LOOKING AND SEEING

Page 1



Pichai Pongsasaovapark


Thanks and Acknowledgments

Thank you to the following for their articles for this exhibition: Tawadchai Jirapark Songdej Thipthong Mana Yaprakham Saman Suppasri Misho Neeraj Ajmani Lanier Graham Thank you for video : Pitch Tangpun Thank you for photography : Preecha Pattaraumpornchai Special thanks to Mr. Subhashok Angsuvarnsiri and the entire Team at Subhashok The Arts Centre, Bangkok.

Organized by : Subhashok The Arts Centre Director : Sithikaj Angsuvarnsiri Curator & Chief Editor : Jongsuwat Angsuvarnsiri Editor : Suphita Charoenwattanamongkhol Graphic Design : Saruda Suansa-ard Translate : Sunida Supantamart Proofreader : Suphita Charoenwattanamongkhol Coordinator : Suchada Klinchun Chuthamat Suwannasri Linjie Zhou Production: Phansak Kaeosalapnil Boonyakorn Jaroenpol


Looking and Seeing The greatest thing a human soul ever does in this world is to see something and tell what it saw in a plain way. Hundreds of people can talk for one who can think, but thousands can think for one who can see. To see clearly is poetry, prophecy and religion, all in one,

--John Ruskin British author, artist and art critic

This exhibition visualizes, through both digital photography and a process of simulating urban flooding and capturing exhaust emissions from motorized vehicles, the impact on human beings from global climate change, addressing issues such as flooding, drought, and air pollution. In the Deluge series, the artist Pichai Pongsasaovapark simulated the impact of extensive flooding and rising sea levels on urban environments by soaking canvasses in tanks of water, mixed with pollutants, such as motor oil, clay, sludge, foodstuffs and beverages, household detergents, chemical products, plastics, and biological contaminants. The canvasses were then dried, painted, and placed in vats filled with water and clay, glue, synthetic plastic wrappings, botanicals, and acrylic paints to approximate conditions when urban areas are inundated. Finally removing, drying, and repainting with motor oil, the results are tapestry-like works reflecting the unsettling beauty from the flotsam and jetsam of urban floods. In the Drought series, he overlaid photographs of drought-stricken rice farms and arid landscapes taken in northeast Thailand with photographs of the farmers most directly impacted by the unforgiving weather, capturing both their resignation and the heartbreaking sadness of their fading away with their land, their faces expressing a stoic acceptance of the harsh reality befallen them. In The Air We Breathe series, he created stunningly beautiful images, seeming reproductions of a field of flowers, by capturing exhaust emissions from such motorized vehicles as motorcycles, automobiles, trucks, rice combines, triller and vans. However, when one realizes that what is on the canvas is actually the physical manifestation of something dangerous to our health and a contributor to global climate change, the impact is immediate in creating awareness of the threat caused by air pollution. “I believe that everything in the world is interconnected,” says Khun Pichai, “and it is not too late to learn how to live and work together in balance with Nature. Of course, art itself cannot change the world, but sometimes, in looking at art, you see something that you did not anticipate. It is then, when art has moved us, making us think and feel, that it has transcended the canvas and made a difference in our lives.” Pichai Pongsasaovapark Artist


ดวงตาที่มองผ่านสู่การเห็นอันลึกซึ้ง สิ่งประเสริฐสุดที่จิตวิญญาณมนุษย์ได้กระทำ�ในโลกนี้ คือการเห็นบางอย่างและบอกเล่าสิ่งที่เห็นนั้นด้วยวิธีที่ ง่ายๆ ผู้คนนับร้อยสามารถพูดสิ่งที่คนอื่นคิด และผู้คนนับพันสามารถคิดเกี่ยวกับสิ่งที่คนอื่นเห็น การเห็นที่ ชัดเจนเป็นบทกวี เป็นปรัชญา และเป็นศาสนา ทุกอย่างเหล่านี้คือสิ่งเดียวกัน --จอห์น รัสกิน นักเขียน ศิลปิน และนักวิจารย์ศิลปะ ชาวอังกฤษ “Looking and Seeing : ดวงตาที่มองผ่านสู่การเห็นอันลึกซึ้ง” นิทรรศการกล่าวถึงปัญหาทีเ่ กิดจากภาวะโลกร้อนใน 3 บริบท ได้แก่ ปัญหาอุทกภัย ปัญหาภัยแล้ง และปัญหา มลพิษ ผลงานศิลปะของเขาเป็นเสมือนบันทึกของสมมติฐานศิลปินท้าทายกติกาการสร้างสรรค์จต ิ รกรรมทีค ่ น ุ้ ชิน โดยใช้มลภาวะทีร่ อบล้อมตัวมนุษย์เป็นดัง่ เช่นสีสน ั และทีแปรง ปัญหาอุทกภัย ศิลปินได้ท�ำ การจำ�ลองแทงค์ น้ำ�ที่มีมลภาวะปะปน เช่นน้ำ�มันเครื่องยนต์ ดินโคลน กากตะกอน เศษอาหาร เครื่องดื่ม ผงซักฟอก เคมีภัณฑ์ พลาสติก สี และ สิ่งปฏิกูลชีวภาพ และได้นำ�ผ้าใบเข้าไปสร้างกระบวนการบางอย่างร่วมกับน้ำ� โดยทำ�ซ้ำ�ๆ สังเกตการณ์ผลงานแต่ละชิน ้ เป็นเวลาร่วม 4 เดือน ศิลปินตัง้ ใจจะจำ�ลองสถานการณ์ชวี ต ิ ทีต ่ อ ้ งอยูใ่ นสภาพน้�ำ ท่วมขังในเขตเมืองเป็นเวลานานๆเหมือนทีเ่ คยเกิดขึน ้ เมือ ่ พ.ศ.2554 ผลของกระบวนการสุดท้ายสร้างความตก ตะลึงถึงความงามแฝงความน่ากลัวที่ปรากฏบนผืนผ้าใบ ปัญหาภัยแล้ง ศิลปินได้สร้างสรรค์ผลงานภาพถ่าย ทีถ ่ า่ ยทอดสภาพความแห้งแล้งกันดารในพืน ้ ทีภ ่ าคอีสาน ผลงานภาพถ่ายชุดนีส ้ ะท้อนถึงใบหน้าของผูค ้ นทีแ ่ วว ตาฉายชัดถึงการยอมรับโดยดุษฎี ต่อการสูญเสียอันเป็นชะตากรรมโหดร้ายที่เกิดจากภัยธรรมธรรมชาติและ น้�ำ มือมนุษย์ และปัญหามลพิษ ศิลปินสร้างสรรค์ภาพอันงดงามน่าอัศจรรย์ ซึง่ เมือ ่ มองดูเผินๆ เสมือนภาพทุง่ ดอกไม้เบ่งบาน แต่หากมองอย่างลึกซึง้ แล้วทำ�ให้รวู้ า่ ภาพเหล่านัน ้ แท้ทจ ี่ ริงเกิดจากไอเสียเครือ ่ งยนต์ ของยาน พาหนะชนิดต่างๆ เช่น จักรยานยนต์ รถยนต์ รถหกล้อ รถสีข้าว รถไถนา และรถตู้ เป็นต้น “ผมเชื่อว่าทุกอย่างบนโลกนี้มีความเชื่อมโยงต่อกันนะ และขณะนี้ก็ยังไม่สายเกินไปที่จะเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน กับธรรมชาติอย่างสมดุล ร่วมไม้ร่วมมือที่ปกป้องรักษาธรรมชาติไว้ แน่นอนว่า ศิลปะนั้นในตัวของมันเองไม่ อาจเปลี่ยนแปลงโลกได้ แต่ในบางคราวขณะที่คุณมองงานศิลปะคุณจะเห็นบางสิ่งบางอย่างที่คุณคาดไม่ถึง ตอนนั้นนั่นเองที่ศิลปะจะทำ�ให้คุณหยุดและหันกลับไปมองอีกครั้ง เกิดการสื่อสารกระทั่งทำ�ให้เราได้ฉุกคิด และรู้สึกกับมัน เหมือนตัวงานศิลปะกำ�ลังกระโจนออกจากผืนผ้าใบมากระตุ้นเตือนให้เรามองย้อนกลับไปเห็น ปัญหาที่เรากำ�ลังเผชิญ” พิชัย พงศาเสาวภาคย์ ศิลปิน


