วารสารผลิใบ ฉบับ 126

Page 1



Editor’s Note ในยุคของการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การเติบโตทาง เศรษฐกิ จ จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะต้ อ งมี สิ่ ง อ� ำ นวย ความสะดวกในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ของคนมากขึ้ น ทั้ ง การคมนาคมและระบบสาธารณู ป โภคต่ า งๆ เพื่ อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ตลอดจน การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�ำการเกษตร ซึ่งท�ำให้เกิด ผลกระทบที่ตามมาอย่างเห็นได้ชัดก็คือ ป่าไม้ลดลง อย่างน่าตกใจ เมื่อป่าไม้ลดลง ภัยพิบัติต่างๆ ก็จะตามมาเพราะ เมื่อป่าหมด ความชุ่มชื้นก็หมดไปด้วย ท�ำให้ฝนไม่ตก ตามฤดูกาล เมือ่ ไม่มฝี นก็เกิดภัยแล้งตามมา นอกจากนี้ เมือ่ ภูเขาไม่มรี ากจากต้นไม้ใหญ่คอยยึดผิวดิน พอถึงฤดูฝน ก็เกิดปัญหาน�้ำป่าไหลหลาก ดินโคลนถล่ม เมื่อไม่มีป่า ไม่มตี น้ ไม้ ก็เหมือนโลกใบนีข้ าดปอดทีค่ อยดูดซับกรอง อากาศ โดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงเป็น ตัวการเร่งให้เกิดสภาวะเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ท�ำให้โลกร้อนขึ้น สภาวะอากาศแปรปรวนอย่างที่ ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน ผลิใบฉบับนีจ้ งึ น�ำเรือ่ งราวสาระทีเ่ กีย่ วข้องกับป่าไม้ เพื่อให้น้องๆ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของป่า และ ต้ น ไม้ ทุ ก ต้ น ตลอดจนความรู ้ ด ้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มอี ก หลากหลายแง่มุมมาให้อ่านกัน ทางทีมงานหวังเป็น อย่างยิง่ ว่าน้องๆ จะได้รบั ประโยชน์จากการอ่านวารสาร ฉบับนี้ และสามารถน�ำไปปรับใช้ในชีวติ ประจ�ำวันต่อไป

ดร. อ�ำไพ หรคุณารักษ์ บรรณาธิการบริหาร

• วารสารผลิใบได้รบั รางวัลดีเด่น ประเภทวารสาร ที่ มี เ นื้ อ หาทั่ ว ไปเหมาะสมกั บ เยาวชน ประจำ�ปี พ.ศ. 2538 - 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ�นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ดร. อำ�ไพ หรคุณารักษ์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ จิตลัดดา ศรีพล เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล จิตลัดดา ศรีพล โรงพิมพ์ บจก. มาตา การพิมพ์ สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2503 3333 โทรสาร : 0 2504 4826-8 อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei


5

25

15

28

Green Mind

16

25

Evolution Fun Facts

23

26

Do it Yourself

28

Think Out of the Box

30

Book Inspiration

3

Cover Story

31

IT Generation

4

Young Artist

34

Think Tank

5

Young Storyteller

36

รอยเท้าของพ่อ

6

Give and Share

39

Animal Wonders

8

Membership

40

Science Tricks

13

Green Energy

14

What the World Offers

15

Grew the Earth

16

English for Fun

19

Let’s go Green

21

The Question Mark?

22

Green Innovation

23

On The Move

24

ภัทรา จิตรานนท์ หัวหน้ากองบรรณาธิการ

จิตลัดดา ศรีพล กองบรรณาธิการ

ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ เลขากองบรรณาธิการ

ณชชน พชรชัยกุล บรรณาธิการ


Book Inspiration

WILD SIDE ในนามของธรรมชาติ เป็ น หนั ง สื อ ชุ ด บทความที่ ม าจาก ประสบการณ์ จากการเดินทางท่องไปในโลกและ การสะสมข้อมูลของ "วันชัย ตันติวทิ ยาพิทกั ษ์" อดีตบรรณาธิการบริหารนิตยสาร "สารคดี" กับเรื่องราวที่เป็นเสียงสะท้อนให้กับสัตว์ป่า และธรรมชาติ อย่างการไปสู่สรวงสวรรค์ ของ Bird of Paradise ผู้พิทักษ์ป่ากับปืนมือสองไร้ลูกปืน ชีวติ ของนักอนุรกั ษ์ปา่ ไปจนถึงวีรกรรมของผูท้ ตี่ อ่ สูเ้ พือ่ ธรรมชาติ ด้วยชีวิต

บึงหญ้าป่าใหญ่ หนั ง สื อ ที่ จ ะเล่ า ถึ ง ประสบการณ์ อันแสนสุขที่หลากหลาย ในความทรงจ�ำดีๆ ที่ แ วดล้ อ มไปด้ ว ยความผู ก พั น ที่ ไ ด้ อ ยู ่ กั บ ธรรมชาติ ซึ่งหาได้ยากในยุคปัจจุบัน ยิ่งอ่าน ยิ่ ง ประทั บ ใจ อิ่ ม อุ ่ น ไปพร้ อ มๆ กั น ซึ่ ง หนั ง สื อ เล่ ม นี ้ ยังเป็น 1 ในหนังสือดี 100 เล่มที่เด็กและเยาวชนไทย ควรอ่าน และเป็น 1 ใน วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่าน ก่อนโต สนับสนุนโดยส�ำนักเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมและ ประชาสัมพันธ์ กระทรวงวัฒนธรรม และกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อีกด้วย

ผลิใบ

3


IT Generation

า ่ ป ั ก ร น ค อ ่ ื พ เ n o Applicati ต้นไม้ของชาวไทย เป็นแอปพลิเคชันสำ�หรับคนไทยที่รักการปลูกต้นไม้ พัฒนาขึ้นโดยกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อ ส่งเสริมให้กลุ่มคนที่รักธรรมชาติ รักต้นไม้ ได้มีช่องทางในการติดตามข่าวสาร การปลูกป่า เก็บสะสมภาพความประทับใจ และสถิติการร่วมกิจกรรมและ จำ�นวนต้นไม้ทปี่ ลูกในแต่ละกิจกรรม เพือ่ เก็บไว้เป็นความภาคภูมใิ จ และติดตาม ความเจริญเติบโตของต้นไม้ได้อย่างต่อเนื่อง โดยแอปพลิเคชันจะแบ่งผู้ใช้งาน ออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ 1) ผู้สร้างกิจกรรม ซึ่งหมายถึงเจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ หรือบุคคลจาก หน่วยงานอื่นๆ ที่ทำ�หน้าที่ในการสร้างกิจกรรม อนุมัติผู้เข้าร่วมกิจกรรม อนุมัติ ข้อมูลการปลูกต้นไม้ โดยจะสามารถตรวจสอบรายงานจำ�นวนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม หรือต้นไม้ที่ปลูกในกิจกรรมที่ตัวเองดูแลได้ 2) สมาชิ ก ที่ ส นใจ ซึ่ ง สามารถลงทะเบี ย นเพื่ อ ใช้ ง านแอปพลิ เ คชั น ได้ เมื่ อ เข้ า มาแล้ ว จะมี ข่ า วสารเกี่ ย วกั บ กิ จ กรรม การปลูกต้นไม้ สามารถเลือกเข้าไปดูรายละเอียดของแต่ละกิจกรรม และขอเข้าร่วมกิจกรรมได้ทันที หากกิจกรรมดังกล่าวไม่ได้ ตั้งค่าไว้ว่าต้องมีการอนุมัติคำ�ขอเข้าร่วมกิจกรรมก่อน ก็จะสามารถเข้าไปบันทึกการปลูกต้นไม้ได้เมื่อถึงกำ�หนดการ แต่ถ้ามีการ กำ�หนดโดยผู้สร้างไว้ว่าจะต้องมีการพิจารณาผู้ขอเข้าร่วมกิจกรรมก่อน ผู้สร้างกิจกรรมก็จะต้องอนุมัติผู้ขอเข้าร่วมก่อน ผู้เข้าร่วม จึงจะสามารถบันทึกข้อมูลการปลูกต้นไม้ในวันที่เริ่มกิจกรรมได้ พร้อมกันนี้ระบบรองรับการนำ�เข้าข้อมูลรูปภาพด้วย

ต้นไม้ของ ชาวไทย

Forest4Thai Forest4Thai เป็นแอปพลิเคชันในการตรวจสอบแนวเขต พื้นที่และข้อมูลป่าสงวนแห่งชาติ แจ้งเบาะแส/เรื่องร้องเรียน และค้นหาทีต่ งั้ ของหน่วยงานกรมป่าไม้พร้อมเบอร์โทรทีส่ ามารถ ติดต่อได้ ทำ�ให้ผใู้ ช้สามารถตรวจสอบพืน้ ทีเ่ บือ้ งต้นได้วา่ ตำ�แหน่ง ที่ระบุนี้อยู่ในเขตพื้นที่ป่าสงวนหรือไม่ รวมถึงเมื่อพบเหตุการณ์ การกระทำ�ความผิดเกี่ยวกับป่าไม้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการ บุกรุกพืน้ ทีป่ า่ การลักลอบตัดไม้ การขนไม้ผดิ กฎหมาย การเกิด ไฟป่ า ผู้ ใช้ ก็ ส ามารถแจ้ ง เหตุ / ร้ อ งเรี ย นผ่ า นแอปพลิ เ คชั น ได้ โ ดยตรง พร้ อ มแนบภาพถ่ า ยขณะเกิ ด เหตุ รวมถึ ง พิ กั ด ตำ�แหน่งได้อีกด้วย 4

ผลิใบ


Think Tank

มาตรฐานออร์แกนิกฉบับใหม่ ไปไกลกว่าออร์แกนิกแบบเดิม เมือ่ เราจะตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้าทางการเกษตร ส่วนใหญ่มกั จะเลือกจากฉลากทีแ่ สดงมาตรฐานรับรองต่างๆ เช่น ออร์แกนิก ผักปลอดสาร ผักอินทรีย์ ฯลฯ แต่ในปัจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกาได้เตรียมประกาศใช้มาตรฐานใหม่ Regenerative Organic Certification ที่ไปไกลกว่าออร์แกนิก คือ

เป็นมาตรฐานที่รับรองว่าสินค้าการเกษตรนั้นต้องมีคุณภาพดินที่ดี มีมาตรฐานการคุ้มครองสัตว์ มีมาตรฐานการคุ้มครองเกษตรกร ตั้งแต่เจ้าของจนถึงแรงงานว่าต้องมีความยั่งยืน ไม่ใช้แรงงานทาส และได้รับความยุติธรรมด้านค่าแรง กระทั่งยกระดับชีวิตของตัวเกษตรกรเองได้ด้วย ระบบของฟาร์มนั้นๆ ต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน สินค้าต้องปลอดสารพิษ ไม่ใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีการดัดแปลงพันธุกรรม

ตราสินค้า Regenerative Organic Certification ถูกพัฒนา วิจัย และผลักดันโดย The Rodale Institute สถาบัน ที่พูดเรื่องการปฏิรูปการท�ำเกษตรกรรมมาตั้งแต่ช่วงปี 1980 ซึ่งขณะนี้ก�ำลังถูกพิจารณาโดย NSF International องค์กร ด้านความปลอดภัยและสาธารณสุขทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไรของสหรัฐ ซึง่ หากเสร็จสิน้ กระบวนการก็จะถือเป็นอีกหนึง่ ตรามาตรฐาน และเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคได้เลือกซื้อและสนับสนุน ท�ำไมต้องมากกว่าออร์แกนิก? เพราะเมื่อเราตรวจสินค้าออร์แกนิกกันอย่างจริงจังจะพบว่าสินค้าที่มีตราออร์แกนิกนั้นไม่ได้ออร์แกนิกอย่างที่คิด สืบเนื่อง มาจากเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีก�ำจัดศัตรูพชื กลุม่ Thai-Pan ได้มกี ารสุม่ ตรวจสารพิษตกค้างในผักและผลไม้ พบว่าสินค้าออร์แกนิก อย่างถั่วฝักยาว และผักบุ้ง มีการปนเปื้อนสารเคมี ทั้งที่มีตรารับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ นอกจากประเทศไทยแล้ว ในต่างประเทศก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากมีการตรวจพบการปนเปื้อนสารเคมีอยู่บ่อยครั้งในพืชผักออร์แกนิก ซึ่งในความเป็นจริง เกษตรกรไม่ได้มีการใช้ยาฆ่าแมลงหรือเมล็ดพันธุ์ดัดแปลง แต่นั่นเป็นเพราะในดินอาจมีสารเคมีตกค้างอยู่ หรือสารเคมีปลิวมา ตามอากาศและมาตกยังแปลงผักออร์แกนิก หรือแม้แต่การวางสินค้าใกล้กบั สินค้าอืน่ ทีม่ สี ารตกค้างก็เป็นสาเหตุให้พชื ผักดังกล่าว มีสารปนเปื้อนติดมาได้ แต่ป้าย Regenerative Organic Certification ต้องการยกระดับการท�ำเกษตร ที่ทั้งต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นมิตรกับชีวิตเกษตรกร และเปลี่ยนวิธีการท�ำการเกษตรใหม่ทั้งระบบเพื่อความปลอดภัยที่ยั่งยืน ที่มา : https://rodaleinstitute.org/regenerativeorganic/

ผลิใบ

5


รอยเท้าของพ่อ

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ

กับโครงการด้านป่าไม้

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

โครงการพัฒนาพื้นที่ห้วยลาน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

เป็นศูนย์กลางแบบเบ็ดเสร็จทีม่ กี ารศึกษา เพื่ อ ด� ำ เนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามแนว ทดลองและสาธิตในลักษณะสหวิทยาการ พระราชด�ำริ เสมื อ นหนึ่ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ที่ มี ชี วิ ต เพือ่ รักษาระบบนิเวศและฟืน้ ฟูสภาพป่า ส�ำหรับราษฎรได้มีโอกาสเข้ามาศึกษาเรียนรู้ บริเวณลุม่ น�ำ้ ห้วยลานให้มสี ภาพทีส่ มบูรณ์ แล้วน�ำไปปฏิบัติได้ เพือ่ น�ำผลการศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้ เพื่อศึกษา ทดลอง วิจัย และพัฒนา ของศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยฮ่ อ งไคร้ ตามแนวพระราชด�ำริ ด้านทรัพยากรน�ำ้ ป่าไม้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มาด�ำเนินการ ดิน และระบบเกษตร รวมทั้งระบบนิเวศ เป็นแบบอย่าง ลุ่มน�้ำห้วยฮ่องไคร้ และการจัดการลุ่มน�้ำ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม เพือ่ เป็นแนวทางการพัฒนาให้คนสามารถ อยูร่ ว่ มกับป่าได้ เป็นศูนย์กลางข้อมูลการพัฒนา บูรณาการ และแลกเปลี่ยนข้อมูล บริการข้อมูลข่าวสาร เพือ่ เป็นการเผยแพร่การพัฒนาด้านป่าไม้ ทัง้ ในด้านวิชาการ และเชิงปฏิบตั ิ เพือ่ ประยุกต์ ตามแนวพระราชด�ำริ ไปสูบ่ คุ คลโดยทัว่ ไป ใช้ได้อย่างเหมาะสม ขยายผลการพั ฒ นาสู ่ ป ระชาชนใน หมู่บ้านรอบบริ เวณศู น ย์ ฯ และโครงการ บริการการพัฒนาในระดับพื้นที่ ให้ด�ำรงชีวิต ที่พออยู่พอกิน และสามารถพึ่งตนเองได้

