Policybrief sep2014 11

Page 1

OBELS POLICY BRIEF No. 11, September 2014 การปรับตัวและผลกระทบของผู้มีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวเมืองคู่ขนาน ต่อการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 สิทธิชาติ สมตา ปฐมพงศ์ มโนหาญ ณัฐพรพรรณ อุตมา “เชี ย งของ” พื้ น ที่ เ มื อ งชายแดนส่ วนหนึ่ งของจัง หวั ดเชี ย งรายที่มี อ าณาเขตติ ด ต่ อกั บ ห้ วยทราย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวโดยมีแม่น้าโขงกั้นระหว่างประเทศ อีกทั้งเชียงของเป็นเมืองภูมิศาสตร์ ที่มีความได้เปรียบในการเชื่อมต่อไปยังประเทศจีนโดยผ่านเส้นทาง R3A จึงทาให้เชียงของเป็นพื้นที่ชายแดนที่ ได้รับการสนใจเข้ามาลงทุนทั้งในและต่างประเทศและกลายเป็นเมืองการค้าและการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวในเชียงของนั้นเกิดการเข้ามาของนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและชาวต่างประเทศเพื่อที่ ข้ามไปท่องเที่ยวต่อยังประเทศลาว โดยส่วนมากนั กท่องเที่ยวจะเข้าพักในเชียงของ 1

คืน แล้วข้ามไปยัง

ประเทศลาวในวันรุ่งเช้าโดยท่าเรือบั๊ค และการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเชียงของเองที่นักท่องเที่ยวจะเข้า มาเรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต วั ฒ นธรรมดั้ ง เดิ ม สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วทางศาสนา วั ด อารามหลวง หรื อ การท่ อ งเที่ ย ว ประวัติศาสตร์นิเวศวัฒนธรรม ซึ่งการท่องเที่ยวเหล่านี้จะเกิดขึ้นในบริเวณพื้นที่เมืองเก่า แต่เมื่อมีการเปิดใช้ สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ทาให้นักท่องเที่ยวไม่เข้ามาพักในบริเวณเมืองเก่า เนื่องจากว่าการข้าม ชายแดนมีความสะดวกมากขึ้นและไม่จาเป็นต้องเข้าพักค้างคืน ดังนั้นการท่องเที่ยวอาเภอเชียงของมีการ ปรับเปลี่ยนไปตามสภาพทางเศรษฐกิจ จึงทาให้เกิดนโยบาย “หนึ่งเมือง สองแบบ” เพื่อเป็นการจัดการเชิง พื้นที่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทและอัตลักษณ์ของคนในพื้นที่อย่างแท้จริง โดยนาไปสู่การพัฒนาที่มีดุลย ภาพ มีความยั่งยืนและเป็นธรรมต่อคนท้องถิ่นเชียงของร่วมกัน โดยหนึ่งเมืองสองแบบมีรายละเอียดดังนี้1 1. เมืองเก่า คือ เขตเวียงเชียงของซึ่งเป็นเขตเมืองเก่า ซึ่งเดิมมีพื้นที่โดยรอบเป็นฐานการผลิต ทางเศรษฐกิจ การค้า และการท่องเที่ยว คือ บริเวณตั้งแต่ปากน้าดุกไล่ขึ้นมาทางเหนือจนถึงบริเวณแนวป่า 1

เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแม่น้าโขง ครั้งที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึ่งเมือง สองแบบ – การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน”. สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1


ดอยธาตุ ส่วนทางตะวันตกคือจากทุ่งหลวงมาจรดทางตะวันออกที่ลาน้าโขง เขตนี้คือเขตเมืองเก่าซึ่งมีวัดแก้ว วัดหลวง วัดหัวเวียง วัดศรีดอนชัย วัดสบสม วัดหาดไคร้ ฯลฯ 2. เมืองใหม่ คือ เขตเชียงของใหม่ซึ่งจะมีโครงการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าการลงทุนเข้ามา รองรับตั้งแต่บริเวณโดยรอบเชิงสะพานข้ามแม่น้าโขงแห่งที่ 4 มายังเขตทุ่งสามหมอนและบริเวณโดยรอบ ซึ่ง จุดศูนย์กลางย้ายมาอยู่ที่ชุมชนหนาแน่นและการพาณิชย์บริเวณบ้านทุ่งงิ้ว บ้านสถาน บ้านดอนมหาวัน บ้าน ใหม่ธาตุทอง บ้านใหม่ทุ่งหมด บ้านโจโก้ บางส่วนของตาบลศรีดอนชัย และบางส่วนของตาบลครึ่ง

ภาพที่ 1 แผนที่อาเภอเชียงของแบ่งตาบล2 เดิมในเขตเหล่านี้คือการจัดการเมืองใหม่บนฐานระบบการผลิตแบบเกษตรกรรม ซึ่งที่ดินที่เป็นปัจจัย การผลิตส่วนใหญ่ได้เปลี่ยนมือไปสู่คนต่างถิ่นและนายทุน การปรับตัวของการท่องเที่ยวอาเภอเชียงของเกิดจากพื้นที่ชายแดนในอาเภอเชียงของระหว่างเมือง เก่ากับเมืองใหม่ เมื่อเกิดการยกเลิกการขนส่งจากท่าเรือบั๊คเปลี่ยนไปใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ทาให้เศรษฐกิจการท่องเที่ยวในเมืองเก่าซบเซาลง เนื่องจากว่าท่าเรือบั๊คที่เคยเป็นจุดผ่านข้ามแดนระหว่าง ประเทศไปยังประเทศลาวของนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศและชาวต่างประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะเข้ามาใช้ บริการโรงแรม เกสท์เฮ้าส์ ร้านอาหาร และร้านขายของชา ทาให้ผู้ประกอบการในเมืองเก่าได้รับผลกระทบไม่ ว่ า จะเป็ น จ านวนของนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ล ดน้ อ ยลง แม่ ค้ า พ่ อ ค้ า ขายสิ น ค้ า ไม่ ค่ อ ยได้ เ ท่ า ที่ ค วร จึ ง ท าให้

2

แผนที่อาเภอเชียงของแบ่งตาบล (ออนไลน์), แหล่งที่มา : http://chiangkhong.sadoodta.com/travel. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2557 สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2


ผู้ประกอบการทุกสาขาอาชีพในเมืองเก่าเกิดการปรับตัว เพื่อให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และ นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ รวมถึงผู้ประกอบต่างๆ ด้วยเช่นกันที่ต้องมีการปรับตัวกับการลดลงของนักท่องเที่ยว เพื่อที่จะสามารถ ปรั บตั ว ให้ ทั นกั บ การเปลี่ ย นแปลงไปของฐานเศรษฐกิจ ในอ าเภอเชี ยงของ ไม่ ว่ าจะเป็ นการลดราคาของ ร้านอาหารตามสั่ง การลดราคาห้องพักและมีโปรโมชั่นเสริมในการเข้าพัก การปิดตัวลงของสถานบันเทิง ซึ่ง สาขาอาชีพเหล่านี้ล้วนเกิดจากการเข้ามาท่องเที่ยวและพักผ่อนของนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ จากเสียงของประชาชนส่วนมากในเมืองเก่าที่เป็นฐานเศรษฐกิจเก่าของอาเภอเชียงเรียกร้องอยากให้ ภาครัฐกลับไปเปิดใช้ท่าเรือบั๊คเช่นเดิม โดยต้องการให้นักท่องเที่ยวเดินทางข้ามระหว่างประเทศด้วยท่าเรือบั๊ค ซึ่งให้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 เป็นการขนส่งโดยรถบรรทุกสินค้าและโลจิสติกส์เท่านั้น เพื่อที่จะให้ เศรษฐกิจในเมืองเก่ากลับมาครึกครื้นเหมือนเดิมและช่วยประชาชนกลับมาประกอบอาชีพเดิม พร้อมทั้งสร้าง อาชีพใหม่ขึ้นมาเพื่อรองรับการเติบโตของพื้นที่ชายแดนบนเศรษฐกิจของเมืองคู่ขนานต่อไป การรู้จักตัวตน เข้าใจอดีต เท่าทันปัจจุบันและเชื่อมโยงสู่อนาคตที่ยั่งยืน เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งในการ พัฒนาที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ โดยอดีตกาลเชียงของเติบโตมาจากการ เริ่มต้นของชุมชนคนพื้นถิ่นดั้งเดิม เช่น ชาวลัวะ พร้อมทั้งผู้อพยพต่างๆ จนกลายเป็นเมืองชายแดนที่สาคัญของ ราชอาณาจักรสยาม ต่อมากลายเป็นอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ราชอาณาจักรไทยในปี พ.ศ. 24 53 อย่างไรก็ตาม การพัฒนาที่ผ่านมาเป็นการพัฒนาโดยพึ่งพาศูนย์อานาจรัฐชาติเป็นหลัก ต่อมาในปี พ.ศ. 2532 มีการใช้นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้าการท่องเที่ยว ระหว่างเมืองเชียงของ จังหวัดเชียงรายกับเมือง ห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว จึงทาให้เมืองเชียงมีการเจริญเติบโตและเปลี่ยนแปลงมากยิ่งขึ้น นับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคการพัฒนาตามกระแสเศรษฐกิจการค้าสมัยใหม่ ต่อมาเมืองเชียง ของเข้าสู่การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเต็มรูปแบบ จากที่เคยทาการเกษตรเพื่อตอบสนองการบริโภคกลายมาเป็น การผลิตเพื่อสนองระบบตลาด โดยเศรษฐกิจการขนส่งและการท่องเที่ยวเริ่มเข้ามามีบทบาทในเมืองเชียงของ มากขึ้ น กลายเป็ น กิ จ กรรมสร้ า งความหวั ง ให้ แ ก่ ผู้ ค นในท้ อ งถิ่ น เริ่ ม มี น ายทุ น เข้ า มากว้ า นซื้ อ ที่ ดิ น ทาง การเกษตรของคนในพื้นที่ เพี่อตอบสนองวาทกรรมการเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้าควบคู่ไปกับการริเริ่ม โครงการเศรษฐกิจชายแดน เช่น การเชื่อมต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) กรอบความร่วมมือระเบียง เศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS)

และความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ

(BIMSTEC) เขตการค้าเสรีอาเซียน - จีน (ASEAN - China Free Trade Agreement) ซึ่งส่งผลสืบเนื่องมาจน ปัจจุบัน

3

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


อนาคต

อดีต

4

ปั จจุบนั

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


อดีตเมืองเชียงของ3 เมืองเชียงของยุคลาวจกราช

เมืองเชียงของยุคล้านนา

พญาลาวจกราช

เชียงของหรือขรรัฐ

พญามังราย

พระเจ้าติโลกราช

พ.ศ. 1181

พญาลาวเงิน

สร้างเมืองเชียงราย

รบอโยธยาเกิดวีรกรรมหมื่นหางช้าง

พ.ศ. 1639

พ.ศ. 1805

พ.ศ. 1985

ก่อนประวัติศาสตร์

พ.ศ. 1809

พ.ศ. 2101

ชุมชนคนพื้นถิ่นดั้งเดิม

พญามังราย

อาณาจักรล้านนา

บ้านตามิละ

ตีเมืองเชียงของในการ

เสียให้แก่พม่า

ปกครองของเจ้าคาเรือง เจ้าเมืองเชียงของ เชียงรุ่ง

พม่าออกคาสั่งให้เมืองแพร่ น่าน ฝาง สาด เทิง

น่าน แข็งข้อพม่าเลยยกทัพมาตี

และเชียงของขึ้นต่อเชียงแสน เพื่อป้องกันการต่อต้านพม่า

พ.ศ. 2154

พ.ศ. 2276

พ.ศ. 2112

พ.ศ. 2177

บุเรงนองมีชัยเหนืออยุธยา

เชียงของฟื้นม่าน

โดยให้เมืองล้านนาเดิม 3

กลุ่มรักษ์เชียงของ, เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน, พ.ศ. 2556. น.16-18 สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 5


ปกครองกันเองเช่นเดิม

6

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


อดีตเมืองเชียงของ4 ยุคเจ้าเชียงของต้นกาเนิด 4 ตระกูล ล้านนาแตกเป็นสองฝ่าย

เจ้าหนานรามะเสนได้รับ

พ.ศ. 2445 เงี้ยวเข้าเมืองแพร่ พ.ศ. 2446 เงี้ยวเข้าเมืองเชียงของ

คือฝ่ายธนบุรีและพม่า

แต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองเชียงของ

ปลายปี พ.ศ. 2446 สยามเจรจาฝรั่งเศสเข้าปราบเงี้ยวในเชียงของ

พ.ศ. 2317

พ.ศ. 2372

สงครามฝรั่งเศส

เงี้ยวโดนปราบทิ้งชาวบ้านและเงี้ยว

เจ้าอริยะและชาวบ้าน

เชียงของ-เชียงแสนเป็นดินแดนกลาง

ถูกจับสอบสวน 200 คน รวมทั้งเจ้าหอหน้าเชียงของ

หนีพม่าไปอยู่เมืองน่าน

ปลอดอานาจทั้งสองฝ่ายทั้งสยาม-ฝรั่งเศส

21 เม.ย. 2447

พ.ศ. 2334

พ.ศ. 2436 พ.ศ. 2347

พม่าแตกออกจากเชียงแสน

พ.ศ. 2457 เปลี่ยนการปกครองจากเจ้าเมืองเป็นนายอาเภอ เจ้าจิตวงษ์เป็นนายอาเภอคนแรก

ยุคสงครามโลก ชาวบ้านหนีสงครามอพยพเข้าป่าด้านใน เช่น ทุ่งทราย ทุง่ ดุก คูเมืองตะวันตก ในเมืองมีการขุดคูสูงท่วมหัว เพื่อเป็นป้อมป้องกัน

4

เรือจักรลาแรกเข้ามาใช้ในเชียงของ

เมืองตรงถนนสายกลางปัจจุบันจากท่าเรือบั๊ก-วัดไชย ชาวบ้าน

ก่อนหน้านี้ใช้เรือต่อ

ถูกเกณฑ์ไปเป็นลูกหาบไปสงครามโลกครั้งที่สอง พ.ศ. 2482-2486

พ.ศ. 2493-2496

กลุ่มรักษ์เชียงของ, เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน, พ.ศ. 2556. น.19 สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 7


พ.ศ. 2480 เจ้าน้อยกุศลสร้างเตาบ่มยาสูบแห่งแรกที่เมืองกาน

8

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


อดีตเมืองเชียงของ5 ยุคสงครามเย็น

ทหารป่าและนักศึกษากลับสู่เมืองเป็นผู้ร่วม

การค้าขายดีสภาพคล่องประชาชน

เชียงของกลายเป็นพื้นที่สีแดงเริ่มมีการสร้างถนนสายยุทธศาสตร์ พัฒนาชาติไทยตามนโยบาย 66/23 และ

ลาวไม่มีเวลาทานาเพราะอยู่ในภาวะ

สามแยกท่าเจริญ-ปางค่าและเชียงของ-เชียงแสน การอพยพของ 66/25 ข้าราชการ ทหาร ตารวจจานวนมาก

สงครามต้องซือ้ สินค้าอาหาร เครื่องอุปโภค บริโภคจากเชียงของไปห้วยทราย หลวงน้าทา หลวงพระบาง พ.ศ. 2500 สงครามในลาว

ผู้คนจากฝั่งลาวมาฝั่งไทยและการเข้ามาของข้าราชการทหารจานวนมาก ถอนตัวออกจากพื้นที่ เชียงของจึงเริ่มเข้า คนเชียงของส่วนหนึ่งไปทางาน

การค้าขายกับลาวไม่สามารถทาได้เหมือน สู่ภาวะเศรษฐกิจซบเซามากที่สุด ชาวบ้าน

ในประเทศลาวเช่น ไกด์ ทหาร รับจ้าง ช่างก่อสร้าง ก่อนเพราะลาวเปลี่ยนแปลงการปกครอง ไม่สามารถค้าขายกับลาวได้ เพราะอยู่ ขับรถยนต์ ขับรถสร้างทาง พ.ศ. 2500-2518

แต่มีการค้าตลาดมืดระหว่างชายแดน พ.ศ. 2519

สารวจเส้นทางการค้าในแม่น้าโขง ยุคสงครามกาค้า

เริ่มโครงการระเบิดแก่งเพื่อเปิดเส้น

เชียงของเริ่มเป็นที่สนใจของนักลงทุน

ทางกาค้าในแม่น้าโขงตามนโยบาย

ภายนอกอีกครั้ง มีสถานะเป็นเมือง เกิดการค้าขายที่ดิน

ปลาหายากจับปลาบึกไม่ได้การระเบิด เปิดเขื่อนมันวานครั้งแรก แก่งในแม่น้าโขง การสร้างเขื่อน

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เจ้าชายญี่ปุ่นเสด็จดูปลาบึกในขณะ

