วารสารผลิใบ ฉบับ 119

Page 1

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558

Do It Yourself

The Question Mark

มหัศจรรยพลังนํ้า

ขวดกลับหัว

นํ้าหายไปไหน

www.facebook.com/plibai2012.tei

Green Energy



Editor’s Note น�ำ้ คือบ่อเกิดของชีวติ และวัฒนธรรม ในสั ง คม น�้ ำ คื อ ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ส ร้ า ง ความอุดมสมบูรณ์ให้แก่โลก ที่ใดมีน�้ำ ทีน่ นั่ มีดนิ ดี มีปา่ อุดมสมบูรณ์ มีสงิ่ มีชวี ติ ทีม่ คี วามหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งก่อ ให้เกิดความสมดุลทางธรรมชาติ รวมไป ถึงการมีพืชพันธุ์ธัญญาหารที่สามารถ เติบโตสมบูรณ์ กลายเป็นแหล่งอาหาร ให้แก่สัตว์และมนุษย์ น�้ำจึงเป็นเสมือน เส้นทางของวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของ คนในสังคมเพือ่ การอุปโภคบริโภค การ สันทนาการ การประกอบอาชีพ และ การคมนาคม ดังนัน้ ไม่วา่ จะเป็นอุทกภัย หรือภัยแล้งย่อมส่งผลกระทบต่อการ ด�ำรงชีวิตของคนและการด�ำรงอยู่ของ ทรั พ ยกรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม รวมถึงภาวะโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ที่มา กั บ ภาวะวิ ก ฤติ ท างน�้ ำ การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรน�ำ ้ จึงไม่ใช่เรือ่ งไกลตัวอีกต่อไป เราสามารถมีส่วนร่วมได้ เช่น ร่วมกัน ดูแลรั ก ษาป่ า ให้ ค งอยู ่ แ ละปลู ก ต้ น ไม้ เพื่ออุ้มน�้ำในดินเพื่อเป็นการลดความ รุนแรงของภาวะอุทกภัย เรื่องของน�้ำได้กลายเป็นประเด็น ความมั่นคงและวาระแห่งชาติ ที่ไม่ได้ เป็นเพียงหน้าทีข่ องรัฐบาลหรือหน่วยงาน ใดหน่ ว ยงานหนึ่ ง แต่ เ ป็ น งานที่ ทุ ก ภาคส่ ว นและคนไทยทุ ก คนต้ อ งร่ ว ม แรงร่ ว มใจกั น อนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นา ทรั พ ยากรน�้ ำ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ อ ย่ า ง ยั่งยืนต่อไป

บรรณาธิการบริหาร ศิริธัญญ์ ไพโรจน์บริบูรณ์

• วารสารผลิใบได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทวารสารที่มีเนื้อหาทั่วไปเหมาะสม กับเยาวชน ประจ�ำปี พ.ศ. 2538 – 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริม และประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิ ใบได้ รับ คั ด เลื อกให้ เ ป็ นหนึ่ ง ในวารสารอ่ านเพิ่ ม เติ ม ส�ำหรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ประจ�ำปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิ ใ บได้ ร างวั ล ดี เ ด่ น ประเภทสื่ อ มวลชน รางวั ล ลู ก โลกสี เ ขี ย ว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ บรรณาธิการอ�ำนวยการ บรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ เลขากองบรรณาธิการ ออกแบบ โรงพิมพ์ ส�ำนักงาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล เว็บไซต์ Facebook

: : : : : :

มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ศ.ดร. สนิท อักษรแก้ว ศิริธัญญ์ ไพโรจน์บริบูรณ์ คุณกมนนุช สมบุญธวงษ์ ณชชน พชรชัยกุล ภัทรา จิตรานนท์ ดร. จุฑามาส แก้วสุข ภัทรียา จันทร์ประสิทธิ์ ผุสดี ลีกระจ่าง ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ณชชน พชรชัยกุล บจก. มาตา การพิมพ์

วารสารผลิใบ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 0 2503 3333 0 2504 4826-8 plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th www.tei.or.th http://www.facebook.com/Plibai2012.Tei


Contents Book Inspiration 3 Movie Inspiration 3 IT Generation 4 Green Mind 6 Animal Wonders 8 English for Fun 10 On The Move 12 Grew the Earth 13 Young Artist 14 Green Energy 17 Evaluation Fun Facts 18 Cover Story 22 Think Tank 24 Think Out of the Box 26 Let’s go Green 28 Young Storryteller 30 Science Tricks 31 Do It Yourself 32 What the World Offers? 34 The Question Mark 36 Give and Share 38 Aseans’ Game 40

Trainee ภัทรา จิตรานนท์ กองบรรณาธิการ

ดร. จุฑามาส แก้วสุข กองบรรณาธิการ

ภัทรียา จันทร์ประสิทธิ์ กองบรรณาธิการ

ผุสดี ลีกระจ่าง กองบรรณาธิการ

ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ เลขากองบรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล บรรณาธิการ


Book Inspiration แปลกแต่จริง ยิง่ รู้ ยิง่ รักษ์ รักษ์สงิ่ แวดล้อมก�ำลังมาแรง นาคทะเลกับปลาแท่งเกีย่ วข้องกัน อย่างไร ขวดแปลงกาย ฯลฯ พิทกั ษ์โลก ถ้ า จะหยิ บ ยกหนั ง สื อ เพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มดี ๆ สั ก เล่ ม ที่ เหมาะสมกับเยาวชน ก็คง ต้ อ งยกให้ ห นั ง สื อ เล่ ม นี้ เพราะเนื้อหาน�ำเสนอในเชิง สร้างสรรค์ ไม่ได้บอกเล่าแต่เรื่องความย�่ำแย่ของโลก ไม่ได้ ต�ำหนิใคร และไม่ได้กระหน�ำ่ ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีใ่ หญ่เกินกว่าที่ เราจะรับไหว เมื่ออ่านแล้วท�ำให้รู้สึกว่าโลกนี้ยังมีความหวัง ในการจัดการสิง่ แวดล้อมอยู่

ส่วนที่ 2 ที่มาของอาหาร ทุกเส้นทางส่งผลต่อโลก เช่น แนวคิ ด การผลิ ต อาหาร ผั ก กลางเมื อ ง คุ ณ ค่ า แท้จริง ของ ธรรมชาติ เบือ้ งหลังจานอร่อย ฯลฯ ส่วนที่ 3 การปฏิวตั เิ ทคโนโลยี พลิกวิธคี ดิ เพือ่ สิง่ แวดล้อม เช่น ท่องมหาสมุทรได้ในคลิกเดียว คิดใหม่คดิ ไกลขึน้ เครือ่ งเล่นเกม กับโทรศัพท์มอื ถือเกีย่ วข้องกับกอลิลา่ ได้อย่างไร ฯลฯ ส่วนที่ 4 แหล่งพลังงานในอนาคต อยูใ่ กล้ตวั กว่าทีค่ ดิ เช่น ปลู ก ต้ น ไม้ ไ ด้ จั ก รยาน พลั ง จากมนุ ษ ย์ เพนกวิ น เกี่ ย วกั บ จักรยานได้อย่างไร ขับถ่ายให้พลังงานแก่โลก ฯลฯ

เนื้อหาที่น�ำเสนอก็เป็นเรื่องใกล้ตัวที่ใครๆ ก็ท�ำตามได้ ด้วย หัวข้อเรื่องชวนติดตาม โดยส่วนแรกน�ำเสนอเกี่ยวกับแฟชั่นกับ หนังสือเล่มนีจ้ งึ เป็นอีก 1 เล่มทีช่ ว่ ยสร้างแรงบันดาลใจในการ สิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น เสื้ อ ผ้ า กระหายน�้ ำ เพี ย งใด เสื้ อ ผ้ า อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมได้เป็นอย่างดี

Movie Inspiration ภาพยตร์น�ำเสนอวิถีชีวิตชาวบ้านคลิตี้ที่ ผูกพันกับสายน�ำ้ อย่างตัดไม่ขาด แม้รดู้ ี ว่ า ล� ำ ห้ ว ยแห่ ง นี้ ป นเปื ้ อ นสารตะกั่ ว ภาพยนตร์สารคดี “By the River: สายน�้ำติดเชื้อ” นี้คว้ารางวัล Special Mention จากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ โลการ์โน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ โดย ภาพยนตร์น�ำเสนอเรื่องราวชะตากรรม By the River: สายน�ำ้ ติดเชือ้ ของชาวบ้านคลิตี้ ทีต่ อ้ งรับผลกระทบในสิง่ ทีไ่ ม่ได้กอ่ สะท้อน ภาพยนตร์สารคดีทนี่ ำ� เอาเรือ่ งจริงชุมชนหนึง่ ในอ�ำเภอทองผาภูมิ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มกั บ 30 ปี ที่ ล� ำ ห้ ว ยคลิ ตี้ ป นเปื ้ อ น จังหวัดกาญจนบุรีที่อาศัยน�้ำในล�ำห้วยคลิตี้ส�ำหรับกิจกรรมใน สารตะกัว่ จากโรงแต่งแร่ และ 16 ปีทชี่ าวบ้านลุกขึน้ มาต่อสู้ ชีวติ ประจ�ำวัน รวมถึงเป็นแหล่งอาหาร จนกระทัง่ มีโรงแต่งแร่ จนชนะคดีศาลปกครอง ของบริษทั เอกชนแห่งหนึง่ เข้ามาด�ำเนินการ หลังจากนัน้ อีก 8 ปี ภาพยนตร์สารคดี ‘By the River: สายน�ำ้ ติดเชือ้ ’ รายได้สว่ น ล�ำห้วยคลิตี้ก็มีสภาพที่เปลี่ยนไป ผู้คนที่อาศัยประโยชน์จาก หนึง่ จะน�ำไปฟืน้ ฟูหมูบ่ า้ นคลิตลี้ า่ ง ล�ำห้วยได้รับสารตะกั่วสูงกว่าค่ามาตรฐาน ท�ำให้ชาวบ้านมี อาการเจ็บป่วยล้มตาย 3

ผลิใบ


IT Generation โดย ผุสดี ลีกระจ่าง (พี่เอ)

ประเมินสถานการณ์น�้ำ...ด้วย

้ ซึง่ ช่วย ภายใต้สภาพภูมิอากาศที่ไม่แน่นอนในปัจจุบัน น�้ำ WEAP เป็นเครือ่ งมือส�ำหรับวางแผนด้านทรัพยากรน�ำ เป็นปัจจัยหลักในการด�ำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก เพิม่ ความสามารถในการเตรียมการได้อย่างครอบคลุม มีความ � การจัดสรรน�้ำจืดที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดให้เพียงพอต่อการด�ำรงชีวิต ยืนหยุน่ และการใช้งานง่าย ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านทรัพยากรน�ำ้ ได้นำ จึงเป็นอีกความท้าทายทีห่ ลายหน่วยงานก�ำลังเผชิญอยูใ่ นตอนนี้ WEAP มาใช้ในการวางแผนและวิเคราะห์นโยบาย ซึ่งเป็น หากไม่ มี ก ารจั ด การที่ เ หมาะสม อาจท� ำ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาการ ประโยชน์ตอ่ การเพิม่ กล่องเครือ่ งมือของแบบจ�ำลอง ฐานข้อมูล ขาดแคลนน�้ ำ ตามมาได้ ดั ง นั้ น จึ ง เกิ ด แนวคิ ด หาเครื่ อ งมื อ โปรแกรมตาราง และซอฟแวร์อนื่ ๆ การจัดการทรัพยากรน�ำ้ อย่างมีระบบ ทีม่ ชี อื่ ว่า WEAP

โครงสร้างของ WEAP สเกมาติก : เครื่องมือ ทาง GIS จะช่วยให้คุณสามารถ ก�ำหนดระบบแหล่งน�้ำของคุณได้อย่าง ง่ายดายและรวดเร็ว ซึ่งได้รวม ความสามารถในการ “ลากและปล่อย” เพื่อการสร้างและก�ำหนดต�ำแหน่ง ขององค์ประกอบของระบบ ที่ต้องการ โน้ต : บันทึกข้อมูล หรือข้อสมมติฐาน ของคุณ

4

ผลิใบ

ข้อมูล : เครื่องมือสร้าง แบบจ�ำลองเพื่อช่วยให้สร้างตัวแปร และความสัมพันธ์ การใส่ข้อมูล ข้อสันนิษฐานและการประมาณการโดย ใช้สมการทางคณิตศาสตร์ การลิงก์ โดยตรงกับแฟ้มข้อมูล Excel ส�ำหรับการน�ำเข้าและส่งออก ข้อมูล

ผลลัพธ์ : การแสดงผล ที่ละเอียดและยืดหยุ่นได้ส�ำหรับ ผลลัพธ์ของแบบจ�ำลองทั้งหมด สามารถดูได้ในแบบของกราฟ ตาราง และบนแผนที่ ส�ำหรับกราฟและแผนที่ สามารถดูผลลัพธ์แบบเคลื่อนไหวได้ ตลอดในช่วงเวลาที่ต้องการ

การค้นหา สถานการณ์ : ออกแบบกลุ่ม ของกราฟสรุปให้เน้นตัวชี้วัดหลัก ของระบบ ให้สามารถพิจารณาดูได้ โดยเร็ว การเปลี่ยนข้อมูลน�ำเข้า มีผลกระทบต่อผลลัพธ์


สถานะที่ WEAP ต้องท�ำงาน

ตัวอย่าง WEAP หัวใจของ WEAP คือการจ�ำลองสถานการณ์ เป็นการใช้แบบ จ�ำลองในสถานการณ์โดยมีคำ� ถาม “จะเป็นอย่างไรถ้า”

ฐานข้อมูลของสมดุลน�ำ้ : WEAP มีระบบทีส่ ามารถรักษา ตัวอย่างเช่น : ข้อมูลปริมาณน�ำ้ ทีต่ อ้ งการและปริมาณน�ำ้ ต้นทุน

เครือ่ งมือในการสร้างสถานการณ์ตา่ งๆ : สร้างลักษณะ จะเป็นอย่างไรถ้ารูปแบบการเพิ่มของประชากรเพิ่มและ ของความต้องการน�ำ้ จริง ปริมาณมลพิษ แหล่งน�ำ้ และปริมาณ การพัฒนาทางเศรษฐกิจเปลีย่ นแปลงไป น�ำ้ ต้นทุนของระบบ จะเป็นอย่างไรถ้ากฎการจัดการอ่างเก็บน�ำ้ ถูกเปลีย่ น เครื่องมือในการวิเคราะห์นโยบาย : WEAP ประเมิน จะเป็นอย่างไรถ้าหากน�ำ้ ใต้ดนิ ถูกใช้ไปมากกว่านี้ ทางเลื อ กทั้ ง หมดของการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ และการจั ด การ พิจารณาถึงการใช้นำ�้ ทีแ่ ข่งขันกันในหลายภาคส่วนของระบบน�ำ ้ จะเป็นอย่างไรถ้าการอนุรกั ษ์นำ�้ ถูกน�ำมาใช้