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

แผนงานการฟื ้ น ฟู ร ะบบนิ เวศวิ ท ยา พัฒนาและส่งเสริมการอนุรกั ษ์ทรัพยากร ของห้วยทราย และพืน้ ทีใ่ กล้เคียง โดยยึดแนว ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม พื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ ให้ พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีความอุดมสมบูรณ์ และสามารถใช้ประโยชน์ ให้ใช้ประโยชน์จากพืน้ ทีใ่ ห้สมดุลกับทรัพยากร ธรรมชาติทมี่ อี ยู่ และสามารถฟืน้ ฟูให้มศี กั ยภาพ ได้อย่างเหมาะสมตามแนวพระราชด�ำริ ในการผลิตได้อย่างต่อเนื่อง ระบบนิเวศป่าต้นน�ำ้ ฟืน้ ฟูและพัฒนาพืน้ ที่ ให้คนื สภาพป่าต้นน�ำ้ ล�ำธาร 6

ผลิใบ

ระบบนิเวศพืน้ ราบ ฟืน้ ฟูและพัฒนาพืน้ ที่ ให้เป็นแหล่งเกษตรกรรมระบบวนเกษตร แผนการศึกษาทดลอง ท�ำการทดลอง ศึกษาและวิจัย เพื่อให้ได้รูปแบบและวิธีการ ที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพต่างๆ โดย ยึดหลักการที่ว่าราษฎรอยู่รอด ธรรมชาติ ก็อยูร่ อดด้วย มีการทดลองอนุรกั ษ์ดนิ และน�ำ้ พันธุพ์ ชื สัตว์ และปล่อยสัตว์คนื สูช่ วี ติ ธรรมชาติ ศึกษาหารูปแบบในการท�ำฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ เหมาะสม เช่น เลีย้ งกบ การแปรรูปผลผลิต ทางการเกษตร น�ำออกเผยแพร่เป็นแบบอย่าง แก่ราษฎร การศึกษาวิจัยและการแสดงของศูนย์ เพือ่ น�ำความรูอ้ อกเผยแพร่สปู่ ระชาชน มุง่ เน้น การฟืน้ ฟูสภาพป่าเสือ่ มโทรม สร้างแนวป้องกัน ไฟป่า โดยใช้ระบบป่าเปียก เช่น สร้างแนว คูคลอง และพืชเศรษฐกิจสีเขียว มุ่งเน้นให้ ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงและ อนุรกั ษ์ปา่ ตลอดจนสร้างรายได้จากผลิตผล ทีม่ าจากป่าไม้ พร้อมกับเพาะปลูกพืชเกษตรกรรม ทีเ่ หมาะสมควบคูไ่ ปด้วย งานพัฒนาป่าไม้ ปลูกป่า 3 อย่าง ได้แก่ ไม้โตเร็ว ไม้ผล และไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ สร้ า งสมดุ ล ทางธรรมชาติ ข องป่ า ให้ คื น สู ่ สภาพเดิม การเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่า หลายชนิด โดยเฉพาะเนื้อทราย แล้วปล่อย เข้าสูป่ า่ เพือ่ เร่งสมดุลทางธรรมชาติ


โครงการป่าไม้สาธิต ในฤดูร้อนเกือบทุกปีพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 จะเสด็ จ ฯ แปรพระราชฐานไปประทับ ณ พระราชวัง ไกลกังวล หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในระยะแรกจะเสด็จฯ โดยรถไฟ ต่อมาเสด็จฯ โดยรถยนต์เมือ่ มีการปรับปรุงถนนหนทางดีขนึ้ เมือ่ ผ่านอ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี สองข้างทาง มีต้นยางขนาดใหญ่ปลูกอยู่มากมาย จึงได้มี พระราชด� ำ ริ ที่ จ ะสงวนบริ เวณป่ า ยางนี้ ไว้ ให้เป็นสวนสาธารณะ จึงทรงให้เจ้าหน้าที่ ไปติดต่อผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพชรบุรี เพือ่ ขอซือ้ ทีด่ นิ บริเวณดังกล่าว จัดท�ำเป็นสวนสาธารณะ ให้ประชาชนได้พกั ผ่อนหย่อนใจ แต่ไม่สามารถ ด�ำเนินการจัดถวายตามพระราชประสงค์ได้ เพราะมีราษฎรมาท�ำสวน ท�ำไร่ ในบริเวณนัน้ และจะต้องจ่ายเงินทดแทนในการจัดหาทีใ่ หม่ ในอัตราทีไ่ ม่สามารถจะจัดได้ จึงได้ทรงทดลอง ปลูกต้นยางเอง ทรงเพาะเมล็ดยางในกระถาง บนพระต�ำหนักเปีย่ มสุข พระราชวังไกลกังวล และได้ ท รงปลู ก ต้ น ยางนั้ น ในแปลงป่ า ไม้ ทดลอง ในบริเวณแปลงทดลองปลูกต้นยางนา พร้อมข้าราชบริพาร เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2504 จ�ำนวน 1,250 ต้น ต่อมาทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้น�ำพันธุ์ไม้ต่างๆ ทั่วประเทศ มาปลู ก ในบริ เวณที่ ป ระทั บ สวนจิ ต รลดา ในลักษณะป่าไม้สาธิต และได้สร้างพระต�ำหนัก เรือนต้นในบริเวณป่าไม้สาธิตนัน้ เมือ่ พ.ศ. 2508 สร้างส�ำนักสงฆ์ดว้ ยไม้มะค่าโมงทัง้ หลังทีก่ ลาง ป่ายาง เมือ่ พ.ศ. 2525

โครงการศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทราย ท�ำการฟืน้ ฟูและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ บริเวณพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ให้ มี ค วาม อุดมสมบูรณ์ ท�ำการเพาะเลีย้ งและขยายพันธุส์ ตั ว์ปา่ เพือ่ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ พัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรทั้งใน และนอกพืน้ ทีศ่ นู ย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริให้ดขี นึ้ เพาะเลี้ยงสัตว์ป่าที่หายากให้มีปริมาณ เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะเนือ้ ทราย ศึกษา ค้นคว้า วิจยั ด้านการเพาะเลีย้ งและ ขยายพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า เช่ น เนื้ อ ทราย กวาง นกปรอดหัวโขน เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ให้ ค วามรู ้ ด ้ า นการ เพาะเลีย้ งสัตว์ปา่ ฟื ้ น ฟู ส ภาพป่ า ที่ เ สื่ อ มโทรมให้ มี สิง่ แวดล้อมและธรรมชาติทเี่ หมาะสมส�ำหรับ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า โดยการปล่อย สัตว์ปา่ คืนสูธ่ รรมชาติ เป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้ด้านการ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ แ ละสั ต ว์ ป ่ า ของ นักเรียน นิสติ นักศึกษาและประชาชนทัว่ ไป คุ ณ ภาพชี วิ ต ของราษฎรดี ขึ้ น และ มีสว่ นร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ

โครงการชุมชนพัฒนาป่าชายเลน มีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชนให้ตระหนัก มี ค วามเข้ า ใจธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ทีช่ มุ ชนนีเ้ คยพึง่ พิง อาศัยทรัพยากรธรรมชาติ ในทะเลสาบสงขลาและอ่าวไทยมาเป็นเวลา ช้านาน นับเป็นมิติหนึ่งของการพัฒนาป่าไม้ ทีอ่ าศัยความเกีย่ วพันและเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน ของมนุษย์และธรรมชาติ มีวธิ กี ารด�ำเนินงาน หลายรูปแบบ อาทิ สร้างความเชือ่ มัน่ ให้ชมุ ชน ยอมรับและเข้าร่วมงานปลูกป่าโดยการสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจผ่านทางการประชาสัมพันธ์ และการเยี่ยมเยียนสร้างความคุ้นเคยอย่าง สม�ำ่ เสมอ จัดการประชุมเพือ่ หาข้อยุตริ ว่ มกัน ก่อตั้งชมรมโดยการรวมตัวของประชาชน โครงการนี้ ไ ด้ ป ลู ก ป่ า ชายเลนไปแล้ ว กว่ า 300 ไร่

โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลนยะหริ่ง เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ และคุ ้ มครองป่า ชายเลน ให้คงสภาพสมบูรณ์และยัง่ ยืนตลอดไป เพื่ อ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ ป ่ า ชายเลน โดยให้ความรูแ้ ละการศึกษาธรรมชาติ ของทรัพยากรป่าชายเลน เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ ของไม้ ป ่ า ชายเลนและสิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง จะ น�ำมาใช้ประโยชน์ด้านการจัดท�ำฐานข้อมูล ป่าชายเลนยะหริง่ เพื่ อ ช่ ว ยฟื ้ น ฟู ส ภาพป่ า ชายเลนที่ เสือ่ มโทรม โดยการปลูกทดแทนและรณรงค์ ให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกและ รักษาป่าชายเลน เป็นแหล่งค้นคว้าวิจยั เกีย่ วกับป่าชายเลน ผลิใบ

7


Animal Wonders

ซากสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ในประเทศไทย

คอลัมน์ Animal Wonders ในหลายฉบับทีผ่ า่ นมาเราได้น�ำเอาเรือ่ งลับๆ ทีน่ า่ รูข้ องสัตว์หลากหลายชนิดมาให้นอ้ งๆ ได้ท�ำความ รู้จักกัน แต่ส�ำหรับในฉบับนี้เราจะมาย้อนรอยอดีตของสัตว์ที่มีมาตั้งแต่ดึกด�ำบรรพ์ว่าในบ้านเรานั้นเคยมีสัตว์ชนิดใดอาศัยอยู่บ้าง

ก ิ อ ซ โ อ โ ี ล า พ ค ุ ย า ห ม ซากดึกด�ำบรรพ์ใน ไทรโลไบต์ เป็ น สั ต ว์ ท ะเลจั ด อยู ่ ใ นไฟลั ม อาร์ โ ทรโพดา

พวกเดียวกับกุง้ ปู มีรปู ร่างคล้ายกับแมงดาทะเล พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น สูญพันธุไ์ ปเมือ่ ปลายยุคเพอร์เมียน

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

เกาะตะรุเ ตา

นอติลอยด์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมอลลัสกา พบแพร่หลายในมหายุคพาลีโอโซอิก

จังหวัดสตูล

เป็นบริเวณที่มีซากดึกด�ำบรรพ์ อายุเก่าแก่ ที่สุดในประเทศไทย มีการสะสมตัวตัง้ แต่ยคุ แคมเบรียน ตอนปลาย ต่อเนื่องมาจนถึง ยุ ค อ อ ร ์ โ ด วิ เ ชี ย น ต อ น ต ้ น พ บ ซ า ก ดึ ก ด�ำ บ ร ร พ ์ ใ น ชั้ น หิ น ดิ น ด า น แ ล ะ หิ น ท ร า ย จ า ก ห ล า ย บ ริ เ ว ณ บ น เ ก า ะ ตะรุเตา ได้แก่ อ่าวตะโละโต๊ะโป๊ะ อ่าวตะโละอุดงั และอ่าวมะละกา เป็ น สั ต ว์ ไ ม่ มี ก ระดู ก สั น หลั ง เช่น ไทรโลไบต์ บราคิโอพอด นอติลอยด์ และร่องรอยสัตว์ ดึกด�ำบรรพ์

บราคิโอพอด เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมบราคิโอโพดา ส่วนใหญ่เป็น พวกเกาะติดตามหิน หรือวัตถุที่อยู่บนพื้นทะเลบริเวณน�้ำตื้น มีลักษณะ คล้ายหอยกาบคู่ พบแพร่หลายมากในมหายุคพาลีโอโซอิก ร่องรอยสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ คือ ร่องรอยที่เกิดจากการท�ำกิจกรรมของสัตว์ เช่น รูหรือรอยชอนไชของสัตว์ในดินเพื่ออยู่อาศัยหรือเพื่อหาอาหาร ที่เกาะตะรุเตา พบร่องรอยสัตว์ดึกด�ำบรรพ์หลายชนิด ในหินทรายสีแดง เช่น รอยทางเดินของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง และรอยชอนไชของหนอน Gordia sp. ซึ่งเป็นรอยวนกลมๆ แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์บ้านป่าเสม็ด เป็นบริเวณที ่ ค้นพบซากดึกด�ำบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ แกรปโทไลต์ (Graptolite) และเทนทาคูไลต์ (Tentaculite) อายุ ราว 400 - 385 ล้านปี ในยุคดีโวเนียน

แกรปโทไลต์ เป็ น สั ต ว์ ท ะเลที่ ล อยอยู ่ บ นผิ ว น�้ ำ ซากดึ ก ด� ำ บรรพ์ ที่ พ บส่ ว นใหญ่ มี ลั ก ษณะคล้ า ย รอยพิ ม พ์ บ างๆ บนหิ น ดิ น ดาน สี ด� ำ หรื อ มี รู ป ร่ า งคล้ า ยกิ่ ง ไม้ พบมาก ในมหายุ ค พาลี โ อโซอิ ก ตอนต้ น ตั้ ง แต่ ยุ ค ออร์ โ ดวิ เ ชี ย นถึ ง ยุ ค ดี โ วเนี ย น ซากดึกด�ำบรรพ์แกรปโทไลต์ที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Diplograptus sp. และ Climacograptus sp. อยู่ในหินดินดานสีด�ำ 8

ผลิใบ

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

บ้านป่าเสม็ด จังหวัดสตูล

เทนทาคู ไ ลต์ เป็ น สั ต ว์ ท ะเลขนาดเล็ ก มี ลั ก ษณะคล้ า ย หอยขนาดเล็ก เป็นรูปกรวยยาว มีโคนกว้าง และมียอดแหลม พบมากในมหายุ ค พาลี โ อโซอิ ก ตอนต้ น ที่ พ บจ� ำ นวนมาก ในบริเวณนี้ ได้แก่ Nowakia sp. และ Styliolina sp.


แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

เขาถ่าน

จังหวัดชุมพร

หอยกาบคู่ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา หรือสัตว์จ�ำพวก หอย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่พื้นทะเลในบริเวณทะเลตื้น โดยพบตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบนั หอย 2 ฝาทีพ่ บในบริเวณนี้ ได้แก่ Pecten sp. ไครนอยด์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมเอคิโนเดอร์มาตา มีรูปร่างคล้าย ต้นไม้ บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่าพลับพลึงทะเล พบแพร่หลายในมหายุค พาลี โ อโซอิ ก ซากดึ ก ด� ำ บรรพ์ ส ่ ว นใหญ่ พ บเพี ย งชิ้ น ส่ ว นของก้ า น ที่หลุดออกมาเป็นแว่นๆ

แหล่ ง ซากดึ ก ด�ำบรรพ์ เ ขาถ่ า น เป็นเขาหินปูน สลับกับหินดินดาน มี อ ายุ ตั้ ง แต่ ยุ ค คาร์ บ อนิ เ ฟอรั ส ตอนปลายจน ถึงยุคเพอร์เมียนตอนต้น ราว 300 - 270 ล้านปีมาแล้ว พบซากดึกด�ำบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ หอยกาบคู่ ไบรโอซัว ไครนอยด์ บราคิโอพอด ฟองน�้ำ และร่องรอย สัตว์ดึกด�ำบรรพ์อื่นๆ

ไบรโอซัว เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมไบรโอซัว อาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ในบริเวณทะเลตืน้ มีรปู ร่างคล้ายต้นไม้ขนาดเล็ก พบตัง้ แต่ยคุ ออร์โดวิเชียน จนถึงปัจจุบนั แต่พบมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ไบรโอซัวทีพ่ บในบริเวณนี้ ได้แก่ Fenestella sp. และ Polypora sp.

ฟิวซูลินิด เป็นสัตว์ทะเลเซลล์ เดี ย วจั ด อยู ่ ใ นไฟลั ม โพรโทซั ว นิยมเรียกว่า คตข้าวสาร พบมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัส และยุคเพอร์เมียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ ปลายยุคเพอร์เมียน ซากดึกด�ำบรรพ์ฟิวซูลินิดที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Verbeekina verbeeki, Parafusulina gigantea, Pseudodoliolina pseudolepida และ Sumatrina annae

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

วัดคีรีนาครัตนารา

จังหวัดลพบุรี

แอมโมไนต์ เป็นสัตว์ทะเลจัดอยูใ่ นไฟลัมมอลลัสกา ชัน้ เซฟาโลโพดา กลุม่ เดียวกับ ปลาหมึกในปัจจุบัน เปลือกขดเป็นวง ส่วนใหญ่ลอยอยู่บนผิวน�้ำ ท�ำให้สามารถ พบได้ทั้งบริเวณทะเลตื้นและลึก พบมากในมหายุคมีโซโซอิก และสูญพันธุ์ เมื่อสิ้นยุคครีเทเชียส ปะการั ง เป็ น สั ต ว์ ท ะเลจั ด อยู ่ ใ นไฟลั ม ไนดาเรี ย มี ทั้ ง เป็ น กลุ ่ ม และเป็นตัวเดี่ยวๆ อาศัยอยู่บริเวณทะเลตื้น มีแสงแดดส่องถึง พบได้โดยทั่วไปในภูเขาหินปูน พบแพร่หลายมากตั้งแต่มหายุค พาลีโอโซอิกจนถึงปัจจุบนั ซากดึกด�ำบรรพ์ปะการังทีพ่ บในบริเวณนี้ ได้แก่ Ipciphyllum subelegans และ Multimurinus khmerianus

เป็นเขาหินปูน สูงประมาณ 20 เมตร พบซากดึ ก ด�ำบรรพ์ ห ลายชนิ ด ได้ แ ก่ ฟิวซูลนิ ดิ แอมโมไนต์ (Ammonite) ปะการัง และสาหร่ า ย การค้ น พบซากสั ต ว์ ท ะเล โบราณหลายชนิดบริเวณนี้ แสดงว่าในยุค เพอร์เมียนตอนกลาง หรือราว 270 ล้านปี มาแล้วบริเวณนี้เคยเป็นทะเลตื้นมาก่อน

ผลิใบ

9


ก ิ อ ซ โ ซ โ ี ม ค ุ ย า ห ม ซากดึกด�ำบรรพ์ใน แหล่งซากไดโนเสาร์

ภูเวียง

จังหวัดขอนแก่น

ภูเวียง ตัง้ อยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติภเู วียง เป็นบริเวณทีค่ น้ พบกระดูกไดโนเสาร์ชนิ้ แรกในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2519 พบอยู่ที่บริเวณภูประตูตีหมา เป็นกระดูกท่อนขาของไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ต่อมาได้มกี ารส�ำรวจพบไดโนเสาร์ ทัง้ จ�ำพวกกินพืช และกินเนือ้ ชนิดใหม่ของโลกหลายชนิด ได้แก่ ไดโนเสาร์กนิ พืชขนาดใหญ่ ซึง่ ได้มกี ารขอพระราชทานพระราชานุญาต ตัง้ ชือ่ ตามพระนามของสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (Phuwiangosaurus sirindhornae) ไดโนเสาร์กนิ เนือ้ ขนาดเล็ก (Compsognathus sp.) และไดโนเสาร์กนิ เนือ้ (Siamosaurus suteethorni) ซึง่ คาดว่า เป็นบรรพบุรุษของไทรันโนซอรัส (Siamotyrannus isanensis) ทั้งหมดพบในหมวดหินเสาขัว อายุประมาณ 130 ล้านปี นอกจากนี้ ยังพบรอยเท้าไดโนเสาร์บริเวณหินลาดป่าชาด ในหมวด หินพระวิหาร ซึง่ มีอายุประมาณ 140 ล้านปี เป็นรอยพิมพ์นวิ้ 3 นิว้ คล้ายรอยเท้านก ทีป่ ลายนิว้ มีร่องรอยของเล็บแหลมคม บ่งชี้ว่าเป็นรอยเท้าไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็ก ไดโนเสาร์ที่ภูเวียง เป็นไดโนเสาร์สกุลและชนิดใหม่ ซึง่ เป็นต้นแบบของโลกถึง 3 ชนิด

ภูกุ้มข้าว ตั้งอยู่ที่ต�ำบลโนนบุรี เป็นเขาโดดสูงประมาณ 300 เมตร พบซากกระดูกไดโนเสาร์ กินพืชขนาดใหญ่ทสี่ มบูรณ์ทสี่ ดุ ในประเทศไทย อยูใ่ นชัน้ หินทรายปนหินดินดานสีแดง ของหมวด หินเสาขัว อายุประมาณ 130 ล้านปี ทีห่ ลุมขุดค้นไดโนเสาร์ภกู มุ้ ข้าว ได้มกี ารขุดพบกระดูกมากกว่า 630 ชิน้ เป็นกระดูกส่วนคอ ขา สะโพก ซีโ่ ครง และหางของไดโนเสาร์กนิ พืชไม่ตำ�่ กว่า 6 ตัว ลักษณะ กระดูกที่พบเป็นไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ (Phuwiangosaurus sirindhornae) นอกจากนี้ ยังพบฟันของไดโนเสาร์กนิ พืช และกินเนือ้ อีกมากกว่า 2 ชนิด

แหล่งซากไดโนเสาร์

ภูแฝก

จังหวัดกาฬสินธุ์

แหล่งซากไดโนเสาร์

ผลิใบ

จังหวัดกาฬสินธุ์

แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์ภูแฝก ตั้งอยู่ในเขตวนอุทยาน ภูแฝก ค้นพบโดย ด.ญ. กัลยามาศ สิงห์นาคลอง และ ด.ญ. พัชรี ไวแสน เมือ่ ปลาย พ.ศ. 2539 รอยเท้าทีป่ รากฏ อยูบ่ นชัน้ หินทรายในล�ำห้วยน�ำ้ ยังมีจำ� นวนมากกว่า 10 รอย โดยปรากฏให้เห็นเป็นแนวทางเดิน 3 แนว มีขนาดกว้าง 40 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร รอยเท้าทัง้ หมดเป็นรอยเท้าทีม่ ี 3 นิว้ เป็นรอยเท้า ของไดโนเสาร์กนิ เนือ้ ขนาดใหญ่ ทีเ่ ดินด้วยขาหลัง 2 ข้าง เนือ่ งจากมีลกั ษณะแสดงรอยเล็บแหลมคม รอยเท้าดังกล่าวนีอ้ ยูใ่ นหมวดหินพระวิหาร อายุประมาณ 140 ล้านปี

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ปลาภูนำ�้ จัน้ ตัง้ อยูท่ ภี่ นู ำ�้ จัน้ พบในชัน้ หินทราย มีอายุตงั้ แต่ปลายยุคจูลาสสิกถึงต้นยุคครีเทเชียส ราว 130 ล้านปีมาแล้ว ซากดึกด�ำบรรพ์ปลาทีพ่ บมีขากรรไกร ซึง่ ต่างจากปลาโดยทัว่ ไปคือขากรรไกรสัน้ ต้องดูดอาหารทีอ่ ยูใ่ กล้ๆ ปากเท่านัน้ นอกจากนีย้ งั มีเกล็ดแข็งเป็นเงาวาวเพือ่ ช่วยพยุงล�ำตัว เนือ่ งจาก ยังไม่มกี ารพัฒนากระดูกสันหลังเท่าทีค่ วร เป็นซากดึกด�ำบรรพ์ปลาชนิดใหม่ของโลก ให้ชอื่ ว่า เลปิโดเทส พุทธบุตรเอนซิส (Lepidotes buddhabutensis) จัดอยูใ่ นวงศ์ Semionotidae แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ ปลาแห่งนี้มีซากปลาเลปิโดเทสที่สมบูรณ์มากกว่า 100 ตัว ถือได้ว่าเป็นแหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ ปลาเลปิโดเทสทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในทวีปเอเชีย สันนิษฐานว่าบริเวณนีเ้ คยเป็นแอ่งน�ำ้ จืดขนาดใหญ่มาก่อน 10

ภูกุ้มข้าว

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

ปลาภูน�้ำจั้น จังหวัดกาฬสินธุ์


ซากดึกด�ำบรรพ์ในมหายุคซีโนโซ

อิก

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

เหมืองถ่านหิน จังหวัดกระบี่

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนม เหมืองถ่านหิน จังหวัดกระบี่ เป็นส่วนหนึง่ ของแอ่งสะสมตัว ยุคพาลีโอจีน ตะกอนประกอบด้วยชัน้ หินโคลน หินทรายแป้ง และหินทราย มีชนั้ ถ่านหินหนาประมาณ 20 เมตร ซากดึกด�ำบรรพ์สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนมทีพ่ บในชัน้ ถ่านหินมีมากกว่า 20 ชนิด ได้แก่ ไพรเมต ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของไพรเมตชั้นสูง (Siamopithecus eocaenus) สัตว์กินเนื้อ (Nimravus thailandicus) สัตว์กบี (Siamotherium krabiense, Anthracotherium chaimanei) หนู นอกจากนี้ ยังพบเต่า งู ปลา และจระเข้ รวมทั้งซากหอยน�้ำจืด เนื่องจากบริเวณแอ่งกระบี่นี้เป็นแอ่งน�้ำจืด ขนาดใหญ่ ที่มีทางน�้ำไหลผ่าน และเป็นแหล่งอาหารที่อุดมสมบูรณ์ จึงท�ำให้มีสัตว์อาศัยอยู่เป็น จ�ำนวนมากในสมัยอีโอซีนตอนปลาย

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหิน แม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง เป็นส่วนหนึง่ ของแอ่งสะสมตัวยุคนีโอจีน ตะกอนประกอบด้วยชัน้ หินโคลน หินทรายแป้ง และหินทราย มีชั้นถ่านหินแทรกสลับหลายชั้น ซากดึกด�ำบรรพ์ส่วนใหญ่ พบในชั้นถ่านหินประกอบด้วยซากดึกด�ำบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมหลายชนิด ได้แก่ สัตว์กนิ เนือ้ แรด หมู ช้างโบราณ และหนู นอกจากนี้ ยังพบ เต่า ตะพาบน�ำ้ ปลา งู และจระเข้ และการสะสมตัวของหอยน�้ำจืด มีการพบซากดึกด�ำบรรพ์มากมาย ในบริเวณ แอ่งแม่เมาะ เนื่องจากเป็นแอ่งน�้ำจืดขนาดใหญ่ มีอาหารอุดมสมบูรณ์ ท�ำให้มีสัตว์อาศัยอยู่มากมาย แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์นี้มีอายุประมาณ 10 - 13 ล้านปี ในสมัยไมโอซีนตอนกลาง

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

เหมืองถ่านหินเชียงม่วน จังหวัดพะเยา

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

เหมืองแม่เมาะ จังหวัดล�ำปาง

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหิน เชี ย งม่ ว น จั ง หวั ด พะเยา เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของแอ่ ง สะสมตั ว ยุคนีโอจีน ตะกอนประกอบด้วยชั้นหินโคลน หินทรายแป้ง และหินทราย มีชั้นถ่านหินแทรกสลับ หลายชัน้ ซากดึกด�ำบรรพ์ทคี่ น้ พบในบริเวณเหมืองถ่านหินเชียงม่วน ได้แก่ ช้างมาสโตดอน กระจงหมู และหนู นอกจากนี้ ยังได้คน้ พบซากเอปดึกด�ำบรรพ์ขนาดใหญ่ Khoratpithecus chiangmuanensis หรือเอปเชียงม่วนในชั้นถ่านหินด้วย ซึ่งเป็นหลักฐานการค้นพบซากดึกด�ำบรรพ์เอปขนาดใหญ่ที่เป็น บรรพบุรษุ อุรงั อุตงั ครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีอายุประมาณ 13.5 - 10 ล้านปี ในสมัย ไมโอซีนตอนกลาง

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนม บ่อทราย จังหวัดนครราชสีมา เป็นบ่อขุดริมฝัง่ แม่นำ�้ มูลในปัจจุบนั ความลึกของบ่อทรายราว 20 - 40 เมตร ได้พบซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด เช่น ซากช้างโบราณอย่างน้อย 4 ชนิด ได้แก่ ช้างงาจอบ (Deinotherium sp.) ช้ า งสี่ ง า (Gomphotherium sp. และ Stegolophodon sp.) และ ช้างสเตโกดอน (Stegodon sp.) แรดโบราณ ม้าโบราณ และเอปโคราช (Khoratpithecus piriyai) ซึง่ เป็น บรรพบุรษุ อุรงั อุตงั นอกจากนีย้ งั พบเต่าโบราณขนาดใหญ่ และจระเข้โบราณ รวมถึงซากต้นไม้ขนาดใหญ่ จ�ำนวนมาก ความหลากหลายของซากดึกด�ำบรรพ์ทพี่ บแสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ของลุม่ น�ำ้ มูลโบราณ เมือ่ ประมาณ 9 - 7 ล้านปี ก่อนในสมัยไมโอซีนตอนปลายได้เป็นอย่างดี

