อมต่อไปยังประเทศอื่นๆในภูมิภาคได้ ทั้งนี้ สนามบินของจังหวัดเชียงรายยังเป็นท่าอากาศยานนานาชาติ โดยในปี 2558 มีจานวนการบินไปกลับต่างประเทศ 525 เที่ยว ในประเทศ 12,274 เที่ยว ปัจจุบัน มีสายการบินในประเทศทั้งหมด 7 บริษัท ได้แก่ นกแอร์ ไทยแอร์เอเชีย การบินไทยสมายล์ บางกอกแอร์เวย์ ไทย์ไลอ้อนแอร์ กานต์แอร์ และไทยเวียตเจ็ท มีสาย การบินไปต่างประเทศทั้งหมด 2 บริษัท ได้แก่ ไชน่าอีสเทิร์นแอร์ไลน์ และ ฮ่องกงเอ็กซเพรส ส่วนเส้นทางการบิน ภายในประเทศ มีไปยังกรุงเทพ เชียงใหม่ ภูเก็ต และหาดใหญ่ และมีเส้นทางการบินต่างประเทศ มีไปยังคุนหมิง และฮ่องกง จึงทาให้ผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานมีแนวโน้มที่จะเติบโตขึ้นอย่างมากในระยะยาว โดยมีอัตราการ ขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 9.91 เพิ่มขึ้นจาก 684,734 คน ในปี 2548 มาอยู่ที่ 1.76 ล้านคน ในปี 2558 ซึ่งเป็น การเติบโตของจานวนผู้โดยสารกว่า 3 เท่าตัว นอกจากนี้ ในปี 2558 มีการขยายตัวของจานวนผู้โดยสารถึงร้อยละ 27.73 เมื่อเทียบกับปีก่อน โดยที่ผู้โดยสารส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 เป็นชาวไทย

(คน)

รูปที่ 9 จานวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานและอัตราการเติบโต 2,000,000 1,800,000 1,600,000 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 0

30% 25% 20% 15% 10% 5% 0% -5% -10% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

จานวนผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยาน

10

2555

2556 %YoY

2557

2558


11

ที่มา: ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวงจังหวัดเชียงราย (2559) ภาคการลงถุน  ทุนธุรกิจจดทะเบียนหดตัว

เงินทุนจดทะเบียนธุรกิจของนิติบุคคลในปี 2558 มีการหดตัวลดลงร้อยละ 2.81 จากปีก่อน หรือลดลง ประมาณ 37.45 ล้านบาท ขณะที่การขยายตัวระยะยาวยังคงเติบโตได้ดี โดยมีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 1.47 จาก 5,520 ล้านบาท ในปี 2548 มาเป็น 5,406.5 ล้านบาท ในปี 2558 กล่าวได้ว่าแทบไม่มีเปลี่ยนแปลงไป จากอดีตมาก แสดงว่าถึงการเติบโตที่ช้าของการลงทุนภาคเอกชนในจังหวัดเชียงราย ทั้งนี้ ธุรกิจที่จดทะเบียนใหม่ ในปี 2558 ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจรับเหมาก่อสร้างร้อยละ 23.5 รองมาได้แก่ ค้าปลีกค้าส่งร้อยละ 22.8 และบริการ ทั่วไปร้อยละ 22.3 ขณะที่ภาคการผลิตมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 7.4 และภาคเกษตรกรรมเพียงร้อยละ 1.2 โดยที่เป็น กิจการขนาดเล็กที่มีมูลค่าไม่เกิน 50 ล้านบาทร้อยละ 99 กิจการขนาดกลางเพียงร้อยละ 0.7 และกิจการขนาด ใหญ่เพียง 1 กิจการ คือ การลงทุนของค้าปลีกท้องถิ่นยักษ์ใหญ่อย่าง ‘ธนพิริยะ’ นับตั้งแต่เชียงรายถูกประกาศให้ถูกจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในระยะที่ 2 ร่วมกับอีก 4 จังหวัด ที่มีพื้นที่ชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านอย่าง หนองคาย กาญจนบุรี นครพนม และนราธิวาส ทาให้การลงทุนใน เขตพื้นที่ในอาเภอติดชายแดนได้แก่ แม่สาย เชียงของ ได้รับการสนับสนุนเป็นพิเศษผ่านการให้สิทธิประโยชน์โดย หน่วยงานผู้รับชอบอย่าง สานักงานคณะกรรมส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment: BOI) อาทิ การยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคล ยกเว้นอากรขาเข้าสาหรับวัตถุดิบที่ผลิตเพื่อการส่งออก และเครื่องจักร การถือครองที่ดิน การ นาเข้าแรงงานต่างด้าวที่มีฝีมือ เป็นต้น ในปี 2558 เชียงรายได้การอนุมัติส่งเสริมการลงทุนในกิจการประเภท อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการเป้าหมายจาก 13 กิจการที่ได้รับการสนับสนุน เพิ่มเติมในด้านของการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลมากกว่ากิจการทั่วไป รวมทั้งหมด 4 โครงการ เงินลงทุนอยู่ที่ 286 ล้านบาท เห็นได้ว่าสถานการณ์การลงทุนของเชียงรายยั งเติบโตไม่ได้มาก เนื่องจากเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศยังอยู่ในช่วงชะลอตัว

(ล้านบาท)

รูปที่ 10 ทุนจดทะเบียนธุรกิจของนิติบุคคลและอัตราการเติบโต 1,400 1,200 1,000 800 600 400 200 0

80% 60% 40% 20% 0% -20% -40% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

ทุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคลใหม่

11

2555

2556

%YoY

2557

2558


12

รูปที่ 11 สัดส่วนประเภททุนจดทะเบียนธุรกิจนิติบุคคล 22.3% 22.8% 23.5% 13.9% 7.4%

2.1%

2.6%

3.8%

0.3%

1.2%

FN

AG

TR

LT

RE

PD

IT

SV

RT

CT

CT=ก่อสร้าง, RT=ค้าปลีก/ค้าส่ง, SV=บริการทั่วไป, IT=ค้าระหว่างประเทศ, PD=การผลิต, RE=อสังหาริมทรัพย์, LT=โลจิสติกส์และขนส่ง, TR=ท่องเที่ยว, AG=เกษตรกรรม, FN=การเงิน ที่มา: สานักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดเชียงราย (2559)