Tawadchai Jirapark

Quality artwork of an artist with the will to develop his artistic creation for his artwork to be internationally accepted. The artist, Mr. Pichai Pongsasaovapark, has achieved this as seen in his art exhibitions that have been held both in Thailand and foreign countries. The exhibitions were well-accepted by those who appreciate artwork and artists. Mr. Tawadchai Jirapark Assistant education officer at the Hat Yai Metropolitan Art Center in Honor of His Majesty the King ผลงานศิลปะคุณภาพของศิลปินทีม ่ ค ี วามตัง้ ใจะพัฒนาสร้างงานศิลปะให้เป็นทีย ่ อมรับสูร่ ะดับสากล โดยทางศิลปิน คุณพิชย ั พงศาเสาวภาคย์ ก็ได้ทำ�สำ�เร็จแล้วดังเช่นการจัดแสดงผลงานศิลปะทั้งในและต่างประเทศที่ผ่านมาซึ่งได้รับการยอมรับเป็น อย่างดีจากทั้งผู้ที่ชื่นชอบงานศิลปะและจากกลุ่มศิลปิน นายธวัฒชัย จิระภาค ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา ประจำ�หอศิลป์นครหาดใหญ่ เฉลิมพระเกียรติฯ

Mana Yaprakham

I know Mr. Pichai Pongsasaovapark and I have always followed his journey on the artistic path as a friend and member of the group of artists called Issara Pattaya. He is a very nice person, sincere and altruistic, and thus always dear to his friends and other people. He is very clever, creating artwork according to his own competence, making it unique. Mr. Pichai is never static and he is intent on acquiring more knowledge. Thus, he was inspired to pursue a master’s degree in art and study art in a foreign country, and he did not cease to create work and had his work displayed in exhibitions continually, so his work is a product of great development. For the Looking and Seeing exhibition, which is held from 21 January – 26 February 2017 at Subhashok The Arts Centre, I believe that this exhibition will be another proof of Mr. Pichai Pongsasaovapark’s determination and unyielding perseverance to keep on creating precious artworks to grace the artistic circle. I would like to send my good wishes for this exhibition to be successful in every way expected. Mana Yaprakham, President of Pattaya Culture Council กระผมได้รจ ู้ ก ั และติดตามการเดินทางบนเส้นทางศิลปะของคุณพิชย ั พงศาเสาวภาคย์ มาโดยตลอดในฐานะเพือ ่ น และสมาชิก กลุม ่ ศิลปินอิสระพัทยา คุณพิชย ั เป็นคนทีม ่ อ ี ธ ั ยาศัยดีมาก มีความจริงใจและมีจต ิ อาสา จึงเป็นทีร่ ก ั ของเพือ ่ นๆและผูอ ้ น ื่ เสมอ คุณพิชย ั มีความชาญฉลาดมากทีส ่ ร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความถนัดของตนเองจนผลงานมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน คุณพิชัยไม่เคยหยุดนิ่งและมุ่งมั่นที่จะหาความรู้เพิ่มเติม จึงเป็นแรงบันดาลใจให้คุณพิชัยไปเรียนปริญญาโทด้านศิลปะและ ไปศึกษาด้านศิลปะยังต่างประเทศ และยังไม่หยุดนิ่งที่จะสร้างสรรค์ผลงานและแสดงนิทรรศการอย่างต่อเนื่อง ทำ�ให้ผล งานเกิดการพัฒนาขึ้นอย่างมาก นิทรรศการ Looking and Seeing ซึ่งมีการจัดแสดงในวันที่ 21 มกราคม -26 กุมพาพันธ์ 2560 ณ หอศิลป์ศุภ โชค ดิ อาร์ตเซ็นเตอร์ ผมเชื่อว่านิทรรศการนี้ จะเป็นบทพิสูจน์อีกครั้งถึงความมุ่งมั่นพากเพียรไม่ย่อท้อ ของคุณพิชัย พงศาเสาวภาคย์ ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันทรงคุณค่าประดับไว้แก่วงการต่อไป ผมขอส่งความปรารถนาดี ขอให้ นิทรรศการครั้งนี้ประสบความสำ�เร็จ ตามที่มุ่งหวังทุกประการ มานะ ยาประคำ� ประธานสภาวัฒนธรรมเมืองพัทยา