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ายา บ่อทร นครราชสีม

จังหวัด

ผลิใบ

11


สุสานหอย

สุสานหอยแหลมโพธิ์ เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาตินพรัตน์ธารา และหมู่เกาะพีพี สุสานหอย มีลกั ษณะเป็นแผ่นหินปูนหนาตัง้ แต่ 0.05 - 1 เมตร มีเปลือกหอยขมน�ำ้ จืด วางทับถมกันเป็นจ�ำนวน มาก และเชือ่ มประสานด้วยน�ำ้ ปูนจนยึดติดกันเป็นแผ่น เรียงซ้อนกันคล้ายลานซีเมนต์ ชัน้ หินสุสานหอย โผล่ให้เห็นอยูต่ ามริมหาดเป็นแนวยาว ประมาณ 2 กิโลเมตร ซากหอยขมทีพ่ บอยูใ่ นวงศ์ Viviparidae เป็นหอยน�ำ้ จืดสกุล Viviparus sp. สะสมตัวเมือ่ ราว 37 - 33.5 ล้านปี มาแล้ว

แหลมโพธิ์ จังหวัดกระบี่

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์ปลา เป็นบ่อขุดเพือ่ เก็บน�ำ้ ชลประทาน กว้างประมาณ 40 เมตร ยาวประมาณ 120 เมตร ลึกประมาณ 4 เมตร เป็นหินโคลนสีเทาขาว อยู่ในยุคนีโอจีน ปัจจุบัน น�ำ้ ท่วมหมดแล้ว

แหล่ง

ไม้กลายเป็นหิน จังหวัดตาก

แหล่งซากดึกด�ำบรรพ์

ผลิใบ

จังหวัดเพชรบูรณ์

แหล่ ง ไม้ ก ลายเป็ น หิ น พบไม้ ทั้ ง ต้ น กลายเป็ น หิ น ขนาดใหญ่ ห ลายต้ น อยู ่ ใ นชั้ น กรวด ล� ำ ต้ น มี ข นาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.8 เมตร ยาวมากกว่า20 เมตร มีอายุ ประมาณ 800,000 ปี ประเทศไทยพบไม้กลายเป็นหิน จ�ำนวนมาก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในมหายุค ซีโนโซอิก และมีโซโซอิก

วัดเจดียห์ อย มีการพบเปลือกหอยทะเลหลายชนิดสะสมตัว ปนกับซากไม้ผใุ นตะกอนดินเหนียวทะเล ทีม่ ลี กั ษณะอ่อนนุม่ มีสเี ทาถึงเทาปนเขียว ซากหอยทีพ่ บ มีหลายชนิด เช่น หอยแครง หอยกาบ หอยสังข์ และหอยลาย ซากหอยทีพ่ บมากทีส่ ดุ เป็นหอยนางรมยักษ์ มีชอื่ ทางวิทยาศาสตร์วา่ Crassostrea gigas เมื่อน�ำซากหอยนี้ไปหาอายุด้วยวิธีกัมมันตภาพรังสีคาร์บอน 14 พบว่ามีอายุ ประมาณ 5,500 ปี ซากหอยเหล่านีเ้ ป็นหอยทีอ่ าศัยอยูใ่ นทะเลใกล้ชายฝัง่ ในทีร่ าบน�ำ้ ขึน้ ถึง หรือหาดเลน ทีม่ ปี า่ ชายเลนขึน้ ปกคลุม น�ำ้ กร่อย ค่อนข้างตืน้ และมีนำ�้ ขึน้ น�ำ้ ลงประจ�ำทุกวัน แสดงให้เห็นว่า ในอดีต บริเวณวัดเจดียห์ อยเคยเป็นชายทะเลมาก่อน โดยพบว่าน�ำ้ ทะเลท่วมทีร่ าบลุม่ ภาคกลาง ไปจนถึงจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เมือ่ ประมาณ 6,000 ปีทแ่ี ล้ว ต่อมาทะเลโบราณลดระดับลง และเริม่ ถอยร่นออกไป ในช่วงประมาณ 5,700 - 5,000 ปีทผี่ า่ นมา เมือ่ น�ำ้ ทะเลถอยร่นออกไป จึงพบซากหอยอยูใ่ นบริเวณนี้

12

ปลา

ที่มา : สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 31

แหล่งซากหอยนางรมยักษ์

วัดเจดีย์หอย จังหวัดปทุมธานี


Science Tricks

น ิ ห น ็ ป เ ย า ล เมื่อ...ไม้ก Petrified Wood

ไม้กลายมาเป็นหิน ส่วนมากจะเกิดจากอิทธิพลของภูเขาไฟ เช่น เถ้าถ่านของภูเขาไฟซึง่ มีแร่ซลิ กิ าเป็นส่วนประกอบ ทับถมปกคลุมบริเวณทีม่ ตี น้ ไม้หรือท่อนไม้ฝงั อยู่ -------------------------------------------------------อีกเหตุหนึง่ ก็คอื อิทธิพลของน�ำ้ ท่วม ท�ำให้ตน้ ไม้ถกู ทับถมอยูใ่ ต้ตะกอนต่างๆ ในระดับลึกจนเกิดกระบวนการเปลีย่ นไม้ให้กลายเป็นหินเกิดขึน้

ในประเทศไทยเราพบไม้กลายเป็นหิน อยูห่ ลายจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ -------------------------------------------บุรรี มั ย์ สุรนิ ทร์ ขอนแก่น และนครราชสีมา ไม้กลายเป็นหินทีอ่ ายุมากทีส่ ดุ พบที่ อ.ปากช่อง และวังน�ำ้ เขียว มีอายุประมาณ 150 ล้านปี

ฟอสซิลไม้กลายเป็นหินบางชนิด สามารถบอกอายุหรือเปรียบเทียบอายุของหิน -------------------------------------------------------เพราะพรรณไม้โบราณต่างๆ ได้สญ ู พันธุไ์ ปตามการเปลีย่ นแปลงของ สภาพภูมอิ ากาศหรือปัจจัยแวดล้อมของโลกในยุคสมัยธรณีวทิ ยาทีผ่ า่ นมา

ไม้กลายเป็นหินมีสตี า่ งๆ กันไป เช่น สีสม้ สีแดง สีเขียว สีดำ� เนือ่ งจากแร่ธาตุตา่ งๆ ทีม่ าเป็นองค์ประกอบ คาร์บอน ให้ สีดำ� โคบอลต์ ให้ สีเขียว/น�ำ้ เงิน โครเมียม ให้ สีเขียว/น�ำ้ เงิน ทองแดง ให้ สีเขียว/น�ำ้ เงิน เหล็กออกไซด์ ให้ สีแดง/น�ำ้ ตาล/เหลือง แมงกานีส ให้ สีชมพู/ส้ม แมงกานีสออกไซด์ ให้ สีดำ� /เหลือง

ไม้กลายเป็นหินชนิดต่างๆ ช่วยให้นกั วิทยาศาสตร์ สามารถแปลความหมาย สภาพภูมศิ าสตร์บรรพกาลในช่วงเวลาทีต่ น้ ไม้มชี วี ติ อยูไ่ ด้ ไม้กลายเป็นหินเกิดจากต้นไม้ถกู ฝังกลบอยูใ่ ต้ผวิ ดินในสภาพทีข่ าดออกซิเจน ท�ำให้เนือ้ ไม้ไม่เน่าเปือ่ ย และถูกฝังแช่อยูใ่ นสารละลายซิลกิ า้ ทีม่ คี วามเข้มข้น สูงเพียงพอ ในสภาพแวดล้อมทีท่ อ่ นไม้และสารละลายซิลกิ าได้สมั ผัส กับออกซิเจนเป็นบางช่วงเวลา ท�ำให้สารละลายซิลกิ าตกตะกอน ในรูปของซิลกิ าเจล สะสมตัวแทนทีโ่ มเลกุลของเนือ้ ไม้ จนท�ำให้ทอ่ นไม้ ทีเ่ ป็นเนือ้ สารอินทรียเ์ ปลีย่ นไปเป็นเนือ้ หินซิลกิ าแต่ยงั คงรักษาโครงสร้างเนือ้ ไม้ ดัง้ เดิมเอาไว้กระบวนการแทนทีข่ องซิลกิ าในเนือ้ ไม้ เรียกในภาษาอังกฤษว่า

ที่มา : https://th.wikipedia.org http://kanchanapisek.or.th

Petrification

ผลิใบ

13


พลังงานจากไม้

Green Energy

แน รุป ขอ้ ส

คงจะปฎิเสธไม่ได้ว่า “ไม้” เป็นแหล่งพลังงานที่มีความจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินชีวิตในแต่ละวันของมนุษย์เป็นอย่างมาก โดยเฉพาะ ในปัจจุบนั ได้มกี ารพัฒนาแหล่งก�ำเนิดพลังงานต่างๆ และน�ำเอาเชือ้ เพลิงอืน่ ๆ มาเพือ่ ใช้ทดแทนไม้ เช่น ผลิตภัณฑ์จากน�ำ้ มันปิโตรเลียม หรือถ่านหิน และก๊าซหุงต้ม แต่ทุกคนต้องเข้าใจว่าพลังงานเหล่านี้เป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป มนุษย์ไม่สามารถ สร้างขึน้ มาใหม่ได้ ซึง่ แตกต่างจากไม้และเศษวัสดุทางการเกษตรอืน่ ๆ เช่น ซังข้าวโพด ชานอ้อย แกลบ ทีส่ ามารถสร้างขึ้นได้เรื่อยๆ เพื่อมาใช้เป็นพลังงานหมุนเวียน แต่ทงั้ นี้ ไม่ได้หมายความว่าเราควรตัดไม้มาใช้เป็นพลังงานแทนพลังงานฟอสซิล แต่ไม้ทนี่ �ำมาใช้นนั้ จะต้องเป็นไม้ทปี่ ลูกขึน้ เพือ่ ใช้เป็นพลังงานโดยเฉพาะ มดี ังนี้ ซึง่ มักเป็นไม้โตเร็วและปลูกง่าย ังงาน

1

พลังงานจากไม้ฟืน สามารถทดแทนพลังงาน จากน�้ำมันหรือถ่านหินได้

2

3

มลภาวะในครัวเรือนและ ห้องครัวที่ไม่ถูกสุขลักษณะ เป็นตัวการที่ท�ำให้สุขภาพ ของคนเสื่อมลง

พลังงานจาก ไม้ฟืนให้มีเทน (CH4) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในอากาศน้อยกว่า พลังงานที่เกิดจากน�้ำมัน หรือถ่านหิน

14

5 5

ื่อพล พ เ ้ กไม า จ ์ ยชน ปรับปรุงเตาหุงต้ม โ ะ ร ินการเกี่ยวกับการใชป้ ให้มีประสิทธิภาพลดการใช้

วท างก ารด ำด เน

4

ไม้ฟืนและลดสภาวะที่เป็น มลพิษทางอากาศและ สิ่งแวดล้อม

การใช้ เตาหุงต้มที่ไม่มี ประสิทธิภาพ เป็นตัวการที่ ท�ำให้เกิดโรคระบบทางเดิน หายใจ และท�ำให้สนิ้ เปลือง เชือ้ เพลิงถ่าน ไม้ฟนื

6

การส่งเสริม ให้มีการปลูกไม้ โตเร็วเพื่อใช้ท�ำถ่าน ฟืน และการผลิตกระแสไฟฟ้า ขนาดเล็กใช้ในชุมชน (ไม่เกิน100 kw)

ข้อมูลจาก : forprod.forest.go.th/forprod/woodfuel/index.htm ผลิใบ


What the World Offers?

"ของป่า" ผลิตผลเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในเขตร้อน จึงได้มี “ของป่า” เกิดขึน้ มากมาย โดยได้รู้จักใช้ประโยชน์จากของป่ามาตั้งแต่โบราณ ผู้คนที่อาศัยอยู่ในป่าก็ต่างพื่งพาเป็นแหล่งอาหาร เพื่อด�ำเนินชีวิต อีกทั้งยังสามารถเก็บหาของป่าเพื่อค้าขายเป็นรายได้อีกทาง ผลิใบจึงได้รวบรวม หมวดหมู่ตามการใช้ประโยชน์จ�ำแนกออกเป็น 9 กลุ่ม ดังนี้ ood Farm in T

4. สมุนไพรและ เครื่องเทศ

A

3. 4. 5. 6.

7. ไม้หอม

g a rw

1. หวาย

Photo :

Photo : pu e

and (Wholesal hail

et.com

e)

s chka

2. ไผ่

5. พืชอาหาร

8. เปลือกไม้

3. ชันและยางไม้

6. แมลงอุตสาหกรรม และแมลงกินได้

9. แทนนิน และ สีธรรมชาติ

1. เพื่อใช้เป็นอาหารพื้นบ้าน ประโยชน์ จากของป่ า มี: ดsakonnakhonguide.com ังนี้ Photo 2. เพื่อประโยชน์การใช้สอยในครัวเรือนในชีวิตประจ�ำวัน เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวในระดับท้องถิ่น ก่อให้เกิดการสร้างงาน ในด้านการเก็บหา การผลิต และการขนส่ง สินค้าบางชนิดได้พัฒนาเป็นสินค้าส่งออก ท�ำรายได้ให้แก่ประเทศปีละประมาณ 300-500 ล้านบาท ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หากมีการจัดการอย่างถูกต้อง ข้อมูลจาก : www.dnp.go.th/research/Knowledge/nonwood.htm ผลิใบ

15


Grew the Earth

สีย้อมธรรมชาติ..ดีต่อใจ..ไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม 1 ปีที่ผ่านมากับการไว้ทุกข์ของประชาชนให้กับการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ท�ำให้มหี ลายคนทีค่ ดิ จะย้อมผ้าด�ำใส่เอง แต่นอ้ งๆ ทราบหรือไม่คะว่าสียอ้ มผ้านัน้ มีผลต่อสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างมาก ทัง้ ก่อให้เกิด มลภาวะทางอากาศส�ำหรับสีที่ต้องใช้สารเคมีกลิ่นแรง และการท�ำลายมลภาวะทางน�้ำ เนื่องจากมีเกลือ กรด ด่าง สารรีดิวซ์ และสารออกซิไดซ์อื่นๆ ที่ก่อท�ำให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อมอย่างคาดไม่ถึง แต่ถ้าหากย้อนกลับไปในอดีต มนุษย์สามารถน�ำเอาสีจากธรรมชาติมาย้อมผ้าใช้เองทั้งจากพืชและจากสัตว์ ซึ่งในคอลัมน์ Grow the Earth จะพาน้องๆ ไป รู้จักกับพืชที่สามารถน�ำมาท�ำสีย้อมผ้าได้โดยไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

