Exhibition by Supasit Thammaprasert 1 - 30 July 2017
I Subhashok The Arts Centre
DREAMY LAND
Director Sithikaj Angsuvarnsiri Jongsuwat Angsuvarnsiri Curator Suphita Charoenwattanamongkhol Graphic Designer Saruda Suansa-ard Photographer Preecha Pattaraumpornchai Translator Jongsuwat Angsuvarnsiri Proofreader Chol Janepraphaphan Linjie Zhou Chathip Suwanthong Coordinator Suchada Klinchun Chuthamat Suwannasri Production Phansak Kaeosalapnil Boonyakorn Jaroenpol
DREAMY LAND The land of time, current affairs and hopelessness Three series of works in the exhibition “Dreamy Land” by Supasit Thrammaprasert reveals the truth in the world that has time, situation and hopelessness as their defining factors. The connection between the past, present and future are cunningly conveyed through different techniques
นิทรรศการ DREAMY LAND ดินแดนแห่งกาลเวลา สถานการณ์ และความสิ้นหวัง ผลงานศิลปะทั้ง 3 ชุดในนิทรรศการ DREAMY LAND ของศิลปินสุภสิทธิ์ ธรรมประเสริฐ นำ�เสนอสัจธรรม ความเป็นไปของโลกที่มีเวลา สถานการณ์ ความสิ้นหวังของมนุษย์เป็นตัวกำ�หนด ความเชื่อมโยงกันของอดีต ปัจจุบัน อนาคตถูกสื่อสารอย่างแยบคายผ่านเทคนิควิธีการที่แตกต่าง
Artist’s statement
“...It is like a ritual. Each custom or tradition has to wear a mask in one way or another. I’m not talking about wearing a mask to deceive each other, but it’s almost like a way to fit into the society. In present time, it is like the way we are expected to behave at a given place or time; in the old days it’s like going into some sort of rituals. It was never truly a place for you to be a 100 percent yourself. We all have to be a part of a pact,So I gave my characters the masks so we had some sort of unity...” I don’t need the audience to understand my works completely, I would be happy just to have people share the experience of viewing the works. It is like reading a book: hundred people have a hundred ways to interpret the written work. More so with visual art, it is almost impossible to have everybody understand the works in the way as you want it completely. I would be happy just to have the audience share the experience of viewing the works with one another, even if in the end they may not disagree on the meanings or the way they perceive the world. I don’t want to control what the viewers’ thought. In any case, an artist has to adapt as well. In this day and age, we have the technology that connects everyone together, like the social media platforms. People’s information are connected, and a work of art is just a part of that information. As an artist, I just want the viewers to understand my work a little bit. If I cannot send any message at all then it is pointless for me; but to give away everything would also ruin the enjoyment of the work. Perhaps I am just trying to make some art become easier to digest for some people”.
