No. 1, October 2013
ความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมของจังหวัดเชียงราย1 (SME’S COMPETITIVENESS IN CHIANG RAI PROVINCE) ณัฐพรพรรณ อุตมา, ธนสิน ถนอมพงษ์พันธ์, ธิดารัตน์ บัวดาบทิพย์
1. หลักการและเหตุผล การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน (Global Competitiveness Index: GCI) โดย World Economic Forum ซึ่งทา การประเมินความสามารถในการแข่งขันจากปัจจัยพื้นฐาน ปัจจัยยกระดับประสิทธิภาพ และปัจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทาง ธุรกิจ2 ชี้ให้ เห็นว่า ในปี 2013 ประเทศไทยมีอนั ดับความสามารถในการแข่งขันโดยรวมลดลงจากปี ที่ผ่านมา (ลาดับที่ 49) ขณะที่ประเทศในกลุ่มอาเซียนเช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ล้ วนมีอนั ดับความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น เป็ น ลาดับที่ 27 45 และ 78 ตามลาดับ ปัจจัยสาคัญที่ทาให้ ประเทศไทยมีลาดับความสามารถในการแข่งขันลดลงเกิดจากปัจจัย ความพร้ อมด้ านเทคโนโลยี เช่น การมีเทคโนโลยีเพื่อใช้ งานของผู้ประกอบการ ความสามารถในการเรียนรู้เทคโนโลยีของภาค ธุรกิจ และการลงทุนทางตรงของต่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยี และปัจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ ซึ่ง ปัจจัยดังกล่าวล้ วนเป็ นปัจจัยสาคัญที่ขบั เคลื่อนให้ ประเทศไทยเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สร้ างความได้ เปรียบในการแข่งขัน และสามารถก้ าวผ่านกับดักทางรายได้ (Middle-Income Trap) ที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั ได้ เป็ นอย่างดี จากความสาคัญดังกล่าวข้ างต้ น การพัฒนาผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprise: SME) ให้ เป็ นผู้มคี วามสามารถในการแข่งขันทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับโลกได้ น้นั จาเป็ นต้ องวางรากฐาน ด้ านปัจจัยพื้นฐาน ปัจจัยยกระดับประสิทธิภาพ และปัจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจให้ มคี วามเข้ มแข็ง โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการในระดับภูมภิ าค อาทิ จังหวัดเชียงราย ซึ่งนอกจากจะมีความได้ เปรียบด้ านภูมศิ าสตร์ในการเป็ นเมืองหน้ าด่าน (Gateway City) ด้ านการค้ าการลงทุน การท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ กับประเทศเพื่อนบ้ านและประเทศที่สามแล้ ว เมือง ชายแดน จังหวัดเชียงราย ยังเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่มี คี วามอุดมสมบูรณ์และเอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต ทางการเกษตร การท่องเที่ยว และการค้ าปลีกและค้ าส่งเป็ นอย่างดี รวมทั้งการได้ รับการสนับสนุนจากภาครัฐบาลในการ ผลักดันพื้นที่ชายแดนอาเภอแม่สาย เชียงแสน และเชียงของให้ เป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนที่มเี อกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่ ชายแดน เช่น เมืองการค้ าชายแดนและการท่องเที่ยวแม่สาย เมืองท่าเรือการค้ าการท่องเที่ยวลุ่มแม่นา้ โขงเชียงแสน และเมือง ศูนย์กลางการเปลี่ยนถ่ายและกระจายสินค้ าเชียงของ 1
รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องMicroeconomic Foundations in Business Competitiveness: A Case Study for Small and Medium-sized Enterprises (SMEs) in Chiangrai Province ที่ได้ รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจาปี 2556 2 ปัจจัยพื้นฐาน ประกอบด้ วย ปัจจัยเกี่ยวกับสถาบัน ปัจจัยสภาพแวดล้ อมทางเศรษฐกิจมหภาค และสุขภาพและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปัจจัยยกระดับประสิทธิภาพ ประกอบด้ วย การฝึ กอบรมและการศึกษาขั้นสูง ประสิทธิภาพของตลาดสินค้ า ประสิทธิภาพของ ตลาดแรงงาน พัฒนาการของตลาดการเงิน ความพร้ อมทางเทคโนโลยี และขนาดของตลาด ปัจจัยนวัตกรรมและศักยภาพทางธุรกิจ ประกอบด้ วย ศักยภาพทางธุรกิจ และนวัตกรรม (Schwab, 2013) สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
