NT
I A N A B T L S E U M S O r VEM o f E
องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/
Editor’s Note
สวัสดีครับน้อง ๆ ชาวผลิใบ กลับมาพบกัน อีกครั้งในวารสารฉบับที่ 129 ส�ำหรับเนื้อหา ในเล่มนีอ้ ยากจะน�ำเสนอเรือ่ งใกล้ตวั ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับใครก็ได้บนโลกใบนี้ หน�ำซ�้ำเรายังไม่สามารถ ทราบเวลาที่ มั น จะเกิ ด ขึ้ น ได้ อี ก เรื่ อ งน่ า กลั ว ทีว่ า่ นีก้ ค็ อื “ภัยพิบตั ”ิ นัน่ เองครับ เพราะภัยพิบตั ิ สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาจากทั้งที่เกิดจาก ธรรมชาติ หรือมนุษย์เราเป็นต้นเหตุก็ตาม แต่ ไม่ว่าจะเกิดจากสาเหตุใด สิ่งหนึ่งที่เราทุกคน ต้องรูก้ ค็ อื การรับมือกับภัยพิบตั ทิ จี่ ะเกิดขึน้ ตลอด จนวิธกี ารเอาตัวรอดเมือ่ ต้องตกอยูใ่ นสถานการณ์ เลวร้ายต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเพื่อความปลอดภัย ของตัวเอง น้องๆ สามารถหาความรู้ เหล่านี้ได้ภายใน เล่ ม ซึ่ ง ที ม งานได้ ร วบรวมเรื่ อ งราวน่ า สนใจ เกี่ ย วกั บ ภั ย พิ บั ติ ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ไว้ ในคอลั ม น์ Evolution Fun Facts เรี ย นรู ้ การเอาตัวรอดจากสถานการณ์ภัยพิบัติต่างๆ ได้ในคอลัมน์ What the World Offers และ มาดูการคาดการณ์ความเสี่ยงที่จะเกิดภัยพิบัติ จากผู้เชี่ยวชาญจากทั่วโลกในคอลัมน์ Let’s go Green คณะผูจ้ ดั ท�ำหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าวารสารผลิใบ ฉบับนี้จะก่อให้เกิดประโยชน์กับผู้อ่านต่อไปครับ
ณรงค์ บุณยสงวน บรรณาธิการบริหาร
• วารสารผลิใบได้รบั รางวัลดีเด่น ประเภทวารสาร ที่ มี เ นื้ อ หาทั่ ว ไปเหมาะสมกั บ เยาวชน ประจำ � ปี พ.ศ. 2538 - 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ บรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ เลขากองบรรณาธิการ ออกแบบ โรงพิมพ์ สำ�นักงาน โทรศัพท์ โทรสาร อีเมล เว็บไซต์ Facebook
: : : : : :
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ณรงค์ บุญยสงวน กมนนุช สมบุญธวงษ์ ณชชน พชรชัยกุล ภัทรา จิตรานนท์ อังคนา อนุตโร ณชชน พชรชัยกุล บริษัท ซาเร็นการพิมพ์ จำ�กัด
วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 0 2503 3333 0 2504 4826-8 plibai.book@gmail.com www.tei.or.th www.facebook.com/Plibai2012.Tei
8 22
34
18 24
36
Science Tricks
26
English for Fun
27
Cover Story
30
Green Mind
32
Book Inspiration
3
Young Artist
34
IT Generation
4
Do It Yourseft
36
5
Give and Share
39
Think Tank
6
Membership
40
Animal Wonders
8
รอยเท้าของพ่อ
Evolution Fun Facts
10
What the World Offers
14
Green Energy
16
Grew the Earth
17
Think Out of the Box
18
Let’s go Green
19
The Question Mark
22
Green Innovation
23
On the Move
24
ภัทรา จิตรานนท์ หัวหน้ากองบรรณาธิการ
อังคณน อนุตโร เลขากองบรรณาธิการ
ณชชน พชรชัยกุล บรรณาธิการ
Book Inspiration
คู่มือเอาตัวรอดจาก 16 ภัยพิบัติ
หนังสือเล่มนี้เป็นเสมือนหนังสือสามัญ ประจ�ำบ้ า นส�ำหรั บ ประชาชนทั่ ว ไปที่ ค วรมี ติดบ้านไว้ เพราะเป็นคู่มือให้รู้วิธีเอาตัวรอด การรักษาชีวิตและทรัพย์สินให้ปลอดภัยจาก ภัยธรรมชาติและภัยพิบัติอื่นๆ รวมทั้งวิธีการ เอาตัวรอดอย่างง่ายทีท่ �ำได้ทนั ทีเมือ่ ประสบเหตุ ไม่ว่าจะเป็นแผ่นดินไหว สึนามิ ภาวะโลกร้อน คลืน่ ความร้อน วิกฤตินวิ เคลียร์ รวมทัง้ โรคภัย ที่คร่าชีวิตมวลมนุษย์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น ซารส์ ไข้ ห วั ด นก ไข้ ห วั ด สายพั น ธุ ์ ใ หม่ ๆ ไข้สมองอักเสบ และเอดส์ เป็นต้น คู่มือคนไทย เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศโลกในปัจจุบัน สืบเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมถูกท�ำลาย จึงก่อให้เกิดภัย พิบัติทางธรรมชาติซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัวมนุษย์ที่เกิดขึ้น บ่อยครั้ง และนับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น สร้าง ความเสียหายทั้งต่อชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งประเทศไทย มีความเสีย่ งต่อภัยพิบตั ติ า่ งๆ อาทิ ภัยน�ำ้ ท่วม ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ภัยแล้ง ฯลฯ ในขณะเดียวกัน มี ป ระชาชนจ�ำนวนมากที่ ไ ม่ มี ข ้ อ มู ล ส�ำหรั บ การ เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบตั ิ จึงไม่สามารถหาทางป้องกัน และปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัย ดังนั้น เพื่อเป็นการให้ความรู้และสร้างความตระหนักแก่ประชาชนเกี่ยวกับภัยพิบัติต่างๆ บางจากฯ จึงได้จัดท�ำ หนังสือ “คู่มือคนไทยเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ” ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ ที่รวบรวมข้อมูลอันเป็นประโยชน์ เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ส�ำหรับคนไทยและชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย สามารถ ดาวโหลดได้ฟรีที่ www.openbase.in.th/node/14973 ผลิใบ
3
IT Generation
รู้ทนั ภัยพิบัติ ด้วย
TVIS เป็นของ NECTEC เว็บแอปพลิเคชั่น www.varee.info/ รวบรวมข้อมูลจาก Sensor วัดระดับน�้ำท่วมขังของ กทม. แสดงผลพร้อมภาพจาก CCTV ดูสภาพถนนสด ๆ มีการแสดง ข้อมูลอัปเดต น�้ำท่วมจาก Twitter รวมถึงระบบ Chatbot ถามสถานการณ์ในเส้นทางที่ต้องการไป
Thaiprompt Thaiprompt เป็นความร่วมมือระหว่าง ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (EGA) กรม ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส�ำนักงาน นวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (NIA) มู ล นิ ธิ เ อเชี ย และ Social Technology Institute www.thaiprompt.in.th เป็นเว็บไซต์ที่ให้ ข้อมูลเรื่องการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ ทั้ ง น�้ ำ ท่ ว ม พายุ แผ่ น ดิ น ไหว น�้ ำ ท่ ว ม ดินถล่ม
4
ผลิใบ
รอยเท้าของพ่อ
แนวพระราชด�ำริ
ในการเตรียมตัวรับมือ
ภัยพิบัติ
แนวพระราชด�ำริในการแก้ไขปัญหาดินเค็ม เพื่ อป้องกันปัญหาดินถล่ม และแผ่นดินไหว
ปี 2561 ทั้ ง ประเทศไทยและทั่ ว โลกได้ เ กิ ด ภั ย พิ บั ติ ทางธรรมชาติขึ้นอย่างต่อเนื่องจากหลายปีีที่ผ่านมา ซึ่งล่าสุด ก็ เ กิ ด อุ ท กภั ย ในเมื อ งไทยอี ก ครั้ ง ที่ จั ง หวั ด น่ า น และเพชรบุ ร ี ซึ่งไม่ว่าจะเกิดภัยพิบัติขึ้นเมื่อใดเราก็มักที่จะมาหาวิธีแก้ปัญหา กันที่ปลายเหตุเสมอ แต่..สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ท่านทรงมีสายพระเนตรยาวไกลกว่านัน้ โดยทรงมีพระบรมราโชวาท ให้มีการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติเพื่อรับมือกับภัยอย่างมีสติ เตรียมพร้อมตามทฤษฎี ดังนี้
ใช้ ร ะบบชลประทานในการล้ า งเกลื อ ที่ตกค้างบริเวณผิวดินและล�ำห้วย ระบบการท�ำนาเกลือสินเธาว์ตามแนว พระราชด�ำริต้องมีบ่อรับน�้ำทิ้งจากลาน ตากเกลือและการก�ำจัดโดยการอัดน�้ำ เหล่านี้สู่ชั้นเกลือที่สูบขึ้นมา
แนวด�ำเนินการตามพระราชด�ำริป่าเปียก
ทฤษฎีและแนวทาง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในการป้องกันแก้ไขปัญหาน�้ำท่วม
การก่อสร้างคันกันน�้ำเพื่อ ป้องกันน�้ำท่วม การก่อสร้างทางผันน�้ำ การปรับปรุงและตกแต่ง สภาพล�ำน�้ำ การก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน�้ำ การแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมโดย ด�ำเนินโครงการแก้มลิง
ท�ำระบบป้องกันไฟไหม้ป่า โดยใช้แนวคลองส่งน�้ำและแนวพืชต่างๆ ปลูกตามแนวคลอง สร้างระบบการควบคุมไฟป่าด้วยแนวป้องกันไฟ ป่าเปียก โดยอาศัย น�้ำชลประทานและน�้ำฝน ปลูกต้นไม้โตเร็วคลุมแนวร่องน�้ำ เพื่อให้ความชุ่มชื้นค่อยๆ ทวีขึ้น และแผ่ขยายออกไปทั้งสองข้างของร่องน�้ำ การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น หรือที่เรียกว่า “Check Dam” ขึ้น เพื่อปิดกั้นร่องน�้ำหรือล�ำธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ เพื่อใช้เก็บกักน�้ำ และตะกอนดินไว้บางส่วน การสูบน�้ำเข้าไปในระดับที่สูงที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ แล้วปล่อยน�้ำลงมา ทีละน้อยให้ค่อยๆ ไหลซึมลงดิน ผลิใบ
5
Think Tank
คืนสมดุลสู่ธรรมชาติ หนทางป้องกันภัยพิบัติที่ยั่งยืน
จากรายงาน “การรักษาสมดุลทางธรรมชาติ – พื้นที่อนุรักษ์และการบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Security: Protected Areas and Hazard Mitigation) ซึ่ง WWF ได้ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ ครั้งใหญ่ ๆ ที่ผ่านมา เช่น ปี 2000 ปรากฏการณ์น�้ำท่วมใหญ่ที่บังคลาเทศ / ปี 2000 และ 2001 โมซัมบิก / ปี 2006 ยุโรป ปี 2003 ปรากฏการณ์คลื่นความร้อนและไฟป่าในโปรตุเกส ปี 2005 แผ่นดินไหวที่ปากีสถาน ปี 2004 คลื่นสึนามิที่อินโดนีเซีย ปี 2005 เฮอร์ริเคนแคทรินาที่อเมริกา WWF ระบุว่า หากมีการอนุรักษ์ธรรมชาติอย่างจริงจังแล้ว ภัยพิบัติทางธรรมชาติจะลดลง เนื่องจากปัญหา เกิดจากการตัดไม้ท�ำลายป่า และการก่อสร้างในพื้นที่ชุ่มน�้ำซึ่งมีผลต่อปริมาณของน�้ำฝน จนน�ำไปสู่ภาวะน�้ำท่วม ไหลหลากและการพังทลายของดิน หากมีการท�ำลายแนวปะการัง ตัดไม้โกงกางตามแนวชายฝั่ง และเคลียร์พื้นที ่ เนินทรายตามแนวชายฝั่งทะเล เราก็มักจะพบว่าจะเกิดหายนะต่อชีวิตและทรัพย์สินตามมาจากน�้ำทะเลท่วมพื้นที่ ชาวบ้านที่อยู่ใกล้ทะเล โดยในรอบ 50 ปีที่ผ่านมามีแนวโน้มว่าภัยพิบัติทางธรรมชาติจะเกิดถี่ขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นผล มาจากการสูญเสียระบบนิเวศที่เคยมีอยู่อย่างสมบูรณ์ในอดีต ตัวอย่างภัยพิบัติที่รุนแรงขึ้นเมื่อระบบสมดุลธรรมชาติถูกท�ำลาย หมู ่ เ กาะเซเชลส์ ที่ อ ยู ่ ใ น มหาสมุทรอินเดียได้รบั ผลกระทบ จากคลืน่ ยักษ์ถาโถมมากขึน้ เป็น 2 เท่า หลังจากที่มีการส�ำรวจ พบว่าแนวปะการังทีอ่ ยูต่ ามแนว ชายฝั่งถูกท�ำลายลง และแนว ไม้โกงกางทีก่ นั้ อยูต่ ามแนวชายฝัง่ ถูกตัดออกไป 6