การท่องเที่ยวไปยังลาว

ที่หลายฝ่ายวิตกถึงการเปลี่ยนแปลง

5

พ.ศ. 2524

ลาวแตก

ชายแดน เมืองท่าและประตูการค้า ไปทั่วเขตเชียงของ และเวียงแก่น

ในช่วงที่ลาวปิดพรมแดน

กลุ่มรักษ์เชียงของ, เชียงของ : หนึ่งเมืองสองแบบ ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน, พ.ศ. 2556. น.21 สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 9

โครงการขนาดยักษ์ การค้าเสรีไทย-จีน


พ.ศ. 2533 ลาวเปิดด่านเพื่อกาค้า การท่องเที่ยว

10

พ.ศ. 2534

พ.ศ. 2536

พ.ศ. 2536

ยุคเปลี่ยนสนามรบ เป็นสนามการค้า

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

พ.ศ. 2539

พ.ศ. 2544-2546


ปั จ จุ บั น เมื อ งเชี ย งของถื อ ว่ า เป็ น เมื อ งชายแดนที่ ส าคั ญ อย่ า งมากของประเทศ ท่ า มกลางความ เปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็น การสร้างเขตเศรษฐกิจชายแดน ผลของการมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ที่ เชื่อมต่อระหว่างเทศเพื่อการค้าการท่องเที่ยว การเป็นเมืองผ่านของการท่องเที่ยวที่ประชาชนพึงประสงค์ให้ เมืองเชียงของเป็นแหล่งท่องเที่ยวเมืองชายแดนที่สาคัญไม่ใช่เป็นแค่เมืองผ่าน การเปลี่ยนแปลงนี้จะมีการ ปรับตัว หรือการจัดการพื้นที่อย่างไร จากภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ประกอบธุรกิจในพื้นที่ การปรับตัวการท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของ ประชาชนในอาเภอเชียงของต้องรู้จักตัวตนของตนเองใน อดีต เพื่อที่จะเป็นหลักการดารงของความเป็นดั้งเดิม การดารงศิลปวัฒนธรรมคงไว้ภายใต้สถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทาให้เกิดการปรับตัวของผู้ประกอบการ ประชาชน และผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว เพื่อที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวของอาเภอเชียงของให้มีความยั่งยืนในอนาคต และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเมือง ชายแดนที่สาคัญ ดังนั้นการท่องเที่ยวเมืองคู่ขนานจะมีการปรับตัวต่อไปอย่างไร ท่ามกลางการเติบโตของภาคเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการบริการ ที่ได้รับว่าเป็นเมืองชายแดนที่สาคัญในการเชื่อมโยงเมืองชายแดนโดยผ่าน ถนน R3A พร้อมกับการพัฒนาของเมืองเชียงของโดยผ่าน “นโยบายหนึ่งเมืองสองแบบ” นั้นอนาคตจะเป็น อย่างไร จึงเป็นบทพิสูจน์ว่าจะรักษาวัฒนธรรมเมืองเก่าไว้ได้มากเท่าไร เพื่อที่จะให้วัฒนธรรมดาเนินไปพร้อม กับกระแสการพัฒนาที่ไม่หยุดหยั่งอย่างนี้ต่อไป

โดยจะสัมภาษณ์ธุรกิจ ที่พัก โรงแรม ธุรกิจร้านอาหาร

เครื่องมือ ธุรกิจคมนาคมขนส่ง และธุรกิจบันเทิง ธุรกิจที่พัก โรงแรม Q. การท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากอดีตอย่างไร คุณยอดฤทัย : การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปเยอะ หลายคนมองว่าถ้าเปิดสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 เศรษฐกิจในเชียงของจะดีขึ้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว เศรษฐกิจในปัจจุบันของ อาเภอในเชียงของในตลอดปีนั้น จะแบ่งได้เป็นสองช่วงคือ ช่วง High Season 4 เดือน (ตุลาคม – มกราคม) และช่วง Low Season 8 เดือน (กุมภาพันธ์ – กันยายน) โดยถ้าช่วง High Season นักท่องเที่ยวจะเข้ามา ท่องเที่ยวในเชียงของเป็นอย่างมาก แต่ถ้าช่วง Low Season นักท่องเที่ยวค่อนข้างน้อยมากทาให้เชียงของมี บรรยากาศที่เงียบมาก ประกอบกับความไม่นิ่งทางการเมืองของไทย ก่อนที่จะมีการเปิดใช้สะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 4 ช่วง Low Season ก็จะยังมีนักท่องเที่ยวทยอยมาเชียงของอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะแบ่งช่วง High Season 6 เดือน (ตุลาคม – มีนาคม) และช่วง Low Season 6 เดือน (เมษายน – กันยายน) เมื่อก่อน 11

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


บ้านเมืองมีความเจริญ เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวให้อาเภอเชียงของเติบโตขึ้นมาก เพื่อเป็นทางผ่านสาหรับ นักท่องเที่ยวเข้ามาพักก่อนข้ามไปลาว6 Q. ผลกระทบทีไ่ ด้รับจากการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 คุณโยษิตา : การมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ไม่ได้รับผลกระทบเพราะว่ายังไงนักท่องเที่ยวก็ เข้ามาพักที่ในเมืองอยู่แล้ว ที่มีผลกระทบมากก็จะเป็นท่าเรือบั๊ค เพราะ Passport ใช้ข้ามฟากที่ท่าเรือบั๊คไม่ได้ ใช้ได้แต่ Border Pass โดยยักท่องเที่ยวที่ใช้ Passport จะให้ไปข้ามฟากที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 อย่างเดียว แต่เมื่อก่อนเปิดสะพานจะใช้ได้ทั้ง Passport และ Border Pass7 Q. มีการปรับตัวอย่างไรในเรื่องของการท่องเที่ยวเมื่อเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 คุณโยษิตา : ไม่มีการปรับตัว เพราะว่า ลูกค้าส่วนมากจะเป็น นักท่องเที่ยวคนไทยกับนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติ เนื่องจากว่าบริษัททัวร์ของชาวต่างชาติก็จะจองเข้ามาอยู่ตลอด เพราะว่าไม่มีโรงแรมที่ติดกับ ริมน้าส่วนมากจึงเข้ามาพักที่โรงแรม โดยส่วนมากจะมาพัก 1 คืนแล้วก็ไปต่อ เช่น มาจากเชียงใหม่แล้วพักที่ เชียงของก่อนเดินทางไปหลวงพระบาง และมาจากหลวงพระบาทแล้วพักที่ เชียงของก่อนเดินทางไปเชียงใหม่ เป็นต้น8 คุณยอดฤทัย : การปรับตัวนั้นจะเป็นการปรับตัวในแบบของการจ้างพนักงาน โดยการจ้างงานช่วง Low season ทางเกสท์เฮ้าส์ได้จ้างพนักงาน 3 – 4 คน ส่วนในช่วง Low Season ได้จ้างพนักงาน 2 คน ซึ่ง จะมีพนักงานประจาอยู่ 2 คน อย่างไรก็ตามพนักงานถ้าหมดช่วง High Season มีการปรับตัวด้วยการ ประกอบอาชีพรับจ้าง หรือทาไร่ทาสวน ทานา เพราะส่วนมากเป็นคนแก่ที่อยู่ว่างๆ ตามหมู่บ้าน ที่ทางเกสท์ เฮ้าส์ได้รับเข้ามาช่วยงานในช่วง High Season9 Q. มีความคิดอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้เชียงของเป็นแค่เมืองทางผ่านแต่เป็นเมืองเที่ยวท่องชายแดน

6

สัมภาษณ์ คุณยอดฤทัย, 3 พฤษภาคม 2557 สัมภาษณ์ คุณโยษิตา, 6 กันยายน 2557 8 อ้างแล้ว คุณโยษิตา 9 อ้างแล้ว คุณยอดฤทัย 7

12

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


คุณโยษิตา : เนื่องจากว่าเชียงของไม่มีแหล่งท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้นและธรรมชาติสร้างขึ้น สถานที่ ที่เป็นธรรมชาติอย่างริมแม่น้าโขงมีความรกจากหญ้าจานวนมาก ไม่ค่อยมีการพัฒนา และอยากให้มีแหล่ง ท่องเที่ยวแบบ OTOP ได้แก่ ผ้าทอ เป็นต้น ซึ่งจะทาให้ชุมชนมีรายได้10 แต่อย่างไรก็ตามปัญหาของการผลิตสินค้า OTOP