12


13

อุปสงค์ อุปสงค์ แสดงถึงสถานการณ์การบริโภคของภาคครัวเรือน และเอกชน ได้แก่ รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ พื้นที่อนุญาตให้ก่อสร้าง ตลอดจนดัชนีผู้บริโภคที่สะท้อนการเปลี่ยนแปลงของ ราคาในตลาดโดยรวมได้เป็นอย่างดี จากสถิติในปี 2558 พบว่ายอดการจดทะเบียนรถยนต์นั่งใหม่มีการหดตัวลดลง จากปีก่อน แต่ถือว่ามีการปรับตัวที่ดี ขึ้น จากที่ยอดจดทะเบียนที่มีหดมาตั้งแต่ปี 2556 เช่นเดียวกันกับยอดจด ทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ก็มีการหดตัวไม่แตกต่างกัน แต่ก็มีการหดตัวน้อยลงกว่าปีก่อน คาดว่าเศรษฐกิจกาลัง เริ่มที่จะฟื้นตัว ส่วนพื้นที่อนุญาตให้ก่อสร้างโดยรวมอยู่ในภาวะทรงตัว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาก ในขณะที่ราคา สินค้าอุปโภคบริโภคมีการหดตัวลดลงจากปีก่อน ทาให้เป็นที่น่ากังวลว่าเศรษฐกิจยังคงฟื้นตัวไม่ค่อยดีนัก การบริโภค  รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่ลดลง

การจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์นั่งในปี 2558 มีการปรับตัวที่ดีขึ้น แต่ก็ยังอยู่ในภาวะหดตัวที่ร้อยละ 11.52 จากปีก่อน จากสถิติที่ผ่านมาพบว่ารถยนต์นั่งมีการจดทะเบียนในอัตราที่ก้าวกระโดดเพียงแค่ 2 ช่วงเวลา ตั้งแต่ปี 2549 เป็นต้นมา คือปี 2553 มีการขยายตัวร้อยละ 74.65 และปี 2555 มีการขยายตัวร้อยละ 86.53 ซึ่ง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเติบโตอย่างมากในปี 2553 เป็นอัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่าจากการไหลเข้ามาของเงินทุน จานวนมาก จึงทาให้มีการปล่อยสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์มากขึ้น ประกอบด้วยเศรษฐกิจของประเทศกาลังอยู่ในภาวะ ขยายตัว17 ส่วนสาเหตุที่ทาให้มีการซื้อรถยนต์อย่างมากในปี 2555 มาจากนโยบายกระตุ้นการบริโภคของรัฐบาลที่ชื่อ ว่า “โครงการรถคันแรก” และกาลังการผลิตที่เข้าสู่ภาวะปกติ พร้อมทั้งการสะสมของความต้องการในการซื้อ รถยนต์ภายหลังการเกิดภัยน้าท่วมครั้งใหญ่ในปี 255418 อย่างไรก็ตาม ในระยะยาวการจดทะเบียนใหม่ของรถยนต์ ยังมีการขยายตัวสะสมเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 9.75 กล่าวได้ว่ายังคงมีการเติบโตที่ดีในช่วงที่ผ่านมา ซึ่งนอกจากมีการหด ตัวเพียงร้อยละ 0.9 ในปี 2552 ปริมาณการจดทะเบียนเริ่มที่จะมาหดตัวเพียง 2 ปีให้หลัง ได้แก่ ปี 2557 แล ะ 2558 เป็นผลต่อเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่อยู่ในช่วงชะลอตัว19

17

ผู้จัดการออนไลน์ . (2554). ตลาดปี 53 ยอดขายทะลุประวัติศาสตร์ 8 แสนคัน. ประชาชาติธุรกิจ. (2556). ตลาดรถปี 55 ทุบสถิติ 1.2 ล้านคัน โตโยต้าฟัน 4.8 แสน เร่งผลิตสุดตัว. 19 ผู้จัดการออนไลน์. (2558). ตลาดรถปี 57 ตก 33.7% มียอดขายรวม 881,832 คัน. 18

13


14

รูปที่ 12 จานวนรถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่และอัตราการเติบโต 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

ไหลเข้ามาของทุน

86.93%

74.65%

รถคันแรก

100% 80% 60% 40% 20% 0% -20% -40%

น้าท่วม

2549

2550

2551

2552

2553

2554

รถยนต์นั่งจดทะเบียนใหม่

2555

2556

2557

2558

%YoY

ที่มา: สานักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย (2559)  รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ลดลง

สาหรับสถานการณ์ของรถจักรยานยนต์ในปี 2558 มีการหดตัวร้อยละ 9.09 ซึ่งเป็นการลดลงของปริมาณ การจดทะเบียนอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2556 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ปริมาณการจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ ลดลงอย่างมากในปี 2550 หดตัวถึงร้อยละ 21.85 สาเหตุมาจากภาวะเศรษฐกิจซบเซาเป็นสาคัญ 20 นอกจากปี ดังกล่าวแล้ว การจดทะเบียนใหม่ของรถจักรยานยนต์มีการหดตัวอีกครั้งในปี 2552 ร้อยละ 2.35 เป็นผลมาจาก สภาพเศรษฐกิจที่กาลังจะฟื้นตัว การเข้มงวดของสถาบันการเงินในการปล่อยสินเชื่อ และราคาสินค้าเกษตรที่ตกต่า ต่อมาในปี 2553 จึงมีการขยายตัวจากปัจจัยบวกในครึ่งหลังของปี 2552 อาทิ การผ่อนคลายกฎระเบียบในการ ปล่อยสินเชื่อ การทุ่มกิจกรรมการแข่งขันในตลาดของค่ายรถจักรยานยนต์21 ส่วนการเริ่มหดตัวของปริมาณจดทะเบียนอย่างมากในปี 2556 ได้รับผลกระทบมาจากการเพิ่มขึ้นของค่า ครองชีพ การสะสมของหนี้ครัวเรือน กลุ่มลูกค้าที่เป็นรายได้หลักลดลง 22 รายได้ภาคเกษตรที่ลดลงจากภาวะราคา ตกต่ าต่ อ เนื่ อ ง ตลอดจนความไม่ มั่ น คงของสถานการณ์ ท างการเมื อ ง ซึ่ ง เรื้ อ รั ง ไปจนถึ ง ปี 2558 แม้ ว่ า การ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการบริโ ภคที่มีกระแสนิยมไปใช้รถจักรยานยนต์ ขนาดใหญ่ หรื อบิ๊กไบค์ ณ ตอนนี้ หลายยี่ห้อดังมีการย้ายฐานการผลิตมาที่ประเทศไทย ทาให้ราคาลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต ทาให้ทุกกลุ่ม รายได้ต่างก็มีความสามารถในการซื้อมาตอบสนองความต้องการ 23 แต่ก็ไม่ได้ส่งผลต่อเพิ่มขึ้นของการจดทะเบียน

