การประเมินคุณภาพข้อมูลทางประชากรสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สิทธิชาติ สมตา 1. บทนา สาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาวหรือสปป.ลาว เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่ ใกล้ชิดที่ สุดกับ ประเทศไทย จ านวนประชากรสปป.ลาว มี ค่อนข้างน้อยเพียง 6.9 ล้านคน กระจายกันไปใน 18 แขวงทั่ว ประเทศ โดยพื้นที่ที่มีจานวนประชากรมากที่สุดคือแขวงสะหวันนะเขต รองลงมาคือ นครเวียงจันทน์และแขวง จาปาสัก (Lao Statistics Bureau, 2017) ในจานวนประชากรทั้งหมดของสปป.ลาว ประมาณร้อยละ 60 เป็น คนลาวหรือลาวลุ่ม (Flatlanders) และอีกร้อยละ 40 เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลายสิบกลุ่มซึ่งรวมกันเรียกว่า ลาวสูง (Highlanders) และลาวเทิ ง (Midlanders) ตามระดับ ความสูง ของการตั้ง หมู่ บ้านของกลุ่ม ชาติพันธุ์ โดย ลักษณะทางภูมิศาสตร์สปป.ลาว ไม่มีทางออกทางทะเล ภูมิประเทศอุดมไปด้วยเทือกเขาใหญ่น้อยสลับกันไป ที่ ราบที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกมีน้อย ระบบเศรษฐกิจของสปป.ลาว ยังคงต้องพึ่งพาการค้าและการลงทุนจาก ภายนอก โดยเฉพาะจากจีน เวียดนาม และไทย (ยศ สันตสมบัติ, 2556, น.28) อย่างเช่นจีนที่ได้เข้ามาลงทุน โครงสร้างพื้นฐานและการสร้างเขื่อนพลังงานน้าในแม่น้าโขง สปป.ลาว ในปัจ จุบันเป็นประเทศด้อยพัฒนา โดยในปีค.ศ. 2017 มี อัตราเพิ่มธรรมชาติ (Rate of natural increase) ร้อยละ 1.68 และอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life expectancy at birth) ประมาณ 65 ปี ซึ่งถือว่ามีอัตราการเพิ่มธรรมชาติและอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดโดยรวมต่ามากสาหรับประเทศด้อยพัฒนาที่ ต้องการกาลังแรงงานจานวนมากเพื่อ เป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ขณะที่ อัตราตายทารก (Infant mortality rate : IMR) คิดเป็น 55 ต่อ จ านวนการเกิ ดมี ชีพ 1,000 ราย และอัตราตายเด็ก (Child mortality rate) คิดเป็น 71.70 ต่อ ประชากรเด็ก 1,000 ราย ถือได้ว่ามี อัตราค่อนข้างสูงอาจเพราะปั จจัย ทางด้านระบบสาธารณสุขและการขาดแคลนสารอาหารที่จาเป็นต่อเด็ก ทั้งนี้โครงสร้างประชากรสปป.ลาว มี อายุมัธยฐาน (Median age) อยู่ที่ 20.7 ปี ถือว่าเป็น "ประชากรวัยกลาง” (medium-aged population) จากสถิติโครงสร้างประชากรของสปป.ลาวในปัจจุบันได้มีจัดทาประมาณการจากการสารวจสามะโน ประชากรและเคหะปี ค.ศ.2015 และส านัก งานสถิติส ปป.