F. Saman Suppasri

About the path of contemporary art, some art scholars still have conflicting ideas, debating modern art and post-modern art. Regarding the path of change from the avant-garde concept, in French, avant-garde refers the frontline military troop, the foremost part of the army that advances into the battlefield. At present, this word can be used with any group, especially artists who regard their own artwork as having creativity and novelty and being more advanced than many people’s work. This concept is applied with work created by artists and intellectual perspectives of intellectuals that lead to new economic, social, political, artistic and cultural landscapes for society to follow. The next current of thought is the after-avant-garde current. The self-contradictory post-avant-garde concept is linked with the post-modernist discourse. Contemporary art is universal art. The motion and notion of the avant-garde concept that propelled modernism were different. The artists, architects, critics, and public started to understand these dynamics and created a new standpoint, the post-avant-garde concept. It is quite obvious that the post-avant-garde concept was an important part of the process of restructuring the thought system that dominated and directed the taste of beauty in traditionalism. While scholars were criticizing sociopsychological views, creative artists all over the world still earnestly created artwork in their own ways without being concerned about or asking to which genre or period their work belonged; one of those artists was Pichai Pongsasaovapark. Still, the thought distillate, the expression of the work, reflects contemporariness with the context of such criticism. For the issue of thought, it seems that scholars, art historians, and curators of the world of art should be the ones to do the categorization for the education of the later generations. As regards Pichai Pongsasaovapark, the artist who has his work displayed in this exhibition, he has an interesting educational background. He holds a bachelor’s degree from the Faculty of Science, Industrial Technology major, Architecture programme, Chandrakasem Rajabhat University. With the nature of the science of architecture being about the beauty and conspicuousness of structure, the architectural influence in some of the works can be seen in the composition with emphasis on geometric shapes, overlapping rectangular and triangular boxes and so on. For the master’s degree level, he studied at the Faculty of Fine Arts, Visual Arts programme, Chiang Mai University, which is one very famous source in Thailand from which artists and creative individuals are produced. The two institutions at the master’s and bachelor’s degree levels fully laid an important foundation in academic skills for the artist Pichai. After graduating in Thailand, he constantly did artwork to contribute to exhibitions in Thailand and other countries with diligence and zeal for seeking new things. He decided to travel to San Francisco, USA to continue his study and received the Certificate in Museum and Gallery Studies, California State University, East Bay, Hayward, California, in the US, the country that is a model of the world’s important modern and contemporary artwork, artistic environment, people’s taste, liberty, acceptance of differences and admiration. The Museum of Modern Art is a place where modern art pieces are collected. About the city’s environment, there are a large number of art museums, and there are both modern and contemporary art, architectural and design works, paintings, sculptures, photographs, artistic publications, books and catalogs. There are exhibitions showing works by American artists and works from around the world, films and electronic media. Pichai received the influence and absorbed the universality of the works to the highest degree, resulting in his own modern art. The work in this solo exhibition of Pichai Pongsasaovapark is very interesting. Firstly, the basic principles of visual elements, line and color, are applied appropriately, moderately, and beautifully. The second thing is artistic composition; there are unity and balance, which make the works outstanding, easy to be perceived and appreciated. The works are done in the abstract style with idiosyncratic techniques. The conveyance of the messages through the work does not emphasize induction of understanding like the conveyance through realistic works as seen by the eye. Instead, the artist wanted the viewers to feel the emotions of the lines, colors, values and surfaces. These represent the emotional values more profoundly. The artist was clever at interpreting and comprehending the social way of life. The environment, the colors of the city’s nature, traces of emotions, the subconscious, all were distilled through the courage to express and skillfulness. The application of the concept of universality existing in western art is the distinctive quality of the concepts, shapes, procedures or methods of creating artworks in accordance with the former period or movement. Viewing Pichai’s work is like traveling into participation in the imagination or dreams of the artist. It makes one feel as if the seasons, reveries, color schemes in nature, the sky, sea, earth, water, air and fire, the important elements, are used as hidden messages. As evident from the skill and technique of using colors to paint in a playful way, the works moving freely and vigorously, the artist expressed the most important part of the work, which interestingly gives it a characteristic style. If you are interested in finding out more about the artist Pichai Pongsasaovapark, you can follow the information at www.artslant.com/global/ artists/show/397333-pichai-pongsasaovapark. F.Saman Suppasri Faculty of Fine and Applied Art, Burapha University


