Weaving Narratives : Awaken

Page 1



WEAVING NARRATIVES : AWAKEN BY KMA SIRISAMPHAN 5 August - 10 September 2017 Subhashok The Arts Centre


Kma Sirisamphan

REALITY IN FANTASY Art is a friend and a consoler that can heal your mind from illness. There are various types of arts: some act as the medium of emotions and feelings, some serve as the tools to deliver sophisticated wisdom and thoughts, some are beautiful phenomenon, and some show human nature. Art is a language, used to communicate thoughts and wisdom which could be understood via our senses. What an artist calls ‘inspiration’ is that which drives their communication; personal background of happiness, sadness, memories, skeptical issues or even fantasy and eagerness to learn. Artists have different ways to express their minds, depending on their abilities to use their techniques. Works of art can never be judged as more or less artistic because all expressive techniques the artist uses represent their freedom. Nobody has an exclusive right over creativity. However, an artistic expression that communicates clearly and honestly will bring success to the artist. Sculptor Kma Sirisamphan disappeared from the art circle for decades. He lived as a rich successful businessman who got everything he wanted, but his success also brought distress to his life. Kma returned to the embrace of art seven years ago when he realized that art had never betrayed him, not for a day, even when he left it. His return to art was like a reunion with an old friend; a true friend that he could talk to wholeheartedly. I see a friendly open-hearted conversation through Kma’s sculptures: he talks about his experience, his failure in the past and even the secrets that nobody would understand. Crossing the line between fantastical illustrative stories and inspired by real-life art that can communicate clearly: an asymmetrical body of the sculpture of an eccentric boy with long rabbit-like ears holding a symbol that has personal meaning for the sculptor; sculptures of the buffaloes, some looking arrogant, some with wings, some seem like they are inspired by the ancient gods. Kma’s works are categorized by a period of time, but as a viewer, I see them as one set of sculptures. All of them

describe the story of one individual. The artist’s experiences are interestingly told through the artistic language of the sculptures. Open your mind and forget all the old images of any portrait sculptures or abstract sculptures you’ve seen and simply watch the sculptures in front of you to understand his imaginary world. Through his sculptures, the viewers dive into the realm of fantasy bedtime stories, the sculptor’s wonder, magical people from Hellenistic mythology, the boy who doesn’t exist and hidden symbols in the composition of each sculpture. His works lead us to the reverie of the bizarre kingdom. Some sculptures make us heavy-hearted while some make us cheerful. Once we look at each sculpture thoughtfully, it pops the question whether the fantasies told by the sculptor were some parts of our experiences. Kma Sirisamphan created these sculptures to illustrate his experience which turned out to be the other side of human’s subconscious, not a fantasy. His naive communication ingeniously tells so many truths. His works draw us closer to other perspectives in life and invite us to join the conversation over whether they represent reality or a fantasy. A state of nostalgia creates images from the vague memories. Kma might see images of what he had gone through in life: his life full of happiness, his loved ones, his close-knitted family, his failures, his expectation of success which didn’t last long, his fight against hardship and images of perfection that he would like to have in his life. All these valuable inspirations created magnificent sculptures. The completeness of thoughts and art of these sculptures, though not intended to make viewers compare them to real life, makes us question the lives we live. Sakarin Krue-On 27 September 2017 For exhibition “Weaving Narratives: Awaken”