การท�ำงานของ WEAP

จะเป็นอย่างไรถ้ามีการกวดขันความต้องการทางระบบนิเวศ มากขึน้ จะเป็นอย่างไรถ้ามีการหมุนเวียนน�ำ้ มาใช้ใหม่

การก�ำหนดการศึกษา : สร้างกรอบระยะเวลา ขอบเขต จะเป็ น อย่ า งไรถ้ า หากว่ า เทคนิ ค การชลประทานมี เชิงพืน้ ที่ องค์ประกอบของระบบ ลักษณะของปัญหาทีต่ อ้ งการ ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ศึกษา จะเป็ น อย่ า งไรถ้ า หากว่ า การปลู ก พื ช แบบผสมนั้ น ลักษณะปัจจุบนั : สร้างลักษณะของความต้องการน�ำ้ จริง เปลีย่ นแปลงไป ปริ ม าณมลพิ ษ แหล่ ง น�้ ำ และปริ ม าณน�้ ำ ต้ น ทุ น ของระบบ จะเป็นอย่างไรถ้าหากว่าการเปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ ในส่วนนี้สามารถพิจารณาเป็นขั้นตอนการปรับแบบจ�ำลองของ ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณน�้ำต้นทุนและปริมาณน�้ำที่ การศึกษาเป็นครัง้ ได้ ต้องการ จ�ำลองสถานการณ์ : ทดสอบสมมติฐานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับ ผลกระทบในอนาคตต่อนโยบาย ราคา และภูมอิ ากาศ อาทิเช่น มลพิ ษ จากเหนื อ น�้ ำ มี ผ ลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพน�้ ำ ทางด้ า น ส�ำหรับปริมาณน�ำ้ ทีต่ อ้ งการ ปริมาณน�ำ้ ต้นทุน อุทกวิทยา และ ท้ายน�ำ้ อย่างไร มลภาวะต่างๆ การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การประเมินผล : สถานการณ์ต่างๆ นั้นเกี่ยวเนื่องกับ น�ำ้ ท่าอย่างไร ความเพียงพอของน�ำ ้ ราคา และผลประโยชน์ การเข้ากันกับ เป้าหมายด้านสิง่ แวดล้อม และความอ่อนไหวต่อความไม่แน่นอน ในตัวแปรหลัก ทีม่ า http://www.weap21.org/index.asp?action=201&NewLang=TH

5

ผลิใบ


จัดหาแหล่งน�้ำให้เพียงพอ

รักษาแหล่งน�้ำจากกิจกรรมทางการเกษตร

้ำ • การจัดหาแหล่งน�้ำและการเก็บกักน�

• การท�ำการเกษตร

ื่ อ เก็ บ โด ยก าร สร ้ า งอ ่ า งเก็ บ น�้ ำ หรื อ ฝา ยเพ าภาชนะ น�้ำผิวดิน ในส่วนของครัวเรือนอาจห กักเก็บที่เหมาะสมไว้ใช้ในยามจ�ำเป็น ............ ........................................................

• การจัดระบบจ่ายน�้ำ

ันแล้ว โดยการผันน�้ำจากแหล่งน�้ำต่างๆ มารวมก แจกจ่ายไปสู่พื้นที่ที่ต้องการ ............ ........................................................

• บ่อบาดาล

่ ง น�้ ำ จื ด เป ็ น อี ก แน วท าง หนึ่ ง ใน กา รห าแ หล ดิน และ เพราะน�้ำบาดาลมีปริมาณมากกว่าน�้ำผิว ขึ้นเพราะ ก�ำลังกลายเป็นแหล่งน�้ำจืดทีส่ �ำคัญมาก ีโอกาส นอกจากมีปริมาณมากแล้ว น�้ำบาดาลม จุลินทรีย์ ปนเปื้อนต�่ำกว่าน�้ำผิวดิน ปราศจาก งที่ สี และมีองค์ประกอบทางเคมีค่อนข้างค

ท�ำได้โดยการลดการใช้สารเคมี เช่น ปุ๋ยและสารก� ำจัด ศั ต รู พื ช สาม ารถ ช่ ว ยลด การ ปน เปื ้ อ นขอ งสา รเค มี ใ น แหล่งน�้ำทั้งน�้ำผิวดินและน�้ำใต้ดิน หรือใช้ระบบน�้ำ หยด ในการเพาะปลูกแทนการรดน�้ำทีละมากๆ จะช่ว ยลด การสูญเสียน�้ำจากการรดน�้ำแบบดั้งเดิมได้มาก ....................................................................

• ปศุสัตว์

การเลี้ยงสัตว์ประเภทเล็มหญ้าควรมีการจัดการเรื่อ งมูล ไม่ให้ปนเปื้อนสู่แหล่งน�้ำได้ ....................................................................

• เลือกปลูกพืชที่มีอัตราการคายน�้ำต�่ำ

การปลูกพืชจ�ำพวกสมุนไพรหรือหญ้าช่วยรักษาความ ชื้น ในดิ น มาก กว่ า ไม้ ยื น ต้ น ขนา ดให ญ่ เนื่ อ งจา กพื ช สมุนไพรมีอัตราการคายน�้ำต�่ำกว่า สามารถลดอ ัตรา การใช้น�้ำได้ โดยเฉพาะในพื้นที่การเกษตรควรปลู กพืช คลุ ม ดิ น กลุ ่ ม นี้ เ พื่ อ ลดก ารก ร่ อ นขอ งดิ น และ รั ก ษา ความชื้นในดิน ....................................................................

• การตัดไม้

ควรวางแผนตัดไม้อย่างถูกวิธีช่วยลดความเสียหาย ของ หน้าดินจากการกร่อนซึ่งส่งผลให้น�้ำในแหล่งน�้ำขุ่น ได้

6

ผลิใบ


รักษาแหล่งน�้ำจากอุตสาหกรรม

การรักษาแหล่งน�้ำจากกิจกรรม

• น�้ำเสียจากอุตสาหกรรม

• น�้ำเสียจากชุมชน

โดย โรงงานต้องวางแผนการใช้น้�ำอย่างคุ้มค่า ลดการปล่อยน�้ำเสีย ำบัด การท�ำบ�ำบัดน�้ำก่อนปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อม ขั้นตอนการบ� น�้ำเสียโดยทั่วไปมีสามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนแรก เป็นการใช้กระบวนการทางกายภาพเพื่อแยก างๆ ของแข็งที่ปนเปื้อนมากับน�้ำเสียออกก่อน เช่น ตะกอนขนาดต่ กรง ใบไม้ และเศษชิ้นส่วนทางอุตสาหกรรม โดยการกรองผ่านตะแ ติม หลังจากนั้นน�้ำเสียจะไหล่ลงสู่ถังเก็บ หลังจากนั้นจะท�ำการเ งน�้ำ คลอรีนเพื่อก�ำจัดจุลชีพที่อยู่ในน�้ำเสียแล้วจึงปล่อยน�้ำลงสู่แหล่ ำให้ ธรรมชาติ ส่วนตะกอนเหลวหนืดที่ตกอยู่ก้นถังนั้นแยกออกแล้วท� แห้งก่อนน�ำไปทิ้ง ขั้นตอนที่สอง น�้ำที่แยกตะกอนเหลวหนืดในขั้นตอนแรก ่อให้ แล้ว น�ำมาบ�ำบัดในขั้นตอนที่สองคือการเติมออกซิเจนลงในน�้ำเพื แบคทีเรียย่อยอินทรีย์วัตถุที่หลงเหลืออยู่ในน�้ำให้น�้ำใสขึ้น น�้ำส่วนบน ยลง จะปล่อยเข้าถังต่อไปและเติมคลอรีนเพื่อท�ำลายแบคทีเรียก่อนปล่อ การ สู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ แต่หากมีสารเคมีในปริมาณสูงอยู่ ต้องท�ำ งไป บ�ำบัดในขั้นตอนที่สามก่อน ส่วนตะกอนหนืดที่อยู่ก้นถังจะถูกส่ ้ง ย่อยโดยแบคทีเรีย โดยไม่เติมออกซิเจนแล้วจึงท�ำให้แห้งก่อนน�ำไปทิ ขั้ น ตอน ที่ ส าม เป็ น ขั้ น ตอน การก� ำ จั ด สารม ลพิ ษ เช่ น ่ช่วย ไนเตรต และฟอสเฟตที่ละลายอยู่ในน�้ำเสียออก ซึ่งเป็นขั้นตอนที รักษาน�้ำในระบบนิเวศได้ดี

ชุมชน

กา รล ดก าร ปล ่ อ ยน�้ ำ เสี ย จา กชุ ม ชน หรื อ ครัวเรือนลงสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ โดยการสร้าง บ่อกักเก็บอย่างถูกวิธี ท�ำการต ิดตั้งสุขภัณฑ์ แล ะร ะบ บป ระ หยั ด น�้ ำ ปรั บ ปร ุ ง นิ สั ย กา ร บริโภคเท่าที่เหมาะสมและจ�ำเป็นเพ ื่อลดของเสีย การลดการใช้น�้ำเป็นการช่วยประ หยัดเงินไปใน ตัวด้วย อย่างไรก็ตาม น�้ำเสีย จากชุมชนนั้น สา มา รถ ท� ำ กา รบ� ำ บั ด ได ้ เ หมื อ นก ั บ ขั้ น ตอ นที่ กล่าวมาข้างต้น

• การพัฒนาเมือง

การก่อสร้างอาคารและการตัดถน นเป็นปัญหา ให ญ่ ต ่ อ แห ล่ ง น�้ ำ แล ะพื้ น ที่ ลุ ่ ม น� ้ ำ มา ก กา ร ขยายตัวของเมืองท�ำให้รุกล�้ำเข้าไป ในพื้นที่ลุ่มน�้ำ ส่งผลต่อการซึมผ่านของน�้ำ แล ะเกิดปัญหาต่อ ทั้ ง ปริ ม าณ แล ะคุ ณ ภา พข อง น�้ ำ บา ดา ล กา ร สร ้ า งถ นน ตั ด ขว าง ทา งน�้ ำ ธร รม ชา ติ เช ่ น ถนนวงแหวนรอบเมือง หา กมี ก าร วา งแ ผน ไม่ดี อาจเกดิ น�ำ้ ท่วมได้งา่ ย

ส�ำหรับน้องๆ เองก็สามารถช่วยรักษาทรัพยากรน�้ำได้เช่นกัน โดยเริ่มต้นจากการใช้น�้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่าโดยไม่ปล่อย ให้น�้ำสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ และที่ส�ำคัญต้องไม่สร้างปัญหาหรือท�ำลายแหล่งน�้ำไม่ว่าวิธีการใดๆ ถ้าทุกคนท�ำได้เช่นนี้เราก็จะมี น�้ำสะอาดไว้ใช้ได้อีกนานเลยค่ะ ข้อมูล : http://www.rmuti.ac.th. (วันที่สืบค้น 25 มกราคม 2559) http://www.suriyothai.ac.th. (วันที่สืบค้น 25 มกราคม 2559) http://www.green.kmutnb.ac.th. (วันทีส่ ืบค้น 25 มกราคม 2559) ภาพประกอบ : ภาพต้นก้ามปูหลุด จาก http://suankularb-samut.blogspot.com. (วันที่สืบค้น 25 มกราคม 2559) ภาพตึก จาก http://www.wellbeingpeople.com/wellbeing/building-environment.html. (วันที่สืบค้น 25 มกราคม 2559) ภาพต้นไม้ จาก http://www.lughertexture.com. (วันที่สืบค้น 25 มกราคม 2559)

7

ผลิใบ


Animal Wonders โดย ผลิใบ

กลไกประหยัดน้ำ�ของอูฐ ...บนผืนทะเลทรายอันกว้างใหญ่ คงไม่มอี ะไรน่าตืน่ เต้นไปกว่าการ แต่กอ่ นทีเ่ ราจะไปรอบรูเ้ รือ่ งกลไกพิเศษนี้ เรามาทำ�ความรูจ้ กั กับอูฐ ได้สัมผัสกับความร้อนระอุและความแห้งแล้งอย่างหาที่เปรียบ กันก่อนค่ะ ไม่ได้ เมือ่ มองผ่านเลนส์กล้องหลายคนอาจเห็นความงดงามของ ผื น ทรายสี น้ำ� ตาลที่ ตั ด กั บ ขอบฟ้ า อย่ า งเป็ น ระบบระเบี ย บ แต่ ถ้ า เป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ ต้ อ งอาศั ย อยู่ ท่ า มกลางภั ย ธรรมชาติ ใ น อูฐมีขนตายาวมาก อูฐสามารถอุดจมูก ทะเลทรายคงไม่ชนื่ ชมไปกับความงดงามทีธ่ รรมชาติสร้างขึน้ สัก เพือ่ ป้องกันไม่ให้ ได้ทนั ทีทต่ี อ้ งการ เท่าใดนัก เม็ดทรายเข้าตา ...แต่เมือ่ เลือกไม่ได้กจ็ ำ�เป็นต้องมีวธิ ใี นการสร้างวิวฒ ั นาการหรือ เกราะป้องกันในการเอาชีวิตรอดให้กับตัวเอง ...อย่างเช่นเจ้าอูฐตัวใหญ่สัญลักษณ์ของทะเลทรายนี้ มันก็มี ลักษณะพิเศษหลายอย่างที่จะเอาตัวรอดจากการเดินทางใน ทะเลทรายอันยาวไกล โดยกลไกพิเศษทีจ่ ะประหยัดการใช้น้ำ�ใน ร่างกายให้ได้มากทีส่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะมีนำ�้ สำ�รองใช้หมุนเวียนในร่างกาย ได้อย่างตลอดรอดฝั่งจนกว่าจะเจอแหล่งน้ำ�แห่งใหม่ต่อไป ...สงสัยกันแล้วใช่ไหมคะว่าอูฐมีกลไกในการประหยัดน้ำ�อย่างไร จะเหมือนก๊อกประหยัดน้ำ�ที่เรา เห็นตามสือ่ โฆษณาหรือไม่ แน่นอนว่าไม่ใช่คะ่

8

ผลิใบ

เป็นอีกกลไกทีใ่ ช้ปอ้ งกัน พายุทรายได้ดี


...หลังจากที่น้องๆ ได้รู้ความลับมากมายที่ซ่อนอยู่ในตัวอูฐกันไป แล้ว ทีน่ ก้ี ถ็ งึ เวลาทีเ่ ราจะได้รแู้ ล้วละค่ะว่าอูฐมีกลไกในการประหยัด น้ำ�ในตัวมันเองอย่างไร ...มีหลายคนเข้าใจว่าโหนกที่หลังของอูฐนั้นเป็นที่เก็บสะสมน้ำ� แต่จริงๆ แล้วส่วนนี้กลับอุดมไปด้วยไขมัน แม้แต่กระเพาะอาหาร ของอูฐเองก็ไม่สามารถเก็บน้ำ�ไว้ได้ ครั ้งละมากๆ ร่างกายของมันจึง โหนกของอูฐ ต้ องอาศัยกลไกพิเศษดังต่อไปนี้ เป็นทีเ่ ก็บไขมัน เพื ่อที่จะเก็บน้ำ�ไว้ใช้ได้ตลอด ซึง่ จะดึงออกมาใช้เมือ่ ไม่มี การเดิ นทาง อาหารกิน และความร้อนทีส่ ะสม