ของเชียงของที่พบคือ คนในยุคปัจจุบันไม่มี

ความสามารถในการทอผ้าเนื่องจากไปประกอบอาชีพอื่น และเข้าไปทางานในกรุงเทพฯ จึงอยากสร้างกลุ่มคน ยุคใหม่ในการรักษาหรือสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้านไว้11 คุณยอดฤทัย :

ในเรื่องการท่องเที่ยวในเชียงของ อยากให้มีการจัดงานประเพณียี่เป็ง (งานลอย

กระทง) งานแข่งเรือ ฯลฯ และงานพัฒนาฝีมือให้กับหมู่บ้าน ในการทาโคมลอย โดยในตัวของคุณยอดฤทัย เอง ก็ได้การช่วยเหลืองานชาวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นงานบุญ ต่างๆ เป็นต้น12 Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนรวมกับการท่องเที่ยวหรือไม่อย่างไร และต้องการให้เข้า มาช่วยเหลืออย่างไร คุณยอดฤทัย : ปัญหาที่อาเภอเชียงของประสบในปัจจุบัน คือ การมองถึงผลประโยชน์ส่วนตนเป็น ที่ตั้ง เนื่องจากกลุ่มนักธุรกิจขนาดเล็กไม่ว่าจะเป็นที่พัก ร้านค้าในอาเภอเชียงของจึงไม่มีอานาจในการต่อรอง จึงต้องการมีหน่วยงานราชการ ได้แก่ ทางอาเภอเข้ามาให้ความช่วยเหลือในการดาเนินธุรกิจ13 ธุรกิจร้านอาหาร เครื่องดื่ม Q. การท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากอดีตอย่างไร คุณอัจฉรา : ก่อนการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวนมากใน เชียงของและในช่วงเดียวกันนี้ทางร้านก็ได้ลูกค้าที่เป็นนักท่องเที่ยวจานวนมากเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ตามหลัง การเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ยังเห็นไม่ชัดเจนมากนักของจานวนนักท่องเที่ยวที่ ลดลง ถึงแม้ว่า ช่วงนี้นักท่องเที่ยวจะลดลงบ้างเล็กน้อย คงต้องรอให้ถึงช่วง High

Season

ถึงจะมองเห็นจานวนการ

เปลี่ยนแปลงของนักท่องเที่ยว อีกทั้งสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ยังเปิดไม่ครบ 1 ปี ซึ่งลูกค้าทางร้าน 10

อ้างแล้ว คุณโยษิตา อ้างแล้ว คุณยอดฤทัย 12 อ้างแล้ว คุณยอดฤทัย 13 อ้างแล้ว คุณยอดฤทัย 11

13

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ส่วนมากจะเป็นคนในพื้นที่ นักท่องเที่ยวต่างชาติ และนักท่องเที่ยวคนไทย ดังนั้นคิดว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง จากการได้สัมผัสกับกลุ่มลูกค้านักท่องเที่ยว ส่วนมากแล้วนักท่องเที่ยวไม่ได้เจาะจงที่จะมาเที่ยวที่เชียงของ โดยเฉพาะ ซึ่งอาศัยว่าเชียงของเป็นแค่เมืองผ่านเท่านั้น โดยจะนอนที่เชียงของแค่ 1 คืนเท่านั้น เพื่อจะเดินทาง ต่อไปที่ประเทศลาว เช่น หลวงพระบาท เวียงจันทน์ หรือว่าเดินทางข้ามไปลาวเข้าสู่ประเทศจีนทางรถยนต์ ซึ่งนักท่องเที่ยวที่เจาะจงมาเที่ยวเชียงของมีปริมาณที่น้อยมากเป็นได้แค่เมืองผ่านของนักท่องเที่ยว14 คุณอรอนงค์ : ช่วงก่อนเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ที่ยังใช้การข้ามแดนด่านตรวจคนเข้า เมืองที่ท่าเรือบั๊ค นักท่องเที่ยวส่วนมากบอกว่าชอบ เนื่องจากที่สะพานมีกฎเกณฑ์มากเกินไป อย่างทั้งการข้าม แดนด่านตรวจคนเข้าเมืองตรงท่าเรือบั๊คมีความสะดวกและรวดเร็วกว่า เพราะข้ามฟากแล้วสามารถต่อเรือเพื่อ เดินทางไปหลวงพระบางได้เลย หากไปข้ามที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 และต้องการเดินทางไปท่าเรือ เพื่อเดินทางต่อไปยังหลวงพระบาง เนื่องจากว่าท่าเรือห้วยทรายแห่งใหม่อยู่ตรงข้ามกับด่านตรวจคนเข้าเมือง ตรงท่าเรือบั๊ค ดังนั้นการที่ข้ามแดนผ่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จะต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลา เพิ่มขึ้น

ภาพที่ 1 เส้นทางในการขนส่งนักท่องเที่ยว15 โดยผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ ผู้ประกอบวิ่งเรือข้ามฟาก ส่วนทางร้านของกาแฟ ไม่ได้รับผลกระทบมาก เพราะลูกค้าส่วนมากจะเป็นคนท้องถิ่น ถ้าเทศกาลก็จะมีลูกค้าจากนักท่องเที่ยวคนไทย และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตามในช่วงนี้ดีรับผลกระทบค่อนข้างน้อย

14 15

สัมภาษณ์ คุณอัจฉรา, 14 สิงหาคม 2557 สืบค้นข้อมูลแผนที่ออนไลน์ ในรูปแบบ Google Earth, 8 กันยายน 2557 สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 14


หลังจากการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 จานวนนักท่องเที่ยวลดน้อยลงและเกี่ยวเนื่องกับ การเมืองด้วย ทาให้นักท่องเที่ยวไม่ค่อยเดินทางข้ามผ่านระหว่างประเทศ แต่อย่างไรก็มีนักท่องเที่ ยวคนจีนเข้า มาท่องเที่ยว เพราะได้มีการยกเลิกวีซ่าจึงทาให้คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น โดยผ่านถนน R3A แต่ไม่มีระเบียบในการขับรถยนต์16 คุณแจ่มจิต : การท่องเที่ยวของเชียงของเปลี่ยนแปลงไปมากเพราะที่ผ่านมาข้ามฟากที่ด่านตรวจคน เข้าเมืองตรงท่าเรือบั๊ค ทาให้นักท่องเที่ยวต้องมาพักและกินที่เชียงของ พอมีสะพานทาให้ไม่เข้ามาในตัวเมือง เก่า เนื่องจากไม่มีการนาเสนอแหล่งท่องเที่ยว เช่น พิพิธภัณฑ์ปลาบึก เป็นต้น อีกทั้ งไม่มีสิ่งดึงดูดใจใจให้ นักท่องเที่ยวให้อยู่นานๆ ได้ และเหตุผลที่ทาให้นักท่องเที่ยวไม่เข้ามาพักในตัวเมืองเก่า เนื่องจากว่าจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในการเดินทางไปข้ามที่สะพาน ดังนั้นนักท่องเที่ยวส่วนมากจึงตัดสินใจลงไปขึ้นรถสามล้อแล้ว ตรงไปที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 เลย17

Q. ผลกระทบทีไ่ ด้รับจากการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 คุณอัจฉรา :

ยังไม่ได้รับผลอะไรมากนัก โดยผลกระทบส่วนมากจะตกอยู่กับผู้ประกอบการอื่นๆ

เพราะว่าอย่างผู้ประกอบการเกสท์เฮ้าส์บางราย ที่มีเครือข่ายกับบริษัททัวร์ของชาวต่างชาติ จะมีการส่งลูกทัวร์ มาพักอาทิตย์ละ 3 วัน เมื่อมีการเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ทางบริษัทก็ยกเลิกการส่งลูกทัวร์มาพัก ที่เชียงของโดยส่งตรงไปพักที่ลาวแทน ในช่วงที่บริษัททัวร์นาลูกทัวร์มาพักที่เชียงของนี้ ทางร้านก็มีลูกค้ามาก ขึ้นเช่นกัน18 คุณอรอนงค์ :

ลูกค้าลดน้อยลงไม่ว่าจะเป็นลูกค้าประเภทนักท่องเที่ยวหรือลูกค้าประจาในพื้นที่

เพราะว่าลูกค้าที่บริโภคเป็นประจาคือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง และเจ้าหน้าที่ศุลกากร19 คุณแจ่มจิต : หลังจากสร้างโรมแรมเสร็จ สิ่งที่ตามมาไม่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาพักจึงทาให้ร้านอาหารที่ ได้รับผลกระทบไปด้วยเช่นกัน เมื่อก่อนที่ยังไม่ปิดด่านตรวจคนเข้าเมืองตรงท่าเรือบั๊ค โดยจะมีนักท่องเที่ยว