ผลิใบ
ที่ ร าบลุ ่ ม แม่ น�้ ำ ดานู บ ที่ มี ก าร พั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น ชุ ม ชนจนท�ำให้ 70% ของพื้นที่เดิมถูกท�ำลาย ผลที่ ตามมาคือการมีน�้ำท่วมขังและน�้ำป่า ไหลหลากมากขึน้ และเมือ่ มีการปรับ พื้ น ที่ ป ่ า ไม้ แ ละมี ก ารเข้ า ไปพั ฒ นา พื้นที่ให้เปลี่ยนไปจากเดิมก็ท�ำให้มี ไฟป่าเกิดขึ้นบ่อยกว่าเดิม
โจนาธาน แรนดอล ผู้เขียนรายงานฉบับดังกล่าวให้ WWF และเป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของ WWF ด้านการให้ ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย กล่าวว่า “หากมีมหันตภัยทางธรรมชาติขนาดใหญ่ ๆ เราอาจหลีกเลี่ยงมันไม่ได้ แต่เรา สามารถทีจ่ ะลดระดับของความรุนแรงลงได้ หากว่าเรามีการจัดการเรือ่ งระบบนิเวศได้ดขี นึ้ รวมทัง้ มีการประกาศพืน้ ที่ อนุรักษ์ให้มีจ�ำนวนมากขึ้น” ตัวอย่างผลการท�ำงานที่ประสบความส�ำเร็จในเรื่องการป้องกันภัยธรรมชาติ
สหรัฐอเมริกา ใช้เงินถึง 1.1 ล้านเหรียญในการซ่อมแซม แนวกั้ น น�้ ำ และการปลู ก ต้นโกงกางตามแนวชายฝั่ง ทะเลของเวียดนามหลายจุด ท�ำให้ชมุ ชนชาวบ้านจ�ำนวน มากได้รับการปกป้องจาก พายุขนาดใหญ่ได้ พายุไต้ ฝุน่ วูกองในปี 2000 ทีโ่ หม กระหน�่ำในพื้นที่ดังกล่าวก็ ไม่กอ่ ให้เกิดความสูญเสีย เหมือนเมื่อก่อน
สวิตเซอร์แลนด์ มีการใช้ งบประมาณ 3.5 พันล้าน เหรี ย ญสหรั ฐ ต่ อ ปี ใ นการ ปกป้องพื้นที่ป่า 17% ของ ป่าทั้งหมดในประเทศ เพื่อ ใช้ ป ่ า เหล่ า นี้ ป ้ อ งกั น การ พั ง ท ล า ย ข อ ง หิ ม ะ แ ล ะ ดิ น ถล่ ม รวมทั้ ง การเกิ ด น�้ำป่าไหลหลาก
เพราะฉะนั้ น เราจึ ง ควรหั น มาให้ ค วาม ส�ำคั ญ ต่ อ พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ให้ ร ะบบนิ เ วศ คงอยู ่ ต ลอดไป โดยเฉพาะแนวไม้ โ กงกาง ตามชายฝั่งทะเล แนวปะการัง ป่าไม้ และพื้นที่ ชุ่มน�้ำ เพราะระบบนิเวศเหล่านี้จะเป็นปราการ ป้องกันภัยธรรมชาติชั้นยอดในกรณีที่เกิดพิบัติ การรั ก ษาความสมดุ ล ทางธรรมชาติ เ หล่ า นี ้ ยั ง จะสามารถบรรเทาภั ย พิ บั ติ ท างธรรมชาติ ทีเ่ กิดมาจากการเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศโลก ได้อีกด้วย
ผลิใบ
7
Animal Wonders
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่ออกลูกเป็น
ไข่
ถ้าพูดถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เราจะทราบกันดีว่าพวกมันจะออกลูกเป็นตัวเช่นเดียวกับมนุษย์ แต่น้อง ๆ ทราบหรือไม่คะว่ายังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2 ชนิดที่ออกลูกเป็นไข่ นั่นก็คือ ตุ่นปากเป็ด และตัวกินมดหนาม ซึ่งใน ฉบับนี้เราจะมาท�ำความรู้จักกับสัตว์ทั้ง 2 ชนิดนี้กันค่ะ
“ตุ่นปากเป็ด” เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม รูปร่างหน้าตาแปลกเหมือน
กับน�ำชิ้นส่วนของสัตว์หลายชนิดมาประกอบกัน โดยตัวมีลักษณะคล้ายตุ่น ขนหนา มีปากเหมือนเป็ด เท้าเหมือนแมวน�ำ ้ หางยาวเป็นพวงเหมือนบีเวอร์ ตัวเมียวางไข่ และมีน�้ำนมเลี้ยงลูกอ่อนโดยให้น�้ำนมจากทางผิวหนังที่ท้อง ตัวผู้มีเดือยที่เท้าหลังซึ่งสามารถพ่นพิษได้เหมือนงู กล่าวได้ว่าตุ่นปากเป็ด เป็นส่วนผสมของทั้งสัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม วางไข่ในโพรงใต้ดิน เหมือนสัตว์เลื้อยคลาน ขนช่วยให้อบอุ่นและแห้งอยู่เสมอ ขณะอยู่ใต้น�้ำ
มีช่องสืบพั นธุ์ ช่อง ถ่ายอุจจาระ และช่อง ถ่ายปัสสาวะร่วมกัน
มีมือ และเท้าเป็นพั งพื ด ที่จะกางออกเมื่ออยู่ในน�้ำเพื่ อใช้ว่ายน�้ำ แต่จะหุบเก็บเวลาเดินอยู่บนบก ตัวผู้มีเดือยที่เท้าหลัง มีรูตรงกลางเชื่อมไป ยังต่อมพิ ษ ปากเป็นจะงอยแบบเหมือนเป็ด มีลักษณะคล้ายยาง
ระบบประสาทสัมผัสที่มีความซับซ้อน ใช้ในการตรวจหาคลื่นไฟฟ้า จากเหยื่อที่ปล่อยออกมา
8
ผลิใบ
ให้นมจากผนังหน้าท้อง
ช่วยป้องกันน�้ำเข้าหู ตา และรูจมูก ขณะอยู่ใต้น�้ำ
แม้วา่ ตุน่ ปากเป็ดจะเกิดและอาศัยอยูบ่ นบก แต่มนั ก็ใช้เวลา ส่วนใหญ่อยู่ในน�้ำ เช่น ล�ำธาร แม่น�้ำ ทะเลสาบ ขณะด�ำน�้ำ หาอาหารมันจะส่ายปากไปมา เพือ่ ให้หน่วยรับสัมผัสประจุไฟฟ้า ตรวจจับเต็มที่ เมื่อเจอเหยื่อตุ่นปากเป็ดจะกลั้วน�้ำที่มีสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังเล็กๆ จ�ำพวกกุ้งฝอย กุ้งนาง หนอนต่างๆ หอย ตัวเล็ก ๆ และแมลงน�้ำอื่น ๆ ลงในคอ กรองเอาเหยื่อเหล่านี้ เก็บไว้ในกระพุ้งแก้ม บางครั้งตุ่นปากเป็ดจะเก็บเหยื่อไว้จนเต็ม กระพุง้ แก้ม แล้วจึงว่ายขึน้ ไปนอนเคีย้ ว (บด) อาหารทีผ่ วิ น�ำ ้ จึง ถือได้ว่าเป็นผู้ล่าที่ช่วยควบคุมขนาดประชากรสัตว์ไม่ให้มีมาก จนเกินไป
“ตัวกินมดหนาม”
เป็นสัตว์ประจ�ำท้องถิ่นของ ออสเตรเลีย เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทีอ่ อกลูกเป็นไข่เช่นเดียวกับตุน่ ปากเป็ด มี รู ป ร่ า งคล้ า ยเม่ น ตั ว เล็ ก ๆ มี ข นเป็ น หนาม ปกคลุมตลอดตัว จมูกเรียวยาว ขาสัน้ แข็งแรง อุง้ เล็บใหญ่ ขุดดินได้ดี มีปากเล็ก ไม่มฟี นั หาอาหาร โดยการฉีกท่อนไม้ผุ ขุดจอมปลวก ใช้ลิ้นเหนียวๆ กวาดปลวก มด และสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลังขนาด เล็กชนิดอืน่ ๆ แล้วบดเหยือ่ กับเพดานปากก่อนกลืน
ปากของตุ่นปากเป็ดมีรูปร่างคล้ายปากเป็ด ยืดหยุ่นคล้ายยาง ปากบนเป็นสีน�้ำเงินเทา มีรูจมูก อยู่ถัดมาจากปลายปากบนเล็กน้อย ที่รูจมูกอยู่ ต�ำแหน่งนีช้ ว่ ยให้ตนุ่ ปากเป็ดหายใจได้ดขี ณะล�ำตัว อยู่ใต้น�้ำ ปากล่างมีขนาดเล็กกว่าปากบน ใต้ปาก ล่างเป็นสีชมพูออ่ น หรือเป็นจุด ๆ หลากสี ด้านหลัง ของปากส่วนทีต่ อ่ กับหัวมีกะบังยกขึน้ เล็กน้อย และ มันยังมีเดือยพิษซ่อนอยูบ่ ริเวณขาหลัง เพือ่ ป้องกัน ตัวจากศัตรูตามธรรมชาติ
บ้านของตุ่นปากเป็ดต้องแห้งสนิทแต่อยู่ใกล้ กับแม่น�้ำ ที่จะสะอาดใสไหลแรง และยังต้องมีกุ้ง ปู และสัตว์ไม่มีกระดูกสันอาศัยอยู่ด้วย
ลูกตัวกินมดหนาม ที่เพิ่ งออกจากไข่
ตุน่ ปากเป็ด และตัวกินมดหนามมีเซ็นเซอร์ตรวจ จับสนามไฟฟ้าเพื่อหาเหยื่อจากการเคลื่อนไหวของ กล้ามเนือ้ เหยือ่ ตุน่ ปากเป็ดนัน้ มี 40,000 Receptors บนปากส่วนตัวกินมดหนามมี 2,000 Receptors
ข้อมูล : www.creation-facts.org www.bbc.com ภาพประกอบ : https://mashable.com www.zooborns.com https://newatlas.com https://animals.mom.me
ผลิใบ
9
Evolution Fun Facts
ภัยพิ บัตทิ ่โี ลกต้องจารึก
ประวัติศาสตร์
พ.ศ. 1681 (ค.ศ. 1138)
พ.ศ. 2099 (ค.ศ. 1556)
พ.ศ. 2185 (ค.ศ. 1642)
แผ่นดินไหว เมือง Aleppo ประเทศ ซีเรีย มีจำ� นวนผูเ้ สียชีวติ ถึง 230,000 คน
แผ่ น ดิ น ไหวครั้ ง รุ น แรงที่ สุ ด ของ ประเทศจีน ที่ส่านซี มีจ�ำนวนผู้บาดเจ็บ และเสียชีวิตรวมกัน 830,000 คน ทั้งใน จังหวัดส่านซี และเมืองใกล้เคียงโดยรอบ
น�้ ำ ท่ ว มที่ เ มื อ งไคเฟิ ง ในมณฑล เหอหนาน ตั้ ง อยู ่ ท างใต้ ข องริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ เหลื อ ง ทั่ ว ทั้ ง เมื อ งจมอยู ่ ใ ต้ น�้ ำ มีผบู้ าดเจ็บ และเสียชีวติ รวม 600,000 คน
พ.ศ. 2382 (ค.ศ. 1839)
พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883)
พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1887)
เกิดพายุไซโคลน Coring พัดถล่ม เมืองเล็ก ๆ ใกล้แม่น�้ำโกดาวารี จนเป็น เหตุท�ำให้มีผู้เสียชีวิตราว 300,000 คน และนับว่าเป็น 1 ใน 3 ของพายุทเี่ ลวร้าย ที่สุดของอ่าวเบงกอล
ภูเขาไฟกรากาตัวเกิดระเบิดอย่าง รุนแรง ก่อให้เกิดความหายนะครั้งใหญ่ ในประเทศอินโดนีเซีย ท�ำลายหมู่บ้าน 163 หมู่บ้าน ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต 36,380 คน
ฝนตกหนักจนล้นเขื่อนที่กั้นแม่น้�ำ ฮวงโห หรือแม่น�้ำเหลืองในประเทศจีน ประชาชนเกือบ 2,000,000 คน ไร้ที่อยู่ อาศัยและมีผู้เสียชีวิตกว่า 900,000 คน
10
ผลิใบ
พ.ศ. 2445 (ค.ศ. 1902)
พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918)
พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923)
ภู เขาไฟปาเลบนเกาะมาร์ ติ นี ก ระเบิด ท�ำลายเมืองเซนต์ปิแอร์ ท�ำให้มี ผู้เสียชีวิต 30,000 คน
เกิดไข้หวัดใหญ่ระบาดอย่างผิดปกติ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2461-2462 ส่ ง ผลให้ มี ผู้เสียชีวิต 35-75 ล้านคนทั่วโลก
แผ่นดินไหวครัง้ ใหญ่ในบริเวณคันโต ท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ ในโตเกียวและโยโกฮามา ของประเทศญี่ปุ่นราว 100,000 คน
พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931)
พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970)
พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1978)
เกิดเหตุน�้ำป่าไหลหลากจากแม่น�้ำ หลัก 3 สายของประเทศจีน ได้แก่ แม่นำ�้ หวง (หวงเหอ) แม่น�้ำแยงซี (แยงซีเกียง) และแม่นำ�้ หวย (หวยเหอ) เป็นเหตุทำ� ให้ เกิดน�้ำท่วมเฉียบพลันเข้าที่บ้านเมือง มีผู้เสียชีวิตราว 1 ล้านคน และผู้ที่ได้ รับบาดเจ็บและสูญหายอีก 2.8 ล้านคน