20

ผู้จัดการออนไลน์. (2550). ตลาดสองล้อหดตัว 15% ฮอนด้าเวฟครองใจวัยโจ๋. ศูนย์วิจยั กสิกรไทย. (2552). จักรยานยนต์ครึ่งหลัง 2552... หดตัวน้อยลงแต่ยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงสาคัญ. 22 ศูนย์วิจยั กสิกรไทย. (2555). บิ๊กไบค์ ปี 56 ยังแรง ... คาดโตไม่ต่ากว่า 45% สวนตลาดจักรยานยนต์รวมที่อาจติดลบ 1-6%. 23 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). บิ๊กไบค์กระหึ่มตลาดภูธร ยอดขายพุ่งขณะที่มอเตอร์ไซค์เล็กร่วงต่อ. 21

14


15

จักรยานยนต์ใหม่มาก ทั้งนี้ ปริมาณของรถจักรยานยนต์มีการหดตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 0.25 สะท้อนถึงความตกต่า ของฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนระดับล่างในปัจจุบั รูปที่ 13 จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่และอัตราการเติบโต 50,000

20%

40,000

10%

30,000

0%

-2.35%

20,000

-10%

10,000

-20%

-21.85%

0

-30% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

รถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่

2555

2556

2557

2558

%YoY

ที่มา: สานักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย (2559)  ก่อสร้างทุกประเภทหดตัว

พื้นที่อนุญาตให้ก่อสร้างโดยรวมมีการหดตัวจากปีก่อนถึงร้อยละ 29.62 ในปี 2558 เป็นผลจากการลดลง ของพื้นที่การก่อสร้างที่อยู่อาศัยเป็นสาคัญ โดยพื้นที่อนุญาตก่อสร้างพาณิชย์มีการหดตัวเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.19 ขณะที่พื้นที่อนุญาตก่อสร้างที่อยู่อาศัยกลับมีการหดตัวถึงร้อยละ 39.67 และพื้นที่อนุญาตก่อสร้างอื่นๆหดตัวร้อย ละ 5.45 แต่ห ากดูในระยะยาวจากปี 2549 อัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมของพื้นที่อนุญาตก่อสร้างโดยรวมยัง ขยายตัวร้อยละ 3.75 ซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวในระยะยาวของพื้นที่อนุญาตให้ก่อสร้างอื่นๆที่มีอัตราการ เติบโตเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 23.42 และที่อยู่อาศัยร้อยละ 3.23 ซึ่งแนวโน้มโดยรวมอยู่ภาวะทรงตัว ในช่วงของปี 2552 การชออนุญาตก่อสร้างของพื้นที่อื่นๆมีการขยายตัวสูงขึ้นกว่าร้อยละ 695.22 เป็นผลมาจากการ เริ่มต้น ก่อสร้างของศูนย์การค้าชื่อดังอย่างเซ็นทรัลพลาซ่า 24 ซึ่งถูกสร้างขึ้นแล้วเสร็จในปี 2554 มูลค่ากว่า 2,400 ล้าน บาท ในพื้นที่ประมาณ 110,000 ตารางเมตร หรือเนื้อประมาณ 52 ไร่ 25 กลายมาเป็นแหล่งช็อปปิ้งที่ใหญ่ที่สุดใน จังหวัดเชียงราย

24 25

สานักงานจังหวัดเชียงราย. (2552). ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย 2552. ผู้จัดการออนไลน์. (2554). เซ็นทรัลเปิดตัวแล้วห้างฯ ใหญ่กลางเมืองเชียงราย. 15


16

รูปที่ 14 พื้นที่อนุญาตก่อสร้างของเทศบาลตาบลจาแนกประเภทและอัตราการเติบโต 800%

เริ่มก่อสร้างห้างสรรพสินค้าเขียงราย

600% 400% 200% 0% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

-200% พาณิชย์

ที่อยู่อาศัย

อื่นๆ

รวม

ที่มา: เทศบาลตาบลในแต่ละอาเภอของจังหวัดเชียงราย (2559) ดัชนีราคาพู้บริโภค  ดัชนีหดตัว ราคาปรับตัวลดลง เครื่องมือที่ใช้ในการชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าและบริการในตลาด คือ ดัชนีผู้บริโภค ซึ่งจะถูก นามาใช้ประโยชน์ในการปรับค่าจ้างให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ นอกจากนี้ ช่วยให้เห็นถึงอานาจในการซื้อ และภาวะเงินเฟ้อ โดยในปี 2558 ดัชนีราคาผู้บริโภคของจังหวัดเชียงรายมีการหดตัวลดลงร้อยละ 1.23 จากปีก่อน หมายความว่า ราคาสินค้าและบริการของตลาดจังหวัดเชียงรายมีการปรับตัวลดลง หรือมีราคาถูกขึ้น ก็จะส่งผลให้ ครัวเรือนออกมาจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น ซึ่งแนวโน้มของดัชนีที่ผ่านมามีการปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง การขยายตัว เฉลี่ยสะสมตั้งแต่ปี 2548 - 2558 อยู่ที่ร้อยละ 3.55 ยังมีการขยายตัวดี แต่มีทิศทางในการเติบโตที่ถดถอยลง รูปที่ 15 ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตราการเติบโต 120 100 80 60 40 20 0

10% 8% 6% 4% 2% 0% -2% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

%YoY

ผู้บริโภค

ที่มา: สานักงานดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ (2559) 16

2558


17

การค้าชาฝแดน การส่ งออก  การส่งออกขยายตัวไม่มาก มูลค่าการส่งออกของเชียงรายในปี 2558 มีการขยายตัวเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.24 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 86.87 ล้านบาท จากปีก่อน โดยในปี 2557 การส่งออกมีการขยายตัวของมูลค่าที่ร้อยละ 7.4 การขยายตัวเฉลี่ย สะสมตั้งแต่ปี 2548 - 2558 อยู่ที่ร้อยละ 15.24 หลังจากการเติบโตอย่างมากในปี 2553 ซึ่งเป็นปีที่การตกลงเขต การค้าเสรีอาเซียน-จีนมีผลทาให้อัตราภาษีศุลกากรระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกในอาเซียน และจีนอยู่ที่ร้อยละ 026 ซึ่งทาให้มีการส่งออกไปยังประเทศจีนสูงขึ้น ส่วนในปี 2554 การส่งออกคงยังเติบโตได้ดีที่ร้อยละ 48.28 ปัจจัย สาคัญคือโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษคิงส์โรมันในฝั่งเมืองห้วยทราย สปป.ลาว ตรงข้ามอาเภอเชียงแสน ทาให้มี การนาเข้าวัสดุก่อสร้าง อาทิ ปูนซีเมนต์ ไปใช้ในการก่อสร้าง27 รูปที่ 16 มูลค่าการส่งออกชายแดนและอัตราการเติบโต 40,000

