A Space to Exist - พื้นที่เพื่อการดำรงอยู่

Page 1


Organized by Director Curator & Chief Editor Editor Graphic Design Translate Proofreader Coordinator Production

: : : : : : : :

Subhashok The Arts Centre Sithikaj Angsuvarnsiri Linjie Zhou Suphita Charoenwattanamongkhol Saruda Suansa-ard Khemlak Diprawat Suphita Charoenwattanamongkhol Suchada Klinchun Chuthamat Suwannasri Linjie Zhou : Phansak Kaeosalapnil Boonyakorn Jaroenpol


September 3rd 2016 – October 2nd 2016 Subhashok The Arts Centre


Gi-ok Jeon Solo Exhibition Exhibition Duration: September 3rd 2016 – October 2nd 2016

“As an immigrant, maybe I still worry about my own space to exist.”

Gi-ok Joen, born in Korea, received her BFA in painting in Seoul, received her MFA in Chinese painting from the prestigious Beijing Central Academy of Fine arts, moved to Bangkok and continued to study printmaking from the Department of Visual Arts & Faculty of Fine and Applied Arts at Chulalongkorn. It’s not hard to discover that she is an innovative multi-media artist combining many different techniques; from embroidery to woodcuts to painting to weaving, her quest for artistic knowledge has led her to possess an inspiring arsenal of skills. She uses these diverse methods to touch upon content that is associated with multicultural identity, motherhood, and daily life; referencing her Korean heritage, Chinese aesthetic and Thai life at all times. Her solo exhibitions have been held at the Beijing International Art Palace Museum and Chulalongkorn University, also joining in group exhibitions at the Korean Cultural Center of Thailand, the Center of Visual Art Boda in Seoul, the Mu Project in Washington D.C and the Central Academy of Fine Arts Museum in Beijing. For this new exhibition “A Space to Exist”, she continues to develop her series on her daughter following her last exhibition “Playful Prayer” in 2011. This is her first solo exhibition in the past 5 years, and she has changed some emotional perspectives in her latest work. She recorded her daughter’s development from 2011 to 2016, Her current perspective has seen the image of her daughter being transformed from her maternal perspective into a stand-alone symbol of multiculturalism. This exhibition is divided into 3 series. The painting series is defined by the artist as “Spatiotemporal Movement”, whereby she extends the use of the Thai Patoong fabric on Korean rice paper for this time. She is using this fabric in larger compositions with a highlight on expressive movement throughout the painting (as opposed to using it only for details). The Patoong series, along with her drawing pieces, has appeared in her works since 2011 and continues to evolve with her cultural character. As an immigrant and eclectic artist, she is solidifying her multiethnic identity and her relationship to her current life and place in Thai society. The identity is a general issue concerned by many people as a human being, but not often discussed unless they have the same migrant experience. The identity is an important issue in my work because I lived in Thailand for a long time. Nevertheless, it is not all about identity. The identity issue is being developed to a ‘space’ and ‘relation’ that I am always fascinated about. The canvas space presenting the various gestures of my daughter, the image space where Patoong patterns are enlivened, my daily life space, and exhibition space where an installation is placed – it is a space that is a necessary condition that makes all things existent, implies their identity, and relates them with others. In that sense, a space is fundamental in my art.” – Gi-ok Jeon


