เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559
C LI
MA
T EC
HA
NG
Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก
SU E
Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต
www.facebook.com/plibai2012.tei
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร
E IS
Editor’s Note ช่วงนีถ้ งึ แม้จะเป็นหน้าฝน แต่โลกของเรา ก็ยังคงร้อนขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยอุณหภูมิ เฉลี่ยเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาทำ�สถิติเป็น เดือนทีร่ อ้ นทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์ยคุ ใหม่ เมือ่ เทียบกับข้อมูลอุณหภูมิเดือนมิถุนายนที่โนอา ได้บันทึกมาตลอด 137 ปี ซึ่งเป็นสัญญาณ ว่าโลกกำ�ลังร้อนขึ้นด้วยอัตราเร่ง ถึงแม้ภาวะโลกร้อนจะมีีส่วนที่ทำ�ให้เกิด ภัยพิบตั ทิ างด้านสิง่ แวดล้อม แต่กไ็ ม่ใช่ทงั้ หมด เพราะยังมีอีกหลายปัจจัยที่สามารถก่อให้เกิด ภั ย พิ บั ติ ต่ อ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โดยเฉพาะผลจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภู มิ อ ากาศ ซึ่ ง ในวารสารผลิ ใ บฉบั บ นี้ ไ ด้ รวบรวมเนื้ อ หาสาระที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ เปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศมาให้ เ ด็ ก ๆ ได้ เ รี ย นรู้ ใ นหลากหลายแง่ มุ ม เพื่ อ เป็ น แนวทางปฏิ บั ติ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งในการอนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรทางธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ภายใต้สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป
ศ.ดร. ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล บรรณาธิการบริหาร
• วารสารผลิใบได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทวารสารที่มีเนื้อหาทั่วไป เหมาะสมกับเยาวชน ประจำ�ปี พ.ศ. 2538 – 2539 จากคณะกรรมการ ส่งเสริม และประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ศ.ดร. ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล โรงพิมพ์ บจก. มาตา การพิมพ์ สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2503 3333 โทรสาร : 0 2504 4826-8 อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei
Inspiration Book
3
Inspiration Movie
3
IT Generation
4
Let’s go Green
5
Animal Wonders
8
10
Think Out of the Box
12
Grew the Earth
13
Green Energy
15
Evaluation Fun Facts
17
Green Mind
23
The Question Mark
24
Young Artist
26
English fo Fun
28
Young Storyteller
29
Think Tank
31
On The Move
33
Science Tricks
35
Do It Yourself
36
Give and Share
38
Membership
39
Aseans’ Game
40
์ ฤกษ ิการ จุลพ าธ ัตน์ รรณ ศิริร กองบ เลขา
Cover Story
Inspiration Book
โลกร้อน เราซ่อมได้
เป็นหนังสือทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง โลกร้อนที่เป็นเรื่องใกล้ตัว เพราะนับวัน ภาวะโลกร้อนยิง่ รุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ และส่งผล ต่อการด�ำเนินชีวติ ของเราชนิดทีค่ าดไม่ถงึ เนือ้ หาของหนังสืออ่านสนุก มีตวั ด�ำเนินเรือ่ ง คือ โป้ง โจโจ้ และหนูนา ทีไ่ ม่เคยเห็นความ ส�ำคัญของปัญหาโลกร้อนมาก่อน จนเมื่อ พวกเขาเจอปัญหาเข้ากับตัวเอง จึงค่อย เปลี่ยนพฤติกรรมในการช่วยลดโลกร้อน ทั้งในบ้านและนอกบ้าน ด้วยวิธีง่ายๆ ที่ ทุกคนสามารถท�ำได้ แต่แม้ทั้งสามจะเห็น ความส�ำคัญของการช่วยกันรักษาโลกแล้ว พวกเขายังท�ำให้คนที่ไม่เคยสนใจปัญหา โลกร้ อ นหั น มาใส่ ใ จ และร่ ว มกั น แก้ ไ ข ปัญหา น้องๆ จะได้ตื่นเต้นไปกับวิธีการ