ลาว ได้ท าการใช้ส ถิติดัง กล่าวเป็นตัวเลขคาด ประมาณการโครงสร้างประชากรในปัจจุบัน ทั้งนี้การนาข้อมูลทางประชากรมาใช้ประโยชน์ด้านใดด้านหนึ่ง เช่น สร้างตัวชี้วัดทางประชากร ใช้ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และใช้ในการประมาณค่าตัวชี้วัด อื่นๆ นั้นความน่าเชื่อถือกับความแม่นยาถูกต้องของข้อมูลมีความสาคัญอย่างมาก ดังนั้นการประเมินคุณภาพ ข้อมูลเพื่อทราบความคลาดเคลื่อน (errors) ของข้อมูล จึงเป็นเรื่องจาเป็น เพราะไม่ว่าจะเก็บรวมรวมโดยวิธี แจงนับ การจดทะเบียน หรือวิธีอื่นๆ มักจะมีความคลาดเคลื่อน (บุญเลิศ เลียวประไพ, 2539, น.14) และด้วย ความหลากหลายทางชาติพันธุ์กับพื้นที่การอยู่อาศัยที่มีการกระจายอาจทาให้เกิดการตกการแจ้งนับหรือไม่ ถูก นับ และการแจ้งอายุที่เกินกว่าควรจะเป็นของประชากรและการแจ้งแทนคนในครอบครัวที่เคลื่อนย้ายมาเป็น แรงงานข้ามชาติในประเทศเพื่อนบ้าน จึงเป็นปัจจัยที่นามาสู่การประเมินคุณภาพข้อมูลทางประชากรของสปป. ลาว ซึ่งการประเมินคุณภาพทางประชากรมีอยู่หลายวิธีแล้วแต่ข้อมูลที่มีอยู่หรือที่หาได้ในประเทศนั้น ๆ และ การศึกษาคุณภาพข้อมูลมีประโยชน์ เป็นมูลฐานของการวิเ คราะห์ป ระชากรที่ละเอียดลึกซึ้ง เช่น การสร้าง ตารางชีพ การคานวณค่าวัดการเจริญพันธุ์ที่ละเอียด และการฉายภาพประชากร
2. วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาคุณภาพข้อมูลทางประชากร ด้วยวิธีการ Whipple's index และ Myers's Blended 2) เพื่ อ ศึก ษาความถูก ต้อ งข้อมูล ประชากรที่ รายงานตามกลุ่มอายุและเพศ ด้วยวิธีก าร Age-sex accuracy index 3. ระเบียบวิธีวิจัย ในส่วนนี้ ได้อ ธิบ ายถึงแนวทางในการดาเนิน การประเมินคุณภาพข้อมูลทางประชากรสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้ข้อมูลทุติภูมิจากการรวบรวมข้อมูลสถิติสารวจสามะโนประชากรและเคหะ ปี ค.ศ.2015 จากสานักงานสถิติสปป.ลาว (Laos Statistics Bureau) ซึ่งได้สารวจสามะโนประชากรและเคหะ มาแล้วจานวน 2 ครั้ง ครั้งนี้เป็นครั้งล่าสุด โดยวิธีการประเมินข้อมูลในครั้งนี้ได้ใช้ Whipple's index ซึ่งเป็น ดัชนีใช้วัดการชอบรายงานอายุลงท้ายด้วยเลข “0” และ “5” และ Myers's Blended ซึ่งเป็นดัชนีที่ใช้วัด “การชอบ” หรือ “ไม่ชอบ” รายงานอายุของตัวลงท้ายด้วยเลขตัวใดหนึ่งตั้งแต่ “0” ถึง “9” (บุญเลิศ เลียว ประไพ, 2539, น.21) เพื่อตรวจสอบความคลาดเคลื่อนและถูกต้องของการสารวจมะโนประชากร 3.1) การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์การประเมินคุณภาพข้อมูล ทางประชากรสาธารณรัฐประชาธิป ไตยประชาชนลาว มี วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ (บุญเลิศ เลียวประไพ, 2539, น.21-24) 1) Whipple's index คานวณโดยรวบรวมจานวนประชากรอายุระหว่าง 23 – 62 ปี เพื่อนามาหา ผลรวมของจานวนประชากรที่รายงานอายุลงท้ายด้วย “0” และ “5” โดยมีสูตรการคานวณดังนี้ Whipple's index=
(Total age ending with 0,5)×100 1/5×total ages 23 to 62
Whipple's index มี ค่าความแตกต่างกั นตั้งแต่ 0 ถึง 500 โดยค่า 0 หมายถึงไม่มีก ารรายงานอายุ “0” และ “5” และค่า 500 หมายถึงมีการรายงานอายุ “0” และ “5” จากข้อมูลสามารถอธิบายถึการกระจาย อายุตามดัชนีดังนี้ ตารางที่ 1 ค่าดัชนี Whipple's index ค่าดัชนี <=105 105-109.9 110-124.9 125-174.9 >=175 ที่มา: Pardeshi. (2010).