16

สัมภาษณ์ คุณอรอนงค์, 14 สิงหาคม 2557 สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมุติ), 14 สิงหาคม 2557 18 อ้างแล้ว คุณอัจฉรา 19 อ้างแล้ว คุณอรอนงค์ สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 15 17


ชาวต่างชาติ คนขับรถบรรทุก เข้ามาใช้บริการโรงแรมและทานอาหาร หลังจากสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 ทาให้บรรยากาศในเมืองเชียงของเงียบมากๆ จากการที่นักท่องเที่ยวลดน้อยลง20 Q. มีการปรับตัวอย่างไรในเรื่องของการท่องเที่ยวเมื่อเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 คุณอัจฉรา : ก็เหมือนเดิมเพราะว่าช่วงนี้นักท่องเที่ยวก็เข้ามาพักในเมืองเก่าอยู่21 คุณอรอนงค์ : ไม่มีการปรับตัวแต่อย่างใด เนื่องจากลูกค้าเข้ามาหาเอง22 คุณแจ่มจิต : ลูกค้าชาวต่างชาติเริ่มมีมากขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา ทาให้มีรายได้ต่อ วันประมาณวันละ 7,000 – 8,000 บาท บางวันมีเวลานอนเพียงแค่ 1 – 2 ชั่วโมง เพราะต้องรีบไปตลาดและ เปิดร้านในเวลา 8.00 น. อาหารในร้านก็มีหลากหลายเช่นอาหารไทยทั่วไป และ อาหารป่า เมื่อมีการเปิด สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวที่จะข้ามไปลาวต้องไปข้ามที่สะพานดังกล่าว จากเดิมต้องข้ามที่ท่าเรือบั๊ค รายได้จากที่เคยได้ลดลงเหลือแค่วันละ 1,000 – 2,000 บาท ทาให้ต้องตัดสินใจ ลดราคาอาหารลงมาเพื่อดึงดูดใจลูกค้า23 แต่อย่างไรก็ตามตามสภาวะเศรษฐกิจจาเป็นต้องเพิ่มขึ้นราคาอาหาร ตามสินค้าอุปโภคบริโภคที่เพิ่มราคาขึ้น โดยเพิ่มราคาอาหารตั้งแต่ 10 – 20 บาท ตามประเภทอาหาร24

Q. มีความคิดอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้เชียงของเป็นแค่เมืองทางผ่านแต่เป็นเมืองเที่ยวท่องชายแดน คุณอัจฉรา : มีแนวความคิดว่า ถ้าเปรียบเทียบเมืองเชียงของกับเมืองเชียงคานก็มีเสน่ห์เหมือนๆกัน ก็ อยากจะให้เชียงของมีลักษณะเหมือนกับเชียงคาน เราควรที่จะอนุรักษ์เสน่ห์ของเมืองเก่า พร้อมทั้งวิถีชีวิต ดั้งเดิมของผู้คนและสถาปัตยกรรมบ้านเรือนเก่าๆ ควบคู่กับความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ เช่น โลจิสติ กส์ และ อุตสาหกรรม โดยแนวความคิด แบบนี้มีความเหมือนกับยุทธศาสตร์ หนึ่งเมืองสองแบบ ไม่ทราบว่ามีความ

20

อ้างแล้ว คุณแจ่มจิต (นามสมมติ) อ้างแล้ว คุณอัจฉรา 22 อ้างแล้ว คุณอรอนงค์ 23 สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ), 5 พฤษภาคม 2557. 24 สัมภาษณ์ คุณแจ่มจิต (นามสมมติ) สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 16 21


คิดเห็นอย่างไร เห็นด้วยกับยุทธศาสตร์หนึ่งเมืองสองแบบ เนื่องจากอนุรักษ์เมืองควบคู่ไปกับการเติบโตทาง เศรษฐกิจ25 คุณอรอนงค์ :

โดยอยากให้มีการปรับปรุงและบูรณาการโบราณสถาน เนื่องจากที่เชียงของมี

โบราณสถานจานวนมากแต่ไม่สนับสนุนเรื่องนี้ ซึ่งให้ความสาคัญการเศรษฐกิจการค้าชายแดนมากกว่า ในบาง ช่วงนักท่องเที่ยวที่อยากอยู่เชียงของมากว่า 1 คืน ซึ่งจะสอบถามถึงแหล่งท่องเที่ยวในเชียงของ ทางเราก็ จาเป็นต้องบอกนักท่องเที่ยวว่าที่เชียงของไม่มีแหล่งท่องเที่ยว จึงทาให้นักท่องเที่ยวต้องเดินทางไปยังประเทศ ลาวและประเทศจีนต่อไป ในความเป็นจริงแล้วเชียงของมีกาแพงเมืองเก่า แต่ส่วนมากนั้นจะอยู่ในบริเวณบ้าน โรงแรม หรือไม่ก็ ทาลายเพื่อทาสิ่งปลูกสร้าง อีกทั้งพระธาตุต่างๆ ก็โดนขุดทาลายไปหมด เนื่องจากเชียงของเน้นการค้า ถ้าพูด ในเรื่องวัฒนธรรมเชียงของวัดจานวนมาก โดยอยากให้มีมัคคุเทศน์ท้องถิ่นนาเที่ยวสักการะวัดต่างๆ อีกทั้ง สามารถสร้างโฮมสเตย์เป็นแหล่งท่องเที่ยว จากการที่เชียงของมีกลุ่มชาติพันธ์จานวนมากเพื่อการเรียนรู้วิถีชีวิต เช่น การทาผ้าทอ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามเชียงของก็มีโฮมสเตย์ที่บ้านกิ่วกลางกับบ้านสองพี่น้อง ซึ่งสมเด็จ พระเทพฯ เดินทางมาพักเป็นประจาโดยเป็นโครงการของสมเด็จพระเทพฯ ถนนคนเดินเมื่อก่อนจะปิดถนนสายกลาง และจะให้รถวิ่งไปสายนอกอีกสองสาย ต่อมาประชาชนมี ปัญหาในการเข้าที่พักอาศัยจึงเปิดให้รถวิ่งด้วยจึงทาให้ถนนคนเดินเปลี่ยนไปผู้คนที่มาต้องระมัดระวังการเดิน มากขึ้น26 คุณแจ่มจิต : ในด้านการท่องเที่ยว แนะนาให้โรงแรมที่ติดแม่น้าโขงซึ่งมีจานวนมากนั้น ควรจัดทา และตกแต่งสถานที่ให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูปด้านหน้าหรือหลังโรงแรมที่ติดริมแม่น้าโขง พร้อมทั้งตกแต่งสถานที่ ให้นักท่องเที่ยวได้นั่ง เดินชมแม่น้าโขงและเสน่ห์ของเมืองห้วยทราย และทาแหล่งท่องเที่ ยวตามลาแม่น้าโขง ได้แก่ การล่องเรือชมหินรูปต่างๆ ชมผาหิน น้าตก เที่ยวหาดดอนชมการร่อนทอง และพระธาตุ เป็นต้น27

Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนรวมกับการท่องเที่ยวหรือไม่อย่างไร และต้องการให้เข้า มาช่วยเหลืออย่างไร