1
ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้ างมาตรวัดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด ย่อมของจังหวัดเชียงราย เพื่อนาไปใช้ เป็ นเครื่องมือในการติดตามความเคลื่อนไหวของระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ของจังหวัดเชียงราย ในภาคการเกษตร การผลิต บริการ และการค้ าปลีกค้ าส่ง และนาไปเป็ นมาตรวัดเปรียบเทียบ ความสามารถในการแข่งขันดังกล่าวในเวทีระดับประเทศและระดับภูมภิ าค รวมทั้งใช้ ประโยชน์จากมาตรวัดดังกล่าวในการ นาเสนอแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของ SME ของไทย
2. กรอบการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน การศึกษานี้ได้ประยุกต์ใช้ แนวคิดทฤษฎี Porter’s Diamond Model (Porter, 1990) ซึ่งเป็ นโมเดลที่ใช้ ในการวิเคราะห์ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ประกอบด้ วยปัจจัยเงื่อนไขด้ านการผลิต ด้ านอุปสงค์ ด้ านอุตสาหกรรมสนับสนุนและ เกี่ยวข้ อง ด้ านกลยุทธ์และโครงสร้ างของบริษัทและการแข่งขัน ด้ านโอกาส และด้ านบทบาทของภาครัฐ มาเป็ นแนวทางในการ กาหนดกรอบการวิเคราะห์ระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงราย และเพิ่มประสิทธิภาพด้ านการผลิตและการตลาดให้ มคี วามพร้ อมต่อการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒน์ และการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน ดังนั้นกรอบการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันนี้ ประกอบด้ วย 5 องค์ประกอบหลักได้ แก่ ด้ าน การตลาด ด้ านการผลิต ด้ านกลยุทธ์ทางธุรกิจ ด้ านอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องและคู่แข่ง และด้ านโอกาสในการขยายธุรกิจของ SME (รูปที่ 1)
รูปที่ 1 องค์ประกอบในการวัดความสามารถในการแข่งขันของ SME เงื่อนไขด้ านอุปสงค์ (Demand condition) หมายถึง ความต้ องการของผู้บริโภคที่มตี ่อสินค้ า ความสามารถของ ผู้ประกอบการในการเข้ าถึงผู้บริโภค และประสิทธิภาพและกลไกในการคุ้มครองผู้บริโภค เงื่อนไขด้ านปัจจัยการผลิต (Factor condition) หมายถึง กระบวนการผลิตและเทคโนโลยีท่ใี ช้ ความเพียงพอและความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งวัตถุดบิ แรงงาน และแหล่งทุน ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น และนวัตกรรมด้ านกลยุทธ์และ โครงสร้ างของบริษัทและการแข่งขัน (Firm strategy, structure and rivalry) ประกอบด้ วย โครงสร้ างการดาเนินกิจการเป็ น ห่วงโซ่อปุ ทาน กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคาและผลิตภัณฑ์ และส่วนแบ่งการตลาดในประเทศและในตลาดโลก ด้ าน สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
2
อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง (Related and supporting industries) ประกอบด้ วย ความเข้ มแข็งของกิจกรรมหรือ อุตสาหกรรมสนับสนุน รวมทั้งความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน และงานวิจัยที่จะผลักดันการสร้ างนวัตกรรม ด้ านโอกาส (Chance) ประกอบด้ วย แนวโน้ มการเติบโตของอุตสาหกรรม ตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศ จากองค์ประกอบของโมเดลเพชรเชิงประยุกต์สามารถสร้ างตัวแปรได้ ท้งั สิ้น 24 ตัวแปร ประกอบด้ วย ตัวแปรด้ าน เงื่อนไขอุปสงค์ 3 ตัวแปร ตัวแปรเงื่อนไขปั จจัยการผลิต 9 ตัวแปร ตัวแปรด้ านกลยุทธ์ทางธุรกิจ 5 ตัวแปร ตัวแปรด้ าน อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องและคู่แข่ง 3 ตัวแปร และตัวแปรด้ านโอกาส 4 ตัวแปร ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของตัวแปรที่ใช้ เป็ นมาตรวัดความสามารถในการแข่งขันของ SME การศึกษานี้ได้ ทาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบแต่ละปัจจัย กับผลสาเร็จของอัตราการเติบโตทางธุรกิจ SME ด้ วยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพื่อคัดเลือกตัวแปรที่เหมาะสมอย่างมี นัยสาคัญนามาใช้ ในการคานวณระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME เชียงราย โดยมีมาตรวัด (Rating Scale) ตัวแปร จากระดับน้ อยที่สดุ น้ อย ปานกลาง มาก มากที่สดุ เท่ากับ 1 2 3 4 และ 5 ตามลาดับ การอ่านค่าดัชนีช้ วี ัดความสามารถใน การแข่งขันของ SME ถ้ าดัชนีมคี ่าเท่ากับ 5 แสดงว่า ผู้ประกอบการผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในเชียงรายมี ความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับสูง หากดัชนีมคี ่าเท่ากับ 3 แสดงว่า ผู้ประกอบการผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด ย่อมในเชียงรายมีความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับปานกลาง และหากดัชนีมคี ่าเท่ากับ 1 ผู้ประกอบการผู้ประกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อมในเชียงรายมีความสามารถในการแข่งขันอยู่ในระดับต่า
3. ความสามารถในการแข่งขันของผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมจังหวัดเชียงราย การศึกษาครั้งนี้เป็ นการวิจัยเชิงปริมาณ (Qualitative research) โดยใช้ แนวทางการวิจัยเชิงสารวจ (Survey research) โดยมีขอบเขตการวิจัย 4 ด้ าน คือ (1) ด้ านเนื้อหา ศึกษาระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดย่อม (2) ด้ านประชากร คือ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมที่ดาเนินกิจการทั้งภาคอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และบริการ (3) ด้ านพื้นที่ คือ พื้นที่จังหวัดเชียงราย และ (4) ด้ านระยะเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง สิงหาคม 2556 การเก็บรวบรวมข้ อมูลสาหรับการศึกษานี้ เป็ นการเก็บข้ อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) ทางไปรษณีย์กบั ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมของเชียงราย ทั้งอุตสาหกรรมเกษตร การผลิต การบริการ การค้ าปลีกและการค้ าส่ง จานวน 63 ราย แบ่งเป็ นผู้ประกอบการด้ านอุตสาหกรรมเกษตร จานวน 9 ราย ด้ านการผลิต จานวน 18 รายด้ านการบริการ จานวน 18 ราย และด้ านการค้ าปลีกค้ าส่ง จานวน 18 ราย จากบัญชีรายชื่อผู้ประกอบการของอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 ทั้งสิ้น 3,683 ราย การวิเคราะห์ผลการศึกษานี้ แบ่งออกเป็ น 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การหาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบแต่ละปัจจัยกับผลสาเร็จของอัตราการเติบโตทางธุรกิจ SME จากค่า สัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (Regression Coefficient) ตารางที่ 1 ค่าความสัมพันธ์ตวั แปรที่กาหนดกับผลสาเร็จของอัตราการเติบโตทางธุรกิจ SME ปั จจัย Coefficient 1. เงื่อนไขด้านอุปสงค์ 1.1 ความสามารถของผู้ประกอบการในการเข้ าถึงผู้บริโภค 0.275** 1.2 ความต้ องการของผู้บริโภคที่มตี ่อสินค้ า 0.416* 1.3 ประสิทธิภาพและกลไกในการคุ้มครองผู้บริโภค 0.441* 2. เงื่อนไขด้านปั จจัยการผลิต 2.1 กระบวนการผลิต 0.241