คานิยาม ข้อมูลมีความแม่นยาสูง ข้อมูลมีความแม่นยาปานกลาง ข้อมูลมีความแม่นยาพอใช้ ข้อมูลมีความหยาบ ข้อมูลมีความหยาบมาก
2) Myers's Blended รวบรวมจานวนประชากรพิสัยอายุระหว่าง 10 – 99 ปี อายุเริ่มต้นแรกคือ 10, 11 และต่อๆไป การคานวณดาเนินตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 บวกจานวนประชากรที่ลงท้ายด้วยเลขแต่ละตัวตลอดพิสัยอายุเริ่มด้วยขีดจากัดขั้นต่าของพิสยั (เช่น 10, 20 , 30,….90; 11, 21, 31,…91) ขั้นที่ 2 หาจานวนโดยหักจานวนประชากรที่ลงท้ายด้วยเลขแต่ละตัวในขั้นที่ 1 ออก (เช่น 20, 30, 40,…90; 21, 31, 41,….91) ขั้นที่ 3 ท าการถ่วงน้าหนัก ประชากรในขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 เพื่อหาจ านวนประชากรที่ ผ สมแล้ว (blended population) ขั้นที่ 4 แปลงการแจกแจงจานวนประชากรเป็นร้อยละ ขั้นที่ 5 หาค่าเบี่ยงเบนจากร้อยละ 10 ซึ่งเป็นอัตราส่วนร้อยที่คาดหายโดยหาจากอัตราส่วนร้อยในขั้น ที่ 4 ตามทฤษฎี Myers's index อาจจะเป็นได้ตั้งแต่ 0 ถึง 180 ถ้าหากมีการรายงานอายุอยู่ถูกต้องทาให้ ค่าของดัชนีใกล้เคียงกับ “0” มาก แสดงให้เห็นว่ามีการชอบรายงานอายุลงท้ายด้วยเลขตัวใดตัวหนึ่งน้อยมาก แต่ถ้าหากว่าทุกอายุรายงานอายุลงท้ายด้วย “0” เท่านั้น ร้อยละ 100 ของประชากรที่ผสมแล้ว จะอยู่ ณ เลข ตัวนี้ ผลรวมของค่าเบี่ยงเบนจะเท่ากับ 180 3) ดัชนีความถูกต้องอายุและเพศ (Age-sex accuracy index) คานวณจากประชากรอายุ 5-70 ปี จากการหาอัตราส่วนเพศ (sex ratio score) อัตราส่วนอายุของเพศชาย (age-ratio score for male) และ อัตราส่วนอายุของเพศหญิง (age-ratio score for female) ผลรวมที่ได้รับหลังจากถ่วงน้าหนัก หากคะแนน ร่วมน้อยกว่า 20 แสดงถึงข้อมูลมีความถูกต้อง ค่าคะแนนระหว่าง 20-40 แสดงถึงข้อมูลมีความไม่ถูกต้อง และ ค่าคะแนนมากกว่า 40 แสดงถึงข้อมูลไม่ถูกต้องอย่างมาก (Bello, 2017, p.308) 4. ผลการศึกษา โครงสร้างประชากรทางอายุและเพศเป็นลักษณะสาคัญอย่างแรกเมื่อพิจารณาลักษณะทางประชากร ของกลุ่มประชากร โดยแสดงการกระจายประชากรแยกตามกลุ่มอายุเป็นสามกลุ่มกว้างๆ (กลุ่มเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี, กลุ่มวัยแรงงาน อายุ 15-59 ปี และกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าโครงสร้างประชากร ทางอายุของสปป.ลาว มีประชากรในวัยเด็กสูง และประชากรวัยแรงงานมีแนวโน้ มลดลงเมื่ออายุ 20 ปีเป็นต้น ไป ซึ่งการมีประชากรวัยเด็กสูงสะท้อนให้เห็นภาวะเจริญพันธุ์ที่สูงและการมีประชากรวัยแรงงานต่าอาจเพราะ การเคลื่อนย้ายสู่การเป็นแรงงานข้ามชาติในประเทศเพื่อนบ้าน รูปที่ 1 พีระมิดประชากรของสปป.ลาว ในปี ค.ศ.2015 90-94 80-84 70-74 60-64 50-54 40-44 30-34 20-24 10-14 0-4
ที่มา: Laos Statistics Bureau, 2015
400,000
350,000