“...มันเหมือนพิธีกรรมของมนุษย์ทุกวัฒนธรรมจะมีการใส่หน้ากากอะไร สักอย่าง ผมไม่ได้ให้ความหมายว่าเป็นการใส่หน้ากากเข้าหากันอะไร ขนาดนั้น หน้ากากมันเป็นเหมือนการสลายตัวตนระดับหนึ่งเพื่อเข้าสังคม มากกว่า ถ้ามองในปัจจุบันก็เหมือนบทบาทของทุกคนที่ต้องปฏิบัติแต่ถ้า มองในยุคอดีตก็เหมือนการเข้าพิธีกรรมต่างๆ มันไม่มีตัวตนของคุณ 100 เปอร์เซ็นต์แน่นอน ถ้าเราต้องอยู่ในสังคมเราทุกคนต่างเป็นส่วนหนึ่งของ ฝูง ผมเลยให้ตัวละครของผมใส่หน้ากาก มันเหมือนความ Unity ของพวก เขาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันไป...” สำ�หรับงานศิลปะของผม ผมอยากให้คนมาร่วมประสบการณ์ก็พอใจแล้ว ไม่ได้ต้องการความเข้าใจในการสื่อสารของผมทั้งหมด มันเป็นไปไม่ได้ เหมือนการอ่านหนังสือ หนังสือหนึ่งเล่ม คนร้อยคนอ่านก็ตีความต่างกัน ไป แล้วยิ่งเป็นงานศิลปะจะให้เข้าใจตรงกันทั้งหมดยิ่งเป็นไปไม่ได้ แค่ร่วม ประสบการณ์ได้ เชือ่ มโยงกัน ผมก็ดใี จแล้ว ผมว่าศิลปะมันเป็นเหตุเป็นผล อยูแ่ ล้วนะ ไม่ตา่ งกันกับการดูภาพยนตร์คนดูจบก็มาเถียงกัน ตีความกันไป บางคนที่มีทัศนคติไม่ตรงกันไม่ว่าจะประเด็นสังคมหรือทางการเมือง เขา ไม่พอใจก็มาต่อว่าก็มี แต่ผมชอบนะ มันมี activity มันมีประโยชน์กว่าผม ไม่อยากกำ�หนดให้คนดูต้องมาคิดตรงกัน ผมว่าอย่างไรศิลปินก็ต้องปรับตัวเอง ปัจจุบันการสื่อสารในยุคนี้ถูกสร้าง มาให้คนเชื่อมโยงกันอยู่แล้ว เช่นโลกโซเชียลมีเดีย ข้อมูลของผู้คนมันจะ เชือ่ มต่อกัน งานศิลปะเองก็เป็นข้อมูลหนึง่ ผมในฐานะศิลปินก็มองว่าอย่าง น้อยก็อยากให้ผู้ชมเข้าใจในระดับหนึ่งก็ดี เพราะถ้าศิลปินสื่อสารไม่ได้มัน ก็ไม่ได้ประโยชน์อะไร แต่ถ้าเฉลยหมดก็ไม่น่าสนใจ ผมชอบระหว่างกลาง มากกว่า เพราะตัวผมเองก็มนุษย์สังคมคนหนึ่งเช่นกัน ศิลปินบางคนอาจ จะ ไม่อยากอธิบายอะไรเลย แต่ผมพยายามที่จะทำ�ให้ศิลปะย่อยง่ายขึ้น”
Polka dot : Myself and hopelessness
A two dimensional work of painting that makes fun of real monuments and statues and a girl with a mask on a carousel sitting proudly in front of a polka dot background. Symbolically speaking, the dots pattern are used to allude cuteness and fashion sense, but it can also be used to convey a mal- condition of the brain such as obsessive compulsive disorder. Technically speaking, the artist intends to create paradox by using printed canvas (a ready -made) that serves as the background for the painting (hand-made). In doing so, the artist believes to be created a paradoxical symbolism in time and space where a civilised world where we are techno- logically advanced and progressive, yet we are also walking into a hopeless world with economic crisis and war. A truly hopeless world where the true happiness is not easily found.