ในตัวอูฐก็จะลอดออกมา ทางโหนกนีด้ ว้ ย

อุ ณ หภู มิ ร ่ า งกายคนเราจะไม่ ส ามารถสู ง เกิ น กว่ า 37 องศาเซลเซียสได้มากนัก เมื่อใดที่อุณหภูมิสูงกว่าเกณฑ์ ร่างกายจะหลั่งเหงื่อเพื่อปรับให้อุณหภูมิในร่างกายลดลง แต่อูฐ จะรับความร้อนได้มากถึง 41 องศาเซลเซียส เหงื่อจึงจะหลั่ง ออกมา ดังนัน้ อูฐจึงรักษาน�ำ้ ไว้ในร่างกายได้มากกว่าคนหลายเท่า ขนอูฐสามารถกันความร้อนภายนอกได้ ซึ่งขนอูฐจะ ไม่ ห นาหรื อ ยาวเกิ น จ� ำ เป็ น มิ ฉ ะนั้ น เหงื่ อ ที่ ร ะบายออกจาก ร่างกายจะไม่สามารถระเหยได้ ระบบสรี ระของอู ฐ สามารถทนทานต่ อการสูญเสีย น�้ำ ในร่างกายได้ดีกว่าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่น เพราะสัตว์ชนิด อื่นจะตายทันทีเมื่อร่างกายสูญเสียน�้ำเพียงร้อยละ 20 แต่อูฐ สามารถทนอยู่ได้ แม้ร่างกายจะสูญเสียน�้ำถึงร้อยละ 40 อูฐดื่มน�้ำได้ครั้งละมากๆ อูฐบางตัวดื่มน�้ำในปริมาณเกือบ 1 ใน 3 ของน�้ำหนักตัวภายในเวลา 10 นาที

ท้องของอูฐ เป็นทีเ่ ก็บน้ำ�ชัน้ ดี แล้วจะปล่อยออกมา ทางระบบย่อยทีละน้อยๆ ทำ�ให้ยอ่ ยแม้แต่หญ้าแห้ง ได้อย่างสบาย

9

ผลิใบ


English for Fun โดย ภัทรียา จันทร์ประสิทธิ์ (พี่โอ๊ะ)

ส�ำหรับคอลัมน์ English for Fun ฉบับนี ้ พี่โอ๊ะขอน�ำเสนอค�ำศัพท์ทางด้านสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวกับน�้ำในบริบทต่างๆ พร้อมค�ำอธิบาย และยกตัวอย่างประโยคมาให้น้องๆ ได้เรียนรู้ ร่วมกัน หวังว่าน้องๆ ที่ติดตามอ่านคอลัมน์ English for Fun ทุกคนจะได้รับความรู้ทั้งทางด้านภาษาอังกฤษและมีความเข้าใจ ความหมายของศัพท์เกี่ยวกับน�้ำไปพร้อมๆ กัน โดยหากน้องๆ สนใจค�ำไหนเป็นพิเศษก็อย่าลืมท่องไว้บ้างนะคะ เพราะต่อไป จะต้องเจอค�ำเหล่านี้อีกอย่างแน่นอนค่ะ Available Water น�้ำที่ใช้ประโยชน์ได้ เช่น สามารถเกิดขึ้นเมื่อฝนตกอย่างรวดเร็วบนพื้นดินที่อิ่มตัว หรือ ดินแห้งที่มคี วามสามารถในการดูดซึมต�่ำ น�้ำที่อยู่ในดินซึ่งพืชสามารถดูดซับไปใช้ได้ ตัวอย่างประโยค The total available water capacity is the portion of water that can be absorbed by plant roots. ความจุทั้งหมดของน�้ำที่ใช้ประโยชน์ได้ เป็นส่วนของน�้ำที่รากพืชสามารถดูดซับไปใช้ได้​้

Industrial Wastewater น�้ ำ เ สี ย อุ ต สาหกรรม หรื อ น�้ ำ เสี ย ที่ ม าจากการประกอบกิ จ การ โรงงาน เช่ น น�้ ำ เสี ย จากกระบวนการผลิ ต ต่ า งๆ น�้ ำ ที่ ใ ช้ ท�ำความสะอาดเครื่องมือและพื้นที่ในโรงงาน เป็นต้น

Domestic Wastewater น�้ ำ เสี ย ชุ ม ชน หรือน�้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจ�ำวันของคนที่อาศัยอยู่ใน ชุมชน และกิจกรรมที่เป็นอาชีพ เช่น น�้ำเสียที่เกิดจากการ ประกอบอาหารและช� ำ ระล้ า งสิ่ ง สกปรกทั้ ง หลายภายใน ครัวเรือน และอาคารประเภทต่างๆ รวมถึงจากพื้นที่ท�ำการ เกษตร เป็นต้น

ตัวอย่างประโยค Removal of heavy metal from industrial wastewater using charcoa. การใช้ถ่าน ชาร์โคลในการก�ำจัดโลหะหนักในน�้ำเสียอุตสาหกรรม

Water Pollution มลพิษทางน�้ำ หรือน�้ำที่มี สิ่งเจือปนอยู่มากเกินขีดจ�ำกัด หรือมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจาก ธรรมชาติ ท�ำให้เกิดความเสียหายต่อการใช้ประโยนช์ทั้งการ ตัวอย่างประโยค Plants in constructed wetland อุปโภคและบริโภค จนท�ำให้มนุษย์ สัตว์ พืช ได้รับอันตราย could absorb organic matters in domestic ทั้งทางตรงและทางอ้อม wastewater. พืชในพื้นที่ชุ่มน�้ำเทียมสามารถดูดซับสาร ตัวอย่างประโยค There are many types of water อินทรีย์ในน�้ำเสียชุมชนได้ pollution because water comes from many Flash Flood น�้ำท่วมฉับพลัน คือน�้ำท่วมที่เกิด sources. มลพิษทางน�้ำมีหลายรูปแบบเนื่องจากน�้ำมาจาก ขึ้นอย่างรวดเร็วมากในบริเวณที่ลุ่มต�่ำ เกิดจากฝนที่ตกหนัก หลายแหล่ง มากติดต่อกัน หรือน�้ำที่มาจากเขื่อนหรือฝายพังทลาย Wastewater Treatment การบ� ำ บั ด ตัวอย่างประโยค Flash floods can occur when it น�้ ำ เสี ย โรงบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย เป็ น สถานที่ ร วบรวมน�้ ำ เสี ย จาก rains rapidly on saturated soil or dry soil that บ้านเรือน แหล่งพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และอื่นๆ เข้าสู่ has poor absorption capability. น�้ำท่วมฉับพลัน กระบวนการบ�ำบัดแบบต่างๆ เพื่อก�ำจัดมลสารที่อยู่ในน�้ำเสีย 10

ผลิใบ


ท� ำ ให้ มี คุ ณ ภาพดี ขึ้ น และไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ แม่ น�้ ำ ล�ำคลอง แหล่งน�้ำธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อม โดยน�้ำเสียที่ ผ่านการบ�ำบัดแล้วจะถูกระบายลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ หรือ บางส่ ว นสามารถน� ำ กลั บ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นด้ า นการเกษตร อุตสาหกรรม และอื่นๆ ได้

เป็นบริเวณที่เมื่อน�้ำลดลงต�่ำสุดจะมีความลึกของระดับน�้ำไม่ เกิน 6 เมตร

ตั ว อย่ า งประโยค Wetlands are found from the tundra to the tropics and on every continent except Antarctica. พื้นที่ชุ่มน�้ำ พบจากเขตทุนดรา ไปยัง ตั ว อย่ า งประโยค The major aim of wastewater เขตร้อน และพบในทุกทวีปยกเว้นแอนตาร์กติกา treatment is to remove harmful substances. Water Footprint รอยเท้าน�้ำ เป็นตัวชี้วัดการ วัตถุประสงค์หลักของการบ�ำบัดน�้ำเสียคือการก�ำจัดสารที่เป็น ใช้น�้ำทั้งทางตรงและทางอ้อมของผู้บริโภคหรือผู้ผลิตรายหนึ่งๆ อันตรายที่มีอยู่ในน�้ำเสีย ซึ่งในชีวิตประจ�ำวันทุกกิจกรรมที่เราท�ำล้วนใช้น�้ำทั้งสิ้น Water Resource ทรัพยากรน�้ำ หน่วยพื้นที่ ตัวอย่างประโยค Your water footprint is the amount หนึ่ ง ที่ ป ระกอบด้ ว ยทรั พ ยากรกายภาพ ทรั พ ยากรชี ว ภาพ of water you use in and around your home, ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น (คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์) school or office throughout the day. รอยเท้าน�้ำ และทรัพยากรคุณภาพชีวิต (สังคมสิ่งแวดล้อม) ระบบลุ่มน�้ำ ของเราคือ จ�ำนวนของน�้ำรอบตัวที่เราใช้ตลอดทั้งวัน ทั้งที่ ประกอบด้วยทรัพยากรเหล่านี้อยู่รวมกันคละกันอย่างกลมกลืน บ้าน โรงเรียน หรือที่ท�ำงาน จนมีเอกลักษณ์และพฤติกรรมร่วมกัน ตั ว อย่ า งประโยค Water resources are used in various ways such as direct consumption, ที่มา : http://www.environnet.in.th/2014/?p=6723. (สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2559). agriculture, irrigation household and recreation. http://eschooltoday.com/pollution/water-pollution/ ทรัพยากรน�้ำถูกใช้ ในรูปแบบต่างๆ เช่น การบริโภคโดยตรง types-of-water-pollution.html. (สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ การชลประทาน การเกษตร บ้านเรือน และกิจกรรมการ 2559). พักผ่อน Water Security

ความมั่นคงทางทรัพยากรน�้ำ

ตัวอย่างประโยค Water security is the hot issues in the 21 st century. ความมั่ น คงทางทรั พ ยากรน�้ ำ เป็ น ประเด็นร้อนแรงในศตวรรษที่ 21 Wetland พื้นที่ชุ่มน�้ำ ลักษณะทางภูมิประเทศที่มี รูปแบบเป็นพื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ�่ำน�้ำ พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน�้ำทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่ มนุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น ทั้ ง ที่ มี น�้ ำ ขั ง หรื อ ท่ ว มอยู ่ ถ าวรและชั่ ว คราว ทั้งที่เป็นแหล่งน�้ำนิ่งและน�้ำทั้งที่เป็นน�้ำจืด น�้ำกร่อย และ น�้ ำ เค็ ม รวมไปถึ ง พื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง ทะเล และพื้ น ที่ ข องทะเล 11

ผลิใบ


On the Move โดย ผลิใบ

น้ำ�แข็งทั้งหมดในโลกแบ่งเป็น

น�้ำแข็งขั้วโลก

น้ำ�แข็งขั้วโลกมีประโยชน์อย่างไร

เป็นถิ่นฐานของสัตว์

น�้ำแข็งบนยอดเขา

น�้ำแข็งในทะเล

จริงหรือที่ขั้วโลกกำ�ลังละลาย?

น้ำ�แข็งละลายเกี่ยวกับเรา อย่างไร

75% สัตว์ไม่มีที่อยู่อาศัย เราสูญสียน�้ำแข็งขั้วโลกไปแล้ว 75%

สะท้อนความร้อนจากดวงอาทิตย์

เกิดภัยพิบัติต่างๆ มีอัตราการละลายสูงกว่าปกติ รักษาสมดุลอากาศ ส�ำหรับการท�ำเกษตรกรรม

รักษาสมดุลระดับน�้ำทะเล 12

ผลิใบ

หยุดสร้างภาวะโลกร้อน เพื่อทุกชีวิตบนโลก ที่มา : www.SaveTheArctic.org/th ภาพ : www.freepik.com

สูญเสียแหล่งอาหาร เพราะอากาศแปรปรวน


Grow the Earth โดย ผลิใบ

คาโลโปโกเนียม

เซนโตซีมาหรือถัว่ ลาย

ซีรเู ลียม

พชื คลมุ ดนิ ชว่ ย อะไร

ทำ� ใหด้ นิ มสี งิ่ ร องรบั แรงปะท ะจากเมด็ ฝน ดดู ธาตอุ าหาร ซงึ่ อาจสญ ู เสยี ไปโดยกา ละลาย โด รชะ ยนำ�้ ภายใตด้ นิ เป ็ น ปุ ๋ ย พื ช ส ด เพิ่ ม อิ น ท รี ย ว อาหารพชื ั ต ถุ แ ล ะ ธ า ตุ ใหแ้ กด่ นิ ท�ำให้สมบัติทา งกายภาพของ ดนิ จะอมุ้ น ดินดีขึ้น คือ ำ้� และระบายนำ�้ ไดด้ ี

อนุรกั ษ์ดนิ และน�ำ้ โดยวิธี “พืช”

การปลูกหญ้าแฝก

การปลูกพืชตามแนวระดับ คือ การไถพรวน หว่าน ปลูก และ เก็บเกี่ยวพืชขนานไปตามแนวระดับ เดียวกันขวางความลาดเทของพืน้ ที่ ช่วยสงวนดินจากการกัดกร่อน ประมาณ 0.12-16.72 ตัน/ไร่/ปี สงวนน�้ ำ ไว้ ใ นดิ น ได้ ป ระมาณ 12.3-482.6 มม./ ปี ผ ล ผ ลิ ต เ พิ่ ม ขึ้ น ป ร ะ ม า ณ 10 เปอร์เซ็นต์ ป้องกันกล้าพืชและเมล็ดพืชไม่ให้ ถูกน�ำ้ ชะพาไป

หญ้าแฝกมีการแตกกอจ�ำนวนมาก และเบียดเสียด กันอย่างหนาแน่น ปลูกติดต่อกันเป็นแถวหน้ากระดาน เป็นก�ำแพงต้านทานตะกอนดินทีถ่ กู น�ำ้ กัดเซาะ และชะลอ ความเร็วของน�ำ ้ ท�ำให้นำ�้ เอ่อและไหลซึมลงไปใต้ดนิ เมื่อหญ้าแฝกมีอายุใกล้ออกดอกและแตกหน่อ เมื่อ ตะกอนดินทับถมสามารถตัง้ กอใหม่ได้ ต้นและใบเมื่อย่อยสลายแล้วช่วยเพิ่มแร่ธาตุอาหาร พืชให้แก่ดนิ เมือ่ ถูกไฟเผาจะแตกหน่อใหม่เขียวสดขึน้ มา ทันทีไม่จำ� เป็นต้องมาปลูกใหม่ หญ้าแฝกมีรากทีเ่ จริญเติบโตอย่างรวดเร็วแตกแขนง เป็นรากฝอยประสานกันแน่นเหมือนตาข่ายหรือร่างแห เกาะยึดดินให้มีความแข็งแรงมั่นคง การปลูกหญ้าแฝก ติดต่อกันระบบรากจะเป็นเสมือนม่านใต้ดนิ ชะลอการไหล ซึมของน�้ำใต้ดิน ท�ำให้ความชื้นในดินเพิ่มขึ้น ป้องกัน การกัดเซาะของน�ำ้ 13