300,000
250,000
200,000
150,000
100,000
50,000
หญิง
-
-
50,000
100,000
150,000
200,000
250,000
300,000
350,000
400,000
ชาย
4.1 คุณภาพข้อมูลทางประชากรด้วยวิธีการ Whipple's index ค่า Whipple's index ของสปป.ลาว ในปีค.ศ.2015 ของประชากรชายเท่ากับ 128.4 และประชากร หญิงเท่ากับ 130.2 และของทั้งสองเพศเท่ากับ 129.3 จะเห็นได้ว่าประชากรสปป.ลาว มีการรายงานอายุของ ตนลงท้ายด้วยเลข “0” และ “5” ค่อนข้างสูง ซึ่งทาให้คุณภาพข้อมูลประชากรมีความหยาบ (Rough data)1 ทั้งนี้หากพิจารณารายเพศ พบว่าประชากรชายรายงานอายุของตนลงท้ายด้วยเลข “5” สูงกว่าประชากรหญิง ขณะที่ประชากรหญิงรายงานอายุของตนลงท้ายด้วยเลข “0” สูงกว่าประชากรชาย (ดังตารางที่ 2) ตารางที่ 2 Whipple's index ประชากรสปป.ลาว ระหว่างอายุ 23-62 ปี ในปีค.ศ.2015 Whipple's index Male Female รายงานอายุลงท้ายด้วยเลข 0 และ 5 128.4 130.2 รายงานอายุลงท้ายด้วยเลข 0 118.6 127.4 รายงานอายุลงท้ายด้วยเลข 5 138.3 133.0 ที่มา: คานวณโดยผู้วิจัย
Total 129.3 123.0 135.7
4.2 คุณภาพข้อมูลทางประชากรด้วยวิธีการ Myers's Blended Myers's index เป็นดัชนีที่สะท้อน “ความชอบ” หรือ “ความไม่ชอบ” รายงานอายุของตนลงท้าย ด้วยตัวเลขใดการประเมินคุณภาพข้อมูลประชากรสปป.ลาว จากการสารวจสามะโนประชากรและเคหะ พบว่า มีความโน้มเอียงการชอบรายงานอายุของตนลงท้ายด้วยเลข “0” และ “5” มากที่สุด และไม่ชอบรายงานอายุ ด้วยเลข “2” และ “8” นอกจากนี้มีการชอบรายงานอายุของตนลงท้ายด้วยเลขคี่มากกว่าเลขคู่ (ดังรูปที่ 2) รูปที่ 2 รายงานอายุของตนเป็นจานวนปีที่ชอบของประชากรสปป.ลาว ในปีค.ศ. 2015 5.0 4.0 3.0
Preference
2.0 1.0
0.0
-1.0 -2.0 0
1
2
ที่มา: คานวณโดยผู้วิจัย
1
ผลการอ่านค่า Whipple's index จากตารางที่ 1
3
4 5 Terminal digit Male Female
6
7
8
9
4.3 ดัชนีความถูกต้องข้อมูลประชากรที่รายงานตามกลุ่มอายุและเพศด้วยวิธีการ Age-sex accuracy index ความถูกต้องของข้อมูลที่รายงานตามกลุ่มอายุและเพศถือว่ามีควรสาคัญอย่างมากสาหรับเป็นข้อมูล เบื้องต้นเพื่อทาการวิเคราะห์ทางด้านพฤติกรรมและการวางแผนในการพัฒนาประเทศอย่างเหมาะสม จากการ ประเมินความถูกต้องของประชากรสปป.ลาว พบว่า ข้อมูลทางประชากรมีความไม่ถูกต้อง โดยมีค่า คะแนน Age-sex accuracy index อยู่ที่ 20.1 คะแนน (ดังรูปที่ 3) เนื่องจากความเป็นจริงตามโครงสร้างประชากร อัตราส่วนเพศชายจะมากกว่าเพศหญิงเมื่อแรกเกิด แต่หลังจากอายุ 15 ปี เป็นต้นไปนั้นอัตราส่วนเพศชายต้อง มีน้อยกว่าเพศหญิง หรือยิ่งอายุมากเท่าไรอัตราส่วนเพศชายจะยิ่งน้อยกว่าเพศหญิง เพราะเพศหญิงจะมีอายุ ยืนยาวมากกว่าเพศชายและมีพฤติกรรมผาดโผนน้อยกว่า ทั้งนี้จากการรายงานตามกลุม่ อายุและเพศของข้อมูล ประชากรสปป.ลาว ในระหว่างอายุ 25-64 ปี จึงไม่มีความถูกต้องและความสมดุลทางโครงสร้างประชากร และ มีความสมดุลทางโครงสร้างประชากรตามกลุ่มอายุและเพศในกลุ่มอายุ 65 ปีเป็นต้นไป2 รูปที่ 3 ดัชนีความถูกต้องที่รายงานตามกลุ่มอายุและเพศประชากรสปป.ลาว ปีค.ศ. 2015