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 4, 2016 135 x 180 cm. Oil on canvas
ตัวตนของฉันและความสิ้นหวังในผลงานชุด “Polka dot” อนุสาวรีย์ ประหลาดและไม่ มี จ ริ ง จิ ต รกรรม 2 มิ ติ ที่ ว างองค์ ป ระกอบล้ อ เลี ย น ประติมากรรมอนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้นเป็นเพื่อเชิดชูตัวตน ของบุคคลส�ำคัญ หญิงสาวสวมหน้ากากนั่งเชิดหน้าบนหลังม้าหมุนที่ลอย คว้างอย่างไร้เหตุและผลบนพื้นหลังลายจุดสีสด ในแง่ของสัญลักษณ์ ลาย จุดถูกใช้แทนความสวยงามน่ารัก รสนิยมทางแฟชั่น และศิลปะ แต่ในทาง กลับกันลายจุดก็เป็นสิ่งที่แสดงสภาวะผิดปกติของสมอง เช่นอาการย�้ำคิด (Obsessions) ทีส่ มั พันธ์กบั อาการย�ำ้ ท�ำ (Compulsions) ของผูป้ ว่ ยทางจิต และในแง่เทคนิคการท�ำงานศิลปินเจตนา สร้างความขัดแย้งด้วยบรรยากาศ ส�ำเร็จรูป (แคนวาส พิมพ์ลาย) มารองรับการการวาดภาพสีน�้ำมันด้วยมือ เพื่อนัยยะเสียดสีแสดงความลักลั่น ย้อนแย้ง ของสังคมในยุคนี้ี่ ผู้คนสนใจ แต่สิ่งสวยงาม การสื่อสารเทคโนโลยีพัฒนาก้าวหน้า ไร้สงครามแต่มนุษย์ กลับเดินหน้าสูค่ วามสิน้ หวัง ไร้ความฝัน เศรษฐกิจล่มสลายมีขา่ วหดหูไ่ ม่เว้น แต่ละวันเป็นโลกศิวิไลซ์ที่คาดหวังความสุขที่มั่นคงแท้จริงได้ยากเหลือเกิน
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 1, 2016 135 x 180 cm. Oil on canvas
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 3, 2016 135 x 180 cm Oil on canvas
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 5, 2016 135 x 180 cm. Oil on canvas
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 6, 2016 135 x 180 cm. Oil on canvas
อนุสาวรีย์เสมือนจริง แด่หนุ่มสาว หมายเลข 2, 2016 135 x 180 cm. Oil on canvas
Nylons were invented around the year 1939, and the artist wants to use this new material to convey the myths that were passed down from generations to generations both in Asia and Europe, as well as religious beliefs and legends that were retold countless of times. The characters in the artist’s works are wearing masks of different types and are heading for the ideal world. The artist intentionally wants all the subjects to be facing towards the right, implying a constant journey of learning, as if the audience always have to turn to read the next page. The artist believes that the past will never disappear. More than that, it will always repeat itself at different times and places because men will always search for the answers to their wishes. The ideal world in today’s age may not be like Plato’s Atlantis nor Thomas Moore’s Utopia, but they simply just need a government or a state that has the stability that is needed to bring peace and uplift the quality of lives.
In a given piece within the series of work, the way the work is seen varies according to the angle of which the nylon layers are arranged. The artistic dimensions in each layer will allow the viewers not to appreciate the works from one angle. The viewers are invited to also assess its depth and dimensions within the works, as they unravels details and time and movement of a work. There is a time for everything, and a season for every activity under the heavens: a time to be born and a time to die, a time to plant and a time to uproot, a time to kill and a time to heal, a time to weep and a time to laugh, a time to mourn and a time to dance, a time to be silent and a time to speak, a time to love and a time to hate, a time for war and a time for peace. King Solomon in the Ecclesiastes 3: 1-8, 970-928 BC.