60% 50%

30,000

40%

20,000

30% 20%

10,000

10%

0

0% 2549

2550

2551

2552 ส่งออก

2553

2554 %YoY

2555

2556

2557

2558

Linear (%YoY)

ที่มา: ด่านศุลกากรแม่สาย เชียงของ และเชียงแสน (2559) หากไม่มีปัจจัยอื่นๆเข้ามากระตุ้น ทิศทางของการส่งออกผ่านชายแดนเชียงรายก็เริ่มที่จะมีการเติบโต น้อยลง สาเหตุสาคัญคือ สภาวะเศรษฐกิจของทางประเทศจีนที่มีการเติบโตน้อยลงอย่างมากจากในอดีต ส่งผลต่อ เศรษฐกิจโลกที่เริ่มซบเซา28 สินค้าที่ส่งออกส่วนใหญ่ ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตร สินค้าประมงและปศุสัตว์ สินค้า เชื้อเพลิง วัสดุก่อสร้าง เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์29

26

ผู้จัดการออนไลน์. (2553). ติวเข้มทุนท้องถิ่นเชียงราย-เตรียมรับมือการค้าใต้ FTA. ผู้จัดการออนไลน์. (2554). ทุนจีนทายอดค้าเชียงรายพุ่ง. 28 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). ค้าชายแดนครึง่ ปียังบวก คาด 6 เดือนหลังยอดเพื่มขึ้นในทิศทางที่ดีกว่าเดิม. 29 ผู้จัดการออนไลน์. (2558). ค้า “ไทย-ลาว-พม่า” ผ่าน 3 จว.เหนือโตพรวด จับตาถนนเมียวดี-กรุกกริก เสร็จยอดพุ่งอีก. 27

17


18

การนาเข้า  การนาเข้าเติบโตขึ้น มูลค่าการนาเข้าชายแดนของเชียงรายในปี 2558 มีการขยายตัวอย่างมากถึงร้อยละ 28.45 หรือเพิ่มขึ้น ประมาณ 1,290.2 ล้านบาท จากปีก่อน มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปี 2557 ที่มีการเติบโตร้อยละ 11.18 อัตราการ เติบโตเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ปี 2548 - 2558 อยู่ที่ร้อยละ 12.04 โดยที่ตลอดมามูลค่าการนาเข้ามีการลดลงของอัตรา การเติบโตในช่วงปี 2549 - 2551 และลดลงอีกครั้งในช่วงปี 2553 - 2555 ขณะที่อัตราการเติบโตมีการเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องในช่วงปี 2551 -2553 และ 2556 - 2558 การขยายตัวในช่วงสุดท้ายมีผลมาจากการเปิดใช้สะพาน มิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ทาให้มีการขนสินค้าทางบกจากจีนตอนใต้ผ่านมายังจังหวัดเชียงรายมากขึ้น 30 ทั้งนี้ สินค้านาเข้าที่สาคัญประกอบด้วย สินค้าไม้แปรรูป ไม้ซุงสัก สินค้าอุปโภค-บริโภค31 รูปที่ 17 มูลค่าการนาเข้าชายแดนและอัตราการเติบโต 8,000

30%

6,000

20%

4,000

10%

2,000

0%

0

-10% 2549

2550

2551

2552

นาเข้า

2553

2554

%YoY

2555

2556

2557

2558

Linear (%YoY)

ที่มา: ด่านศุลกากรแม่สาย เชียงของ และเชียงแสน (2559)  ดุลการค้าหดตัวลดลง

มูลค่าการส่งออกของเชียงรายมีตัวเลขที่สูงกว่ามูลค่าการนาเข้าค่อนข้างมาก ทาให้ดุลการค้าของจังหวัด เชียงรายมีสถานะเป็นบวกมาโดยตลอด หากแต่ในปี 2558 มีการหดตัวของมูลค่าร้อยละ 3.72 หรือลดลง 1203.33 ล้านบาท ซึ่งมีผ ลมาจากการถดถอยของอัตราเติบโตของภาคการส่ งออกชายแดนเป็นส าคัญ ทั้งนี้ อัตราการ ขยายตัวเฉลี่ยสะสมของดุลการค้ามีทิศทางเช่นเดียวกันมูลค่าการส่งออกขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 15.97 ซึ่งยังคงมีการ ขยายตัวที่ดีอยู่ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา

30 31

ผู้จัดการออนไลน์. (2556). ไทย-ลาวปลื้มปีติ! “พระเทพ” เสด็จฯ เปิดสะพานน้าโขง 4 เชียงของ-บ่อแก้ว. เหมือนอ้างอิงที่ 20 18


19

รูปที่ 18 ดุลการค้าและอัตราการเติบโต 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

80% 60% 40% 20% 0% -20%

2549

2550

2551

2552 ดุลการค้า

2553

2554 %YoY

2555

2556

Linear (%YoY)

ที่มา: ด่านศุลกากรแม่สาย เชียงของ และเชียงแสน (2559)

19

2557

2558


20

การเงิน  เงินฝากและสินเชื่อขยายตัว

ทั้งปริมาณเงินฝากและสินเชื่อในปี 2558 มีการขยายตัวสูงขึ้นกว่าปีก่อน โดยเงินฝากมีการขยายตัวร้อยละ 7.9 จากปีก่อน หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 61,062.91 ล้านบาท ขณะที่สินเชื่อมีการขยายตัวร้อยละ 8.7 จากปีก่อน หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 101,864.17 ล้านบาท ที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2548 - 2558 เงินฝากมีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อย ละ 11.06 และสินเชื่อมีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 11.43 กล่าวได้ว่ามีการเติบโตระยะยาวที่ใกล้เคียงกัน รูปที่ 19 ปริมาณเงินฝากและสินเชื่อรวม 1,400,000 1,200,000 1,000,000 800,000