120.0 115.0 110.0 105.0
100.0 95.0 90.0 5-9
15-19
25-29
35-39 Male
45-49 Female
55-59
65-69
ที่มา: คานวณโดยผู้วิจัย 5. สรุปผลการศึกษา การประเมินคุณภาพข้อมูลทางประชากรสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวจากการรวบรวม ข้อมูลสถิติสารวจสามะโนประชากรและเคหะปี ค.ศ.2015 สานักงานสถิติสปป.ลาว (Laos Statistics Bureau) จะเห็นได้ว่าการประเมินคุณภาพข้อมูลด้วยวิธี Whipple's index และ Myers's Blended ผลการศึกษาของ ทั้ ง สองมี ความสอดคล้อ งกั น จากความโน้มเอียงที่ชอบรายงานอายุของตนลงท้ ายด้วยเลข “0” และ “5” ค่อนข้างสูง และข้อมูลประชากรที่รายงานตามกลุ่มอายุและเพศมีความไม่ถูกต้อง ซึ่งการชอบรายงานอายุของ ตนเองลงท้ายด้วย “0” และ “5” หรือในบางครั้งเลขคู่ สิ่งเหล่านี้อาจจะเกิดขึ้นเพราะความไม่รู้เกี่ยวกับอายุที่ แม้จริงของตนเองหรือของคนอื่นที่ตอบแทนเขา มากกว่าที่จะเกิดขึ้นเพราะความจงใจที่จะแจ้งอายุของตนเอง ผิดๆ หรือเพราะความผิดพลาดของพนักงานสัมภาษณ์ ทั้งนี้ความคลาดเคลื่อนของข้อมูลที่ส่งผลต่อคุณภาพ 2
ภาคผนวกตารางที่ 4
และความไม่ถูกต้องข้อมูลประชากร อาจมีปัจจัยมาจากความคลาดเคลื่อนของคาตอบ ผู้จาบันทึกข้อมูล การลง รหัส และการประมวลข้อมูล (บุญเลิศ เลียวประไพ, 2539, น.15) เนื่องจากสปป.ลาว เป็นประเทศที่ด้อยพัฒนาอาจมีข้อจากัดทางด้านงบประมาณในการสารวจสามะ โนประชากรและเคหะเพราะข้อมูลดังกล่าวเป็นเพียงครั้งที่ 2 ของประเทศเท่านั้นที่มีการสารวจ ขณะเดียวกัน ความโน้มเอียงที่รายงายตามกลุ่มอายุและเพศที่มีความคลาดเคลื่อนและความไม่ถูกต้องในช่วงอายุ 25-64 ปี นั้น อาจเพราะกลุ่มประชากรดังกล่าวคือประชากรวัยแรงงานที่ต้องเดินทางไปทางานต่างพื้นที่และในประเทศ เพื่อนบ้าน ดังนั้นความคลาดเคลื่อนจึงมีความเป็นไปได้อย่างมากที่กลุ่มผู้สูงอายุจะเป็นคนรายงานอายุสมาชิก คนอื่นๆ ในครอบครัว หากสปป.ลาวมีข้อมู ลทางประชากรที่ถูกต้องอาจมี ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมโดยรวมของประเทศ รวมถึงการจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพจากการ พัฒนาที่เหมาะสมต่อโครงสร้างทางประชากรและทรัพยากรธรรมชาติ