The Journey: The past that keeps returning in the world of time
นักวิทยาศาสตร์ค้นพบวัสดุสมัยใหม่ที่มีชื่อว่า Nylon เมื่อประมาณ ปี ค.ศ. 1939 ( 70 ปีที่แล้ว ) ศิลปินเจตนาน�ำวัสดุทางวิทยาศาสตร์ ชนิดนี้ มาถ่ายทอดความเชือ่ ทัง้ ของเอเชียและยุโรปทีเ่ ล่าขานตกทอด กันมาหลายยุคหลายสมัย แม้กระทั่งกุศโลบาย ค�ำสอนทางศาสนา ต�ำนานถูกผสมผสานเล่าใหม่ผ่านตัวละครใส่หน้ากากที่ก�ำลังเดิน ทางไปสู่ดินแดนในอุดมคติ องค์ประกอบที่จงใจให้กองคาราวาน ทั้งหมดมุ่งหน้าไปทางขวาเท่านั้นเพื่ออุปมาถึงทิศทางของการเปิด หน้าหนังสือที่มนุษย์ต้องเรียนรู้ไม่มีวันจบ ศิลปินเชื่อว่าอดีตนั้นไม่ เคยหายไปไหน มันยังคงวนเวียนเกิดขึ้นซ�้ำแล้วซ�้ำอีกต่างวาระต่าง ยุคสมัย เพราะมนุษย์ไม่เคยหยุดแสวงหาค�ำตอบต่อแรงปรารถนา ของตน เช่น โลกอุดมคติที่บางครั้งมันอาจจะไม่ใช่สรวงสวรรค์ ในโลกหลังความตายแบบแนวคิดในอดีตอีกต่อไป อาจจะไม่ใช่ สถานที่สุดเพ้อฝันแบบเมืองแอตแลนติสของเพลโต หรือแบบเมือง ยูโทเปียของเซอร์โทมัส มอร์ มนุษย์ในยุคปัจจุบันอาจต้องการเพียง รัฐที่มีเสถียรภาพในการปกครองดินแดนที่สามารถท�ำให้ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขปราศจากความขัดแย้ง และความเกลียดชัง
ในหนึ่งชิ้นงานจิตรกรรมของศิลปินมีระยะการมองที่เปลี่ยนไปตาม องศาของตะแกรง nylon สีและเรื่องราวที่แทรกตัวในทุกชั้นแตก ต่างกัน มิติทางศิลปะจึงน่าสนใจอย่างยิ่งเพราะไม่ได้งดงามเพียงใน แนวระนาบ นอกจากกว้าง ยาว แล้วยังมีระยะลึกตื้นเป็นความพิเศษ เพิ่มขึ้น ศิลปินต้องการสื่อสารนัยยะเรื่องการเดินทางของเวลาผ่าน พฤติกรรมผู้ชมที่ต้องใช้เวลาไปกับงานของเขามากกว่าปกติเพื่อเพ่ง มองมิตทิ กุ ด้านของงานจิตรกรรม เป็นความตัง้ ใจจำ�ลองการเคลือ่ นที่ ของเวลาทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลาไม่เคยหยุดนิง่ และครอบงำ�มนุษย์อยูเ่ สมอ “...เวลา ถูกคาดหมายไว้สำ�หรับทุกสิ่ง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ใต้ฟ้าล้วน เกี่ยวพันกับเวลาหมด เวลาเกิดหรือตาย เวลาฆ่าหรือเยียวยา เวลา ทำ�ลาย หรือสร้างใหม่ เวลาร้องไห้หรือหัวเราะ เวลาที่จะทุกข์หรือมี ความสุข เวลาที่จะเงียบหรือเวลาที่จะพูด เวลาที่จะรัก เวลาที่จะชัง เวลาที่จะมีศึก หรือเวลาที่จะอยู่อย่างสงบ...” King Solomon ในพระคัมภีร์เก่า ( Ecclesiastes 3:1–8) 970-928 ปีก่อนคริสตกาล
การประกอบสร้างของความทรงจำ�, 2015 120 x 200 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
บางครั้งเราควรออกเดินทางไปยังที่ที่ไกลแสนไกล, 2015 120 x 200 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
พุทธศักราชในยามรัตติกาล, 2015 120 x 150 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
ปัจฉิมพุทธศักราช, 2015 120 x 150 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
หลายครั้งเรามักได้ยินเรื่องเล่าถึงบางสิ่งที่เราหลงลืมไปนานแล้ว, 2015 120 x 200 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
ความทรงจำ�ในความทรงจำ�, 2015 120 x 180 cm. สีน้ำ�มันบนตะแกรงไนล่อน
The Chair:
Current affairs of the world
It is undeniable that the social media fabricates the society of today’s time. The artist has created this series of work to record a moment in our history by mixing objects and subjects of various origins in a square room. That room has only a chair and a frame to tell the stories of each different human. The artist once said, “I think of a Christian church where usually there is a confession room. Everybody can express their feelings without having to hide anything. I thought, once you enter a room that has a chair and a frame that allows you to express what you feel, the room becomes a place of equality. No matter who you are and what your stories are, you would be able to communicate without fears. Everything in that frame connects with the person in the room in the end. “The Chair” is a series of work that has gained tens of followers on the social media page “Dreamy Dreams” that belongs to the artist that also serves as his fabricated society. Each work had attracted many comments and views from many audience, and to the artist, the works are creating their own histories.