On the way, she has grown more aware of her identity; adding another new medium –the Korean fabric (“Hanbok”) - into this exhibition. She is seeking her identity in the 2 cultures that she originally came from and still adapting to another 3rd culture. Compared to the Patoong, the Hanbok is more likely a symbol of her essential identity which can express her existence clearly. Besides the Hanbok, she also did traditional Korean patchwork on the paintings’ surface. This has also been a time-honored Korean women’s tradition, connecting different colors of small and delicate fabric pieces together through needlework. For this exhibition, she is further strengthening her original mark from her motherland. There also exists a strong difference between the Thai Patoong and Korean Hanbok. Patoong is heavy, thick, and intricately patterned while the Hanbok is thin, see-through, and made of solid colors. The “Space over the translucency” series consists of 3D and installation work showcasing the translucent quality in bone china by means of light effects. This special quality of translucency is only available when bone china clay is made in thin layers and baked at a high temperature. The bone china was selected for its white and thin surface that resembles that of paper or canvas. In regards to Oriental painting, it’s similar to painting techniques used on porcelain and that of traditional black ink painting. It was also selected because it is different from other clays in that it becomes semi-translucent when it is completed as porcelain. The aesthetic of translucency of the material brings a lot of imagination to the viewers. This series is complemented with the use of Hanbok fabric confined within steel structures. Hanbok is not just a beautiful fabric that contains primary color which makes it splendid, but also represents the Korean identity. Particularly, the thin silk Hanbok cloth holds a mysterious aesthetic, presenting another beauty of translucency in Hanbok that is not found in the Bone China. Together they symbolize the struggle of cultural identity in the modern age; being a mixture of elements and creating something new that isn’t fully formed but still ever-changing. Another highlight for this exhibition is her “Structural Intermediacy” series, this series consists of several vertically long fabrics that fill the gallery space from floor to ceiling. As the hanging pieces of fabric move in space, the images on the fabric appear to be moving as well. In sync with the other series, her daughter Lily, is the main figure through which her vision is being expressed. The illusion of movement in between real space and imagery space is an important point in this work because it stresses the transitory existence of a multicultural individual. The space where these installations are placed represents a space that is a necessary condition for making all things existent, implies their identity, and relates them with others. In that sense, a space is fundamental in her art. “A Space to Exist” is brought to you by Subhashok The Arts Centre in partnership with the Korean Cultural Center. Linjie Zhou


