นิทรรศการ RE-PLEASE #1 ควร-หวนคืน เริ่มตนโครงการจากการเล็งเห็นถึงการผลิตสิ่งพิมพศิลปะใน จำนวนที่มากเกินความจำเปน โดยไดนำสิ่งพิมพจำนวนมากที่ ถู ก เก็ บ ไว อ ย า งไร ค า เหล า นั ้ น มาสร า งสรรค เ ป น วั ต ถุ ด ิ บ / ทรัพยากรในงานศิลปะโดยเสมือนวาเปนการฟนคืนชีพสื่อเกา ที่เคยใชเปนสื่อในการประชาสัมพันธในแตละนิทรรศการใหกลับ กลายมาเปนผลงานศิลปะรวมสมัย ซึ่งผลลัพธที่ไดออกมาคือ หนาที่ของสื่อสิ่งพิมพเกาดังกลาวไดสูญสลายกลับกลายสูสื่อ ใหมในบริบทของสื่อผลงานศิลปะรวมสมัย และยังอีกทั้งเปน การกระตุนเตือนใหศิลปนหรือผูที่เกี่ยวของในกระบวนการ สรางสรรคผลงานศิลปะรูคุณคาของการใชทรัพยากรในการ สรางสรรคผลงานศิลปะ ศิลปะที่ดีอาจจะไมจำเปนตองแลกมา ดวยตนทุนทางเศรษฐกิจทีส่ งู เสมอไป แตงานศิลปะทีด่ อี าจตอง มีตน ทุนทางสมองทีส่ งู กวา โดยในครัง้ ที่ 1 นัน้ ไดจดั ขึน้ ระหวาง วั น ที ่ 5-28 พฤศจิ ก ายน 2555 ณ ท อ งพระโรง หอศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ หลังจากนัน้ นิทรรศการ ดังกลาวไดถูกนำไปสัญจรยังประเทศเวียดนาม ระหวางวันที่ 22 ธันวาคม 2555 ถึง 6 มกราคม 2556 ณ Monsoon Restaurant & Bar Saigon นครโฮจิมนิ ห ประเทศเวียดนาม
RE-PLEASE #1 ควรหวนคืน art exhibition revolved around the concept of turning left-over printed matters into contemporary art work. The exceeded amount of PR-related printed matters that were left in the storage of the Art Centre Silpakorn University were created into contemporary art works, in which participated artists interpreted the idea of RE-PLEASE differently and personally, and presented the final art works in various styles and forms. RE-PLEASE #1 had been held at the main hall of the Art Centre Silpakorn University in Bangkok, Thailand between 5 and 28 November 2012. The project was then travelled to Monsoon Restaurant & Bar Saigon, Vietnam between 22 December 2012 and 6 January 2013.
VIETNAM
นิทรรศการ RE-PLEASE #2 Cross the Crossing เปนนิทรรศการครั้งที่ 2 จัดขึ้นที่เมืองยางกุง ประเทศพมา ซึ่ง Monsoon Restaurant & Bar Yangon คือ สถานที่ที่การหวนคืนทางศิลปะไดเกิดขึ้น ดวยพื้นที่และกายภาพนั้นเปนราน อาหาร RE-PLEASE#2 จึงเล็งเห็นความสำคัญของนัย/ความหมายของอาหารที่ถูกแฝงมา ดวยการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่ผานเครื่องหมายสินคา / ฉลาก/ แผนพับ/ บรรจุภัณฑ/ สื่อประชาสัมพันธที่ติดมากับอาหารแหงหรืออาหารสำเร็จรูปเหลานั้น ซึ่งรูปแบบผลงานศิลปะใน นิทรรศการครั้งนี้ศิลปนไดนำเปลือก ที่หอหุมอาหาร/ ฉลาก/ เครื่องหมายการคา/ บรรจุภัณฑ/ แผนพับ หรือ สิ่งพิมพโฆษณาที่เหลือใชหรือใชแลว และเกี่ยวของกับอาหารซึ่งจากเดิมลวนมีหนาที่ ทางการคา มาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะ ในการตีความทีเ่ กีย่ วกับการบริโภคในปจจุบนั นอกจาก นี้ยังมีการทำกิจกรรมศิลปะเชิงปฏิบัติการรวมกับศิลปนชาวพมาโดยใชพื้นที่ของโรงเรียนสอน ทำอาหาร ในหัวขอทีเ่ ปนการนำวัสดุสรางสรรคสว นบุคคลทีเ่ หลือใชมาสรางสรรคลงบนจานกระดาษ เสมือนเปนอาหารที่สามารถบริโภคได และจัดแสดงในพื้นที่เดียวกัน ระหวางวันที่ 29 มีนาคม 29 เมษายน 2556
RE-PLEASE #2 Cross the Crossing was held at Monsoon Restaurant & Bar Yangon, Myanmar. The restaurant-space inspired this exhibition to investigate the culture of food. Food can reflect local cultures, no matter influenced, adapted, blended, or merged with another. Beautiful gourmet meal is always presented elaborately to boast the best image of that locality and eventually became its representative. Today, food interestingly reflects this fast-changing society through its reduction and mass accessibility. It can still be a cultural representative, but in the form of easy-made, ready-made, packed-food, canned-food, instant food, which serve best for today’s living pace. While we are crossing the cross-cultural points through today’s consumer culture, individual interpretation is represented and exchanged. This exhibition had been held between 29 March and 29 April 2013.