25

อ้างแล้ว คุณอัจฉรา อ้างแล้ว คุณอรอนงค์ 27 อ้างแล้ว คุณแสงจันทร์ (นามสมมติ) 26

17

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


คุณอัจฉรา : ในเรื่องของงบประมาณ เพราะไม่มีความต่อเนื่อง พร้อมทั้งอยากให้มีการจัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง เช่น ถนนคนเดินสายวัฒนธรรม โดยจะมีการแสดงของนักเรียน กิจกรรมใดๆ ที่ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวที่ผ่านมาก็อยากให้จัดต่อเนื่อง เนื่องจากว่าที่ได้มีการยกเลิกไปเพราะงบประมาณที่มี ไม่ต่อเนื่อง และ อยากให้เปิดด่านตรวจคนเข้าเมืองทั้งที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 4 และท่าเรือเรือบั๊ค เหมือนกับที่อื่นๆ ในประเทศไทย ที่ด้านเก่าก็ยังเปิดอยู่และด่านใหม่ก็เปิดด้วยเช่นกัน28 คุณแจ่มจิต : ต้องการให้พัฒนาเมืองเชียงของให้น่าอยู่ น่าดู ปัญหาอีกอย่างของการพัฒนาคือ การ เปลี่ยนแปลงของนายอาเภอ และปลัดอาเภอค่อยข้างบ่อย ทาให้การพัฒนาไม่ต่อเนื่อง29 ธุรกิจคมนาคมขนส่ง Q. การท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากอดีตอย่างไร คุณประสาน : หลังเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ในเมืองค่อนข้างเงียบมากไม่มีนักท่องเที่ยว เพราะว่านักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ใช้ Passport ไม่มาข้ามฟากโดยใช้เรือแล้ว เนื่องจากบังคับให้ผ่านได้ที่ สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 เท่านั้น ดังนั้นคนที่มาใช้บริการเรือข้ามฟากส่วนมากในช่วงนี้ส่วนมากเป็น คนลาว คนไทย โดยผู้โดยสารจะมีปริมาณมากในช่วงของวันพุธ และวันศุกร์ทุกสัปดาห์ เนื่องจากว่าที่อาเภอ เชียงของจะมีตลาดนัด คนลาวจะข้ามฝากมาซื้อสินค้าแบบอุปโภคบริโภคเป็นจานวนมาก30 คุณสมศักดิ์ : ซึ่งก่อนเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ลูกค้าจะเป็นนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และคนจีน หลังเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 นักท่องเที่ยวลดลงค่อนข้างมาก ส่วนมากเป็นคนลาวมา ใช้บริการเพื่อเข้ามาซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในเมือง31 Q. ผลกระทบทีไ่ ด้รับจากการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 คุณประสาน : ผลกระทบจากการเปิดสะพานทาให้รายได้ลดลงค่อนข้างมาก จากการวิ่งเรือข้ามฟาก จากร้อยละ 100 หายไปร้อยละ 75 รายได้ที่เหลือตอนนี้เพียงร้อยละ 25 เท่านั้น ส่วนในเรื่องของราคาค่า โดยสารยังคงอัตราเท่าเดิมถึงแม้ว่าระยะจะไกลกว่า โดยการวิ่งเรือจะวิ่งสัปดาห์ละ 1 วัน เนื่องจากจานวนเรือ 28

อ้างแล้ว คุณอัจฉรา อ้างแล้ว คุณแจ่มจิต (นามสมมติ) 30 สัมภาษณ์ คุณประสาน, 5 กันยายน 2557 31 สัมภาษณ์ คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ), 5 กันยายน 2557 29

18

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


มีทั้งหมด 72 ลา แบ่งกันวันล่ะ 18 ลา ซึ่งในแต่ละวันจะวิ่งเรือประมาณ 4-5 เที่ยวต่อวัน แต่ช่วงก่อนเปิด สะพานวิ่งเรือวันละ 12 – 15 เที่ยวต่อวัน แต่ที่ผ่านมาได้มีการเสนอให้กลับมาเปิดบริการข้ามฟากที่ท่ าเรือบั๊ค เหมือนเดิมแต่ตอนนี้ก็ยังไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างไรก็ได้แต่รอต่อไป32 Q. มีการปรับตัวอย่างไรในเรื่องของการท่องเที่ยวเมื่อเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 คุณประสาน : ผู้ประกอบการเรือตามลาพังวิ่งเรืออย่างเดียวไม่พอเลี้ยงชีพ ถ้าคนไหนมีครอบครัวที่ ต้องส่งลูกเรียนก็จะต้องหาอาชีพเสริม ได้แก่ การทาสวนทาไร่ การประมง การเปิดธุรกิจส่วนตัว เช่น อู่ซ่อมรถ เป็นต้น ส่วนของลาเรือผู้ประกอบการเรือได้เปลี่ยนจากการใช้น้ามันเปลี่ยนใช้ก๊าซทดแทน33 คุณสมศักดิ์ : ต้องทาอยู่ตามสภาพของเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ในการปรับตัวจะประกอบอาชีพเสริม ส่วนมากจะเป็น การทาสวนทาไร่ บางคนก็ยึดเป็นอาชีพหลัก แล้ววิ่งสามล้อเป็นอาชีพเสริมเพราะรายได้ลด น้อยลง อีกทั้งราคานั้นไม่ได้เพิ่มราคาโดยสาร ซึ่งต้องเข้าใจผู้มาใช้บริการด้วยเพราะเราพึ่งพากันและกัน34 Q. มีความคิดอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้เชียงของเป็นแค่เมืองทางผ่านแต่เป็นเมืองเที่ยวท่องชายแดน คุณสมศักดิ์ : ต้องการให้มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ ตอนนี้ก็กาลังสร้างแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ การสร้าง พิพิธภัณฑ์ปลาบึก สวนสัตว์ และสวนดอกไม้ พร้อมทั้งจะเปิดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิทยาเขตเชียงของ โดยแหล่ง ท่องเที่ยวที่กาลังสร้างจะอยู่บริเวณเมืองใหม่ ซึ่งจะไม่สร้างแหล่งท่องเที่ยวในเมืองเก่าเพราะจะต้องอนุรักษ์ เสน่ห์ของเมืองเก่าไว้ โดยการสร้างแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้จะสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้อยู่เชียงของมากกว่า 1 คืน หรือมากกว่าจะมาเพื่อเป็นเมืองผ่าน35 Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนรวมกับการท่องเที่ยวหรือไม่อย่างไร และต้องการให้เข้า มาช่วยเหลืออย่างไร

32

อ้างแล้ว คุณประสาน อ้างแล้ว คุณประสาน 34 อ้างแล้ว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) 35 อ้างแล้ว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) 33

19

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


คุณประสาน : สิ่งที่ต้องการก็คือการที่ให้คนไทยที่ใช้ Passport มาข้ามฟากตรงท่าเรือบั๊ค แล้วให้ ชาวต่างชาติหรือบุคคลที่ใช้วีซ่าข้ามฟากที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4

เหมือนเดิมก็จะช่วยใน

ผู้ประกอบการเรือยังคงมีรายได้เพิ่มขึ้นและเพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ36 คุณสมศักดิ์ : โดยทางชมรมสามล้อก็อยากจะให้มาเปิดด่านตรวจคนเข้าเมืองตรงท่าเรือบั๊คเหมือนเดิม เนื่องจากจะทาให้ทางสามล้อเรามีรายได้เพิ่มมากขึ้น และต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วยในการรับจดทะเบียน รถยนตร์สามล้อ ซึ่งจะทาให้เป็นรถเถื่อน เพราะทางขนส่งเข้ามาตรวจจะทาให้เราต้องเสียค่าใช้จ่าย และเสี่ยง ต่อการโดนจับ37 แต่อย่างไรก็ตามในการในทาง ตามความในมาตรา ๕ (๑๑) และ (๑๒) แห่งพระราชบัญญัติ รถยนตร์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๓๐รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๓) ออกตามความในพระราชบั ญญัติ รถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ข้อ ๒ ให้งดรับจดทะเบียนรถยนตร์รับจ้างสามล้อและรถยนตร์สามล้อส่วนบุคคลในเขต กรุงเทพมหานครและในเขตจังหวัดอื่นทุกจังหวัด การผ่อนผันการงดรับจดทะเบียนรถยนตร์รับจ้างสามล้อและรถยนตร์สามล้อส่วนบุคคลตาม วรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กระทรวงคมนาคมกาหนดโดยประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ข้อ ๓ ให้รถยนตร์รับจ้างและรถยนตร์รับจ้างสามล้อใช้เดินได้เฉพาะในเขตจังหวัดที่จด ทะเบียน สาหรับรถยนตร์รับจ้างและรถยนตร์รับจ้างสามล้อที่จดทะเบียนในเขตจังหวัดขอนแก่น จังหวัดชลบุรี จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดสงขลา ให้ใช้เดินได้ในเขตจังหวัดที่จดทะเบียน และในเขตจังหวัดอื่นที่มิใช่เขตจังหวัดที่ระบุไว้ดังกล่าวและเขตกรุงเทพมหานคร สาหรับรถยนตร์รับจ้างและรถยนตร์รับจ้างสามล้อที่จดทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานครให้ใช้ เดินได้ในเขตกรุงเทพมหานครและในเขตจังหวัดอื่นทุกจังหวัด ธุรกิจบันเทิง Q. การท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากอดีตอย่างไร 36 37

อ้างแล้ว คุณประสาน อ้างแล้ว คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) 20