คมา ศิริสัมพันธ์

ความจริงในสิ่งเหนือจริง ศิลปะเป็นทั้งเพื่อนและผู้ปลอบประโลม เยียวยาให้จิตใจคลาย จากความเจ็บป่วย ศิลปะมีหลายประเภทบ้างก็ทำ�หน้าที่เป็นสื่อ กลางของอารมณ์ความรู้สึก บ้างก็เป็นเครื่องมือถ่ายทอดความ คิดที่ลึกซึ้งหลักแหลม บ้างก็เป็นเพียงปรากฏการณ์ทางความงาม บ้างเป็นการแสดงตัวตนของมนุษย์ในสังคม แต่ทั้งหมดแล้วศิลปะ ก็คือภาษาที่ใช้เพื่อสื่อสารความรู้สึกนึกคิดระหว่างกันและกัน ใน รูปแบบของปัญญาและรับรู้เข้าใจได้ด้วยผัสสะต่างๆ ของเรา การ มีปูมหลัง ไม่ว่าจะเป็นความสุข ทุกข์ ความทรงจำ�ที่น่าประทับใจ หรือบางสิ่งที่เป็นที่น่าคลางแคลงใจ แม้กระทั้งความคิดฝัน ความ สงสัยใคร่รู้ต่างๆ ก็ล้วนเป็นแรงผลักดันให้เราอยากถ่ายทอดออก มาได้ทั้งสิ้น ที่คนทำ�งานศิลปะมักเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า “แรงบันดาล ใจ” สิ่งที่แตกต่างในการแสดงออกของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน ไป ขึ้นอยู่กับความสามารถในการใช้กลวิธีในการแสดงออก ไม่ได้ จำ�กัดว่าสิ่งไหนจะเป็นศิลปะน้อยหรือมากกว่ากัน การแสดงออก ด้วยกลวิธีต่างๆ เป็นเสรีภาพ ไม่เป็นอภิสิทธิ์ที่ใครจะถือครองไว้ แต่เพียงผู้เดียว แต่ในทางกลับกันการแสดงออกทางศิลปะของผู้ที่ สามารถถ่ายทอดความนึกคิดได้ชัดเจนและบริสุทธิ์ใจ จะเป็นสิ่งที่ ทำ�ให้เขาเหล่านั้นประสบความสำ�เร็จ คมา ศิริสัมพันธ์ ประติมากรที่ห่างหายไปจากแวดวงศิลปะ นับ สิบๆ ปี เขาใช้ชีวิตกับอาชีพการงานที่เป็นธุรกิจส่วนตัว ที่นำ�พา ทุ ก อย่ า งที่ เ ขาปรารถนา ความสำ � เร็ จ ด้ ว ยฐานะที่ มั่ ง คั่ ง และก็ เป็ น สิ่ ง ที่ นำ � พาความทุ ก ข์ ม าสู่ ชี วิ ต ของเขาด้ ว ยเช่ น กั น คมาหั น กลับมาสู่ศิลปะ อีกครั้งเมื่อประมาณ 7 ปีก่อน เนื่องจากการที่ เขาได้ตระหนักรู้ว่า ศิลปะมิเคยทรยศเขาเลยแม้แต่วันเดียวที่เขา จากมันไป การกลับมาของเขาคือการกลับมาหาเพื่อนเก่า เพื่อน แท้ที่เขาจะสนทนาด้วยอย่างไว้เนื้อเชื่อใจ เขาตอบโต้พูดคุยเล่า ประสบการณ์มากมาย บอกเล่าอดีตที่เคยผิดพลาด เคยเก็บงำ�ไว้ ในใจมาอย่างไร้ผู้เข้าใจ ผมเห็นบทสนทนาที่เล่าสู่กันฟังอย่างเปิด เผยและเป็นกันเองอยู่ในงานประติมากรรมชุดนี้ การข้ า มเส้ น แบ่ ง ระหว่ า งภาพเล่ า เรื่ อ งเหมื อ นนิ ท านแฟนตาซี กั บ ผลงานศิ ล ปะที่ สื่ อ สารได้ ดี แ ละมี แ รงบั น ดาลใจจากชี วิ ต จริ ง ประติมากรรมรูปเด็กชายประหลาด มีใบหูยาวคล้ายกระต่าย มี รูปร่างไม่สมสัดส่วน ถือสัญลักษณ์ที่มีความหมายส่วนตัวของผู้ ปั้น รูปปั้นควายที่บางรูปดูเย่อหยิ่งจองหอง บางตัวมีปีก บางตัวดู เหมือนได้แรงบันดาลใจมาจากรูปเทพเจ้าโบราณ ทั้งหมดแม้จะดู แบ่งเป็นกลุ่มๆ เนื่องจากช่วงเวลาที่ถูกสร้างขึ้นหลายปี ผู้เขียนใน ฐานะผู้ชมคนหนึ่งมองเห็นว่ารูปปั้นทั้งหมดยังคงเป็นชุดเดียวกัน ทั้งหมดพรรณาเรื่องราวของบุคคลคนเดียวกัน ประสบการณ์ใน ชีวิตที่ถูกอธิบายเป็นภาษาทางศิลปะแบบประติมากรรมลอยตัว ล้วนน่าสนใจ ดูต่อเนื่องกันไปเป็นเรื่องราวฟุ้งฝันที่ผู้ดูเข้าใจได้

