เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปท่ี 24 ฉบับที่ 127 เดือนมกราคม - มีนาคม 2561
CHEMICAL
Beat Pollution
AIR
WASTE
หมึกยักษ กลไกแหงตนแบบ ของปญญาประดิษฐ
LAND & SOIL
Cover Story
Beat Pollution... ภัยรายจากมลพิษ
MARINE
Green Energy นํา้ แข็งเชือ้ เพลิง
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders
FRESHWATER
NT
I A N A B T L S E U M S O r VEM o f E
องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/
|
Editor’s Note ปัจจุบันมลภาวะแวดล้อมที่มีความรุนแรง มากขึ้น เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชากร 1 ใน 4 คนทั่วโลก และมีผลท�ำลายระบบนิเวศ ในวงกว้าง นอกจากนีเ้ มืองใหญ่ทวั่ โลกมีคณ ุ ภาพ อากาศต�่ำกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนดโดยองค์การ สหประชาชาติ ในการประชุ ม สมั ช ชาสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง สหประชาชาติ สมัยที่ 3 ระหว่างวันที่ 4 - 6 ธันวาคม 2560 มีข้อสรุปว่าประเทศทั่วโลก จ�ำเป็นต้องทุ่มเทก�ำลังและร่วมมือกันป้องกัน บรรเทา และจัดการมลภาวะทางอากาศ บนบก พืน้ ดิน แหล่งน�ำ้ จืด และมหาสมุทร ทีม่ ผี ลกระทบ ต่อสุขภาพมนุษย์ สังคม ระบบนิเวศ ระบบ เศรษฐกิจ และความมั่นคง ผลิ ใ บฉบั บ นี้ จึ ง ขอเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการ ร่ ว มมื อ กั น รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ ว ยการเสนอ ความรู้ด้านมลภาวะที่อยู่ใกล้ตัวเรา ให้ผู้อ่าน ได้ทราบและตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหา เหล่านี้ไปด้วยกัน นอกจากนั้นเนื้อหาในเล่มนี้ ประกอบด้ ว ยความรู ้ แ ละความบั น เทิ ง อย่ า ง หลากหลาย ซึ่งเราหวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ ผู้อ่านทุกท่านครับ
ณรงค์ บุณยสงวน บรรณาธิการบริหาร
• วารสารผลิใบได้รบั รางวัลดีเด่น ประเภทวารสาร ที่มีเนื้อหาทั่วไปเหมาะสมกับเยาวชน ประจำ�ปี พ.ศ. 2538 - 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ณรงค์ บุณยสงวน บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ จิตลัดดา ศรีพล เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล จิตลัดดา ศรีพล โรงพิมพ์ บริษัท ซาเร็น การพิมพ์ จำ�กัด สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2503 3333 โทรสาร : 0 2504 4826-8 อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei
5 19
32
12 24
34
On the Move
31
Think Out of the Box
32
Young Artist
33
Green Mind
34
Book Inspiration
3
Young Storyteller
36
IT Generation
4
Give and Share
39
รอยเท้าของพ่อ
5
Membership
40
Think Tank
8
Green Innovation
11
Animal Wonders
12
Cover Story
14
Science Tricks
19
Green Energy
20
Let’s go Green
21
What the World Offers
24
Grew the Earth
29
Evolution Fun Facts
ภัทรา จิตรานนท์ หัวหน้ากองบรรณาธิการ
จิตลัดดา ศรีพล กองบรรณาธิการ
ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ เลขากองบรรณาธิการ
ณชชน พชรชัยกุล บรรณาธิการ
30
Book Inspiration หนังสือชุด หุ่นยนต์ปราบมลพิษ จัดทำ�ขึ้นโดยคณะประชาสัมพันธ์สิ่งแวดล้อม สำ�นักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และกรมวิชาการได้ตรวจพิจารณา ต้นฉบับเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติมเพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เรื่องที่ 1 หุ่นยนต์จอมฉลาด เกี่ยวกับการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เรื่องที่ 2 ยานต่างดาว เป็นเรื่องที่ให้ความรู้เกี่ยวกับ ประโยชน์ของต้นไม้และการบ�ำรุงรักษา
เรื่องที่ 3 ลูกเสือหลงป่า เป็นเรื่องที่ให้ความรู้ เกี่ยวกับความส�ำคัญและประโยชน์ของแม่น�้ำ วิธีการป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษทางน�้ำ
เรื่องที่ 4 หุ่นยนต์เข้าเมือง เป็นเรื่องที่ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะมลพิษทางอากาศ และวิธีป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษทางอากาศ
หนังสือชุดนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่เด็กในระดับประถมศึกษา ทั้งในด้านเนื้อหาสาระและความเพลิดเพลิน ผลิใบ
3
IT Generation
Flow อุปกรณ์ช่วยตรวจสอบมลพิษทางอากาศ
อีกทั้งแอพพลิเคชั่นนี้ ยังรายงาน คุณภาพอากาศทีพ่ ยากรณ์มลพิษได้ตลอดวัน ผูค้ นสามารถหลีกเลีย่ งอากาศทีม่ มี ลพิษได้ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ท�ำให้เมืองสะอาดและ ผู้คนสุขภาพดีขึ้นอีกด้วย
จะดีเพียงใดถ้าก่อนที่เราจะเดินทางไปไหน จะมีตัวช่วยตรวจสอบมลพิษทางอากาศก่อนเราไป ที่หมายนั้นได้ Flow เป็นอุปกรณ์ไอทีที่ผู้ก่อตั้งและซีอีโอ ของ Plume Labs ได้ผลิตขึ้นมาโดยท�ำจากโลหะ เล็ ก ๆ ที่ ส ามารถตรวจจั บ ทุ ก อย่ า งในอากาศได้ ไม่วา่ จะเป็นกลิน่ น�ำ้ หอมอ่อนๆ ไปจนถึงควัน และแก๊ส ที่เกิดจากสารเคมีต่างๆ ได้ ซึ่ ง ถ้ า ยิ่ ง ใช้ ง านร่ ว มกั บ แอพพลิ เ คชั่ น ในสมาร์ทโฟน ก็ยงิ่ จะแสดงให้เห็นแผนทีข่ องมลพิษ ปรากฏอยู่บนหน้าจอจะแบ่งตามความหนาแน่น ของมลพิษจากมากไปน้อย คือ สีแดง สีเหลือง และสีขาว
“ซึง่ ข้อมูลเหล่านีไ้ ม่เพียงมีประโยชน์ ส�ำหรับผู้คนในเมืองใหญ่เท่านั้น แต่ยังมี ประโยชน์ในการวางผังเมืองที่ต้องการ แก้ปัญหามลพิษทางอากาศอีกด้วย” Romain Lacombe ผู้คิดค้น
4
ผลิใบ
ข้อมูลและภาพจาก... http://news.ch3thailand.com/abroad/36687 https://www.frogdesign.com/work/plume-labs http://www.workpointtv.com/news/24038
รอยเท้าของพ่อ
พระราชด�ำริ ด้านการบ�ำบัดมลพิษทางน�้ำ
“…หลักส�ำคัญว่า ต้องมีน้ำ� น�้ำบริโภคและน�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะชีวิตอยู่ท่นี ่นั ถ้ามีน้ำ� คนอยู่ได้ ถ้าไม่มนี ้ำ� คนอยู่ไม่ได้ ไม่มไี ฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มนี ้ำ� คนอยู่ไม่ได้…” พระราชด�ำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2539
อย่างทีท่ กุ คนทราบกันดีวา่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงให้ความส�ำคัญ เกีย่ วกับเรือ่ งน�ำ้ เป็นอย่างมาก เพราะน�ำ้ เป็นทรัพยากรหลักในการด�ำรงชีวติ ซึง่ ลองสังเกตว่าช่วงทีผ่ า่ นมา ประเทศของเราได้ให้ความส�ำคัญกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการน�ำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์ แต่ไม่ได้มกี ารวางแผนการจัดการทีเ่ หมาะสมรองรับปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ท�ำให้ทรัพยากรธรรมชาติ ทีเ่ หลืออยูม่ สี ภาพเสือ่ มโทรมลงเรือ่ ยๆ ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยูข่ องเพือ่ นร่วมโลกและระบบนิเวศต่างๆ จึงทรงให้มกี ารด�ำเนินโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นวิธกี ารทีจ่ ะท�ำนุบ�ำรุง และปรับปรุงสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในด้านต่างๆ ให้ดขี นึ้ ซึง่ การแก้ไขปัญหานำ�้ เน่าเสีย ก็เป็นเรื่องส�ำคัญ โครงการในพระราชด�ำริหลายโครงการจึงเกี่ยวข้องกับเรื่องน�้ำ ซึ่งอาจยกตัวอย่าง ได้ดังต่อไปนี้
ผลิใบ
5
1
หลักการบำ�บัดน�้ำเสียโดยการทำ�ให้เจือจาง (Dilution) ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ "น�้ำดี ไล่น�้ำเสีย" โดยใช้หลักการตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) การใช้น�้ำคุณภาพดีมาช่วยบรรเทาน�้ำเน่าเสีย ได้แก่ การใช้น�้ำที่มีคุณภาพดีช่วยผลักดันน�้ำเน่าเสียออกไปและ ช่วยให้น�้ำเน่าเสียมีสภาพเจือจางลง ทั้งนี้โดยรับน�้ำจากแม่น�้ำ เจ้าพระยา หรือจากแหล่ง น�้ำภายนอก ส่งไปตาม คลองต่างๆ
2
การบำ�บั ด น�้ ำ เสี ย ด้ ว ยผั ก ตบชวา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงสนพระราชหฤทัยในการ ปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน�้ำที่มีอยู่แล้ว เช่น บึงและหนอง ต่างๆ เพือ่ ท�ำเป็นแหล่งบ�ำบัดนำ�้ เสีย โดยหนึง่ ในจ�ำนวนนัน้ ได้แก่ โครงการบึงมักกะสันอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ มีหลักการบ�ำบัด น�้ำเสีย ตาม แนวทฤษฎี การพั ฒ นา โดยการกรอง น�้ ำ เสี ย ด้ ว ย ผักตบชวา
6
ผลิใบ
3
การบำ�บั ด น�้ ำ เสี ย ด้ วยการ ผสมผสานระหว่ า งพื ช น�้ ำ กับระบบเติมอากาศ ด้ ว ยทรงห่ ว งใยในปั ญ หา น�้ำเน่าเสียที่เกิดขึ้นในหนองหาน จึงทรงพระราชทานแนวพระราชด�ำริ ทฤษฎี ก ารบ�ำบั ด น�้ ำ เสี ย ด้ ว ยการ ผสมผสานระหว่างพืชน�้ำกับระบบ การเติมอากาศ ณ บริเวณหนองสนมหนองหาน ซึ่งเป็นการผสมผสาน ระหว่างวิธีธรรมชาติกับเทคโนโลยี แบบประหยัด โดยมีกรมประมง ร่วมกับกรมชลประทานด�ำเนินการ ศึ ก ษาและก่ อ สร้ า งระบบบ�ำบั ด น�้ำเสียในบริเวณดังกล่าว
4
การบำ�บัดน�้ำเสียด้วยระบบ บ่ อ บำ�บั ด และวั ช พื ช บำ�บั ด โครงการงานวิจัยและพัฒนา สิ่ ง แวดล้ อ มแหลมผั ก เบี้ ย อั น เนื่ อ ง มาจากพระราชด�ำริ ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี ทรงตระหนัก ถึงปัญหาภาวะมลพิษที่มีผลต่อการ ด�ำรงชี พ ของประชาชน เพราะยั ง ขาดระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและการก�ำจัด ขยะมู ล ฝอยที่ ดี แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จึงทรงให้มกี ารด�ำเนินการตามโครงการ ดังกล่าวขึ้น โดยเป็นโครงการศึกษา วิจัยวิธีการบ�ำบัดน�้ำเสีย ก�ำจัดขยะ มูลฝอยและการรักษาสภาพป่าชายเลน ด้วยวิธีธรรมชาติ
ข้อมูลและภาพ www. web.ku.ac.th/king72/2542-09/res06.html www. welovethaiking.com/blog/หลักการแก้ไขปัญหาน�้ำเสีย www. sites.google.com/site/pangpok69/pang69
5
กังหันน�้ำชัยพัฒนา จะเห็นได้ว่าสภาพมลภาวะทางน�้ำ ไม่คอ่ ยดี จึงจ�ำเป็นต้องใช้เครือ่ งกลเติมอากาศเพิม่ ออกซิเจน เพือ่ การบ�ำบัดนำ�้ เสีย ทรงค้นคิดทฤษฎีบ�ำบัดนำ�้ เสียด้วยวิธกี ารเติม อากาศ โดยใช้วธิ ที �ำให้อากาศสามารถละลายลงไปในน�ำ้ เพือ่ เร่งการ เจริญเติบโตของแบคทีเรียจนมีจ�ำนวนมากพอทีจ่ ะท�ำลายสิง่ สกปรก ในน�้ำให้หมดไป "กังหันน�้ำชัยพัฒนา" เป็นรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ ที่เรียบง่าย ประหยัด เหมาะเพื่อใช้ ในการบ�ำบัด น�้ำเสียได้ ทั่วประเทศ
6
การกำ�จัดน�้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ ทรงมีพระราชด�ำริ ให้ท�ำการศึกษา ทดลอง และวิจัยดูว่าจะใช้ปลาบางชนิด ก�ำจัดน�้ำเสียได้หรือไม่ โดยปลาเหล่านี้น่าจะเข้าไปกินสารอินทรีย ์ ในบริเวณแหล่งน�ำ้ เสีย ซึง่ ปรากฎว่าปลาบางสกุลมีอวัยวะพิเศษในการ หายใจ เช่น ปลากระดี่ ปลาสลิด เหมาะแก่การเลีย้ งในนำ�้ เสีย และ ชอบกิ น สารอิ น ทรี ย ์ จึ ง ช่ ว ยลดมลภาวะใน แหล่งนำ �้ วิธกี ารนีส้ ามารถ น�ำมาใช้ประโยชน์ในการ ก�ำจัดน�้ำเสียได้ ซึ่งจะมี ต้ น ทุ น ต�่ ำ และสามารถ เพิ่ ม ผลผลิ ต สั ต ว์ น�้ ำ ได้ อีกทางหนึง่ ผลิใบ