อ. สมาน สรรพศรี เส้นทางศิลปะร่วมสมัย Contemporary Art นักวิชาการทางศิลปะบางส่วนยังมีความคิดเห็นขัดแย้งถกเถียงกันว่าศิลปะ สมัยใหม่ ศิลปะหลังสมัยใหม่จนถึง ในวิถท ี างของการเปลีย ่ นแปลงจากแนวคิดอะวองการ์ด avant-garde ในภาษาฝรัง่ เศส หมายถึงทหารกองหน้า ใช้สว่ นหน้าสุดของกองทัพทีบ ่ ก ุ ไปในสนามรบ ในปัจจุบน ั คำ�นีถ ้ ก ู ใช้กบ ั กลุม ่ ใดๆ ก็ได้ โดยเฉพาะศิลปิน ที่เห็นว่าผลงานศิลปะของตนเองเอง มีความริเริ่มสร้างสรรค์แปลกใหม่และก้าวล้ำ�ไปกว่าคนจำ�นวนมาก แนวคิดนี้ถูกใช้กับ ผลงานที่สร้างโดยศิลปินและทัศนะทางปัญญาของปัญญาชน ที่เปิดทางชี้นำ�ไปสู่ภูมิทัศน์ใหม่ทางเศษฐกิจสังคมการเมือง และศิลปะวัฒนธรรม ให้สังคมได้เดินตาม คลื่นความคิดถัดมามาคือ หลังอะวองการ์ด แนวคิดโพสท์อะวองการ์ด (post avant-garde) ที่มีความย้อนแย้งในตัวนั้น เชื่อมโยงอยู่กับวาทกรรมของลัทธิโพสท์โมเดิร์นนิสม์ (post-modernism ) ศิลปะร่วมสมัยคือศิลปะสากล แนวคิดอะวองการ์ดทีผ ่ ลักดันลัทธิโมเดิรน ์ นิสม์ไปข้างหน้านัน ้ ความเคลือ ่ นไหวและแนวความ คิดต่าง ศิลปิน สถาปนิก นักวิจารณ์ และสาธารณชนเริ่มที่จะเข้าใจพลวัตรเหล่านี้และได้สร้างจุดยืนใหม่ เป็นแนวคิดโพสท์ อะวองการ์ดPost Avant-Garde ค่อนข้างชัดเจนว่าแนวคิดโพสท์อะวองการ์ดเป็นส่วนสำ�คัญหนึง่ ของกระบวนรือ ้ ระบบคิด การครอบงำ�ชีน ้ �ำ รสนิยมความงามในแบบแผนนิยม. ในขณะทีน ่ ก ั วิชาการวิพากษ์ทศ ั นะทางจิตวิทยาสังคมแต่เหล่าศิลปินนัก สร้างสรรค์ทั่วโลกยังคงตั้งหน้าตั้งตาทำ�งานศิลปะในแบบแผนของตนเองโดยไม่ได้ใส่ใจหรือถามว่างานศิลปะของตนเอง เป็นงานแบบไหนยุคไหนหนึ่งในนั้นก็คือ ศิลปินนาม พิชัย พงศาเสาวภาคย์ แต่ผลึกความคิดการแสดงออกของผลงานก็ สะท้อนความเป็นร่วมสมัยกับบริบทการวิพากษ์ที่กล่าวมาเช่นเดียวกัน. ปัญหาทางความคิดคงต้องปล่อยให้นักวิชาการนัก ประวัติศาสตร์ศิลป์และภัณฑารักษ์ของโลกศิลปะทั้งหลายไปจัดหมวดหมู่แบ่งแยกเพื่อการศึกษาสำ�หรับคนรุ่นหลังต่อไป. สำ�หรับพิชัย พงศาเสาวภาคย์ ศิลปินที่แสดงงานครั้งนี้มีภูมิหลังพื้นฐานด้านการศึกษาที่น่าสนใจ ระดับปริญญาตรี คณะ วิทยาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ธรรมชาติของศาสตร์ ด้านสถาปัตยกรรมคือความงามความเด่นชัดของโครงสร้าง อิทธิพลในผลงานบางส่วนปรากกฎในการวางองค์ประกอบ แบบเน้นรูปร่างรูปทรงแบบเรขาคณิตกล่องสี่เหลี่ยมสามเหลี่ยมซ้อนทับเหลื่อมกันๆลๆ การศึกษาระดับปริญญาโท ที่ คณะวิจิตรศิลป์ สาขาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นแหล่งผลิตศิลปิน นักสร้างสรรค์ที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งของ เมืองไทย ทั้งสองสถาบันในระดับปริญญาโทและตรี ได้ปูพื้นฐานสำ�คัญด้านทักษะฝีมือ แนว Academy ไห้กับศิลปิน พิชัย อย่างเต็มเปี่ยม หลังจากสำ�เร็จการศึกษาในเมืองไทยก็ได้ทำ�งานร่วมแสดงอยุjตลอดทั้งในประเทศและต่างประเทศด้วย ความขยันมุ่งมั่นแสวงหาสิ่งใหม่ๆ พิชัยตัดสินใจเดินทางไปศึกษาต่อที่นครซานฟานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา จนได้รับ Certificate in Museum and Gallery Study, California State University East Bay, Hayward, California, USA. อเมริกาประเทศต้นแบบงานศิลปะสมัยใหม่ ศิลปะร่วมสมัยสำ�คัญของโลก สิ่งแวดล้อมทางศิลปะ รสนิยมของผู้คน เสรีภาพการยอมรับในความแตกต่างการรู้จักชื่นชม พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ Museum of Modern Art เป็นที่เก็บ รวบรวมงานศิลปะสมัยใหม่ สิ่งแวดล้อมของเมือง มีพิพิธภัณฑ์ศิลปะมากมาย มีทั้งศิลปะสมัยใหม่ศิลปะร่วมสมัย มีผลงาน สถาปัตยกรรมและการออกแบบ, จิตรกรรม,ประติมากรรม, ภาพถ่าย, สิ่งพิมพ์และหนังสือศิลปะ สูจิบัตร แสดงผลงาน ของศิลปินอเมริกันและจากทั่วโลก, ภาพยนตร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์.ศิลปินพิชัยได้รับอิทธิพลและซึมซับความเป็นสากล ของงานมากที่สุดจนทำ�ให้เกิดศิลปะสมัยใหม่ของตนเอง. ผลงานการแสดงเดี่ยวชุดนี้ของ พิชัย พงศาเสาวภาคย์ น่าสนใจ มากประเด็นแรกเรื่องการประยุกต์หลักการพื้นฐานของทัศนธาตุ (Visual Element) เส้น สี มาใช้ ได้อย่างเหมาะสมลงตัว มีความพอดีสวยงาม เรือ ่ งทีส ่ องคือ องค์ประกอบศิลป์ มีความเป็นเอกภาพ มีความสมดุลย์จนทำ�ให้ผลงานโดดเด่นสามารถ รับรู้และเข้าถึงได้ง่าย รูปแบบของผลงานเป็นแบบนามธรรม (Abstract) เทคนิคของงานเป็นแบบเฉพาะตน เนื้อหาการ เล่าเรื่องผ่านผลงานไม่ได้เน้นให้เกิดความเข้าใจเหมือนงานรูปแบบเหมือนจริงตามตาเห็น แต่ศิลปินต้องการให้รู้สึกร่วมไป กับอารมณ์ของ เส้น สี น้ำ�หนัก พื้นผิว สิ่งเหล่านี้จะแสดงแทนค่าเชิงอารมณ์ได้อย่างลึกซึ้งมากกว่า ศิลปินฉลาดในการ ตีความและเข้าใจวิถีชีวิตทางสังคม สิ่งแวดล้อมสีสันของธรรมชาติของเมือง ริ้วรอยทางอารมณ์ความรู้สึก จิตใต้สำ�นึก ล้วนถูกกลั่นกรองผ่านความกล้าแสดงออกและความชำ�นาญในทักษะ การนำ�แนวคิดความเป็นสากลในรูปแบบศิลปะตะวัน ตกมาประยุกต์ เป็นเอกลักษณ์ของลักษณะแนวความคิด รูปร่างรูปทรง ขั้นตอน หรือ วิธีการสร้างงานศิลปะตามยุคสมัย หรือลัทธิเดิม การมองดูงานของพิชัย เหมือนประหนึ่งว่าเรากำ�ลังท่องเข้าไปสู่การมีส่วนร่วมกับจินตนาการความฝันของ ศิลปิน มีความรู้สึกเหมือนฤดูกาลต่าง ความฟุ้งฝัน ชุดโครงสีในธรรมชาติ ท้องฟ้า ท้องทะเล ดิน น้ำ� ลม ไฟ ธาตุที่สำ�คัญ ถูกนำ�มาเป็นเรื่องราวแฝง จากทักษะเทคนิคการแต่งแต้มสีสันอย่างสนุกสนานเคลื่อนไหวอย่างอิสระ มีพลังนับได้ว่าศิลปิน ได้แสดงส่วนสำ�คัญทีส ่ ด ุ ของงานออกมาจนมีความเป็นสไตล์แสดงลักษณะเฉพาะตน ( Characteristic) ได้อย่างน่าสนใจ. หากสนใจข้อมูลเพิ่มเติมของศิลปิน พิชัย พงศาเสาวภาคย์ สามารถติดตามได้ที่ www.artslant.com/global/artists/ show/397333-pichai-pongsasaovapark อ.สมาน สรรพศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสน


Songdej Thipthong All through my journey on the artistic road for over 20 years, I have met and come to know many artists in the visual art circle, people with diverse styles and ways, but not many people made me feel that they were special or interesting. Pichai Pongsasaovapark is one person who can never be ordinary no matter from which point of view or what he does. He is an art manager, designer and architect, and, importantly, he did not study art from the start, yet he could become an artist who creates works of art successfully. His work is accepted not only in Thailand; with the free manner of creation and novel, interesting presentation, there is contemporariness in his work, which has brought it to the status of being internationally accepted, a position reached by very few Thai artists, only those who are special and extraordinary. Songdej Thipthong Artist and President of Art Bridge Chiang Rai (ABCR)