ไม่ยาก หากเราเปิดใจกว้างและลืมภาพเก่าๆ ที่เคยเห็น ไม่ว่าจะ เป็นประติมากรรมรูปเหมือน หรือประติมากรรมนามธรรมอื่นๆ สักชั่วขณะ ระหว่างที่ดูผลงานของเขา เราจะได้รับอรรถรสของ นิทานกล่อมนอนที่เต็มไปด้วยเรื่องราวเหนือจริง ทั้งเรื่องราวที่ผู้ ปั้นจินตนาการ แล้วนำ�มาผนวกกับรูปบุคคลวิเศษ ในเทพปกรณัม ในแบบเฮเลนิสติค (Hellenistic) ทั้งสัญลักษณ์ที่แฝงไว้ในองค์ ประกอบของประติมากรรมแต่ละชิน ้ รูปเด็กชายทีไ่ ม่มอ ี ยูจ่ ริง งาน ของเขาพาความนึกคิดของเราให้ตกอยู่ในภวังค์ของอาณาจักร ที่แปลกประหลาด บางชิ้นทำ�ให้เรารู้สึกหม่นหมอง แต่บางชิ้น ก็ทำ�ให้เรารู้สึกเบิกบานรื่นเริง แต่เมื่อได้พินิจพิเคราะห์ผลงาน แต่ละชิ้นแล้ว มันกลับเต็มไปด้วยคำ�ถามว่าสิ่งเหนือจริงตามที่ผู้ ปั้นได้ถ่ายทอดออกมานั้น อาจเคยเป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ ของเราเช่นกัน การที่ คมา ศิ ริ สั ม พั น ธ์ พยายามมุ่ ง มั่ น สร้ า งสรรค์ ก ลุ่ ม ประติมากรรมเหล่านี้ขึ้น ก็เพื่อสร้างตัวแทนของความจริงที่เขา เคยประสบมาในช่วงชีวิตหนึ่ง มันกลับกลายเป็นสภาวะแห่งความ จริงในอีกด้านหนึ่งของจิตใต้สำ�นึกของมนุษย์ปุถุชน หาใช่ภาพ เพ้อฝันใดๆ ไม่ การถ่ายทอดที่ดูซื่อๆ ไร้เดียงสาของเขากลับ บอกเล่าความจริงมากมายออกมาอย่างแยบยล ผลงานของเขามี แรงดึงดูดให้เราเข้าไปใกล้ทัศนคติเกี่ยวกับชีวิต ชักชวนให้เราร่วม สนทนาภาพนิทานกล่อมนอนวัยเด็ก กลายเป็นนิทานชีวิตที่ผู้มาก ประสบการณ์จะเห็นพ้องด้วยว่าสิ่งเหล่านี้มีอยู่ในโลกจริงๆ มิได้ เป็นเรื่องของจินตนาการแต่อย่างใด สภาวะของความอาวรณ์ ระลึ ก ขึ้ น ได้ (Nostalgia) ได้ส ร้า ง มโนภาพของความทรงจ�ำแบบคลุมเครือให้มีตัวตน คมา อาจเห็น ภาพจากสิง่ ทีผ ่ ่านเข้ามาในชีวต ิ ของเขาแต่ละช่วง ชีวต ิ ทีเ่ ต็มไปด้วย ความสุข มีคนทีร่ ก ั ครอบครัวทีเ่ คยใกล้ชด ิ หรือความล้มเหลว การ คาดหวังต่อความรุง่ โรจน์ที่ไม่ได้อยู่กับเขาอย่างจีรัง การต่อสู้กับ ความเหนื่อยยาก และภาพของความสมบูรณ์แบบที่เขาพยายาม เติ ม ใส่ชี วิ ต ของเขา แรงบั น ดาลใจที่ ล�้ ำ ค่า นี้ ก่อ ตั ว เป็น ผลงาน ประติมากรรมที่สวยงาม แม้มิได้ตั้งใจให้ผู้ดูเปรียบเทียบใดๆ กับ ชี วิ ต จริ ง แต่ค วามสมบู ร ณ์ท างความคิ ด และทางศิ ล ปะของ ประติมากรรมชุดนี้ก็ท�ำให้เราต่างตั้งค�ำถามต่อชีวิตที่ผ่านมาของ เราเอง