7
Think Tank
ฝุ่นพิษที่เป็นภัย คุกคามสุขภาพ PM2.5 คืออะไร PM ย่อมาจาก Particulate Matters หมายถึง ละอองฝุ่นในอากาศ ตั ว เลขที่ ต ่ อ ท้ า ย (10 และ 2.5) หมายถึง ขนาดของละอองฝุ่นในหน่วย ของไมครอน ซึ่งเล็กกว่า 1 เซนติเมตร ไป 10,000 เท่า ทั่ ว โลกสนใจค่ า PM 2.5 ซึ่ ง ส่ ง ผล ต่อสุขภาพมากกว่า เพราะ PM2.5 คือ ฝุ่นละอองมีขนาดเล็กสามารถแทรกซึม เข้าไปในร่างกายได้ลึกมาก และอันตราย มาก ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) คือฝุน่ ทีเ่ ล็กกว่า 1 ใน 25 ส่วนของ เส้นผ่าศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ PM2.5 แบ่งเป็นฝุน่ ทีเ่ กิดจากแหล่งก�ำเนิด โดยตรง และจากการรวมตัวของก๊าซและ มลพิษอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะ ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ แ ละออกไซด์ ข อง ไนโตรเจน PM 2.5 เป็ น มลพิ ษ ข้ า มพรมแดนและ ปนเปื้อนอยู่ในบรรยากาศได้นาน เป็นฝุ่น อันตรายไม่ว่าจะมีองค์ประกอบใดๆ เช่น ปรอท แคดเมียม อาร์เซนิก หรือโพลีไซคลิก อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAHs) **องค์การอนามัยโลก (WHO) ก�ำหนดให้ PM2.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 ของสารก่อมะเร็ง ในปี พ.ศ. 2556
8
ผลิใบ
สาเหตุของมลพิ ษ การคมนาคมขนส่ง การคมนาคมขนส่งโดยเฉพาะไอเสียจากยานพาหนะ ที่ ใช้ น�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ต่ า งๆ ทั้ ง ดี เซลและแก๊ ส โซฮอล์ เป็นแหล่งก�ำเนิดที่ส�ำคัญของ PM2.5 จากการประเมิน พบว่ามีการปล่อย PM2.5 โดยตรงราว 50,240 ตันต่อปี นอกจากนี้ ยังเป็นแหล่งก�ำเนิดออกไซด์ของไนโตรเจน (NOX) 246,000 ตันต่อปี และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) อีกราว 14,000 ตันต่อปี การเผาในที่โล่ง ประมาณการว่า เมือ่ มีการเผาในทีโ่ ล่งปล่อยฝุน่ พิษ PM2.5 มากถึง 209,937 ตันต่อปี รวมถึง หมอกควันพิษในภาคเหนือ ตอนบนของไทยและภู มิ ภ าคลุ ่ ม น�้ ำ โขงที่ เ กิ ด จากการเผา ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชเชิงเดีย่ ว ซึง่ ผลิตป้อนเข้าสูห่ ว่ งโซ่อปุ ทาน การผลิตอาหารของภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ด้านเกษตร และหมอกควันพิษจากอินโดนีเซียอันเป็นผลพวงของสองทศวรรษแห่งการท�ำลาย ล้างป่าพรุ และระบบนิเวศป่าไม้โดยอุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันและเยื่อกระดาษที่ เชื่อมโยงกับห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์บริโภคและอุปโภคในระดับโลก การผลิตไฟฟ้า ประมาณการว่า การผลิตไฟฟ้าปล่อย PM2.5 ราว 31,793 ตันต่อปี ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 231,000 ตันต่อปี และออกไซด์ของไนโตรเจน 227,000 ตันต่อปี แม้ว่าภาคการผลิตไฟฟ้าจะเป็น แหล่งกําเนิด PM2.5 เป็นลําดับรองจากการเผา ในทีโ่ ล่งและการขนส่ง แต่การปล่อยซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และออกไซด์ของไนโตรเจนต่อปีจากภาคการผลิต ไฟฟ้านั้นมีสัดส่วนมากที่สุดในบรรดาแหล่งกําเนิดต่างๆ ซึ่งนําไปสู่การเกิด PM2.5 จากกระบวนการทางเคมีในบรรยากาศที่มีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และออกไซด์ ของไนโตรเจนเป็นสารตั้งต้น
ฝุ่นพิ ษ PM2.5 ขนาดเล็กจนสามารถเล็ดลอดผ่านขนจมูก
และเข้าสู่กระแสเลือดของเราได้
สารอันตรายจากฝุ่นพิ ษ PM2.5 พีเอเอช (PAHs-Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) เป็ น พิ ษ เฉี ย บพลั น ต�่ ำ เกิ ด จากกระบวนการเผาไหม้ ที่ ไม่สมบูรณ์ รวมถึงท่อไอเสียรถยนต์ เชือ้ เพลิงฟอสซิล จากโรงงาน อุตสาหกรรม ไฟป่า การเผาเพื่อการเกษตร การปรุงอาหาร จนไหม้เกรียม ควันบุหรี่ และยาฆ่าแมลง พบได้ในที่ที่มีมลพิษ เกือบทุกแห่ง แต่ลอยไปไหนมาไหนได้ไกลตามสายลม สามารถ ซ่อนตัวอยู่ในดิน และแหล่งน�้ำ เป็นสารก่อมะเร็ง: มักพบการปนเปื้อนของ PAHs ในสิ่งแวดล้อมร่วมกับสารมลพิษอื่น โดยเฉพาะโลหะหนัก สามารถรวมกับ อนุภาคแขวนลอยขนาดเล็กแล้วเข้าสู่ปอดเมื่อหายใจ ท�ำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอด ปรอท (Mercury) ปรอทมีขนาดเล็กมาก อ่อนไหวต่อสภาพอากาศ ระเหยเป็นไอหลบซ่อนตัวได้ง่าย เกิดในแหล่งที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล อย่างน�้ำมันและถ่านหิน รังแกมนุษย์และสัตว์ทุกเพศทุกวัย รวมถึงหญิงมีครรภ์ มักพบอยู่ในอากาศ น�้ำ และดิน สารปรอทที่พบอยู่ ตามแหล่งน�ำ้ หรือดินนัน้ จะมักมีสาเหตุมาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงงานอุตสาหกรรมซึง่ ปล่อยของเสียออกมาทางน�ำ้ หรืออากาศนัน่ เอง หลังจากที่ปรอทเข้าสู่ร่างกายทางการ หายใจ สัมผัส หรือกิน จะพุ่งตรงเข้าสู่ระบบ หมุนเวียนโลหิตทันที กระจายตัวบุกต่อไปยัง อุตสาหกรรมการผลิต สมองและส่วนอืน่ ๆ ของร่างกายอย่างรวดเร็ว ประมาณการว่า ภาค อุตสาหกรรมการผลิตปล่อย และสามารถท�ำลายระบบประสาทจนกระทัง่ PM2.5 ราว 65,140 ตันต่อปี เกิดอาการเหน็บชาในบางส่วนเกิดอาการ ก๊ า ซซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ อั ม พาต และเป็ น ตั ว การท� ำ ให้ เ กิ ด มะเร็ ง 212,000 ตั น ต่ อ ปี และ รวมถึงความผิดปกติทางพันธุกรรมในเด็ก ออกไซด์ ข องไนโตรเจนอี ก โดยเฉพาะกับสมองและระบบประสาทของ 222,000 ตันต่อปี โดยหนึ่ง ในพืน้ ทีท่ พ่ี บมลพิษทางอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรมมากทีส่ ดุ คือ พืน้ ท่่ี เด็กในช่วงเติบโต เขตควบคุมมลพิษมาบตาพุด จังหวัดระยอง พบสารอินทรีย์ระเหยง่าย หรือเรียกว่า “VOCs” จากสารเคมีและอุตสาหกรรม หรือในเขตควบคุม มลพิษหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี พบฝุ่นละอองจากกิจกรรมการผลิต ปูนขาวและปูนซีเมนต์ ผลิใบ
9
สารอันตรายจากฝุ่นพิ ษ PM2.5 (ต่อ) แคดเมียม (Cadmium) แคดเมียมคือโลหะหนักสีเงิน มีความอ่อนตัว เกิดจากมลพิษของอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณ การท�ำเหมืองแร่ สังกะสี ทองแดง และตะกั่ว การท�ำพลาสติก การประสานโลหะ ผลิตรถยนต์ และ ผลิตไฟฟ้า แคดเมียมจะล่องลอยอยูบ่ ริเวณการท�ำเหมืองหรือโรงงาน บ้างก็ไปแทรกซึมอยูใ่ นแหล่งน�ำ้ แคดเมียมมีอนุภาพรุนแรง เพียงแค่สัมผัสก็ท�ำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง แคดเมียมที่ อยูใ่ นแหล่งน�ำ้ และอาหารจะเข้าสูร่ า่ งกายทางการกลืนกินและท�ำให้อาเจียน อาจรุนแรงถึงขัน้ ท�ำให้ ระบบทางเดินอาหารอักเสบ และถ้าหากหายใจเอาแคดเมียมเข้าไปจะเกิดพิษและปริมาณสะสม ที่อาจก่อให้เกิดมะเร็งปอดได้ในระยะยาว การมีแคดเมียมสะสมในกระดูกท�ำให้กระดูกเปราะ หักง่าย และเกิดโรคไตเสื่อม โรคที่เกิดจากพิษของแคดเมียมเรียกว่า “โรคอิไต-อิไต” อาร์เซนิก (สารหนู - Arsenic) อาร์เซนิกหรือสารหนู เป็นหนึ่งในสารโลหะหนักที่อันตรายที่สุด สามารถท�ำให้ผิวกาย เป็นจุดด่างจนเป็นโรคผิวหนัง ใครเข้าใกล้อาจมีอาการมึน ตัวชา เพราะมันสามารถแทรกไป ในระบบประสาทแบบไม่ทันตั้งตัว อาร์เซนิกเกิดมาจากฝีมือของมนุษย์ล้วนๆ ที่ใช้อาร์เซนิก ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น การท�ำเหมือง ท�ำแก้ว ท�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ยาฆ่าแมลง อาร์เซนิกเดิมทีอยู่ในสารประกอบของหินและแร่ แต่เมื่อกลายเป็นฝุ่นละอองจะสามารถ กระจายลงสู่ดิน น�้ำ และระบบนิเวศ หากถูกอาร์เซนิกจู่โจมแบบเบาๆ ก็จะท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นผิดจังหวะ ท�ำลาย เส้นเลือด และรูส้ กึ ชา แต่หากจูโ่ จมด้วยค่าระดับต�ำ่ แต่นานจะท�ำให้ผวิ ด�ำและมีตมุ่ ขึน้ ทีผ่ วิ หนัง และหากอนุภาพสูงไม่ว่าจะด้วยการกินหรือหายใจจะท�ำให้ระคายเคืองต่อปอดและถึงตายได้ จากการศึกษาโดย Institute for Health and Evaluation มหาวิทยาลัยวอชิงตัน พบว่ามลพิษทางอากาศเป็นปัจจัยร่วม ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เนื่องจากมีส่วนประกอบของสารเคมี หลายชนิด ทั้งที่เป็นสารระคายเคืองไปจนถึงสารก่อมะเร็ง จึงเป็น
สาเหตุก่อให้เกิดโรค ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหลอดเลือด ในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคมะเร็งปอด และโรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบหายใจส่วนล่าง ก่อให้เกิดการตายก่อนวัยอันควร ในประเทศไทย ประมาณ 50,000 คนต่อปี
ร่วมลดการก่อ PM2.5
ก่อนจะสายเกินไป 10
ผลิใบ
ที่มา : www.greenpeace.org ภาพประกอบ : design by freepik
Green Innovation
ข ณะนี้ ป ั ญ หามลพิ ษ ไม่ ใช่ เรื่ อ งไกลตั ว อี ก ต่ อ ไป
โดยเฉพาะใน กรุ ง เทพมหานครและพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ของไทยมี ปริ มาณฝุ ่ น มลพิษ สูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้คนได้รับผลกระทบในระบบทางเดินหายใจซึ่งสามารถ ลุกลามไปสู่ความเจ็บป่วยต่อไปได้ จากปัญหานี้ท�ำให้นักออกแบบได้คิดค้น นวัตกรรมทีช่ ว่ ยดูดซับมลพิษทางอากาศขึน้ มาเพือ่ ช่วยบรรเทาปัญหาดังกล่าว นั่นคือ Breathe Brick เป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่จะช่วยก�ำจัดฝุ่นละออง ในอากาศ ก่อนจะปล่อยเข้าสู่อาคาร ท�ำให้อากาศภายในอาคารบริสุทธิ์ Breathe Brick ได้ แรงบั น ดาลใจมาจากหลั ก การท� ำ งานของ เครื่องดูดฝุ่น คิดค้นขึ้นโดย Carmen Trudell ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะสถาปัตยกรรม Poly San Luis Obispo และเป็นผูก ้ อ ่ ตัง ้ บริษท ั Both Landscape and Architecture ออกแบบมาเพือ่ นวัตกรรมลดปัญหามลพิ ษ ใช้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของระบบระบายอากาศของอาคาร ด้ ว ยการใช้ อิ ฐ ที่ท�ำมาจากคอนกรีตพรุนซีแพค มาก่อเป็นผนังด้านหน้าอาคารหนา 2 ชั้น เพิ่มความสมบูรณ์แบบด้วยฉนวนกันความร้อนชั้นใน จุดเด่นคือส่วนกลาง ด้านในของอิฐ ทีน่ กั ออกแบบได้ตดิ ตัง้ ระบบไซโคลนดักฝุน่ ทีม่ กี ารแยกอนุภาค ฝุ่นละอองออกจากอากาศ ไปไว้ในถังพักที่ฐานของผนัง (อากาศและฝุ่น ที่ไหลเข้าสู่ไซโคลนจะถูกท�ำให้เกิดการหมุนวนเหมือนกับการหมุนของพายุ ไซโคลน ซึ่งแบ่งการหมุนวนออกเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นนอก เป็นการหมุนวนของ อากาศที่ มี ทิ ศ ทางม้ ว นลงด้ า นล่ า งตามผนั ง ไซโคลน ซึ่ ง จะพั ด พาเอา ฝุ่นหยาบออกมาด้วย ส่วนการหมุนวนชั้นใน เป็นการหมุนวนที่เกิดขึ้นที่ ด้านล่างของ ไซโคลนโดย มีทศิ ทางม้วน ขึ้ น ด้ า นบน ตามแนวศูนย์กลางไซโคลน ซึ่งจะพัดพาฝุ่นละเอียดออกจากไซโคลนไปพร้อม กับอากาศได้ ส่วนประกอบส�ำคัญสองส่วน ได้แก่ คอนกรีตอิฐ และคอปเปลอร์พลาสติก (ข้อต่อทีผ่ ลิตจากพลาสติกรีไซเคิล) ทัง้ สองมีสว่ นช่วยในการจัดเรียงอิฐและเปิด ทางให้อากาศจากภายนอกเข้าสู่รูโหว่ในตัวอิฐ ตัวอิฐคอนกรีตเองจะมีลักษณะ เป็นเหลีย่ มมุม (Faceted) เมือ่ เรียงตัวกันจะเกิดช่องว่างซึง่ ท�ำให้อากาศผ่านเข้า ในระบบได้โดยตรง และยังมีชอ่ งว่างอีกส่วนส�ำหรับใส่โครงสร้างทีเ่ ป็นเหล็กด้วย Breathe Brick สามารถท�ำงานได้ดีกับทั้งระบบกลไกและระบบ ระบายอากาศ ซึ่งจะคอยส่งอากาศที่ผ่านการกรองแล้วไปยัง Wall Plenum ซึง่ ถือว่าอากาศบริสทุ ธิแ์ ล้ว สามารถปล่อยเข้าไปภายในอาคารได้ ผ่านอุปกรณ์ เครื่องกล หรือผ่านช่องลมเล็กๆ ที่ขับเคลื่อนด้วยระบบแบบพาสซีฟ เช่น การระบายอากาศแบบใช้ปล่อง ในการทดสอบ Windtunnel Tests พบว่า ระบบสามารถกรองอนุภาค เล็กๆ ได้ 30% เช่น มลพิษทางอากาศ และกรองอนุภาคขนาดใหญ่อย่าง ฝุ่นละอองได้ถึง 100%