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
R2
Durbin-Watson
0.272 0.346 0.345
2.399 1.876 2.167
0.195
2.112 3
ปั จจัย
Coefficient 0.080 0.245 0.343* 0.484* 0.545* 0.340* 0.638* 0.438*
R2 0.148 0.234 0.297 0.389 0.450 0.340 0.483 0.332
Durbin-Watson 2.177 2.219 2.118 2.052 1.926 1.976 1.959 2.021
2.2 เทคโนโลยีท่ใี ช้ 2.3 ความเพียงพอของวัตถุดบิ 2.4 ความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งวัตถุดบิ 2.5 ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 2.6 ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.7 ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ปิ ัญญาท้ องถิ่น 2.8 ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม 2.9 ความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งเงินทุน 3. ด้านกลยุทธ์และโครงสร้างของบริษทั และการแข่งขัน 3.1 โครงสร้ างการดาเนินกิจการเป็ นห่วงโซ่อปุ ทาน 0.330* 0.296 2.178 3.2 กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา 0.352* 0.321 2.272 3.3 กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านผลิตภัณฑ์ 0.367* 0.302 2.237 3.4 ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ 0.162 0.162 2.121 3.5 ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก 0.307** 0.254 2.272 4. ด้านอุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนือ่ ง 4.1 ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน 0.523* 0.445 2.129 4.2 งานวิจัยที่จะผลักดันการสร้ างนวัตกรรม 0.340* 0.333 2.145 4.3 ความเข้ มแข็งของกิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน 0.490* 0.436 2.130 5. ด้านโอกาส 5.1 แนวโน้ มการเติบโตของอุตสาหกรรม 0.679* 0.644 2.274 5.2 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดในประเทศ 0.618* 0.579 2.255 5.3 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดส่งออก 0.459* 0.395 2.109 5.4 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดต่างประเทศ 0.471* 0.382 2.116 หมายเหตุ * และ ** แสดงระดับนัยสาคัญทางสถิต(ิ Level of significance) ที่ระดับ 0.01 และ 0.05 ตามลาดับ
จากตารางที่ 1 ชี้ให้ เห็นว่าตัวแปรที่กาหนดเป็ นมาตรวัดความสามารถในการแข่งขันของ SME ของจังหวัดเชียงรายกว่า ร้ อยละ 85 มีความสัมพันธ์กบั การเติบโตทางธุรกิจ SME อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ยกเว้ นตัวแปรเงื่อนไขด้ านปัจจัยการผลิตที่ เกี่ยวข้ องกับกระบวนการผลิต เทคโนโลยีท่ใี ช้ ความเพียงพอของวัตถุดบิ และส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ ดังนั้น จากผล การศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์ดงั กล่าว ทาให้ ทราบจานวนตัวแปรที่เหมาะสมสาหรับใช้ ในการคานวณระดับ ความสามารถในการแข่งขันของ SME เชียงราย มีท้งั สิ้น 20 ตัวแปร ขั้นตอนที่ 2 การคานวณระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม จากองค์ประกอบ 5 ด้ าน ได้ แก่ เงื่อนไขด้ านอุปสงค์ เงื่อนไขด้ านปัจจัยการผลิต กลยุทธ์และโครงสร้ างของบริษัทและการแข่งขัน อุตสาหกรรม สนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง และโอกาส โดยใช้ มาตรวัด (Rating scale) ที่กาหนดมาเฉลี่ยถ่วงนา้ หนักกับค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ท่คี านวณได้ ข้างต้ น ผลการคานวณระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME จังหวัดเชียงราย แยกตามประเภท ผู้ประกอบการด้ านการเกษตร การผลิต การบริการ และการค้ าส่งค้ าปลีกแสดงดังตารางข้ างล่างนี้