ที่พวกเขาชักจูงคนอื่นๆ ให้หันมาให้ความ ส�ำคัญกับปัญหานี้ “โลกร้อน เราซ่อมได้” จึงเป็นหนังสือที่เหมาะกับเด็กๆ เพราะ อ่านแล้วจะเข้าใจและเห็นความส�ำคัญของ ปัญหาโลกร้อนที่เกิดจากการกระท�ำของ มนุษย์ พร้อมด้วยวิธีแก้ไขและลดภาวะ โลกร้อนง่ายๆ ที่น�ำไปใช้ได้จริง ยังไม่สาย เกินไปที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหาโลกร้อน • ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภทการ์ตนู ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์ • เป็นการ์ตนู ความรูท้ เี่ ขียนโดยคนไทย เนือ้ หามีความ ใกล้ตวั เด็ก • น�ำเสนอเรือ่ งโลกร้อน ทีเ่ ป็นประเด็นส�ำคัญ รวมทัง้ วิธแี ก้ไขและป้องกันทีท่ ำ� ได้จริง ในชีวติ ประจ�ำวัน • มีเนือ้ หาสนุกสนาน ตลกขบขัน ชวนติดตาม และมี ภาพการ์ตนู ทีส่ วยงาม
Inspiration Movie เมื่อหลิวซวนนักธุรกิจหนุ่มตัดสินใจลงทุน ซื้ออ่าวหนึ่ง เพื่อด�ำเนินโครงการถมทะเล และทดสอบเทคโนโลยีโซนาร์ อันเป็นเหตุ ให้สงิ่ มีชวี ติ ใต้ทอ้ งทะเล รวมทัง้ “ชาวเงือก” จ�ำนวนมากต้องบาดเจ็บ ล้มตาย หลังจาก ด�ำรงเผ่าพันธุอ์ ยูร่ อดมาเนิน่ นาน ชาวเงือก จ�ำนวนหนึ่งที่รอดชีวิตจึงได้ท�ำการย้าย ที่หลบซ่อน หนังสื่อให้เห็นถึงผลกระทบ ที่ เ กิ ด จากการกระท� ำ ของมนุ ษ ย์ ต ่ อ ท้องทะเลอย่างเห็นได้ชัดโดยการน�ำภาพ จากสารคดีต่างๆ มาประกอบ เช่น การ ล่าปลาวาฬ การท�ำลายทรัพยากรทางทะเล แม้ The Mirmaid The Mermaid เงือกสาวปังปัง เรือ่ งราวเกีย่ วกับต�ำนานเรือ่ งเล่าของ “นางเงือก” สิง่ มีชวี ติ จะเป็นหนังที่มีเนื้อหาตลกขบขันแต่ก็กระตุ้นจิตส�ำนึกเรื่องการ ใต้ผืนน�้ำ ที่เชื่อว่าเป็นบรรพบุรุษของมนุษยชาติ ก่อนที่เราจะมี อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลได้เป็นอย่างดี วิวัฒนาการมาเป็นเผ่าพันธุ์ที่สามารถเดินสองขาได้เช่นปัจจุบัน ผลิใบ
3
IT Generation โดย ผลิใบ
T H A I WEATHER
ในสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อยเช่นนี้ พี่ผลิใบอยากจะแนะน�ำแอพพลิเคชั่นดีๆ จากกรมอุตุนิยมวิทยา อย่าง Thai Weather ทีค่ อยรายงานสภาพอากาศของประเทศไทย ให้นอ้ งๆ ได้ตดิ ตามสภาพอากาศได้ทกุ วันแบบเรียลไทม์ทปี่ ระกอบไปด้วย การรายงาน สภาพอากาศปัจจุบัน การพยาการณ์อากาศล่วงหน้า รายงานเส้นทางพายุ รายงานแผ่นดินไหว การแจ้งข่าวสาร การเตือนภัย การ แจ้งเตือนสภาพอากาศ สื่อเผยแพร่ เรดาร์สภาพอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม แผนที่อากาศ และการรายงานสภาพอากาศด้วยรูปถ่าย โดยตัวเราเอง รูปแบบการใช้งานง่าย จัดเป็นหมวดหมู่สะดวกต่อการติดตามสภาพอากาศ ณ ปัจจุบัน มีการรายงานสภาพอากาศใน ต�ำแหน่งที่เราอยู่ ณ ขณะนั้น บอกอุณหภูมิ ช่วงเวลา และยังรายงานสภาพอากาศตามจังหวัดต่างๆ อาทิ อากาศร้อน หนาว ฝนฟ้า คะนองโดยระบุเป็นเปอร์เซ็นต์ตามพื้นที่ ให้เราได้สามารถเตรียมตัวรับสภาพอากาศ หรือเตรียมตัวให้พร้อมก่อนที่จะออกเดินทาง คุณสมบัติหรือความสามารถของแอพพลิเคชั่น รายงานสภาพอากาศ Thai Weather • สามารถพยากรณ์อากาศล่วงหน้าได้หลายวัน • มีแจ้งข่าวสารเตือนภัย • ผู้ใช้สามารถรายงานสภาพอากาศด้วยรูปถ่าย • รายงานสภาพอากาศตามจังหวัดต่างๆ ทั่วไทย • บอกเปอร์เซ็นต์คาดการณ์ฝนในแต่ละพื้นที่ • อัพเดทการพยากรณ์อากาศผ่านวิดีทัศน์