ผลิใบ


Young Artist โดย ผลิใบ

ส�ำหรับ Young Artist ในฉบับนี้ พีผ่ ลิใบจะขอน�ำเสนอไอเดียของเด็กๆ ในต่างประเทศทีอ่ อกแบบสิง่ ของตามจินตนาการ ซึ่งเขาคิดว่าถ้ามีส่ิงของเหล่านี้อยู่จริงคงจะดีไม่น้อย จนในที่สุดแนวความคิดของเด็กๆ เหล่านี้ได้ถูกน�ำมาสานฝันให้เป็นจริงโดย ผูใ้ หญ่ใจดีทเี่ นรมิตงานออกแบบของเด็กๆ ให้เป็นของใช้ได้จริง มาดูกนั ค่ะว่ามีผลงานอะไรบ้าง

Pringles Hook

Ezy Slice Fryer

ออกแบบโดยเด็ ก วั ย 11 ปี ซึง่ Pringles Hook จะช่วยให้เรา กินขนม Pringles ได้ ง่ า ยขึ้ น เพราะปกติ แล้วเวลากิน ต้องเอา มือล้วงลงไป หรือไม่ก็ ต้องเทออกมา แต่ถ้า มีเจ้าสิง่ นี้ เพียงแค่ดงึ ขึน้ มาก็ทานได้แล้ว

ออกแบบโดยเด็กวัย 11 ปี ซึง่ หนู น้ อ ยคนนี้ คิ ด เครื่ อ งที่ ส ามารถ ท� ำ เฟรนช์ ฟ รายแบบรวดเร็ ว ได้ เพียงแค่เอามันฝรั่งไปวางแล้วกด ลงมาให้ผา่ นใบมีด มันฝรัง่ สไลด์ก็ จะตกลงไปในหม้ อ ทอดในทั น ที แถมยังคิดที่กั้นกันน�้ำมันกระเด็น เอาไว้ดว้ ย เพราะค�ำนวนไว้แล้วว่า ตอนมั น ฝรั่ ง ร่ ว งลงในหม้ อ ทอด จะต้องมีแรงกระแทกท�ำให้น�้ำมัน ร้อนๆ กระเด็นขึน้ มา

Self Waterer Plant Pot – S.W. P.P. ออกแบบโดยเด็กวัย 10 ขวบ เป็นทีร่ ดน�ำ้ อัตโนมัติ ส�ำหรับคน ทีไ่ ม่คอ่ ยมีเวลาหรือขีล้ มื ไม่วา่ จะ ไม่อยู่บ้านนานแค่ไหนก็ไม่ต้อง กลัวว่าต้นไม้จะตายอีกต่อไป

Glasswards ออกแบบโดยเด็กวัย 11 ปี เป็นแว่นทีส่ ามารถมองเห็นข้างหลังได้ โดยใช้ ระบบกระจกสะท้อน 14

ผลิใบ


Family Scooter ออกแบบโดยเด็กวัย 9 ขวบ ทีน่ กึ สนุกอยากเล่นสกูต้ เตอร์พร้อม กับครอบครัว ก็เลยคิดเจ้าสิง่ นีข้ นึ้ มาเพือ่ ให้คนในครอบครัวได้เล่น พร้อมกัน

Shady Lamp ออกแบบโดยเด็กวัย 11 ปี เป็นโคมไฟทีม่ มี า่ นบังแสง ไม่ให้จ้าหรือมืดจนเกินไป โดยระบบของมันก็เหมือน ม่านทัว่ ไป แค่ดงึ สายทีอ่ ยูข่ า้ งๆ มันก็จะกางออก ท�ำให้ สว่างขึ้น หรือถ้าอยากได้ไฟมืดๆ ก็ดึงอีกทางม่านก็จะ ค่อยๆ หุบลง

Phone Friend เป็นไอเดียส�ำหรับคนพิการ คือ โทรศัพท์เครื่องนี้สามารถยื่นออก มาให้กบั คนทีน่ งั่ วีลแชร์ใช้ได้ ต่าง จากโทรศั พ ท์ ส าธารณะทั่ ว ไป (ผลงานนีผ้ ใู้ หญ่คดิ ค่ะ)

15

ผลิใบ


Tooth-O-Matic ออกแบบโดยเด็กวัย 12 ปี แปรงสีฟนั นีม้ คี วามพิเศษคือ ไม่ตอ้ งคอยบีบยาสีฟนั ให้ยงุ่ ยาก เพียงแค่เติมยาสีฟนั ใส่ลง ไปในด้ามแปรง พอจะแปรงก็กดตรงด้ามเหมือนเข็มฉีดยา ยาสีฟนั ก็จะออกมาอยูท่ ขี่ นแปรงแล้วค่ะ

Food Cooler ออกแบบโดยหนูนอ้ ยวัย 6 ขวบ มันคือส้อมทีม่ พี ดั ลมติด อยูต่ รงด้าม เวลากดปุม่ พัดลมก็จะหมุน ช่วยเป่าให้อาหาร ร้อนๆ เย็นลงได้ ทีนหี้ นูๆ ก็ไม่ตอ้ งโดนอาหารร้อนๆ ลวก จนลิน้ พองแล้วละค่ะ

ไอเดียของเด็กๆ ในยุคนีไ้ ม่แพ้ผใู้ หญ่เลยใช่ไหมคะ ในอนาคตข้างหน้าพีเ่ ชือ่ ว่าพวกเขาจะต้องได้เป็นนักประดิษฐ์ทยี่ อดเยีย่ ม สามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ขึน้ มาได้อย่างไม่รจู้ บ น้องๆ ก็เช่นกันนะคะตราบใดทีไ่ ม่หยุดคิดสร้างสรรค์ บนโลกใบนีก้ ไ็ ม่มอี ะไร ทีเ่ ป็นไปไม่ได้อกี แล้ว พีผ่ ลิใบขอเป็นก�ำลังใจให้คะ่ ทีม่ า : http://designyoutrust.com/2016/02/kids-crazy-inventions-turned-into-real-life-objects/ (วันทีส่ บื ค้น 8 กุมภาพันธ์ 2559).

16

ผลิใบ


Green Energy โดย ผลิใบ

พลังงาน น�้ำตก ใ ช ้ใน

ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ พ ลั ง ง า น น ฟ ้ า จ า ก �้ำ ท�ำได้โ อาศยั พลงั งานของน ดย ำ�้ ธรรมชาต ิ หรือน�้ำ ตกตาม ตก การดัดแป ลงสภาพธ ที่เกิดจาก รร ให้น�้ำตกไห ลผ่านกังห มชาติ โดย ันน�้ำซึ่งติด เครื่องก�ำเ อย นิดไฟฟ้า พลังงานน ู่บน ขึ้ น อ ยู ่ กั บ �้ำที่ได้ ค ว า ม สู ง ข อ ง น อตั ราการไ �้ ำ แ ล ะ หลของนำ�้

พ ลั ง ง า น ง น�้ ำ ขึ้ น น�้ ำ ล

ังงานที่ เป็นแหล่งพล ยการ ไป โด ใชแ้ ลว้ ไมห่ มด ึ้นน�้ำลงให้ น� ำ เอาพลั ง งานที่ านน�้ำข เปลี่ยนพลังง เลอื กแมน่ ำ�้ ื อ ค ลมถ่ายทอดให้กับผิวน�้ำ ้ า ฟ ฟ ไ น ัย เปน็ พลงั งา ด้มากและพิส ไ ำ ้ � ในมหาสมุทรเกิดเป็นคลื่นวิ่ง น บ ็ ก เ ่ ี ท น ้ ื หรืออ่าวที่มีพ สงู แลว้ สรา้ งเขอื่ นทปี่ าก เข้ า สู ่ ช ายฝั ่ ง และเกาะแก่ ง ต่ า งๆ า่ สู ่ ำ�้ ขนึ้ นำ�้ ลงมคี น ง อ ข ึ้ น จ ะ ไ ห ล เข ้ า ข ำ ้ � น อ ่ ื ซึง่ การใช้คลืน่ เพือ่ ผลิตไฟฟ้านัน้ จะต้อง เม ว จาก ากอ่า แ ม ่ น�้ ำ ห รื อ ป เ มื่ อ น�้ ำ ล ง น�้ ำ จ ะ ไ ห ล อ อ ก ง อยูใ่ นโซนทีม่ ยี อดคลืน่ เฉลีย่ อยูท่ ี่ 8 เมตร และ น�้ำต้อ อ ่ า ง เ ก็ บ น�้ ำ หลเข้าออกจากอ่างของ ซึ่ ง บริ เ วณนั้ น ต้ อ งมี แ รงลมด้ ว ย การผลิ ต เครื่อง การไ อ่างเก็บน�้ำ ่านกังหันน�้ำที่ต่อเชื่อมกับ ก ไฟฟ้ า ด้ ว ยพลั ง งานคลื่ น ในปั จ จุ บั น นั้ น ยั ง ไม่ ลผ า้ ออ ควบคุมให้ไห อื่ กงั หนั นำ�้ หมนุ กจ็ ะไดไ้ ฟฟ สามารถใช้ในประเทศไทยได้ เนื่องจากยังไม่มี เม นึ้ พลงั งานนำ�้ ข กำ� เนดิ ไฟฟา้ ก า ้ จ ปัจจุบันพลังงานน�ำได้ถูกน�ำมาใช้ ด ่ ี ไ คลืน่ ปกติสงู ระดับทีก่ ำ� หนด แต่ในต่างประเทศ ท ั ง ล � ำ ตก่ มาใชง้ าน แ ห ล า ก ห ล า ย รู ป แ บ บ โ ด ย อ า ศั ย เริม่ หันมาใช้พลังงานคลืน่ กันบ้างแล้ว สมำ�่ เสมอ ำ�้ ลงจะไมค่ อ่ ย น อุปกรณ์ต่างๆ ในการแปลงพลังน�้ำให้ เป็นพลังงานไฟฟ้า มีเครื่องมืออะไรบ้างมาดู กันค่ะ

พลังงาน คลืน่ เป็นการ

• • • • •

กังหันน�้ำ Hydroelectric Energy Tidal Power Tidal Stream Power Wave Power

ทีม่ า : จาก http://www.student.chula.ac.th/ ภาพประกอบ : กังหันน�ำ้ จาก https://nutchicha.files.wordpress.com Hydroelectric Energy จาก http://www.africanbusinessreview.co.za/ Tidal Power จาก http://www.kids.esdb.bg/ Tidal Stream Power จาก http://www.marineturbines.com/ Wave Power จาก http://www6.cityu.edu.hk/

17

ผลิใบ


Evaluation Fun Facts โดย ผลิใบ

วิวัฒนาการของลำ�น้ำ� ...กว่าทีเ่ ราจะได้สมั ผัสกับแหล่งน�ำ้ ตามธรรมชาติหลายหลายรูปแบบในปัจจุบนั น้องๆ เชือ่ หรือไม่คะว่า “น�ำ้ ” ก็มวี วิ ฒ ั นาการ เช่น เดียวกับคน สัตว์ พืช หรืออืน่ ๆ ซึง่ วิวฒ ั นาการของแหล่งน�ำ้ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้

18

ผลิใบ


ระยะปฐมวัย (Youth)

เป็นระยะเริ่มแรก โดยธารน�้ำไหลผ่าน หุ บ ผาชั น ลึ ก และแคบเป็ น รู ป ตั ว วี ความลาดเทของท้องน�้ำมีความลาดชัน และขรุขระมาก มีการกัดกร่อนในแนวลึก ท�ำให้เกิดความแตกต่างของระดับความสูง ชายฝัง่ น�ำ้ ส่วนใหญ่ไม่ถกู กัดเซาะ มีนำ�้ ตก และแก่งเกิดขึ้นมากมาย ไม่ปรากฏว่ามี ที่ราบน�้ำท่วมถึง และทางน�้ำโค้งตวัดแต่ อย่างใด

ระยะมัชฌิมวัย (Maturity)

ระบายน�ำ้ เริม่ ปรับเข้าสูร่ ปู แบบในเบือ้ งต้น เกิดล�ำน�ำ้ สายย่อยต่างๆ ตามมามากมาย แก่งและน�้ำตกมีน้อยลง พบทางน�้ำโค้ง ตวัดทัว่ ไป และพบทีร่ าบน�ำ้ ท่วมถึงแต่ยงั เป็นบริเวณที่ไม่กว้างขวางมากนัก การ กัดเซาะบริเวณท้องน�ำ้ ลดลง

ระยะปัจฉิมวัย (Old)

ท่วมถึงเป็นบริเวณกว้างมีการสะสมตัว ของตะกอนเพิม่ มากขึน้ ...ในการเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการใน แต่ละช่วงนั้นต้องใช้ระยะเวลายาวนาน เป็นล้านปี ซึ่งทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าพื้นที่ใน บริเวณนั้นมีหินที่ทนต่อการกัดกร่องของ กระแสน�้ำได้มาน้อยเพียงใด และด้วย ระยะเวลาอันแสนยาวนานนีเ้ องทีท่ ำ� ให้ทำ� วิวัฒนาการของล�ำน�้ำมักไม่มีโอกาสที่จะ เกิดได้ครบตามวัฏจักรของมัน เนือ่ งจาก มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างวิวัฒนาการ เสมอ ท�ำให้ต้องมีการปรับวิวัฒนาการ ใหม่ เราเรียกว่า “การคืนพลัง” ส�ำหรับ สาเหตุที่ท�ำให้แม่น�้ำคืนพลังมักเกิดจาก การเปลี่ ย นแปลงของระดั บ น�้ ำ ทะเล การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ การเปลีย่ นแปลงของเปลือกโลก ...ถึ ง แม้ ว ่ า ล� ำ น�้ ำ จะมี วิ วั ฒ นาการอย่ า ง ต่อเนือ่ ง แต่เราก็ไม่อาจปฏิเสธได้วา่ น�ำ้ ยัง คงมีความส�ำคัญกับมนุษย์อย่างมากทัง้ ใน ทางตรงและทางอ้ อ ม ตั้ ง แต่ ยุ ค ก่ อ น ประวัติศาสตร์ มาจนถึงปัจจุบัน และ ต่อเนือ่ งไปยังอนาคตข้างหน้า ...วันนีเ้ ราอาจสูญเสียน�ำ้ สะอาดมากมายไป จากการกระท�ำของมนุษย์ หรือแม้แต่การ เปลีย่ นแปลงของโลก แต่ไม่วา่ จะอย่างไร พวกเราทุกคนก็ตอ้ งตระหนักให้มากว่าถ้า เราขาดน�้ำก็เท่ากับขาดชีวิต ถ้าเราไม่ อยากขาดชีวติ ก็ตอ้ งช่วยกันอนุรกั ษ์นำ �้