พายุ ไซโคลน Bhoma เข้ า พั ด ถล่มทางทิศตะวันตกของอ่าวเบงกอล มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต จากเหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นี้ ก ว่ า 375,000 คน
ประเทศจี น เจอกั บ พายุ ไ ต้ ฝุ ่ น จน เขื่อนแตก ท�ำให้เกิดคลื่นน�้ำขนาดใหญ่ เกิ ด ความเสี ย หายเป็ น วงกว้ า งถึ ง 55 กิโลเมตร มีผู้เสียชีวิตมากถึง 231,000 คน
พ.ศ. 2519 (ค.ศ. 1976)
เกิดแผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.8-8.2 ในเมืองต่งซาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ท�ำให้มีผู้เสียชีวิต 242,769 คน บาดเจ็บ 164,851 คน
พ.ศ. 2524-2527 (ค.ศ. 1981-1984)
ภัยแล้งที่แอฟริกา เกิดขึ้นใน 20 ประเทศ ทะเลสาบแห้งขอด มีผู้เสียชีวิต กว่า 20,000 คน ผลิใบ
11
พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985)
พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995)
พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997)
ภูเขาไฟเนวาโดเดลรีซปะทุ ท�ำให้ เกิดเศษหินภูเขาไฟถล่มในเมืองอาร์เมโร ประเทศโคลอมเบีย มีผเู้ สียชีวติ ประมาณ 25,000 คน
เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวแมกนิ จู ด 7.2 ใกล้เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น ท�ำให้มี ผู้เสียชีวิตมากกว่า 6,000 คน และเกิด ความเสี ย หายต่ อ ทรั พ ย์ สิ น เป็ น มู ล ค่ า กว่า 100,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
พายุ Pauline ท� ำ ให้ เ กิ ด ฝนตก อย่างไม่หยุด และท�ำให้เกิดแผ่นดินถล่ม ในเม็ ก ซิ โ กโดย มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ประมาณ 250-400 คน และก่อให้เกิดความเสียหาย เป็นจ�ำนวนมากเกินกว่า 7.5 พันล้าน เหรียญ
พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999)
พ.ศ. 2544 (ค.ศ. 2001)
พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002)
เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหวแมกนิ จู ด 7.2 ในด้านตะวันตกเฉียงหนือของตุรกี ท�ำให้ มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 17,000 คน และ บาดเจ็บ 44,000 คน
เกิดแผ่นดินไหวแมกนิจูด 7.9 ในรัฐ คุชราตของประเทศอินเดีย มีผู้เสียชีวิต มากกว่า 20,000 คน
Kenna เป็นพายุเฮอร์รเิ คนระดับ 5 รุนแรงทีส่ ดุ ทีเ่ คยกระทบชายฝัง่ ตะวันตก ของเม็กซิโก ท�ำลายชายฝั่งท�ำให้เกิด ความเสียหายมากถึง 101 ล้านดอลลาร์
12
ผลิใบ
พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004)
เกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย วัดขนาดได้ 9.1 ถึง 9.3 ตามมาตราโมเมนต์ ก่อให้เกิดคลื่นสึนามิ ซัดเข้าฝั่งรอบมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ศรีลังกา อินเดีย อินโดนีเซีย ไทย รวมถึงชายฝั่งบางส่วนของทวีปแอฟริกา มียอดผู้เสียชีวิตกว่า 186,983 คน โดยในประเทศไทยมีผู้เสียชีวิต 5,395 คน
พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005)
พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)
พายุเฮอร์ริเคน Katrina เป็นพายุที่ อันตรายและรุนแรงทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ ของสหรัฐอเมริกา มีจ�ำนวนผู้เสียชีวิต 1,833 คน ประมาณการถึงค่าเสียหายอยู่ ที่ 81 พันล้านเหรียญสหรัฐ
เกิ ด พายุ ห มุ น นาร์ กิ ส อั น มี ค วาม รุนแรงระดับสูง ได้เริ่มก่อตัวขึ้น ท�ำให้มี ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต 146,000 คนและสู ญ หาย 54,000 คน
พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010)
เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ตามมาตรา ขนาดโมเมนต์ ใกล้กับกรุงปอร์โตแปรงซ์ ประเทศเฮติ ท�ำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 230,000 คน
ข้อมูลจาก www.thairath.co.th www.workpointtv.com www.pantip.com http://travel.trueid.net http://wowjung.com พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011)
พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)
เกิดเหตุแผ่นดินไหวแมกนิจูด 9.0 บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น ท�ำให้เกิดคลื่นสึนามิพัดเข้าถล่มตามมา มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 15,800 คน
พายุ Patricia พายุเฮอริเคนทีม่ พี ลัง มากที่สุดที่เคยบันทึกไว้ มีผู้เสียชีวิตกว่า 6,000 คน
ผลิใบ
13
What the World Offers
วิธีเอาตัวรอดจากสถานการณ์ฉุกเฉิน สถานการณ์ไฟไหม้
How To Survive a Burning Building มองหาทางหนีไฟเสมอ เวลาไปสถานที่ไม่คุ้นเคย มีสติ เพื่อเตรียมตัวหนีไฟ ใช้ทางหนีไฟเท่านั้น อย่าใช้ลิฟท์หรือบันไดเป็นอันขาด อย่าหลบซ่อน ให้หาทางหนีออกมาเรื่อยๆ ก้มต�่ำ หาผ้าชุบน�้ำปิดจมูก เพราะออกซิเจนจะลอยลงต�่ำเสมอ
สถานการณ์น�้ำท่วม
How To Survive a Flood
14
ติดตามข่าวสาร ข้อมูลในการเตรียมอพยพ วางแผนเพื่ อหลบหนี ต้องรู้ว่าจะอพยพไปที่ไหน ศึกษาเส้นทาง และผู้ร่วมอพยพกับเรา เช่น เด็ก คนชรา สัตว์เลี้ยง หรือคนป่วย เตรียมของที่จ�ำเป็น เช่น เสบียงอาหาร ยา ฯลฯ ปิดทุกอย่างในบ้าน โดยเฉพาะตัดกระแสไฟฟ้า วาล์วน�้ำ แก๊ส อย่าเดินตามเส้นทางน�้ำไหล เพื่อป้องกันการโดนกระแสน�้ำพัดพา
ผลิใบ
สถานการณ์สึนามิ How to Survive a Tsunami
ตื่นตัวตลอดเวลา ให้เฝ้าระวังการประกาศเตือนสึนามิ เห็นน�้ำทะเลลดลงผิดปกติให้หนี ก่อนสึนามิจะมาสัญญาณเตือนคือ น�้ำทะเลที่ลดลงอย่างผิดปกติ หนีข้น ึ ที่สูงเท่านั้น
สถานการณ์แผ่นดินไหว How to Survive an Earthquake
มีสติ ถ้าไม่มีทางออกใกล้ๆ ให้มองหาที่ที่สามารถ หลบซ่อนได้ หาที่หลบ หลบใต้โต๊ะโดยคุกเข่าก้มตัวต�่ำแล้วเอามือ ประสานไว้ทที่ า้ ยทอยด้วย อย่าอยูใ่ กล้กระจก หรือสิ่งที่แตกได้ อยู่ที่โล่ง กรณีอยู่ด้านนอกอาคาร ให้วิ่งหนีห่างออก จากตัวอาคาร พยายามมองหาที่โล่งที่ไม่มี อะไรท�ำอันตรายได้
สถานการณ์ก่อการร้าย
สถานการณ์ดินถล่ม
How To Survive a Terrorist
How to Survive a Landslide
วิ่ง ทันทีที่ได้ยินเสียงที่คล้ายกับปืนหรือระเบิด สิง่ ทีค่ วรท�ำคือทิง้ ทุกอย่างทีเ่ ป็นตัวถ่วงความเร็ว แล้ววิ่งออกมาจากจุดเกิดเหตุให้เร็วที่สุด ซ่อนตัว กรณีทวี่ งิ่ หนีไม่ทนั พยายามหาพืน้ ทีท่ สี่ ามารถ หลบซ่อนตัวได้ ปิดเสียงมือถือแล้วอยู่นิ่งๆ จนกว่าสถานการณ์จะสงบ อย่าสู้ ทางที่ดีที่สุดคือออกมาจากจุดเกิดเหตุ โทรแจ้งเหตุฉุกเฉิน หาจังหวะโทรแจ้งเหตุฉกุ เฉินเพือ่ ให้เจ้าหน้าที่ เข้ามาช่วยเหลือ
ตรวจสอบสภาพดินและร่องน�้ำ บริเวณทีอ่ ยูอ่ าศัยว่าเคยเกิดเหตุดนิ โคลนถล่ม หรือไม่ ติดตามประกาศเตือนภัย เพื่อเตรียมอพยพ ศึกษาเส้นทางหนีภัย ทั้งทางหลักและทางรอง เตรียมอุปกรณ์ยังชีพ เพื่ออพยพได้ทันท่วงที ปิดแก๊ส และตัดกระแสไฟฟ้าภายในบ้าน ช่วยลดความเสียหายของชีวิตและทรัพย์สิน
สถานการณ์ภัยแล้ง
How To Survive a Drought กักเก็บน�้ำสะอาด เตรียมกักเก็บน�้ำสะอาดส�ำหรับบริโภค ให้เพียงพอ ขุดลอกคู คลอง แหล่งเก็บน�้ำ เพื่อเพิ่มปริมาณการกักเก็บน�้ำ วางแผนใช้น�้ำอย่างประหยัด เพื่อจะได้มีน�้ำเหลือพอส�ำหรับเกิดภัยแล้ง ก�ำจัดวัสดุเชื้อเพลิงรอบที่พัก เพื่อป้องกันการเกิดไฟไหม้ เตรียมหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน เพื่อขอน�้ำบริโภค และดับไฟป่า
สถานการณ์พายุ How to Survive a Strom
รีบไปยังที่ที่ทางการจัดเตรียมไว้ เมื่อมีประกาศให้อพยพ ปิดเทปแนวประตูหน้าต่าง ปิดประตูหน้าต่างให้แน่นหนาก่อนอพยพ อยู่ในที่ก�ำบังที่ม่น ั คง เมื่อมีลมแรงให้หาที่ก�ำบังที่มั่นคงแข็งแรง ค�ำนึงถึงปรากฏการณ์ศนู ย์กลางพายุ อย่ า รี บ ออกจากที่ ก�ำบั ง จนกว่ า จะได้ รั บ การประกาศยืนยันว่าปลอดภัย
ผลิใบ
15
Green Energy
รถยนต์ชูการ์บีท... ย่ อ ยสลายทางชี ว ภาพได้
16
ผลิใบ
ถ้าพูดถึงรถยนต์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม น้อง ๆ คิดถึงรถอะไรคะ...หลาย ๆ คน น่าจะตอบว่ารถยนต์ไฟฟ้า รถยนต์ไฮบริด ทีส่ ามารถประหยัดพลังงานการใช้เชือ้ เพลิง น�้ำมันได้ แต่...รถยนต์ที่ผลิใบน�ำมาให้น้อง ๆ รู้จักในฉบับนี้เป็นรถยนต์ที่ผลิตจากวัสดุที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยนักศึกษาจาก Eindhoven University of Technology ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยแนวคิดที่ว่าสามารถประหยัดพลังงานและไม่เป็นพิษภัย ต่อสภาวะแวดล้อมโลก ซึ่งรถยนต์ที่ประหยัดพลังงานทั่วไปนั้นจะผลิตจากวัสดุที่ม ี น�้ำหนักเบา เช่น คาร์บอนไฟเบอร์ และอลูมิเนียม แต่โดยกระบวนการผลิตแล้ว ก็ยังสิ้นเปลืองพลังงานอยู่มาก นักศึกษากลุ่มนี้จึงคิดค้นรถยนต์ Lina ที่ผลิตจากเส้นใยธรรมชาติ คือลินินจาก หัวชูการ์บีท โดยน�ำเส้นไยลินินที่ได้มาผลิตเป็นเรซิน ซึ่งมีคุณสมบัติที่คล้ายกับ ไฟเบอร์กลาส คือมีความแข็งแรงทนทานและมีน�้ำหนักเบา เมื่อน�ำมาประกอบเป็น รถยนต์แล้วมีนำ�้ หนักเพียง 310 กิโลกรัมเท่านัน้ ส่วนการขับเคลือ่ นใช้พลังงานไฟฟ้า ที่ควบคุมด้วยชุดแบตเตอรี่ลิเธียม สามารถวิ่งได้ด้วยความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตร / ชัว่ โมง จึงได้รบั การรับรองจากส�ำนักงานอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ ว่าเป็นรถยนต์ที่มีความปลอดภัยต่อการขับขี่ ทั้งนี้ผู้ผลิตรายอื่นก็ไม่ได้นิ่งนอนใจที่จะหันมาใช้วัสดุจากธรรมชาติในการผลิต รถยนต์แทนเหล็กกล้า เช่น ญี่ปุ่นมีการทดลองผลิตรถยนต์จากเยื่อไม้ บริษัทฟอร์ด ใช้ไม้ไผ่เป็นส่วนประกอบของรถยนต์ด้วยเช่นกัน