4
ผลิใบ
ส�ำหรับแอพพลิเคชั่น Thai Weather ตัวนี้ ทางผู้พัฒนา แอพฯ (Application Developer) ได้แจกให้ทุกท่านได้น�ำไปใช้ งานกันแบบฟรีๆ โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยใดๆ เพิม่ เติมทัง้ สิน้ และ ยังสามารถทีจ่ ะติดต่อกับทาง ผูพ้ ฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ นีไ้ ด้ผา่ นทาง ช่องทาง E-Mail : tmddeveloper@gmail.com ได้ทันที หรือ สามารถติดต่อกรมอุตุนิยมวิทยาโดยเลือกที่ icon
Let’s go Green โดย ผลิใบ
"ล้างมหาสมุทร"
ภารกิจ
Ocean Cleanup Project พูดถึงการล้างมหาสมุทรเป็นโปรเจ็คยักษ์ที่แม้แต่คณะผู้บริหารประเทศ ก็คงท�ำได้ยาก แต่เด็กอายุ 19 ปีคนนี้ เขาสามารถระดมทุนเพือ่ สร้างสิง่ ประดิษฐ์ ลอยน�้ำที่มีมูลค่ากว่า 7.6 พันล้านบาทได้ในระยะเวลา 100 วัน ซึ่งแน่นอนว่า ขณะนี้ทั่วโลกก�ำลังให้ความสนใจสิ่งประดิษฐ์ของเขาเป็นอย่างยิ่ง น้องๆ เชือ่ ไหมคะว่า 90% ของนกทะเลจากทัว่ โลกกินขยะพลาสติกเข้าไป เพราะคิดว่าเป็นอาหาร ที่ส�ำคัญนกเหล่านั้นต้องตายกว่า 1 ล้านตัวในระยะ เวลา 1 ปี จากสถิติที่มนุษย์ทิ้งขยะพลาสติกกว่า 300 ล้านตันต่อปี ผลกระทบ ไม่ได้เกิดขึน้ เพียงกับนกทะเล แต่สตั ว์อกี จ�ำนวนมหาศาลทีต่ อ้ งได้รบั ผลกระทบ จาก “ขยะพลาสติก” ปี 2011 Boyan Slat (ขณะนั้นอายุ 16 ปี) นักศึกษาวิศวกรรม อากาศยาน (Aerospace Engineer) จากเนเธอแลนด์ ได้ไปท่องเที่ยวทะเล ชายฝั่งประเทศกรีซ ในขณะที่เขาด�ำน�้ำอยู่นั้นก็พบว่า.. ท่ามกลางทะเลกลับมี ปริมาณขยะพลาสติกมากกว่าจ�ำนวนปลา สิง่ นีเ้ องทีเ่ ป็นแรงผลักดันให้เขาเริม่ ศึกษาเรื่องมหาสมุทรอย่าจริงจังทั้งด้านกายภาพ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เพื่อหาวิธีก�ำจัดขยะพลาสติกอย่างจริงจัง จากการส�ำรวจท�ำให้เขาพบสิ่งที่นักสมุทรศาสตร์เรียกกันว่า gyres ซึ่งก็ คือวังวนของน�้ำในมหาสมุทร ที่ผิวน�้ำจะเคลื่อนที่ไปเป็นวง อันเนื่องมาจาก กระแสลม กระแสน�้ำ และภูมิประเทศ
อุปสรรคต่อการเก็บขยะพลาสติกนัน้ นอกจาก จะเป็นเรื่องจ�ำนวนมหาศาลแล้ว ยังมี เ รื่ อ งการ เคลื่อนที่ เพราะน�้ำทะเลไม่เคยหยุดนิ่ง มันมีการ เคลื่อนที่ทั้งแนวราบและแนวดิ่ง สารอาหารจาก กลางทะเลลึกจะค่อยๆ เดินทางไปตามเส้นทางน�ำ้ ค่อยๆ โผล่พน้ น�ำ้ และลอยมาสูช่ ายฝัง่ กระทบริมฝัง่ จากนั้นจะเคลื่อนตัวหวนกลับคืนสู่ทะเลในอีกเส้น ทาง พวกมันจะเดินทางอย่างเชือ่ งช้าเรือ่ ยๆ และใน ทีส่ ดุ ก็จะมาถึงและค่อยๆ จมลงทีต่ รงใจกลาง gyres นี้เอง ซึ่งกระบวนการจนมาถึงจุดนี้ต้องใช้เวลานับ สิบปีและวนเวียนต่อไปเรื่อยๆ น�้ำจะเดินทางจากจุดหนึ่งสู่อีกจุด จากทะเล หนึ่งสู่อีกทะเล ขึ้นสูง ลงต�่ำ ตามอุณหภูมิ ตามเส้น ทางตัวเอง ซึ่งจะใช้เวลาถึง 1,000 ปีจึงจะครบ 1 รอบ ท�ำให้ขยะพลาสติกที่ถูกทิ้ง ไม่ได้กองอยู่ที่ ชายหาดให้เราเดินตามเก็บง่ายๆ นอกจากอุปสรรค ด้านจ�ำนวนและการเคลื่อนที่แล้ว ยังมีปัญหาเรื่อง ทุ น ที่ ต ้ อ งใช้ จั ด การ และที่ ส� ำ คั ญ การไปเก็ บ นั้ น ผลิใบ
5