สาครินทร์ เครืออ่อน 27 มิถุนายน 2560 เพื่อนิทรรศการ Weaving Narratives: Awaken


Weaving Narratives: Awaken

“Weaving Narratives: Awaken” is Kma Sirisamphan’s first bronze sculpture solo exhibition. In the past few decades, he has constantly spoken to himself through his works, transforming his feelings for everything into his creative energy for each piece. The whole series is from his own and others’ life experience, pulling from his perceptions of dealing with growth, success and failure, seeking for the value of life. All the pieces express not only the full range of his cheeky and intellectually subtle language of sculpture but also show his wonderful outlook on creating in life.

zero sum game. His youth was bound to no aim, as he unenthusiastically ran a small business, taking a role as a jack-of-all-trades. Time moved along while life remained a puzzle. In his confusion, he rebooted his thoughts on life again as he entered a period of adulthood that awoke his motivation. In 2010, the inspiration returned. There was a fire lit, focusing his energy on producing his own art again. He made his first molds of the character “Karma” of his art and maintained the moment, spending about 2 to 3 years searching and developing this ideal model since 2014.

He does not like being restrained and contrived as an artist, instead loving to be flexible and open, qualities which have become the direction for his creativity. In this series, he successfully brings together the subject matter with developmental thinking.

The characters (Karma) elongated head suggests a large brain and intellectual demeanor countered by long rabbit ears that symbolize a kind heartedness. Karma’s presence is more primitive in nature. Other figures resemble buffalos that are personified as ordinary people. They take the shape of gestured postures, emulating the human condition in a whimsical context. Each piece represents a different contemplation of life.

“In my opinion, there is the responsibility as the artist to not only create aesthetic works but to also remind people to be mindful through my works.” by sharing this experience, Kma Sirisamphan encourages the public to contemplate their own life experiences. Born in 1962, Kma Sirisamphan (คมา ศิ ร ิ สั ม พั น ธ์ ) graduated from Silpakorn University with a Bachelor in Fine Arts from the Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts in 1992. After receiving his degree he had one group thesis exhibition, and joined the 37th National Exhibition of Art, then shifted to start to work with his own business as an event organizing company that used art as a key tool. His business was successful and was going very well until 1997 when the economy dropped, signaling a big shift in his life. Eventually losing the business, he gained a new perspective. His view of social conduct became altered as he defended the misconceptions of his self. It brought him to understand humanism and he started to think again about life. But it was during this moment that he would become lost, 7 years relinquished to neutrality, playing life to a

Throughout his series, Kma Sirisamphan has shone a spotlight on the curvature of the sculptures. The form of the muscles exhibits an emotional force. The attention to detail establishes a middle ground where abstract meets realism. The focus is on the lines of the muscles and the colors used are natural. Karma appears in various narratives that he is weaving throughout the exhibition; ranging from love to sadness. These emotional stories not only today awaken feelings of sympathy and sorrow in the audience but also are responsible for awakening his period of dormant creativity. Had he not experienced the trials and tribulations of his former career, there may not have been the urge to reawake his artistic nature. The inspiration of his perseverance comes through in his sculptures and it encourages us to keep going through the hurdles of life while building a mindful position on the meaning of it all. Linjie Zhou Curator