– พื้นที่เพื่อการดำ�รงอยู่ นิทรรศการแสดงผลงานเดี่ยวของ Gi-ok Jeon พิธีเปิด: 3 กันยายน 2016 เวลา 18.00 น. ระยะเวลาจัดแสดง 3 ก.ย. 2016 – 2 ตุลาคม 2016 “ในฐานะของผู้ที่ต้องย้ายถิ่นฐานมา บางที...ฉันอาจจะยังกังวลถึงพื้นที่ในการดำ�รงอยู่ของตัวเอง” Gi-ok Joen เกิ ด ที่ ป ระเทศเกาหลี สำ�เร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ด้ า นจิ ต รกรรมในโซล และศึ ก ษาต่ อ จนสำ�เร็ จ ปริ ญ ญาโทจาก Beijing Central Academy of Fine Arts อันเป็นสถาบันการศึกษาด้านศิลปะชั้นนำ�ของประเทศจีน เธอย้ายมาอาศัยในกรุงเทพฯ และ เริ่มศึกษาด้านภาพพิมพ์ที่ภาควิชาทัศนศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เธอเป็นศิลปินงานสื่อผสมที่มาพร้อมกับความ คิดแปลกใหม่ รวบรวมเทคนิคหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน ตั้งแต่งานปักไปจนถึงงานภาพพิมพ์แกะไม้ จากการวาด ไปจนถึงการทอ การเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ๆ ทางด้านศิลปะอย่างต่อเนื่องช่วยให้เธอมีขุมคลังแห่งทักษะอันหลากหลาย Gi-ok เลือกใช้วิธีการเหล่านี้ในการถ่ายทอด เนื้อหาใจความที่เกี่ยวเนื่องกับอัตลักษณ์/ตัวตนที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม, ความเป็นแม่, และรวมไปถึงเรื่องราวในชีวิตประจำ�วัน โดยทั้งหมดยังคงเกี่ยวพันถึงสิ่งที่ตกทอดมาจากวัฒนธรรมเกาหลี, สุนทรียะตามแบบฉบับของจีน และชีวิตความเป็นอยู่ในประเทศไทย เธอ เคยจัดแสดงผลงานเดี่ยว ทั้งที่ Beijing International Art Palace Museum และที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากนี้เธอยัง เคยร่วมในนิทรรศการกลุ่ม ทั้งที่ศูนย์วัฒนธรรมเกาหลี ในกรุงเทพฯ, Center of Visual Art Boda ในโซล, Mu Project ในวอชิงตัน ดี.ซี. และ Central Academy of Fine Arts ในปักกิ่ง สำ�หรับนิทรรศการครั้งใหม่ “A Space to Exist – พื้นที่เพื่อการดำ�รงอยู่” Gi-ok ยังคงพัฒนางานในชุดนี้โดยใช้ภาพของลูกสาวต่อเนื่อง มาจากผลงานที่จัดแสดงในนิทรรศการครั้งก่อน “Playful Prayer – หยอกเย้า เว้าวอน” เมื่อปี 2011 นิทรรศการเดี่ยวครั้งนี้นับเป็นการ แสดงผลงานครั้งแรกในรอบ 5 ปี และในครั้งนี้ เธอได้เลือกใช้มุมมองที่ต่างออกไปในการถ่ายทอดอารมณ์ออกมาในผลงาน Gi-ok บันทึก ภาพพัฒนาการของลูกสาวเก็บไว้มาโดยตลอดตั้งแต่ปี 2011-2016 จนถึงวันนี้มุมมองของเธอที่มีต่อภาพของลูกสาวได้เปลี่ยนแปลงไป