บางทีกเ็ กิดผลเสียต่อระบบนิเวศ เพราะเครือ่ งมือที่ ใช้อาจท�ำให้สัตว์น�้ำตายได้ แต่ มี ข ้ อ เสั ง เกตหนึ่ ง ที่ เ ขาพบได้ จ ากขยะ พลาสติก คือ มีหลากหลายรูปร่าง ขนาด สีสัน คุณสมบัติ แต่สงิ่ หนึง่ ทีเ่ หมือนกันคือ เกือบทัง้ หมด ลอยน�้ำ Boyan พบว่าขยะจ�ำนวนมหาศาลจะลอยไป เป็นแพกลาง gyres เนื่องจากพลาสติกไม่สามารถ จะจมลงไปพร้อมกับน�้ำที่พามันมาจากชายฝั่งได้ ท�ำให้ขยะทุกชิ้นจากชายฝั่งรอบๆ นั้น จะลอยตาม กระแสน�ำ้ แล้วมาลอยหยุดนิง่ เป็นแพกันหมดซึง่ ถูก เรียกว่า Ocean Garbage Patches Boyan จึงคิดค้นวิธีที่เรียบง่าย นั่นก็คือสร้าง ทุน่ ลอยน�ำ้ พร้อมกับแขน ขยะพลาสติกก็จะลอยติด กั บ แขนนั้ น ส่ ว นสั ต ว์ น�้ ำ ที่ ม าพร้ อ มๆ กั น ก็ จ ะ สามารถมุดผ่านไปได้เลย เขาเริ่ ม ออกแบบทุ ่ น ลอยน�้ ำ อยู ่ กั บ ที่ ที่ ใ ช้ กระแสน�้ำและก�ำลังลมพัดพาขยะพลาสติกเข้าสู่ แขนรูปตัว V ยาว 100 กิโลเมตร ท�ำให้สามารถ
6
ผลิใบ
ดักจับขยะได้ถึง 3 เมตรจากระดับผิวน�้ำ โดยไม่ต้องออกแรงและไม่สร้างความ เสียหายต่อชีวติ ในผืนน�ำ้ เพราะสัตว์นำ�้ ต่างๆ จะสามารถลอดผ่านไปได้โดยไม่มี อันตราย เพียงแค่วางให้ถกู จุด เราก็ไม่ตอ้ งไปออกแรงตามเก็บ แค่รอให้กระแส น�้ำพัดมาหาเอง ปี 2012 เขาได้ขนึ้ พูดเพือ่ น�ำเสนอไอเดียนีท้ งี่ าน TEDx Talk ประเทศ เนเธอร์แลนด์ กับโครงสร้างกว้าง 100 กิโลเมตร ที่จะก�ำจัดขยะในมหาสมุทร ได้ถึง 42% ซึ่งมีน�้ำหนักกว่า 70,320,000 กิโลกรัม (70 ล้านกิโลกรัม) ที่ก�ำลัง ล่องลอยอยูใ่ นมหาสมุทรมานานนับทศวรรต ซึง่ วิธนี จี้ ะเสียค่าใช้จา่ ยประมาณ 4.53 ยูโรต่อกิโลกรัม (ราว 167 บาท) เท่านัน้ คิดเป็น 3% เมือ่ เทียบกับวิธอี นื่ ๆ ก่อนหน้า การพูดครั้งนี้ส่งผลให้มีคนให้ความสนใจอย่างล้นหลาม เกิดกระแส ไวรัลทางอินเตอร์เน็ต ท�ำให้เขาได้รบั การสนับสนุนทางการเงินรวมทัง้ ได้คนมา ร่วมทีมนับร้อยคน ปี 2013 เขาตัดสินใจพักการเรียนในมหาวิทยาลัย เพื่อมาก่อตั้งองค์กร The Ocean Cleanup อย่างเป็นทางการ โดยท�ำหน้าทีบ่ ริหารงานเองทัง้ หมด ซึ่งโครงการนี้ จะสามารถก�ำจัดขยะกว่า 42% บนแพขยะกลางมหาสุมทร แปซิฟิกได้ในเวลา 10 ปี ซึ่งเป็นขยะน�้ำหนักกว่า 70,320,000 กิโลกรัม จึงมี อาสาสมัครและนักวิทยาศาสตร์ทวั่ โลกกว่า 100 คน เข้ามาร่วมโครงการนีแ้ ล้ว ปี 2014 “เครื่องก�ำจัดขยะรุ่นทดสอบ” เครื่องแรกขนาด 40 เมตร ก็ได้ ฤกษ์ลอยตัวสูผ่ วิ น�ำ้ ใกล้เกาะ Azores ในเดือนมีนาคม อีกสามเดือนต่อมาพวก เขาได้ร่วมกันเขียนรายงาน 530 หน้าถึง “ความเป็นไปได้ที่จะท�ำความสะอาด ทะเลจากขยะพลาสติก โดยไม่สร้างความเสียหายต่อชีวิตในท้องทะเล” โดยมี เป้าหมายจะก�ำจัดแพขยะกลางทะเลแปซิฟคิ ในเวลา 10 ปี ในชือ่ “INDICATING THE CONCEPT IS LIKELY A VIABLE WAY TO CLEAN UP HALF THE GREAT PACIFIC GARBAGE PATCH” หลังการเผยแพร่รายงานนี้ Boyan Slat ได้รับการสนับสนุนอย่าง
ล้นหลามจากนักลงทุนกว่า 38,000 คนจาก 160 ประเทศทั่วโลก เป็นเงินถึง 2.2 พันล้านดอลลาร์ ภายในระยะเวลาเพียง 100 วันเท่านั้น ท�ำให้ขณะนี้ พวกเขาก�ำลังด�ำเนินการระยะ 2 ด้วยการติดตั้งเครื่องที่ใหญ่ขึ้น ซึ่งมีขนาดถึง 2 กิโลเมตร ที่ประเทศญี่ปุ่น เครื่องก�ำจัดขยะนี้จะท�ำสถิติ โครงสร้างลอยน�้ำ จากฝีมือมนุษย์ที่ยาวที่สุดในโลก ในขณะเดียวกันทีมงานบางส่วนก็ได้ลอ่ งเรือไปยัง North Atlantic Gyre เพื่อส�ำรวจความเป็นไปได้เพิ่มเติมเป็นระยะๆ กับโปรเจคใหม่ที่ก�ำลังท�ำเป็น ปฏิบัติการคู่ขนานที่มีหน้าที่ติดตามการลอยน�้ำของขยะพลาสติก โครงการนี้ คาดหมายว่าจะเริ่มด�ำเนินการเต็มรูปแบบได้ในปี 2020 และ ท�ำ Mega Expedition โครงการใหม่เพื่อวิจัยการเกิดขยะและการไหลของขยะในทะเล คู่ขนานไปกับการก�ำจัดขยะด้วย สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่ Boyan ย�้ำก็คือ “การแก้ที่ดีที่สุดคือการแก้ที่ต้นทาง แก้ทเี่ รา แก้ทกี่ ารเลิกทิง้ ตัง้ แต่แรก” เพราะกว่าจะตามเก็บได้ มันใช้ระยะเวลา มากเหลือเกิน ปี 2015 Boyan ได้รบั รางวัล London’s Design Museum′s Design of the Year awards ในฐานะผลงานออกแบบที่ ส ร้ า งสรรค์ ก าร