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


คุณสุพิน : เมื่อก่อนที่จะมาประกอบธุรกิจร้านบาร์ได้เปิดร้านขายของฝาก ขายวันละไม่ต่ากว่าหนึ่ง หมื่นบาท หลังจากเทสโก้โลตัสเข้ามาเปิดกิจการในเชียงของได้ปิดกิจการร้านขายของฝากแล้วไปเรียนนวดและ เปิดร้านนวดประมาณ 4-5 ปี แล้วก็เปิดร้านอาหารเพิ่มอีกทีหนึ่ง หลังจากนั้นสักพักได้เปลี่ยนร้านนวดมาเป็น ร้านบาร์ ซึ่งร้านอาหารจะเปิดเฉพาะช่วง High Season และต้องดูตัวแปรด้วยว่าเราจะเปิดทาร้านอาหารแบบ ไหน ซึ่งช่วงหลังเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 นักท่องเที่ยวลดน้อยลงและประกอบอาชีพยากขึ้น เรื่อยๆ หากจะมาเปิดธุรกิจเช่นโรงแรม สถานบันเทิง เราต้องดูคนในพื้นที่ด้วยเพราะชาวบ้านไม่ต้องการรับสิ่ง ใหม่ๆ ก็เลยต้องอยู่ในสภาพแบบนี้ อีกอย่างในตอนนี้พี่กาลังรักษาเมืองไว้ เพราะว่าถ้าหากพี่ขายกิจการนี้ให้แก่ ชาวต่างชาติ สิ่งที่จะตามมาก็คือ การนาผู้หญิงมาให้บริการในร้าน ซึ่งเราจะขายกิจการให้คนไทยเท่านั้น38

Q. ผลกระทบทีไ่ ด้รับจากการเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 คุณสุพิน : ผลกระทบหลังเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 โดยปกติร้านเวลาประมาณ 15.00 น. จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมานั่งที่ร้านประมาณ 15 คน เนื่องจากเดียวนี้นักท่องเที่ยวมาจากเชียงใหม่กับ เอเจนซี่โดยรถตู้หรือมินิบัส ทาปัญหาให้กับระบบการท่องเที่ยว เพราะเข้าแย่งลูกค้าหรือผลประโยชน์ที่รถเมล์ ที่สัมปทานเส้นทาง เชียงใหม่ – เชียงของ และเชียงราย – เชียงของ พร้อมทั้งส่งผลกระทบแก่คนในพื้นที่ด้วย เช่น สามล้อ รถสองแถว เป็นต้น เนื่องจากว่าจะมีบริการเชียงใหม่ – สะพานมิตรภาพไทยลาวแห่งที่ 4 ปริมาณ วันละ 10 เที่ยวต่อวัน โดยชาวต่างชาติที่เข้ามาในเชียงรายด้วยจะข้ามสะพานวันละ 200 คนต่อวัน แต่จะ เหลืออยู่ในเมืองเชียงของไม่เกิน 10 คน ถ้าชาวต่างชาติมาตามระบบขนส่งมวลชนหรือรถเมล์ อาจจะมาถึง เชียงของในช่วงเวลาที่ค่า ก็จะทาให้ชาวต่างชาติเข้ามาพักในเมืองพร้อมทั้งสร้างรายได้ให้แก่คนในท้องถิ่น แต่นี้ ไม่ใช่อย่างที่คิดไว้ซึ่งมีรถตู้มารอรับที่หน้าด่านเพื่อเดินทางไปเชียงใหม่เลย ส่วนผลกระทบของทางร้าน ลูกค้ามีปริมาณที่ลดลงทาให้ขายของไม่ได้ ซึ่งในตอนนี้นักท่องเที่ยวที่ หายไปคิดว่าประมาณร้อยละ 70 – 80 เส้นทางการเดินไปหลวงพระบางเส้นทางใหม่คือ เชียงใหม่ -ลาปาง-นาน-หลวงพระบาท เดินทางจาก นานไปยังหลวงพระบาง 1 วัน ส่วนเส้นทาง เชียงใหม่-เชียงราย-เชียงของ-หลวงพระบาท จะใช้เวลาในการ เดินทางจากเชียงของไปหลวงพระบาท 2 วัน อีกทั้งเวลาในการเดินทางเชียงใหม่-เชียงของ ใช้เวลา 5 ชั่วโมง 38

สัมภาษณ์ คุณสุพิน (นามสมมติ), 6 กันยายน 2557 21

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


แต่ เชียงใหม่-นาน ใช้เวลา 4 ชั่วโมงครึ่ง ทาให้นักท่องเที่ยวเริ่มหันไปใช้เส้นทางที่จังหวัดนาน อีกทั้งเอเจนซี่จะ เชียงใหม่ก็ใช้เส้นทางนี้ในการนาทางนักเที่ยวท่องเที่ยว เพราะว่าค่าใช้จ่ายไม่แตกต่างกันมาก39 Q. มีการปรับตัวอย่างไรในเรื่องของการท่องเที่ยวเมื่อเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 คุณสุพิน : อาจจะเป็นอาหารซีฟู้ด อาหารจีน เพราะว่าได้เมืองเชียงของยังไม่มีใครทาร้านแบบนี้ อีก ทั้งนักท่องเที่ยวคนจีนพฤติกรรมการบริโภคจะไม่นั่งที่ร้านนานกินเสร็จเรียบร้อยก็ลุกไปเลยซึ่งแตกต่างกับ ชาวต่างชาติ จึงมีแนวความคิดที่จะทาร้านอาหารจีน ในการปรับตัวคือ การให้น้องชายไปเรียนทาอาหารจีน เพราะว่าคนจีนเข้ามาในเชียงของจานวนมาก40 Q. มีความคิดอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้เชียงของเป็นแค่เมืองทางผ่านแต่เป็นเมืองเที่ยวท่องชายแดน คุณสุพิน : ต้องมีผู้หญิงขายบริการ41

Q. บทบาทของภาครัฐและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนรวมกับการท่องเที่ยวหรือไม่อย่างไร และต้องการให้เข้า มาช่วยเหลืออย่างไร คุณสุพิน : อยากให้ทางรัฐเข้ามาช่วยในการเปิดด่านข้ามฟากด่านตรวจคนเข้าเมืองตรงท่าเรือบั๊ค เหมือนเดิม ถ้านักท่องเที่ยวเข้ามาในเมืองแล้วรู้สึกน่าอยู่ อาจจะพักโรงแรมมากกว่า 1 คืน แต่เดียวนี้เดินทาง จากเชียงใหม่ตรงไปสู่สะพานเลยโดยไม่เห็นสภาพในเมือง เพราะว่ารถเมล์จะจอดให้ลงตรงสามแยกแล้วจะมี สามล้อไปส่งที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ต่อไป ในบางครั้งนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติไม่ได้ศึกษาการ เดินทาง ก็จะเข้ามาในเมืองแล้วนั่งสามล้อออกไปยังสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ทาให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม มากขึ้น แต่ถ้า Passport กาหนดเวลาอยู่ที่ประมาณ 16.00 - 17.00 น. ก็จะทาให้นักท่องเที่ยวเข้ามาในเมือง แต่นี้ปิดถึง 22.00 น. ทาให้ไม่มีนักท่องเที่ยวเลย อย่างไรก็ตามจากการสังเกตในการนั่งรถเมล์ประจาทาง

39

อ้างแล้ว คุณสุพิน (นามสมมติ) อ้างแล้ว คุณสุพิน (นามสมมติ) 41 อ้างแล้ว คุณสุพิน (นามสมมติ) 40

22

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


เชียงราย – เชียงของ โดยผู้เก็บอัตราค่าโดยสารจะแนะนาและจอดให้นักท่องเที่ยวลงสามแยกเพื่อนั่งสามล้อไป ยังสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 442 สรุปแต่ละประเด็นของผู้มีส่วนรวมในการท่องเที่ยวทั้ง 4 ภาคธุรกิจ  การท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของปัจจุบันมีการ  การท่องเที่ยวมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมาก หากเปรีย บเทีย บช่ว งก่อนและหลังเปิดสะพาน เปลี่ยนแปลงต่างจากอดีตอย่างไร แห่งที่ 4 ช่วงก่อนเปิดสะพานเมืองเชียงของจะ เต็มไปด้วยนักท่องเที่ยวจานวนมาก แต่หลังที่เปิด สะพานจานวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาใน เมืองเชียงของมีปริมาณลดน้อยลง  ได้เริ่มมีการสร้างและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใน เชียงของมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นทั้งสิ่งที่มนุษย์สร้าง ขึ้นหรือสิ่งที่ธรรมชาติสร้างขึ้น  ผลกระทบที่ ไ ด้ รั บ จากการเปิ ด ใช้ ส ะพาน  ในภาคธุรกิจที่พัก โรงแรม และธุรกิจร้านอาหาร เครื่องดื่ม ไม่ได้รับผลกระทบจากการเปิดสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 มิ ต รภาพไทย-ลาว แห่ ง ที่ 4 ซึ่ ง ธุ ร กิ จ ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบคือ ธุ รกิ จคมนาคม ขนส่ ง และธุร กิ จ บันเทิง จะได้รับผลกระทบอย่างมาก ผลมาจาก การลดลงของนักท่องเที่ยว  นักท่องเที่ยวไม่เข้ามาในเมืองเชียงของ เนื่องจาก ขนส่งมวลชนที่นานักท่องเที่ยวให้ลงต่อรถยนตร์ สามล้อไปยังสะพานเลย ทาให้นักท่องเที่ยวไม่ได้ สั ม ผั ส เสน่ ห์ ช องเมื อ งเชี ย งของ ก่ อ นตั ด สิ น ใจ เดินทางต่อไป พร้อมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มมากขึ้นใน การเดินทางไปยังสะพาน หากเข้ามาในเมืองเชียง ของ  ปรับตัวอย่างไรในเรื่องของการท่องเที่ยวหลัง  ภาคธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารปรั บ ตั ว คื อ ธุ ร กิ จ คมนาคม ขนส่ง โดยผู้ประกอบการจะหาอาชีพเสริมด้วย การเปิดใช้สะพานมิตรภาพไทย – ลาวแห่งที่ 4 42