Breathe Brick
ที่มาและภาพประกอบ : www.archdaily.com
ผลิใบ
11
Animal Wonders
หมึกยักษ์
จัดได้ว่าเป็นสุดยอดมันสมองของท้องทะเล เพราะด้วยความอัจฉริยะของมันแล้วท�ำให้ไม่มีสัตว์มีกระดูก สันหลังตัวใดเทียบได้ติด ถึงขั้นมนุษย์ได้ยกย่องให้หมึกยักษ์ เป็นต้นแบบของปัญญาประดิษฐ์เลยทีเดียวค่ะ
หมึกยักษ์
กลไกแห่ ง ต้ น แบบ ของปัญ ญาประดิ ษ ฐ์
ในส่วนหัวของหมึกมีสมองขนาดใหญ่ทมี่ คี วามฉลาด พอๆ กับโลมาและซิมแพนซี แต่ทพ ี่ เิ ศษกว่าก็คอื สมองส่วน กลางมีเซลล์ประสาทอยู่เพียง 10% ของ 500 ล้านเซลล์ ที่มีทั้งหมด ส่วนอีก 30% ไปอยู่บริเวณตา และที่เหลือ ถูกกระจายไปอยู่ตามหนวดต่างๆ (หมึกมีเซลล์ประสาทอยู่ ทั่วทั้งร่างกายราว 500 ล้านนิวรอน ส่วนมนุษย์มีมากกว่าที่ 1,000 ล้านนิวรอน ปริมาณนิวรอนอันมหาศาลท�ำให้มนั มีเซลล์ ประสาทใกล้เคียงกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) นั่นหมายความว่า
หนวดกับตาของหมึกจะมีความคิดเป็นของตัวเอง ไม่ต้อง ผ่านการประมวลผลจากสมองทีอ่ ยูบ่ นหัว สมองของหมึก ก็มคี วามน่าพิศวงอยูไ่ ม่นอ้ ย มันต่างจากสมองของมนุษย์ อย่างสิ้น เชิง หมึกยักษ์ ไม่มีการบรรจุเซลล์ประสาทไว้ ใน ก้อนสมอง แต่มันกลับกระจายนิวรอนไปตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ไม่รวมเป็นหนึ่งเดียว และนิวรอนส่วนใหญ่ มักไปรวมตัวในหนวดของมันนั่นเอง หนวดหมึกสัมผัสกับ สภาพแวดล้อมต่างๆ หากมีการดูดเกิดขึน้ 10,000 นิวรอน ทีป่ ลายหนวดจะส่งสัญญาณต่างๆ ไปทัว่ ร่างกายเพือ่ บอก สถานะของสิ่งนั้นๆ ก่อให้เกิดเป็นความทรงจ�ำระยะสั้น เพื่อให้มันจดจ�ำได้ว่าสัมผัสอะไร เป็นภัยหรือเป็นมิตร มีการศึกษาหมึกยักษ์อย่างกว้างขวางทัง้ ในวงการประสาท วิทยา ปัญญาประดิษฐ์ และกลไกการเคลือ่ นไหว เพราะลักษณะ พิเศษอันเป็นเอกลักษณ์ โครงสร้างร่างกายทีอ่ อ่ นนุม่ และแปรเปลีย่ น
12
ผลิใบ
รูปร่างได้ สามารถซอกซอนเข้าและออก จากโครงสร้างที่คับแคบได้ การที่มี หนวดที่ท�ำงานอย่างอิสระจากสมอง ความสามารถในการควบคุ ม และ เปลี่ยนสีผิวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม รวมถึงสะท้อนอารมณ์ และความต้องการ ในขณะนั้น หากเปรียบเทียบง่ายๆ ก็คอื เวลา คนเราเคลื่ อ นไหว ยกตัวอย่างเช่น เรามองเห็นขนมและต้องการจะหยิบ มากิ น เราจะมองจากประสาทตา ส่งข้อมูลไปยังสมองเพื่อประมวลผล ถึงรูปร่าง ลักษณะ ระยะห่าง หลังจากนัน้ ก็จะส่งข้อมูลไปยังสมองส่วนทีค่ วบคุม การเคลื่ อ นไหวเพื่ อ ที่ จ ะกระตุ ้ น การ ท�ำงานของกล้ามเนื้อและข้อต่อต่างๆ ทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้เอือ้ มไปหยิบขนมนัน้ มาจ่ อ ที่ ป ากและกั ด กิ น ในขณะที่ หมึกยักษ์ซึ่งมีการท�ำงานของระบบ ประสาททีแ่ ตกต่างออกไป มันสามารถ
บิดส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ไปใน ต�ำแหน่งและทิศทางใดก็ได้ไม่ได้จ�ำกัด โดยสมองของหมึกยักษ์ประกอบไปด้วย ชุดค�ำสั่งของพฤติกรรมแต่ละประเภท หากมองเห็นอาหาร สมองของมันไม่ได้ กระตุน้ กล้ามเนือ้ หนวดให้ยนื่ ออกไปจับ แต่ ก ระตุ ้ น พฤติ ก รรมตอบสนองต่ อ สิง่ ทีเ่ ห็นเพือ่ ให้จบั หลังจากนัน้ โครงข่าย เซลล์ประสาทบริเวณหนวดจะตอบรับ และท�ำงานของมันอย่างอิสระแทน หนวดหรื อ แขนทั้ ง 8 ของ หมึ ก ยั ก ษ์ จึ ง เป็ น อิ ส ระต่ อ กั น และ สามารถแก้ ไ ขปั ญ หาในรู ป แบบที่ แตกต่างกันออกไปได้ เช่น แขนหนึง่ สามารถเปิ ด ขวดเพื่ อ หยิ บ อาหาร ภายในได้โดยที่ไม่ต้องเรียนรู้ถึงการ เปิดขวดมาก่อนและอีกแขนสามารถ ท�ำอย่างอืน่ ไปได้ในเวลาเดียวกัน การ ปรับเปลี่ยนสภาพผิวหนังและสีสันให้ เข้ า กั บ สภาพแวดล้ อ มโดยที่ ไ ม่ ไ ด้
สั่ ง การจากสมองก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที ่ ได้ประโยชน์จากการมีเซลล์ประสาท กระจายตัว และท�ำงานอย่างแยกส่วน เช่นกัน จะเห็นได้ว่า ความแตกต่างทาง ด้ า นโครงสร้ า งและพฤติ ก รรมของ สั ต ว์ แ ต่ ล ะชนิ ด ต่ า งก็ เ กิ ด ขึ้ น มาเพื่ อ ตอบสนองความต้องการทางธรรมชาติ ที่แตกต่างกันออกไป ความน่ า อั ศ จรรย์ ข องหมึ ก ที่ มี ทั้ ง ความทรงจ�ำระยะสั้ น และ ความทรงจ�ำระยะยาว ทั้งยังสามารถ จดจ�ำหน้ า ตาสั ณ ฐานของมนุ ษ ย์ ไ ด้ ท�ำให้ นั ก ทดลองที่ น�ำหมึ ก มาศึ ก ษา พฤติกรรมในห้องทดลองได้เอาลักษณะ การท�ำงานของเซลล์และระบบประสาท ภายในร่ า งกายของหมึ ก มาเป็ น ต้นแบบของปัญญาประดิษฐ์นั่นเอง
ผลิใบ
13
Cover Story
Beat Pollution...
ษ ิ พ ล ม ก า ภัยร้ายจ
มลพิ ษทางอากาศ จากธรรมชาติ
การระเบิดของภูเขาไฟ
ไฟป่า
จากฝีมือมนุษย์
กระบวนการผลิตใน โรงงานอุตสาหกรรม
ฝุ่นละออง
• ก๊าชไฮโรเจนซัลไฟด์ หรือก๊าซไข่เน่า • กรดซัลฟูริก หรือกรดก�ำมะถัน
• ก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ • ออกไซด์ของ ไนโตรเจน
14
ผลิใบ
ฝุ่นละออง
• • • •
แอสเบสตอส ตะกั่ว ไฮโดรคาร์บอน กัมมันตรังสี
การเผาไหม้เชื้อเพลิง
• ก๊าซคาร์บอน มอนอกไซด์
ผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
• ลดประสิทธิภาพ • เกิดความผิดปกติ เพิ่มความเสี่ยง การระคายเคืองตา การท�ำงานของปอด ของประสาท โรคทางเดินหายใจ จมูก และคอ • โรคที่เกี่ยวกับ ในเด็กอายุต�่ำกว่า 12 ปี • ความดันโลหิตสูง ระบบทางเดินหายใจ ผลต่อพื ชและสัตว์
สารพวกออกซิแดนซ์ จะไปท�ำให้ส่วนของใบ แห้งเหี่ยว และท�ำให้ เซลล์ใบยุบตัว
ไนโตรเจนออกไซด์ ท�ำให้เกิดอันตราย ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ท�ำให้พืชเกิดพิษเรื้อรัง จะท�ำให้เกิดแผลที่ใบ ต่อปศุสัตว์มากที่สุด และท�ำให้เกิดพิษ พืชไม่เจริญเติบโต เฉียบพลัน จากการสูญเสีย คลอโรฟิลล์ หรือหยุดสร้างคลอโรฟิลล์ ผลิใบ
15
มลพิ ษทางน�้ำ แหล่งน�้ำที่ส�ำคัญ
น�้ำฝน
น�้ำท่า
น�้ำใต้ดิน
สารมลพิ ษทางน�้ำ สารมลพิษเคมี
แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อโรคต่างๆ สาหร่าย อุจจาระ – ปัสสาวะ ลิกนิน
สารมลพิษทางกายภาพ ความร้อน สี กลิ่น สารกัมมันตภาพรังสี สารแขวนลอย กรวด – ทราย ผลิใบ
สร้างขึ้น
สารมลพิษทางชีววิทยา
กรด เบส เกลือ ยาฆ่าแมลง ผงซักฟอก ไอออนบวกของโลหะหนัก
16
แหล่งน�้ำที่มนุษย์
แหล่งก�ำเนิดปัญหามลพิ ษทางน�้ำ
แหล่งชุมชน ได้แก่ บ้านเรือน อาคารพาณิชย์ โรงแรม โรงพยาบาล โรงเรียน ส�ำนักงาน น�้ำทิ้งจากสถานที่ดังกล่าวจะมีสารมลพิษที่เป็น สารอินทรีย์ ซึง่ เป็นเศษอาหาร ของเสีย และสารทีใ่ ช้ซกั ฟอก ปะปนมา ---------------------------------------------------------------------
แหล่งอุตสาหกรรม เช่น โรงน�้ำปลา โรงน�้ำตาล โรงงานอาหารกระป๋อง โรงงานกระดาษ โรงงานผลิตสี โรงงานฟอกหนัง และ เหมืองแร่ แหล่งอุตสาหกรรมเหล่านีจ้ ะปล่อยของเสียทีเ่ ป็น สารอินทรียล์ งสูแ่ หล่งนำ �้ ก่อให้เกิดนำ�้ เน่า นอกจากนั้นยังอาจปล่อยโลหะเป็นพิษ และสารประกอบที่เป็นพิษ เช่น ตะกั่ว ปรอท สารหนู แคดเมียม และไซยาไนด์ ลงน�้ำอีกด้วย ----------------------------------------------
แหล่งเกษตรกรรม เนือ่ งจากเกษตรกรใช้ปยุ๋ ยาฆ่าแมลง และยาปราบศัตรูพชื มากขึน้ เป็นล�ำดับ ปุย๋ ยาฆ่าแมลงและยาปราบศัตรูพชื รวมทั้งมูลสัตว์ จะถูกชะไหลลงสู่ แหล่งนำ �้ จึงเกิดการสะสมสารดังกล่าว ในแหล่งน�ำ้ มากขึน้ ในทีส่ ดุ จะเกิดปรากฎการณ์ยโู ทรฟิเคชัน ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในแหล่งน�้ำที่มีปริมาณธาตุ อาหารจ�ำพวกสารประกอบฟอสฟอรัสและไนโตรเจน ซึง่ ธาตุ อาหารเหล่ า นี้ ก็ จ ะไปกระตุ้น ให้พืชสีเขียวในล�ำน�้ ำ มี ก าร สังเคราะห์แสงได้มากขึ้นและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ เมื่อพืชเหล่านั้นตายลง จุลินทรีย์จะย่อยสลายพืชเหล่านั้น โดยใช้ออกซิเจนในน�้ำ ท�ำให้ออกซิเจนลดลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้น�้ำเน่าเสียในที่สุด
น�้ำเสียจากสถานที่กำ�จัด ขยะมูลฝอย น�้ำเสียประเภทนี้เกิดจากการที่มีการน�ำขยะมูลฝอยไปกอง ทิ้งอย่างไม่ถกู วิธี ท�ำให้เป็นแหล่งก�ำเนิดน�ำ้ เสียทีส่ �ำคัญแหล่ง หนึง่ เนือ่ งจากขยะมูลฝอยประกอบด้วยเศษอาหาร และของ เน่าเสีย เมื่อฝนตกชะลงมาท�ำให้น�้ำเสียไหลปนเปื้อนลงสู่ แหล่งน�้ำผิวดินและซึมลงสู่แหล่งน�้ำใต้ดินในที่สุด ---------------------------------------------------------------------
แหล่งคมนาคมทางเรือ เป็ น แหล่ ง มลพิ ษ ทางน�้ ำ ที่ ส�ำคั ญ แหล่ ง หนึ่ ง แต่ มั ก จะถู ก มองข้ามไป สารมลพิษจากแหล่งนี้ คือ น�้ำมันที่ใช้กับ เครือ่ งจักรกลของเรือจะเล็ดลอดลงในน�ำ ้ เมือ่ เรือขนส่งนำ�้ มันขนาดใหญ่รวั่ หรือเกิดอุบัติเหตุจมลง น�้ำมัน จะกระจายเข้าไปอยู่ในแหล่งน�้ำ เกิดคราบนำ�้ มันปกคลุมผิวหน้านำ�้ เป็นบริเวณกว้างคลืน่ จะซัดคราบนำ�้ มันเข้าหาฝัง่ ทะเล ก่อความสกปรกและการขาดออกซิเจนในบริเวณนั้น ได้นาน จนกระทั่งสิ่งมีชีวิตล้มตายลง ---------------------------------------------------------------------
น�้ำเสียจากแหล่งอื่นๆ การเกิ ด น�้ ำ เสี ย จากสาเหตุ อื่ น ๆ จะเกิ ด จากสาเหตุ ดั ง นี ้ น�้ำเสียที่เกิดจากขบวนการคมนาคมขนส่ง การบริการ การก่อสร้างและการรื้อถอน การพาณิชย์ การล้างถนน อาคาร รถยนต์ และน�้ำเสียจากกิจกรรมประมง เป็นต้น
ผลิใบ
17
มลพิ ษทางดิน สาเหตุของปัญหามลพิ ษทางดิน 1. การใช้สารเคมีและสารกัมมันตรังสี
5. การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่างๆ ลงในดิน
สารเคมีเหล่านี้บางชนิดไม่สะสมในดินเพราะแบคทีเรีย ในดินทําลายได้แต่พวกคลอริเนทเตด ไฮโดรคาร์บอน และ สารประกอบ คลอริเนทเตด ฟีนอกซี บางชนิด คงทนในดิน ทาํ ให้แบคทีเรียทําลายได้ยาก บางชนิดอาจเปลีย่ นสภาวะของดิน ทาํ ให้ดนิ เป็นกรดหรือด่าง