Grew the Earth
ไคร้ย้อย ต้นไม้ดอกสวย ป้องกันดินทลาย
ไคร้ยอ้ ย เป็นพรรณไม้หอม มีชื่อเรียก
แตกต่ า งกั น ออกไปในแต่ ล ะพื้ น ที่ เช่ น กาบพร้าว คล้ายสองหู ปูมปา สารภีน�้ำ จิกดอกปีใหม่ แต้วน�้ำ ผีหน่าย มุ่นน�้ำ อะโน กระดิ่งนางฟ้า จั ด เป็ น ไม้ ต ้ น ขนาดเล็ ก ถึ ง ขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ เรือนยอดแผ่กว้างพุ่มใบทึบ แตกกิง่ ตำ �่ กิง่ อ่อนเกลีย้ ง เปลือกเรียบหรือ หยาบเล็กน้อย สีน�้ำตาลปนเทา ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ ใบรูปรีปลายใบเว้าตื้น โคนใบสอบ ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบ ด้านล่างมีขนประปราย ดอกสวยงาม มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อ คล้ายกระดิ่งห้อยลง ออกตามซอกใบใกล้ ปลายกิง่ ช่อดอกยาวจากรูปร่างของล�ำต้น ที่เป็นทรงพุ่มสวย ดอกสวย นิยมปลูกประดับสวนริมน�้ำ เพราะทนต่อ น�้ำท่วมขัง ให้ร่มเงา แถมมีประโยชน์ ในการป้องกันดินพังทลายตามชายน�้ำ ส่วนผลเป็นอาหารนก ที่ ม าและภาพประกอบ : www.khaosod.co.th http://oknation.nationtv.tv
ผลิใบ
17
Think Out of the Box
Noah : Emergency Capsule for Tsunami เมื่อภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จึงต้องหาทางรับมือกับมันเพือ่ ทีจ่ ะเอาชีวติ รอดผ่านพ้นช่วงระยะเวลา นั้นไปให้ได้ ซึ่งได้มีการคิดค้นวิธีการใหม่ ๆ โดยใช้ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาประดิษฐ์เป็นวัสดุอปุ กรณ์ เพื่อช่วยชีวิตมนุษย์ในสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านั้นได้ ดังในประเทศ ญี่ปุ่นที่มีเหตุการณ์สึนามิเกิดขึ้นบ่อยครั้งจนท�ำให้เกิดการสูญเสีย ทั้งชีวิตและทรัพย์สิน บริษัทคอสโม พาวเดอร์ โดยนายโชจิ ทานากะ จึงได้พัฒนา นวัตกรรมหลบภัยพิบัติฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุสึนามิ ชื่อว่า “Noah Capsule” มีลักษณะคล้ายลูกเทนนิสขนาดยักษ์สีเหลือง (เพื่อง่าย ต่อการมองเห็น) ทรงกลมเพือ่ ให้สามารถลอยตัวอยูใ่ นนำ�้ ได้ มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.2 เมตร มีหน้าต่างเล็ก ๆ สามารถมองออกไป ด้านนอกได้ และมีช่องส�ำหรับหายใจ ท�ำขึ้นจากไฟเบอร์กลาส เสริ ม แรงชนิ ด พิ เ ศษ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง สู ง สามารถกั น น�้ ำ และ กันกระแทก แคปซูลดังกล่าวผ่านการทดสอบด้านความปลอดภัยและ การรับน�้ำหนักซึ่งสามารถบรรจุคนได้ทั้งหมด 4 คน ช่วยให้มนุษย์ ที่หลบอยู่ข้างในรอดตายได้ถ้าต้องเผชิญกับมหันตภัยร้ายแรง อาทิ แผ่นดินไหว และคลื่นยักษ์สึนามิ
18
ผลิใบ
Let’ go Green
ความเสี่ยงภัยพิ บัติ ปี 2018 จากการคาดการณ์ของผู้เชียวชาญทั่วโลก ข้อมูลจาก Global Risk Report 2018
มีแนวโน้มจะเกิดมากที่สุด ภัยพิ บัติจากการเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน
ของสภาพอากาศ
ส่งผลกระทบมากที่สุด
ภัยธรรมชาติ การโจมตีทางไซเบอร์
อาวุธที่มีอานุภาพท�ำลายล้างสูง
การปลอมแปลงหรือขโมยข้อมูล ความล้มเหลวในการปรับตัว
ภัยพิ บัติจากการเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหัน
ให้เข้ากับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง
ของสภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ ความล้มเหลวในการปรับตัว
ให้เข้ากับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ปัญหาการขาดแคลนน�้ำ
ผลิใบ
19
่ ำ� คุณประโยชน์ตอ ดาว รับรางวัลองค์กรทีท ่ เด็กและเยาวชน
เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 กลุ่ ม บริ ษั ท ดาว ประเทศไทย
ได้รับ โล่เกียรติคณ ุ องค์กรทีท่ ำ� คุณประโยชน์ตอ่ เด็กและเยาวชน เนื่องในวันเยาวชนแห่งชาติ ประจ�ำปี 2561 ในสาขา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี ซึง่ จัดโดยกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งเป็นองค์กรเดียว ทีไ่ ด้รบั พระราชทานโล่รางวัลในสาขานี้ ดาว ให้ความส�ำคัญกับการสร้างบุคลากรแห่งอนาคต และร่วมกับพันธมิตรในภาคส่วนต่าง ๆ เพือ่ ส่งเสริมสังคม ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และเป็นชุมชนทีป่ ระสบความ ส�ำเร็จอย่างยัง่ ยืน ผ่านการด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ มากกว่า 20 โครงการ ในฐานะบริษทั วิทยาศาสตร์ชั้นน�ำของโลก โครงการส�ำคัญ ๆ ได้แก่
ห้องเรียนเคมีดาว
โดยร่วมกับสมาคมเคมี แห่งประเทศไทยฯ และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แห่งชาติ ก่อตั้งโครงการฯ ตั้งแต่ พ.ศ. 2557 เพื่อส่งเสริม การเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ทมี่ งุ่ เน้นให้มกี ารพัฒนาทางความ คิดและการทดลองเคมีในโรงเรียนให้เพิ่มมากขึ้นด้วย เทคนิคปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วน อันเป็นวิธีการเรียนรู้ การทดลองเคมีที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง ได้รับการยอมรับจากยูเนสโก และถือเป็นครั้งแรกที่ภาค เอกชนได้น�ำเอาหลักสูตรนี้มาใช้ในระบบการศึกษาของ ไทยอย่างเป็นรูปธรรม ตลอดระยะเวลา 6 ปี ของการด�ำเนิน โครงการห้องเรียนเคมีดาว กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย ได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะและ
ความรูค้ วามสามารถของบุคลากรครูกว่า 1,200 คน จากกว่า 600 โรงเรียนทัว่ ประเทศ ให้การสนับสนุนชุดปฏิบตั กิ าร การทดลองเคมีแบบย่อส่วนแก่โรงเรียนมากกว่า 7,000 ชุด ซึ่งช่วยการทดลองใช้เวลาสั้นลง ลดภาระการขจัด ของเสียจากการทดลอง อีกทั้งผู้เรียนทุกคนสามารถท�ำการทดลองได้จริงไม่ใช่เพียงแต่ฟังบรรยายสรุปจากครูผู้สอน เท่านั้น นอกจากนี้ ยังได้พัฒนาศักยภาพครูวิทยาศาสตร์เป็นครูต้นแบบปฏิบัติการเคมีแบบย่อส่วนและมีนักเรียนกว่า 60,000 คน ที่ได้รับประโยชน์จากโครงการฯ คาราวานวิทยาศาสตร์ โดยร่วมกับองค์การพิพธิ ภัณฑ์วท ิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จัดตัง้ โครงการเมือ่ พ.ศ. 2557 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ทั้งในและนอกห้องเรียน จุดประกายแรงบันดาลใจให้เยาวชน มีใจรักในการหาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ น�ำเสนอเรื่องราวของวิทยาศาสตร์ในรูปแบบที่สนุกสนาน เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย ให้กับนักเรียน เยาวชน และบุคคลทั่วไป ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสอดแทรกเรื่องราวในโลกของวิทยาศาสตร์ ทีเ่ ปิดโอกาสให้เยาวชนค้นหาค�ำตอบด้วยตนเอง โครงการยังสอดคล้องกับนโยบายการสนับสนุนการศึกษาของจังหวัด ระยองด้านการสร้างเสริมแรงบันดาลใจให้เยาวชนเลือกศึกษาต่อด้านสะเต็มศึกษา เพือ่ กลับมาเป็นก�ำลังส�ำคัญในการ พัฒนาจังหวัดระยองให้เติบโตอย่างยั่งยืนยิ่งขึ้น โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีนักเรียนและประชาชนในจังหวัดระยอง และจังหวัดใกล้เคียงเข้าร่วมกิจกรรมแล้วกว่า 30,000 คน โครงการพั ฒนาช่างเทคนิควิศวกรรมเคมี วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุ ด โดยร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ฯลฯ ในการ พัฒนาศักยภาพช่างเทคนิควิศวกรรมเคมีให้สามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานในยุค 4.0 นักศึกษาในโครงการฯ มีโอกาสได้ เรียนรู้และพัฒนาทักษะผ่านการฝึกปฏิบัติงานจริงภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของวิทยากรผู้เชี่ยวชาญของโรงงาน ซึ่งท�ำให้นักศึกษาได้รู้จักการน�ำทฤษฎีมาปรับใช้กับการท�ำงานจริง อันจะเป็นการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมให้ นักศึกษาในการก้าวสูก่ ารเป็นบุคคลากรของสถานประกอบการต่อไป สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลด้านการพัฒนา ทรัพยากรของมนุษย์และการสร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันเพื่อการพัฒนาประเทศ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2551 ดาว ประเทศไทย ได้ให้การสนับสนุนโครงการดังกล่าวเป็นมูลค่ากว่า 10 ล้านบาท มีนักศึกษาในโครงการฯ จ�ำนวน กว่า 50 คน ได้ร่วมฝึกงานที่โรงงานของกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย และมีผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาจากโครงการฯ ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานประจ�ำโรงงานของบริษัทฯ ในจังหวัดระยองแล้วทั้งสิ้นจ�ำนวน 17 คน โครงการระดับชาติเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นและตั้งใจของกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ในการเป็น องค์กรพลเมืองที่ดีของสังคม ให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมสังคมและเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนรอบพื้นที่ปฏิบัติงาน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีนี้ นับเป็นอีกหนึ่งความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ที่ได้ท�ำกิจกรรมเพื่อตอบแทนคืนกลับสู่สังคม ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อให้ภาคธุรกิจสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมได้อย่างเกื้อกูล และพัฒนายกระดับความเจริญ ก้าวหน้าไปพร้อม ๆ กัน เพื่อความสุขและการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
The Question Mark
มลภาวะทางแสง (Light Pollution) คืออะไร ?