นิทรรศการ RE-PLEASE #3 in LAOS สะบายดี ยังมุงเนนตามประสงคเดิมในการสรางสรรคงาน นั่นคือ มุงเนนที่การเก็บเกี่ยว หยิบฉวย รวมทั้ง หยิบยืมบริบทรอบขางที่วาดวยการบริโภค และทรัพยากรมาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะรวมสมัย ในครัง้ นีอ้ าจแตกตางจากครัง้ กอน ซึง่ เปนการนำ 'ประสบการณ' ระหวางการเดินทางไปยังประเทศ ลาวมาสรางสรรคเปนผลงานศิลปะทีค่ ลายบทบันทึกการเดินทางและประสบการณทศ่ี ลิ ปนไดปะทะใน แตละนาทีของการเดินทางดวยรถไฟ รถยนต และเรือ จากกรุงเทพฯสูน ครเวียงจันทน เมืองวังเวียง เมืองหลวงพระบาง เมืองหวยทราย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จนกลับมาสูก รุงเทพฯ ภาย ใตการใช “ภาษา” เนือ่ งจาก การเดินทางคือการสือสาร การสือสารคือภาษา และภาษาคือตนทางของ ความเขาใจในสิ่งตางๆรอบตัวโดยเฉพาะในบริบทของวัฒนธรรมที่แตกตางกัน โดยเฉพาะเมื่อภาษา ไทยและภาษาลาวมีความใกลเคียงกัน สามารถเขาใจซึง่ กันและกันไดอยางงายดาย แตกไ็ มเหมือนกัน ในทีเดียว โดยใชสื่อที่เปนเสมือนพาหนะนำความคิดและภาษาของคนหนึ่งสื่อสารไปยังอีกคนหนึ่งมา เปนวัสดุในการสรางสรรคอีกดวย
RE-PLEASE #3 in LAOS focused on the taking of surrounding context, including consumption and resources to create contemporary works. This time, it was different from previous RE-PLEASE project, as what the artists took is ‘journey experience’. Between the journey from Thailand to Laos ; from Bangkok - Vientiane - Vangvieng Luangprabang - Huayxay - Chiangkhong - and Bangkok, by train, bus, and boat, every moment of experience that artists encountered are recorded in form of art. Language was used as a major content in this activity since journey is a kind of communication and communication is through language, and language is the origin of understanding of everything around us. It was expressed through the use of communication material, which is like a vehicle to transport ]human’s thought and language to another.
นิทรรศการ RE-PLEASE - RETURN นิทรรศการในครั้งนี้ยอนกลับมาแสดงยังพื้นที่แรกสุด นั่นคือ หอศิลปมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมุงเปาไปที่การยอนกลับ/ หวนคืนผลงานศิลปะที่ถูกทิ้งรางไรคาซึ่งหมดหนาที่ดั้งเดิมให ้กลับกลายเปนผลงานศิลปะที่มีคุณคาอีกครั้ง ผานการตีความ ของศิลปนแตละคน ซึ่งผลงานตางๆเหลานี้เคยมีคุณคาเมื่อ ครั้งสงผลงานเขารวมประกวดหรือรวมเเสดงในนิทรรศการ ศิลปกรรมตางๆ แตเมื่อหมดเวลาเเละหนาที่ี ศิลปนเจาของ ผลงานก็ละเลยเเละทิ้งรางจนกลายเปนซากทางศิลปะ ผลงานศิลปะที่สรางขึ้นในนิทรรศการ RE-PLEASE - RETURN มุงสรางการตระหนักรูถึงคุณคาในการใชทรัพยากรทางศิลปะใหคุมคา มากที่สุด เเละยังอีกทั้งเปนการกระตุนเตือนถึงภาระหนาที่ของศิลปนที่ เปนผูสรางผลงานศิลปะวาในเเตละการสรางสรรคนั้นทรัพยากรไดถูก ทำลายไปทุกครั้ง เเละศิลปนทั้งหลายจะทำอยางไรในการใชทรัพยากร ใหคุมคา เเละหวงเเหนผลงานของตนใหคงหนาที่ของความเปนศิลปะ มากทีส่ ดุ โดยจัดแสดงระหวางวันที่ 5 สิงหาคม - 5 กันยายน 2557
RE-PLEASE - RETURN is a continuing art project of RE-PLEASE that still focused on the use of art resources. This exhibition, however, aims at returning the life of abandoned pieces of art to have their artistic values once again, by participated artists, and showcased at the Art Centre Silpakorn University Wang Thapra once again. These art works were once created and used to achieve artist’s dream in art competitions and exhibitions. After they have completed their duties, they have been left and abandoned until becoming “trashes”. Works created in RE-PLEASE exhibition aim to raise awareness of the artists in the use of art resources and to provoke them for their responsibility as an artist. As all creations of artworks require the consumption of some resources, what should artists do to use these resources considerately? and how should they protect the artistic value of their works?