เงินฝากรวม

600,000

สินเชื่อรวม

400,000 200,000 0 2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

รูปที่ 20 อัตราการเติบโตของเงินฝากและสินเชื่อรวม 25% 20% 15% 10% 5% 0% 2549

2550

2551

2552

2553

2554

เงินฝากรวม

2555

2556

สินเชื่อรวม

ที่มา: ธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดเชียงราย (2559) 20

2557

2558


21

การคลัง  รายได้ขยายตัว รายจ่ายลดลง ดุลงบประมาณดีขึ้น

ในปี 2558 งบประมาณการคลังจังหวัดในด้านของรายได้เพิ่มขึ้น รายจ่ายลดลง และงบดุลยังคงติดลบ โดยรายได้อยู่ที่ 3,723.3 ล้านบาท มีการขยายตัวร้อยละ 12.07 จากปีก่อน หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 401.08 ล้าน บาท ส่วนรายจ่ายอยู่ที่ 15,890.7 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 4.07 จากปีก่อน หรือลดลงประมาณ 673.46 ทาให้ งบประมาณมีการขาดดุล อยู่ที่ 12,167.4 ลดลงจากปีก่อนประมาณ 1,074.53 ล้านบาท ที่ผ่านมารายได้มีการ ขยายตัวเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ร้อยละ 10.24 สูงกว่ารายจ่ายที่มีการขยายตัวเฉลี่ยสะสมร้อยละ 4.07 หากแต่รายจ่ายมี ปริมาณสูงกว่ารายได้อย่างมาก รูปที่ 21 รายได้ รายจ่าย และดุลงบประมาณ 20,000 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0

0 -2,000 -4,000 -6,000 -8,000 -10,000 -12,000 -14,000 -16,000

2548

2549

2550

2551 รายได้

2552

2553 รายจ่าย

21

2554

2555

2556

ดุลงบประมาณ

2557

2558


22

นโฝบาฝ/มาตรการสาคัญ นโยบายและมาตรการของรั ฐ บาลมี ความส าคั ญต่ อ การกระตุ้ นเศรษฐกิจ ในประเทศ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ประกอบการ SMEs เกษตรกร และประชาชนทั่วไป ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจไทยเติบโตได้อย่างช้าๆ ภาครัฐจึงต้องมีบทบาทสาคัญในการประคับประคองเศรษฐกิจโดยในช่วงปี 2558 – 2559 ภายใต้รัฐบาล พล ตารวจเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มีบทบาทกระตุ้นเศรษฐกิจต่อเนื่องจากการเบิกจ่ายของรัฐบาลและการลงทุน โครงสร้างพื้นฐาน ด้านคมนาคม พลังงาน และสาธารณูปโภค สถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในช่วงปี 2558 ที่ผ่านมาอยู่ในสภาวะการขยายตัวของเศรษฐกิจอยู่ในระดับ ต่า การส่งออกติดลบติดต่อกันหลายไตรมาส เช่นเดียวกันกับมูลค่าการส่งออกของเชียงรายในปี 2558 มีการ ขยายตัวเล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.24 หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 86.87 ล้านบาท จากปีก่อนโดยในปี 2557 การส่งออกมี การขยายตัวของมูลค่าที่ร้อยละ 7.4 ประกอบกับสถานการณ์ภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงมากกว่าที่ผ่านมา กระทบต่อ เกษตรกร ขณะที่ราคาตลาดสินค้าเกษตรตกต่า เพื่อไม่ให้การจับจ่ายใช้สอยของภาคประชาชนหยุดชะงัก รัฐบาลจึง ระดมออกมาตรการและโครงการต่างๆ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ จากการรวบรวมมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของ รัฐบาล (ดังตารางที่ 1) พบว่า รัฐบาลได้ ออกมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลู กข้าวในโครงการประกันภัยนาข้าว โครงการชดเชยรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยางและสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบ อาชีพเสริมแก่เกษตรกรสวนยางพารา และมาตรการช่วยเหลือประชาชนผู้มีรายได้น้อย นอกจากนี้ยังมีมาตรการ ช่วยเหลือ SMEs เกี่ยวกับการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับผู้ประกอบการ SMEs และผู้ประกอบการราย ใหม่ (New Start-up) ที่ประกอบธุ รกิจในอุตสาหกรรมเป้าหมายหลักที่มีศักยภาพขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) ตารางที่ 1 นโยบายและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่สาคัญ ปี 2558 ประเด็น นโยบาย/มาตรการ  แนวทางการบริหารจัดการตลาดมันสาปะหลัง รวม 4 มาตรการ แบ่งเป็น o ชดเชยดอกเบี้ยชะลอการเก็บเกี่ยว o เพิ่มสภาพคล่องทางการค้า o เพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกในระบบน้าหยด o ยกระดับมาตรฐานการแปรรูปมันสาปะหลัง การเกษตร และ ผู้มีรายได้น้อย  แนวทางการปรั บ โครงสร้ า งการผลิ ต และความมั่ น คงทางอาหารด้ า นการปศุ สั ต ว์ จานวน 3 มาตรการ ได้แก่ o โครงการอนุรักษ์และพัฒนาการผลิตกระบือ o โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตน้านมโค o โครงการอนุรักษ์และพัฒนาการผลิตไก่พื้นเมือง  โครงการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว 22


23

ประเด็น

 

    

นโยบาย/มาตรการ o โครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต 2558 o โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อกข้าวนาปรัง ปี 2558 แนวทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหายางพารา o แนวทางแปรรู ป ยางธรรมชาติ เ พื่ อ น าไปสร้ า งพื้ น ลู่ –ลานกรี ฑ า และพื้ น ลาน อเนกประสงค์ o โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม o โครงการชดเชยรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง มาตรการช่วยเหลือภัยแล้ง-ภัยการเกษตร o โครงการบูรณาการมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง และหลักการโครงการจัดทาแผนชุมชนเพื่อแก้ไขวิกฤตภัยแล้ง o อนุมัติงบกลางเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านการเกษตร o โครงการสร้างรายได้และพัฒนาการเกษตรแก่ชุมชนเพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ด้วยการจัดตั้งศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบล มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของประชาชนผู้มีรายได้น้อย o มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับหมู่บ้าน ผ่านการให้สินเชื่อกองทุนหมู่บ้าน o มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับตาบล มาตรการการเงินการคลังเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ o สนับสนุนการให้สินเชื่อที่อยู่อาศัยแก่ให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่าแก่ผู้มีรายได้น้อยและ ปานกลางผ่านธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) o ลดค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนและค่าธรรมเนียมการโอน o ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ซื้อบ้านราคาไม่เกิน 3 ล้านบาท การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรที่ยังไม่ได้เข้าร่วมมาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้ น้อย กรณีเกษตรกรภาคใต้ที่เพาะปลูกในช่วงเวลาหลังมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ 3 เดือน และกรณีรายชื่อเกษตรกรตกหล่น มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนกองทุนการออมแห่งชาติ ซึ่งกาหนดให้สิทธิประโยชน์ทาง ภาษีสาหรับสมาชิกกองทุนการออม โดยเฉพาะสมาชิกที่มีรายได้น้อยให้มีรายได้เพียงพอ ยิ่งขึ้นแก่การดารงชีพในยามชราภาพ อนุมัติงบกลางเพื่อดาเนินการตามโครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยและประชาชนผู้มี รายได้น้อย ที่มีหนี้คงค้างต่ากว่า 500,000 บาท ผ่านสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โครงการประชารัฐเพื่อช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย ผ่านกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง แห่งชาติและดาเนินโครงการตลาดประชารัฐเพื่อประชาชนในกรุงเทพมหานคร อนุมัติงบกลางเพื่อการดาเนินมาตรการสาคัญเร่งด่วนเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรและคน 23