จากภาพของลูกสาวที่ถูกรับรู้ด้วยมุมมองของผู้เป็นแม่ ในวันนี้ลูกสาวของเธอได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ด้วยตัวของเธอเอง นิทรรศการในครั้งนี้ถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน สำ�หรับส่วนของงานจิตรกรรมส่วนแรก ศิลปินเลือกให้คำ�จำ�กัดความไว้ว่า “Spatiotemporal Movement - การเคลื่อนไหวแห่งพื้นที่และห้วงเวลา” งานศิลปะในชุดนี้ถูกสร้างขึ้นโดยการใช้ผ้าพื้นบ้านของไทยอย่าง “ผ้าถุง” บนกระดาษ ใยข้าวของเกาหลี ในครั้งนี้เธอจัดวางที่ทางของ “ผ้าถุง” ไว้บนพื้นที่ที่ใหญ่ขึ้นเพื่อใช้เน้นย้ำ�ความเคลื่อนไหวบนงานจิตรกรรม (แทนที่จะ ใช้เพียงเพื่อเป็นส่วนเสริมในรายละเอียดเท่านั้น) ผลงานชุด “ผ้าถุง – Patoong” นี้ได้ปรากฎร่วมกันบนภาพจิตรกรรมของเธอมาตั้งแต่ ปี 2011 และยังคงถูกใช้ควบคู่กันมากับการพัฒนาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของเธอ ในฐานะศิลปินผู้พลัดถิ่น เธอได้หยิบเอาตัวตนที่มี ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และความสัมพันธ์ที่เธอมีต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบันตลอดจนความผูกพันต่อสถานที่ต่างๆ ในสังคมไทยมา เน้นย้ำ�ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น

“ในฐานะของมนุษย์คนหนึ่ง อัตลักษณ์และตัวตนของเรานั้นเป็นเรื่องธรรมดาสามัญ ที่เกี่ยวข้องกับผู้คนมากมาย แต่ในหลายครั้งเรากลับ เลือกที่จะไม่หยิบมาพูดถึง เว้นเสียแต่ว่าเราจะมีพื้นเพภูมิหลังบางอย่างร่วมกัน อัตลักษณ์นั้นเป็นประเด็นสำ�คัญในงานของฉัน เพราะฉันอาศัย อยู่ในเมืองไทยมาเป็นเวลานาน แต่ถึงอย่างนั้นก็ตาม งานครั้งนี้ก็ไม่ได้พูดถึงแต่เรื่องของอัตลักษณ์และตัวตนแต่เพียงอย่างเดียว ประเด็น เรื่องนี้ถูกนำ�มาต่อยอดไปยังเรื่องของ “พื้นที่” และ “ความสัมพันธ์” ซึ่งฉันให้ความสนใจมาโดยตลอดอีกด้วย พื้นที่บนผืนผ้าใบนั้นแสดง ภาพลูกสาวของฉันในอิริยาบถต่างๆ, พื้นที่บนภาพที่ลวดลายของผ้าถุงกำ�ลังพลิ้วไหวราวกับมีชีวิต, พื้นที่ในชีวิตประจำ�วันของฉัน, พื้นที่ ภายในนิทรรศการที่ผลงานศิลปะถูกติดตั้งไว้ – ทั้งหมดนี้ “พื้นที่” เป็นเงื่อนไขสำ�คัญที่ทำ�ให้ทุกสิ่งนี้มีตัวตนอยู่ได้ มันสื่อถึงตัวตนของทุก สิ่ง และเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ในแง่มุมนี้ “พื้นที่” จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญในงานศิลปะของฉัน”


ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา Gi-ok ได้รับรู้ถึงตัวตนที่ชัดเจนขึ้นของตัวเอง และได้เพิ่มสื่อชนิดใหม่เข้ามาในนิทรรศการครั้งนี้ นั่นคือ ผ้าเกาหลี “ฮันบก” เธอค้นหาตัวตนของตัวเองผ่าน 2 วัฒนธรรมที่เป็นพื้นเพดั้งเดิมของเธอ และกำ�ลังปรับตัวเข้าสู่วัฒนธรรมที่ 3 เมื่อเปรียบเทียบกับผ้าถุงแล้ว ฮันบกถือเป็นตัวแทนของอัตลักษณ์สำ�คัญที่สามารถบ่งบอกการดำ�รงอยู่ของเธอได้ชัดเจนที่สุด นอกเหนือไปจากผ้าฮันบกแล้ว Gi-ok ยังได้เพิ่มรายละเอียดด้วยศิลปะการต่อผ้าแบบเกาหลีลงไปบนงานจิตรกรรมอีกด้วย สำ�หรับ ผู้หญิงเกาหลีแล้ว การต่อผ้าชิ้นเล็กๆ บอบบาง หลากสีสันเข้าด้วยกันด้วยเส้นด้าย นับเป็นธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติสืบทอดกัน มาอย่างยาวนาน ในงานนิทรรศการครั้งนี้ Gi-ok ได้เลือกแสดงสัญญะจากแผ่นดินเกิดให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ผ้าถุงของไทยและผ้าฮันบก ของเกาหลีนี้มีข้อแตกต่างที่ชัดเจน นั่นคือ ผ้าถุงของไทยนั้น หนัก หนา และมีลวดลายที่ซับซ้อน ในขณะที่ผ้าฮันบกนั้น โปร่งแสง บางเบา และเป็นเพียงสีพื้นปราศจากลวดลาย “Space over Translucency – พื้นที่ เหนือละอองแสง” ประกอบไปด้วยงานสามมิติและงานศิลปะจัดวางที่แสดงถึงความ งดงามของแสงที่ลอดผ่านความโปร่งแสงของเครื่องกระเบื้องโบนไชน่า สภาวะโปร่งแสงเช่นนี้จะเกิดขึ้นได้อย่างสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ ดินถูกนำ�มาขึ้นรูปให้บาง จากนั้นจึงนำ�ไปอบด้วยความร้อนสูง เหตุที่ศิลปินเลือกใช้งานโบนไชน่ามาเป็นส่วนหนึ่งของงานก็เพราะ เนื้อสีขาวบริสุทธิ์และความบอบบางของมันเปรียบได้กับผืนกระดาษและผ้าใบ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับงานจิตรกรรมจีนแล้ว สิ่งนี้จึง เหมือนกับใช้เทคนิคการวาดภาพด้วยหมึกดำ�แบบโบราณลงบนผิวของเครื่องกระเบื้องพอร์ซเลนนั่นเอง นอกจากนี้ดินชนิดนี้ยังมี คุณสมบัติเฉพาะที่แตกต่างจากดินชนิดอื่นๆ ตรงที่จะกลายเป็นวัตถุโปร่งแสงเมื่อผ่านความร้อนสูงจนกลายเป็นพอร์ซเลน ความ งดงามจากคุณลักษณะโปร่งแสงของเนื้อวัสดุนี่เองที่ช่วยสร้างสรรค์จินตนาการให้แก่ผู้ชมงาน นอกจากนี้งานชุดนี้ยังถูกเสริมให้ สมบูรณ์ขึ้นด้วยการนำ�เอาผ้าฮันบกมาเป็นส่วนประกอบ ผ้าชนิดนี้ไม่เพียงแต่จะงดงามด้วยสีที่สดใสในตัวมันเองเท่านั้น แต่ยังสื่อ ถึงอัตลักษณ์แห่งความเป็นเกาหลีอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผ้าฮันบกซึ่งถักทอมาจากเส้นไหมแฝงไว้ด้วยความสุนทรีย์อันน่า พิศวง สะท้อนถึงความงามจากความโปร่งแสงในลักษณะที่แตกต่างไปจากเครื่องกระเบื้องโบนไชน่า เมื่อนำ�มาไว้ด้วยกัน ทั้งสอง สิ่งนี้ต่างเป็นสัญลักษณ์ถึงความดิ้นรนของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในโลกยุคปัจจุบัน นั่นคือ การประกอบขึ้นจากองค์ประกอบ หลายๆ อย่างจนกลายเป็นสิ่งใหม่ที่ไม่ได้มีรูปแบบที่เสร็จสมบูรณ์ตายตัว แต่พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สิ่งสำ�คัญอีกอย่างในนิทรรศการครั้งนี้ก็คือ งานส่วนที่ 3 ที่มีชื่อว่า “Structural Intermediacy – สื่อกลางแห่งเรื่องเล่า” งานชิ้นนี้ประกอบไปด้วยจิตรกรรมบนผืนผ้าที่ถูกตัดเป็นแนวยาวหลายผืน ทอดตัวภายในพื้นที่ของแกลลอรี่จากพื้นจรดเพดาน ในขณะที่ผืนผ้าเคลื่อนไหวอยู่กลางอากาศลวดลายบนผ้าเหล่านั้นก็จะเคลื่อนไหวตามไปด้วยเช่นเดียวกัน และเช่นเดียวกับผลงาน ในชุดอื่นๆ ลิลลี่...ลูกสาวของเธอยังคงเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดภาพความคิดของศิลปินออกมา ภาพลวงตาอันเกิดจากการ เคลื่อนไหวระหว่างพื้นที่จริงและพื้นที่ในจินตนาการนี้เองที่เป็นจุดสำ�คัญในงานชิ้นนี้ มันคือการเน้นย้ำ�ให้เห็นถึงการดำ�รงอยู่อย่าง ไม่ยั่งยืนของบุคคลที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมอยู่ในตัว พื้นที่ที่งานศิลปะชิ้นนี้ถูกนำ�มาจัดแสดงเป็นตัวแทนถึง “พื้นที่” อันเป็นเงื่อนไขสำ�คัญที่ทำ�ให้ทุกสิ่งนี้มีตัวตนอยู่ได้ มันสื่อถึงตัวตนของทุกสิ่ง และเชื่อมโยงสิ่งต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน ในแง่มุมนี้ “พื้นที่ – space” จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญในงานศิลปะของเธอ หอศิลป์ศุภโชค ดิ อาร์ท เซ็นเตอร์ ขอขอบคุณในความร่วมมือและการสนับสนุน จากกระทรวงวัฒนธรรม ประเทศเกาหลี มา ณ.ทีนี้เป็นอย่างยิ่ง