By Kma Sirisamphan (คมา ศิริสัมพันธ์) Bronze sculpture solo exhibition August 5th 2017 – September 10th 2017

“Weaving Narratives: Awaken” คื อ นิ ท รรศการเดี่ ย ว ประติมากรรมบรอนซ์ครั้งแรกของ คมา ศิริสัมพันธ์ ในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา คมาได้ใส่ตัวตนของเขาลงไปในผลงาน เปลี่ยน ทุกๆ ความรู้สึกให้กลายเป็นเป็นพลังสร้างสรรค์แฝงอยู่ในผลงาน ทุกชิ้น ผลงานชุดนี้ถูกสร้างจากประสบการณ์มากมายที่ผ่านเข้า มาทั้งจากประสบการณ์ตรงและจากที่เรียนรู้รอบๆ ตัว เป็นการ ค้นหาคุณค่าของชีวิตทั้งจากการเติบโต ความสำ�เร็จและความ ล้มเหลว ผลงานทุกๆ ชิ้นไม่เพียงแต่จะเต็มไปด้วยการหยอกล้อ และความหลักแหลมของการใช้ภาษาประติมากรรม แต่ยังแสดง ให้เห็นทัศนคติพิเศษในตัวของคมาที่เติบโตขึ้นในช่วงชีวิตของเขา เฉกเช่นศิลปินทั่วไปเขาไม่ชอบการถูกควบคุมและกำ�หนดด้วยกฏ เกณฑ์ แต่ยินดีที่จะปรับตัวและเปิดกว้างทางความคิด ซึ่งเป็นสิ่ง ที่วางแนวทางการสร้างสรรค์ของเขา ในผลงานชุดนี้เขาประสบ ความสำ�เร็จในการรวบรวมเรื่องราวต่างๆ เข้ากับพัฒนาการทาง ความคิดในการสร้างผลงาน ดังที่คมาเคยกล่าวว่า “...ในความ คิดของผม ความรับผิดชอบในฐานะศิลปินไม่ใช่เพียงแต่สร้างผล งานที่มีคุณค่าทางด้านสุนทรียศาสตร์เท่านั้น แต่ยังต้องเตือนใจ ผู้คนผ่านผลงานของเราให้ได้ด้วย” ด้วยการแบ่งปันประสบการณ์ นี้ คมากระตุ้นให้ผู้ชมได้พิจารณาผลงานผ่านประสบการณ์ชีวิต ของแต่ละคน คมา ศิริสัมพันธ์ เกิดปี 1966 จบการศึกษาจากคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรในปี 1992 หลั ง จากร่ ว มแสดงนิ ท รรศการจบการศึ ก ษา และร่ ว มแสดง นิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 37 เขาได้หันเหไปเริ่มต้น ธุรกิจเปิดบริษัทรับจัดงานด้วยการใช้ทักษะทางศิลปะที่มีอยู่ ธุรกิ จของเขาประสบความสำ�เร็จและไปได้ดีจนกระทั่งปี 1997 เมื่อเศรษฐกิจถดถอย เป็นสัญญาณของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ในชีวิตของเขา การสูญเสียธุรกิจไปทำ�ให้เขาได้รับมุมมองใหม่ๆ มุมมองของเขาต่อสังคมเริ่มเปลี่ยนแปลงไปในขณะที่เขาเรียนรู้ ความเข้าใจผิดของตัวเองและเปลี่ยนมันให้กลายเป็นความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจ และเริ่มคิดถึงเรื่องราวของชีวิตอีกครั้ง หลังจากนั้นได้ดำ�เนินกิ จการเล็กๆ อย่างไม่กระตือรือร้นจริงจัง เป็ น ช่ ว งเวลากว่ า 7 ปี ที่ ห ายไปกั บ วั ย หนุ่ ม ที่ ไ ม่ ไ ด้ มุ่ ง เป้ า ไปใน ทิ ศ ทางใดเป็ น พิ เ ศษ เวลาผ่ า นไปกั บ ชี วิ ต ที่ ก ระจั ด กระจาย ใน ความสับสนของเขาทำ�ให้เริ่มกลับมาคิดถึงชีวิตอีกครั้ง กลายเป็น