24

ประเด็น

SMEs

อื่นๆ

นโยบาย/มาตรการ ยากจนในการเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน  มาตรการการเงินการคลังเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในระยะเร่งด่วน o มาตรการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับผู้ประกอบการ SMEs ที่มีกาไรสุทธิ ตั้งแต่ 300,001 บาทขึ้นไป จากเดิมร้อยละ 15 และ 20 ของกาไรสุทธิ เป็นร้อย ละ 10 ของกาไรสุทธิ o มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่ (New Start-up) ยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล โดยมีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท และประกอบธุรกิจใน อุตสาหกรรมเป้าหมายหลักที่มีศักยภาพขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) ซึ่งอาศัยการใช้เทคโนโลยีเป็นฐานในการออกแบบและพัฒนาเพื่อใช้ใน กระบวนการผลิตหรือให้บริการได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและนวัตกรรม กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และกลุ่มอุตสาหกรรมวิจัยพัฒนา  อนุมัติโครงการและการกู้เงินสาหรับโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรน้าและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน  มาตรการภาษีเพื่อเป็นของขวัญปีใ หม่ให้ประชาชน สามารถนาค่าใช้จ่ายดังกล่าวมา ลดหย่อนในการคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจาปีภาษี 2558 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2559)

การขยายตัวทางเศรษฐกิจปี 2559 ดีขึ้นกว่าปีที่ผ่าน โดยได้รับประโยชน์จากปัจจัยบวกที่สาคัญ ได้แก่ มาตรการลดค่าธรรมเนียมการโอนอสังหาฯ ที่ช่วยเร่งให้เกิดการก่อสร้าง การเร่งใช้จ่ายรายจ่ายประจา และการ ลงทุนขนาดเล็กของรัฐบาล และภาคการท่องเที่ยวที่เติบโตได้ดีมาโดยตลอดเป็นอีกแรงสนับสนุนหลัก จากการ รวบรวมมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล (ดังตารางที่ 2) พบว่า มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรควบคุมมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ยางพารา อ้อย และผลไม้ ที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง ราคาสินค้าเกษตรตกต่า และการสนับสนุ นสินเชื่อหมุนเวี ยน รวมถึงมาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อย นอกจากนี้ยังมีมาตรการ ช่วยเหลือ SMEs เกี่ยวกับการโครงการค้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs และ ผู้ประกอบการใหม่และนวัตกรรม Start-up &Innovation ประเด็น

ตารางที่ 2 นโยบายและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่สาคัญ ปี 2559 นโยบาย/มาตรการ  มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกยางพารา o โครงการสนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง o โครงการมอบข้ า วสารบรรจุ ถุ ง และช่ ว ยเหลื อ ค่ า ครองชี พ เกษตรกรชาวสวน ยางพารา o โครงการสนับสนุนสินเชื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนแก่สถาบันเกษตรกรเพื่อรวบรวม ยางพารา 24


25

ประเด็น  การเกษตร และ ผู้มีรายได้น้อย

 

นโยบาย/มาตรการ มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรปลูกข้าว o โครงการส่งเสริมสนับสนุนการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี o โครงการปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวไปปลูกพืชที่หลากหลายตามความต้องการของ เกษตรกร o โครงการสนับสนุนสินเชื่อให้กลุ่มชาวนาผู้ผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ o โครงการสนับสนุนเงินช่วยเหลือต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว o โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการตามมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรและรักษาเสถียรภาพราคาข้าวปีการผลิต 2559/ ด้านการตลาด ดังนี้ o โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร o โครงการสินเชื่อเกษตรกรเพื่อชะลอการขายข้าวเปลือก o โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว o โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก มาตรการให้เงินช่วยเหลือกับชาวไร่อ้อยในอัตรา 160 บาทต่อตันอ้อย เพื่อบรรเทาความ เดือดร้อนของเกษตรกรชาวไร่อ้อยจากภาวะภัยแล้งเป็นการชั่วคราว โครงการช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนผลไม้ที่ประสบภัยแล้ง จานวน 95,000 ราย โดย จาแนกเป็น 2 กลุ่มคือ o เกษตรกรที่สวนไม้ผลเสียหายสิ้นเชิง o เกษตรกรที่สวนไม้ผลได้รับผลกระทบทาให้ต้นเหี่ยวเฉาหรือผลผลิตลดลง โดยรูปแบบการช่วยเหลือมีทั้งการขยายเวลาชาระหนี้ การจ่ายชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ให้ เกษตรกรในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี การสนับสนุนสินเชื่อเพื่อลงทุนในแหล่งน้าสารอง การปลูกทดแทนไม้ผลชนิดเดิมหรือปรับเปลี่ยนเป็นไม้ผลชนิดอื่นที่เหมาะสมกับสภาพ พื้นที่ และการให้ความรู้เกษตรกรในเรื่องการผลิตไม้ผลคุณภาพดี การบริหารจัดการ การผลิตและการตลาด รวมถึงระบบโลจิสติกส์ มาตรการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้งและมาตรการเพิ่มขีดความสามารถภาค เกษตร โดยแบ่งเป็น o โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายฉุกเฉินและจาเป็นของเกษตรกรที่ประสบภัย แล้ง o โครงการสินเชื่อ1 ตาบล 1 SME เกษตร o โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนการผลิตสู้วิกฤตภัยแล้ง มาตรการช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองตามแนวทางประชารัฐ ประกอบด้วย o มาตรการสิ น เชื่ อ ประชารั ฐ เพื่ อ ประชาชน ให้ ธ นาคารออมสิ น ปล่ อ ยกู้ ใ ห้ กั บ ผู้ประกอบการอิสระรายย่อย รายละไม่เกิน 50,000 บาท ระยะเวลาการผ่อน ชาระคืน 5 ปีโดยไม่คิดดอกเบี้ยในปีแรก ส่วนปีที่ 2-5 คิดดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อ 25