Spatiotemporal Movement 14 107 x 88 cm. Ink on Korean paper, Hanbok fabric patchwork collage 2016



Spatiotemporal Movement 1 85 x 85 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage 2016



Spatiotemporal Movement 2 85 x 85 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 3 85 x 85 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 4 85 x 97 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage Needlework 2016


Spatiotemporal Movement 5 85 x 97 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage Needlework 2016


Spatiotemporal Movement 13 53 x 53 cm. in diameter, Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric collage 2016



Spatiotemporal Movement 10 53 x 53 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 11 53 x 53 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 9 53 x 53 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 12, 53 x 53 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 15 53 x 72 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper, Hanbok fabric collage 2016



Spatiotemporal Movement 16 53 x 72 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper, Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 17 53 x 72 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper, Hanbok fabric collage 2016


Spatiotemporal Movement 8 100 x 100 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric patchwork collage 2016



Spatiotemporal Movement 6 100 x 100 cm. in diameter Ink and color on Thai bamboo paper Hanbok fabric patchwork collage 2016


Spatiotemporal Movement 4 85 x 97 cm. Ink and color on Korean paper, Patoong fabric collage Needlework 2016


Structural Intermediacy 1 120 x 180 cm. Ink on calico 2016


Structural Intermediacy 2 120 x 180 cm. Ink on calico 2016


Gi-ok Jeon Education 2011 - 2014

Printmaking, Department of Visual Arts, Faculty of Fine and Applied Arts,

Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

1996 - 1998 1989 - 1994

MFA (Chinese Painting) School of Chinese Painting, Central Academy of Fine Arts, Beijing, China

BFA (Oriental Painting) College of Fine Arts, Duk Sung Women’s University, Seoul, Korea

Artist in Residence 2010

(November) - 2011(March)

Department of Visual Arts, Faculty of Fine and Applied Arts, Chulalongkorn University,

Bangkok, Thailand Lecture: Asian Ink Painting

Solo Exhibition 2014

Playful Prayer, Rotunda Gallery and Garden Gallery & Café of Neilson Hays Library, Bangkok, Thailand

2012

Dwelling in a Space, Galerie N, Bangkok, Thailand

2010

Embroidery a Space, Garden Gallery & Café and Outdoor Garden of Neilson Hays Library, Bangkok,

Thailand

2009

Embroidery a Space, Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

2006

Room of Imagination, Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

2003

Moments of Life, Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

1998

Landscape, Beijing International Art Palace Museum, Beijing, China


Selected Group Exhibition 2015

Intermezzo, Korean Cultural Center, Bangkok, Thailand

10th International Art Festival and Art Workshop, Poh Chang Academy of Arts, Rajamangala

University of Technology Rattanakosin, Bangkok, Thailand

2014

Faith, Chamchuri Art Gallery, Bangkok, Thailand

Bangkok Clay Connections Contest, Hof Art Space, Bangkok, Thailand

Culture & Social cost - International Work of Art Workshop, Art Gallery of Khon Kaen

University, Khon Kaen, Thailand

Hotel Art Fair 2, LUXX XL Hotel, Bangkok, Thailand

2013

Art No Wall Project - Art Workshop, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand

From Hangang to Chaopraya, Korean Cultural Center, Bangkok, Thailand

Reflection of nature, Chiang Mai University Art Center, Chiang Mai, Thailand

2012

From Hangang to Chaopraya, The National Gallery & Jamjuree Art Gallery, Bangkok, Thailand

Tosaniyom – Woodcut Exhibition, Jamjuree Art Gallery, Bangkok, Thailand

Khum Pa Pan – Woodcut Exhibition, CM Museum, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

2011

Return to Intimacy, The Art Center, Center of Academic Resources, Chulalongkorn University,

Bangkok, Thailand

Dawn of humanity, CM Museum, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

Point feed Project, Gallery Boda, Center of Visual Art Boda, Seoul, Korea

2010

Open Studio, @Bongalleria, Bangkok, Thailand

2009

Art Festival, Neilsonhays Libray, Bangkok, Thailand

2008

Surface / Tension, Shigeko bork - Mu Project, Washington D.C. USA

Music through Art, Art Republic, Bangkok, Thailand

10 Women’s 10 Corners, Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

2007

Line & Color, Marsi Gallery, Suan Pakkad Palace Museum, Bangkok, Thailannd

2006

Sense of Seasons, Jamjuree Art Gallery, Bangkok, Thailand

2005

Encounter - Landscape, i, Booth Art Gallery & Studio, Bangkok, Thailand

2004

Sketch in Memory, Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

1998

M.F.A Candidates Thesis Exhibition, CAFA (Central Academy of Fine Arts) Museum, Beijing, China


Subhashok The Arts Centre 160/3 Soi Sukhumvit 33 (Daeng Udom) Sukhumvit Rd., Klong ton Nue, Wattana Bangkok 10110 Thailand Tel : (66) 2 258 5580 ext 401 Email : subhashok.manager@gmail.com Facebook/sacbangkok




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.