การใช้งานแสงสว่าง ที่มากเกินความจ�ำเป็น
การติดตั้งอุปกรณ์ให้ความสว่าง ที่ไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
มลภาวะทางแสงที่ส่งผลกระทบ ต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวกับ ดาราศาสตร์ ผลกระทบต่อ กิจกรรมทางดาราศาสตร์ โดยตรง แสงที่เรืองไปยัง ท้องฟ้าจากหลอดไฟฟ้า ท�ำให้บดบังทัศนียภาพ ในการสังเกตการณ์ ทางดาราศาสตร์และลด ประสิทธิภาพในการสังเกต ดวงดาวด้วยตาเปล่า หรือ โดยอุปกรณ์ทางดาราศาสตร์
แสงเรืองบนท้องฟ้า (Sky Glow)
แสงบาดตา (Glare)
การรุกล�้ำของแสง (Light trespass)
คือแสงหรือความสว่าง จากการกระท�ำของมนุษย์ ส่องแสง สว่างด้วยหลอดไฟฟ้าหรือแหล่ง ก�ำเนิดแสงขึ้นบนท้องฟ้า
คือมลภาวะทางแสงไฟ ที่ส่องสว่างจ้าเข้ามา ในดวงตาโดยตรง ส่งผลกระทบต่อ การมองเห็นของมนุษย์
คือแสงหรือความสว่างที่รุกล�้ำ เข้าไป ในบริเวณของผู้อื่น โดยไม่ได้รับอนุญาต
วิธีการช่วยลดมลภาวะทางแสง (You Can Help)
การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ทั้งภายในครัวเรือน สถานที่ท�ำงานหรือพื้นที่สาธารณะ
22
ผลิใบ
การติดตั้งโคมไฟครอบ หลอดไฟฟ้า เพื่อลดการ กระเจิงของแสงโดยรอบ ยังช่วยเพิ่มความสว่างให้กับ พื้นที่ที่ติดตั้งอีกด้วย
ขาดการควบคุม และจัดการระบบแสงสว่าง ที่ไม่ดีพอ
มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับ ระบบนิเวศ การใช้งานปริมาณ หลอดไฟที่มากขึ้นจากการ ขยายตัวของเมืองและพื้นที่ อุตสาหกรรม ก่อให้เกิด มลภาวะทางแสงที่กระทบ ความเป็นอยู่ของมนุษย์และ ระบบนิเวศทั้งพืชและสัตว์ เช่น วงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิตในเวลา กลางคืน การผสมพันธุ์ การอพยพ และการหาอาหาร มลภาวะทางแสงที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพมนุษย์ แสงที่ส่อง ในเวลากลางคืนส่งผลกระทบ ต่อมนุษย์หลายประการ เช่น มลภาวะทางแสง ท�ำให้ต่อมไพเนียลในร่างกาย มนุษย์หลั่งสารเมลาโทนิน ในเวลากลางคืนลดลง ซึ่งส่งผลต่อการนอนหลับ และก่อให้เกิดโรคมะเร็งเต้านม
การเลือกใช้หลอดไฟฟ้าให้เหมาะสม ไม่สว่างเกินความจ�ำเป็น หรือแสงสีฟ้าอาจก่อให้เกิดอันตราย แต่ดวงตามากกว่าปกติ
ข้อมูล : www.scienceillustratedthailand.com ภาพประกอบ : www.pixabay.com
Green Innovation
‘SoFi’ หุน่ ยนต์ปลาพิ ทักษ์ทอ้ งทะเล ปัญหาขยะทะเลก�ำลังเป็นอาชญากรรมทางสิ่งแวดล้อมต่อระบบนิเวศและห่วงโซ่อาหารในทั่วโลก ปัญหานี้ยังเป็นปัญหาระดับโลก ที่ยังไม่สามารถแก้ได้อย่างเด็ดขาด น้องๆ คงอยากทราบใช่ไหมคะว่าใครคือผู้ทิ้งขยะจ�ำนวนมหาศาลนี้ลงสู่ท้องทะเล ทาง Greenpeace ได้มีการจัดอันดับ 10 ประเทศที่สร้างขยะทะเลมากที่สุดออกมาเป็น Infographic เพื่อให้เข้าใจได้ง่าย ซึ่งเป็นที่ น่าตกใจว่าหนึ่งใน 10 ประเทศนั้นมีประเทศไทยของเรารวมอยู่ด้วย
ป
ป
ป
ป
ป
ป
ป
ป
1.83 ป
0.94 ป
ศู น ย์ วิ ท ยาการคอมพิ ว เตอร์ แ ละปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ แ ห่ ง สถาบั น เทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT CSAIL) ในสหรัฐฯ จึงได้คิดค้นหุ่นยนต์นิ่ม ทีม่ รี ปู ร่างคล้ายปลาไปปล่อยให้แหวกว่ายในทะเลเคียงข้างกับเหล่าสัตว์นำ�้ โดยหวังว่าจะสามารถน�ำหุ่นยนต์ชนิดนี้ไปใช้แก้ปัญหามลพิษที่ก�ำลังเป็น ภัยคุกคามมหาสมุทรทั่วโลกได้ หุ่นยนต์ปลามีชื่อว่า “โซฟี” (SoFi) มีประสิทธิภาพในการด�ำน�้ำได้ 50 ฟุต ภายในมีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกห่อหุ้มไว้ด้วยยางซิลิโคน หุ่นยนต์ตัวนี้ใช้มอเตอร์ปั๊มน�้ำเข้าหางเป็นแรงขับเคลื่อนไปข้างหน้า นอกจากนี้มันยังใช้ส่วนครีบในการบังคับทิศทาง และสามารถเคลื่อนไหว ได้อัตโนมัติ หรือบังคับได้ด้วยแผงควบคุมซูเปอร์นินเทนโดแบบกันน�้ำ หลังจากได้ทดลองใช้งานโซฟีเป็นเวลาหลายชั่วโมงก็พบว่ามันไม่ได้ เข้าไปรบกวนสัตว์น�้ำ และไม่ท�ำให้ปลาตื่นกลัวแล้วว่ายน�้ำหนีไป ทีมนักวิทยาศาตร์ตั้งเป้าที่จะปล่อยฝูงปลาโซฟีออกสู่มหาสมุทร เพือ่ ใช้ในการน�ำทางปลาอืน่ รวมทัง้ ใช้ตรวจจับผูบ้ กุ รุกเข้าไปในทะเลแถบ ที่ต้องการอนุรักษ์ หรือใช้ในการเก็บตัวอย่างน�้ำ และศึกษาธรรมชาติของ มหาสมุทรที่ก�ำลังเผชิญปัญหามลพิษอย่างหนัก ซึ่งโซฟีอาจช่วยท�ำแผนที่ มลพิษ อีกทั้งยังอาจช่วยท�ำความสะอาดท้องทะเลได้ด้วย
ข้อมูล : www.wired.com www.voathai.com www.bbc.com www.dogonews.com ภาพประกอบ : www.greenpeace.org www.youtube.com www.globalmediait-gt.com
ผลิใบ
23
On the Move
ตะลุย...
มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2561
มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2561 เกิดขึน้ จากความร่วมมือจากภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา สมาคมของไทยและต่างประเทศ รวมกว่า 100 หน่วยงาน ณ อาคาร 2-8 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี บนพื้นที่กว่า 40,000 ตารางเมตร นิทรรศการประกอบด้วย
1. พระอัจฉริยภาพ “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย”และพระอัจฉริยภาพพระบิดา แห่งเทคโนโลยีของไทย และพระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย
นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และ พระบรมวงศานุวงศ์
2. นิทรรศการกลาง
24
ผลิใบ
น�ำเสนอประเด็ น ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นความสนใจของประชาชน มีความส�ำคัญ มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่และการพัฒนาประเทศในอนาคต อาทิ - นิทรรศการด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ Disruptive Technology - นิทรรศการด้านการวิเคราะห์ข้อมูล Data Literacy - นิทรรศการด้านสิ่งแวดล้อม Waste Global Challenge - นิทรรศการด้านอาหารและสุขภาพ Food and Health - นิทรรศการมหัศจรรย์แห่งวิทยาศาสตร์ Miracle of Science - นิทรรศการพื้นที่นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ สู่ผลงานสิ่งประดิษฐ์ Engineering Space
3. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่ อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ในแนวทางสะเต็มศึกษา
กิจกรรมห้องทดลองวิทยาศาสตร์ส�ำหรับ ครอบครัวและเยาวชน กิจกรรมลานประกวดแข่งขัน เครื่องบิน กระดาษพับ กิจกรรมลานปลูกฝังปัญญาเยาว์ ส�ำหรับ พั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการคิ ด ของเด็ ก ก่อนวัยเรียน ในโครงการบ้ า นนั ก วิ ท ยาศาสตร์ น ้ อ ย ประเทศไทย ห้องฉายภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ การแสดงทางวิทยาศาสตร์ การประกวดแข่งขันตอบปัญหา มอบรางวัล 5. การประชุม
4. นิทรรศการศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย
ผลงานวิ จั ย ของหน่ ว ยงานวิ จั ย ของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ กระทรวงกลาโหม ฯลฯ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยคลินกิ เทคโนโลยีของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และมหาวิทยาลัยเครือข่าย ผลงานชนะเลิศเครือ่ งจักร เครือ่ งยนต์ และ นวัตกรรมการประกวดเทคโนโลยีของไทย ผลงานดีเด่นด้านวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน นักศึกษา นักวิจยั การเชิดชูเกียรติผบู้ ำ� เพ็ญ ประโยชน์ในสาขาวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับ รางวัลพระราชทานประจ�ำปี รวมทั้งผู้เป็น บุคคลตัวอย่างด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี
แสดงผลงานความก้าวหน้าด้านการวิจัย การประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น นวั ต กรรมทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งการ ประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในกิจการด้านต่าง ๆ ของประเทศ จัดแสดง โดยหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ในประเทศไทย จากสถาบันวิจยั สมาคม สถาบันการศึกษา และกระทรวง ทบวง กรม
สัมมนา และการถ่ายทอด
ประกอบด้วยการประชุมระดับชาติและ ระดับนานาชาติ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ รวมทั้งสร้างเครือข่าย ความร่ ว มมื อ เพื่ อ การพั ฒ นางานด้ า น วิทยาศาสตร์และนโยบายด้านวิทยาศาสตร์ ของประเทศและภูมิภาค
ผลิใบ
25
Science Tricks
เอ็นไซม์กินพลาสติก ทางรอดปัญหาขยะ
"พลาสติ ก " เป็ น ขยะที่ ส ร้ า งปั ญ หาให้ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นอย่างมาก เนือ่ งจากใช้ระยะเวลาในการย่อยสลายยาวนานถึง 400 ปี ท�ำให้จ�ำนวนขยะพลาสติกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่า เราจะหาวิธีในการน�ำกลับมาใช้ใหม่ แต่สุดท้ายแล้วพวกมันก็มี อายุกุ ารใช้งาน และในทีส่ ดุ ก็ตอ้ งกลายเป็นขยะอยูด่ ี ...การคิดค้น วิทยาการใหม่ ๆ เพื่อจัดการกับพลาสติกจึงมีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดทีมนักวิทยาศาสตร์จาก University of Portsmount สหราชอาณาจักร น�ำทีมโดย ศาสตราจารย์จอห์น แมคกีฮาน และ นั ก วิ ท ยาศาสตร์ จ ากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารพลั ง งานหมุ น เวี ย นแห่ ง กระทรวงพลังงานสหรัฐอเมริกาประสบความส�ำเร็จในการศึกษา วิจัยจนค้นพบ เอนไซม์กินพลาสติก ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเอนไซม์นี้ เป็นสารอินทรีย์ประเภทโปรตีนที่มีอยู่ในพืชและสัตว์ ช่วยเร่ง ปฏิ กิ ริย าเคมี ใ นการย่อยอาหารและการเผาผลาญ จากเดิม ต้องรอถึง 400 ปี กว่าพลาสติกจะสามารถย่อยสลายตัวเองไป จากโลกนี้ เหลือเพียง 2-3 วันเท่านั้น ่ี ม วิธท ี ท ี นักวิจย ั ใช้ คือดึงเอนไซม์ตว ั นัน ้ ออกมา จากแบคทีเรียและเพาะเลี้ยงมันในห้องแล็บ จากนั้น ใช้ โ ครงสร้ า งของเอนไซม์ PETase มาออกแบบ โปรตีนกลายพั นธุ์และยกระดับความสามารถให้มัน ย่อยสลายพลาสติกได้เร็วแบบท�ำลายล้าง และผลก็ ออกมาเป็นที่น่าพอใจ คือ เอนไซม์ท่ว ี ่านี้ใช้เวลากิน พลาสติกแค่ไม่เกิน 3 วันเท่านั้น