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
4
ตารางที่ 2 ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME เชียงราย แยกตามประเภทธุรกิจ ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME SME การเกษตร
การบริการ
การผลิต
ค้าปลีก/ค้าส่ง
รวม
2.62
2.75
2.50
2.76
2.54
1. เงื่อนไขด้านอุปสงค์ 1.1 ความสามารถของผู้ประกอบการในการเข้ าถึงผู้บริโภค 1.2 ความต้ องการของผู้บริโภคที่มตี ่อสินค้ า 1.3 ประสิทธิภาพและกลไกในการคุ้มครองผู้บริโภค 2. เงื่อนไขด้านปั จจัยการผลิต 2.1 ความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งวัตถุดบิ 2.2 ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 2.3 ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.4 ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ปิ ัญญาท้ องถิ่น 2.5 ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม 2.6 ความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งเงินทุน 3. ด้านกลยุทธ์และโครงสร้างของบริษทั และการแข่งขัน 3.1 โครงสร้ างการดาเนินกิจการเป็ นห่วงโซ่อปุ ทาน 3.2 กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา 3.3 กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านผลิตภัณฑ์ 3.4 ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ 3.5 ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก 4. ด้านอุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนือ่ ง 4.1 ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน 4.2 งานวิจัยที่จะผลักดันการสร้ างนวัตกรรม 4.3 ความเข้ มแข็งของกิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน 5. ด้านโอกาส 5.1 แนวโน้ มการเติบโตของอุตสาหกรรม 5.2 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดในประเทศ 5.3 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดส่งออก 5.4 แนวโน้ มการเติบโตของตลาดต่างประเทศ
2.95 2.83 2.71 3.30 2.71 3.03 2.79 2.49 3.03 2.44 2.46 2.36 2.70 2.41 3.02 2.16 1.51 2.74 3.06 2.65 2.51 2.35 2.68 2.73 1.79 2.21
3.26 3.33 3.22 3.22 2.76 2.78 2.56 2.78 3.11 2.56 2.78 2.42 2.56 2.22 3.22 2.11 2.00 2.96 3.44 3.11 2.33 2.35 2.89 2.89 2.33 2.33
2.85 2.72 2.50 3.33 2.59 2.61 2.94 2.33 2.78 2.44 2.44 2.29 2.78 2.39 3.17 2.11 1.00 2.63 2.94 2.39 2.56 2.14 2.72 2.56 1.39 1.67
3.11 2.72 2.94 3.67 3.05 3.56 2.83 2.89 3.89 2.61 2.50 2.27 2.83 2.50 3.11 1.56 1.33 2.94 3.17 3.22 2.44 2.42 2.44 2.44 1.89 2.00
2.72 2.78 2.44 2.94 2.46 3.06 2.72 2.11 2.39 2.22 2.28 2.50 2.56 2.44 2.67 2.88 1.94 2.54 2.89 2.11 2.61 2.50 2.78 3.11 1.83 2.89
ผลการศึกษาพบว่าระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมของจังหวัดเชียงราย ใน ปี 2556 มีค่าเท่ากับ 2.62 แสดงว่าผู้ประกอบการส่วนใหญ่มขี ดี ความสามารถในการแข่งขันของ SME เชียงรายอยู่ในระดับ ปานกลางถึงต่า หากพิจารณามาตรวัดในแต่ละองค์ประกอบจะเห็นได้ ว่า องค์ประกอบเงื่อนไขด้ านอุปสงค์ (2.95) และ อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง (2.74) เป็ นปัจจัยที่สาคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SME ใน เชียงราย ขณะที่ องค์ประกอบด้ านกลยุทธ์และโครงสร้ างของบริษทั และการแข่งขัน (2.35) และด้ านโอกาสในการดาเนินธุรกิจ (2.36) เป็ นตัวแปรสาคัญที่ทาให้ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของ SME ในเชียงรายลดต่าลง