<<< พันธุ์ไม้ที่ใช้ท�ำสีย้อมผ้า กลุ่มพืชให้สีด�ำ กระบก น�้ำสีที่คั้นจากผลกระบกสดกับน�้ำ หรือต้มผลสดกับน�้ำในอัตรา 1:1 เมื่อน�ำมาย้อมเส้นไหม ด้วยวิธีย้อมร้อน (อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส) นาน 40 นาที แล้วแช่เส้นไหมในน�้ำโคลนนาน 48 ชั่วโมง หมัน่ กลับเส้นไหมให้แช่นำ�้ โคลนทัว่ ถึง หลังจากนัน้ น�ำไปนึง่ ไอนำ�้ นาน 20 นาที จะได้เส้นไหมเป็นสีเทาด�ำ สีคงทนต่อแสงและการซักระดับดีตามมาตรฐานอุตสาหกรรม คนทา ไม้พุ่มกึ่งเลื้อยซึ่งใช้ผลเป็นวัตถุดิบให้สี สกัดสีโดยต้มผลสดกับน�้ำอัตรา 1:1 หรือ หมักผลสดนึ่งกับน�้ำนาน 1 ชั่วโมง ย้อมเส้นไหมในน�้ำสีสกัดโดยการย้อมร้อน แล้วแช่เส้นไหมในน�้ำโคลน และนึ่งไอน�้ำ เช่นเดียวกับการย้อมด้วยน�้ำสีจากผลกระบก ได้เส้นไหมสีด�ำประกายแดง คุณภาพสีคงทน ต่อแสงและการซักดีมาก คือ สีไม่ซีด สีไม่เปลี่ยนและสีไม่ตก เปลือกเงาะโรงเรียน วัตถุดิบเหลือทิ้งนี้น�ำมาใช้ย้อมเส้นไหมได้สีด�ำ สีคงทนต่อแสงและการซัก ดีมาก การสกัดน�้ำสีจากเปลือกเงาะโรงเรียน ท�ำได้โดยต้มเปลือกผลสดกับน�้ำอัตรา 1:3 ย้อมเส้นไหม ด้วยวิธีย้อมร้อน แล้วแช่เส้นไหมในน�้ำโคลน ซึ่งใช้เป็นสารช่วยติดสี จากนั้นน�ำเส้นไหมนึ่งด้วยไอน�้ำร้อน ได้เส้นไหมสีด�ำ คุณภาพสีคงทนต่อแสงและการซักผ่านมาตรฐานอุตสาหกรรมระดับดีมาก มะเกลือ เป็นพันธุไ์ ม้วงศ์เดียวกับมะพลับ และตะโก เปลือกต้นสีด�ำแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ดอกสีเหลืองมีกลิ่นหอมมาก ผลกลม ผิวเกลี้ยง สีเขียว และเปลี่ยนเป็นสีด�ำเมื่อแก่ การย้อมท�ำโดยการ น�ำผลมะเกลือแก่มาต�ำให้ละเอียดแล้วน�ำมาละลายนำ�้ เพือ่ ย้อมผ้าด�ำ ผ้าย้อมมะเกลือจะมีสดี ำ� สนิท สวยงาม ถ้ายิ่งซักหลายครั้งจะยิ่งด�ำเป็นมัน

16

ผลิใบ


กลุ่มพืชให้สีแดงหรือแดงอมส้ม รากยอบ้านและใบเทียนกิ่ง เมื่อน�ำมาสกัดสีและย้อมเส้นไหม ได้สีน�้ำตาลอมแดงและแดงอมส้ม โดยการต้มรากยอบ้าน (ทัง้ ราก) หัน่ เป็นชิน้ เล็กๆ ใช้รากยอบ้าน 1 ส่วน กับนำ �้ 3 ส่วน ต้มนาน 3 ชัว่ โมง น�ำไปย้อมเส้นไหมที่ 60 องศาเซลเซียส นาน 1-3 ชั่วโมง แล้วแช่เส้นไหมในน�้ำจุนสี 1 เปอร์เซ็นต์ หรือ น�้ำมะขามเปียกช่วยให้คุณภาพสีทนต่อแสงดีขึ้น ส่วนการย้อมเส้นไหมด้วยน�้ำสีสกัดจากใบเทียนกิ่งพบว่า การย้อมที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง ด้วยน�้ำสีที่ได้จากการต้มใบเทียนกิ่ง ได้เส้นไหมเป็น สีน�้ำตาลเหลืองอมส้ม มีการดูดซับสีดีที่สุด และวิธีที่ท�ำให้เส้นไหมเป็นสีส้มอมแดงมากที่สุด ฝาง เป็นไม้พุ่มใหญ่ หรือไม้ต้นขนาดเล็ก ซึ่งผลัดใบในช่วงเวลาสั้นๆ และแตกใบใหม่ได้อย่างรวดเร็ว มีหนามแข็งโค้งทั่วไปทั้งต้น ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกคล้ายหางนกยูงไทย ดอกสีเหลืองเมื่อแก่ ฝักจะ มีสนี ำ�้ ตาลแกมแดง พบขึน้ เป็นกลุม่ ตามภูเขาหินปูนทีแ่ ห้งแล้ง และชายป่าดิบแล้งทัว่ ๆ ไป คนไทยรูจ้ กั ใช้แก่น และเนือ้ ไม้ฝาง ซึง่ มีสเี หลืองอมส้มมาย้อมผ้าฝ้ายและผ้าไหม ได้เส้นไหมสีแดง อย่างสวยงามมาแต่โบราณ แก่นไม้ฝางยังน�ำมาท�ำน�้ำยาอุทัย ส�ำหรับผสมน�้ำเย็นให้มีสีสวย ดื่มแก้กระหายให้ความชื่นใจ เป็นที่นิยม ของคนไทย สีชมพูเข้มของน�้ำยาอุทัยเป็นสีที่สดใสมากแต่ปลอดภัยต่อการบริโภค

กลุ่มพืชให้สีเหลือง ดอกดาวเรือง การสกัดสีจากกลีบดอกดาวเรืองสดหรือกลีบดอกทีน่ งึ่ และอบแห้ง ในอัตราดอกแห้ง 40 - 42 กรัม หรือกลีบดอกสด 280 กรัม ต่อน�้ำ 1 ลิตร ย้อมเส้นไหมที่อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที จากนั้นน�ำเส้นไหมขึ้นล้างด้วยน�้ำสะอาดแล้วจึงแช่ในสารละลายช่วยติดสี 5 เปอร์เซ็นต์ ที่ มี อุ ณ หภู มิ 70 องศาเซลเซี ย ส นาน 15 นาที เส้ น ไหมติ ด สี เ หลื อ งทองและสี น�้ ำ ตาลทอง เมื่ อ ใช้ ส ารส้ ม และจุ น สี เ ป็ น สารช่ ว ยติ ด สี สี ที่ ไ ด้ มี ค วามคงทนของสี ต ่ อ แสงและการซั ก ระดั บ ดี ม าก และดีตามมาตรฐานอุตสาหกรรม ขมิน้ เครือ นอกจากใช้เป็นยาสมุนไพรแล้ว น�ำ้ สีทไี่ ด้จากการต้มขมิน้ เครือแห้ง อัตรา 100 กรัม กับนำ �้ 2 ลิตร ใช้เป็นสีย้อมไหมได้ ให้เส้นไหมสีเหลืองทอง ควรย้อมในน�้ำสกัดจากขมิ้นเครือที่อุณหภูมิ ประมาณ 85 องศาเซลเซียส นาน 90 นาที การใช้สารช่วยติดสีที่มีฤธิ์เป็นด่างและเกลือแกง ช่วยให้ เส้นไหมติดสีเหลืองทองเข้มกว่าเมื่อใช้สารติดสีที่มีฤทธิ์เป็นกรด และคุณภาพสีดีกว่าการไม่ใช้สารช่วยติดสี ใดๆ การย้อมที่อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียสเป็นเวลานานท�ำให้เส้นไหมเสื่อมสภาพเส้นแตกเป็นขุย ขีเ้ หล็กบ้าน นำ�้ สีทสี่ กัดได้จากการต้มใบขีเ้ หล็กบ้าน (ใบแก่) กับสารละลายกรดน�ำ้ ส้ม 1 เปอร์เซ็นต์ เมื่อย้อมเส้นไหมที่อุณหภูมิ 85 - 90 องศาเซลเซียส นาน 40 นาที หลังจากนั้นน�ำเส้นไหมขึ้นและ ล้างด้วยน�ำ้ สะอาด แล้วจึงแช่ในสารละลายจุนสี 5 เปอร์เซ็นต์ ได้เส้นไหมสีเหลืองอมเขียว เมือ่ แช่ในนำ�้ มะขาม และสารส้มจะได้ เส้นไหมเป็นสีเหลืองอมน�้ำตาล สีที่ได้มีความคงทนต่อแสงและการซักดีปานกลาง ผลิใบ

17


กรรณิการ์ เป็นไม้ดอกหอมขนาดเล็ก ออกดอกเป็นช่อสั้นทั้งที่ปลายกิ่งและซอกใบ ดูผิวเผินคล้าย ดอกมะลิ แต่มีขนาดเล็กกว่า ตัวหลอดกลีบดอกสีส้มหรือสีแสด ใช้ย้อมผ้าไหม ได้เส้นไหมสีเหลือง หรือ สีส้ม สวยงาม เปลือกมีสารฝาดและเป็นสมุนไพร ใช้ต้มดื่มเป็นยาแก้ปวดศีรษะ ใบใช้เป็นยาแก้ไข้และ โรคปวดตามข้อ รากเป็นยาบ�ำรุงก�ำลัง และยังสามารถสกัด น�้ำมันหอมระเหยจากดอกน�ำไปใช้ท�ำน�้ำหอม ได้อีกด้วย

กลุ่มพืชให้สีม่วง มะหาด การสกัดสีและย้อมเส้นไหมด้วยน�้ำสีสกัดจากผลมะหวด ได้เส้นไหมติดสีม่วง แต่คุณภาพ สีไม่ทนแสง ไม่ว่าจะใช้วิธีสกัดสีหรือใช้สารช่วยติดสีชนิดใดก็ตาม หว้า เส้นไหมทีย่ อ้ มด้วยนำ�้ สีจากผลหว้าทีส่ กัดโดยต้มผลหว้ากับสารละลายโซดา ซักผ้า 3 เปอร์เซ็นต์ แล้วแช่เส้นไหมในสารละลายจุนสี ได้สีเขียวขี้ม้า สีไม่ซีด เมื่อถูกแสง เทียบระดับความคงทนต่อแสงตามมาตรฐานได้ระดับดี แต่สีคล�้ำลงเล็กน้อย หลังการทดสอบการซัก เปลือกมังคุด เมื่อต้มเปลือกมังคุดสดกับน�้ำผสมโซดาซักผ้า 3 เปอร์เซ็นต์ ได้น�้ำสีม่วง ย้อมเส้นไหมแบบย้อมร้อน แล้วแช่เส้นไหมในน�ำ้ จุนสี ได้สเี ขียวขีม้ า้ สีไม่ซดี จางเมือ่ ถูกแสง มีระดับความคงทน ต่อแสงในระดับดีมาก สีไม่ตกและสีไม่เปลี่ยนเมื่อทดสอบการซัก ผลหม่อนสุก ผลหม่อนสุกมีสีม่วงคล�้ำ เมื่อต้มผลหม่อนสุก 1 ส่วนกับน�้ำ 3 ส่วน ได้สีม่วงแดง เมือ่ น�ำมาย้อมเส้นไหมแบบย้อมร้อนทีอ่ ณ ุ หภูมิ 95 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน 40 นาที ขณะทีอ่ ณ ุ หภูมิ ของน�้ำสีลดลงที่ 70 องศาเซลเซียส เติมน�้ำมะนาว 30 มิลลิลิตร ต่อน�้ำสี 30 ลิตร แล้วน�ำเส้นไหม ลงย้อมต่ออีก 10 นาที ได้เส้นไหมสีม่วงอมเทาเข้ม สีไม่ตกเมื่อซักด้วยน�้ำสะอาดหลังการย้อม

กลุ่มพืชให้สีเขียว แก้ว ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ดอกสีขาว กลิ่นหอม ใบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมัน ใช้ใบเป็นวัตถุดิบให้สี โดยสกัดสีจากใบสดด้วยการต้มกับน�้ำอัตรา 1:4 ย้อมเส้นไหมในน�้ำสีแบบย้อมร้อนนาน 40 นาที จากนั้นล้างน�้ำให้สะอาดแล้วแช่ในสารละลายจุนสี 5 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที ได้เส้นไหมสีเขียว สีคงทนต่อแสงและการซักระดับดี ส่วนการใช้สารช่วยติดสีอื่นๆ เช่น สารส้ม น�้ำต้มใบพืชต่างๆ น�้ำมะขามเปียก ส่วนใหญ่เส้นไหมติดสีเหลืองอมเขียว

18

ผลิใบ

ที่มา : http://news.thaipbs.or.th ภาพประกอบ : design by freepik


English for Fun

ส�ำหรับค�ำว่า "ป่าไม้" นั้น ในภาษาอังกฤษสามารถใช้ได้หลายค�ำด้วยกัน แต่ส่วนใหญ่ที่เราคุ้นเคยกันดี ก็คือค�ำว่า Forest แต่จริงๆ แล้วยังมีค�ำอื่นๆ ที่มีความมายใกล้เคียงกัน ซึ่งน้องๆ บางคนอาจจะทราบอยู่แล้ว และบางคนอาจจะยังไม่ทราบ พี่จึงอยากน�ำค�ำศัพท์เหล่านี้มาให้น้องๆ ได้ทบทวนกันอีกครั้ง

ป่าไม้ สามารถใช้ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดังนี้ 1. forest 2. Timber 3. Jungle 4. Woodland 5. Woods 6. Wild

ป่าไม้ในเมืองไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. Freshwater Swamp Forest 2. Mangrove Forest 3. Peat Swamp Forest 4. Swamp Forest

ค�ำศัพท์อื่นๆ เกี่ยวกับป่าไม้ 1. Tropical Rain Forest 2. Forests and Forestry 3. Urban Forestry 4. Forester 5. Forestry 6. Ranger 7. Silverculture

ป่าบึงน�้ำจืดหรือป่าน�้ำท่วม ป่าชายเลน ป่าพรุ บริเวณป่าที่ลุ่มน�้ำขัง

ป่าไม้เขตร้อน ป่าไม้และการท�ำป่าไม้ ป่าไม้ในเมือง ผู้เชี่ยวชาญการป่าไม้ คนดูแลป่า เจ้าหน้าที่ป่าไม้ สัตว์ป่า การป่าไม้ เจ้าหน้าที่ส�ำรวจของกรมป่าไม้ เจ้าหน้าที่เฝ้าป่าหรืออุทยาน การปลูกป่า การป่าไม้ ผลิใบ

19


NT

I A N A B T L S E U M S O r VEM o f E

องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/


ปลูกต้นไม้ลดภาษี

Let’s go Green

ภาษี

การรณรงค์ ใ ห้ เ พิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วของ กทม. ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะถ้าหากเพิ่มพื้นที่สีเขียวในพื้นที่ ของตนเองได้มากขึ้น สามารถน�ำไป ลดภาษีได้ ซึ่งนโยบายนี้ทาง กทม. อยู ่ ระหว่างการศึกษากรอบแนวทาง เพือ่ ให้เกิดความชัดเจน โดยจะก�ำหนด รายละเอี ย ดเพื่ อ น� ำ เสนอโครงการ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่ออนุมัตินโยบาย ดังกล่าว ในการลดภาษี ให้แก่ประชาชน ต่อไป

ซึ่งเราควรตระหนักในการปลูกต้นไม้ ให้มากขึ้น เพราะข้อมูลจากองค์การ อนามัยโลก World Health Organization (WHO) ได้กำ� หนดค่าเฉลีย่ พืน้ ทีส่ เี ขียว อยูท่ ี่ 9 ตร.ม. ต่อคน แต่ กทม. มีสดั ส่วน พืน้ ทีส่ เี ขียวเพียง 6.14 ตร.ม.ต่อคน เท่านัน้ ซึง่ ส่งผลให้การผลิตก๊าซออกซิเจน น้อยลง สภาพอากาศไม่ดี จึงเป็น เหตุผลหนึง่ ทีจ่ ะมีการผลักดันนโยบาย นี้ให้เกิดขึ้น เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อไป ในอนาคต

ข้อมูลจาก www.dailynews.co.th/bangkok/566060 ผลิใบ

21


The Question Mark?