ขยะส่วนใหญ่จะสลายตัวให้สารประกอบ อินทรีย์ และอนินทรียม์ ากมายหลายชนิด ด้วยกันแต่กม็ ขี ยะบางชนิดทีส่ ลายตัวยาก เช่น วัสดุทที่ าํ ด้วยผ้าฝ้าย หนัง พลาสติก โลหะ ขยะประเภทนี้ถ้าทําลายโดยการเผาจะเหลือเกลือ โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยูเ่ ป็นจาํ นวนมาก แล้วละลาย ไปตามน�้ำ สะสมอยู่ในบริเวณใกล้เคียง
------------------------------------------------------------
2. การใส๋ปุ๋ย อาจเกิ ด การสะสมของสารเคมี • การทิง้ ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเฉพาะ โดยเฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การสะสมนี้อาจถึงขั้นเป็นพิษได้
---------------------------------------------------------------------
3. น�้ำชลประทาน ดินเป็นพิษจากน�้ำชลประทานได้
เนื่องจากน�้ำที่มีตะกอนเกลือ และสารเคมีอื่นๆ รวมทัง้ ยาฆ่าแมลงปะปนมาด้วย --------------------------------------------------------
4. การใช้ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์ ดินบริเวณที่มีการเพาะปลูกสะสมสารพิษจาก ยาปราบศัตรูพืชมากกว่าบริเวณอื่นๆ บางชนิด เมื่อคลุกเคล้าลงในดินแล้วจะเกิดปฏิกิริยาเคมี และสูญหายไปจากดินแต่บางชนิดคงทนต่อ การสลายตัวและสะสมอยูใ่ นดินเป็นเวลานานๆ เช่น ประเภททีม่ ตี ะกัว่ อาร์เซนิก ทองแดง หรือปรอทผสม อยู่ สารเหล่านี้มีครึ่งชีวิต (half life = เวลาที่ฤทธิ์ของยา ปราบศัตรูพืชจะหมดไปครึ่งหนึ่งเมื่อผสมคลุกเคล้ากับดิน) ---------------------------------------------------------------------
18
ผลิใบ
ของเสี ย จากโรงงานที่ มี โ ลหะหนั ก ปะปน ทํ า ให้ ดิ น บริเวณนั้นมีโลหะหนักสะสมอยู่มาก โลหะหนักที่สําคัญ ได้แก่ ตะกั่ว ปรอท และแคดเมี่ยม
• ของเสียจากสัตว์ การเสื่อมคุณภาพของดินเนื่องจาก ของเสี ย จากสั ต ว์ นั้ น พบมากในบริ เ วณที่ เ ลี้ ย งสั ต ว์ เป็นจํานวนมาก เพราะสิ่งขับถ่ายของสัตว์ที่นํามากอง ทับถมไว้ทําให้จุลินทรีย์ย่อยสลายได้เป็นอนุมูลไนเตรต และอนุ มู ล ไนไตรต์ ถ้ า สะสมอยู ่ ม ากดิ น บริ เ วณนั้ น จะเกิดเป็นพิษได้ ---------------------------------------------------------
6. การเพาะปลู ก ดิ น ที่ ใ ช้ ใ นการเพาะปลู ก เป็นเวลานานๆ โดยมิได้คํานึงถึงการบํารุงรักษา อย่ า งถู ก วิ ธี จ ะทํ า ให้ แ ร่ ธ าตุ ใ นดิ น ถู ก ใช้ ห มดไป จนในที่สุดไม่อาจปลูกพืชได้อีก
---------------------------------------------------------------------
7. การถางป่า เป็นผลทําให้เกิดความเสียหายกับดินได้ทําให้
ดินปราศจากพืชปกคลุม หรือไม่มีรากของพืชยึดเหนี่ยว เกิดการสูญเสียหน้าดินและเกิดการพังทลายได้งา่ ย ในทีส่ ดุ บริเวณนัน้ จะกลายเป็นทีแ่ ห้งแล้ง เมือ่ มีฝนตกก็จะเกิดพายุ อย่างรุนแรง และมีน�้ำท่วมฉับพลันได้
มลพิษทางอาหาร คือ อาหารทีม่ กี ารปนเปือ้ นหรือมีสารพิษ อาหารจึ ง เปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม หรื อ เสื่ อ ม สภาพลง ท�ำให้ เ กิ ด อั น ตราย รวมทั้ ง เข้ า ไป เกีย่ วข้องกับห่วงโซ่อาหารได้ ซึ่งสิ่งปนเปื้อนใน อาหารมี ทั้ ง สิ่ ง ที่ มี ชี วิ ต (อิ น ทรี ย วั ต ถุ ) และ สิ่งไม่มีชีวิต (อนินทรียวัตถุ)
Science Tricks
แหล่งของสิ่งปนเปื้อนในอาหาร มีตัวอย่างดังนี้ สารมลพิษในอากาศ ฝุน่ หรือควัน อาจเข้าไปปนเปือ้ น กับอาหาร หรือกับเชื้อราบางชนิดที่เติบโตในเมล็ดพืช ช่วงการเจริญเติบโตของพืชผักผลไม้ มีการใช้ปุ๋ย ชนิดสารเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ รวมทั้งการใช้สารเคมีปราบ ศัตรูพืชต่างๆ จึงอาจจะมีการปนเปื้อนของสารต่างๆ ได้ สารพิษในห่วงโซ่อาหาร เช่น สารปรอทในสัตว์น�้ำ สารเทโทรโดท็ อ กซิ น ในหอยหรื อ แมงดาถ้ ว ย สั ต ว์ น�้ ำ อีกหลายชนิด เช่น ปลาที่ได้รับสารชีวพิษในห่วงโซ่อาหาร
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเกิดผลกระทบเป็นอันมาก ซึ่งท�ำให้เกิดโรคต่างๆ จากมลพิษในอาหารที่ปนเปื้อน มีผลร้ายต่อสุขภาพ อาจจ�ำแนกออกได้ดังต่อไปนี้
1. โรคที่เกิดจากสารพิษในอาหาร - โรคอาหารเป็นพิษ - โรคพิษเชื้อรา - โรคเหตุสารปราบศัตรูพืช - โรคที่เกิดจากสารฟอกขาว - โรคพิษโลหะหนัก ฯลฯ 3. โรคภูมิแพ้อาหาร จะเกิดอาการค่อนข้างฉับพลันเพียงอาหาร เข้าในปากหรือภายในเวลาไม่กนี่ าทีหรือไม่ถงึ ชัว่ โมง และเป็นซาํ้ เมือ่ กลับไปบริโภคอาหารทีแ่ พ้อกี อาการ ถ้าไม่แพ้มากจะแสดงอาการต่างๆ ตามร่างกาย รวมทั้งคัดจมูก จาม แต่ถ้ารุนแรงอาจจะท้องเสีย อาเจียน บ้างกรณีอาจช็อคและเสียชีวิตจากการ หายใจ หรือระบบหัวใจหลอดเลือดล้มเหลว
2. โรคที่ติดเชื้อจุลชีพในอาหาร โรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคท้ อ งร่ ว ง กระเพาะอาหารและส�ำไส้ อั ก เสบ อหิ ว าตกโรค ไข้ ร ากสาดน้ อ ย ไข้ ร ากสาดเที ย ม โรคบิด และโรคตับอักเสบ โรคเอนเทอโรไวรัส เชื้อกลุ่มนี้มักท�ำให้ เกิดโรคเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ มีผื่นผิวหนัง อัมพาตกล้ามเนื้อ และมีการระบาดเป็นหย่อม เช่น กลุ่มในชุมชน โรคพยาธิใบไม้ปอด พยาธิระยะติดต่อ มั ก พบอยู ่ ใ นปู น�้ ำ จื ด พบในคนที่ ช อบบริ โ ภคปู ดิ บ อาการอาจรู้สึกอึดอัดหน้าอกในช่วงเช้า ไอมีเสมหะ เหนียว สีน�้ำตาลแกมแดงหรือเหลืองทอง
ที่มา www.healthcarethai.com/ภาวะมลพิษทางอาหาร/ ผลิใบ
19
Green Energy
น�้ำแข็งเชื้อเพลิง
ให้พลังงานมากกว่าก๊าซธรรมชาติ 160 เท่า น�ำ้ แข็งทีเ่ ผาไหม้ได้ หรือ Combustible Ice มีชอื่ ทางวิชาการคือ Gas Hydrate เป็นเชือ้ เพลิงแข็งทีม่ ลี กั ษณะคล้ายก้อนน�ำ้ แข็ง ที่เกิดจากแปรสภาพของก๊าซธรรมชาติและน�้ำภายใต้เงื่อนไขที่มีความดันสูงและอุณหภูมิต�่ำมาก เป็นเชื้อเพลิงรูปแบบใหม่ที่สะอาด และมีประสิทธิภาพสูง โดยก้อนน�ำ้ แข็งเชือ้ เพลิงขนาด 1 ลูกบาศก์เมตร สามารถคายก๊าซธรรมชาติออกมาได้กว่า 160 ลูกบาศก์เมตร โดยน�้ำแข็งเชื้อเพลิงนี้ถูกขุดพบหลังจากประเทศจีนได้ทดลองท�ำการขุดเจาะน�้ำแข็งที่เผาไหม้ให้พลังงานเชื้อเพลิงในทะเลจีนใต้ น�้ำแข็งเชื้อเพลิง ให้พลังงาน มากกว่าก๊าซธรรมชาติ 160 เท่า
น่านน�้ำจีน มีน�้ำแข็งเชื้อเพลิง ประมาณ 80,000 ล้านตัน
รองรับความต้องการใช้ พลังงานเชื้อเพลิงของ ประชากรจีนได้ 180 ปี
ปริมาณน�้ำแข็งเชื้อเพลิงทั่วโลก ทั่วโลก มีมากเพี ยงพอให้มนุษยชาติ มีน�้ำแข็งเชื้อเพลิง ใช้ได้นานถึง 1,000 ปี ประมาณ 2,100 ล้านล้าน ลูกบาศก์เมตร 20
ผลิใบ
ทั่ ว โลกมี ป ริ ม าณ “น�้ ำ แข็ ง เชื้ อ เพลิ ง ” ทั้งหมดราว 2,100 ล้ า นล้ า นลู ก บาศก์ เมตร โดย 97% อยู่ ใต้ก้นทะเลลึก ก า ร เ ผ า น�้ ำ แ ข็ ง เชื้ อ เพลิ ง ที่ ใ ห้ ก๊ า ซ ธรรมชาติ นี้ จะไม่ เหลือกากหรือเศษที่ ต้ อ ง ก� ำ จั ด ด้ ว ย นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ด้ า น พ ลั ง ง า น จึ ง ยกย่องให้ “น�้ำแข็ง เ ชื้ อ เ พ ลิ ง ” เ ป็ น พลังงานสะอาดแห่ง อนาคต
Let’s go Green
‘Via Verde Projeาcศt’ อาก น ใ ิ ษ พ ล ม ด ล ชว่ ย
ในเมก็ ซโิ ก
เ ดิ ม ที
เม็กซิโกซิตเี ป็นเมือง ที่มีมลภาวะสูงที่สุด ในโลกจากประกาศของ สหประชาชาติ ใ นปี 1992 เนื่ อ งจากสภาพภู มิ ป ระเทศ ถูกปกคลุมด้วยมลภาวะทางอากาศ ประกอบกับปริมาณการใช้ยานพาหนะที่ก่อให้เกิด มลพิษ จนทางเม็กซิโกเองต้องออกมาตรการบังคับใช้ตา่ งๆ เช่น งดใช้รถยนต์ทกุ วันเสาร์ จนในทีส่ ดุ เม็กซิโกก็ไม่ได้กลายเป็น ประเทศที่มีมลพิษสูงสุดอีกต่อไป
จนกระทัง่ ในปี 2016 ทีม่ ปี ระกาศเตือนภัยเรือ่ งมลภาวะใน อากาศอีกครั้ง ท�ำให้พลเมืองชาวเม็กซิโกร่วมกันเคลื่อนไหวผ่าน เว็บไซต์ change.org และมีการจัดตัง้ โครงการ ‘Via Verde’ หรือ Green Way โดยพวกเขามีแผนทีจ่ ะเปลีย่ นเสาไฮเวย์กว่าพันเสา ในเมืองหลวงให้กลายเป็นสวนแนวตั้ง เพื่อช่วยดูดซับมลพิษ รวมถึงสร้างทัศนียภาพอันเขียวชอุ่มและร่มรื่นให้กับ เมือง Fernandi Ortiz Monasterio สถาปนิกและผูอ้ ำ� นวยการโครงการ คาดการณ์วา่ สวนแนวตัง้ รอบเมืองนี้ จะเป็ น แหล่ ง ผลิ ต ออกซิ เ จน ขนาดใหญ่ เพียงพอส�ำหรับประชากร 25,000 คน พร้อมๆ ไปกับท�ำหน้าที่ กรองก๊าซพิษในอากาศจ�ำนวน 27,000 ตัน ฝุน่ ละออง 5,000 กิโลกรัม โลหะหนักกว่า 10,000 กิโลกรัม เป็นฉนวนป้องกันความร้อน ที่จะช่วยลดอุณหภูมิได้ 8 องศา เซลเซียส รวมถึงลดมลพิษ ทางเสียงได้ 10 เดซิเบล ต่อปี
ผลิใบ
21
ดาว ส่งเสริมการพัฒนาเด็กไทยสู่ความส�ำเร็จในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยทักษะการคิดตามแบบ EF EF กับคุณภาพเด็กไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0 จากการศึกษาวิจัยของนักวิทยาศาสตร์นานาชาติด้านประสาทวิทยา จิตวิทยา และการศึกษา พบว่าการพัฒนาศักยภาพของเด็กให้เป็นทุนมนุษย์ ที่มีคุณภาพเพื่อตอบโจทย์โลกยุคใหม่ให้ได้นั้น จ�ำเป็นต้องพัฒนาจากรากฐานความเข้าใจต่อธรรมชาติและการท�ำงานของสมองเป็นส�ำคัญ ประเด็นดังกล่าวเป็นหัวข้อที่นักวิชาการได้น�ำมาเสวนากัน ภายใน การประชุมวิชาการ EF Symposium 2017 เรื่อง “สมองเด็กไทย รากฐาน ทุนมนุษย์เพื่ออนาคตประเทศไทย” โดย โครงการ “ดาว-อีเอฟ พัฒนาเยาวชนสู่ความส�ำเร็จ เพื่อระยองผาสุก” เป็นหนึ่งในโครงการน�ำร่องที่ริเริ่ม โดยกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย และ 19 หน่วยงานในจังหวัดระยอง ประกอบไปด้วย ผู้น�ำชุมชน ครู อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บุคลากรทางด้านสาธารณสุข ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก และแกนน�ำจากภาคส่วนต่างๆ ทีไ่ ด้ดำ� เนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านการดูแลเด็กปฐมวัยในจังหวัดระยองด้วยองค์ความรู้ Executive Functions (EF) หรือทักษะสมอง เพื่อชีวิตที่ส�ำเร็จ
โครงการ “ดาว อี เ อฟ พั ฒ นาเยาวชนสู ่ ความส�ำเร็จ เพือ่ ระยองผาสุก” เป็นความตัง้ ใจของ กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย ในการให้การสนับสนุน การขับเคลื่อนองค์ความรู้ EF อย่างมีส่วนร่วมและ สอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทไทยเพื่ อ ให้ ทุ ก คนในสั ง คม ไปปรับใช้ทั้งกับตนเองและการดูแลเด็ก เพื่อสร้าง พลเมืองทีม่ คี ณ ุ ภาพและรากฐานการพัฒนาประเทศ ที่แข็งแกร่ง พร้อมรับยุคไทยแลนด์ 4.0 ทักษะที่เรียกว่า Executive Functions หรือ EF ซึ่งเป็นทักษะส�ำคัญที่ควบคุม IQ และ EQ ของมนุษย์อีกขั้นหนึ่ง มีการแบ่งเป็น 3 กลุ่มทักษะ
ได้แก่ กลุ่มทักษะพื้นฐาน กลุ่มทักษะก�ำกับตนเอง และกลุ่มทักษะปฏิบัติ อันจะสร้างนิสัยให้เด็กและ เยาวชนคิดเป็น ท�ำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับผู้อื่นเป็น และมีความสุขเป็น มีแนวโน้มที่จะ เป็นคนที่มีคุณภาพและประสบความส�ำเร็จในชีวิต ปัจจุบนั โครงการ “ดาว อีเอฟ พัฒนาเยาวชน สู่ความส�ำเร็จ เพื่อระยองผาสุก” มีสถานศึกษา เข้าร่วม 65 แห่ง สถานสาธารณสุข 11 แห่ง ทั้งนี้ ในปัจจุบันมีแกนน�ำวัคซีนชีวิตแล้วทั้งสิ้น 240 คน ซึ่งได้ร่วมกันขับเคลื่อนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริม อีเอฟในชุมชนจังหวัดระยองแล้วกว่า 60 กิจกรรม