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
5
การเข้ าถึงผู้บริโภค การเติบโตของตลาดต่างประเทศ 3.5 ความต้ องการของผู้บริโภค การเติบโตของตลาดส่งออก การคุ้มครองผู้บริโภค 3 2.5 การเติบโตของตลาดในประเทศ การเข้ าถึงแหล่งวัตถุดิบ 2 1.5 การเติบโตของอุตสาหกรรม ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 1 0.5 กิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และ… 0 การสร้ างนวัตกรรม
ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ิปัญญา…
ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน
ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม
ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก
การเข้ าถึงแหล่งเงินทุน
ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ
การจัดการแบบห่วงโซ่อุปทาน กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา SME
การเกษตร
รูปที่ 3 ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ภาคการเกษตร แยกตามองค์ประกอบ การเข้ าถึงผู้บริโภค การเติบโตของตลาดต่างประเทศ 3.5 ความต้ องการของผู้บริโภค การเติบโตของตลาดส่งออก การคุ้มครองผู้บริโภค 3 2.5 การเติบโตของตลาดในประเทศ การเข้ าถึงแหล่งวัตถุดิบ 2 1.5 การเติบโตของอุตสาหกรรม ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 1 0.5 กิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และ… 0 การสร้ างนวัตกรรม
ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น
ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน
ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม
ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านผลิตภัณฑ์ SME
การเข้ าถึงแหล่งเงินทุน การจัดการแบบห่วงโซ่อุปทาน กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา การบริการ
รูปที่ 4 ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ภาคการบริการ แยกตามองค์ประกอบ
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
6
การเติบโตของตลาดต่างประเทศ การเติบโตของตลาดส่งออก การเติบโตของตลาดในประเทศ การเติบโตของอุตสาหกรรม
กิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน
การเข้ าถึงผู้บริโภค 4 ความต้ องการของผู้บริโภค 3.5 การคุ้มครองผู้บริโภค 3 การเข้ าถึงแหล่งวัตถุดิบ 2.5 2 ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 1.5 1 0.5 ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และ… 0
การสร้ างนวัตกรรม
ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ิปัญญา…
ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน
ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม
ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก
การเข้ าถึงแหล่งเงินทุน
ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านผลิตภัณฑ์ SME
การจัดการแบบห่วงโซ่อุปทาน กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา การผลิต
รูปที่ 5 ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ภาคการผลิต แยกตามองค์ประกอบ การเข้ าถึงผู้บริโภค การเติบโตของตลาดต่างประเทศ 3.5 ความต้ องการของผู้บริโภค การเติบโตของตลาดส่งออก การคุ้มครองผู้บริโภค 3 2.5 การเติบโตของตลาดในประเทศ การเข้ าถึงแหล่งวัตถุดิบ 2 1.5 การเติบโตของอุตสาหกรรม ศักยภาพด้ านทรัพยากรมนุษย์ 1 0.5 กิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน ศักยภาพด้ านวิทยาศาสตร์และ… 0