จากการกั ด เซาะที่ มี ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ยาวนาน ท�ำให้ความแตกต่างของลักษณะ ภูมิประเทศน้อยลง หุบเขาและร่องน�้ำ มีการขยายตัวกว้างมากขึน้ ความลาดชัน ลดลง ระบบการระบายน�้ำเริ่มปรับเข้าสู่ รูปแบบ และสภาพภูมิประเทศ เกิดเป็น ลั ก ษณะล� ำ น�้ ำ มี ค วามลาดชั น และความ ล�ำน�้ำสายใหญ่และรอง ไม่มีน�้ำตกและ ลาดเทของท้องน�้ำลดลงกว่าเดิม หุบเขา แก่งอีกต่อไป แต่มีทางน�ำ้ โค้งตวัด และ ที่ ม า : http://www.rmutphysics.com. หรือร่องน�ำ ้ มีการขยายกว้างขึน้ ระบบ ทะเลสาบรูปแอกมากขึ้น เกิดที่ราบน�้ำ (วันทีส่ บื ค้นข้อมูล 5 ธันวาคม 2558). 19

ผลิใบ


NT

INABLE M A T S U S O r VEM o f E

20

ผลิใบ

องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/


สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โทร 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826 – 8 www.tei.or.th

สีทาบ้านฉลากเขียว “ไอซีไอ” ของ Akzo Nobel ไม่มีอันตรายจาก สารปรอท ตะกั่ว แคดเมี่ยม

สารหนู หรือโลหะหนักอื่นๆ ไม่เสี่ยงอันตรายจากสารอินทรีย์ที่ระเหยง่าย สารท�ำละลายฮาโลเจน และ ฟอร์มาลดีไฮด์ที่เป็นพิษ ซึ่งมีผลร้ายต่อระบบทางเดินหายใจ ผิวหนัง ตับ ไต ระบบประสาทส่วนกลาง และเป็นสาเหตุของมะเร็งได้ รวมทั้งไม่เป็นสาเหตุของอาการหอบหืดในเด็ก

เครื่องถ่ายเอกสารฉลากเขียว “ชาร์ป” นอกจากมีประสิทธิภาพการใช้งานและ

ประหยัดพลังงานตามมาตรฐานแล้ว ฝุ่นและสารเคมีที่ออกมาจากการถ่ายเอกสาร จะไม่ อ ยู ่ ใ นระดั บ อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพ ไม่ มี เ สี ย งดั ง รบกวนที่ น ่ า ร� ำ คาญ ชิ้ น ส่ ว น องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ถูกออกแบบให้รีไซเคิลได้ง่าย แบตเตอรี่ หมึกพิมพ์ และ สารเติมแต่งต่างๆ ไม่มีโลหะหนักและสารก่อมะเร็ง และมีอะไหล่รองรับหลังการเลิก ผลิตไม่น้อยกว่า 5 ปี

รถยนต์ นั่ ง ฉลากเขี ย วของ “ฮอนด้ า ” ไม่ใช้สารท�ำความเย็นที่ท�ำลาย

บรรยากาศชั้ น โอโซน มี ร ะดั บ เสี ย งไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความร� ำ คาญในระหว่ า ง การใช้งานไม่เกิน 74 – 78 เดซิเบล (เอ) ควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์) ในระดับสากลไม่เกิน 119 – 280 กรัมต่อกิโลเมตร (ตามขนาดมวลรถยนต์) สีที่ใช้ปราศจากสารอันตราย การปล่อยไอเสียเป็นไป ตามมาตรฐานยูโร 4 และการออกแบบชิ้นส่วนอุปกรณ์ง่ายต่อการรีไซเคิล

แผ่นฉนวนกันความร้อนฉลากเขียว “ตราช้าง” ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิต

จากวัสดุรีไซเคิลจึงช่วยประหยัดทรัพยากร และลดปริมาณการเกิดขยะและของเสีย ไม่ใช้สาร กลุ่มซีเอฟซีที่ท�ำลายบรรยากาศชั้นโอโซน ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงมะเร็งผิวหนังและต้อกระจกของ นัยตาและไม่มีส่วนผสมของสารก่อมะเร็งและอันตรายอื่นๆ


Cover Story โดย ณชชน พชรชัยกุล (พี่เปิ้ล)

ร่างกายของมนุษย์ความซับซ้อนสูงสุดที่ธรรมชาติสร้างขึ้น มีส่วนประกอบต่างๆ มากมายตั้งแต่เลือด เนื้อ กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ฯลฯ ทุกส่วนล้วนมีนำ�้ เป็นองค์ประกอบทัง้ สิน้ จนอาจกล่าวได้วา่ ในทุกๆ นาทีของการใช้ชวี ติ ล้วนมีนำ�้ เข้ามา เกีย่ วข้อง นอกจากน�ำ้ ในร่างกายทีเ่ ราพูดถึงแล้ว...น�ำ้ จากธรรมชาติกม็ คี วามส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวติ ไม่แพ้กนั แล้วน้องๆ เคยสงสัย ไหมคะว่า “น�ำ้ ” มาจากทีใ่ ด

แหล่งน�ำ้ ธรรมชาติบนผิวโลกของเรามี 4 ชนิด น�้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) • น�้ำที่มีสถานะเป็นไอน�้ำ : เมฆ หมอก • น�ำ้ ที่มีสถานะเป็นของเหลว : ฝน น�้ำค้าง • น�ำ้ ที่มีสถานะเป็นของแข็ง : หิมะ ลูกเห็บ

แหล่งน�้ำใต้ดิน (Ground Water) น�้ำที่ไหลซึมผ่านชั้นดินและหินลงไปสะสมตัวอยู่ ตามช่ อ งว่ า งระหว่ า งอนุ ภ าคดิ น และหิ น น�้ ำ ชนิ ด นี้ มี ประโยชน์มาก และเป็นตัวการส�ำคัญในการควบคุมการ แพร่กระจายพรรณพืช ตลอดจนเป็นตัวท�ำละลาย และ ตกตะกอนเป็นสารประกอบหลายอย่างใต้พื้นดิน

22

ผลิใบ

แหล่งน�้ำผิวดิน (Surface Water) น�้ ำ ในบรรยากาศที่ ก ลั่ น ตั ว เป็ น หยดน�้ ำ และ ตกลงสู่ผิวโลกแล้วไหลลงมาขังตามแอ่งที่ต�่ำ : หนอง บึง แม่น�้ำ ทะเล ทะเลสาบ

น�้ำที่เป็นส่วนประกอบทางเคมี (Chemical Water) ได้ แ ก่ น�้ ำ ที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบทางเคมี หรื อ เป็ น องค์ ป ระกอบในแร่ หิ น และดิ น และแหล่ ง น�้ ำในบรรยากาศ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของน�้ำที่เป็นส่วนประกอบทางเคมี เช่น การเย็นตัวลงของหินอัคนี การผุพังของแร่ การเปลี่ยนแปลงจนมี ปริมาณน�้ำมากบนผิวโลก และใช้ระยะเวลายาวนานมาก


จากแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติทงั้ สีช่ นิดข้างต้น มีเพียงสองชนิดทีม่ คี วามส�ำคัญกับมนุษย์อย่างมากคือแหล่งน�ำ้ ผิวดินและแหล่งน�้ำใต้ดิน เนื่องจากแหล่งน�้ำทั้งสองชนิดนี้มีปริมาณมากพอที่จะน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ในทันที แต่...ในปริมาณน�ำ้ จืดทีว่ า่ นีย้ งั มีนำ�้ ทีถ่ กู ปนเปือ้ นด้วยสารพิษและเชือ้ โรค จึงได้มกี ารคาดการณ์กนั ว่าในอนาคตมี แนวโน้มทีจ่ ะเกิดปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ สะอาดจนถึงขัน้ แย่งชิงน�ำ้ เกิดขึน้ อย่างในคอลัมน์ The Question Mark ทีอ่ ธิบายไว้วา่ น�ำ้ ในโลกเราไม่ได้หายไปไหน ยังมีปริมาณคงที่ เท่ากับทีเ่ คยมีเมือ่ ยุคไดโนเสาร์ แต่เนือ่ งจากประชากรโลกเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วจึงท�ำให้เกิดความต้องการน�ำ้ จืด สะอาดมากขึ้นตามจ�ำนวนประชากรและทรัพยากรที่ต้องการน�้ำ ซึ่งหมายความว่าในทุกๆปี เราจ�ำเป็นต้องมี ภาระและกระบวนการท�ำให้นำ�้ สะอาดมากขึน้ เพือ่ น�ำกลับมาใช้ใหม่ โดย 0.007 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณน�ำ้ จืด ในโลกนี้ ทีป่ ระชากรโลก 6.8 พันล้านคนสามารถน�ำมาใช้อปุ โภคบริโภคได้ “ปริมาณน�ำ้ ” ไม่ได้เป็นเพียงปัญหาระดับโลกเท่านัน้ แต่ในประเทศไทยและประเทศเพือ่ นบ้านอย่างลาว พม่า กัมพูชา ก็มแี นวโน้มทีจ่ ะเกิดภาวะการขาดแคลนน�ำ้ จืดเช่นกัน เพราะตัง้ แต่มกี ารสร้างเขือ่ นพลังงานไฟฟ้า ขนาดใหญ่ในประเทศจีนก็ทำ� ให้ปริมาณน�ำ้ ในแม่นำ�้ โขงลดลงอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อพืน้ ทีท่ ใี่ ช้ประโยชน์จาก ลุม่ น�ำ้ โขงในทันที พีล่ องคิดเล่นๆ ตามแผนทีว่ า่ ถ้าประเทศจีนท�ำเขือ่ นกักเก็บน�ำ้ จืดไว้ใช้ประโยชน์อกี 1 เขือ่ น ก็จะส่งผลกระทบต่อพม่าและลาวทันที และถ้าพม่าและลาวท�ำเขือ่ นกักเก็บน�ำ้ ก็จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยและ กัมพูชาเช่นกัน เพราะฉะนัน้ ก่อนทีป่ ญ ั หาจะเกิดขึน้ เราทุกคนควรใช้นำ�้ อย่างรูค้ ณ ุ ค่าให้มากทีส่ ดุ ก่อนทีป่ ญ ั หา น�ำ้ จะปานปลายไปสูส่ งครามการแย่งชิงน�ำ้ จืดในอนาคตข้างหน้า

23

ผลิใบ


Think Tank โดย ผลิใบ

ก่อนอื่นเรามารู้ท�ำความรู้จักก่อนว่า COP คืออะไร มีความ ส�ำคัญอย่างไร และบทบาทของประเทศไทยในฐานะประเทศ ่ เต็มคือ Conference สมาชิก การประชุม COP ชือ

of Parties เป็นการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ โดยล่าสุดเป็นสมัยที่ 21 ซึง่ เป็นการเจรจาระหว่างผูน้ ำ�

ประเทศจากกว่า 190 ประเทศทัว่ โลก รวมถึงประเทศไทยด้วย มี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกว่ า 50,000 คน ทั้ ง จากภาคการเมื อ ง ภาควิ ท ยาศาสตร์ และภาคประชาสังคม ซึ่งจัดขึ้นในวั น ที่ 30 พฤศจิกายน - 11 ธันวาคม 2558 ทีก่ รุงปารีส ประเทศ ฝรัง่ เศส COP21 มี ค วามส� ำ คั ญ คื อ เป็ น การประชุ ม ที่ ภ าคี จะต้องตกลงกันให้ได้มาซึง่ ข้อตกลงใหม่ทจี่ ะมาแทนทีพ่ ธิ สี ารเกียว โต ซึง่ ข้อตกลงดังกล่าวจะมีผลผูกพันกับทุกภาคีและมีผลบังคับใช้ ภายในปี ค.ศ. 2020 ประเด็นความร่วมมือทีม่ กี ารหารือกันใน การก�ำหนดข้อตกลงใหม่ ได้แก่ เรื่องการลดก๊าซเรือนกระจก เรือ่ งการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เรื่องการสนับสนุนทางการเงินแก่ประเทศก�ำลังพัฒนาในการ ด�ำเนินงาน เรือ่ งการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีทเี่ กีย่ วข้องสู่ ประเทศก�ำลังพัฒนา เรือ่ งการเสริมสร้างศักยภาพของประเทศ ก�ำลังพัฒนา เรือ่ งการสร้างความโปร่งใสในการด�ำเนินงานและ การให้การสนับสนุน เป็นต้น ซึง่ ในแต่ละเรือ่ ง มีประเด็นย่อยที่ เกีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานของหลายภาคส่วน เช่น ภาคส่วนที่ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก ได้ แ ก่ พลั ง งาน คมนาคมขนส่ ง

24

ผลิใบ

อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ ที่ดินและป่าไม้ การจัดการของเสีย รวมถึงภาคส่วนที่ได้รับ ผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ ได้ แ ก่ เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ สาธารณสุข การจัดการ ภัยธรรมชาติ เป็นต้น ในการก�ำหนดความร่วมมือเหล่านี้ ประเทศไทยในฐานะภาคีสมาชิกของกรอบอนุสญ ั ญาฯ จ�ำเป็นต้อง มีสว่ นในการเข้าร่วมประชุมหารือกับภาคีสมาชิกอืน่ ๆ ทัง้ ประเทศ พัฒนาแล้วและประเทศก�ำลังพัฒนา เพือ่ ก�ำหนดความร่วมมือทีม่ ี ความสอดคล้องและเป็นประโยชน์กบั การด�ำเนินงานของประเทศ ในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ การประชุม COP21 ประเทศภาคี จะหารือกันถึงกรอบความร่วมมือระยะยาวในเรือ่ งเหล่านี้ ส�ำหรับ การด�ำเนินงานก่อนปี ค.ศ. 2020 และหลังปี ค.ศ. 2020 รวมถึงการหารือเกีย่ วกับการด�ำเนินงานภายใต้กรอบอนุสญ ั ญาฯ ในปัจจุบนั นอกจากนี้ การประชุมฯ เป็นโอกาสทีจ่ ะสามารถ


น�ำเสนอการด�ำเนินงานของประเทศ ถ่ายทอดประสบการณ์ที่ ประเทศอืน่ ๆ จะสามารถเรียนรูแ้ ละต่อยอดความร่วมมือระหว่าง กันได้ เช่น การน�ำเสนอแนวคิดและแนวทางการด�ำเนินงาน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสาขาต่างๆ รายละเอียดส�ำคัญของการประชุมนี้ คือการเจรจาเพื่อบรรลุ ข้ อ ตกลงเพื่ อ หลี ก เลี่ ย งผลกระทบที่ เ ลวร้ า ยที่ สุ ด ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากวิกฤตโลกร้อน อาทิเช่น ภัยแล้ง น�ำ้ ท่วม และพายุ ทีท่ วี ความรุนแรงขึน้ ในทางปฏิบตั หิ มายความว่าเป็นการเจรจาตกลง เพื่อให้นานาประเทศเห็นพ้องต้องกันในการก�ำหนดเป้าหมาย เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการเพิ่ ม ขึ้ น ของอุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย ผิ ว โลกไม่ ใ ห้ เ กิ น 2 องศาเซลเซียส (เมื่อเทียบกับระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม) เพื่ อ ป้ อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ร ้ า ยแรงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากผลกระทบของ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ แม้ขณะนีอ้ ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ผิวโลก ได้เพิ่มขึ้นในระดับที่ต�่ำกว่า 1 องศาเซลเซียส แต่ผลกระทบ ได้ปรากฎขึน้ อย่างชัดเจนในหลายประเทศแล้ว เช่น ชาวคิรบิ าส ประเทศหมู่เกาะใกล้เส้นศูนย์สูตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ต้อง กลายเป็นผู้ลี้ภัยจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหา ความขั ด แย้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในยุ โ รปจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และการแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว จากภัยโลกร้อนทีเ่ กิดขึน้ แล้วทัว่ โลก การประชุม COP21 นี้ ยังเน้นถึงข้อตกลงและความร่วมมือในการสนับสนุนประเทศและ ชุมชนที่ประสบภัยในการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในปัจจุบนั

ส�ำหรับถ้อยแถลง พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ไทย ในเวที COP21 กล่าวว่า “ประเทศไทยได้จดั ท�ำ Action plan ทีจ่ ะลดก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 25 ภายใน ปี ค.ศ. 2030 โดยมุง่ ลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล และใช้ พลังงานทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น การใช้ รถยนต์เครือ่ งยนต์ไฮบริด เครือ่ งยนต์ไฟฟ้าให้มากขึน้ การลด การขนส่งทางถนนเพิ่มการขนส่งทางราง การเปลี่ยนขยะเป็น พลังงาน เพิม่ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนในแผนผลงงานพีดพี ี ของไทยให้มากขึน้ ขจัดการบุกรุกป่า เพิม่ การปลูกป่า อาเซียน ท�ำแผนการบริหารจัดการน�้ำอย่างบูรณาการโดยจัดท�ำ Road Map การลดหมอกควันเหลือร้อยละ 0 และทีส่ ำ� คัญอย่างยิง่ คือ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทีไ่ ด้ทรงพระราชทานมากว่า 50 ปี แล้วในรูปแบบประชารัฐ ด้วยความร่วมมือของประชารัฐ เอกชน ประชาสังคม เอ็นจีโอ และประชาชนอย่างจริงจัง ซึ่งเป็น หลักการส�ำคัญของไทยที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการด�ำเนิน การให้ บ รรลุ ว าระการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ในปี 2030 ของ สหประชาชาติอกี ด้วย” การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ชั้นบรรยากาศนั้น ส่งผลให้ ระดับน�ำ้ ทะเลเพิม่ ขึน้ ในอัตราเร่ง ท�ำให้เกิดความเสีย่ งต่อเมืองที่ อยู่ติดชายฝั่งทะเล มีส่วนท�ำให้เกิดพายุเฮอริเคนและสภาพภูมิ อากาศเปลี่ ย นแปลงแบบสุ ด ขั้ ว บ่ อ ยครั้ ง และรุ น แรงมากขึ้ น การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิยังอาจส่งผลกระทบท�ำให้ผลผลิตทาง การเกษตรตกต�่ำ และมีผลคุกคามต่อแหล่งน�้ำของประชาชน ท�ำลายความมัน่ คงทางอาหารในระดับโลก การละลายของน�ำ้ แข็ง ขัว้ โลกท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ถิน่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยของ สัตว์และพืช จึงเป็นการเพิ่มโอกาสในการ เกิดโรคชนิดใหม่ทอ่ี าจเป็นภัยต่อมนุษย์ ทีม่ า : http://www.deqp.go.th/knowledge /cop21/ http://www.greenpeace.org/ seasia/th/news/blog1/cop21-5/ blog/54884/

25

ผลิใบ


Think Out of the Box โดย ผลิใบ

ปัญหาภัยแล้งที่หลายประเทศทั่วโลกประสบอยู่ในขณะนี้ ก�ำลังเป็นปัญหาที่หลายฝ่ายให้ความ สนใจและพยายามหาทางแก้ไขเพื่อให้มีน�้ำใช้เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค โดยเฉพาะในภาค เกษตรกรรมที่เมื่อขาดแคลนน�้ำก็จะส่งผลให้เกิดภาวขาดแคลนอาหารในระยะยาวต่อไป ถ้าน้องๆ อ่านข่าวก็จะเห็นว่าจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางของไทย ก็ประสบ ปัญหาภัยแล้งเช่นกัน เมื่อฝนทิ้งช่วง ไม่มีน�้ำในอ่างเก็บน�้ำเพียงพอก็ไม่สามารถปลูกพืชผลทางการเกษตรได้ Pieter Hoff เป็ น บุ ค คลหนึ่ ง ที่ พ ยายามค้ น หาวิ ธี เ อาชนะต่ อ ภั ย แล้ ง โดยเขาได้ แ รงบั น ดาลใจจาก “ขี้ น ก” ใช่แล้วค่ะน้องๆ อ่านไม่ผิดหรอกค่ะ เพราะขี้นกเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ช่วยขยายพันธ์ุพืชโดยนกไปกินผลไม้แล้วถ่ายเมล็ดออกมา ต้นอ่อนก็จะค่อยๆ งอกและเจริญเติบโตได้ดีในขี้นกที่อุดมไปด้วยความชุ่มชื้นและธาตุอาหาร แรงบันดาลใจนี้เองที่ท�ำให้เขา ประดิษฐ์ Groasis Waterboxx หรือกล่องผลิตและกักเก็บน�้ำอนุบาลต้นไม้วัยอ่อนให้เจริญเติบโตได้ในที่แห้งแล้ง

26

ผลิใบ


Groasis มีลักษณะเป็นกล่องเก็บน�้ำ มีส่วนเว้าเป็นช่องตรงกลางส�ำหรับต้นไม้ มีเชือกเล็กๆ คล้ายไส้ตะเกียงน�้ำมันก๊าซเอาไว้ส�ำหรับปล่อยความชื้นลงดิน ฝาด้านบนที่หยักเทลงช่วยท�ำให้ เกิดไอน�้ำสะสมเพิ่มในเวลากลางคืน และเก็บน�้ำในเวลาฝนตก กล่องที่ตั้งอยู่บนดินยังเก็บ ความชื้นและรักษาอุณหภูมิดินให้เหมาะสมส�ำหรับต้นอ่อนอีกด้วย น�้ำที่จ่ายผ่านเชือกจะซึมลึก ลงใต้ดิน แม้ตรงผิวดินจะชื้นพอให้ต้นไม้อยู่รอดแต่ไม่เหลือพอส�ำหรับราก ต้นไม้จึงต้องหยั่ง รากลึกตามน�ำ้ ลงไปตามกลไกธรรมชาติทจี่ ะยิง่ ช่วยท�ำให้ตน้ ไม้แข็งแรงและค่อยๆ อยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง และเมื่อมันแข็งแรงดีแล้วกล่องเดิมก็จะถูกยกออกไปเป็น พี่เลี้ยงให้ต้นอ่อนต้นอื่นต่อไป กล่อง Groasis ถูกน�ำไปสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับพื้นที่แห้งแล้ง ในหลายประเทศทั่วโลกมากแล้ว ถือเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีศักยภาพ และมีคุณประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก เห็นแบบนี้แล้วก็ อยากให้ เ กษตรกรที่ ป ระสบภั ย แล้ ง ในบ้ า นเราได้ มี โ อกาสน� ำ แนวคิดของ Groasis Waterboxx มาใช้บ้าง ที่มา : http://www.popsci.com http://www.greenprophet.com ภาพประกอบ : http://www.popsci.com http://www.groasis.com/ http://static.wixstatic.com/ http://2.bp.blogspot.com/

27

ผลิใบ


Let’s go Green โดย ผุสดี ลีกระจ่าง (พี่เอ)

น้ อ งๆ คงเห็ น ข่ า วในที วี ห ลายช่ อ ง ที่ก�ำลังรณรงค์ให้เกิดการประหยัดน�้ำกันอย่าง แพร่ ห ลาย เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาวิ ก ฤตการ ขาดแคลนน�้ำจากการใช้น�้ำอย่างฟุ่มเฟือยของ มนุ ษ ย์ โดยหลายคนคิ ด ว่ า น�้ ำ บนผิ ว โลกมี มากกว่าพื้นดินถึง 3 เท่า ใช้อย่างไรก็ไม่มีวัน หมดไป แต่ความเป็นจริงแล้วน�้ำที่ใช้ได้จริงมี น้อยมาก เพราะฉะนัน้ เราจึงควรเปลีย่ นพฤติกรรม การใช้น�้ำตามความเคยชินมาเป็นการใช้น�้ำอย่าง รู ้ คุ ณ ค่ า ไม่ ป ล่ อ ยให้ น�้ ำ ไหลทิ้ ง ไปโดยเปล่ า ประโยชน์ เพื่ อ เป็ น การประหยั ด น�้ ำ และ ค่าใช้จ่ายลง ซึ่งเราสามารถลดการใช้น�้ำใน กิ จ วั ต รประประจ� ำ วั น ได้ ด ้ ว ยวิ ธี ก าร ดังต่อไปนี้

การโกนหนวด โกนหนวดแล้ว ใช้กระดาษเช็ดก่อน จึงใช้น�้ำจากแก้วมาล้างอีกครั้ง แล้ ว ล้ า งมี ด โกนหนวดโดยการ จุ ่ ม ล้ า งในแก้ ว จะประหยั ด กว่ า ล้างโดยตรงจากก๊อก

28

ผลิใบ

การอาบน�้ำ ควรใช้ฝักบัวโดยเฉพาะฝักบัวที่มีรูเล็กๆ จะประหยัดน�้ำได้ดีกว่าการใช้อ่างอาบน�้ำ 110–200 ลิตร และไม่ควรเปิดน�้ำ ทิ้งไว้ระหว่างถูสบู่ เพื่อลด การใช้น�้ำมากขึ้น

การแปรงฟัน การใช้น�้ำบ้วนปากและแปรงฟัน โดยใช้แก้ว จะใช้น�้ำเพียง 0.5–1 ลิตร การปล่ อ ยให้ น้� ำ ไหล จากก๊อกตลอด การแปรงฟันจะใช้น�้ำถึง 20–30 ลิตรต่อครั้ง

การใช้ ชั ก โครก การใช้ชักโครกจะใช้ น�้ ำ ถึ ง 8–12 ลิ ต ร ต่อครั้ง เพื่อการประหยัด ควรใช้ ถุ ง บรรจุ น�้ ำ มาใส่ ใ นโถน�้ ำ เพื่ อ ลดการใช้ น�้ ำ โถส้ ว มแบบตั ก ราดจะสิ้ น เปลื อ งน�้ ำ น้ อ ยกว่ า แบบ ชั ก โครกหลายเท่ า หากใช้ ชักโครกควรติดตั้งโถปัสสาวะและ โถส้วมแยกจากกัน


การล้ า งถ้ ว ยชามภาชนะ

การซักผ้า ขณะท�ำการซักผ้า

ใ ช ้ ก ร ะ ด า ษ เ ช็ ด ค ร า บ สกปรกออกก่อน แล้วล้าง พร้อมกันในอ่างน�้ำจะประหยัด เวลา ประหยัดน�้ำ และให้ ความสะอาดมากกว่าล้างจาก ก๊อกโดยตรงซึ่งจะสิ้นเปลืองน�้ำ 9 ลิตรต่อนาที

ไม่ควรเปิดน�้ำทิ้งไว้ตลอดเวลา จะเสียน�้ำถึง 9 ลิตรต่อนาที ควรรวบรวมผ้ า ให้ ไ ด้ ม ากพอ ต่อการซักแต่ละครั้ง ทั้งการ ซักด้วยมือและเครื่องซักผ้า

การรดน�้ำต้นไม้ ควรใช้ฝักบัวรดน�้ำต้นไม้แทน การใช้สายยางต่อจากก๊อกน�้ำโดยตรง หากเป็น พื้นที่บริเวณกว้าง ก็ควรใช้ สปริ ง เกอร์ หรื อ ใช้ น�้ ำ ที่ เ หลื อ จากกิ จ กรรมอื่ น มา รดต้นไม้ ก็จะช่วยประหยัด น�้ำลงได้

การเช็ ด พื้ น ควรใช้ ภ าชนะ รองน�้ ำ และซั ก ล้ า งอุ ป กรณ์ ใ น ภาชนะก่อนที่จะน�ำไปเช็ดถู จะใช้น�้ำ น้ อ ยกว่ า การใช้ ส ายยางฉี ด ล้ า ง ท�ำความสะอาดพื้นโดยตรง

นอกจากกิจกรรมที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว น้องๆ ยังต้องคอยสังเกตุท่อน�้ำแต่ละจุดในบ้านอย่างสม�่ำเสมอ และรีบแจ้งผู้ปกครองให้รีบแก้ไขหากเกิดรอยรั่วซึม เพื่อ เป็ น การช่ ว ยคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ป ระหยั ด น�้ ำ อี ก ทางด้ ว ยค่ ะ หากสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกวิธี ไม่เปิด น�้ำทิ้งระหว่างการใช้น�้ำหรือปล่อยให้น�้ำล้น จะสามารถ ลดการใช้น�้ำได้ถึง 20-50% ทีเดียว

ก า ร ล ้ า ง ผั ก ผล ไ ม ้ ใช้ภาชนะรองน�้ำเท่าที่ จ�ำเป็น ล้างผักผลไม้ ได้สะอาดและ ประหยัดกว่าเปิด ล้างจากก๊อก โดยตรง ถ้าเป็นภาชนะที่ ยกย้ายได้ ยังน�ำน�้ำไปรดต้นไม้ได้ด้วย

การล้างรถ ควรรองน�้ำใส่ภาชนะ เช่น ถังน�้ำ แล้วใช้ผ้าหรือเครื่องมือล้างรถจุ่มน�้ำลงในถัง เพื่อ เช็ดท�ำความสะอาดแทนการใช้สายยาง ฉีดน�้ำโดยตรง ซึ่งจะเสียน�้ำเป็น ปริมาณมากถึง 150-200 ลิตร ต่อครั้ง