เอกสารอ้างอิง ยศ สันตสมบัติ และคณะผู้วิจัย. (2556). อนุภูมิภาคลุ่มแม่นาโขงใต้ ้ ชะเงื้อมสีเ่ หลี่ยมเศรษฐกิจ. เชียงใหม่: ศูนย์ ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพือ่ การพัฒนาที่ยั่งยืน. บุญเลิศ เลียวประไพ. (2539). ระเบียบวิธีทางประชากรศาสตร์. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Bello Y. (2017). Age-Sex Accuracy Index Chart for Monitoring Distribution of Patients. J Public Health Dev Ctries, 3(1), 306-317. Lao Statistics Bureau. (2015). Results of Population and Housing Census 2015. Lao Statistics Bureau. (2017). Statistical Yearbook 2017. Pardeshi, G. (2010). Age heaping and accuracy of age data collected during a community survey in the Yavatmal district, Maharashtra. Indian Journal of Community Medicine, 35(3), 391-395. doi: 10.4103/0970-0218.69256
ภาคผนวก ตารางที่ 1 จานวนประชากรจาแนกตามอายุและเพศ ปีค.ศ. 2015 อายุ เพศชาย เพศหญิง อายุ เพศชาย เพศหญิง 0 60,356 58,031 32 49,925 48,515 1 65,364 63,308 33 42,104 42,072 2 74,729 72,270 34 41,329 41,696 3 74,696 72,505 35 59,564 55,204 4 71,317 69,407 36 38,433 38,381 5 72,647 69,280 37 37,465 36,569 6 69,232 66,069 38 39,953 40,810 7 68,167 66,447 39 37,108 36,596 8 70,957 69,646 40 47,782 48,713 9 64,377 62,387 41 29,214 30,239 10 75,860 73,084 42 36,347 35,259 11 64,801 63,382 43 28,704 29,517 12 75,525 72,480 44 28,761 29,334 13 71,246 69,372 45 41,406 39,951 14 75,594 77,262 46 28,452 28,496 15 83,503 76,944 47 25,122 25,411 16 70,023 66,933 48 30,281 29,452 17 64,918 62,332 49 24,395 22,941 18 73,401 75,830 50 33,322 46,522 19 62,515 62,611 51 22,824 23,714 20 75,558 78,644 52 26,413 25,261 21 60,802 59,874 53 22,052 21,613 22 67,611 67,793 54 22,661 23,036 23 61,900 61,059 55 27,650 27,838 24 59,730 61,066 56 19,599 19,297 25 77,553 75,362 57 17,992 17,577 26 59,604 58,823 58 19,003 19,387 27 57,677 57,115 59 14,371 14,893 28 62,169 63,196 60 23,669 24,528 29 51,985 52,504 61 13,276 12,487 30 72,028 70,221 62 13,985 13,043 31 44,997 43,347 63 11,640 11,561 ที่มา: Laos Statistics Bureau, 2015
อายุ 64 65 66 67 68 72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95+ Total
เพศชาย 11,536 15,374 8,152 8,557 8,294 6,258 5,052 5,383 7,082 3,919 3,583 4,299 2,988 4,568 2,309 2,456 2,065 2,121 2,573 1,176 1,148 1,016 831 1,136 474 560 441 430 1,922 3,254,770
เพศหญิง 11,454 16,290 8,689 9,037 9,389 6,712 5,814 6,124 8,465 4,559 3,940 4,833 3,410 6,558 2,597 2,680 2,332 2,504 3,289 1,567 1,414 1,207 1,046 1,778 631 593 494 499 3,276 3,237,458
ตารางที่ 2 Myer's Blended Index (for male) (ค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 10.9) Terminal digits 0….. 1….. 2….. 3….. 4….. 5….. 6….. 7….. 8….. 9…..