26

ประเด็น

นโยบาย/มาตรการ เดือน o มาตรการประชารัฐเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้สินประชาชนภายใต้นโยบายรัฐบาลให้ ธนาคารออมสินพักชาระเงินต้นและดอกเบี้ยนานสูงสุด 3 ปี หรือขยายเวลาชาระ หนี้ได้ 2 เท่าของระยะเวลาคงเหลือตามสัญญาเงินกู้แต่ไม่เกิน 20 ปี o โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาอาชีพและสร้างความรู้ทางการเงินแก่ผู้ ประกอบอาชีพรายย่อยในชุมชนเมือง  โครงการยกระดับศักยภาพหมู่บ้านเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชา รัฐ โดยจัดสรรเงินให้หมู่บ้านละไม่เกิน 200,000 บาท สาหรับใช้ดาเนินโครงการลงทุนด้าน โครงสร้างพื้นฐาน หรือการดาเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ของหมู่บ้านเพื่อพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ภูมิภาคของประเทศ  มาตรการเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้มีรายได้น้อย ในโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐโดย การโอนเงินเข้าบัญชีผู้ไม่มีรายได้หรือมีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทต่อปี รายละ 3,000 บาท และผู้ที่มีรายได้ 30,000-100,000 บาทต่อปี รายละ1,500 บาท ตั้งแต่วันที่ 1 –30 ธันวาคม 2559

SMEs

 มาตรการบัญชีเล่มเดียวรวมทั้งการยกเว้นและลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสาหรับ SMEs เพื่อสนับสนุนให้ SMEs ทาบัญชีเล่มเดียว โดยยกเว้นการตรวจสอบภาษีอากร ย้อนหลัง รวมถึงยกเว้นและลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่ SMEs  โครงการค้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ของบรรษัท ประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)  มาตรการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการใหม่ แ ละนวั ต กรรม Start-up &Innovation ผ่านโครงการค้าประกันสินเชื่อของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม ขนาดย่อม (บสย.) โดยค้าประกันสินเชื่อให้กับ SMEs ประเภท 1) บุคคลธรรมดา 2) นิติ บุคคลกลุ่ม Start-up และ 3) นิติบุคคลกลุ่ม Innovation & Technology  มาตรการภาษีส่งเสริม SMEs (มาตรการพี่ช่วยน้อง และการลงทุนในชนบท) o มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการดาเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ SMEs มาตรการพี่ ช่วยน้อง ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้บริษัทที่มีสินทรัพย์ถาวรเกิน 200 ล้าน บาท และมีการจ้างแรงงานเกิน 200 คน (บริษัทพี่) สาหรับค่าใช้จ่ายโครงการ ส่งเสริมการดาเนินธุรกิจให้บริษัทที่มีสินทรัพย์ถาวรไม่เกิน 200 ล้านบาท และมี การจ้างงานไม่เกิน 200 คน (บริษัทน้อง) o มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบท ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับ ค่าใช้จ่ายในโครงการที่ท้องถิ่นมีความต้องการจะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม  มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ปรับปรุง 26


27

ประเด็น 

  อื่นๆ

 

นโยบาย/มาตรการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการค้าประกันสินเชื่อ SMEs ทวีทุน (Portfolio Guarantee Scheme) ของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ โดยสนับสนุน เงินทุนให้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง 79,556 แห่ง แห่งละไม่เกิน 5 แสนบาทภายใน วงเงิ น 35,000 ล้ า นบาท เพื่อ การลงทุน โครงสร้างพื้นฐานชุม ชนและอื่น ๆ ที่จ ะช่ว ย ส่งเสริมศักยภาพในการประกอบอาชีพและความเป็นอยู่ของชุมชน มาตรการกระตุ้ น เศรษฐกิจในช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดยให้ ประชาชนนาค่าใช้จ่า ย ประเภทค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าบริการที่ให้แก่ผู้ประกอบการนาเที่ยว หรือค่าที่พักใน โรงแรมในประเทศ เพื่อลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจาปีภาษี 2559 โครงการบ้านประชารัฐ สนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย (Pre Finance) และสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย (Post Finance) ผ่านธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารออม สิน และ ธนาคารกรุงไทย มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมสินค้าท้องถิ่นไทย (OTOP Extravaganza) โดยให้ผู้ซื้อสินค้า OTOP สามารถน าใบกากับภาษีมาหักลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อกระตุ้นการ จับจ่ายใช้สอยให้เม็ดเงินลงสู่ระดับชุมชน มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในช่วงปลายปี 2559 โดยให้ประชาชนสามารถนาค่าใช้จ่าย เพื่ อ ซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร จากผู้ ป ระกอบการที่ จ ดทะเบี ย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม ประเภท ค่าบริการให้แก่ผู้ประกอบการนาเที่ยว หรือค่าที่พักในโรงแรมในประเทศ มาลดหย่อนใน การคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจาปีภาษี 2559 มาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ โดยการยกเว้นค่าธรรมเนียมการตรวจลงตรา (Visa) ณ สถานทูตหรือสถานกงสุล ไทย และปรับลดค่าธรรมเนียมการตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาตของด่านตรวจคนเข้าเมือง (Visa on Arrival) ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 2 กุมภาพันธ์2560 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2559)