สถานการณ์โลกปัจจุบันกับผลงานชุด “The Chair” ปฎิเสธไม่ได้ เลย ว่าโซเชียลมีเดียคือสังคมจำ�ลองของมนุษย์ในปัจจุบันศิลปินสร้างผล งานชุดนี้เพื่อบันทึกเหตุการณ์ของผู้คนในสังคมนำ�ความผสมปนเป หลากหลาย มาใส่ไว้ในพืน้ ทีจ่ �ำ ลองทีม่ สี ภาพแวดล้อมเดียวกันคือ “ห้อง สี่เหลี่ยม” ในห้องมีเพียงเก้าอี้และกรอบรูปเป็นตัวเล่าความแตกต่าง ของมนุษย์แต่ละคน โดยศิลปินกล่าวไว้ว่า “ผมนึกถึงในโบสถ์คริสต์ที่ จะมีหอ้ งสารภาพบาป ทุกคนสามารถแสดงความรูส้ กึ โดยไม่ตอ้ งปิดบัง ผมก็เลยคิดว่าถ้าคุณก้าวเข้ามาในห้องที่มีข้อจำ�กัดผมมีเก้าอี้ให้คุณนั่ง มีกรอบรูปที่ฝาผนังให้คุณแสดงความรู้สึกเป็นพื้นที่ที่เท่าเทียม ตัวตน และเรือ่ งราวของคุณจะเป็นอย่างไร คุณสามารถสือ่ สารออกมาได้โดยที่ ไม่ตอ้ งหวาดกลัวสิง่ ใด ภาพในกรอบรูปด้านหลังก็เป็นจุดเฉลยปมเรือ่ ง ราวของคนๆ นั้น บางทีเรื่องก็เป็นแรงบันดาลใจมาก่อน หรือบางทีผล งานศิลปะชิ้นนั้นๆ ก็มาก่อน แต่ทั้งหมดล้วนมีความเกี่ยวพันกัน ผลงานชุด “The Chair” นับเป็นงานชุดที่สร้างชื่อเสียงและมีผู้ ติดตามหลักหมื่นบนโลกโซเชียลมีเดียกับ Page facebook DREAMY DREAMS ที่น่าจะเรียกได้ว่าเป็นสังคมจำ�ลองของ ศิลปินเช่นกัน ผล งานแต่ละชิ้นต่างมีผู้คนมาวิพากษ์วิจารณ์ แสดงความเห็นที่ หลาก หลายร่วมกัน ซึ่งสุภสิทธิ์มองว่ามันคือ หน้าที่สำ�คัญของงานศิลปะ ผล งานได้สร้างประวัติศาสตร์ของ ตัวมันเองแล้ว
ผู้ป่วยเป็นโรคจางหายไป, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
เด็กหนุ่มผู้หวาดกลัว, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
เด็กหญิงที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
เด็กหญิงในสวนสาธารณะ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
มัจจุราช, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้กำ�ลังหมกมุ่นกับความคิด, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
วอร์ บอย, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ทรราช, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
นายทหารแห่งกองทัพนาซี, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
นายทหารผู้เชื่อในลัทธิฟาสซิสต์, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้หลงลืมความฝัน, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หนูน้อยหมวกแดงผู้เหนื่อยล้า, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หญิงสาวผู้ชื่นชอบการแสดง, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หญิงสาวกับฝนฟ้าคะนอง, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้กระหายในชัยชนะ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ก้อนหินผู้มีความเร็วเท่าแสง, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายหนุ่มผู้มีความสุข, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
นักดูดาวที่ตกหลุมรักอุกกาบาต, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้ทำ�สัญญากับปีศาจ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
แม่บ้านธรรมดา, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายขี้เมา, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