ป่าไม้ในประเทศไทยมีก่ปี ระเภท?

ประเภทของป่ า ไม้ จ ะแตกต่ า งกั น ไปขึ้ น อยู ่ กั บ ปริ ม าณและการกระจายของฝน รวมถึ ง ระยะเวลาที่ ฝ นตก ที่ ส ่ ง ผล ท�ำให้ป่าแต่ละแห่งมีความชุ่มชื้นต่างกัน สามารถจ�ำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen) และ ป่าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous) ดังนี้

ป่าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous)

ป่าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen Forest) เป็นป่าที่มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบทั้งหมด ที่ขึ้นอยู่เป็นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ได้แก่ 1. ป่าดงดิบ คือ ป่าทีม่ อี ยูท่ วั่ ในทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะภาคใต้ และภาคตะวันออก มักกระจายอยู่บริเวณที่มีความชุ่มชื้นมากๆ ดังนี้ 1.1 ป่าดิบชืน้ 1.2 ป่าดิบแล้ง 1.3 ป่าดิบเขา เป็นป่ารกทึบ มองดู เขียวชอุม่ ตลอดปี ตัง้ แต่ความสูง 600 เมตรจากระดับ นำ�้ ทะเล เช่น ยางนา ยางเสียน เป็นต้น

มักอยูพ่ นื้ ทีค่ อ่ นข้างราบ ชุม่ ชืน้ น้อย แถบภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สูงจากระดับน�ำ้ ทะเล 300-600 เมตร เช่น มะค่าโมง ตะเคียนแดง

2. ป่ า สนเขา มั ก ปรากฎอยู ่ ต ามภู เ ขาสู ง 200 - 1,800 เมตร ขึ้นไปจากระดับน�้ำทะเล ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สนสองใบ และสนสามใบ

ป่าชนิดนีเ้ กิดขึน้ ใน พืน้ ทีส่ งู ๆ หรือบนภูเขา 1,000-1,200 เมตร ขึน้ ไปจากระดับน�ำ้ ทะเล เช่น ไม้ขนุ และสนสามพันปี

ในฤดูฝนป่าประเภทนีจ้ ะมองดูเขียวชอุม่ พอถึงฤดูแล้ง ต้นไม้ส่วนใหญ่จะพากันผลัดใบ ท�ำให้ป่ามองดูโปร่งขึ้น ได้แก่ 1. ป่าเบญจพรรณ (ป่าผลัดใบผสม) มีลกั ษณะ เป็นป่าโปร่งและยังมีไม้ไผ่ชนิดต่างๆ ส่วนมาก ขึ้นบนดินร่วนปนทราย เช่น สัก ประดู่แดง

สัก

สนสองใบ

3. ป่าชายเลน บางทีเรียกว่า "ป่าเลนน�้ำเค็ม” หรื อ ป่ า เลน มี ต้ น ไม้ขึ้นหนาแน่นแต่ละชนิด มีรากคำ�้ ยันและรากหายใจ เช่น โกงกาง แสมทะเล ล�ำพูน ล�ำแพน ฯลฯ 4. ป่าพรุหรือป่าบึงน�้ำจืด มักอยู่ที่มีน�้ำจืด ท่วมดินระบายน�้ำไม่ดี ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ตามบริเวณ ที่มีน�้ำขังตลอดปี เช่น อินทนิล น�้ำหว้า

ประดู่แดง

2. ป่าเต็งรัง หรือ ป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก เป็นป่าโปร่ง พื้นที่แห้งแล้งดินร่วนปนทราย พบอยู่ทั่วไปในที่ราบและที่ภูเขา เช่น เต็ง รัง เต็ง

โกงกาง

อินทนิล

รัง 3. ป่าหญ้า จะอยูใ่ นบริเวณพืน้ ดินทีข่ าดความ สมบูรณ์และถูกทอดทิง้ พืน้ ทีป่ า่ หญ้าขยายง่าย ขึ้นตลอด เช่น หญ้าคา

5. ป่าชายหาด เป็นป่าโปร่งไม่ผลัดใบขึ้นอยู ่ ตามบริเวณหาดชายทะเล ต้องเป็นพืชทนเค็ม เช่น สนทะเล สนทะเล ตีนเป็ดทะเล 22

ผลิใบ

ข้อมูลจาก www.108wood.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=578655&Ntype=6


Green Innovation

Rebirth After Reading หมึกบนกระดาษจางหายภายใน 72 ชั่วโมง

Friends of Nature เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไรสัญชาติจีน ที่ท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อมมาหลายสิบปี ได้ท�ำ โครงการ Rebirth After Reading ขึน้ โดยได้แรงบันดาลใจ มาจากปากกาสีของเด็กๆ ที่ใช้หมึกวาดเล่นบนก�ำแพง แล้วสามารถลบเลือนได้เอง จึงได้เกิดการคิดค้นหมึกพิมพ์ที่เมื่อพิมพ์ เอกสารออกมาแล้วทิ้งไว้ 72 ชั่วโมง หรือ 3 วัน หมึกก็จะจางหาย แล้วสามารถน�ำกระดาษกลับมาใช้ใหม่ได้ ท�ำให้ประหยัดกระดาษ และยังลดขยะอีกด้วย ซึ่งหมึกพิมพ์นี้สามารถใช้งานได้กับ เครื่องพิมพ์ทั่วไป ก็หวังว่าจะเข้ามาแพร่หลาย ในประเทศไทยเพื่อเป็นอีกทางเลือกในการ ช่วยลดการใช้ทรัพยากรได้มากมาย

ข้อมูลจาก : www.creativemove.com/creative/rebirth-after-reading/#ixzz4yxt1UBS0

ผลิใบ

23


On the Move

“บ้านป่าตึงงาม” ชนะเลิศ โครงการ“ ปี 2560 ”

Zero Waste

ป่ า

โดยมุ่งเน้นการลดขยะ 4 ประเภท ให้ได้ตั้งแต่ต้นทาง ดังนี้ 3

ขยะรีไซเคิล 26.66 ก.ก.ต่อวัน มีปริมาณขยะ 36.85 ก.ก.ต่อวัน

ขยะอันตราย 0.05 ก.ก.ต่อวัน

ขยะอินทรีย์ 6.66 ก.ก.ต่อวัน

โดยเริ่มด�ำเนินโครงการชุมชนปลอดขยะ มาตั้งแต่ปี 2554

ครัวเรือน

ชุมชน

110

บ ้า น

27

คน

ตึง

ง าม

่ีท้ังส้ิน 1,481 ไร่ ประชา ท น ื ้ กร มีพ

กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม จัดโครงการประกวดชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ประจ�ำปี 2560 ขยะเหลือศูนย์ เป็นแนวคิดในการ ส่งเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ใหม่ ลดขยะให้เหลือน้อย ทีส่ ดุ โดยใช้หลักการ 3Rs (Reduce-Reuse-Recycle) ซึง่ ชุมชน บ้านป่าตึงงาม หมู่ 3 ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ ในประเภทชุมชนขนาดเล็ก

1. ขยะอิ น ทรี ย ์ มี ก ารคั ด แยกเศษอาหารส�ำหรั บ เลี้ยงสัตว์ มีการท�ำปุ๋ยหมักอินทรีย์ และน�้ำหมักชีวภาพ มีถังส�ำหรับก�ำจัดขยะเปียก ฯลฯ 2. ขยะรี ไ ซเคิ ล มี ก ารบริ จ าคขยะรี ไ ซเคิ ล ร่ ว มกั น เดือนละ 1 ครั้ง น�ำไปขายน�ำเงินเข้าสวัสดิการภายใน ชุมชน และน�ำวัสดุรีไซเคิลมาประยุกต์ใช้ เช่น ท�ำป้าย จราจร ป้ายบ้านเลขที่ ท�ำตู้จดหมาย 3. การจัดการขยะทั่วไป มีการคัดแยกขยะน�ำกลับมา ท�ำสิ่งประดิษฐ์ การรวบรวมน�้ำมันพืชใช้แล้วน�ำไปขาย การคัดแยกถุงพลาสติกขายให้กับบริษัทเอกชน 4. การจัดการขยะอันตราย โดยคัดแยกขยะอันตราย ในครั ว เรื อ นและน�ำมารวบรวมไว้ ที่ จุ ด รวบรวมของ ชุมชน เพื่อให้เทศบาลมาจัดเก็บ

กิจกรรมร้านค้าลดใช้ถุงพลาสติก เมื่อน�ำถุงผ้า หรือตะกร้า มาซื้อของครบทุก 50 บาท มีการจัดสวัสดิการของ จะได้รับส่วนลด 1 บาท ชุมชน เรียกว่า “กองทุนขยะรีไซเคิลหมู่บ้าน” โดยรายได้จากการขายถุงพลาสติก การขายน�้ำมันพืช ใช้แล้ว จะถูกน�ำมาเก็บไว้ในกองทุน เพื่อเป็นสวัสดิการต่างๆ เช่น ทุนการศึกษา เงินช่วยเหลือสมาชิกกรณีเจ็บป่วย หรือ เสียชีวิต รวมทั้งการพัฒนาด้านต่างๆ ภายในชุมชน เป็นต้น 24

ผลิใบ

ที่มา : www.thairath.co.th


Green Mind

มาตรการ จากทั่วโลก

บังคลาเทศ • ห้ามผลิตถุงพลาสติก • ฝ่าฝืนปรับ 2,000 ดอลลาร์ อินเดีย • ห้ามใช้ถุงพลาสติกที่หนาเกิน 20 ไมโครเมตร • ห้ามใช้ถุงพอลิเอทิลีนที่บางกว่า 50 ไมโครเมตร • บางรัฐห้ามใช้ถุงพลาสติกทุกรูปแบบ จีน • ห้ามใช้ถุงพลาสติกที่บางมาก • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก ฮ่องกง • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก อินโดนีเซีย • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก อิสราเอล • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก

มาเลเซีย • ในบางเมืองเก็บภาษีถุงพลาสติก

อิตาลี • เก็บภาษีถุงพลาสติก

ไต้หวัน • ห้ามร้านค้าแจกแถมถุงพลาสติก • ให้ร้านใช้ถุงกระดาษแทน

สวิสเซอร์แลนด์ • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก

เมียนมา • ย่างกุ้งยกเลิกการใช้ถุงพลาสติก • หลายเมืองประกาศพื้นที่ ปลอดถุงพลาสติก ฝรั่งเศส • ห้ามใช้ถุงพลาสติกและผลิตภัณฑ์ ที่ใช้แล้วทิ้งภายในปี 2020 สหรัฐอเมริกา • บางรัฐห้ามใช้ถุงพลาสติก • บางรัฐเก็บค่าธรรมเนียมใบละ 5 เซนต์ เดนมาร์ค • เก็บภาษีจากผู้ค้าปลีก

อังกฤษ • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก ออสเตรเลีย • หลายเมืองประกาศแบนถุงพลาสติก เนเธอแลนด์ โรมาเนีย แคนาดา แม็กซิโก อาร์เจนตินา โคลัมเบีย นิวซีแลนด์ • ออกมาตรการเข้มงวดเกี่ยวกับ การใช้ถุงพลาสติก • บางพื้นที่สั่งห้ามใช้ถุงพลาสติก โดยเด็ดขาด

เยอรมัน • เก็บค่าธรรมเนียมถุงพลาสติก ไอร์แลนด์ • เก็บภาษีถุงพลาสติก

ผลิใบ ที่มา : ส�ำนักข่าวสิ่งแวดล้อม (GreenNews)

25


Evolution Fun Facts

ก�ำเนิดป่า 2 ยุคเดวอเนียน (Devonian) หรือ 350 ล้านปีล่วงมาแล้ว มีพืชบกดึกด�ำบรรพ์ ก�ำเนิดขึ้น

1 ยุคพรีแคมเบรียน (Pre-Cambrian) คือ เมื่อ 1,200 - 2,000 ล้านปี ล่วงมาแล้ว มีพืชทะเลดึกด�ำบรรพ์ ในรูปของแอลจี (Algae) อันเป็นจุลินทรีย์ ที่มีเซลล์เดียว และเป็นต้นตระกูลของ สาหร่ายทะเลได้ถือก�ำเนิดขึ้นมา

26

ผลิใบ

3 ยุคคาร์บอนิเฟอรัส (Carbonifer us) หรือ 300 ล้านปี จัดเป็นยุคที่ถ่านหินได้ก�ำเนิดขึ้น จากซากพืชที่ทับถมกันอยู่ พรรณไม้จ�ำพวกเฟิร์น หรือผักกูด และพรรณไม้สนสมัยบรรพกาล ได้ถือก�ำเนิดขึ้น

4 ยุคเพอร์เมียน (Permian) หรือ 215 ล้านปีล่วงมาแล้ว บรรดาพืชที่เกิดขึ้น ในยุคคาร์บอนิเฟอรัสได้ล้มตาย และสาบสูญลงบ้าง


5 ยุคทริแอสสิก (Triassic) หรือ 190 ล้านปีล่วงมาแล้ว พรรณไม้จ�ำพวกปรง ถือก�ำเนิดขึ้น

6 ยุคจูราสสิก (Jurassic) หรือ 155 ล้านปีล่วงมาแล้ว มีพรรณไม้ตระกูลสน เจริญเติบโตขึ้น อย่างมากมาย