แรงจูงใจให้กลับมารู้สึกเหมือนกับการลืมตาตื่นขึ้นมาในวัยผู้ใหญ่ เป็นครั้งที่สอง ในปี 2010 เมื่อเขาได้แรงบันดาลใจกลับคืนมา มี ไฟลุกโชติช่วงมุ่งมั่นสร้างสรรค์งานศิลปะของตัวเอง เริ่มต้นทำ� ต้นแบบในชื่อตัวละคร “Karma” ขึ้นมาตัวแรกในงานศิลปะของ เขา และพัฒนารูปแบบนี้ตั้งแต่ปี 2014 มาอีกประมาณ 2-3 ปี ตัวละคร Karma นำ�เสนอศีรษะที่ถูกขยายใหญ่ แสดงถึงการมี สมองขนาดใหญ่และการมีปัญญา ขัดแย้งกับหูยาวแบบกระต่าย ที่เป็นสัญลักษณ์ของจิตใจที่ดี รูปลักษณ์ของ Karma มีลักษณะ แบบรูปปั้นหรืองานศิลปะในยุคบรรพกาล รวมถึงผลงานอีกชุดที่ หยิบยืมรูปลักษณ์ของ “ควาย” แต่แสดงท่าทางเลียนแบบมนุษย์ ในบริบทที่แปลกประหลาด ซึ่งแต่ละชิ้นเป็นตัวแทนถึงการครุ่นคิด ถึงชีวิตในแง่มุมที่แตกต่างกัน ผลงานประติมากรรมของคมาให้ความสำ�คัญกับเส้นสาย สัดส่วน โค้งเว้า รูปทรงกล้ามเนื้อแสดงอารมณ์ความรู้สึก ความใส่ใจใน รายละเอียด เป็นการผสมผสานความเป็นนามธรรมและความ สมจริงเข้าด้วยกัน หากพินิจบนเส้นของกล้ามเนื้อและสีที่สร้างขึ้น อย่างเป็นธรรมชาติจะเห็นว่าคมาถ่ายทอดเรื่องเล่าที่หลากหลาย มีเรื่อ งราวมากมายถูก ถัก สานเข้าด้วยกันผ่านนิทรรศการครั้งนี้ ตั้งแต่เรื่องของความรักไปจนถึงความเศร้า เรือ ่ งราวอารมณ์ในผลงานไม่เพียงปลุกเร้าความรู้สก ึ เห็นอกเห็นใจ และความเศร้าของผู้ชม แต่ยังเป็นการ “ปลุก” ช่วงเวลาของการ ฟูมฟักความคิดสร้างสรรค์ในตัวศิลปิน หากเขาไม่มีประสบการณ์ การทดลองกับความทุกข์ยากในการประกอบอาชีพอื่นๆ มาก่อน หน้านี้ บางทีก็อาจจะไม่มีสิ่งกระตุน ้ ภาวะความเป็นศิลปินในตัว ของเขาให้ได้แรงบันดาลใจจากความเพียรพยายาม ในฐานะศิลปิน คมาแสดงให้เราได้เห็นความเพียรผ่านผลงานประติมากรรม และ เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เราเดินข้ามผ่านอุปสรรคของชีวิต สุดท้ายค�ำว่า “ระมัดระวังใจ” ที่ คมา ศิริสัมพันธ์ เน้นย�้ำอยู่ในนิทรรศการจะสื่อ ความหมายถึงทุกสิ่งได้อย่างชัดเจน หลินเจี่ย โจว ภัณฑารักษ์


7 days, 2017 33(L) x 50(W) x 100(H) cm. 80(L) x 33(W) x 60(H) cm. Bronze Edition 1/3