ที่มา http://www.mwa.co.th/ewt_news.p

29

ผลิใบ


Young Storyteller โดย ฑณิกนัน ดลขุมทรัพย์

ในปัจจุบันนี้ โลกของเรามีปัญหาต่างๆ มากมาย ซึ่งเป็นปัญหาที่มีความส�ำคัญและ ต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน หนึง่ ในปัญหานัน้ ก็คอื ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก สาเหตุหลักที่ส�ำคัญของปัญหาดังกล่าว ก็เกิดจาก การกระท�ำของมนุษย์นั่นเอง ด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าย่อมมีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่มีประโยชน์ และสามารถอ�ำนวยความสะดวกต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ จนบางครั้งสิ่งเหล่านี้กลับท�ำลาย สิ่งแวดล้อมรอบตัวของเราไปในที่สุดนั่นเอง จากปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นนั้น จึงได้มีแนวคิดริเริ่มในการพัฒนาเทคโนโลยี ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ลดการใช้ พ ลั ง งาน ลดการสร้ า งขยะ และลดการปล่ อ ยสารพิ ษ สู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งเรียกเทคโนโลยีนี้ว่า “เทคโนโลยีสเี ขียว” ซึ่งส่วนใหญ่จะนึกถึงการใช้พลังงาน ที่ใช้แล้วไม่หมดไป หรือพลังงานทดแทน ซึ่งสามารถใช้พลังงานเหล่านี้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เช่ น พลั ง งานน�้ ำ โดยการสร้ า งเขื่ อ น พลั ง งานลม โดยการผลิ ต กั ง หั น ลม และพลั ง งาน แสงอาทิตย์ ที่สามารถน�ำมาผลิตกระแสไฟฟ้าได้เช่นเดียวกัน โดยใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า เซลล์สุริยะ เป็นต้น พลังงานทดแทนเหล่านี้จัดเป็นพลังงานสะอาด ไม่ปล่อยสารพิษสู่สิ่งแวดล้อม และช่วยลด การใช้พลังงานสิ้นเปลืองที่ก�ำลังจะหมดไป ทั้งพวกถ่านหิน น�้ำมัน และแก๊สธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังมีเทคโนโลยีการรีไซเคิล ที่สามารถน�ำขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยผ่านกระบวนการแปรสภาพ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เป็นต้น ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีที่ช่วยในการลดปริมาณขยะ ในโลกของเรา และมีส่วนช่วยในการรักษาสิ่งแวดล้อมของเราได้เป็นอย่างดี จากตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสีเขียวข้างต้นแล้ว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียวไปใช้ ประโยชน์ในด้านต่างๆ อีกมากมาย เช่น ด้านอุตสาหกรรม ด้านการเกษตร เพื่อเป็นส่วนช่วยใน การพัฒนาเศรษฐกิจ และชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์เราให้ดีขึ้น โดยตระหนักถึงผลที่จะตามมา และค�ำนึงถึงความส�ำคัญของสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพราะโลกใบนี้อยู่ในมือของเราทุกคน การที่เรา จะอยู่บนโลกใบนี้อย่างมีความสุข และอยู่กับสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน เราทุกคนควรร่วมมือ ร่วมใจกัน ร่วมกันใช้เทคโนโลยีสเี ขียว เพือ่ เรา เพือ่ โลก

30

ผลิใบ

เด็กหญิงฑณิกนัน ดลขุมทรัพย์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดบางโปรง


วิธีการแก้ไขปัญหาน�้ำกระด้าง เวลาที่เราไปเที่ยวต่างจังหวัดไกลๆ อาจจะได้พบเจอกับน�้ำอาบน�้ำใช้ที่มีสีแตกต่างจากน�ำ้ ประปา ที่เราเคยใช้อยู่ น�้ำเหล่านี้มีที่มาจากหลายแหล่งด้วยกัน เช่น น�้ำบาดาล หรือน�้ำจากแม่น�้ำล�ำคลอง ซึ่งถ้าเรา น�ำไปหุงข้าวก็จะได้ข้าวที่ออกสีเหลือง หรือน�ำไปซักผ้าก็จะท�ำให้ผงซักฟอกไม่เกิดฟอง เราเรียกน�้ำชนิดนี้ว่า “น�้ำกระด้าง” ซึ่งในความเป็นจริงแล้วก่อนที่เราจะน�ำน�้ำกระด้างมาใช้ควรจะต้องผ่านกระบวนการ บางอย่ า งเพืี่ อ ท� ำ ให้ น�้ ำ สะอาดขึ้ น กรรมวิ ธี ที่ จ ะท� ำ ให้ น� ำ สะอาดได้ จ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ห ลั ก การ ทางวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วย ทีนี้เรามาดูกันค่ะว่าเราจะสามารถปรับปรุงสภาพน�้ำกระด้าง ให้พร้อมใช้งานด้วยวิธีการใดได้บ้าง

น�้ำกระด้างถาวร

ะมี ส าร จ� ำ พว ก (ไ ม่ ส าม าร ถจั ด ได ้ ด ้ ว ยก าร ต้ ม เพ รา ต แม็ ก นี เ ซี ย ม แค ลเซี ย มค ลอ ไร ด์ แค ลเซี ย มซั ล เฟ อยู่) คลอไรด์ และแม็กนีเซียมซัลเฟตเจือปน สามารถแก้ไขได้โดย

นส ถา นะ ขอ งน�้ ำ • กา รก ลั่ น โด ยจ ะเป ็ น กา รเป ลี่ ย มาเป็นของเหลว จากของเหลวกลายเป็นไอ ก่อนจะกลับ วสารที่เจือปนอยู่ อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อน�้ำกลายเป็นไอ ตั ี่มีน�้ำหนัก มักจะ ในน�้ำจะตกผลึกออกมาเพราะเป็นสารท เครื่องกรองจะดัก ใช้เครื่องกรองเรซิ่น ซึ่งเม็ดเรซิ่นใน กนั้นให้น�ำเอา จับหินปูนภายในน�้ำแล้วกรองออก จา เพื่ อ ให ้ น�้ ำ เกลื อ ตั ว กร อง ออ กม าล ้ า งโด ยใ ช้ น�้ ำ เกลื อ ไปจับผลึกหินปูนออกมาจากเรซิ่น ท�ำปฏิกิริยากับ • ใช้โซดาแอช ซึ่งโซดาแอชจะไป ต แม็ ก นี เ ซี ย ม แค ลเซี ย มค ลอ ไร ด์ แค ลเซี ย มซั ล เฟ ที่ อ ยู ่ ภ าย ใน คล อไ รด ์ แล ะแ ม็ ก นี เ ซี ย มซั ล เฟ ต ะเอยี ด ซึง่ วิธนี ี้ น�ำ้ กระด้าง และทำ� ใหเ้ กิดการตกตะกอนล ะกอนนั้นรวมกัน จ�ำเป็นต้องใช้ร่วมกับสารส้มเพื่อให้ต ได้ กลายเป็นก้อนใหญ่และสามารถกรองออก

น�้ำกระด้างช่วั ค

ราว

(น�้ำที่สามารถ ก� ำ จ ั ด ค ว า ม ก ร ะด้างใ ไปด้วยการต้ม พบได้ในแม่น�้ำ ห้หาย ล�ำคลอง) • น�ำไปต้ม เพรา ไ บ ค า ร ์ บ อ เ น ะ ค ว า ม ร ้ อ น จ ะ ท� ำ ใ ห ้ ตของแคลเซ ียม และ แ ม็ ก นี เ ซี ย ม ซ ึ่ ง เก า ะ ตั ว ร ว ม กั บ โ ม เล กุ ล ข อ ง น�้ ำ ร ะ เห ย ไ ป แ ล ะ ท� ำ ใ ห ้ เ กิ ด ต ะ ก อ น สามารถแก้ไขไ ด้ด้วยการกรอง • การเติมปูนข าว

ที่มา : www.เกร็ดความรู้.com. (วันที่สืบค้นข้อมูล 12 ธันวาคม 2558)

31

ผลิใบ


Do It Yourself โดย ณชชน พชรชัยกุล

ไอเดียล�้ำๆ เก็บน�้ำให้ต้นไม้ สิ่งที่ต้องเตรียม

เชือกด้าย

ขวดแก้ว

กระดาษทราย

32

ผลิใบ

แอลกอฮอล์ หรือน�้ำยาล้างเล็บ

ถังใส่น�้ำ

ดิน

ไม้ขีดไฟ หรือไฟแช็ค

ต้นไม้ที่ชื่นชอบ


ลงมือท�ำ

2

1

น�ำเชือกด้ายมาจุ่มแอลกอฮอล์ หรือน�้ำยาล้างเล็บให้เปียก ตลอดเส้น แล้วมัดรอบขวด ให้เสมอกับระดับน�้ำในขวด

ก่อนอื่นมาตัดขวดแก้ว กันก่อนด้วยวิธีง่ายๆ โดยน�ำขวดแก้วมาใส่น�้ำ ให้ปริมาณตามความสูง ของน�้ำเท่ากับความสูง ของขวดที่เราต้องการ ตัดออก

3

5 เมื่อตัดขวดได้ตามรูปที่ต้องการแล้ว น�ำขวดด้านล่างใส่น�้ำพอประมาณ ใส่เชือกด้ายยาวถึงก้นขวด ลงในขวดครึ่งบน ใส่ดินลงไป แล้วปลูกต้นไม้ตามต้องการ เชือกด้ายจะท�ำหน้าที่ดูดน�้ำและ ความชื้นขึ้นมาให้กับดินและพืชเอง โดยที่เราไม่ต้องคอยเป็นห่วง เรื่องการรดน�้ำ

จุดไฟที่ เส้นเชือกแล้ว ทิ้งไว้สักพัก

4 น�ำขวดมาจุ่มน�้ำในถัง ขวดก็จะขาดออกจากกัน ตามที่ต้องการ แล้วใช้กระดาษทราย ลบคมของขวดแก้ว ให้เรียบ

กระถางขวดกลับหัวนอกจากจะสร้างความสวยงามไม่ซ�้ำใครแล้ว ยังเป็นการน�ำเอาวัสดุ เหลือใช้อย่างขวดแก้วกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างคุ้มค่าอีกด้วย ที่ส�ำคัญไม่ยากเลยค่ะ 33

ผลิใบ


What the World Offers? โดย กองบรรณาธิการ

ขนาดกลางและขนาดใหญ่ มี ป ริ ม าณน�้ ำ ส�ำหรับใช้งานลดลงตามไปด้วย และส่งผล ต่อไปเป็นโดมิโนคือแผนการใช้น�้ำที่วางไว้ ไม่ ส ามารถท� ำ ได้ ต ามแผน นั่ น จึ ง ท� ำ ให้ เกษตรกรจ� ำ นวนมากต้ อ งสู ญ เสี ย พื ช ผล ทางการเกษตร รวมทั้ ง ขาดแคลนน�้ ำ ส�ำหรับอุปโภค บริโภค ...ในปัจจุบันตัวเลขสภาพน�้ำในอ่างเก็บน�้ำ หลักที่หล่อเลี้ยงลุ่มน�้ำเจ้าพระยายังคงตก อยู ่ ใ นสภาวะวิ ก ฤตต่ อ เนื่ อ งมาจากปี 2557 โดย วันที่ 11 กันยายน 2558 เขื่อนภูมิพล มีปริมาณน�้ำใช้การได้เพียง 585 ล้ า นลู ก บาศก์ เ มตร หรื อ คิ ด เป็ น 6% เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ 1,218 ล้านลูกบาศก์เมตร หรื อ 18% เขื่ อ นแควน้ อ ยบ� ำ รุ ง แดน 196 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ 22% และ เขือ่ นป่าสักชลสิทธิ์ 111 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือ 12% รวม 4 เขือ่ นคิดเป็นปริมาณน�ำ้ เพียง 2,110 ล้านลูกบาศก์เมตรเท่านั้น

น้ำ�ต้นทุน 34

ผลิใบ

...ช่วงปี 2557 ที่ผ่านมาในประเทศไทย ต้ อ งประสบกั บ ปั ญ หาภั ย แล้ ง อย่ า งหนั ก โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมที่ ไ ม่ มี น�้ ำ ใน การท�ำนา สาเหตุมาจากน�้ำต้นทุนที่เรา มีอยู่ไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ถ้าดูจากผังปริมาณน�้ำต้นทุนและแผนการ จั ด สรรน�้ ำ ทั้ ง ประเทศ จะเห็ น ได้ อ ย่ า ง ชัดเจนว่าในปี 2557 ปริมาณน�้ำต้นทุน ลดลงอย่างมาก ส่งผลให้น�้ำในอ่างเก็บน�้ำ

...ในจ� ำ นวนนี้ มี เ ฉพาะเขื่ อ นสิ ริ กิ ติ์ เ ท่ า นั้ น ที่มีปริมาณน�้ำไหลลงอ่างต่อวันมากที่สุด เฉลี่ยวันละ 25-30 ล้านลูกบาศก์เมตร ขณะที่เขื่อนแควน้อยบ�ำรุงแดน กับเขื่อน ป่ า สั ก ชลสิ ท ธิ์ มี ป ริ ม าณน�้ ำ ไหลลงอ่ า ง น้ อ ยมาก หรื อ เพี ย งวั น ละ 1 ล้ า น ลู ก บาศก์ เ มตร เมื่ อ เที ย บกั บ ระยะเวลา เดียวกันของปีที่ผ่านมาจะพบว่า ทั้ง 4 เขื่ อ นหลั ก มี ป ริ ม าณน�้ ำ รวมกั น 4,468 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือปริมาณน�้ำลดลง กว่า 2,358 ล้านลูกบาศก์เมตร


...จากสภาพการณ์น�้ำข้างต้นแสดงให้เห็น อย่างชัดเจนว่า ในฤดูแล้งปี 2559 ซึ่ง จะเริ่มต้นตั้งแต่เดือนเมษายนเป็นต้นไป ประเทศไทยจะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ปั ญ หา ขาดแคลนน�้ำรุนแรงกว่าปี 2558 ...มี ร ายงานจากกรมชลประทานว่ า จากประมาณการน�้ ำ ไหลเข้ า อ่ า งล่ า สุ ด กรมชลประทานเชื่อว่าทั้ง 4 เขื่อนหลัก จะมี ป ริ ม าณน�้ ำ ไม่ เ กิ น ไปกว่ า 3,500 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือน้อยกว่าปีน�้ำ 2557 ถึงครึง่ ต่อครึง่ โดยเฉพาะลุม่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา รวมถึงกรุงเทพฯ ที่จะต้อง อาศัยน�้ำจาก 4 เขื่อนหลัก

...ทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น สั ญ ญาณเตื อ นอย่ า ง ชัดแจ้งที่สุดว่าวิกฤตการณ์ภัยแล้งไม่ได้ จบลงในปี 2558 แต่จะต่อเนื่องไปถึง ปี 2559 จากการที่ มี ป ริ ม าณฝนตก เหนือเขือ่ นน้อยกว่าเกณฑ์ปกติ เนือ่ งจาก ได้ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนิโญ ในแง่ของชาวนาในลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา ซึ่งเป็นแหล่งปลูกข้าวหลักของประเทศ เป็นที่แน่นอนแล้วว่าจะไม่มีการปลูกข้าว นาปีรอบ 2 และการปลูกข้าวนาปรัง ปี 2559 ส่ ว นประชาชนผู ้ ใ ช้ น�้ ำ ในกรุ ง เทพฯ และจั ง หวั ด ในภาคกลาง จะต้องเผชิญกับภาวะการขาดแคลนน�้ำ เพือ่ การอุปโภค-บริโภคหนักกว่าปี 2558

...ทางออกเพี ย งทางเดี ย วในตอนนี้ คื อ ทุกภาคส่วนต้องลดการใช้น�้ำลงให้มาก ที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะเป็ น ไปได้ ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ประคับประคองน�ำ้ ต้นทุนใน 4 เขือ่ นหลัก ให้มีน�้ำยาวไปจนถึงฤดูฝนปี 2559

ที่มา : จาก http://www.prachachat.net/ ภาพประกอบ : ภาพที่ 1 จาก http://www.moac-tak.com/ ภาพที่ 2 จาก http://www.prachachat.net/

35

ผลิใบ


The Question Mark โดย ผลิใบ

? น ห ไ ป นำ้ �หายไ ...จากปัญหาสถานการณ์การขาดแคลนน�้ำในปัจจุบัน ท�ำให้พี่ ผลิใบมานั่งคิดนอนคิดว่าน�้ำที่เกิดมาพร้อมๆ กับโลกใบนี้มัน หายไปไหน เพราะตราบใดที่โลกของเรายังมีแรงดึงดูดน�้ำก็ ย่อมที่จะยังอยุ่บนโลกของเราอย่างแน่นอน แล้วท�ำไมทุกวันนี้ ในหลายพื้นที่จึงขาดแคลนน�้ำ แล้วน�้ำหายไปไหน?