ที่มา : http://kanchanapisek.or.th

7 ยุคครีเตเชียส (Cretaceous) หรือ 120 ล้านปีล่วงมาแล้ว มีการเกิดพรรณไม้ที่มีดอก มีสีสันต่างๆ ขึ้น

8 ยุคพลิโอซีน (Pliocene) เมื่อ 12 ล้านปีมานี้ พรรณไม้สมัยปัจจุบัน ได้วิวัฒนาการขึ้น

ผลิใบ

27


Do It Yourself

หลายครั้งที่เราจะพบเห็น ยางรถยนต์เก่าถูกทิง้ ตามกองขยะ เพราะไม่สามารถน�ำมาใช้ได้อกี ที่เห็นทั่วไปส่วนใหญ่ก็จะน�ำมา เป็นที่ปลูกต้นไม้แทนกระถาง แต่จริงๆ แล้วเราสามารถน�ำ ยางรถยนต์เก่ามาดัดแปลงเป็น ของใช้ได้หลากหลาย ขึน้ อยูก่ บั ไอเดีย และฝีมอื ในการประดิษฐ์ เราลองมาดูไอเดียการดัดแปลง ยางรถยนต์ให้เป็นของใช้กนั ว่า จะสวยงามน่าใช้ขนาดไหน

28

ผลิใบ


ผลิใบ

29


Think Out of the Box

เด็กวัย 11 ปี ผู้คิดค้นอุปกรณ์ตรวจหา สารตะกั่วปนเปื้อนในน�้ำ

ในสิ่ ง แวดล้ อ มของโลกเรานั้ น เต็ ม ไปด้ ว ย มลพิษ ทั้งฝุ่น ควัน เชื้อโรค และสารเคมี ซึ่ง สามารถเข้าสูร่ า่ งกายได้ตลอดเวลา โดยปนเปือ้ น มากับอากาศ อาหาร และนำ �้ โดยเฉพาะอันตราย จากสารปนเปื ้ อ นในน�้ ำ เป็ น สิ่ ง ที่ ต ้ อ งค�ำนึ ง ถึ ง เป็นอันดับต้นๆ เพราะน�้ำถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการ ด�ำรงชีวิตรองจากอากาศ เนื่องจากในร่างกาย มีน�้ำเป็นส่วนประกอบอยู่ร้อยละ 50-75 ของ นำ�้ หนักตัว และทุกๆ เซลล้วนมีนำ�้ เป็นส่วนประกอบ ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้น�้ำที่ใช้อุปโภคบริโภคจึงควรเป็น นำ�้ ทีส่ ะอาดปราศจากสารปนเปือ้ น ซึง่ สารปนเปือ้ น แบ่งออกเป็น 2 กลุม่ คือ สารเคมี และโลหะหนัก ซึ่งสารเคมีส่วนใหญ่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง และ มีผลกระทบต่อระบบฮอร์โมน นอกจากสารปนเปือ้ นในน�ำ้ แล้วยังมีสงิ่ มีชวี ติ ทีท่ �ำให้เกิดโรคอืน่ ๆ อีก เช่น แบคทีเรีย ไวรัส พยาธิ โปรโตซัว และสาหร่าย

30

ผลิใบ

จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นท�ำให้ ด.ญ. คีตาญชลี ราว เด็กหญิง วัย 11 ปี ที่ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว เธอได้คิดค้นอุปกรณ์ตรวจหา สารตะกั่วปนเปื้อนในน�้ำ โดยวิธีที่ต้นทุนต�่ำและท�ำได้รวดเร็วโดยอาศัย เทคโนโลยีทอ่ นาโนคาร์บอน ซึง่ การทดลองนีเ้ ป็นประโยชน์กบั คนจ�ำนวนมาก ในสหรัฐฯ เนื่องจากมีรายงานการปนเปื้อนของสารตะกั่วในน�้ำประปา นับพันแห่ง ผลงานชิ้นนี้จึงได้รับรางวัลที่ 1 นักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ ของสหรัฐฯ ด.ญ. คีตาญชลี ราว ได้รบั เลือกจากผูเ้ ข้ารอบสุดท้ายอีก 10 คน ทีไ่ ด้มโี อกาสร่วมงานกับนักวิทยาศาสตร์เป็นเวลา 3 เดือน เพือ่ พัฒนาแนวคิด ของตนเอง ทุ ก วั น นี้ วิ ธี ก ารทดสอบที่ แ ม่ น ย�ำเพื่ อ หาสารตะกั่ ว ปนเปื ้ อ นในน�้ำ ยังมีราคาแพงและต้องใช้เวลาส่งตัวอย่างน�้ำไปวิเคราะห์ยังห้องทดลอง แต่นวัตกรรมจากแนวคิดริเริ่มของ ด.ญ.คีตาญชลี ที่เรียกว่า "เทธิส" ซึ่งเป็นชื่อของเทพแห่งน�้ำจืดของชาวกรีกยุคโบราณ ใช้ระบบเซนเซอร์ แบบพกพา ที่เชื่อมต่อกับแอปพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือ ซึ่งวิเคราะห์ค่า ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เด็กหญิงกล่าวในบทสัมภาษณ์กับนิตยสารบิสซิเนส อินไซเดอร์ว่า "หากคุณอาบน�้ำที่ปนเปื้อนก็จะเป็นผื่น ซึ่งนักระบาดวิทยาสามารถตรวจ รั ก ษาได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว " และ "หากมี ใ ครดื่ ม น�้ ำ ที่ ป นเปื ้ อ นสารตะกั่ ว ลูกที่ออกมาก็อาจมีปัญหาทางร่างกายได้เล็กน้อย" เธอกล่าวด้วยว่า อยากพัฒนาอุปกรณ์นี้ให้ดีขึ้นเพื่อให้น�ำออกสู่ตลาด ได้ในทีส่ ดุ และเมือ่ โตขึน้ เธออยากจะเป็นนักพันธุศาสตร์หรือนักระบาดวิทยา ด.ญ. คีตาญชลี ได้รับรางวัลชนะเลิศ จากงาน 2017 Discovery Education 3M Young Scientist Challenge พร้อมเงินรางวัล 25,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรือราว 830,000 บาท


Cover Story

“พระเจ้าอยู่หัวเป็นน�้ำ ฉันจะเป็นป่า ป่าที่ถวายความจงรักภักดีต่อน�้ำ พระเจ้าอยู่หัวสร้างอ่างเก็บน�้ำ ฉันจะสร้างป่า” พระราชด�ำรัส สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ ๙

ข้อมูล : กระทรวงพลังงาน ภาพประกอบ : www.freepik.com

ผลิใบ

31


Cover Story

ป่าสิริเจริญวรรษ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ หรือที่รู้จัก กันในชื่อ “ป่าแห่งรัก” เป็นผืนป่าที่พระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงมอบให้พระราชินีเพื่อแสดงความรัก ที่นี่มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่มี ความสวยงาม เป็นป่าต้นน�้ำที่เลี้ยงดูประชาชนใน 4 ต�ำบลของอ�ำเภอสัตหีบ และอ�ำเภอบางละมุง ภูมิทัศน์โดยรอบ ห้อมล้อมด้วยสถานที่ท่องเที่ยวชื่อดังของจังหวัดชลบุรีมากมายที่มีเส้นทางเชื่อมโยงกัน ทั้งวัดญาณสังวราราม ราชวรมหาวิหาร พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ ไร่องุ่นซิลเวอร์เลค และสวนน�้ำรามายณะ ป่าสิริเจริญวรรษ

ไร่องุ่น ซิลเวอร์เลค

วัดเขาชีจรรย์

ป่าสิริเจริญวรรษ มาจากการผสมของค�ำว่า “สิริกิติ์” และ “เจริญวรรษ” เดิมทีพื้นที่ผืนป่าเขาชีโอน ในจังหวัด

ชลบุรี เป็นพื้นที่เขาหัวโล้นและแห้งแล้ง แหล่งน�้ำที่หล่อเลี้ยงชุมชนเริ่มลดลง พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 จึงมีพระราชด�ำริให้มีการฟื้นฟูผืนป่าเขาชีโอนขึ้น เพื่อเป็นการรักษาสมดุล สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และได้พระราชทานชื่อโครงการป่าสิริเจริญวรรษ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ เมื่อปี พ.ศ. 2535 ป่าสิริเจริญวรรษฯ จึงถือได้ว่าเป็นอนุสรณ์สถานป่า ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วยความรักของทั้งสองพระองค์ จนได้ชื่อว่า “ป่าแห่งรัก” ในที่สุด

32

ผลิใบ


โครงการป่าสิริเจริญวรรษ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มีพื้นที่รวมกว่า 3,900 ไร่ ได้ด�ำเนินการสานต่อ ตามแนวทางปณิธานขององค์พอ่ หลวง รัชกาลที่ 9 ทีเ่ ห็นเป็นรูปธรรมเด่นชัด ประกอบด้วย กิจกรรมปลูกป่าในใจคน กิจกรรมเข้าค่ายพักแรม ที่มีกิจกรรมย่อยเป็นฐาน อาทิ กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมให้ความรู้ และสร้าง ความสามัคคี กิจกรรมจัดท�ำฝ่ายชะลอน�้ำ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ กิจกรรมยิง EM Ball และกิจกรรมปั่นจักรยาน เส้นทางปั่นจักรยานในสวนป่าสิริเจริญวรรษฯ ที่มีความงดงามแห่งหนึ่งของประเทศไทยจนถูกจัดให้เป็นหนึ่งใน 70 เส้นทางตามรอยพระบาทของ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยด้วย โดยแนวคิ ด และกิ จ กรรมทั้ ง หมด ท�ำให้มีน�้ำ มีป่า และมีชีวิต ส�ำหรั บ ผู ้ ที่ ส นใจไปเยี่ ย มชม ป่าแห่งรัก สามารถเดินทางไปโดย ใช้ทางหลวงหมายเลข 3 สุขุมวิทพัทยา เลยพัทยาใต้มาทางสัตหีบ พอเข้าเขตนาจอมเทียน ประมาณ หลัก กม. ที่ 161 ให้สังเกตซ้ายมือ จ ะ เ ห็ น ท า ง เ ข ้ า วั ด เ ข า ชี จ ร ร ย ์ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนบานเย็น แล้ววิ่ง ตรงไปประมาณ 8 กม. โครงการ สวนป่าสิริเจริญวรรษฯ จะอยู่ทาง ขวามือ ซึ่งจะเปิดให้เข้าเยี่ยมชมได้ ตั้งแต่เวลา 08.00-16.30 น. ในทุก วันวันจันทร์ถึงวันเสาร์ ที่เที่ยวห้ามพลาด สวนรวมพันธุ์ไม้ดอกหอมไทย เดินเล่นกล างป่าใหญ่เก็บภาพดอกไม้สวยๆ โดยรอบ สวนรวมพันธุ์กล้วยไทย ดูการเติบโตของ กล้วยนานาชนิด โรงอนุบาลสัตว์และหอดูสัตว์ ชมสัตว์ป่า ทั้งหลายโดยไม่รบกวน กิจกรรมห้ามพลาด ร่วมเป็นอาสาเพาะช�ำกล้าไม้ เพิ่มสีเขียวให ้พื้นที่ เรียนรู้และลงรู้ทางฝายชะลอน�้ำพิทักษ์ป่า ให้ชุ่มชื่น กางเต็นท์พักแรมริมบึงน�้ำแสนสวย ที่มาและภาพประกอบจาก : https://www.posttoday.com/travel/thailand/521405 ผลิใบ

33


Young Artist

ผลการประกวดสร้างสรรค์ผลงาน โครงการ Young Creative Environment Artist Season 2 ระดับมัธยมศึกษา หัวข้อ ผลิตภัณฑ์สีเขียวของคนรุ่นใหม่ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน

รางวัลชนะเลิศ ด.ญ. ดิษญา ประดิษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ศรีนครินทร์วิโรฒน์ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)

34

ผลิใบ


ผลิใบ

35


Young Storyteller

โครงการประกวดนักเขียนรุ่นเยาว์ ปี 9 หัวข้อ ด�ำเนินธุรกิจอย่างเตารพสิทธิและพิทักษ์ส่งแวดล้อม ด.ญ. ประภาพรรณ มณีโรจน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี “เราอยู่ได้ไม่โศกโลกสุขศานต์ เราอยู่ได้ใช้น�้ำไฟไม่ประมาณ ป่าล�ำธารไพรฟ้าลดน้อยลง ปัจจุบันโลกเศร้าเคล้าคลอทุกข์ แต่คนสุขไม่คิดถึงประสงค์ หากช่วยกันหมั่นรักษาต้องยืนยง ทรัพยากรมั่นคงตราบตรึงตรา” พลังโลก จาก ธัญธร กลอนกวี

บทกลอนข้ า งต้ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ปั จ จุ บั น โลกของเราก�ำลังเปลี่ยนไป ทุกคนบนโลกโลกใบนี ้ จึงต้องหันมาช่วยกันดูแลรักษาโลกให้ยั่งยืน ซึ่งมี หลายอย่างมากที่ทุกคนต้องพัฒนาเพื่อโลก เช่น ก า ร ใ ช ้ ป ร ะ จ�ำ วั น การประกอบธุรกิจต่างๆ จึ ง ควรมี ต ้ น แบบในการ ด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ พั ฒ นา อย่างยั่งยืน คือ มีการ พั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม

36

ผลิใบ

สังคม เศรษฐกิจ และควรมีจริยธรรมทางธุรกิจด้วย การด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ มี ค วามยั่ ง ยื น นั้ น ผู้ประกอบธุรกิจจะต้องมีความรู้เรื่อง CSR ซึ่ง เป็นการน�ำแบบแผน หรือลักษณะของธุรกิจทีว่ า่ ด้วย เรื่ อ งจรรยาบรรณ หรื อ จริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ CSR ตามหลักสากล คือ การต้องค�ำนึงถึงการ สนับสนุนการพิทกั ษ์สงิ่ แวดล้อม ส่งเสริมการพัฒนา และใช้ เ ทคโนโลยี ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม การเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนในธุ ร กิ จ ไม่ บั ง คั บ ใช้ แรงงาน ไม่ใช้แรงงานเด็ก ไม่เลือกปฏิบัติต่อการ จ้ า งแรงงาน รวมทั้ ง เคารพสิ ท ธิ ผู ้ บ ริ โ ภคด้ ว ย ในขณะเดียวกันองค์กรภาคธุรกิจของประเทศก�ำลัง ตื่นตัวกับการน�ำ CSR มาใช้ในการประกอบธุรกิจ ขนาดใหญ่ ซึง่ ท�ำเพือ่ ประโยชน์ตอ่ สังคม ไม่ได้ท�ำเพียง แค่ประโยชน์ทางธุรกิจส่วนตน เรื่องบรรษัทภิบาล คือการบริหารจัดการธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ซึง่ ครอบคลุม ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ เกิดการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องกันในทุกธุรกิจ โดย