ส�ำหรับขั้นตอนการศึกษาครั้งนี้ ระบุว่า หลังจากที่มีการใช้ รังสีเอกซ์ที่มีพลังมหาศาลถึง 10,000 ล้านเท่า กับเอนไซม์ไอดี โอเนลลา ซากาอิเอนซิส ซึ่งเป็นแบคทีเรียจากธรรมชาติที่ค้นพบ ในประเทศญี่ปุ่นเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา จากนั้นทีมวิจัยได้สร้างแบบ จ�ำลอง 3 มิตคิ วามละเอียดสูงของ นักวิทยาศาสตร์พบว่าเอนไซม์ เกิดการกลายพันธุ์ และสามารถกัดกินรวมถึงย่อยพลาสติกชนิด Polyethylene Terephthalate หรือ “เพ็ท” (PET) ซึ่งเป็น 26
ผลิใบ
สารส�ำคัญที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการท�ำขวดพลาสติกทั่วไป นอกจากนั้น ศาสตราจารย์แมคกีฮาน ยังชี้ให้เห็นความ พิเศษของเอนไซม์ตัวนี้ว่า เอนไซม์กินพลาสติกตัวนี้สามารถ เปลี่ ย นพลาสติ ก ให้ ก ลั บ มาเป็ น ส่ ว นประกอบแรกเริ่ ม ได้ นัน่ หมายความว่า เราไม่จำ� เป็นต้องขุดน�ำ้ มันมาเพือ่ ผลิตพลาสติก ใหม่กันอีกต่อไป ดังนั้นการค้นพบนี้จึงมีส่วนช่วยลดปริมาณการ ผลิตพลาสติกใหม่ในโลก ซึ่งแน่นอนว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยรวมด้ ว ย อย่ า งไรก็ ต าม การทดลองทาง วิทยาศาสตร์ครั้งนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นในการค้นหาวิธีการย่อย สลายขยะพลาสติก โดยศาสตราจารย์จอห์น แมคกีฮาน คาดหวัง ว่าจะพัฒนาและต่อยอดเอนไซม์ PETase ที่ปรับแต่งนี้ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม ช่วยเปลี่ยนพลาสติกให้กลับไปสู่ ส่วนประกอบดั้งเดิมของมัน และน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมการ รีไซเคิล เพื่อช่วยลดปัญหาขยะพลาสติกล้นโลกในอนาคต ข้อมูลและภาพประกอบ : www.salika.co
English for Fun
ค�ำศัพท์...ภัยพิบัติ...น่ารู้ ค�ำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัตินั้น ในทางวิชาการจะเห็นอยู่บ่อยๆ 3 ค�ำ คือ Hazard, Exposure และ Vulnerability • ค�ำว่า Hazard นั้นมีความหมายถึง ตัวของภัย ไม่ว่าจะเป็นภัยที่เกิดจากธรรมชาติหรือจากการการท�ำของมนุษย์ • Exposure หมายถึงโอกาสในการเสี่ยงภัย ไม่ว่าจะเป็นโอกาสเสี่ยงภัยของสถานที่หรือตัวบุคคล • ส่วนค�ำว่า Vulnerability จะหมายถึงความอ่อนแอและเปราะบางของสังคมหรือชุมชนที่ก�ำลังประสบภัยพิบัติ ทีนี้เรามาดูค�ำศัพท์เกี่ยวกับประเภทของภัยพิบัติกันค่ะ Natural Disaster
Flood
ภัยธรรมชาติ
น�้ำท่วม
Earthquake
Landslides
แผ่นดินไหว
แผ่นดินถล่ม
Volcano Eruption
Storms
ภูเขาไฟระเบิด
พายุ
Taunami
Wild Fire / Forest Fire
สึนามิ
ไฟป่า Refugee / Evacuee
Drought ภัยแล้ง Hailstorm พายุลูกเห็บ
ผู้ลี้ภัย Victim เหยื่อ / ผู้เคราะห์ร้าย Death Toll
Epidemic โรคระบาด Global Warming ภาวะโลกร้อน
ยอดผู้เสียชีวิต Survivor ผู้รอดชีวิต ผลิใบ
27
ทุนสนับสนุนงานวิจัยท้องถิ่นของเยาวชน
“ผลของสภาวะโลกร้อน ต่อระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ” ภายใต้การสนับสนุนของ
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยได้จัดตั้งกองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อนขึ้นในปี 2554 ภายใต้ การบริหารจัดการของคณะกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน ซึ่งประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวุฒทิ มี่ ปี ระสบการณ์ในสายงานด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศด้านศึกษาวิจยั ด้านสุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหามาตรการในการแก้ไขปัญหาสุขภาพและจาก ภาวะโลกร้อน โดยมี ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ เป็นประธานกรรมการบริหารกองทุน โดยมีวัตถุประสงค์ เพือ่ สนับสนุนในการศึกษาวิจยั เกีย่ วกับภาวะโลกร้อนทีส่ ง่ ผลต่อสุขภาพทัง้ ทางตรงและทางอ้อม รวมทัง้ แนวทางแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนการสร้างองค์ความรู้เพื่อขยายผลสู่ภาคประชาชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้มีความตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหา และสร้างแนวทางปฏิบัติที่ดี ในการด�ำเนินชีวิตที่เหมาะสมภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ซึ่งคาดว่าจะเป็นทางเลือกหนึ่งในการผลักดัน ให้เกิดความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยที่สามารถรับมือและแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรม ชัดเจน โดยตลอดระยะเวลาตั้งแต่ปี 2555 – 2561 กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน โดยองค์กรธุรกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ TBCSD และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI ได้มีการจัดกิจกรรม เตรียมความพร้อมเยาวชน เพือ่ ท�ำงานวิจยั ท้องถิน่ ภายใต้หวั ข้อ “ผลของสภาวะโลกร้อนต่อระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ” โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนให้เยาวชนมีความพร้อมในการด�ำเนินงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อันเป็นปัญหา ที่เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นของตน ตลอดจนพัฒนาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันและขยายผล ไปสู่บุคคลอื่น ๆ ในโรงเรียนและชุมชนที่อยู่รอบข้าง เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงความส�ำคัญใน การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับปัญหาดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วประเทศซึ่งมีเยาวชน และคณะครูเข้าร่วมกิจกรรมฯ จ�ำนวน 528 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 3,663 คน และยังคงเดินหน้า จัดกิจกรรมฯ เพือ่ เยาวชนไทยต่อไป อันเป็นการผลักดันให้เกิดความก้าวหน้าของการศึกษาวิจยั ทีส่ ามารถ รับมือและแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนในอนาคต ภาพประกอบ : www.pixabay.com
Cover Story
30
ผลิใบ
ิ ต า ช ม ร ร ธ ง า ท ิ ต ั บ ิ พ ู ้ ร ร ภัย ว ค ่ ี ท ว ั ต ้ ล ก ใ เรื่อง แผ่นดินไหว
เป็ น ปรากฏการณ์ ธ รรมชาติ ที่แผ่นดินมีการสั่นสะเทือน ซึ่งเกิด จากอิทธิพลของแรงบางอย่างที่อยู่ ใต้พื้นโลก เมื่อเกิดแผ่นดินไหวคลื่น ของแผ่ น ดิ น ไหวจะกระจายไปสู ่ บริเวณส่วนต่าง ๆ ของโลก และ ถ้าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว เป็นไปอย่างรุนแรง อุปกรณ์ตรวจ จั บ คลื่ น ที่ อ ยู ่ ห ่ า งออกไปไกลนั บ หมื่ น กิ โ ลเมตรก็ ส ามารถรั บ คลื่ น แผ่นดินไหวได้ แผ่นดินไหวส่วนใหญ่เกิดจาก การคลายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว ของ ความเครี ย ดภายในเปลื อ กโลก ในรู ป แบบของการเลื่ อ นตั ว ของ แผ่นดิน
ภูเขาไฟปะทุ
เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก า ร ป ะ ทุ ข อ ง หินหนืด แก๊ส และเถ้าธุลี ภูเขาไฟ จากใต้เปลือกโลกแล้วปรากฏตัวเป็น สภาพภูมิประเทศ ภูเขาไฟมีทั้งที่ดับ แล้วและที่ยังมีพลังอยู่ ภูเขาไฟที่ดับ แล้วเป็นภูเขาไฟที่เกิดขึ้นนานมาก อาจเป็นหลายแสนล้านปี หินหนืด ที่ ไ หลออกมาแข็ ง ตั ว กลายเป็ น หิ น ภูเขาไฟบนพื้นโลก ส่วนภูเขาไฟที่ยัง มีพลังเป็นภูเขาไฟที่มีการปะทุ หรือ ดับชั่วคราว ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่มอด แล้วนานนับพันปี อาจจะปะทุใหม่ ได้ อี ก ปั จ จุ บั น นี้ ทั่ ว โลกมี ภู เขาไฟ ที่มีพลังอยู่ประมาณ 1,300 ลูก และ มี ภู เขาไฟที่ ดั บ แล้ ว จ� ำ นวนมากที่ กลายเป็นภูเขาที่ส�ำคัญ
สึนามิ
เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่มีก�ำเนิด จากในมหาสมุทรและเคลื่อนที่เข้า สู ่ ช ายฝั ่ ง เกิ ด จากการแทนที่ น�้ ำ อย่างรุนแรง ท�ำให้มวลของน�้ำเกิด การเคลื่ อ นที่ ด ้ ว ยความเร็ ว สู ง มี ความยาวคลื่ น ค่ อ นข้ า งมาก และ ช่ ว งห่ า งระยะเวลาของแต่ ล ะลู ก คลื่นยาวนาน เกิดจากการเคลื่อน ตัวของพื้ น ทะเลในแนวดิ่ ง จมตั ว ลงในแนวรอยเลื่ อ น หรื อ การที่ มวลของน�้ำ ถูกกระตุ้นหรือรบกวน โดยการแทนที่ทางแนวดิ่งของมวล วั ต ถุ สึ น ามิ สั ม พั น ธ์ กั น กั บ การ เกิ ด แผ่ น ดิ น ไหว (Earthquakes) แ ผ ่ น ดิ น ถ ล ่ ม ( S u b m a r i n e landslides) หรือการระเบิดของ ภู เ ขาไฟใต้ ท ะเล (Submarine Volcanic Eruptions) หรื อ แม้ กระทัง่ การกระทบของอนุภาคขนาด ใหญ่ เช่น อุกกาบาต ซึ่งเหตุการณ์ ทั้งหมดนี้ สามารถก่อให้เกิดคลื่นสึ นามิได้ บริ เ วณที่ มั ก เกิ ด คลื่ น สึ น ามิ คือ ในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะ ประเทศญี่ ปุ ่ น มั ก ได้ รั บ ภั ย จาก สึนามิบ่อยครั้ง ผลิใบ
31
อุทกภัย
เป็ น ภั ย ที่ เ กิ ด จากน�้ ำ ท่ ว ม ซึ่ ง เป็ น น�้ ำ ที่ ท ่ ว มพื้ น ที่ บ ริ เ วณ ใดบริ เ วณหนึ่ ง เป็ น ครั้ ง คราว เนื่ องจากมี ฝ นตกหนัก หรือหิมะ ละลาย ท� ำ ให้ น�้ ำ ในล� ำ น�้ ำ หรื อ ทะเลสาบไหลล้ น ตลิ่ ง หรื อ ป่ า ลงมาจากที่ สู ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน
ไฟป่า
ไฟที่เกิดขึ้นแล้วลุกลามไปได้ โดยปราศจากการควบคุม ไฟป่า อาจเกิดขึ้นจากสาเหตุธรรมชาติ หรือเกิดจากการกระท�ำของมนุษย์ แล้วส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และการด� ำ รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ไฟป่ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น บริ เวณภู ข าจะมี ความรุ น แรงและขยายพื้ น ที่ ได้เร็วกว่าพื้นราบ 32
ผลิใบ
แผ่นดินถล่ม น�้ำป่า