เปลีย่ นแปลงแห่งปี ชนะรางวัล Fast Company’s 2015 Innovation by Design award และถูก เลือกให้เป็น 25 สุดยอดสิ่งประดิษฐ์ในปี 2015 โดยนิตยสาร TIME Boyan Slat ได้รับการยอมรับให้เป็น 1 ใน 20 ผูป้ ระกอบการเยาวชนอันป็นความหวังของโลก (Promising Young Entrepreneurs Worldwide) และเป็น Champion of the Earth ประจ�ำปี 2014 จากโครงการสิง่ แวดล้อมแห่งสหประชาชาติในด้าน แรงบันดาลใจและลงมือท�ำ และรางวัลประกาศ เกียรติคุณอีกต่างๆ มากมาย จากเพียงไอเดียแรกในโครงการของโรงเรียน มัธยมเท่านั้น จนน�ำไปสู่การระดมทุนและก�ำลังจะ ช่วยเหลือโลกใบนี้
ผลิใบ
7
Animal Wonders โดย ผลิใบ
สัญญาณเตือน ภัยพิบัติ จากสั ต ว์ โ ลก จากสภาพอากาศที่ ย า ก จะคาดเดา และ ภัยพิบตั ทิ เี่ กิดขึน้ ทัว่ โลก ทั้ ง พายุ แผ่ น ดิ น ไหว สึนามิ ฯลฯ แต่เรามักจะ ได้รับรายงานความสูญ เสียของมนุษย์มากกว่า สัตว์ ซึ่งถ้าเราสังเกตให้ ดีจะพบว่าทุกครัง้ ก่อนที่ จะเกิดภัยธรรมชาติสตั ว์ มั ก จะรู ้ ตั ว และเตรี ย ม พร้อมก่อนเสมอ ซึง่ เรือ่ ง ของสัญชาตญาณเตือน ภั ย ธรรมชาติ ข องสั ต ว์ นั้น ดร.เฮอร์เว ฟริตซ์ (Herve Fritz) นักวิจัย พฤติ ก รรมสั ต ว์ แ ห่ ง ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ แห่ ง ชาติ ข องฝรั่ ง เศส (France’s National Centre for Scientific
8
ผลิใบ
Research) ยื น ยั น ว่ า สัตว์โดยเฉพาะที่เ ลี้ยง ลู ก ด้ ว ยนมจะมี ค วาม สามารถในการรับรู้ถึง แรงสั่ น สะเทื อ นหรื อ คลื่นเสียงที่มีความถี่ต�่ำ จากระยะไกล หรื อ ที่ เรียกว่า อัลฟราซาวนด์ คลื่นความถี่ต�่ำกว่า 20 เฮิรตซ์ ท�ำให้สัตว์พวกนี้ หนีเอาตัวรอดได้ในเวลา ที่เกิดแผ่นดินไหวหรือ สึนามิ ส่วนพวกนกจะ อ่อนไหวมากหากความ กดอากาศเปลี่ยนแปลง ไป เราเรียกสิง่ เหล่านีว้ า่ “รหัสเตือนภัย” (Alarm Codes) ในอดีตกาลมนุษย์ เราก็ อ าศั ย การสั ง เกต พฤติกรรมของสัตว์เพื่อ
รับรู้ถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เช่น พฤติกรรมผิดปกติของมด หากมดเริ่มขนไข่ในช่วงกลาง เดื อ นพฤษภาคมเป็ น การบ่ ง ชี้ ว ่ า ฤดู ก าลเริ่ ม เปลี่ ย นจาก หน้าร้อนเข้าสู่หน้าฝนและภายในสามวันหลังมดขนไข่ ฝนก็ จะตก แต่ถา้ มดขนไข่ขนึ้ สูท่ สี่ งู เป็นจ�ำนวนมากแสดงว่าบริเวณ นั้นฝนจะตกหนักจนถึงขั้นน�้ำท่วม สาเหตุที่มดรู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดฝนตกหนักนั้นก็เป็นเพราะมดเป็นสัตว์ที่มี โสตประสาทในการรับความรู้สึกได้ดีมันสามารถใช้ห นวดเพื่อรับรู ้ ค วาม เปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโดยเฉพาะเรื่องความชื้นในอากาศ ซึ่งคนอาจ บ่นเรื่องอากาศร้อนเกินไปหรือเย็นเกินไปแต่มดจะวิเคราะห์ต่อไปถึงความชื้น และเริ่มเตรียมการหลบภัย
พฤติกรรมผิดปกติของสัตว์เลื้อยคลาน
สัตว์เลื้อยคลานหนีออกมา จากรูโดยเฉพาะงูที่อยู่ ในโพรงใต้ดิน มันจะรับรู้ถึงความผิดปกติได้ง่าย เมื่อมีการ สั่นสะเทือนของเปลือกโลก มีก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ มีการ เปลี่ยนแปลงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พวกมันจะหลบภัยด้วย การเลื้อยขึ้นมาบนดิน สัตว์ชนิดอื่นที่อยู่ในโพรงดินก็เช่นกัน อย่างพวกหนูก็จะวิ่งวุ่นขึ้นมาจากโพรงเป็นจ�ำนวนมาก