การสร้ างนวัตกรรม
ศักยภาพด้ านการใช้ ภมู ิปัญญาท้องถิ่น
ความพร้ อมด้ านโครงสร้ างพื้นฐาน
ศักยภาพด้ านการพัฒนานวัตกรรม
ส่วนแบ่งการตลาดในตลาดโลก ส่วนแบ่งการตลาดในประเทศ กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านผลิตภัณฑ์ SME
การเข้ าถึงแหล่งเงินทุน การจัดการแบบห่วงโซ่อุปทาน กลยุทธ์ทางการแข่งขันด้ านราคา ค้ าปลีก/ค้ าส่ง
รูปที่ 6 ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ภาคค้ าปลีก/ค้ าส่ง แยกตามองค์ประกอบ นอกจากนี้ หากวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ แยกตามประเภทธุรกิจ พบว่า เชียงรายมีขดี ความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการผลิตสูงที่สดุ มีค่าเท่ากับ 2.76 รองลงมาคืออุตสาหกรรม การเกษตร มีค่าเท่ากับ 2.75 เมื่อพิจารณามาตรวัดในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบเงื่อนไขด้ านอุปสงค์ เป็ น องค์ประกอบที่สาคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการเกษตร (3.26) และการ ผลิต (3.11) เช่นเดียวกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิต (2.85) และการค้ าปลีกและค้ าส่ง (2.72) นอกจากนี้เมื่อ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
7
เปรียบเทียบระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME ในภาคต่างๆ (รูปที่ 2 ถึง 6) พบว่า ปัจจัยที่ทาให้ ผ้ ปู ระกอบการใน ภาคการเกษตร การผลิต การบริการ และการค้ าส่งค้ าปลีกล้ วนมีระดับความสามารถในการแข่งขันต่ากว่าระดับของ SME โดยรวมในจังหวัดเชียงราย ได้ แก่ ปัจจัยด้ านการพัฒนานวัตกรรม ความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งเงินทุน การแข่งขันด้ าน ราคา ความเข้ มแข็งของกิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน การเติบโตของตลาดส่งออกและตลาดต่างประเทศ ซึ่งหากปัจจัย ดังกล่าวนี้ได้ รับการพัฒนามากขึ้น ย่อมทาให้ ผ้ ปู ระกอบการ SME ของจังหวัดเชียงรายมีระดับความสามารถในการแข่งขันเพิ่ม สูงขึ้น
6. สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ผลการศึกษาความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงราย ปี 2556 พบว่า ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME โดยรวมของจังหวัดเชียงราย อยู่ในระดับปานกลางถึงต่า เช่นเดียวกับ SME ใน ภาคการเกษตร การผลิต การบริการ และค้ าปลีกค้ าส่งโดยปัจจัยที่ทาให้ ระดับความสามารถในการแข่งขันของ SME จังหวัด เชียงรายมีระดับต่าได้ แก่ ปัจจัยด้ านการพัฒนานวัตกรรมความสามารถในการเข้ าถึงแหล่งเงินทุน การแข่งขันด้ านราคา ความ เข้ มแข็งของกิจกรรมหรืออุตสาหกรรมสนับสนุน การเติบโตของตลาดส่งออกและตลาดต่างประเทศ จากผลการศึกษาข้ างต้ น พบว่า ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมของจังหวัดเชียงรายยังคงติดกับดักการยกระดับ การพัฒนาผู้ประกอบการไทย ดังนั้น การที่ผ้ ปู ระกอบการ SME ของประเทศไทยจะก้ าวไปสู่การเป็ นผู้ประกอบการสมัยใหม่ (Modern SME) และหลุดพ้ นกับดักเพื่อยกระดับการพัฒนา SME แล้ วนั้น ผู้ประกอบการ SME ภาครัฐ และเอกชน จาเป็ นต้ องหันมาเร่งรัดการยกระดับการพัฒนาตลาดเงิน การพัฒนานวัตกรรม การสร้ างเครือข่ายเพื่อการพัฒนา และการ พัฒนาห่วงโซ่คุณค่าทางเศรษฐกิจ รายละเอียดเบื้องต้ นดังนี้ 1. การพัฒนาตลาดเงิน (Financial Market) ควรเน้ นการเป็ นตลาดเงินที่ผ้ ปู ระกอบการสามารถเข้ าถึงได้ ง่าย มีความ หลากหลายในรูปแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงิน มีการสร้ างกลไกคุ้มครองนักลงทุน และการมีหน่วยงานที่คอยติดตาม เฝ้ าระวัง