Attitudes, 2017 90(L) x 60(W) x 100(H) cm. Bronze Edition 1/8



Fly, 2017 33(L) x 33(W) x 100(H) cm. Bronze Edition 1/8



Fly, 2017 33(L) x 33(W) x 100(H) cm. Stainless Steel Edition 1/8



Perfectionist, 2017 25(L) x 25(W) x 75(H) cm. Bronze Edition 1/8



Perfectionist, 2017 25(L) x 25(W) x 75(H) cm. Stainless Steel Edition 1/8



Believe, 2017 70(L) x 40(W) x 80(H) cm. Bronze Edition 1/8



Destiny, 2017 34(L) x 34(W) x 86(H) cm. Bronze Edition 1/8



Hope, 2017 33(L) x 33(W) x 90(H) cm. Bronze Edition 1/8



Hug, 2017 56(L) x 55(W) x 75(H) cm. Bronze Edition 1/8



My son, 2017 35(L) x 22(W) x 85(H) cm. Bronze Edition 1/8



Pharaoh me, 2017 39(L) x 30(W) x 77(H) cm. Bronze Edition 1/8



Remind, 2017 35(L) x 40(W) x 80(H) cm. Bronze Edition 1/8



สำ�หรับงานแสดงผลงานในครัง้ นี้ ผมทุม ่ เทพลังชีวต ิ วิธค ี ด ิ แนวคิด ใช้เวลาสำ�รวจตนเองเป็น เวลา 7 ปี และได้พยายามสร้างสรรค์ผลงานจนเต็มความสามารถ แต่นอกเหนือจากตัวผมแล้วยังมีอีกหลายคนหลายฝ่ายที่เข้ามาให้ความช่วยเหลือ จนกระทั่งนิทรรศการครั้งนี้เป็นจริงขึ้นมาได้ ผมขอขอบพระคุณคุณศุภโชค อังคสุวรรณศิริ ซึ่งเป็นบุคคลแรกๆ ที่มองเห็นคุณค่า ในผลงานของศิลปะของผมและได้หยิบยื่นโอกาสและให้การสนับสนุนการทำ�งาน ไปจนถึงให้โอกาสการจัดแสดงผลงานในพื้นที่ของศุภโชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์ จนมาเป็นนิทรรศการครั้งนี้ และขอขอบพระคุณ คุณ Linjie Zhou ภัณฑารักษ์ที่ดูแลการจัดแสดง ผลงานในครั้งนี้ด้วย อีกท่านหนึ่งที่คอยให้คำ�ปรึกษาด้านศิลปะและได้กรุณาเขียน บทความสำ�หรับนิทรรศการครั้งนี้ ผมขอขอบพระคุณอาจารย์ สาครินทร์ เครืออ่อน เป็นอย่างสูง ผมขอขอบพระคุณบุคคลต่อไปนี้ ที่มีส่วนผลักดันนิทรรศการ ครั้งนี้เช่นกัน ได้แก่ คุณกิตติ รุ่งกลั่น คุณกร ศรียาภัย คุณสุริยา พจน์ชัยจงดี คุณวิชัย แซ่บู่ คุณเนาวรัตน์ ปั่นไสว คุณวิฑูรย์ นิธิพิชญ คุณสิทธิชัย จันทร์หอม คุณกร ศรียาภัย คุณภิรมย์ วนาศรีวิไลและครอบครัว สุดท้ายนี้ ผมขอขอบพระคุณทีมงานของศุภโชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์ ที่ช่วยกันผลักดันให้นิทรรศการครั้งนี้เกิดขึ้นได้ ขอบพระคุณครับ คมา ศิริสัมพันธ์

Director Curator Graphic Designer Translator Coordinator Production

Sithikaj Angsuvarnsiri Jongsuwat Angsuvarnsiri Linjie Zhou Saruda Suansa-ard Jongsuwat Angsuvarnsiri Linjie Zhou Suphita Charoenwattanamongkhol Suchada Klinchun Chuthamat Suwannasri Chathip Suwanthong Chol Janepraphaphan Phansak Kaeosalapnil

Subhashok The Arts Centre. https://www.facebook.com/sacbangkok E-mail : Manager@sac.gallery Tel: +66 2 2585580 Ext. 401 +66 2 6620299 +66 8 68911893



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.