พฤติกรรมผิดปกติของนก
นกมีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อม โดยเฉพาะนกพิราบป่าจะไว เป็นพิเศษ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านแผ่นดินไหวประเทศ จีนพบว่า ขณะเกิดแผ่นดินไหวแรงสั่นสะเทือน 3 ริกเตอร์ขึ้นไป ฝูงนกพิราบป่าที่อยู่ภายในรัศมี 50 กิโลเมตร จากศูนย์กลางแผ่นดินไหวจะล่วงรูล้ ว่ งหน้า และบินหนีไป ภายใน 24 ชัว่ โมง กา และนกแก้ว ก็มคี วามรูส้ กึ ไวต่อการเกิดแผ่นดินไหวเช่นกัน
สัตวแพทย์ ชิษณุ ติยะเจริญศรี หัวหน้าแผนก บ�ำรุงรักษาสัตว์ รพ.สัตว์สวนสัตว์ดุสิต ให้ความรู้ เพิ่มเติมในเรื่องนี้ว่า ความจริงแล้วภัยธรรมชาติ ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นแผ่นดินไหว พายุ หรือแม้แต่ ฝนตก จะมีความสั่นสะเทือนอยู่ในตัวเอง ซึ่งความ สั่นสะเทือนดังกล่าว เป็นคลื่นความถี่ที่ต�่ำเกินกว่า ทีม่ นุษย์จะสัมผัสได้ แต่สำ� หรับสัตว์จะสามารถรับรู้ คลื่นความถี่ต�่ำได้ดี
พฤติกรรมผิดปกติของสุนัข
ก่อนเกิดแผ่นดินไหว สุนัขจะมีอาการตื่น ตระหนก วิ่งไปวิ่งมา บางตัวก้าวร้าวขึ้น ส่วนบางตัวก็จะเห่าหอน
พฤติ ก รรมผิ ด ปกติ ข อง สัตว์ครึ่งบกครึ่งน�้ำ
กบก็แสดงพฤติกรรม ผิดปกติเช่นเดียวกับงู อย่างในปี ค.ศ. 1976 ไม่กี่ชั่งโมงก่อนที่จะเกิดแผ่นดิน ไหวรุนแรงที่เมืองถังซานในประเทศจีน มีคนเห็นฝูง กบนับพันนับหมื่นตัวพากันอพยพหนี
พฤติกรรมผิดปกติของแมว
ก่อนเกิดแผ่นดินไหว แมวส่วนใหญ่จะหา ที่หลบ ปีนขึ้นที่สูง แมวบางตัวแสดงอาการงุ่นง่าน วิ่ง ไปมา และส่งเสียงร้องอย่างกระวนกระวาย
พฤติกรรมผิดปกติของปลา
• ปลาน�้ำเค็ม ปลาจากทะเลลึกจะว่ายเข้ามาใน เขตน�ำ้ ตืน้ คือจะย้ายหนีจากถิน่ ฐาน ของตัวเอง • ปลาน�้ ำ จื ด ในแม่ น�้ ำ หรื อ ทะเลสาบที่มีความรู้สึกไวต่อการเกิดแผ่นดิน ไหว โดยก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เคยมีคน เห็นปลาคาร์ปจ�ำนวนมากกระโดดขึ้นมาบน ผิวน�้ำเหมือนตกใจหนีอะไรบางอย่าง
โดยสั ต ว์ ที่ มี สั ญ ชาตญาณรั บ รู ้ ไ ด้ ดี ที่ สุ ด คื อ “ช้าง” ซึ่งรูปร่างของสัตว์ก็มีผลต่อการรับรู้เช่นกัน โดยการหนีเอาชีวิตรอดของสัตว์เล็กจะมีขึ้นก่อน เพราะจะต้องใช้เวลาในการเดินทางหนีมากกว่า ในขณะที่สัตว์ที่ใหญ่กว่าจะไม่หนีเนื่องจากไม่เป็น อันตรายกับตัวเอง อวัยวะในการรับสัญชาตญาณ ของสัตว์จะอยูท่ ี่ หู เช่น ช้างจะมีหเู ป็นเสมือนเรดาร์ ส่วนสุนัขก็มีประสาทสัมผัสทางหูดีมาก เนื่องจากมี ท่อหูทลี่ กึ ยาวและเล็ก นอกจากนีย้ งั พบว่า ช้างและ ยี ร าฟสามารถส่ ง คลื่ น ความถี่ ต�่ ำ ไปยั ง สั ต ว์ ช นิ ด เดียวกันเพื่อเตือนภัยได้โดยที่คนไม่มีโอกาสรับรู้ ได้เลย ที่มา : http://www.dmr.go.th/
ผลิใบ
9
ในทุกวันโลกของเรามีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้