รวมมีผู้ได้รับประโยชน์กว่า 60,000 คน ซึ่งความ ร่วมมือนีแ้ สดงให้เห็นถึงความเชือ่ มัน่ ว่าการบ่มเพาะ คนรุ่นใหม่ที่มีคณ ุ ภาพสูงจะช่วยขับเคลือ่ นประเทศ ให้ก้าวต่อไปได้อย่างเข้มแข็ง โดยเฉพาะในอนาคต ทีม่ แี นวโน้มการแข่งขันสูง ดังนั้นความมุ่งมั่นจดจ่อ และรู้จักผลักดันตนเองไปสู่เป้าหมายชีวิต ด้วยการ ใช้สติคดิ ไตร่ตรอง จะท�ำให้เยาวชนมีวสิ ยั ทัศน์กว้างไกล และสามารถประสบความส�ำเร็จในระยะยาวได้ อย่างมีความสุข
Let’s go Green
What the World Offer
แผนยุทธศาสตร์การจัดการสารเคมีแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555-2564) • ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาฐานข้อมูล กลไกและเครื่องมือในการจัดการสารเคมีอย่างเป็นระบบ และครบวงจร • ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพและบทบาทในการบริหารจัดการสารเคมีของทุกภาคส่วน • ยุทธศาสตร์ที่ 3 ลดความเสี่ยงอันตรายจากสารเคมี
• วัตถุประสงค์
1 เพื่ อ ให้ ก ารจั ด การสารเคมี ข องประเทศ เป็นระบบ ครอบคลุมทัง้ วงจรชีวติ ของสารเคมี และเหมาะสม กั บ บริ บ ทการพั ฒ นาระดั บ ประเทศและระดับสากล 2 เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ในการจัดการสารเคมีของประเทศ 3 เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากสารเคมีให้เหลือน้อยที่สุด
• เป้าหมาย
1 มีกลไกและระบบบริหารจัดการสารเคมีของ ประเทศ ทีค่ มุ้ ครองสุขภาพและความปลอดภัย ของประชาชนและสิ่งแวดล้อม 2 ทุ ก ภาคส่ ว นมี ศั ก ยภาพในการป้ อ งกั น และ ควบคุมผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจากสารเคมี 3 มีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการจัดการสารเคมี ของประเทศ
24
ผลิใบ
ในชีวิตประจ�ำวันของเรานั้นสามารถพบสารเคมีได้ท้ังในบ้าน โรงเรียน ร้านค้า และสถานที่ต่างๆ ซึ่งสารเคมีที่พบมักอยู่ในสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ที่เราใช้เป็นประจ�ำ เช่น น�้ำยาล้างจาน น�้ำยาล้างห้องน�้ำ ผลิตภัณฑ์ก�ำจัดยุง ฯลฯ ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้นอกจากจะมีสารเคมีที่เป็น ประโยชน์แล้ว แต่ก็มีโทษแฝงอยู่หากเราน�ำมาใช้โดยไม่ระมัดระวัง
สารเคมีอันตราย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. อันตรายด้านสุขภาพ รับสารเคมีอันตรายเข้าสู่ร่างกาย ทางจมูก โดยการหายใจหรือ สูดดม อาจท�ำให้ ระคายคอ ไอ คลื่นไส้ อาเจียน หายใจล�ำบาก
ทางปาก หากกลืนกิน อาจท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องเกร็ง แสบไหม้ในปาก คอ หลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ท�ำให้หมดสติ อาจถึงตายได้
ทางผิวหนัง หากสัมผัสจะท�ำให้ ระคายเคืองผิวหนัง ผิวหนังอักเสบ บวม แดง ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผล
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ที่มีสารเคมีอันตราย ต่อสุขภาพ
อาการ
น�้ำยาล้างจานชนิดน�้ำ เจล อาจท�ำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและดวงตาได้ และครีม หากกลืนกินอาจจะท�ำให้เจ็บปากและลิ้น คลื่นไส้ อาเจียน และท้องเสีย ผลิตภัณฑ์ล้างห้องน�้ำ
เมื่อสัมผัสกับผิวหนังอาจท�ำให้ผิวหนังอักเสบ บวม แดง ปวดแสบปวดร้ อ น ถ้ า หายใจเอาไอของสารเข้ า ไปใน ปริมาณมาก หรือเป็นระยะเวลานานๆ อาจท�ำให้มีอาการ ไอ หรือหายใจล�ำบาก
ผลิตภัณฑ์ก�ำจัดสิ่งอุดตัน
หากสัมผัสหรือถูกดวงตาจะท�ำให้เกิดการระคายเคือง อย่างรุนแรง เป็นแผลแสบไหม้ อาจท�ำให้มองไม่เห็นถึงขั้น ตาบอดได้ ถ้ า ถู ก ผิ ว หนั ง จะท� ำ ให้ ร ะคายเคื อ งมาก จนอาจท�ำให้ผิวหนังไหม้พุพองได้
ลูกเหม็น
ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ หากกลืนกินจะท�ำให้ อาเจียน มึนงง ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและล�ำไส้ ท�ำลายเม็ดเลือดแดง
ผลิตภัณฑ์ฟอกขาว
ระคายเคืองต่อผิวหนัง ดวงตา และระบบทางเดินหายใจ
ผลิตภัณฑ์ทากันยุง
มีสารเคมีที่ท�ำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดิน หายใจ ผิวหนัง และดวงตา หากกลืนกินอาจท�ำให้ชักได้
ยาจุดกันยุง
หากสู ด ดมไอระเหยเข้ า ไปในปริ ม าณสู ง หรื อ กลื น กิ น จะท�ำให้เกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้อ กระตุก อ่อนเพลีย ชัก หมดสติ หรืออาจเสียชีวิตได้
ยาเบื่อหนู
ให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรงต่อทางเดินอาหาร ท�ำให้ปวดท้อง บางชนิดกินเข้าไปท�ำให้เลือดไหลไม่หยุด ปัสสาวะและอุจจาระเป็นเลือด
ผลิตภัณฑ์กำ� จัดยุง แมลงสาบ ท�ำให้เกิดความระคายเคืองเมื่อสัมผัสผิวหนัง หากหายใจ ปลวก มด มอด เข้าไปจะท�ำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก ตัวซีด ชัก หัวใจเต้นผิดปกติ สารเคมีก�ำจัดแมลงบางชนิด สามารถท�ำให้เกิดมะเร็งได้
ผลิใบ
25
2. อันตรายด้านกายภาพ อันตรายด้านกายภาพ สารเคมีทที่ ำ� ให้เกิดความร้อน ความเย็น แสง เสียง ฝุ่น รังสี แรงสั่นสะเทือน และแรงดัน อากาศ สารเคมีเหล่านี้อาจมีลักษณะเป็น ของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ เมื่อบรรจุอยู่ ในภาชนะที่ ป ิ ด หากได้ รั บ ความร้ อ นสู ง อาจระเบิ ด และท� ำ ให้ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ ไ ด้ เนื่ อ งจากการเปลี่ ย นแปลงทางเคมี ข อง สารเคมีบางชนิดจะท�ำให้เกิดก๊าซไวไฟหรือ สารไวไฟ เมื่ อ สั ม ผั ส กั บ ความร้ อ นหรื อ ประกายไฟก็จะท�ำให้ติดไฟได้
ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่มี สารเคมีที่เป็นอันตราย ด้านกายภาพ
อาการ
ก๊าซหุงต้ม ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือก๊าซแอลพีจี
หากก๊าซรั่วไหลในบริเวณที่มีเปลวไฟจะท�ำให้เกิดไฟไหม้ได้ เมื่อสูดดมก๊าซชนิดนี้ จะไปแทนที่ก๊าซออกซิเจนในร่างกาย ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนในร่างกายลดลง เกิดผลเสียต่อระบบทางเดินหายใจ
สเปรย์หอมปรับอากาศ มีสารไวไฟสูง ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์นใี้ กล้บริเวณทีม่ เี ปลวไฟ ควรใช้ในทีท่ มี่ อี ากาศถ่ายเท และไม่ควรเก็บกระป๋องสเปรย์ไว้ภายในรถยนต์ที่อยู่กลางแดด แบตเตอรี่
สารละลายที่ อ ยู ่ ข ้ า งในแบตเตอรี่ จ ะปล่ อ ยก๊ า ซไฮโดรเจนที่ ส ามารถติ ด ไฟและ เกิดระเบิดได้ ก๊าซที่ระเหยออกมาเป็นสารกัดกร่อนรุนแรง เมื่อสัมผัสจะท�ำให้ ระคายเคือง เกิดแผลและรอยไหม้ด�ำบนผิวหนัง หากเข้าดวงตาจะท�ำให้ตาบอด
สี
มีสว่ นผสมของตัวท�ำละลายซึง่ เป็นสารไวไฟ ท�ำให้เกิดไฟไหม้ได้ สีทบี่ รรจุอยูใ่ นภาชนะ ที่ปิด หากได้รับความร้อนสูงก็อาจเกิดการระเบิดได้
ลูกโป่งที่อัดด้วย ก๊าซไฮโดรเจน
ไม่ควรให้ลูกโป่งอยู่ใกล้ประกายไฟจากเทียน บุหรี่ หรือสัมผัสหลอดไฟนีออน เพราะถ้าลูกโป่งนั้นอัดด้วยก๊าซไฮโดรเจนจะท�ำให้เกิดไฟไหม้และระเบิดขึ้นได้
3. อันตรายด้านสิ่งแวดล้อม อันตรายด้านสิ่งแวดล้อม อันตรายด้านสิง่ แวดล้อม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ ที่ มี ส ารเคมี อั น ตรายทุ ก ชนิ ด หากทิ้ ง ลงสู ่ แหล่งน�้ำ เกิดการปนเปื้อนจะมีผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตในน�้ำ เป็นพิษต่อปลาและสัตว์ในน�้ำ ชนิดอื่นๆ รวมถึงคนเราก็จะไม่สามารถน�ำน�้ำ และสัตว์นำ�้ มาบริโภคได้ จะท�ำให้เกิดอันตราย ต่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น มากมายและจะแก้ ไขให้ แหล่งน�้ำกลับมาดีเหมือนเดิมได้ยาก เราจึง ไม่ควรทิง้ สารเคมีและภาชนะทีบ่ รรจุสารเคมี ที่ใช้แล้วลงแม่น�้ำ ล�ำคลอง หรือแหล่งน�้ำ ควรแยกเก็บไว้ เพื่อน�ำไปก�ำจัดอย่างถูกวิธี
26
ผลิใบ
ตัวอย่างขยะอันตราย หรือ ขยะมีพิษ กระป๋องสเปรย์บรรจุ - สีหรือสารเคมี - ก�ำจัดแมลง ภาชนะบรรจุ - น�้ำยาล้างห้องน�้ำ - น�้ำยาท�ำความสะอาด ภาชนะบรรจุสารก�ำจัดศัตรูพืช ที่ใช้ในไร่นา ยาหมดอายุ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือ
การก�ำจัดขยะอันตรายและขยะมีพิษ ไม่ควรท�ำ ห้ามน�ำขยะอันตรายหรือขยะมีพิษ ไปเผา ห้ามน�ำขยะอันตรายหรือขยะมีพิษ ไปฝังดิน ห้ามเทสารเคมีที่เหลือหรือ ทิ้งภาชนะบรรจุลงในแม่น�้ำ ล�ำคลอง หรือท่อระบายน�้ำ ห้ามทุบกระป๋องสเปรย์ หรือหลอดไฟ ห้ามน�ำภาชนะบรรจุกลับมาใช้อีก ห้ามน�ำมาบรรจุอาหาร น�้ำดื่ม ห้ามทิ้งขยะอันตราย หรือขยะมีพิษ รวมกับขยะอื่นๆ
ควรท�ำ แยกทิ้งขยะอันตราย หรือขยะมีพิษ ลงในถังเก็บขยะเฉพาะเป็นถังสีแดง ที่มีป้ายว่า “ขยะอันตราย” เพื่อให้ หน่วยงานท้องถิ่นเก็บขนไปก�ำจัด อย่างถูกวิธี
สัญลักษณ์อันตรายของสารเคมี สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย หมายถึง สิ่งที่ใช้แทนความหมาย หรือใช้แทนข้อความเพื่อให้คนเข้าใจไปในทางเดียวกัน สัญลักษณ์อันตรายของสารเคมี เป็น รูป ภาพทีช่วยให้ผู้ผลิต และผู้ใช้ผลิตภัณฑ์เข้าใจความหมายตรงกัน แม้จะพูดกันคนละภาษาก็ตาม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรู้ของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ด้วยว่า มีความเข้าใจในสัญลักษณ์ที่ใช้บนฉลากผลิตภัณฑ์มากเพียงใด ดังนั้น เพื่อความปลอดภัย น้องๆ จึงควรจดจ�ำและท�ำความเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์ให้ได้อย่างถูกต้อง ประเภทสารอันตราย อันตรายด้านสุขภาพ
สัญลักษณ์
ความหมาย ไวต่อการกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ของระบบทางเดินหายใจ การกลายพันธุ์ของเซลล์สืบพันธุ์ ก่อมะเร็ง เป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ เป็นพิษเจาะจงต่ออวัยวะเฉพาะบางระบบจากการสัมผัสครั้งเดียว เป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมาย-การได้รับสัมผัสซ�้ำ อันตรายต่อระบบทางเดินหายใจส่วนล่างหรือท�ำให้ปอดอักเสบ ความเป็นพิษเฉียบพลัน
ความเป็นพิษเฉียบพลัน ระคายเคืองผิวหนัง ระคายเคืองต่อดวงตา ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อผิวหนัง เป็นพิษเจาะจงต่ออวัยวะเฉพาะบางระบบจากการสัมผัสครั้งเดียว กัดกร่อนผิวหนังรุนแรง
อันตรายด้านกายภาพ
ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี จนเกิดไฟไหม้ได้ เช่น สารไวไฟ ละอองลอยไวไฟ สารที่ท�ำปฏิกิริยาได้เอง สารที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ สารที่เกิดความร้อนได้เอง สารเพอร์ออกไซด์อินทรีย์ สารที่สัมผัสน�้ำแล้วท�ำให้เกิดก๊าซไวไฟ
ผลิใบ
27
ประเภทสารอันตราย อันตรายด้านกายภาพ (ต่อ)
สัญลักษณ์
ความหมาย สารออกซิไดซ์ (สารให้ออกซิเจน) อาจท�ำให้เกิดไฟไหม้
ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี จนเกิดระเบิดได้ เช่น วัตถุระเบิด สารที่ท�ำปฏิกิริยาได้เอง สารเพอร์ออกไซด์อินทรีย์ ก๊าซภายใต้ความดัน อาจระเบิด เมื่อได้รับความร้อน
อันตรายด้านสิ่งแวดล้อม
กัดกร่อนโลหะ
เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมทางน�้ำ
ท�ำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ ท�ำให้ลดการดูดซับรังสี UVB เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งผิวหนัง โรคตาต้อกระจก และมีผลต่อสิ่งแวดล้อม
28
ผลิใบ
Grew the Earth
พืชแปลกในเมืองไทย ดอกเทียนนกแก้ว
ดอกเที ย นนกแก้ ว เป็ น พื ช หายากชนิ ด หนึ่ ง พบเฉพาะที่ สู ง ทางภาคเหนื อ ของประเทศไทย เป็นพืชล้มลุก ล�ำต้นอวบน�้ำ สูงประมาณ 0.5 – 1.5 เมตร ดอกมีรปู ทรงสวยงามเหมือนนกแก้ว สีมว่ งแกมแดงและขาว ขนาด 2 – 3 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายนของทุกปี
ว่านค้างคาวด�ำ
ว่านค้างคาวด�ำมีชอื่ เรียกหลายชือ่ เช่น ว่านหัวลา ว่านพังพอน ว่านนางครวญ และ มังกรด�ำ พบในป่าดิบแล้งและป่าดิบชืน้ เป็นไม้ลม้ ลุก มีเหง้าใต้ดนิ ดอกสีมว่ งด�ำ ก้ า นใบแผ่ เ ป็ น ครี บ ดอกคล้ า ยค้ า งคาวบิ น มี ใ บประดั บ กลมยาวสี ม ่ ว งด� ำ เหมือนหนวดแมวประมาณ 10 – 25 เส้น นิยมปลูกเป็นไม้ประดับและน�ำมาต้มดืม่ เป็นสมุนไพรบ�ำรุงก�ำลัง
ลิลลี่งูเห่า
เป็นพืชกินแมลงที่เลี้ยงยากที่สุดในโลก มีรากแตกเป็นฝอยเล็กๆ ไม่มีรากแก้ว ใบมีลักษณะแทงขึ้นพ้นพื้นดินเป็นกอคล้ายงูเห่า จับแมลงโดยใช้กลิ่นหอมของ น�้ำหวานหลอกล่อให้แมลงบินเข้าไป เมื่อแมลงมองเข้าไปด้านในจะเห็นแสงสว่าง ส่องมาจากด้านบน ท�ำให้คิดว่าเป็นท้องฟ้า แต่ว่าแมลงก็ไม่สามารถเดินกลับ ออกมาด้านนอกได้เพราะมีขนแหลมภายในกรวยคอยทิ่มอยู่
จอกบ่วาย
จัดอยู่ในกลุ่มพืชกินแมลง พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ใบเป็นแผ่นมนรีลกั ษณะคล้ายช้อนเรียงกันเป็นรูปวงกลม มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1.5 – 3 เซนติเมตร ช่วงต้นฤดูฝนใบมีสีเขียว แต่ในช่วงปลายฤดูฝน ใบจะมีสแี ดงเรือ่ ตามขอบใบ บนใบจะมีขนเล็กๆ จ�ำนวนมากซึง่ มีนำ�้ หวานเหนียวๆ คล้ายหยาดน�้ำค้างที่ใช้ดักจับมดแมลงไว้เป็นอาหาร อีกชื่อหนึ่งของจอกบ่วายคือ ‘หยาดน�้ำค้าง’
ผลิใบ
29
Evolution Fun Facts
1 9 9 6 1 9 8 2 1 9 6 2
1 9 5 4
1 MP3 สามารถบีบอัดไฟล์ 9 เสียงให้มีขนาดเล็ก 9 และส่งผ่านทาง อินเทอร์เน็ตได้ 8
DVD Digital Video Disc หรือ Digital Versatile Disc จุข้อมูลได้มากกว่า CD หลายเท่าตัว
1 8 7 7
CD Sony และ Philips แนะน�ำ Compact Disc สู่ตลาด ซีดีกลายเป็นอุปกรณ์ บันทึกข้อมูลดิจิทัลได้ หลายประเภท
Cassette Tapes การบันทึกเสียงบนแถบแม่เหล็ก ได้รับความนิยม เนื่องจาก สามารถพกพาได้ใช้กับรถยนต์ และ “Sony Walkman” เครื่องเล่นเทปแบบพกพา ยอดฮิตในยุคนั้น Stereo มีการท�ำเครื่องบันทึกเสียง สเตอริโอที่สามารถแยกเสียง ซ้ายขวา เพิ่มมิติในการฟัง แผ่นเสียงสเตอริโอเข้ามา แทนที่การบันทึกเสียงแบบ โมโนที่มีเสียงเป็นก้อนๆ อันเดียว
2 0 0 1
Phonograph
โทมัส เอดิสัน (Thomas Adison) ประดิษฐ์ เครื่องบันทึกเสียงเครื่องแรก โดยใช้หัวเข็ม 2 เข็มบนแท่งดีบุกทรงกระบอก เข็มหนึ่ง ส�ำหรับการบันทึกและอีกเข็มส�ำหรับการเปิดฟัง ค�ำแรกที่บันทึกคือ “Mary had a little lamb”
ประวัติศาสตร์ เครื่องบันทึกเสียง
1 9 4 8
iPod Apple วางตลาด เครื่องเล่น MP3 แบบพกพาพร้อมความ จุมหาศาล ภายใต้ชื่อ iPod
Vinyl แผ่นเสียงไวนิลเริ่มครอง ตลาด เพราะทนและ ยืดหยุ่นกว่าแผ่นครั่ง บันทึกเสียงได้มากกว่า แถมมีเสียงรบกวนน้อย กว่า น�้ำหนักเบากว่า
1 8 8 6
1 8 8 7
Graphaphone อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell) ชิเชสเตอร์ เบลล์ (Chichester Bell) และ ชาร์ลส์ เทนเทอร์ (Charles Tainter) ประดิษฐ์ Graphaphone ซึ่งดัดแปลงมา จาก Phonograph โดยเปลี่ยน แท่งกระบอกดีบุก เป็นกระบอก กระดาษเคลือบขี้ผึ้ง
Gramophone อีมิล เบอร์ไลเนอร์ (Emile Berliner) เริ่มบันทึกเสียงบน แผ่นเสียงที่ท�ำจากครั่ง โดยบันทึก ร่องเสียงลงไปในแนวนอนแทน แนวตั้งแบบแท่งทรงกระบอก และ เริ่มคิดค้นการผลิตเป็นอุตสาหกรรม
ข้อมูลจาก... www.britannica.com/EBchecked/topic/457279/phonograph/images-videos www.davidwallace.com/images/evolution-music-formats.jpg www.timetoast.com/timelines/51727 30 ผลิใบ
ผลกระทบของโรงไฟฟ้าถ่านหิน
On the Move
ยังมีคนอีกมากมายที่ยังไม่รู้ผลกระทบที่เกิดจากการเผาไหม้ถ่านหิน เป็นการปล่อยมลพิษทางอากาศที่รุนแรงอย่างมาก โรงไฟฟ้าถ่านหินแต่ละโรงนั้นต่างท�ำให้เกิดสารพิษตกค้างทั้งในดิน แหล่งน�้ำ รวมทั้งมลพิษทางอากาศที่ระบายออกมา ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และระดับโลก เราลองมาท�ำความรู้จักกับอันตรายที่แฝงมากับถ่านหินที่ส่งผลต่อสุขภาพผู้คน ก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วย หรืออาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนี้
โรงไฟฟ้าถ่านหิน กลุ่มของมลพิษ ทางอากาศ
ชนิดของมลพิษ
กรดก๊าซ
ไฮโดรเจนคลอไรด์ ไฮโดรเจนฟลูออไรด์
ไดออกซินและ ฟูราน
2,3,7,8 เตทตรา คลอโรไดออกซิน
ปรอท
เมทิลเมอร์คิวรี่
สารโลหะไม่มี สารปรอทและ เมทัลลอยด์ สาร ไฮโดรคาร์บอน ที่มีกลิ่นหอม
อาร์เซนิก เบอริลเลี่ยม แคดเมี่ยม โครเมี่ยม นิกเกิล เซเลเนี่ยม แมงกานีส แนพธาลีน เบนโซ เอแอนทราซีน เบนโซ เอไพรีน เบนโซ บี ฟลูรนั ธีน ไครซีนไดเบนโน เอ แอนทราซีน
เรเดียม ไอโซโทป กัมมันตรังสี สารไอระเหย ง่าย
ยูเรเนียม อโรมาติกไฮโดร คาร์บอน รวมเบนซีน โทลูอีน เอทธิลเบนซีน ไซลีน อัลดีไฮด์ และ ฟอร์มัลดีไฮด์
ความเป็นอันตราย ต่อสิ่งแวดล้อม
ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
กรดท�ำลายพันธุ์พืชต่างๆ ป่าไม้ สะสมในแม่น�้ำ ทะเลสาบและ มหาสมุทร มีผลห่วงโซ่อาหาร มีผลต่อปลาและสิ่งมีชีวิต สะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร สารก่อมะเร็ง : ปอด กระเพาะปัสสาวะ ไต ผิวหนัง มีผลต่อพืชและสัตว์ มีผลต่อ อาจส่งผลต่อการรับรู้ ความจ�ำ และพฤติกรรมต่างๆ ระบบนิเวศในน�้ำและดิน การระคายเคืองต่อผิวหนัง ตา จมูก คอ ระบบทางเดินหายใจ สามารถเป็นสารก่อมะเร็ง ก้อนเนื้อมะเร็ง ท�ำลายระบบภูมิคุ้มกัน ท�ำลายสมอง ระบบประสาท ตับและไต มีผลต่อข้อบกพร่องของการคลอด
สามารถเป็นสารก่อมะเร็ง สะสมต่อปอด มีผลต่อตับ ไต และปุ่มรับรส มีผลเสียต่ออสุจิ และการสร้างพัฒนาการในการสืบพันธุ์ สารก่อมะเร็ง : ปอด และกระดูก ภาวะปอดอักเสบ ภาวะโลหิตจาง ผลต่อสมอง สารก่อมะเร็ง : ปอด และระบบเกี่ยวกับ ต่อมน�้ำเหลือง ระบบไต
อยู่ในไอระเหย และฝุ่นสะสม ในดินและตะกอน
ระคายเคืองต่อผิวหนัง ตา จมูก และคอ ท�ำให้ หายใจล�ำบาก ท�ำลายระบบปอด การตอบสนอง ช้าลง ความจ�ำเสื่อม ไม่สบายท้อง มีผลต่อตับและไต อาจมีผลต่อระบบประสาท เบนซีนเป็นสารก่อมะเร็ง สามารถเป็นสารก่อมะเร็ง ระคายเคืองตา จมูก และคอ อาการผิดปกติต่อระบบหายใจ
ท�ำให้ลดปฏิกิริยาเคมี ต่อบรรยากาศและ กระจายคาร์บอนสู่พื้นดิน และโอโซน มีผลต่อระบบสุขภาพ
เผยแพร่โดยหน่วยงานสารพิษและระบบโรคและองค์การอนามัยโลก (ATSDR, 2011 ; WHO, 2011)
สะสมในน�้ำ ทะเล มีผลต่อปลาและสิ่งมีชีวิต สามารถสะสมอยู่ ในห่วงโซ่อาหาร
ข้อมูลโดย ww.prachatai.com/journal/2012/07/41506
ผลิใบ
31
Think Out of the Box
โครงการ “เปลี่ยนขยะเป็นอนาคต” ช่วยเหลือผู้บกพร่อง ช่วยเหลือสังคม
เป็นอีกโครงการที่จัดขึ้นเพื่อนึกถึงการจัดการขยะ อย่างยัง่ ยืน ซึง่ บริษทั เอ็ม บี เค จ�ำกัด (มหาชน) ได้เปิดตัว โครงการ “เปลีย่ นขยะเป็นอนาคต” ซึง่ ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลัก คือ
กิจกรรมที่ 1 “ซุกสุขสิ้นเดือน” ซึ่งจัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้พนักงานรู้คุณค่ารู้จักการคัดแยกขยะในแต่ละประเภท เช่น กระดาษ และขวดน�้ำพลาสติกมาแลกเป็นของกินของใช้ในทุกสิ้นเดือน ในเวลา 5 เดือนสามารถคัดแยกขยะได้ถึง 2 ตัน บริษัทฯ จึงน�ำกระดาษมาใช้เป็นวัตถุดิบหลักในโครงการเปลี่ยนขยะเป็นอนาคต กิจกรรมที่ 2 การประกวด “WOW Design Awards 2017” เวทีสร้างสรรค์ส�ำหรับคนรุ่นใหม่ ในการเปลี่ยนกระดาษ ให้เป็นของขวัญเพื่อการแบ่งปัน ซึ่งผลงานจะอยู่ภายใต้ชื่อแบรนด์ว้าว (WOW: Worth of Waste) วางจ�ำหน่ายที่โซเชียล คอร์เนอร์แห่งแรกของบริษัทฯ ที่ศูนย์การค้าเอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ ซึ่งของไร้ค่าที่แปลงเป็นรายได้ที่ได้จากการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่าย จะส่งต่อเพื่อช่วยเหลือ ส่งเสริม ทักษะและพัฒนาการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้บกพร่องทางสติปัญญาของมูลนิธิเพื่อสถาบันราชานุกูลต่อไป FLIPER ออกแบบโดย กมลนัทธ์ ธุวโรจน์สกุล และตรีสวุ ชั ช์ หอนรเศรษฐ์กลุ (ทีม re-please) การน�ำคุณสมบัตคิ วามโปร่งแสง มาออกแบบ เป็นโคมไฟทีม่ ดี ไี ซน์หลากหลายไม่ซ�้ำใคร
28 P ออกแบบโดย ณัฐกานต์ เหมพานนท์ (ทีม Domino) 28 P มาจาก 28 pieces หรื อ จ�ำนวนโดมิ โ นในกล่ อ ง 28 ชิ้ น น�ำกระดาษเหลือใช้ทไี่ ร้คา่ มาเป็นวัตถุดบิ ในการผลิต สร้างมูลค่าได้อีกครั้ง Kadas ออกแบบโดย พลอยพรรณ ธีรชัย และเดชา อรรจนานันท์ (Thinkk Studio) แนวคิดการออกแบบจากขยะโดยไม่สร้าง ขยะ ขึ้ น รู ป ทรงและสี สั น ผลงานจาก ของใช้ประจ�ำวันจากธรรมชาติ
32
Belephant ออกแบบโดย ธนิษฐ์ วชิรปราการสกุล (MOHO Studio) ค�ำว่า Believe ความเชือ่ มัน่ บวกค�ำว่า Elephant ช้าง เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ภายใต้แนวคิดการ พับกระดาษแบบ Geometric Shape ผลิใบ
Manna ออกแบบโดย จักรกฤษณ์ อนันตกุล (Graphic Designer) แรงบั น ดาลใจจาก ฟิงเกอร์บอร์ด สู่งาน ส ต รี ท อ า ร ์ ต แ ล ะ คาแรคเตอร์ โดยให้ผู้ ที่ชมผลงานเกิดความ สุขทุกครั้ง
ROCKS PAPERS SISTERS ออกแบบ โดย สุรัชนา ภควลีธร และแพร สฤษดิชยั นันทา (ทีม Local Ateliers) บั ง เ อิ ญ เ จ อ ส มุ ด ที่ ถูกปลวกกิน จึงเห็น ความงามและน�ำมา เ ป ็ น ไ อ เ ดี ย ใ น ก า ร ออกแบบ
ข้อมูลและภาพจาก... www.amarintv.com/news-update/news-4210-2/106270 www.facebook.com/mbkwowdesign
Young Artist
ผลงานผู้เข้าร่วมโครงการ Young Creative Environment Artist (Season 2)
ด.ช. พัสกร โดยด่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน อัสสัมชัญ ศรีราชา
ด.ญ. นิชาภัทร อยู่สามารถ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน สาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) ด.ช. ทัศพล ณ บางช้าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน อัสสัมชัญ ศรีราชา ผลิใบ
33
Green Mind