น�้ ำ ป่ า เกิ ด จากการอิ่ ม ตั ว ของผื น ดิ น จากฝนที่ ต กมากเกิ น ขีดความสามารถในการดูดซับน�้ำ ท�ำให้ปริมาณของน�้ำฝนที่ตกลง มาทั้ ง หมดไหลไปตามผิ ว พื้ น ดิ น จากที่เคยถูกซึมซับไว้ได้ น�้ำจะ รวมตัวไหลสู่ที่ต�่ำอย่างรวดเร็ว ใน ระหว่างทางก็จะมีน�้ำป่าส่วนอื่น เพิม่ ปริมาณสมทบทะลักลงไปตาม ร่องน�้ำอย่างรวดเร็ว ยิ่งชันและมี พื้นที่รับน�้ำมาก ก็ยิ่งมีความเร็ว และพลั ง ที่ รุ น แรงมากขึ้ น ผลที่ ตามมาคื อ การเพิ่ ม ระดั บ น�้ ำ ตามทางน�้ำอย่างรวดเร็วนับเป็น วินาทีจนอพยพหนีไม่ทัน น�้ำป่า อาจเกิดได้จากเหตุอื่น เช่นการ อุ ด ขวางทางน�้ ำ โดยก้ อ นน�้ ำ แข็ ง ในประเทศเขตหนาว หรื อ อาจ เกิ ด จากการแตกร้ า วพั ง ทลาย ของเขื่อนกั้นน�้ำดังกล่าวมาแล้ว ซึ่ ง เป็ น ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น บ่อยครั้งในประเทศต่าง ๆ
คือ การเคลือ่ นทีข่ องแผ่นดิน และกระบวนการซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่ของดินหรือหิน ตาม บริ เวณพื้ น ที่ ล าดชั น ที่ เ ป็ น ภู เขา หรือเนินเขา
วาตภัย
เป็ น ภั ย ธรรมชาติ ซึ่ ง เกิ ด จากพายุ ล มแรง สามารถแบ่ ง ลั ก ษณะของวาตภั ย ได้ ต าม ความเร็ ว ลม สถานที่ ที่ เ กิ ด เช่ น พายุ ฝ นฟ้ า คะนอง พายุ ดี เ ปรสชั น พายุ โซนร้ อ น พายุ ไต้ฝุ่น เป็นต้น ท�ำให้เกิดความ เสี ย หายให้ แ ก่ ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ อาคารบ้านเรือน ต้นไม้ และ สิง่ ก่อสร้างต่าง ๆ มีสาเหตุมาจาก ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น พายุหมุนเขตร้อน ลมงวง หรือ พายุทอร์นาโด พายุฤดูร้อน
Green Mind
ภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทย แบ่งออกเป็น
8 ชนิด แผ่นดินไหว (Earthquakes) --------------------------พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclones) --------------------------ฝนแล้ง (Droughts) --------------------------อุทกภัย (Floods) --------------------------พายุฟา้ คะนอง หรือพายุฤดูร้อน (Thunderstorms) --------------------------แผ่นดินถล่ม (Land Slides) --------------------------ไฟป่า (Fires) --------------------------คลื่นพายุซัดฝั่ง (Storm Surges)
ประเทศไทยของเรานั้นมีสภาพภูมิอากาศไม่แตกต่างกัน มากนัก โดยรวมจะมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ซึ่งในภาคใต้จะมี ลักษณะภูมิอากาศที่แตกต่างกับภาคอื่น เพราะมีฤดูกาลเพียง แค่ 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและฤดูรอ้ น เมือ่ เกิดการเปลีย่ นแปลงของฤดู ก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศจนท�ำให้กลายเป็น ภัยธรรมชาติ ที่เป็นภัยพิบัติต่อมนุษย์ และทรัพย์สิน ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศ อื่นๆ ถือว่ามีไม่มากนักได้แก่ วาตภัย อุทกภัย อัคคีภัย และ แผ่นดินไหว โดยวาตภัยและอุทกภัยมีสาเหตุหลักจากพายุหมุน เขตร้อนและพายุฝนฟ้าคะนองรุนแรง อัคคีภัยและแผ่นดินไหว มนุษย์มีส่วนท�ำให้เกิดภูมิอากาศของประเทศไทยมีลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นตัว ก� ำ หนดหลั ก ของลั ษ ณะอากาศของประเทศไทย ลมมรสุ ม ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ จะพั ด ระหว่ า งเดื อ นตุ ล าคมถึ ง เดื อ น กุมภาพันธ์ อากาศโดยทั่วไปจะหนาวเย็นและแห้งแล้ง ซึ่งเป็น ช่วงฤดูหนาว ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะพัดระหว่างเดือน พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม น�ำอากาศร้อนและชืน้ จากมหาสมุทร เข้ามา ท�ำให้มฝี นตกทัว่ ไป โดยเฉพาะบริเวณชายฝัง่ และเทือกเขา ด้านรับลมจะมีฝนตกชุก ถือเป็นช่วงฤดูฝน ช่วงระหว่างเปลี่ยน ฤดูระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม มีลมที่พัดมาได้ จากทุกทิศ และเป็นช่วงที่พื้นดินได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ สูงสุด อากาศทัว่ ไปจะร้อนอบอ้าวและแห้งแล้ง พายุฝนฟ้าคะนอง ที่เกิดขึ้นมักปรากฎมีความรุนแรงในช่วงฤดูร้อน
ผลิใบ
33
Young Artist
ผลงานน้องๆ ที่เข้าร่วมโครงการ
ชื่อภาพ
:
แนวคิด : เจ้าของผลงาน : สถานศึกษา : ระดับการศึกษา :
34
ผลิใบ
Young Creative Environment Artist
สายธารแห่งชีวี
เพราะทุกสิ่งทุกอย่างบนโลกนี้ ล้วนมาจากสายน�้ำ ถ้าเราปกป้องรักษาแม่น�้ำ ล�ำคลอง ให้สะอาด อยู่เสมอ เราก็จะมีสิ่งแวดล้อมที่ดี เพราะฉะนั้นเราทุกคนจะต้องช่วยเปลี่ยนโลกและสิ่งแวดล้อม เพียงมองรอบ ๆ ตัวเราเริ่มตั้งแต่ในสังคม เล็ก ๆ ของเรา ก็ท�ำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ดีในสังคมที่ใหญ่ ต่อไปได้ ด.ช.วิชพญ โชคค�ำสีลา Kolorme Art School ชั้น ป.4
ชื่อภาพ
:
แนวคิด : เจ้าของผลงาน : สถานศึกษา : ระดับการศึกษา :
หมู่บ้านในฝัน
เป็นการจ�ำลองหมู่บ้านที่ท�ำตามเป้าหมายของ SDGs17 ได้สำ� เร็จหลายข้อ ไม่ว่าจะเป็นแจกจ่าย อาหารให้แก่ผู้ยากจน มีการให้สวัสดิการด้านน�้ำดื่มและห้องน�้ำสาธารณะ ในสวนสาธารณะ มีรูปปั้นที่แสดงถึงความเท่าเทียมกันของทั้ง 2 เพศ และทุกคนในรูปก็ยังเป็นเพื่อนกัน ถึงแม้ว่า แต่ละคนจะสีต่างหรือฐานะต่างกันก็ตาม มีโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ มีการบริการรถสาธารณะ ต่าง ๆ เช่น รถเมล์ รถไฟใต้ดิน และรถไฟฟ้า มีถังขยะอยู่ทั่วเมืองท�ำให้พลเมืองไม่ทิ้งขยะลงพื้น ลงแม่น�้ำ ช่วยรักษาความสะอาดของแหล่งน�้ำ ส่วนของทะเลมีเครื่องเตือนภัยคลื่น TSUNAMI ท�ำให้ประชาชนปลอดภัย และยังมีต�ำรวจรอบๆ เมืองเพื่อรักษาความปลอดภัย มีการผลัดพลังงาน ส�ำรอง มีการรีไซเคิล และมีการท�ำฟาร์มปลอดสาร มีโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ มีห้างให้คน ในหมู่บ้าน มีโรงงานผลิตเพื่อส่งออกช่วยส่งเสริมเศรษฐกิจ มีบริการโทรศัพท์สาธารณะทั่วเมือง และท้ายที่สุดมีการรักษาความสะอาดของป่าไม้อย่างเคร่งครัด นายณัฐธีร์ โชติระวีธนาศิริ Kolorme Art School ชั้น ม.5 ผลิใบ
35
Do It Yourseft
ง า น วิ จั ย ไ ท ย เ พื่ อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม 2 0 1 8 นาฬิกาเตือนภัยก๊าซพิ ษ
โดรนตรวจฝุ่นควันเมืองเหนือ โดรนหรื อ UAV เป็ น ผลงานของที ม วิ จั ย จากคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งติดตั้งกล้อง และเซนเซอร์วัดความร้อนแบบรีเลทีฟ (Relative) ซึ่งวัด อุณหภูมิโดยเปรียบสิ่งที่อยู่รอบข้าง เมื่อมีจุดที่อุณหภูมิสูงกว่า รอบข้าง จะแสดงสีทแี่ ตกต่าง ซึง่ เราก�ำหนดได้วา่ จะให้อณ ุ หภูมิ ทีร่ อ้ นกว่ารอบข้างนัน้ เป็นสีอะไร เช่น เขียว แดง เหลือง น�ำ้ เงิน ส� ำ หรั บ ชุ ด เซนเซอร์ ต รวจวั ด สภาพหมอกควั น ที่ ที ม วิ จั ย พั ฒ นาขึ้ น นั้ น มี ลั ก ษณะเป็ น กล่ อ งขนาดเล็ ก สามารถ ตรวจวัด ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิ และฝุ่นละอองขนาด ไม่เกิน 1 ไมครอน (PM1) 2.5 ไมครอน (PM2.5) และ 10 ไมครอน (PM10) โดยข้อมูลที่วัดได้จะถูกส่งเข้าระบบ คลาวด์ (Cloud) ที่สามารถดูได้แบบเรียลไทม์ทุกๆ 10 นาที ผ่านการเชือ่ มต่อไว-ไฟ ในรูปแบบแผนทีผ่ า่ นเว็บแอปพลิเคชัน ที่ http://www.cusensor.net _____________________________________________ งานวิจัย : การพัฒนาระบบเครือข่ายเซนเซอร์และระบบ ภูมสิ ารสนเทศเพือ่ ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์หมอกควัน ภาคเหนือของประเทศไทย : การศึกษาน�ำร่องในพืน้ ทีจ่ งั หวัดน่าน หั ว หน้ า โครงการ : ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.สรรเพชญ ชื้อนิธิไพศาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 36
ผลิใบ
นั ก วิ จั ย สกว. พั ฒ นาเทคโนโลยี เ ซนเซอร์ ต รวจจั บ ก๊ า ซพิ ษ ผ่านการน�ำเสนอในรูปแบบของ ‘นาฬิกาเตือนภัยก๊าซพิษ’ เพิม่ ความปลอดภัย ลดความสูญเสียต่อชีวิต เหมาะกับบุคคลทั่วไปที่ต้องดูแลสุขภาพและ หลีกเลี่ยงก๊าซพิษ รวมถึงแรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือต้องท�ำงาน ในพื้นที่เสี่ยงต่างๆ เช่น บ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย ฟาร์ม และอื่น ๆ โดยได้มกี ารน�ำเทคโนโลยีกา๊ ซเซนเซอร์มาใช้ตรวจจับก๊าซพิษ รวมทัง้ สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย อันตรายชนิดต่าง ๆ โดยเทคโนโลยี ที่น�ำมาใช้หลักๆ และเป็นที่นิยมมีอยู่ 2 ชนิด คือ แบบโลหะสารกึ่งตัวน�ำ และแบบไฟฟ้าเคมี แต่ทั้งสองแบบนี้ยังมีข้อจ�ำกัดอยู่หลายประการท�ำให้ นักวิจัยทั่วโลกยังคงค้นหาวัสดุใหม่ และวิธีการผลิตเซนเซอร์แบบต่าง ๆ เพื่อท�ำให้ก๊าซเซนเซอร์ที่ผลิตขึ้นมีเสถียรภาพการใช้งานสูงและพกพาได้ ____________________________________________________ งานวิจยั “นาโนก๊าซเซนเซอร์เพือ่ ความปลอดภัยของชีวติ และสิง่ แวดล้อม” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข ภาควิชาฟิสิกส์ คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โมเลกุล ‘ลูกผสม’ วัสดุอนาคตเป็นมิตรต่อโลก