ตลอดเส้นทางการเดินบนถนนสายศิลปะของผมที่มีมากว่า 20 ปี ได้พบได้รู้จักกับศิลปินในวงการทัศนศิลป์มากมาย ต่างคนหลากรูปแบบ หลายวิถี แต่ก็มีไม่กี่คนที่จะทำ�ให้เรารู้สึกว่าพิเศษหรือน่าสนใจ อาจารย์ พิชัย พงศาเสาวภาคย์ถือเป็นคนหนึ่งที่ไม่ว่าจะมองมุมไหนหรือทำ�อะไรก็ไม่ธรรมดา เป็นทั้งนักจัดการศิลปะ นักออกแบบ สถาปนิก ที่สำ�คัญคือไม่ได้ศึกษาศิลปะมาตั้งแต่ต้น แต่สามารถเป็นศิลปินสร้างสรรค์ศิลปกรรมที่ประสบ ความสำ�เร็จได้ ผลงานของอาจารย์พิชัยไม่เพียงแต่จะเป็นที่ยอมรับในประเทศเท่านั้น ด้วยรูปแบบการสร้างสรรค์อย่าง อิสระกับการนำ�เสนอที่แปลกใหม่น่าสนใจ ทำ�ให้ผลงานมีความร่วมสมัยจนก้าวไปเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งศิลปิน ไทยน้อยคนนักจะสามารถไปถึงจุดนั้นได้ นอกเหนือว่าจะเป็นศิลปินที่มีความพิเศษและไม่ธรรมดาเท่านั้น ทรงเดช ทิพย์ทอง ศิลปิน และ ประธานขัวศิลปะ จังหวัดเชียงราย (ABCR)


Misho As a gallery owner, I first met Pichai in 2013, during his visit to San Francisco, and we discussed the possibility of hosting an exhibit in my gallery. I was very impressed with the freshness and vitality of his work. His energy and enthusiasm, and the talent demonstrated in his paintings, convinced me that showing his work would be a worthy venture. The following year in September 2014, his solo exhibition, Remains to be Seen, opened at the Misho Gallery in San Francisco, California, with 18 gorgeous acrylic paintings. The show was very well received by collectors and art lovers, and Pichai’s professionalism made it a pleasure to organize. As an artist, after spending considerable time together during his exhibit, I realized that our approach to art was very similar in many ways. At the time, our working media were very different but the energy and passion were the same. Since then we have worked on three major exhibition projects together: 2 in 1 and Nature of the Work, and in October 2015, a show that he curated and in which he participated, Living in an Abstract World, were all very well received. I found it to be a pleasure working with him, and his ability to work with me, infusing his ideas and respecting mine, has allowed us to create works that go well beyond a mere collaboration. Misho Artist and Owner, Misho Gallery San Francisco, California

ในฐานะเจ้าของแกลอรี่ ผมได้รู้จักกับพิชัยในปี 2013 ในช่วงที่เขาเดินทางอยู่ใน ซานฟรานซิสโก และเราได้พูดคุยกันถึง ความเป็นไปได้ในการจัดแสดงผลงานของเขาในแกลอรีข่ องผม ผมประทับใจเป็นอย่างมากกับความสดใหม่และความมีชวี ต ิ ชีวาของงานของเขา อีกทั้งพลังงานและความกระตือรือร้น ความสามารถที่ถูกถ่ายทอดออกมาในผลงานศิลปะ เขาทำ�ให้ผม เชือ ่ ว่าการแสดงงานของเขาทีแ ่ กลอรีผ ่ มจะเป็นการตัดสินใจทีค ่ ม ุ้ ค่า ในปีตอ ่ มาในช่วงเดือนกันยายน 2014 นิทรรศการเดีย ่ ว ของเขา Remains to be Seen ได้เปิดตัวขึ้นที่ Misho Gallery ในซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีภาพวาดสีอคริ ลิคอันงดงามถึง 18 ชิ้น นิทรรศการนั้นได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากนักสะสมและผุ้คนที่รักงานศิลปะ และความเป็นมือ อาชีพของพิชัยยังทำ�ให้ผมมีความสุขในการทำ�งานร่วมกับเขา ในฐานะศิลปิน และหลังจากได้ร่วมงานกับเขาในระหว่างเตรียมงานนิทรรศการนั้น ผมได้ตระหนักว่าการเข้าถึงงานศิลปะ ของเราสองคนมีความคล้ายคลึงกันมาก ในขณะนั้นสื่อเทคนิคในงานทำ�งานของเราสองคนยังต่างกันมาก แต่พลังงาน และความรักที่มีต่อศิลปะนั้นไม่ต่างกันเลย หลังจากนั้นเราก็ได้มีโอกาสร่วมงานกันถึงสามนิทรรศการด้วยกัน ซึ่งก็คือ 2 in 1 และ Nature of the Work และในเดือนตุลาคมปี 2015 นิทรรศการซึ่งพิชัยเป็นคนคิวเรทงานเอง ซึ่งก็คือ Living in an Abstract world ก็ได้รับเสียงตอบรับเป็นอย่างดี ผมมีความสุขมากทุกครั้งที่ได้ร่วมงานกับพิชัย และการทำ�งานโดย หล่อหลอมความคิดของเขาเข้ามาในงานของผม โดยยังเคารพตัวตนของผมอยูน ่ น ั้ ทำ�ให้เราได้สร้างสรรค์ผลงานทีม ่ ค ี ณ ุ ค่า มากกว่าการเป็นเพื่อนร่วมงานธรรมดาทั่วไป Misho ศิลปิน และเจ้าของแกลอรี่ Misho Gallery ซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย


Neeraj Ajmani My introduction to Pichai Pongsasaovapark happened at the inauguration of the V64 Studio in Bangkok during the time when I was curating the collection for the Imago Mundi’s Thailand Project. It was the first time that I was introduced to his work even though I had been showcasing some contemporary artists from Thailand at our Gallery in India. I invited him to be a part of the Imago Mundi Project for which he had to submit a work of the size 10 x 12 cm. The work he submitted was drawn from a canvas painted to represent when Bangkok was flooded – and he told me how he reproduced the sludge and flood water which became the medium of that work – narrating his take on the flooding incident that had paralyzed Bangkok, making news worldwide. When art becomes life – its context is transformed from just visual to highly narrative. Pichai’s art imitates life. It imitates nature. Not only does it reflect the work of a highly skilled artist, replete with strong colors and textures, but provides a context in which it is ultimately viewed. His works with automobile exhaust immediately bring to the fore the problem of unclean air around the world in several countries. This, we are well aware, has become an issue of monumental concern worldwide, and ingeniously highlighted through Pichai’s work. His body of work constitutes experiments with color and textures at a scale where many would fear to tread. Pichai, however, is fearless and emerges victorious – in tandem with the Buddhist Philosophy that he practices – a bond that we share as disciples of the same Mentor, Dr. Daisaku Ikeda, Buddhist Philosopher. Pichai’s energy exudes from his canvases, and I have a strong desire to see him at work to experience the incredible energy that he possesses. Here is an artist who is constantly reinventing himself. His foray into photography and his exposure to acquiring new skills in the U.S. and Europe are adding very exciting new media to his already varied body of work. I have no doubt that in times to come, Pichai will be recognized on a global platform on account of his diverse repertoire, and not only for his work but for his thought as well. Thought that pushes him to scale newer heights, unseen territories, and unexplored horizons that will form the basis of his new work. In conclusion, I am reminded of a few lines from a famous poem by Nobel Laureate Rabindranath Tagore, the great Indian artist, poet and scholar. They aptly describe the ethos of Pichai, the artist. “…Where words come out from the depth of truth. Where tireless striving stretches its arms towards perfection Where the clear stream of reason has not lost its way... Where the mind is led forward by thee Into ever-widening thought and action ……” Where the Mind is without Fear by Rabindranath Tagore Neeraj Ajmani Curator and Founder, Gallery One, India