10 ตัวการก่อให้ "มลพิษทางอากาศ" โลกร้อนขึ้น ส่วนหนึ่งก็มาจากมลพิษที่ได้ก่อตัวเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีข้อมูลที่ได้แสดงถึง สารเคมีที่เป็นตัวการหลักในการก่อให้เกิด "มลพิษทางอากาศ" ดังนี้ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide : SO2) โดยโรงไฟฟ้าถ่านหินเป็นตัวการหลัก ในการปล่อยแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งก่อให้เกิดควันพิษ ฝนกรด และปัญหาสุขภาพตามมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคปอดอักเสบ
1
2
คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monooxide : CO) จัดเป็นแก๊สที่มีความอันตรายสูงชนิดหนึ่ง เกิดจาก การเผาไหม้พลังงานฟอสซิลทีไ่ ม่สมบูรณ์ อาจมีแหล่งก�ำเนิดมาจากเครือ่ งยนต์ของรถทีเ่ ก่าเกินไป รวมถึง สามารถเกิดขึ้นได้ภายในที่อยู่อาศัย
3
คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide : CO2) แก๊สชนิดนี้เป็นแก๊สที่เป็นประโยชน์ ต่อสิ่งมีชีวิต แต่อย่างไรก็ตาม CO2 จัดว่าเป็นแก๊สเรือนกระจกชนิดหนึ่ง ถูกปลดปล่อยสู่ ชั้นบรรยากาศเป็นปัจจัยที่ให้เกิดภาวะโลกร้อน และสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง สารประกอบไนโตรเจนออกไซด์ (Oxide of Nitrogen : NOx) เป็นสารก่อมลพิษ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางอ้ อ มจากขบวนการเผาไหม้ เป็ น ตั ว การส�ำคั ญ ในการเกิ ด ฝนกรด แก๊สโอโซน และควันพิษ
4
สารอินทรีย์ระเหย จะก่อตัวเป็นโอโซนภาคพื้นดิน ซึ่งจะกลายเป็นมลพิษ ที่ส่งผลต่อสุขภาพระยะยาวในสิ่งมีชีวิต เช่น สีทาบ้าน ผลิตภัณฑ์เคลือบเงา ต่างๆ และผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาด เป็นต้น
5 6
อนุภาคต่างๆ เรามักเรียกว่า ฝุ่นละออง มักลอยตัวอยู่ในอากาศ ในทางวิทยาศาสตร์จะแทนขนาดอนุภาคด้วยตัวอักษร PM แล้วตาม ด้วยตัวเลข เช่น PM25 หมายถึง ในอากาศเจือปนด้วยอนุภาคขนาด เล็กกว่าหรือเท่ากับ 25 ไมโครเมตร แก๊สโอโซน หรือไตรออกซิเจน (O3) เกิดจากการท�ำปฏิกิริยา กันของธาตุออกซิเจน 3 อะตอม แก๊สโอโซนบนภาคพื้นดิน เป็นสารก่อมลพิษทีส่ ง่ ผลต่อสุขภาพของสิง่ มีชวี ติ ทัง้ พืชและสัตว์
7 8 34
ผลิใบ
คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (CFCs หรือ Chlorofluoro Carbons) เป็นสารเคมีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุปกรณ์ ท�ำความเย็น และบรรจุในกระป๋องสเปรย์ต่างๆ มีผลงาน ทางวิชาการยืนยันว่า สาร CFCs เป็นตัวการท�ำลายโอโซน ในชั้นบรรยากาศ
การควบคุม มลพิษอย่างไร ไม่ให้ โลกร้อนขึน้ อาจท�ำได้ ดังนี้ 1. ร่วมกันควบคุมการใช้เชื้อเพลิง เพื่อลด สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกไซด์ ของคาร์บอนไนโตรเจน ไฮโดรคาร์บอนที่เผา ไหม้ไม่สมบูรณ์ โดย สารประกอบไฮโดร คาร์บอนกลุ่มนี้จะกลายเป็นแก๊สพิษ อย่ า งคาร์ บ อนมอนอกไซด์ หรื อ สารอื่นๆ ที่แขวนลอยอยู่ในอากาศ
9
ตะกั่ ว และโลหะหนั ก ชนิดต่างๆ สามารถ แพร่กระจายไปใน อากาศได้ในรูปของสารประกอบที่ เป็นพิษ และละอองสเปรย์ โดยส่วน ใหญ่มแี หล่งก�ำเนิดมาจากเตาเผาขยะ หรือบ่อขยะที่ขาดประสิทธิภาพ
10
2. ลดการผลิตสารสังเคราะห์บางตัว เช่น ได้มีข้อตกลง ที่จะควบคุมการผลิต และใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอนทั่วโลก เพราะสารนี้จะไม่สลายก๊าซโอโซน 3. ร่วมกันรณรงค์ให้มีการประหยัดพลังงานไฟฟ้า เพื่อจะได้ช่วยลด การใช้เชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า 4. รณรงค์ให้มีการปลูกป่าทดแทน และไม่ตัดไม้ท�ำลายป่า เพราะป่า ช่วยลดมลพิษได้
ข้อมูลจาก www.ngthai.com/science/8134/10-principalmake-air-pollution www.saranukromthai.or.th/sub/book/book. php?book=15&chap=10&page=t15-10-infodetail08. html ผลิใบ
35
Young Storyteller
รางวัลชมเชย จากโครงการนักเขียนรุ่นเยาว์ ปี 9 นายวรปรัชญ์ สุขเสน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนนารีรัตน์ จังหวัดแพร่
ฉลากสิ่งแวดล้อมกับเยาวชนไทย ท�ำไมสินค้าต้องมี “ฉลากสิ่งแวดล้อม” ค�ำถามนี้เป็นสิ่งที่สังคมไทยต้องตระหนักและให้ความส�ำคัญ ความเอาใจใส่ในการรักษา สิง่ แวดล้อมด้วยมือน้อยๆ ของเยาวชนไทยซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ �ำเป็นเพราะมลพิษรวมทัง้ สารเคมีตกค้างจากขัน้ ตอนการผลิตต่างๆ และการบริโภค เป็นสาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก การสะสมของกรด การสูญพันธุ์ของชนิดพันธุ์ต่างๆ ทั้งพืชและ สัตว์และเกิดปัญหาสุขภาพอนามัยในหมู่มนุษย์ “ฉลากสิ่งแวดล้อม” จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่เห็นว่ามีความจ�ำเป็นที่จะต้องฟื้นฟูและรักษา สภาพสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนาประเทศ อันจะน�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
ฉลากสิ่งแวดล้อม หมายถึง ฉลากที่ ก�ำกับผลิตภัณฑ์หรือบริการว่าเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม โดยในกระบวนการผลิตหรือใช้ งานสามารถลดการใช้ทรัพยากรหรือลดการ ก่อมลพิษ เป็นกลไลการสือ่ สารและบ่งบอก ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมของผลิตภัณฑ์ ให้แก่ผู้บริโภครับทราบ เป็นฉลากที่มอบให้ แก่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อมน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่ท�ำหน้าที่ อย่างเดียวกันเป็นข้อมูลที่ท�ำให้ผู้บริโภค ทราบว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ นั้ น เน้ น คุ ณ ค่ า ทาง สิ่งแวดล้อมและสามารถเลือกซื้อสินค้าและ บริ ก ารที่ ช ่ ว ยลดผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เกิดจากบริโภคทรัพยากรของตนในขณะที่ ผู้ผลิตก็จะได้รับผลประโยชน์ในแง่ก�ำไรจาก การลดต้นทุนที่เกิดจากการลดทรัพยากร
36
ผลิใบ
พลังงาน และของเสีย ในการผลิตสินค้า หรือให้บริการ โลกในยุ ค ปั จ จุ บั น ประสบกั บ ปั ญ หา ปรากฏการณ์เรือนกระจกซึง่ ท�ำลายชัน้ โอโซน เกิดจากการเผาท�ำลายวัสดุทยี่ อ่ ยสลายยาก และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่เกิดจาก อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ นอกจากนีก้ ารเพิม่ จ�ำนวนพลเมื อ งโลกท�ำให้ ก ารบริ โ ภค ทรัพยากรธรรมชาติเป็นไปอย่างรวดเร็ว และเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล การผลิตสินค้า ให้ ไ ด้ จ�ำนวนมากด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ ทั น สมั ย ท�ำให้เกิดสารพิษตกค้างมากมาย ทั้งจาก ภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดย มาจากอุตสาหกรรมผลิตสารเคมี การผลิต พลังงานท�ำเหมือง อุตสาหกรรมกระดาษ และเยื่อกระดาษ อุตสาหกรรมเครื่องหนัง
และสิง่ ทอ เป็นต้น ปัญหาทีเ่ ราต้องคิดก็คอื ของเสียเหล่านี้มีวิธีการก�ำจัดอย่างไรถึงมี ผลเสียน้อยที่สุด ฉลากสิ่งแวดล้อม เป็นฉลากที่มีให้ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ม่ ป ล่ อ ยสารเคมี ห รื อ กากสารพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม ประหยัด พลังงานและทรัพยากรระหว่างการผลิต การขนส่งและการใช้งาน อีกทัง้ ไม่เป็นภาระ ในการก�ำจัดหลังทิ้งและไม่ก่อให้เกิดขยะ มากนั ก ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม น้อยกว่าเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ท�ำหน้าที่ อย่างเดียวกัน การมีฉลากสิง่ แวดล้อมติดอยู่ กับสินค้าจะเป็นทางเลือกใหม่ของเราในการ เลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเป็นข้อมูลให้ผบ้ ู ริโภคทราบว่าผลิตภัณฑ์นนั้
นอกจากจะมีคุณภาพแล้วยังเน้นคุณค่าทาง สิ่งแวดล้อมโดยผู้บริโภคที่มีความประสงค์ ทีจ่ ะช่วยรักษาสภาพแวดล้อมจะได้เลือกซือ้ ได้ ถูกต้อง ส�ำหรั บ ฉลากสิ่ ง แวดล้ อ ม หากเรา พิจารณาในส่วนของผู้ผลิตและผู้จัดจ�ำหน่าย จะได้รับประโยชน์ในแง่ของก�ำไร เนื่องจาก มี ก ารบริ โ ภคผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ ม ากขึ้ น ผลักดันให้ผู้ผลิตรายอื่นๆ ต้องแข่งขันกัน ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร ของตนในด้ า นเทคโนโลยี โ ดยค�ำนึ ง ถึ ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเป็นส�ำคัญ ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การยอมรั บ ของประชาชนและ ส่ ง ผลตอบแทนทางเศรษฐกิ จ แก่ ผู ้ ผ ลิ ต ในระยะยาว ในปัจจุบนั มีการเริม่ ใช้ฉลากสิง่ แวดล้อม เป็นเครื่องมือในการตลาด เพื่อช่วยป้องกัน รั ก ษาธรรมชาติ ผ ่ า นทางการผลิ ต และ การบริ โ ภคของผู ้ ผ ลิ ต และประชาชน ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกได้มกี ารจัดท�ำโครงการ ฉลากสีเขียวขึ้น ส�ำหรับประเทศไทยคณะ กรรมการนักธุรกิจเพือ่ สิง่ แวดล้อม (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) ได้ริเริ่มโครงการฉลากสีเขียวขึ้น โดยได้รบั ความเห็นชอบและความร่วมมือจาก กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในการก�ำหนด เงื่อนไขของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับฉลากเขียวจะ แตกต่างกันไปตามประเภทของผลิตภัณฑ์และ ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มซึ่ ง โดยทั่ ว ไปจะ ค�ำนึงถึงการจัดการทรัพยากรทั้งที่สามารถ น�ำกลั บ มาใช้ ไ ด้ ใ หม่ และที่ ไ ม่ ส ามารถ น�ำกลั บ มาใช้ ไ ด้ ใ หม่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สูงสุด การลดมลพิษทางสิ่งแวดล้อมที่เป็น ปัญหาที่ส�ำคัญของประเทศ โดยส่งเสริมให้ มีการผลิต การขนส่ง การบริโภคและการก�ำจัด