ก�ำหนดเป้าหมายการบริหารจัดการทางธุรกิจในทาง ปฏิบัติการพัฒนาอย่างยั่งยืน คือการตอบสนอง ความต้องการโดยไม่ให้มีผลกระทบทางด้านต่างๆ ต่ อ ไปนี้ การพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ด้ า นเศรษฐกิ จ เป็นเป้าหมายสูงสุดของการด�ำเนินธุรกิจ คือการ สร้างคุณค่าให้แก่ ลูกค้า พนักงานและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกฝ่าย โดยมีผลก�ำไรเสมือนทางผ่านไปสู่ ประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย ในการที่จะเติบโต อย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กัน ต่อไปคือ การพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น การพั ฒ นา กระบวนการผลิต พร้อมกับการปลูกฝังให้ผู้ผลิต และพนักงานให้มจี ติ ส�ำนึกในการค�ำนึงถึงผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อม โดยต้องมีกระบวนการ ผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดการใช้ ทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งจะลดการก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และ สุดท้าย การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านสังคม เป็นการ สร้ า งสรรค์ สั ง คมและพั ฒ นาศั ก ยภาพของคน ในด้านต่างๆ ทัง้ สิง่ แวดล้อม การศึกษา วิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี เป็นต้น เพี่อให้เติบโตคู่กับสังคมไทย อย่ า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง ก็ มี บ ริ ษั ท ที่ ส ามารถเป็ น ต้ น แบบ ในการด�ำเนินธุรกิจอยู่หลายบริษัท ซึ่งหนึ่งในนั้น ที่ควรน�ำมาเป็นแบบอย่างก็คือ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีวิสัยทัศน์ในการที่จะเป็นผู้ผลิต ไฟฟ้าชั้นน�ำในระดับสากล เป็นที่เชื่อมั่นของสังคม โดยมีพันธกิจว่าผลิตไฟฟ้าอย่างมีคุณภาพ มั่นคง ด้ ว ยต้ น ทุ น ที่ เ หมาะสม ใส่ ใ จต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นกัลยามิตรต่อชุมชน และผู้ปฏิบัติงานมีความสุข ในการท�ำงาน จนสามารถได้รับรางวัล การบริหาร สูค่ วามเป็นเลิศ Thailand Quality Class. : TQC ประจ�ำปี 2556 การที่ จ ะด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งเคารพสิ ท ธิ แ ละ พิ ทั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ต้ อ งมี ก ระบวนการผลิ ต ที ่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยต้องเริ่มจาก การปลูกจิตส�ำนึกในตัวผู้บริหารเองและพนังงาน ให้ มี ก ารด�ำเนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ค�ำนึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ซึ่งอาจน�ำโรงไฟฟ้าแม่เมาะ มาเป็นแบบอย่างในการประกอบธุรกิจได้อกี ด้วย

ผลิใบ

37


Season 3

ขอเชิญร่วมส่งผลงานเข้าประกวดชิงทุนการศึกษาในโครงการ

Young Creative Environment Artist (Season 3)

1. ระดับประถมศึกษา 1.1 สร้างสรรค์ภาพทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับ SDGs17 พร้อมทัง้ อธิบายว่าชิน้ งาน มีความเชือ่ มโยงกับ SDGs17 ในข้อใดบ้าง อย่างไร และมีความสอดคล้อง กับการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างไร คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาระดับประถมศึกษา ปีที่ 4-6 2. ระดับมัธยมศึกษา 2.1 มัธยมศึกษาตอนต้น สร้างสรรค์ภาพที่มีความเชื่อมโยงกับ SDGs17 พร้อมทั้งอธิบายว่าชิ้นงานมีความเชื่อมโยงกับ SDGs17 ในข้อใดบ้าง อย่างไร และมีความสอดคล้องกับการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างไร 2.2 มัธยมศึกษาตอนปลาย สร้างสรรค์ภาพที่มีความเชื่อมโยงกับ SDGs17 พร้อมทั้งอธิบายว่าชิ้นงานมีความเชื่อมโยงกับ SDGs17 ในข้อใดบ้าง อย่างไร และมีความสอดคล้องกับการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างไร คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 3. ระดับอุดมศึกษา 3.1 หนังสั้น ความยาว 15 นาทีขึ้นไป สร้างสรรค์หนังสั้นที่มีความเชื่อมโยง กับ SDGs17 พร้อมทัง้ อธิบายว่าชิน้ งานมีความเชือ่ มโยงกับ SDGs17 ใน ข้ อ ใดบ้ า ง อย่ า งไร และมี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การดู แ ลรั ก ษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างไร คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 1-4

กติกาการส่งผลงานภาพวาด

1. ผู้ส่งผลงานต้องเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานด้วยตัวเอง 2. เขียนชื่อภาพ ค�ำอธิบายภาพว่าผลงานชิ้นนี้มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมาย SDGs17 ข้อใดบ้าง และมีเจตนารมณ์ในการสื่อผลงานอย่างไร (Concept Idea) พร้อมชื่อ-สกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชือ่ โรงเรียน และระดับชัน้ ทีก่ ำ� ลัง ศึกษา ไว้ด้านหลังภาพที่ส่งเข้าประกวด (ถ้าข้อมูลไม่ครบตัดสิทธิ์การส่ง ผลงานเข้าประกวด) 3. ขนาดของผลงาน 16 x 24 นิ้ว (A2) 4. ไม่จ�ำกัดเทคนิคในการวาด และใช้สีได้อย่างอิสระ 5. ผลงานที่ส่งเข้าประกวด ต้องไม่เคยได้รับรางวัลหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่ในสื่อ ใดๆ 6. ผลงานทีส่ ง่ เข้าประกวดต้องไม่มกี ารลอกเลียนจากศิลปินท่านอืน่ 7. ผลงานทีส่ ง่ เข้าประกวดจะตกเป็นกรรมสิทธิข์ องสถาบัน สิง่ แวดล้อมไทย 8. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 9. 1 คน ส่งได้ 1 ผลงาน

กติกาการส่งผลงานหนังสั้น

1. ผู้ส่งผลงานต้องเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานด้วยตัวเอง 2. เขี ย นชื่ อ ผลงาน และค� ำ อธิ บ ายว่ า ผลงานชิ้ น นี้ มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ เป้าหมาย SDGs17 ข้อใดบ้าง และมีเจตนารมณ์ในการสื่อผลงานอย่างไร (Concept Idea) พร้ อ มชื่ อ -สกุ ล ที่ อ ยู ่ เบอร์ โ ทรศั พ ท์ ชือ่ สถาบันการศึกษา แนบกับซีดที สี่ ง่ เข้าประกวด (ถ้าข้อมูลไม่ครบตัดสิทธิ์ การส่งผลงานเข้าประกวด) 3. ความยาวหนัง 15 นาทีขึ้นไป 4. ไม่จ�ำกัดอุปกรณ์การถ่ายท�ำ และตัดต่อ (สามารถใช้ Smart Phone ในการ สร้างสรรค์ผลงานได้) 5. ผลงานที่ส่งเข้าประกวด ต้องไม่เคยได้รับรางวัลหรือเผยแพร่ในสื่อใดๆ มา ก่อน 6. ผลงานทีส่ ง่ เข้าประกวดจะตกเป็นกรรมสิทธิข์ องสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 7. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 8. 1 คน ส่งได้ 1 ผลงาน

รางวัล

ระดับประถมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ระดับมัธยมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ระดับอุดมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 15,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคณ ุ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 10,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ เปิดรับผลงาน ตั้งแต่วันนี้ ถึง 15 มีนาคม 2561 (โดยถือวันที่ประทับตรา ไปรษณีย์เป็นส�ำคัญ) ดูหัวข้อ SDGs17 และดาวน์โหลดข้อมูลได้ที่ http://www.tei.or.th/tbcsd/projects/ young-creative-envi-artist-SDGs17.pdf

ส่งผลงานได้ที่ : วารสารผลิใบ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 จ่าหัวเรื่อง “YOUNG CREATIVE ENVIRONMENT ARTIST” สอบถาม 0 2503 3333 ต่อ

534


Give and Share ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพือ่ มอบของขวัญอันทรงคุณค่า ด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังราย นามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนอนุบาลศรีส�ำโรง โรงเรียนจงสวัสดิ์เจริญวิทยา โรงเรียนสามัคคีมีชัยวิทยา โรงเรียนหนองบัวรีราษฎร์อุทิศ โรงเรียนบ้านตลาดไทร โรงเรียนบางอ�ำพันธ์วิทยาคม โรงเรียนชุมชนบัวบานสามัคคี โรงเรียนพิศาลปุณณวิทยา โรงเรียนบ้านพระคือหนองโพธิ์วิทยา โรงเรียนชุมชนยอดแก่งสงเคราะห์ โรงเรียนสายปัญญาสมาคม

จังหวัด จ.สุโขทัย จ.กำ�แพงเพชร จ.บุรีรัมย์ จ.นครราชสีมา จ.นครราชสีมา จ.ชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ จ.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น จ.กาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์

โรงเรียนบ้านหนองสระ โรงเรียนน�้ำพร้าสามัคคี โรงเรียนบ้านเหล่าหมากค�ำ โรงเรียนขุนไกรพิทยาคม โรงเรียนชุมชนบ้านท่าแหน โรงเรียนอรุโณทัย โรงเรียนบ้านสะแกงาม โรงเรียนบ้านกงกะยาง โรงเรียนยุวบัณฑิตวิทยา โรงเรียนอนุชนวัฒนา โรงเรียนบ้านสามหลัง โรงเรียนรวมศูนย์วัดห้วยแก้ว โรงเรียนวัชรวิทยา โรงเรียนท่าปลาอนุสรณ์ 1

จ.มหาสารคาม จ.อุตรดิตถ์ จ.มหาสารคาม จ.สุโขทัย จ.ลำ�ปาง จ.ลำ�ปาง จ.เพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ จ.นครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ จ.กำ�แพงเพชร จ.อุตรดิตถ์

ภาพประกอบ design by freepik

โรงเรียน โรงเรียนวัดใหม่โพธิ์ทอง โรงเรียนวัดเพิ่มประสิทธิผล โรงเรียนวัดทุ่งมน โรงเรียนวัดบึง โรงเรียนระเบียบวิทยา โรงเรียนวัดแสงสรรค์ โรงเรียนบ้านลำ�พยา โรงเรียนวัดบางแขม โรงเรียนวัดท่าด่าน โรงเรียนวัดคีรีวัน โรงเรียนอนุบาลหันคา(วัดท่ากฤษณา-สุชัย ประชาสรรค์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์นางรอง โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา โรงเรียนวัดเสือข้าม โรงเรียนวังจันทร์วิทยา โรงเรียนอุดมวิทยานุกูล โรงเรียนอนุบาลเมืองปราจีนบุรี โรงเรียนวัดประสาธน์รังสรรค์ โรงเรียนชุมชนวัดแสนตุ้ง โรงเรียนบ้านเนินตะบก โรงเรียนบ้านว่าน โรงเรียนบ้านไทรงามโนนภูดิน โรงเรียนบ้านทุ่งแต้ โรงเรียนศิลาทองพิทยาสรรค์ โรงเรียนวัดวิจิตรรังสรรค์

จังหวัด จ.สระแก้ว จ.สิงห์บุรี จ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.นครปฐม จ.นครปฐม จ.นครนายก จ.นครนายก จ.ชัยนาท จ.บุรีรัมย์ จ.สระแก้ว จ.สิงห์บุรี จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี จ.ตราด จ.ตราด จ.หนองคาย จ.หนองคาย จ.ยโสธร จ.ยโสธร จ.ชัยนาท

ผลิใบ

39


Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....

สมัครสมาชิกใหม่ หรือต่ออายุสมาชิกวารสารผลิใบ รับทันที

สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………........................................................................ ที่อยู่ ………………………........................................................................................ ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................................ การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6

จากธนาคารออมสิน

และ

กระปุกออมสินเด็กไทย

¼ÅÔ㺠125_edit2.pdf 1 10/11/2017 2:25:00 PM

C

M

Y

MY

CY

CMY

K

F

Animal Wonders

ซากสัตวดกึ ดําบรรพในประเทศไทย

Green Mind

มาตรการกําจัดถุงพลาสติก จากทัว่ โลก

Green Mind

Science Tricks

เกษตรกรรมยัง่ ยืน เพือ่ ความมัน่ คงทางอาหารของไทย

เมือ่ ไมกลายเปนหิน

Science Tricks

Forest for Life

Cover Story

ประโยชนของจุลนิ ทรีย

Cover Story

แนวคิดการบริโภคอยางยัง่ ยืน และความมัน่ คงทางอาหาร

www.facebook.com/plibai2012.tei

www.facebook.com/plibai2012.tei EERT

124_edit2.pdf 1 3/7/2560 14:12:42

¼ÅÔ㺠123.pdf 1 3/28/2017 2:59:23 PM

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

ปท่ี 23 ฉบับที่ 124 เดือนเมายน-มิถนุ ายน 2560

ปท่ี 23 ฉบับที่ 123 เดือนมกราคม-มีนาคม 2560

World of Energy

C

M

Y

CM

C

M

Y

CM

MY MY CY CY CMY CMY K K

Young Artist ประกาศรางวัลผูช นะในโครงการ Young Creative Environment Artist

Animal Wonders โลกของสัตวเรืองแสง

C LI Y

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559

ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559

M

cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

C

What the World Offer Sustainable Development Goals (SDGs)

cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27

cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13

CM

Grew the Earth ตนรวงผึง้ พรรณไมประจํารัชกาลที่ 10

www.facebook.com/plibai2012.tei

Evalution Fun Facts วิวฒ ั นาการพลังงานไทย

www.facebook.com/plibai2012.tei

Let’s go Green แนวทางอนุรกั ษพลังงานอยางไดผล

ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558

Eco Life Issue MA

T

C

C M

M Y

Y CM

CM

HA

MY

NG

CY

CMY

K

MY CY

CY CMY

CMY K

SU E

English for Fun Eco not Ego

Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก

Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit

Green Energy

Do It Yourself

The Question Mark

มหัศจรรยพลังนํ้า

ขวดกลับหัว

นํ้าหายไปไหน

www.facebook.com/plibai2012.tei

Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต

K

www.facebook.com/plibai2012.tei

Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก

MY

E IS

www.facebook.com/plibai2012.tei

ผลิใบ

D SECURITY

ปลาซัคเกอร...ศัตรูของระบบนิเวศ

Animal Wonders

Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร

40

ปท่ี 23 ฉบับที่ 126 เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2560

ปท่ี 23 ฉบับที่ 125 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2560

CM

วารสารย้อนหลัง

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

EC

วารสารผลิใบ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com

กระเป๋าเป้ผ้าร่ม




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.