Ages 10-89 Sum Coeff. 343,747 1 243,500 2 278,520 3 244,763 4 247,115 5 314,705 6 229,358 7 216,462 8 238,416 9 201,379 10
Age 20-89 Sum Coeff. 267,887 9 178,699 8 202,995 7 173,517 6 171,521 5 231,202 4 159,335 3 151,544 2 165,015 1 138,864 0
"Blended" Sum 2,754,730 1,916,592 2,256,525 2,020,154 2,093,180 2,813,038 2,083,511 2,034,784 2,310,759 2,013,790
% Distribution 12.4 8.6 10.1 9.1 9.4 12.6 9.3 9.1 10.4 9.0
Deviation from 10% 2.4 -1.4 0.1 -0.9 -0.6 2.6 -0.7 -0.9 0.4 -1.0
Absolute of Deviation from 10% 2.4 1.4 0.1 0.9 0.6 2.6 0.7 0.9 0.4 1.0
ตารางที่ 3 Myer's Blended Index (for female) (ค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 11.9) Terminal digits 0….. 1….. 2….. 3….. 4….. 5….. 6….. 7….. 8….. 9…..
Ages 10-89 Sum Coeff. 362,322 1 241,435 2 271,743 3 243,340 4 252,476 5 303,343 6 226,745 7 213,395 8 244,104 9 201,934 10
Age 20-89 Sum Coeff. 289,238 9 178,053 8 199,263 7 173,968 6 175,214 5 226,399 4 159,812 3 151,063 2 168,274 1 139,323 0
"Blended" Sum 2,965,464 1,907,294 2,210,070 2,017,168 2,138,450 2,725,654 2,066,651 2,009,286 2,365,210 2,019,340
% Distribution 13.2 8.5 9.9 9.0 9.5 12.2 9.2 9.0 10.5 9.0
Deviation from 10% 3.2 -1.5 -0.1 -1.0 -0.5 2.2 -0.8 -1.0 0.5 -1.0
Absolute of Deviation from 10% 3.2 1.5 0.1 1.0 0.5 2.2 0.8 1.0 0.5 1.0
ตารางที่ 4 Population, by Age and Sex, and United Nations Age-Sex Accuracy Index Population Age
Male
Female
Age ratio Male
All ages 3,254,770 3,237,458 346,462 335,521 0-4 345,380 333,829 97.4 5-9 363,026 355,580 103.8 10-14 354,360 344,650 102.9 15-19 325,601 328,436 98.2 20-24 308,988 307,000 107.3 25-29 250,383 245,851 96.0 30-34 212,523 207,560 100.9 35-39 170,808 173,062 94.3 40-44 149,656 146,251 100.4 45-49 127,272 140,146 102.5 50-54 98,615 98,992 97.9 55-59 74,106 73,073 101.4 60-64 47,563 51,338 88.9 65-69 32,930 38,497 70-74 47,097 57,672 75+ 3.6 Age ratio score for males 4.8 Age ratio score for females 3.9 Sex ratio score 20.1 Age-sex accuracy index
Age ratio deviation
Female
Male
Female
96.6 104.8 100.8 100.8 106.9 95.6 99.1 97.8 93.4 114.3 92.9 97.2 92.0
-2.6 3.8 2.9 -1.8 7.3 -4.0 0.9 -5.7 0.4 2.5 -2.1 1.4 -11.1
-3.4 4.8 0.8 0.8 6.9 -4.4 -0.9 -2.2 -6.6 14.3 -7.1 -2.8 -8.0
Sex ratio (males per 100 females) 100.5 103.3 103.5 102.1 102.8 99.1 100.6 101.8 102.4 98.7 102.3 90.8 99.6 101.4 92.6 85.5 81.7
Sex ratio difference
0.2 -1.4 0.7 -3.7 1.5 1.2 0.5 -3.7 3.6 -11.5 8.8 1.8 -8.8 -7.1