ทิง้ หลังใช้แล้วอย่างมีประสิทธิภาพ การน�ำ ขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะอันตรายกลับมาใช้ ประโยชน์อย่างอื่น คือหมุนเวียนกลับมา ใช้ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่มีข้อก�ำหนดฉลากเขียว ได้แก่ กระดาษบรรจุภัณฑ์ กระดาษช�ำระ กระดาษพิ ม พ์ เ ขี ย น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส�ำเร็ จ รู ป ท�ำจากพลาสติกทีใ่ ช้แล้ว หลอดฟลูออเรสเซนต์ ตู้เย็น สีอิมัลชั่น เครื่องสุขภัณฑ์ ถ่านไฟฉาย เครื่องปรับอากาศ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ เป็นต้น ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ฉลากสิง่ แวดล้อม การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ เป็นแนวทางหนึ่งที่ ผู้บริโภคสามารถช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม ของโลกให้ ดี ขึ้ น เพราะข้ อ ก�ำหนดของ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฉ ลากสิ่ ง แวดล้ อ มก�ำหนดโดย พิจารณาตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ว่า สามารถจะปรับลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ได้อย่างไรบ้าง ข้อดีอีกประการหนึ่ง คือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับฉลากสิ่งแวดล้อมจะเป็น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพดี สู ง กว่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทัว่ ไป และมีความปลอดภัยจากสีและสารเคมี ที่เป็นอันตรายเนื่องจากมีการอ้างอิงไปยัง มาตราฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ซึง่ นับเป็น ก�ำไรของผู้บริโภค นั่นคือนอกจากจะช่วย รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว ผู ้ บ ริ โ ภคหรื อ ผู ้ ใ ช้ ผลิตภัณฑ์จะได้รับผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี และไม่ต้องเสี่ยงที่จะได้รับสารอันตรายจาก การใช้ผลิตภัณฑ์ด้วย กิจกรรมส�ำหรับเยาวชนไทยทีจ่ ะมีบทบาท ในการสื่ อ สารไปยั ง คนในครอบครั ว คื อ การให้ความรู้ และปฏิบัติตนให้เป็นตัวอย่าง เช่น การเลือกซื้อสินค้าที่มีฉลากสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ กิ จ กรรมในโรงเรี ย นที่ เ ยาวชน สามารถท�ำได้ เช่น การจัดตั้งชุมนุมอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม จัดท�ำแผ่นพับให้ความรู้เรื่อง ฉลากสิ่งแวดล้อม จัดนิทรรศการผลิตภัณฑ์
ที่มีฉลากเชียว หรือในรายวิชาการศึกษา ค้ น คว้ า อิ ส ระ อาจเลื อ กศึ ก ษาในเนื้ อ หา เกี่ยวกับฉลากสิ่งแวดล้อม หรือน�ำเนื้อหา ฉลากสิ่งแวดล้อมไปบูรณาการกับการเรียน การสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในหน่วยการเรียนรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หากเรายังผลิตและพากันใช้สินค้าแบบ เดิมๆ ที่ไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะตามมา เช่น ใช้หลอดไฟฟ้าทีก่ ารผลิตไม่มกี ารควบคุม ปริมาณสารปรอทและไม่มีมาตรการท�ำลาย ซากหลอดไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้แล้ว จะท�ำให้มี สารปรอทตกค้างท�ำให้มนุษย์อาจเจ็บป่วย ด้วยอาการผิดปกติทางระบบประสาทและ สมอง ในโลกนี้ไม่มีสินค้าและบริการแห่งใด ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มโดยแท้ จ ริ ง แต่ตราบใดที่มนุษย์ยังต้องบริโภคการเลือก ซื้อสินค้าและบริการที่ติดฉลากสิ่งแวดล้อม นับเป็นหนึง่ ในวิธกี ารทีง่ า่ ยทีส่ ดุ ในการถนอม โลกใบนี้ ดังนั้นเราจึงควรช่วยกันสนับสนุน ให้ เ ลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ที่ มี ฉ ลากสิ่ ง แวดล้ อ ม กันให้มาก เพื่อกระตุ้นให้ผู้ผลิตท�ำการผลิต สินค้าทีป่ ลอดภัยต่อสิง่ แวดล้อมมากขึน้ ท�ำให้ มีการใช้พลังงานรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติ น้อยลง ท�ำให้โลกของเราใบนี้มีสิ่งแวดล้อม ที่ มี แ ต่ สี เ ขี ย ว สดใส สวยงามไปอี ก นาน เท่านาน
ผลิใบ
37
โครงการ “Give & Share” จัดท�ำขึน้ โดยมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ กระจายโอกาสและความเท่าเทียมกันในเรือ่ งของข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อมไปสู่เยาวชนหรือผู้ที่อยู่ห่างไกลและขาดแคลนปัจจัยด้านทุนทรัพย์ ให้ได้รับโอกาส ในการรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์และส่งเสริมให้เกิดจิตส�ำนึกที่ดีในการอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งองค์กรหรือบุคคลใดที่มีความประสงค์จะส่งต่อความรู้เหล่านี้ไปสู่เยาวชนในถื่นทุรกันดาร สามารถสมัครเป็นสมาชิกวารสารผลิใบเพือ่ มอบให้กบั โรงเรียน หรือห้องสมุดประชาชนทีย่ งั ขาดแคลน หนังสือส�ำหรับอ่านเพิ่มเติมความรู้ ซึ่งนับเป็นการส่งเสริมเรื่องการให้ทางปัญญา การปลูกฝัง วัฒนธรรมการอ่าน และเสริมสร้างแนวคิดในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และ พลังงานควบคู่กันไป ทั้ ง นี้ อั ต ราค่ า สนั บ สนุ น โครงการห้ อ งสมุ ด อุ ป ถั ม ภ์ คื อ โรงเรี ย นละ 216 บาทต่ อ ปี ภายใน 1 ปี โรงเรียนจะได้รับวารสารจ�ำนวน 4 ฉบับ (ทุกๆ 3 เดือน) โดยขึ้นอยู่กับจ�ำนวนโรงเรียน ที่ท่านต้องการให้การสนับสนุน
อัตราสนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมป์ จ�ำนวนโรงเรียนที่สนับสนุน 1,000 โรงเรียน 500 โรงเรียน 400 โรงเรียน 300 โรงเรียน 200 โรงเรียน 100 โรงเรียน 50 โรงเรียน 40 โรงเรียน 30 โรงเรียน 20 โรงเรียน 10 โรงเรียน
รวมเป็นเงิน/บาท/ปี 216,000 บาท 108,000 บาท 86,400 บาท 64,800 บาท 43,200 บาท 21,600 บาท 10,800 บาท 8,660 บาท 6,480 บาท 4,320 บาท 2,160 บาท
หมายเหตุ ท่านสามารถระบุจ�ำนวนโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ได้ตามความประสงค์ โดยท่านสามารถเลือกระบุภาค จังหวัด หรือรายชื่อโรงเรียนที่ท่านต้องการจะให้อุปถัมภ์ได้โดยตรง หรือให้ทางวารสารฯ คัดเลือกรายชื่อโรงเรียนเพื่อ เสนอให้พิจารณาตามความเหมาะสมได้อีกครั้ง
Give and Share บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหาชน) สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบเป็น ของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่าน ให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนเทศบาลวัดก�ำแพง (อุดมพิทยากร) โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 1 โรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมหาราชา โรงเรียนเทศบาลวัดราษฎร์นิยมธรรม โรงเรียนสาธิต "พิบูลบ�ำเพ็ญ" มหาวิทยาลัย บูรพา โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) โรงเรียนเครือวัลย์วิทยา โรงเรียนผาสุกวิทยา โรงเรียนชลกัลยานุกูล โรงเรียนชลราษฎรอ�ำรุง โรงเรียนชุมชนวัดเขาไม้แก้ว โรงเรียนอนุบาลบางละมุง โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร โรงเรียนบ้านทุ่งคา โรงเรียนอักษรพัทยา โรงเรียนผินแจ่มวิชาสอน โรงเรียนบางละมุง โรงเรียนสอนคนตาบอดพระมหาไถ่พัทยา โรงเรียนอักษรเทพประสิทธิ์ โรงเรียนอักษรศึกษา โรงเรียนวัดโป่ง โรงเรียนวัดหนองเกตุใหญ่
จังหวัด จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
โรงเรียน โรงเรียนบ้านโป่งสะเก็ต โรงเรียนบ้านเนินพลับหวาน โรงเรียนบ้านโรงหีบ โรงเรียนบ้านหนองชากแง้ว โรงเรียนบ้านนาวัง
จังหวัด จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
โรงเรียนวัดสุกรีย์บุญญาราม โรงเรียนวัดหนองเกตุน้อย โรงเรียนบ้านนอก
จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
โรงเรียนบ้านทุ่งกราด โรงเรียนบ้านมาบประชัน โรงเรียนบ้านโป่ง โรงเรียนบ้านหนองเขิน โรงเรียนบ้านหนองซ้ำ�ซาก โรงเรียนวัดเขาไผ่(เชี่ยววิทยาคุณ) โรงเรียนบ้านบึง โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ โรงเรียนบ้านเขาคันทรง โรงเรียนสุรศักดิ์วิทยาคม โรงเรียนบุญจิตวิทยา โรงเรียนมัธยมสัมมาชีวศิลปบางพระ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา โรงเรียนวัดโพธิทัตราชวิทยาลัย โรงเรียนทุ่งศุขลาพิทยา"กรุงไทยอนุเคราะ โรงเรียนสาขาสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษาวัดเนินบุญญาราม โรงเรียนเซนต์ปอลคอนแวนต์ โรงเรียนวัดตโปทาราม โรงเรียนวัดมโนรม
ภาพประกอบ design by freepik
จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี
ผลิใบ
39
Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....
สมัครสมาชิกใหม่ หรือต่ออายุสมาชิกวารสารผลิใบ รับทันที
สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………........................................................................ ที่อยู่ ………………………........................................................................................ ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................................ การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6
จากธนาคารออมสิน
และ
กระปุกออมสินเด็กไทย
¼ÅÔ㺠125_edit2.pdf 1 10/11/2017 2:25:00 PM
C
M
Y
MY
CY
CMY
K
F
Animal Wonders
ซากสัตวดกึ ดําบรรพในประเทศไทย
Green Mind
มาตรการกําจัดถุงพลาสติก จากทัว่ โลก
Green Mind
Science Tricks
เกษตรกรรมยัง่ ยืน เพือ่ ความมัน่ คงทางอาหารของไทย
เมือ่ ไมกลายเปนหิน
Science Tricks
Forest for Life
Cover Story
ประโยชนของจุลนิ ทรีย
Cover Story
แนวคิดการบริโภคอยางยัง่ ยืน และความมัน่ คงทางอาหาร
www.facebook.com/plibai2012.tei
www.facebook.com/plibai2012.tei EERT
124_edit2.pdf 1 3/7/2560 14:12:42
¼ÅÔ㺠123.pdf 1 3/28/2017 2:59:23 PM
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 23 ฉบับที่ 124 เดือนเมายน-มิถนุ ายน 2560
ปท่ี 23 ฉบับที่ 123 เดือนมกราคม-มีนาคม 2560
World of Energy
C
M
Y
CM
C
M
Y
CM
MY MY CY CY CMY CMY K K
Young Artist ประกาศรางวัลผูช นะในโครงการ Young Creative Environment Artist
Animal Wonders โลกของสัตวเรืองแสง
C LI Y
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559
ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559
M
cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
C
What the World Offer Sustainable Development Goals (SDGs)
cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27
cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13
CM
Grew the Earth ตนรวงผึง้ พรรณไมประจํารัชกาลที่ 10
www.facebook.com/plibai2012.tei
Evalution Fun Facts วิวฒ ั นาการพลังงานไทย
www.facebook.com/plibai2012.tei
Let’s go Green แนวทางอนุรกั ษพลังงานอยางไดผล
ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558
Eco Life Issue MA
T
C
C M
M Y
Y CM
CM
HA
MY
NG
CY
CMY
K
MY CY
CY CMY
CMY K
SU E
English for Fun Eco not Ego
Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก
Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit
Green Energy
Do It Yourself
The Question Mark
มหัศจรรยพลังนํ้า
ขวดกลับหัว
นํ้าหายไปไหน
www.facebook.com/plibai2012.tei
Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต
K
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก
MY
E IS
www.facebook.com/plibai2012.tei
ผลิใบ
D SECURITY
ปลาซัคเกอร...ศัตรูของระบบนิเวศ
Animal Wonders
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร
40
ปท่ี 23 ฉบับที่ 126 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560
ปท่ี 23 ฉบับที่ 125 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2560
CM
วารสารย้อนหลัง
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
EC
วารสารผลิใบ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com
กระเป๋าเป้ผ้าร่ม
Beat Pollution