อ้างแล้ว คุณสุพิน (นามสมมติ) 23

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


 มีความคิดอย่างไรเพื่อที่จะไม่ให้เชียงของเป็น  แค่เมืองทางผ่านแต่เป็นเมืองเที่ยวท่องชายแดน    บทบาทของภาครั ฐ และภาคเอกชนเข้ า มามี  ส่วนรวมกับการท่องเที่ยวหรือไม่อย่างไร และ  ต้องการให้เข้ามาช่วยเหลืออย่างไร 

การทาไร่ ทาสวน การเปิดร้ านขายของชา ร้า น ซ้อมรถ เป็นต้น ธุรกิจบันเทิง มีการปรับเปลี่ยน แนวคิดในการเปิดร้านอาหารจีน เพื่อตอบสนอง นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวจี น ที่ เ ดิ น ทางผ่ า นสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 4 ต้ อ งการให้ จั ด กิ จ กรรมเกี่ ย วกั บ วั ฒ นธรรม ประเพณีท้องถิ่น การจัดกิจกรรมล่องเรือชมลาน้า โขง และส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง ฟื้นฟูและบูรณาการโบราณสถาน เพื่อที่จะดึงดูด นักท่องเที่ยว สร้ า งโฮมสเตย์ เ พื่ อ เรี ย นรู้ วิ ถี ชี วิ ต ของกลุ่ ม ชาติ พันธ์ เพื่อการพักผ่อนของนักท่องเที่ยว ต้องการให้ภาครัฐดาเนินการเปิดด่านตรวจคนเข้า เมืองที่ท่าเรือบั๊คเหมือนเดิม ก าหนดเวลาเปิ ด -ปิ ด ถึ ง 17.00 น. เพื่ อ ให้ นักท่องเที่ยวเข้ามาในเมืองเชียงของ ต้องการให้ภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือในการดาเนิน ธุรกิจ และรับจดทะเบียนรถยนตร์สามล้อ

ท่ามกลางการเติบโตทางเศรษฐกิจของเมืองชายแดนอย่างอาเภอเชียงของได้เผชิญอยู่นั้น ทาให้เมือง เชียงของต้องปรับให้ก้าวไปข้างหน้าควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ จากการศึกษาการ ท่องเที่ยวในอาเภอเชียงของเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก การเข้ามาของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติลดน้อยลง เนื่องจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้มีการเปลี่ยนแปลงเส้นทางการเดินทางไปยังหลวงพระบาท เดิมที่มีการมา ต่อเรือที่เชียงของ แต่ปัจจุบันได้ไปการเดินทางเป็นจังหวัดน่าน เพราะระยะเวลาในการเดินทางที่รวดเร็วกว่า แต่อย่างไรก็ตามการมีสะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ 4 ทาให้นักท่องเที่ยวชาวจีนที่ใช้รถเป็นพาหนะสาคัญ ในการเดินทางผ่านเส้นทาง R3A

เป็นหลัก และสิ่งที่ไม่ควรมองข้ามไปอย่างยิ่งคือ การเข้ามาของรถไฟที่

เชื่อมต่อกันระหว่างประเทศไทย – จีน นับได้ว่าเป็นการนาพาความเจริญเข้ามาสู่เมืองเชียงของอย่างแท้จริง ดังนั้นการที่จะทาให้เมืองเชียงของกลับมาเติบโตในการท่องเที่ยวอีกครั้งจะต้องมีแหล่งท่องเที่ยว อาหาร เครื่องดื่ม เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวจีนให้มากขึ้น เนื่องจากประเทศไทยได้ การ ยกเลิกวีซ่านี่จะไปจุดเปลี่ยนของการท่องเที่ยวในเชียงของ 24

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามสิ่ ง ที่ อ าเภอเชี ย งของต้ อ งก้ า วเดิ น ท่ า มกลางการเติ บ โตเศรษฐกิ จ เช่ น นี้ ก็ ไ ด้ มี ยุทธศาสตร์ 1 เมือง 2 แบบ เป็นต้นแบบในการพัฒนาเมืองควบคู่กับ การพัฒนาเศรษฐกิจ จากยุทธศาสตร์นี้ได้ มีการรักษาเมืองเก่าไว้ เพื่อที่จะอนุรักษ์ให้มีเสน่ห์ต่อการเข้ามาเที่ยวชมเมื อง และเมืองใหม่จะเป็นพื้นที่ของ อุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ เมืองคู่ขนานแห่งนี้จะพัฒนาเมืองเพื่อให้มีความยั่งยืนและมีความมั่นคง พร้อมที่ จะก้าวหน้าไปในอนาคตมากน้อยเท่าไร ขึ้นอยู่กับความร่วมกันของประชาชนในท้องถิ่นเชียงของเอง

การเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์แต่ละประเด็นของการปรับตัวด้านการท่องเที่ยว เมืองคู่ขนานกับกรอบทั้งสาม การเปลี่ยนแปลงด้าน การท่องเที่ยว Border Future Policies ผลกระทบที่ได้รับจาก การเปิดสะพาน บทบาท Border Economic Growth

ของภาครัฐ และเอกชน

การปรับตัวในด้าน การท่องเที่ยว Cross-border and Trans-border แนวความคิดเพื่อให้

Connectivity

เชียงของเป็นเมือง ท่องเที่ยว 25

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


เอกสารอ้างอิง เอกสารประกอบเวทีสาธารณะในงานธรรมยาตราเพื่อแม่น้าโขง ครั้งที่ 2 วันที่ 22 มกราคม 2556, “เชียงของ : หนึ่งเมือง สองแบบ – การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน”.

ผู้ให้สัมภาษณ์ธุรกิจที่พัก โรงแรม คุณโยษิตา สานวนเย็น (6 กันยายน 2557) คุณยอดฤทัย เรวรรณ (3 พฤษภาคม 2557) ผู้ให้สัมภาษณ์ธุรกิจอาหาร เครื่องดื่ม คุณอัจฮรา บุญสวัสดิ์ (14 สิงหาคม 2557) คุณอรอนงค์ พินไซย (14 สิงหาคม 2557) คุณแสงจันทร์ (นามสมมติ) (5 พฤษภาคม 2557 และ 14 สิงหาคม 2557) ผู้ให้สัมภาษณ์ธุรกิจคมนาคมขนส่ง คุณประสาน ยมภักดี (5 กันยายน 2557) คุณสมศักดิ์ (นามสมมติ) (5 กันยายน 2557) ผู้ให้สมภาษณ์ธุรกิจบันเทิง คุณสุพิน (นามสมมติ) (6 กันยายน 2557)

26

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ (Office of Border Economy and Logistics: OBELS) มีหน้าที่ ดาเนินงานด้านการรวบรวมข้อมูลและวิจัยทางด้านเศรษฐกิจการค้าชายแดนและโลจิสติกส์ เพื่อนาไปสู่การยกระดับ องค์ความรู้ที่เป็นฐานสาคัญของประเทศไทย ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการสร้างความสามารถใน การแข่งขันของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตในสังคม Office of Border Economy and Logistics (OBELS), Mae Fah Luang University, 333 Moo 1, Tasud, Muang, Chiang Rai, Thailand. Tel. 6653916680 Email: obels.mfu@gmail.com.

27

สานักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.