เด็กหญิงผู้ออกตามหาไม้วิเศษ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายหนุ่มผู้สูญสิ้นความเป็นตัวตน, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
นักบินอวกาศผู้ไม่อยากกลับมายังโลก, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้ผูกตัวติดไว้กับลูกโป่ง, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้ไร้หัวใจ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ซาลารี่แมน, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หญิงสาวผู้มองโลกผ่านดวงใจ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายในชุดป้องกันเชื้อ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
เด็กหญิงกับรูโหว่ที่หน้าอกข้างซ้าย, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หนามกุหลาบของหญิงสาว, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
ชายผู้ควักดวงใจ, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
หญิงสาวผู้ไม่ยอมออกจากรงสีทอง, 2016 41.5 x 29.5 cm. ภาพพิมพ์และวาดเส้นบนกระดาษ
About Artist
Supasit Thrammaprasert
Supasit Thrammaprasert received Bachelor degree in Decorative arts from Silpakorn University in 2014. His graduation project received the prestigious award, “The Best Thesis Award 2014” in that year. In the same year, he also received the Young Thai Artist Award 2014 by SCG foundation. Supasit’s works can be splitted into different series, which share the same ideology of searching for an ideal world in contemporary time. He is not willing to look for a haven or Utopia, but is exploring the contemporary history and politics, especially in Thailand, in search of an understanding of the social fabric, the struggle, the negotiation and the way to live in harmony amongst the people in the nation.
สุภสิทธิ์ ธรรมประเสริฐ จบการศึกษาในระดับศิลปบัณฑิต คณะ มัณฑนศิลป์ ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ใน ปี 2014 โดยผลงานจบการศึกษาของเขาได้รับรางวัลศิลปนิพนธ์ยอด เยี่ยมประจำ�ปี (The Best Thesis Award, 2014) และหลังจากนั้น ในปีเดียวกัน สุภสิทธิ์ยังได้รับรางวัล ดีเด่น ในโครงการ ยุวศิลปินไทย สาขาศิลปะ 2 มิติ (Young Thai Artist Award, 2014) ที่จัดโดยมูล นิธเิ อสซีจี ผลงานจิตรกรรมของสุภสิทธิส์ ามารถแบ่งออกได้เป็นหลาย ชุด โดยมีแนวความคิดร่วมกันที่ความปรารถนาต่อโลกอุดมคติของ มนุษย์ปัจจุบัน ประเด็นร่วมสมัยของเขานำ�เสนอโลกอุดมคติที่ไม่ใช่ สวรรค์ หรือเมือง ยูโทเปีย (Utopia) แต่สุภสิทธิ์ศึกษาประวัติศาสตร์ สังเกตความเป็นไปของการเมืองการปกครองทุกๆ ความเคลื่อนไหว บนโลกใบนี้ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน โดยเฉพาะในประเทศไทย เพื่อ ทำ�ความเข้าใจโครงสร้าง และชั้นผิวทางสังคม การต่อสู้ ต่อรองและ การดำ�รงอยู่ร่วมกัน
The exhibition “Dreamy Land” will be on display between 1-30 July 2017 at Subhashok The Arts Centre. Tel: +662 2585580 ext. 401 +662 6620299 / +668 68911893 https://www.facebook.com/sacbangkok, E-mail : Manager@sac.gallery