ผมได้รับการแนะนำ�ให้รู้จักกับ พิชัย เมื่อครั้งที่เปิดตัว V64 Studio ในกรุงเทพฯ เมื่อครั้งที่ผมยังเป็นภันฑารักษ์ให้กับ Imago Mundi’s Thailand Project. แม้ว่าผมจะได้มีโอกาสแสดงงานของศิลปินไทยร่วมสมัยในอินเดียอยู่หลายต่อ หลายครั้ง แต่นั่นคือครั้งแรกที่ผมได้สัมผัสกับงานของเขา ผมได้เชิญชวนให้พิชัยมาเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Imago Mundi Project ซึ่งในเวลาต่อมาศิลปินก็ได้ส่งงานขนาดกระทัดรัดเพียง 10 x 12 ซม มาให้ ผลงานชิ้นนั้นเป็นเพียงภาพ วาดบนผ้าใบนำ�เสนอเรื่องราวของกรุงเทพฯที่กำ�ลังเผชิญกับวิกฤตน้ำ�ท่วม – และเขาก็ได้อธิบายให้ผมฟังถึงขั้นตอนการ ทำ�งานของเขาโดยการจำ�ลองน้ำ�เน่าซึ่งนำ�มาใช้เป็นสื่อในการสร้างสรรค์ผลงาน – พิชัยได้บอกเล่าเรื่องราวของเหตุการณ์ น้ำ�ท่วมในครั้งนั้นที่ทำ�ให้กรุงเทพฯถึงกับหยุดชะงักจนเป็นข่าวไปทั่วโลกให้ผมฟัง เมือ ่ ศิลปะได้กลายเป็นชีวต ิ จริง บริบททีอ ่ ยูใ่ นเนือ ้ งานก็จะแปรเปลีย ่ นจากเพียงภาพวาดเปล่าๆกลายเป็นสือ ่ ในการเล่าเรือ ่ งราว อะไรบางอย่าง งานศิลปะของพิชัยเป็นการนำ�ศิลปะมาสะท้อนชีวิตจริง และศิลปะของพิชัยก็สะท้อนให้เห็นถึงธรรมชาติด้วย ผลงานของพิชย ั ไม่เพียงแต่สะท้อนให้เห็นถึงทักษะชัน ้ สูงของศิลปินทีอ ่ ด ั แน่นไปด้วยสีสน ั อันจัดจ้านบนพืน ้ ผิวต่างๆ แต่ผล งานเหล่านัน ้ ยังชีใ้ ห้เห็นถึงบริบททีม ่ น ั ถูกสร้างขึน ้ ในแบบของมันเอง ผลงานในชุดควันพิษจากท่อไอเสียได้ดงึ เอาปัญหาเรือ ่ ง สภาวะอากาศอันไม่บริสท ุ ธิใ์ นโลกนีอ ้ อกมาให้เราได้เห็นกันซึง่ ๆหน้า เราต่างก็รด ู้ วี า่ ปัญหาเหล่านีเ้ ป็นเรือ ่ งทีน ่ า่ หนักใจของทุก คนบนโลกใบนี้ และมันได้ถูกขีดเส้นใต้เอาไว้ในงานของพิชัยอย่างชัดเจน เนื้องานของพิชัยได้นำ�พาเราให้เข้าไปเห็นถึงการทดลองโดยใช้สีและพื้นผิวในสเกลงานที่อาจทำ�ให้ใครหลายคนรู้สึกหวาด เกรงในความอลังการ แต่สำ�หรับศิลปินแล้ว เขาช่างมีความกล้าและไร้ซึ่งความหวาดหวั่นใดๆ และเขาได้แสดงให้เห็นแล้วว่า เขาคือผูช ้ นะในครัง้ นี้ ดังหลักของปรัชญาพุทธศาสนาทีเ่ ขาได้ปฏิบต ั ต ิ าม และนีก ่ ค ็ อ ื อีกหนึง่ สิง่ ทีเ่ ชือ ่ มผมกับศิลปินไว้ดว้ ยกัน อันเนือ ่ งมาจากเรามีอาจารย์ทา่ นเดียวกันนัน ่ ก็คอ ื Dr. Daisaku Ikeda นักปรัชญาชาวพุทธ พลังงานอันล้นเหลือของพิชย ั นั้นเอ่อล้นออกมาจากผลงานบนผ้าใบของเขา และผมก็หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสักวันจะได้เห็นเขาทำ�งานให้ดูต่อหน้า เผื่อว่าผม จะได้รับเอาพลังงานอันไม่รู้จบของเขาแบ่งมาให้ผมบ้าง นีค ่ อ ื ตัวอย่างศิลปินทีค ่ อยพัฒนาตัวเองอยูต ่ ลอดเวลา ความสามารถในการถ่ายภาพ และทักษะใหม่ๆทีเ่ ขาได้เรียนรูใ้ นระหว่าง ที่อยู่ที่ สหรัฐ อเมริกา และยุโรป นั้นได้เติมเต็มความหลากหลายในการทำ�งานของพิชัย ให้เราได้เห็นสื่อเทคนิคต่างๆที่น่า ตื่นเต้นอยู่ตลอดเวลา ผมไม่กลัวเลยว่าในอนาคตอันใกล้นี้ พิชย ั จะได้ถก ู ยอมรับในระดับสากลโลก โดยดูได้จากความหลากหลายทัง้ ทางสร้างสรรค์ ผลงานและทางความคิด ซึ่งจะผลักดันให้เขาปีนขึ้นไปอยู่ในจุดที่สูงยิ่งขึ้น ไปถึงจุดที่ยังไม่มีใครเคยเห็น ไปถึงขอบฟ้าที่ยัง ไม่เคยมีใครได้สัมผัส และสิ่งเหล่านั้นจะกลายเป็นรากฐานสำ�คัญสำ�หรับผลงานชุดใหม่ๆของศิลปินต่อไปอย่างแน่นอน ท้ายที่สุดนี้ ผมได้นึกถึงบางส่วนจากบทกวีของ Rabindranath Tagore ผู้ได้รับเกียรติรางวัลโนเบล ผู้ซึ่งเป็นทั้งศิลปิน นักวิชาการ และนักกวีของอินเดีย บทความนี้สามารถบ่งบอกถึงความเป็นพิชัยได้เป็นอย่างดี “… ที่ที่คำ�พูดจะหลั่งไหลออกมาจากความเป็นจริงอันลุ่มลึก ที่ที่ความเพียรพยายามจะเอื้อมแขนไปสู่ความสมบูรณ์แบบ ที่ที่เหตุและผลจะไหลเวียนอย่างแน่วแน่ ที่ซึ่งดวงจิตจะถูกนำ�พาโดยตัวของท่านเอง เข้าไปสู่ความรู้สึกนึกคิดและการกระทำ�ที่ขยายออกไปอย่างมิรู้จบ…” Where the Mind is without Fear by Rabindranath Tagore Neeraj Ajmani ภัณฑารักษ์และผู้ก่อตั้ง Gallery One, อินเดีย