ที่มนุษย์เรากังวลกันว่าน�้ำจะหมดโลกนั้นก็อาจเกิดขึ้นได้จริงถ้า ไม่ช่วยกันประหยัด แต่ที่ว่าน�้ำหมดโลกนั้นหมายถึงจ�ำนวนน�้ำ จื ด ที่ ส ะอาดเพี ย งพอ จะน� ำ มาใช้ อุ ป โภคบริ โ ภคได้ จะขาดแคลนอย่างหนัก แต่ปริมาณน�้ำในโลกก็ยังคงอยู่เท่าเดิม เพียงแต่แปรสภาพไปเป็นน�้ำที่ใช้ไม่ได้

¹éÓä»ÍÂÙ‹·Õèä˹ºŒÒ§

...เมื่อความสงสัยบังเกิด พี่ผลิใบก็จะไม่มีทางนอนรอค�ำตอบอยู่ เฉยๆ อย่างแน่นอน ยังไงๆ ก็ตอ้ งหาค�ำตอบของค�ำถามนีใ้ ห้ได้ และแล้วค�ำตอบที่ได้ก็ย่ิงสร้างความประหลาดใจให้กับพี่เป็น อย่างมาก เพราะข้อมูลที่ไปสืบค้นมาท�ำให้ทราบว่า “น�้ำไม่

น้ำเค็ม

96.5%

เคยหายไปจากโลกนี้แม้แต่หยดเดียว”

...น้องๆ หลายคนคงจะมีค�ำถามว่า จริงสิ? เป็นไปได้อย่างไร? เป็นเรื่องจริงค่ะ ส�ำนักดาราศาสตร์ซันฟลาวเวอร์คอสมอส ได้กล่าวไว้วา่ “น�ำ้ มีอยูท่ วั่ ไปตัง้ แต่ในร่างกายของมนุษย์ สิง่ มีชวี ติ และในสิ่งแวดล้อมรอบโลก โดยมีรูปแบบลักษณะต่างกันไป ทั้ ง ไอน�้ ำ ก๊ า ซ ของเหลว และของแข็ ง วนเป็ น วงจร Hydrologic Cycle ซึ่งทั้งหมดเพียงพอต่อใช้บนโลก เพราะไม่ มี ก ารหายไปไหนสั ก หยด ด้ ว ยเป็ น ลั ก ษณะระบบปิ ด หรื อ Closed System อุปมาอุปไมยได้กับการปลูกต้นไม้ไว้ในโดม แก้วที่ปิดสนิท น�้ำใต้ดินก็จะระเหยเป็นไอ แล้วควบแน่นก่อน กลั่นตัวตกลงมาเป็นหยดน�้ำซึมเข้าพื้นดิน” จึงสรุปได้ว่าน�้ำที่ เราก� ำ ลั ง อาบอยู ่ อ าจเป็ น น�้ ำ ที่ ไ ดโนเสาร์ เ คยใช้ ม าก่ อ นเมื่ อ 100 ล้านปีที่แล้ว หรืออาจเป็นน�้ำฝนที่เพิ่งตกลงมาเมื่อฤดูฝน ทีผ่ า่ นมาก็ได้ แล้วท�ำไมเราถึงประสบปัญหาขาดแคลนน�ำ้ ?

โลกประกอบดวยน้ำ 3 ใน 4 น้ำจืด

3%

ใน 100% ของน้ำจืดทั้งหมดแบงออกเปน

ลำธาร แมน้ำ คำลอง

0.3%

ภูเขาน้ำแข็ง

68.7%

ผลิใบ

30%

อื่นๆ

0.9%

การปริโภคน�้ำของประชากรโลกราว 40% ได้น�้ำจืดมาจาก ธารน�้ำแข็งและภูเขาน�้ำแข็งที่ค่อยๆ ละลายออกมากลายเป็น แม่ น�้ ำ แต่ ถ ้ า สภาวะโลกร้ อ นท� ำ ให้ ก ารละลายของน�้ ำ แข็ ง เปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ ว แหล่ ง น�้ ำ จื ด ส� ำ หรั บ อุ ป โภค บริโภคก็อาจหมดไปจากโลกของเราจริงๆ ที่มา : http://www.pptvthailand.com/ ภาพประกอบ : www.freepik.com

36

น้ำใตดิน


ขอเชิญ น้องๆ ส่ งผลงานเข้ า ประกวดในโครงการ YOUNG CREATIVE ENVIRONMENT ARTIST ภายใต้ CONCEPT “OUR LIVING ENVIRONMENT” หัวข้อการประกวด การประกวดแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ

ระดับประถมศึกษา แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ • แบบอย่างในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของฉัน (สร้างสรรค์ภาพไม่จ�ำกัดเทคนิค) • ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (สร้างสรรค์ภาพไม่จ�ำกัดเทคนิคและขนาด) ระดับมัธยมศึกษา แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อ • ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างรู้ค่าเพื่อพัฒนาอาชีพ (ใช้สื่อมัลติมีเดีย ไฟล์วีดีโอ ความยาว 30 - 90 วินาที) • ธุรกิจที่ฉันอยากท�ำเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน (สร้างสรรค์ภาพไม่จ�ำกัดเทคนิคและขนาด) รางวัล ระดับประถมศึกษา หัวข้อ แบบอย่างในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิน่ ของฉัน รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ---------------------------------------------------ระดับประถมศึกษา หัวข้อ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ **หมายเหตุ

ส่งผลงานได้ที่

1 คนส่งได้เพียง 1 หัวข้อเท่านั้น

ระดับมัธยมศึกษา หัวข้อ ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างรู้ค่าเพื่อพัฒนาอาชีพ รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ---------------------------------------------------ระดับมัธยมศึกษา หัวข้อ ธุรกิจที่ฉันอยากท�ำเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและพลังงาน รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ

เปิดรับผลงานได้ตั้งแต่บัดนี้ ถึง 16 กุมภาพันธ์ 2559 วารสารผลิใบ มูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สอบถาม 0 2503 3333 ต่อ 534 จ่าหัวเรื่อง “YOUNG CREATIVE ENVIRONMENT ARTIST”


Give and Share

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริมให้ เยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก

จ.นราธิวาส

โรงเรียนปราจีนกัลยาณี

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนอนุบาลเพชรบุรี

จ.เพชรบุรี

โรงเรียนอนุบาลนราธิวาส

จ.นราธิวาส

โรงเรียนอนุบาลประจันตคาม

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จังหวัดเพชรบุรี

จ.เพชรบุรี

โรงเรียนนราธิวาส

จ.นราธิวาส

โรงเรียนเมืองปัตตานี

จ.ปัตตานี

โรงเรียนบ้านท่ายาง (ประชาสรรค์)

จ.เพชรบุรี

โรงเรียนบ้านเขาตันหยง (มิตรภาพที่ 153)

จ.นราธิวาส

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ

จ.ปัตตานี

โรงเรียนวิทยานุกูลนารี

จ.เพชรบูรณ์

โรงเรียนราชานุบาล

จ.น่าน

โรงเรียนอนุบาลปัตตานี

จ.ปัตตานี

โรงเรียนอนุบาลเพชรบูรณ์

จ.เพชรบูรณ์

โรงเรียนบ้านดอน(ศรีเสริมกสิกร)

จ.น่าน

โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย

จ.อยุธยา

โรงเรียนหล่มเก่าพิทยาคม

จ.เพชรบูรณ์

โรงเรียนสตรีศรีน่าน

จ.น่าน

โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา

จ.อยุธยา

โรงเรียนเมืองเพชรบูรณ์

จ.เพชรบูรณ์

โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร

จ.น่าน

โรงเรียนแสงทวีปวิทยา

จ.อยุธยา

โรงเรียนนารีรัตน์

จ.แพร่

โรงเรียนอนุบาลบุรีรัมย์

จ.บุรีรัมย์

โรงเรียนจิระศาสตร์วิทยา

จ.อยุธยา

โรงเรียนวัดเมธังกราวาส (เทศรัฐราษฎร์นุกูล)

จ.แพร่

โรงเรียนอนุบาลประโคนชัย

จ.บุรีรัมย์

โรงเรียนประตูชัย

จ.อยุธยา

โรงเรียนพิริยาลัย

จ.แพร่

โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม

จ.บุรีรัมย์

โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

จ.อยุธยา

โรงเรียนร้องเข็มวิทยา

จ.แพร่

โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม

จ.บุรีรัมย์

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 46(ดอกคำ�ใต้)

จ.พะเยา

โรงเรียนอนุบาลแพร่

จ.แพร่

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม

จ.บุรีรัมย์

โรงเรียนพะเยาพิทยาคม

จ.พะเยา

โรงเรียนเมืองถลาง

จ.ภูเก็ต

โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนเชียงคำ�วิทยาคม

จ.พะเยา

โรงเรียนเทศบาลปลูกปัญญา

จ.ภูเก็ต

โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนอนุบาลพะเยา

จ.พะเยา

โรงเรียนสตรีภูเก็ต

จ.ภูเก็ต

โรงเรียนคณะราษฎร์บำ�รุงปทุมธานี

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนตะกั่วป่า"เสนานุกูล"

จ.พังงา

โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต

จ.ภูเก็ต

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนอนุบาลพังงา

จ.พังงา

โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

จ.ภูเก็ต

โรงเรียนวัดศรีคัคณางค์

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนสตรีพัทลุง

จ.พัทลุง

โรงเรียนศรีโกสุมวิทยา มิตรภาพที่ 209

จ.มหาสารคาม

โรงเรียนบุญคุ้มราษฎร์บำ�รุง

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนอนุบาลพัทลุง

จ.พัทลุง

โรงเรียนนาข่าวิทยาคม

จ.มหาสารคาม

โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม

จ.ปทุมธานี

โรงเรียนเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์

จ.พัทลุง

โรงเรียนอนุบาลมหาสารคาม

จ.มหาสารคาม

โรงเรียนวังไกลกังวล ฝ่ายประถม

จ.ปรจวบคีรีขันธ์

โรงเรียนตะพานหิน

จ.พิจิตร

โรงเรียนบรบือวิทยาคาร

จ.มหาสารคาม

โรงเรียนบางสะพานวิทยา

จ.ประจวบคีรีขันธ์

โรงเรียนอนุบาลพิจิตร

จ.พิจิตร

โรงเรียนสารคามพิทยาคม

จ.มหาสารคาม

โรงเรียนสมถวิลหัวหิน

จ.ประจวบคีรีขันธ์

โรงเรียนอนุบาลบางมูลนาก"ราษฎร์ อุทิศ"

จ.พิจิตร

โรงเรียนมุกดาลัย

จ.มุกดาหาร

โรงเรียนอนุบาลประจวบคีรีขันธ์

จ.ประจวบคีรีขันธ์

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนอนุบาลมุกดาหาร

จ.มุกดาหาร

โรงเรียนอนุบาลบางสะพาน

จ.ประจวบคีรีขันธ์

โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนแม่สะเรียง "บริพัตรศึกษา" จ.แม่ฮ่องสอน

โรงเรียนอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ

จ.ประจวบคีรีขันธื

โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนอนุบาลแม่ฮ่องสอน

จ.แม่ฮ่องสอน

โรงเรียนศรีมหาโพธิ

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนจ่าการบุญ

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนเลิงนกทา

จ.ยโสธร

โรงเรียนเมืองปราจีนบุรี

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนยโสธรพิทยาคม

จ.ยโสธร

โรงเรียนอนุบาลปราจีนบุรี

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนนครไทย

จ.พิษณุโลก

โรงเรียนอนุบาลยโสธร

จ.ยโสธร

โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 93 (บ้านลาดตะเคียน)

จ.ปราจีนบุรี

โรงเรียนบ้านลาดวิทยา

จ.เพชรบุรี

โรงเรียนอนุบาลยะลา

จ.ยะลา

38

ผลิใบ


Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................…….... สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………....................................................................... ที่อยู่ ………………………....................................................................................... ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อำ�เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................. การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6

สมัครสมาชิกวารสารผลิใบ

รับทันที

กระเป๋าผ้า

GREEN INNOVATION มูลค่า 250 บาท จาก มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com

39

ผลิใบ


Aseans’ Game โดย ผลิใบ

...เรามาทดสอบความรู้เรื่องน�้ำกันดีกว่าว่าจากการที่น้องๆ ได้อ่านวารสารผลิใบไปแล้วได้รับความรู้อะไรไปบ้าง โดยพี่ผลิใบจะให้ น้องๆ ดูภาพแหล่งน�้ำเหล่านี้แล้วช่วยบอกพี่ผลิใบทีว่ามันมีที่มาจากไหนบ้างและเป็นแหล่งน�้ำชนิดใด

น�้ำพุร้อน

ล�ำธาร

บึง

คลอง

เขื่อน

อ่างเก็บน�้ำ

เฉลย เกมหาค�ำศัพท์ ฉบับ 118 A C B Q W M A T O I R A N G E R E T L A

G D R E C Y C L E A L T Q U A Q N Z E R

40

O E U C P E S U H Z O E S N Q

D U M E H A W A C S R E T U

V I N O O V I R

A P K S F E H P R E Y K Z A S S U P P D E K D T W O E A Z N E I L A D C T N S Z A I S L T R T E S E S S T T R Z I H A N O I S R O N M O T K C E S Y O L E I A

ผลิใบ

D B O R Q F B F D U B F A L N E E B F N

A O F L O I I T I A R I N I G W N H U E

R O A O L L R O K L E A D U Z A T A U R

R N R T L U A T A R U L U W S Q T N Q E

K F T C R F T L T L S O M A U S A M D

W T A K T C C I J Y E K Y S W R U L K U

A E H A Q H S Z O Y Z V Q T Z E S O A C

A U N A P A H U U N U E D E A F W V O E

R B Z E R O A B A A O Y B P T U T E B O

K B I T O K D A I T V I E K R N S V I S T O Y A Z L B A S E A P L B R U U L

D E I N E N R E R R B O N J U R E K E L

บ่อบาดาล น�้ำใต้ดิน ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. น�้ำผิวดิน ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. ................................................................. .................................................................

ภาพประกอบ : http://www.animalrahat.com/ https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/2/2f/Lakevyrnwysummer.jpg https://squaredoor.com/blog/wp-content/uploads/2015/07/rivers2rivers.gov_.jpg https://sometimesawriter.files.wordpress.com/2012/11/river.jpg http://4.bp.blogspot.com/-5COvGKKyQ0o/TmdenPL6HQI/AAAAAAAAABs/ QUO5SK6U9Gw/s400/10.jpg http://www.nikonianthailand.com/forum/photo/3890080112120125.jpg http://www.aseanthai.net/images/article/news1280/n20150306132605_20360.jpg




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.