แสงแดดสามารถส่องผ่านให้ความอบอุ่นภายในเรือนกระจกได้ แต่กระจก มากมาย ทั้งด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และ ไม่สามารถสะท้อนความร้อนออกไปจากเรือนกระจกได้ จึงคงอุณหภูมิภายใน สิง่ หนึง่ ทีเ่ ราไม่อาจปฏิเสธได้ คือ “การเปลีย่ นแปลง เรือนกระจกให้คงที่ ดังนั้นก๊าซเรือนกระจกจึงมีความจ�ำเป็นต่อการรักษา ของสภาพภูมอิ ากาศ” หรือ “Climate Change” อุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่เช่นกัน เรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศถือเป็น ปั ญ หาระดั บ โลกที่ นั บ วั น จะทวี ค วามรุ น แรงขึ้ น แล้วก๊าซเรือนกระจกเกีย ่ วข้องกับการเปลีย ่ นแปลง เรือ่ ยๆ ทีนเี้ ราก็ตอ้ งมาดูกนั ว่าแท้จริงแล้วต้นตอของ สภาพภูมิอากาศอย่างไร? การท�ำให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้น ในช่วงของการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมโดยอาศัยเชื้อเพลิงจากพลังงาน จากอะไร... ไม่น่าเชื่อว่า!!! สาเหตุหลักจะมาจาก ฟอสซิลตั้งแต่ 200 ปี ทีผ่ า่ นมา เป็นเหตุให้กา๊ ซเรือนกระจกในชัน้ บรรยากาศ มี กิจกรรมของมนุษย์ หลายคนอาจถกเถียงว่ามนุษย์ ความเข้มข้นขึ้น จนก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก หรือ ภาวะโลกร้อน ก็ อ ยู ่ คู ่ กั บ โลกมายาวนาน จะเป็ น ผู ้ ท�ำ ลายโลก ซึง่ มีผลต่อความเป็นอยูข่ องสิง่ มีชวี ติ บนโลก เนือ่ งจากอุณหภูมจิ ะสูงขึน้ ฤดูกาล เสียเองได้อย่างไร? …โดยอาจลืมคิดไปว่ากิจกรรม เริม่ คลาดเคลือ่ น เช่น จากทีเ่ ริม่ ฤดูหนาวในช่วงพฤศจิกายน ก็อาจเลือ่ นไปเป็น ของมนุษย์ในยุคโบราณนั้นไม่ได้เพิ่มปริมาณก๊าซ เดือนมกราคม หรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล จนน�ำไปสู่ “ภาวะโลกร้อน” เรือนกระจกเช่นทุกวันนี้ ...จ�ำนวนของมนุษย์ทเี่ พิม่ ภาวะโลกร้ อ นมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การอยู ่ ร อดของสิ่ ง มี ชี วิ ต เป็ น อย่ า งมาก ขึ้นบวกกับเทคโนโลยีที่ก้าวล�้ำนั่นเองที่เป็นตัวการ เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิโดยรวมสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับ เพิ่มปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก สภาพแวดล้อมได้จะค่อยๆ ตายลงและอาจสูญพันธุ์ไปในที่สุด ส่วนผลกระทบ “ก๊าซเรือนกระจก” ในบรรยากาศเป็นสิง่ ขวาง ต่อมนุษย์อาจเป็นด้านการขาดแคลนอาหารและน�ำ้ ดืม่ บางพืน้ ทีป่ ระสบปัญหา กั้นแสงอินฟราเรดที่โลกสะท้อนกลับจากพื้นผิวสู่ น�ำ้ ท่วมหนักเนือ่ งจากฝนตกรุนแรงขึน้ น�ำ้ แข็งขัว้ โลกและบนยอดเขาสูงละลาย บรรยากาศ พลังงานทีส่ ง่ ออกจากพืน้ ผิวของโลกจึง ท�ำให้ปริมาณน�้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น พื้นที่ชายฝั่งทะเลได้รับผลกระทบโดยตรง เป็นการส่งออกโดยกระแสลมและเมฆที่อยู่บนชั้น อาจท�ำให้บางพื้นที่จมหายไปอย่างถาวร บรรยากาศที่หนาแน่นไปด้วยก๊าซเรือนกระจก ปั ญ หาด้ า นการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศจึ ง เป็ น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ที่ ปรากฏการณ์ที่ความร้อนถูกกักเก็บไว้ในชั้น มวลมนุษยชาติจะต้องร่วมมือกันป้องกัน และเสริมสร้างความสามารถในการ บรรยากาศนี้ เป็นทีร่ จู้ กั กันว่า “ปรากฏการณ์เรือน รองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น กระจก” เนื่องจากเป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกับสภาพที่เกิดขึ้นภายในเรือนกระจก ทีนี้เรามาดูกันว่าก๊าซเรือนกระจกต้นเหตุของโลก ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ ปลู ก พื ช ในประเทศเขตหนาว โดย ร้อนเกิดขึ้นจากปัจจัยใดบ้าง 10
ผลิใบ