27


28

เอกสารอ้างอิง กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2559). สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI). ค้นหาจาก http://www.ipthailand.go.th/th/gi002.html คมชัดลึก. (2558). พิษแล้ง-ราคาหมูขยับจับตา ‘วิกฤตชั่วคราว?’. ค้นหาตจาก http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/211751 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). ค้าชายแดนครึ่งปียังบวก คาด 6 เดือนหลังยอดเพื่มขึ้นในทิศทางที่ดีกว่าเดิม. ค้นหาจาก http://www.thansettakij.com/content/6521 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). ค้าชายแดนเชียงรายดิ้น! หาช่องส่งออกลาว-จีนเพิ่ม หลังเมียนมาปิดท่าเรือสบหลวย. ค้นหาจาก http://www.thansettakij.com/content/84686 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). บิ๊กไบค์กระหึ่มตลาดภูธร ยอดขายพุ่งขณะที่มอเตอร์ไซค์เล็กร่วงต่อ. ค้นหาจาก http://www.thansettakij.com/content/20942 ฐานเศรษฐกิจ. (2558). ปี 58 ผลผลิตมันฯออกสู่ตลาด 30.91 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 3%. ค้นหาจาก http://www.thaitapiocastarch.com ไทยรัฐ. (2559). สรุปยอดขายรถเดือนธันวาคม 2558. ค้นหาจาก http://www.thairath.co.th/content/566539 ไทยรัฐออนไลน์. (2 ม.ค. 2556). ชะตากรรมเกษตรไทย 2556 วิกฤติภัยแล้ง...ให้โอกาส?. ค้นหาจาก http://www.thairath.co.th/content/317184 ไทยรัฐออนไลน์. (2555). กรมประมงยกระดับฟาร์มเพาะปลานิล เพื่อการส่งออก. ค้นหาจาก http://www.thairath.co.th/content/273671 ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). ภาวะเศรษฐกิจไทย 2558. ค้นหาจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AnnualReport/AnnualRe port/Annual_Y58_T.pdf ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2558. ค้นหาจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AnnualReport/AnnualRe port/Annual_Y58_T.pdf ประชาชาติธุรกิจ. (23 ก.ย. 2557). กรมปศุสัตว์ยันโคเนื้อไม่ขาดตลาดดัน “ธนาคารโค-กระบือ” ส่งเสริมเกษตรกร เลี้ยงเพิ่ม. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1411455995 ประชาชาติธุรกิจ. (2556). ตลาดรถปี 55 ทุบสถิติ 1.2 ล้านคัน โตโยต้าฟัน 4.8 แสน เร่งผลิตสุดตัว. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1342682185 ประชาชาติธุรกิจ. (2558). เนื้อวัวพุ่งกิโลละ 320 บ. จีน-เวียดนามกว้านซื้อ ตลาดบูม “โพนยางคา-ศรีวิขัยกาแพงแสน”. ค้นหาจาก

28


29

ประชาชาติธุรกิจ. (2558). ข้าวหอมมะลิร่วงต่ากว่า 9 พัน/ตัน “โรงสี-ส่งออก” โต้การทุบราคา. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1448629389 ประชาชาติธุรกิจ. (2558). จับตากาแฟไทย (5) เชียงราย “เมืองอราบิก้า” แหล่งผลิต “กาแฟสด-คั่ว”. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430904310 ประชาชาติธุรกิจ. (2558). สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย การันตีปีนี้ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่ตกต่า. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1446723441 ประชาชาติธุรกิจ. (2559). ปลานิลเชียงรายโกยเงิน 800 ล้าน ป้อนภาคเหนือ-เมียนมา-ลาว. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1461001155 ประชาชาติธุรกิจ. (6 ส.ค. 2558). เชียงรายบูม "เมืองชา-กาแฟ" ขนผลิตภัณฑ์เด่นดัง 9 ดอยโชว์. ค้นหาจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1438763236 ประชาชาติธุรกิจ. (8 พ.ค. 2558). จับตากาแฟไทย (5) เชียงราย"เมืองอราบิก้า" แหล่งผลิต"กาแฟสด-คั่ว". ค้นหา จาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1430904310 ประพันธ์ศักดิ์ ศีรษะภูมิ. (2557). ปลานิล: ความเสี่ยงที่จะยอมรับหรือเตรียมรับ. โครงการศึกษาประเมินผล กระทบของปัจจัยเสี่ยงที่มีบทบาทต่ออุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงปลานิลของประเทศไทย. สานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. ผู้จัดการออนไลน์ . (2554). ตลาดปี 53 ยอดขายทะลุประวัติศาสตร์ 8 แสนคัน. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/Motoring/ViewNews.aspx?NewsID=9540000007937 ผู้จัดการออนไลน์. (2550). ตลาดสองล้อหดตัว 15% ฮอนด้าเวฟครองใจวัยโจ๋. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/Motoring/ViewNews.aspx?NewsID=9500000066646 ผู้จัดการออนไลน์. (2553). ติวเข้มทุนท้องถิ่นเชียงราย-เตรียมรับมือการค้าใต้ FTA. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9530000087116 ผู้จัดการออนไลน์. (2554). ทุนจีนทายอดค้าเชียงรายพุ่ง. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9540000064604 ผู้จัดการออนไลน์. (2558). ค้า “ไทย-ลาว-พม่า” ผ่าน 3 จว.เหนือโตพรวด จับตาถนนเมียวดี-กรุกกริก เสร็จยอด พุ่งอีก. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/local/viewnews.aspx?NewsID=9580000027668 ผู้จัดการออนไลน์. (2558). ตลาดรถปี 57 ตก 33.7% มียอดขายรวม 881,832 คัน. ค้นหาจาก http://www.manager.co.th/Motoring/ViewNews.aspx?NewsID=9580000008074 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2552). จักรยานยนต์ครึ่งหลัง 2552... หดตัวน้อยลงแต่ยังต้องเผชิญกับปัจจัยเสี่ยงสาคัญ. ค้นหาจาก http://positioningmag.com/48731 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2555). บิ๊กไบค์ ปี 56 ยังแรง ... คาดโตไม่ต่ากว่า 45% สวนตลาดจักรยานยนต์รวมที่อาจติด ลบ 1-6%.ค้นหาจาก https://www.kasikornresearch.com/th/keconanalysis/pages/ViewSummary.aspx?docid=31742 สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (25 พ.ค. 2558). ทีดีอาร์ไอเตือนเกษตร ‘ขาลงยาว’ เร่งดันนวัตกรรมอาหาร. ค้นหาจาก http://tdri.or.th/tdri-insight/20150525/

29


30

สยามรัฐ. (2559). วัฏจักรราคาหมูเวียนมา... ต้องแก้อย่างยั่งยืน. ค้นหาจาก http://www.siamrath.co.th/n/4993 สานักงานจังหวัดเชียงราย. (2552). ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย 2552. ค้นหาจาก http://klang.chiangrai.net/STfile/ST_2552-7.pdf สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2554). สถานการณ์โคเนื้อปี 2554 และแนวโน้มปี 2555. ค้นหาจาก kukr.lib.ku.ac.th/journal/JKLM/search_detail/dowload_digital_file/47282/36441 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). สถานการณ์การผลิตและตลาดรายสัปดาห์ 5 - 11 พ.ค. 57. ค้นหาจาก http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=17388&filename=new สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2559). คู่มือการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ. ค้นหาจาก http://www.boi.go.th/upload/content/BOI-book_2015-special_economic_zone_42195.pdf

30


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.