และตรวจสอบสถานการณ์ทางการเงินในระดับประเทศและระดับโลก 2. การพัฒนานวัตกรรม (Innovation) ควรเน้ นการพัฒนานวัตกรรมเชิงรุกและเชิงรับ การพัฒนาเชิงรุกเน้ นการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีใหม่ การพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีท่มี อี ยู่เดิม และการนาภูมิ ปัญญาท้ องถิ่นมาประยุกต์เพื่อให้ การดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ส่วนการพัฒนา เชิงรับเน้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ มคี วามสามารถในการรองรับและปรับเปลี่ยนได้ อย่างทันท่วงทีต่อภาวะการ เปลี่ยนแปลงใดๆที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นเพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการพัฒนา SME ทั้งภาครัฐและเอกชนต้ อง ร่วมมือกันในการขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมอย่างเป็ นระบบ ต่อเนื่อง และยั่งยืน 3. การสร้ างเครือข่ายเพื่อการพัฒนา (Network) ควรเน้ นการสร้ างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ประกอบการ SME ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ รวมถึงเครือข่ายความร่วมมือกับผู้จัดหาวัตถุดบิ และผู้บริโภค เพื่อทาให้ เกิดการพัฒนาการ ผลิตและการตลาดร่วมกัน การสร้ างคลัสเตอร์ผ้ ปู ระกอบการที่เข้ มแข็งและเป็ นหนึ่งเดียวกัน (Power of unity) จึง เป็ นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถผลักดันอุตสาหกรรมและธุรกิจ SME เป็ นสูเ่ วทีโลก และทาให้ เกิดความสามารถในการ แข่งขันของ SME ต่อไป 4. การพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าทางเศรษฐกิจ (Economic Value Chain) ควรเน้ นการสร้ างห่วงโซ่คุณค่าที่เหมาะสมกับ ธุรกิจ SME และก่อให้ เกิดประโยชน์กบั ทุกส่วนในระบบเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็ นหน่วยเศรษฐกิจในการผลิตระดับต้ น นา้ กลางนา้ และปลายนา้ รวมทั้งหน่วยเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้ องโดยตรงหรือโดยอ้ อมกับธุรกิจ SME ซึ่งจะสอดคล้ องกับ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่เน้ นการพัฒนาที่มกี ารเติบโตอย่างสมดุล (Inclusive Growth) อย่างไรก็ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
8
ตามการเพิ่มคุณค่าให้ แก่กจิ กรรมแต่ละกิจกรรมในห่วงโซ่คุณค่าจาเป็ นต้ องใช้ ความร่วมมือของทั้งภาครัฐและเอกชน ในการพัฒนาอย่างจริงจังและเป็ นรูปธรรม ซึ่งการพัฒนาตลาดเงิน นวัตกรรม และเครือข่ายที่กล่าวไปข้ างต้ น จะเป็ น กุญแจหนึ่งที่จะนามาซึ่งความสาเร็จของการพัฒนาห่วงโซ่คุณค่าทางเศรษฐกิจของ SME ไทยได้ เป็ นอย่างดี กล่าวโดยสรุป ภาครัฐและภาคเอกชนควรเร่งรัดการพัฒนาแบบจาลอง FINE เพื่อการยกระดับผู้ประกอบการขนาดกลางและ ขนาดย่อมในจังหวัดเชียงรายให้ มคี วามสามารถในการแข่งขัน และสร้ างความได้ เปรียบโดยเปรียบเทียบกับผู้ประกอบการอื่นๆ ในประเทศ ภูมภิ าค และระดับโลกได้
เอกสารอ้างอิง Porter, M. E. (1990) The competitive advantage of nations. New York: Free Press. Schwab, K. (2013) The Global Competitiveness Report 2012–2013, World Economic Forum.
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้ าที่ ดาเนินงานด้ านการรวบรวมข้ อมูลและวิจัยทางด้ านเศรษฐกิจการค้ าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การ ยกระดับองค์ความรู้ท่เี ป็ นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้ าง ความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.
สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics : OBELS)
9