งานวิจัยชุดนี้เป็นการสังเคราะห์เคมีโมเลกุลที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมขึ้นมาในฐานะ ‘นาโนไฮบริด’ หรือ ‘ลูกผสม’ ระหว่างโครงสร้างอินทรีย์และอนินทรีย์เคมี เอาไปดัดแปลง ได้หลากหลาย แต่มีความปลอดภัยและเป็นพิษต�่ำ องค์ ค วามรู ้ ใ หม่ เ กี่ ย วกั บ กลไกการเกิ ด โมเลกุ ล ของ สารประกอบออร์แกโนซิลิกาที่เรียกว่า ‘ซิลเซสคิวออกเซน’ ซึง่ มีโครงสร้างพืน้ ฐานภายในเป็นอนินทรียข์ องโครงร่าง Si-O และ ภายนอกเป็นอินทรีย์ หรือเรียกว่า นาโนวัสดุของสารผสมระหว่าง อินทรีย์-อนินทรีย์ ท�ำให้สามารถน�ำไปสู่การดัดแปลงและพัฒนา วิธีการเตรียมสารประกอบเคมีอื่น ๆ ในกลุ่มใกล้เคียงต่อไป นอกจากนี้ยังมีการน�ำสารประกอบเคมีที่สังเคราะห์ได้จาก กลุ่มเหล่านี้มาใช้เตรียมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดต่าง ๆ เพื่อผลิต สารเคมี ใช้เป็นสารเติมแต่งในอุตสาหกรรมไฮบริดพลาสติก หรือ ใช้เตรียมเป็นพอลิเมอร์ยางสังเคราะห์ชนิดใหม่ และงานวิจัยใน ปัจจุบนั เน้นหนักไปทางด้านพัฒนาวัสดุตรวจวัดทางเคมีเซ็นเซอร์ และวัสดุดดู ซับเพือ่ ลดความเป็นพิษของสิง่ แวดล้อม ซึง่ ล้วนส่งผล ให้เกิดการพัฒนาวิจัยต่อวงการวิทยาศาสตร์เคมีและวัสดุศาสตร์ ของโลกต่อไป _____________________________________________ งานวิจัย : โมเลกุลนาโนไฮบริดสู่นวัตกรรมวัสดุ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
‘ชีววิทยาระบบ’ รับมือโลกร้อน งานวิจยั นีเ้ ป็นการสร้างแบบจ�ำลองของการควบคุมการแสดงออก ทางพันธุกรรมในพืชที่ตอบสนองต่ออุณหภูมิโลกที่สูงขึ้น ซึ่งท�ำให้ ผลผลิตทางการเกษตรลดลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นพื้นฐานที่ส�ำคัญ ในการพัฒนาพืชเพื่อรับมือสภาวะโลกร้อนต่อไป กลุ่มวิจัยได้ค้นพบ องค์ ค วามรู ้ ใ หม่ เ กี่ ย วกั บ การแสดงออกทางพั น ธุ ก รรมของพื ช ที่ ปลูกในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน จากการใช้พืชต้นแบบ ‘อะราบิดอฟ ซิส’ (Arabidopsis) เป็นตัวอย่างในการศึกษา เป็นต้นว่าพืชที่ปลูก ในอุณหภูมิที่สูงขึ้นเจริญเติบโตได้เร็วในช่วงแรก แต่ในระยะยาว ให้ผลผลิตน้อยกว่าอุณหภูมิปกติที่เหมาะสมของพืชนั้นๆ โครงการนี้เป็นพื้นฐานส�ำคัญในการพัฒนาสายพันธุ์พืชและ วิธกี ารเพาะปลูกเพือ่ ให้พชื ทนต่อสภาวะอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลงผันผวน อย่างรวดเร็ว ลดเวลา ลดค่าใช้จา่ ยในระยะยาว ลดการทดลองซ�ำ้ ซ้อน เนื่องจากการแสดงออกของทุกยีนสามารถศึกษาได้ในการทดลอง เดียวกัน ________________________________________________ งานวิจัย : ชีววิทยาระบบเพื่อความเข้าใจและพัฒนาพืชเพื่อรับมือ สภาวะโลกร้อน โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วโรดม เจริญสวรรค์ ภาควิชาชีวเคมี คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผลิใบ
37
โครงการ “Give & Share” จัดท�ำขึน้ โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ กระจายโอกาสและความเท่าเทียมกันในเรือ่ งของข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อมไปสู่เยาวชนหรือผู้ที่อยู่ห่างไกลและขาดแคลนปัจจัยด้านทุนทรัพย์ ให้ได้รับโอกาส ในการรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์และส่งเสริมให้เกิดจิตส�ำนึกที่ดีในการอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งองค์กรหรือบุคคลใดที่มีความประสงค์จะส่งต่อความรู้เหล่านี้ไปสู่เยาวชนในถื่นทุรกันดาร สามารถสมัครเป็นสมาชิกวารสารผลิใบเพือ่ มอบให้กบั โรงเรียน หรือห้องสมุดประชาชนทีย่ งั ขาดแคลน หนังสือส�ำหรับอ่านเพิ่มเติมความรู้ ซึ่งนับเป็นการส่งเสริมเรื่องการให้ทางปัญญา การปลูกฝัง วัฒนธรรมการอ่าน และเสริมสร้างแนวคิดในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ พลังงานควบคู่กันไป ทั้งนี้อัตราค่าสนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ คือ โรงเรียนละ 216 บาทต่อปี ภายใน 1 ปี โรงเรียนจะได้รบั วารสารจ�ำนวน 4 ฉบับ (ทุกๆ 3 เดือน) โดยขึน้ อยูก่ บั จ�ำนวนโรงเรียน ที่ท่านต้องการให้การสนับสนุน อัตราสนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมป์
จ�ำนวนโรงเรียนที่สนับสนุน 1,000 โรงเรียน 500 โรงเรียน 400 โรงเรียน 300 โรงเรียน 200 โรงเรียน 100 โรงเรียน 50 โรงเรียน 40 โรงเรียน 30 โรงเรียน 20 โรงเรียน 10 โรงเรียน
รวมเป็นเงิน/บาท/ปี 216,000 บาท 108,000 บาท 86,400 บาท 64,800 บาท 43,200 บาท 21,600 บาท 10,800 บาท 8,660 บาท 6,480 บาท 4,320 บาท 2,160 บาท
หมายเหตุ ท่านสามารถระบุจ�ำนวนโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ได้ตามความประสงค์ โดยท่านสามารถเลือกระบุภาค จังหวัด หรือรายชื่อโรงเรียนที่ท่านต้องการจะให้อุปถัมภ์ได้โดยตรง หรือให้ทางวารสารฯ คัดเลือกรายชื่อโรงเรียนเพื่อ เสนอให้พิจารณาตามความเหมาะสมได้อีกครั้ง
Give and Share บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบ ของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่าน ให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนวัดใหม่เนินพยอม โรงเรียนวัดพิบูลสัณหธรรม โรงเรียนบ้านบ่อวิน โรงเรียนบ้านพันเสด็จนอก โรงเรียนบ้านวังค้อ โรงเรียนบ้านห้วยกุ่ม โรงเรียนบ้านหุบบอน โรงเรียนวัดพระประทานพร โรงเรียนวัดวังหิน โรงเรียนอนุบาลบ้านบางพระ โรงเรียนบึงศรีราชาพิทยาคม โรงเรียนรัตนชัยศึกษา โรงเรียนสิงห์สมุทร โรงเรียนพลูตาหลวงวิทยา โรงเรียนบ้านขลอด โรงเรียนวัดเฉลิมลาภ โรงเรียนเทศบาล 4 (วัดโพธาวาส) โรงเรียนเทศบาล 5 โรงเรียนเทศบาล 1 (แตงอ่อนเผดิม วิทยา) โรงเรียนสุราษฎร์ธานี โรงเรียนมานิตานุเคราะห์ โรงเรียนบ้านโพหวาย โรงเรียนสุราษฎร์พิทยา โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 โรงเรียนเมืองสุราษฏร์ธานี
ภาพประกอบ design by freepik
จังหวัด จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี
โรงเรียน โรงเรียนเทพมิตรศึกษา โรงเรียนบ้านดอนสน โรงเรียนบ้านดอนหลวง โรงเรียนกาญจนดิษฐ์วิทยาคม โรงเรียนกาญจนดิษฐ โรงเรียนท่าอุแทพิทยา โรงเรียนอนุบาลขวัญชนก โรงเรียนวัดเขาแก้ว โรงเรียนวัดประสพ โรงเรียนวัดท่าไทร(ดิตถานุเคราะห์) โรงเรียนวัดบ้านใน โรงเรียนวัดดอนยาง โรงเรียนวัดนิกรประสาท โรงเรียนวัดอุทยาราม โรงเรียนบ้านท่าโพธิ์ โรงเรียนบ้านวังทองสามัคคี โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 88 (บ้านคลองควน) โรงเรียนวัดกาญจนาราม โรงเรียนบ้านดินแดงสามัคคี(สาขาบ้านท่า โกประชาสร โรงเรียนดอนสักผดุงวิทย์ โรงเรียนวัดนอก โรงเรียนวัดนทีวัฒนาราม โรงเรียนบ้านศรีชัยคราม โรงเรียนวัดชลคราม โรงเรียนอนุบาลถาวรนิมิต
จังหวัด จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี จ.นครนายก
ผลิใบ
39
Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....
เป้สะพายหลังสุดเท่ จาก Chevron
ของมีจ�ำนวนจ�ำกัด วารสารย้อนหลัง
cover_127.pdf 1 4/25/2018 1:50:32 PM
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปท่ี 24 ฉบับที่ 127 เดือนมกราคม - มีนาคม 2561
AI
Beat Pollution
CHEMICAL
C
ปท่ี 24 ฉบับที่ 128 เดือนเมษายน - มิถนุ ายน 2561
AIR
FRESHWATER
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
LAND & SOIL
WASTE
MARINE
Artificial Intelligence Cover Story
อนาคตเด็กไทยกับปญญาประดิษฐ
Cover Story
หมึกยักษ กลไกแหงตนแบบ ของปญญาประดิษฐ
Beat Pollution... ภัยรายจากมลพิษ
Green Energy นํา้ แข็งเชือ้ เพลิง
Animal Wonders
เรียนรูเ รือ่ งสมองของสัตว
Green Energy
ไมโครกริด พลังงานยุค 4.0
�����_128.indd 41
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders
www.facebook.com/plibai2012.tei
สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………........................................................................ ที่อยู่ ………………………........................................................................................ ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................................ การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6
สมัครสมาชิกใหม่ หรือต่ออายุสมาชิกวารสารผลิใบ รับทันที
7/16/2018 4:19:42 PM
¼ÅÔ㺠125_edit2.pdf 1 10/11/2017 2:25:00 PM 124_edit2.pdf 1 3/7/2560 14:12:42
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปท่ี 23 ฉบับที่ 126 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 23 ฉบับที่ 125 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2560
Animal Wonders
ซากสัตวดกึ ดําบรรพในประเทศไทย
Green Mind
มาตรการกําจัดถุงพลาสติก จากทัว่ โลก
C
M
Science Tricks
Y
เมือ่ ไมกลายเปนหิน
CM
MY
Cover Story
CY
CMY
Forest for Life
K
F
Animal Wonders
ปท่ี 23 ฉบับที่ 124 เดือนเมายน-มิถนุ ายน 2560
D SECURITY
C
ปลาซัคเกอร...ศัตรูของระบบนิเวศ
M
Y
Green Mind
CM
เกษตรกรรมยัง่ ยืน เพือ่ ความมัน่ คงทางอาหารของไทย
World of Energy
MY
CY
CMY
Science Tricks
K
ประโยชนของจุลนิ ทรีย
Cover Story
แนวคิดการบริโภคอยางยัง่ ยืน และความมัน่ คงทางอาหาร
Let’s go Green แนวทางอนุรกั ษพลังงานอยางไดผล
¼ÅÔ㺠123.pdf 1 3/28/2017 2:59:23 PM
Evalution Fun Facts วิวฒ ั นาการพลังงานไทย
Young Artist ประกาศรางวัลผูช นะในโครงการ Young Creative Environment Artist
cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 23 ฉบับที่ 123 เดือนมกราคม-มีนาคม 2560
ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559
C LI C
C M
MA
T EC
M Y
Y CM
CM
HA
MY
MY
NG
CY
CY CMY
CMY K
K
What the World Offer Sustainable Development Goals (SDGs)
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร
Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก
E IS
SU E
Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต
www.facebook.com/plibai2012.tei
Grew the Earth ตนรวงผึง้ พรรณไมประจํารัชกาลที่ 10
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders โลกของสัตวเรืองแสง
www.facebook.com/plibai2012.tei
EERT
www.facebook.com/plibai2012.tei
www.facebook.com/plibai2012.tei
วารสารผลิใบ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com