F. Lanier Graham SONGS OF THE SPIRIT Pichai Pongasasaovapark is a remarkable artist. I have had the pleasure of seeing his work over a number of years. What impresses me is not only his skill, but the range of his emotional depth. Some of his works are quietly musical. Some of his works are explosive. When I teach the history of World Art, my students are often left speechless by the profound beauty of the Buddhas of Sukothai. They sing of The Spirit. The artistic history of Thailand is one of the richest in the world. How fortunate is a country to have artists of our own time such as Pachai continuing to express the depth and breadth of the human spirit. F. Lanier Graham Former Curator Museum of Modern Art (MOMA), New York City, National Gallery of Australia, Norton Simon Museum in Pasadena, LA, Chief Curator of Fine Art Museum of San Francisco. Professor in Curator Program of California State University East Bay. Writer: Goddesses in Art, Chess Sets, The Spontaneous Gesture: Prints And Books of The Abstract Expressionist Era.

F. Lanier Graham บทเพลงแห่งจิตวิญญาณ พิชัยเป็นศิลปินที่น่ายกย่องเป็นอย่างยิ่ง ผมมีความยินดีที่ได้มีโอกาสเฝ้าดูงานของเขาในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา สิ่งหนึ่ง ที่ทำ�ให้ผมประทับใจในตัวของพิชัยนอกเหนือจากในเรื่องของทักษะแล้ว ยังเป็นเรื่องของความลุ่มลึกทางอารมณ์ของศิลปิน ผลงานบางชิ้นเปรียบเหมือนบทเพลงอันแผ่วเบา ในขณะที่บางชิ้นกลับดูดุดันยิ่งกว่าแรงระเบิด เวลาผมสอนประวัติศาสตร์ศิลป์สากล นักศึกษาของผมมักจะทึ่งไปกับความงดงามของพระพุทธรูปในสมัยสุโขทัย ความงาม ซึ่งเปรียบดั่งบทเพลงแห่งจิตวิญญาณ ประวัติศาสตร์ทางด้านศิลปะของประเทศไทยนั้นเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความเข้มข้น มากที่สุดประเทศหนึ่ง ช่างเป็นโชคดีของประเทศไทยเหลือเกิน ที่ได้มีศิลปินร่วมสมัยดังเช่น พิชัย ที่สามารถสานต่อความลึกล้ำ�และความกว้างขวาง ของจิตวิญญาณมนุษย์เราได้สืบเนื่องต่อไป F. Lanier Graham อดีตภัณฑารักษ์ Museum of Modern Art (MOMA), New York City, National Gallery of Australia, Norton Simon Museum in Pasadena, LA, Chief Curator of Fine Art Museum of San Francisco. อาจารย์สอนโปรแกรม Curator ที่มหาวิทยาลัย California State University East Bay. นักเขียน : Goddesses in Art, Chess Sets, The Spontaneous Gesture: Prints And Books of The Abstract Expressionist Era.


The Air We Breathe, Art Stage Singapore 2017, Marina Bay Sands Expo and Convention Centre, Singapore.


“I believe that everything in the world and universe is interconnected. I would like to have people see these issues by looking at my work and seeing the deeper meaning. Of course, art itself cannot change the world, but the arts can make us think and feel and face our challenges, allowing us to learn how to live and work together in balance with Nature.” Pichai Pongsasaovapark Artist

“ผมเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกและจักรวาลนี้มีความเกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยงต่อกันนะ ผมอยากจะให้ผู้คนได้เห็นเรื่องราวเหล่านี้ผ่านการ มองผลงานศิลปะของผม และเห็นความหมายอันลึกซึ้งที่หลบซ่อน อยู่ แน่นอนครับว่าศิลปะในตัวมันเองไม่สามารถลุกขึ้นมาปกป้อง และเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ได้ แต่ศิลปะสามารถทำ�ให้เราคิดและรู้สึก ถึงปัญหาที่เรากำ�ลังเผชิญ และทำ�ให้เราได้เรียนรู้ว่าจะทำ�อย่างไรที่จะ ปกป้องรักษาและอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลกับธรรมชาติ” พิชัย พงศาเสาวภาคย์ ศิลปิน


DROUGHT


Drought 1 45.5 x 69.5 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 2 45.5 x 69.5 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 3 49 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 4 49 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 5 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 6 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 7 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 8 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 9 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 10 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print


Drought 11 46 x 69 cm Media-Digital Photography Print on Epson Enhanced matte paper Technic-Giclee Print



PROCESS


Deluge 1 142 x 210 cm Mix Media on Canvas


Deluge 2 142 x 210 cm Mix Media on Canvas


Deluge 3 142 x 210 cm Mix Media on Canvas


Deluge 4 142 x 210 cm Mix Media on Canvas


Deluge 5 142 x 210 cm Mix Media on Canvas



Exhaust Man 130 x 140 x 320 cm Steel, Fiber Glass, Cabon on Canvas (2017)



Installation:

Poison Flower 7 (Pickup Truck), Cabon on Canvas (2017), 200 x 500 cm Poison Flower 8 (Pickup Truck), Cabon on Canvas (2017), 200 x 1000 cm Exhaust Man, Steel, Fiber Glass, Cabon on Canvas (2017), 130 x 140 x 320 cm


PROCESS


Poison Flower 1 (Rice Combines) 198 x 380 cm Carbon on Canvas


Poison Flower 2 (Tillers) 198 x 341 cm Carbon on Canvas


Poison Flower 3 (Trucks) 198 x 289 cm Carbon on Canvas


Poison Flower 4 (Automobies) 198 x 296 cm Carbon on Canvas


Poison Flower 5 (Vans) 198 x 281 cm Carbon on Canvas


Poison Flower 6 (Motorcycles) 198 x 380 cm Carbon on Canvas


Pichai Pongsasaovapark is a Bangkok-based artist who uses acrylics, mixed media, and photography to create textured and visually complex abstract work. A member of the former V64 Art Studio collective, during his career he has been represented by So Art Gallery in Amsterdam; Gallery One in New Delhi; Meeting Room Gallery in Chiang Mai, Thailand; and Misho Gallery in San Francisco, California. His artwork is in numerous collections, including the Luciano Benetton Foundation in Milan, Italy; and he is among 143 artists included in the Luciano Benetton Foundation’s landmark volume, Thailand: Spiritual & Material - Contemporary Artists from Thailand (2015). Pichai has studied and traveled in Asia, Europe and United States, and completed a two-month residency in San Francisco, California, during which he completed a commission for the City of South San Francisco Cultural Arts Commission of public art. Solo Exhibitions 2017:

Looking and Seeing, Subhashok The Arts Centre, Bangkok, Thailand

2014: Remains to Be Seen, Misho Gallery, San Francisco, California, USA Lines, Meeting Room Gallery, Chiang Mai, Thailand 3 Years & Counting, V64 Art Studio Gallery, Bangkok, Thailand 2013: Unseen Dimensions II, V64 Art Studio, Bangkok, Thailand (dis)integration, V64 Art Studio, Bangkok, Thailand Fast Start, Slow Burn, V64 Art Studio, Bangkok, Thailand Altered Terrains, Baan Tuek Art Center, Chiang Mai, Thailand 2012: Night Beckons, Wasan Art Gallery, Pattaya City, Thailand Unseen Dimensions, Kim Ba Gallery, Marseille, France Art in Nature in Art, Royal Residence Park, Bangkok, Thailand


Group Exhibitions 2017:

Poison Flowers and Other Work, Art Stage Singapore, Marina Bay Sands Expo and Convention Centre, Singapore

2016: Nature of the Work, Subhashok The Arts Centre, Bangkok, and Art Bridge Art Center, Chiang Rai, Thailand; and Xiang Jiang Gallery, Shanghai, China 2015:

Map of the New Art, Fondazione Giorgio Cini, Venice, Italy Making Senses: Living in an Abstract World, Misho Gallery, San Francisco, California, USA Identity/Memory Exhibition, Frameless Gallery and The Gallery on the Corner, London, UK Art Thesis Exhibition, Chiang Mai Cultural Art Centre, Chiang Mai, Thailand The Tiny Art Show, Pitt County Arts Council, Emerge Gallery and Art Center, Greenville, North Carolina, USA Turquoise, Mori-Art Moo Gallery, Austria 2 in 1 Exhibition, Misho Gallery, San Francisco, California, USA; and Baan Teuk Art Center, Chiang Mai, Thailand

2014: Snap to Grid Exhibit, Los Angeles Center for Digital Art, Los Angeles, California, USA 2014: No Borders: Thai and American Artist Exhibition, Baan Tuek Art Center, Chiang Mai, Thailand Chinese American Artists Association Annual Exhibition, Silicon Valley Asian Art Center, Santa Clara, California, USA Five by Five Exhibition, Tampa Museum of Art, Tampa, Florida, USA Peace Starts Here 2014 Traveling Exhibition, Peace Project, Culver City, California; New York City; and Los Angeles, California, USA Decade: Creative View on Contemporary Art by Freelance Artists, Queen Sirikit Art Center, Bangkok, Thailand Japanese-Thai Artists Show, Chiang Mai Art Centre, Chiang Mai, Thailand Oasis of Freedom: 3rd Anniversary of V64 Art Studio, V64 Art Studio Gallery Bangkok, Thailand 2013:

64 Distinct Harmony 56, V64 Art Studio Gallery, Bangkok, Thailand Thai Artists Group Show, Asiatique, Bangkok, Thailand Simple >>> Tomorrow Exhibition, V64 Art Studio Gallery, Bangkok, Thailand Exhibition to Commemorate His Majesty the King’s 85th Birthday, Central Festival Pattaya Beach, Pattaya City, Thailand

Commissions 2014: Flower Bush, City of South San Francisco Outdoor Mural Project, South San Francisco, California, USA Curator Projects 2016: Nature of the Work, Subhashok the Arts Centre, Bangkok, and Art Bridge Art Center, Chiang Rai, Thailand; and Xiang Jiang Gallery, Shanghai, China 2015: Making Senses: Living in Abstract World, Misho Gallery, San Francisco, California, USA 2014: No Borders: Thai and American Artist Exhibition, Baan Tuek Art Center, Chiang Mai, Thailand Thailand: Spiritual & Material - Contemporary Artists from Thailand (Luciano Benetton Foundation 2015) – assisted Chief Editor and Curator, Neeraj Ajmani.


Live Art Performances 2015: Collaboration with Le Group Jazz Quartet, San Francisco, California, USA 2013: Solo performance to music of Clint Mansell and Kronos Quartet at Artist and Status Opening, V64 Art Studio, Bangkok, Thailand Solo performance to music of Jean Michel Jarré at Asiatique, Bangkok, Thailand Collaboration with Bangkok Swing Dance Company at V64 Art Studio First Anniversary Show Celebration, Bangkok, Thailand 2012: Solo performance to music by Jean Michel Jarré at Unseen Dimensions exhibition at Kim Ba Gallery, Marseille, France Lectures, Workshops, and Conference Participation 2016:

Guest Lecture, Art Education Faculty, Burapha University, Chonburi, Thailand Guest Lecture, Faculty of Architecture, Technology Ratchamongkol Srivichai University, Songkhla, Thailand Participant, Seminar on How an Artist Creates Work, Art Education Faculty, Burapha University, Chonburi, Thailand

2015: Organizer and Moderator, Seminar on Abstract Art and Artists, Misho Gallery, San Francisco, California, USA 2014: Workshop for Students, Baan Tuek Art Center, Chiang Mai, Thailand 2013:

Participant, Conference on ASEAN Enhancing People to People Connectivity: Contemporary Arts, Design Education, Intellectual Property and Cultural Exchange, organized by Chulalongkorn University and the Office of Contemporary Art and Culture, Thai Ministry of Culture, Pattaya City, Chonburi, Thailand Panelist, World IP Day Forum on Creativity, Intellectual Property, Innovation, and Collaboration, Bangkok, Thailand Participant, Conference to Commemorate His Majesty the King’s 85th Birthday, Central Festival Pattaya Beach, Pattaya, Thailand Participant, National Artists Roadmap Conference and Workshop, Burapha University; awarded Certificate of Creative Excellence in Fine Arts, Chonburi, Thailand Workshop for Students, Pattaya City High School, Pattaya City, Thailand

2012:

Participant, Seminar on the Artwork of His Majesty the King, Central World Conference Center, Bangkok, Thailand Panelist, Seminar on Art, Artists and Copyright: Challenges Facing Thai Artists, Art Educators and Art Entrepreneurs; painting Enigma used as event poster artwork, U.S. Embassy, Bangkok, Thailand

Education 2015: 2015: 1999:

Certificate in Museum and Gallery Studies, California State University, East Bay, Hayward, California, USA M.F.A. (Painting), Chiang Mai University Faculty of Fine Arts, Chiang Mai, Thailand B.S. in Industrial Architecture, Rajabhat Chandrakasem University, Bangkok, Thailand

Internships 2015: Bangkok Arts and Cultural Center and Subhashok The Arts Centre, Bangkok, Thailand


Subhashok The Arts Centre 160/3 Soi Sukhumvit 33 (Daeng Udom) Sukhumvit Rd., Klong ton Nue, Wattana Bangkok 10110 Thailand Tel : (66) 2 258 5580 ext 401 Email : subhashok.manager@gmail.com Facebook/sacbangkok



Pichai Pongsasaovapark

Email : pong.pichai@yahoo.com Web: www.artslant.com/global/artists/show/397333-pichai-pongsasaovapark


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.