ก๊าซเรือนกระจก เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจ�ำเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิใน บรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึง่ หากบรรยากาศโลกไม่มกี า๊ ซเรือนกระจกในชัน้ บรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอืน่ ๆ ในระบบสุรยิ ะแล้ว จะท�ำให้อณ ุ หภูมใิ นตอนกลางวันนัน้ ร้อนจัด และในตอนกลางคืนนัน้ หนาวจัด เนือ่ งจากก๊าซเหล่านีด้ ดู คลืน่ รังสีความร้อนไว้ในเวลา กลาง วัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ท�ำให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน ไอน�้ำ H2O
...เป็นก๊าซเรือนกระจกที่มี มากที่สุดบนโลก มีอยู่ใน อากาศประมาณ 0-4% ขึ้นอยู่กับภูมิประเทศ โดย บริ เ วณเขตร้ อ นใกล้ เ ส้ น ศู น ย์ สู ต รและชายทะเล จะมีไอน�้ำอยู่มาก ส่วนใน บริเวณเขตหนาวแถบขัว้ โลก อุณหภูมิต�่ำ จะมีไอน�้ำใน บรรยากาศเพียงเล็กน้อย ไอน�ำ้ เป็นตัวพาและกระจาย ความร้อนแก่บรรยากาศ และพื้นผิว ...ไอน�ำ้ เกิดจากการกระท�ำ ของมนุษย์ คือ จากการ เผาไหม้ เ ชื้ อ เพลิ ง หรื อ ก๊ า ซธรรมชาติ และจาก การหายใจ และคายน�ำ้ ของ สั ต ว์ แ ละพื ช ในการท� ำ เกษตรกรรม
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CO2
โอโซน
มีเทน CH4
ไนตรัสออกไซด์
N2O
N2O
N2O N2O N 2O
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นหนึง่ ในก๊าซเรือนกระจก ที่ ดู ด ซั บ คลื่ น อิ น ฟาเรด ซึ่ ง เป็ น คลื่ น ความร้ อ น จากแสงอาทิ ต ย์ เก็ บ สะสมความร้อนใว้ในชั้น บรรยากาศ และเป็ น เสมื อ นก� ำ แพงกั น รั ง สี ความร้อนที่สะท้อนจาก พื้ น โลกมิ ใ ห้ แ ผ่ อ อกไป นอกชั้นบรรยากาศของ โลก ซึ่ ง มี ส ่ ว นท� ำ ให้ อุ ณ หภู มิ ข องโลกสู ง ขึ้ น น�้ ำ แข็ ง ขั้ ว โลกละลาย ระดั บ น�้ ำ ทะเลสู ง ขึ้ น ท่ ว มตามพื้ น ที่ ช ายฝั ่ ง สภาพภูมอิ ากาศแปรปรวน
โอโซนส่วนใหญ่ในชัน้ สตราโตสเฟียร์รวมตัว เป็นชัน้ บางๆ ท�ำหน้าที่ ก ร อ ง รั ง สี อุ ล ต ร า ไวโอเล็ ต จากดวง อาทิตย์ออกไป 99% ก่อนถึงพืน้ โลก โอโซน ในชั้ น โทรโพสเฟี ย ร์ เป็ น ก๊ า ซพิ ษ ที่ เ ป็ น อันตรายต่อร่างกาย และมีคุณสมบัติเป็น ก๊าซเรือนกระจกมาก ที่สุด โดยดูดกลืนรังสี อินฟราเรด ท�ำให้เกิด พลั ง งานความร้ อ น สะสมบนพื้ น ผิ ว โลก โอโซนในชั้ น นี้ เ กิ ด จากการเผาไหม้มวล ชี ว ภ า พ แ ล ะ ก า ร สันดาปของเครือ่ งยนต์ เครือ่ งจักรอุตสาหกรรม
เกิดขึ้นจากการย่อยสลาย ของซากสิ่งมีชีวิต แม้ว่ามี ก๊าซมีเทนอยู่ในอากาศไม่ มาก แต่ ก ๊ า ซมี เ ทนมี คุ ณ สมบั ติ ข องก๊ า ซเรื อ น กระจกสูงกว่าก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์ คื อ ด้ ว ย ปริมาตรทีเ่ ท่ากัน ก๊าซมีเทน ส า ม า ร ถ ดู ด ก ลื น รั ง สี อิน ฟราเรดได้ดีก ว่าก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ มี เ ทนมี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากการท� ำ นาข้ า ว ปศุสัตว์ และการเผาไหม้ มวลชีวภาพ การเผาไหม้ เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ การเพิ่มขึ้นของก๊าซมีเทน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ภาวะเรื อ นกระจกมาก เป็นอันดับ 2 รองจากก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์
ข้อมูลจาก : www.nstda.or.th, www.trclabourunion.com, www.greentheearth.info
N2 O
N2O N2O
สารประกอบ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน CFC
ไนตรั ส ออกไซด์ เ ป็ น ก๊ า ซ เรือนกระจกที่ส�ำคัญ เพราะ ปริมาณ 1 หน่วยน�้ำหนักมี ผลกระทบต่อภาวะโลกร้อน มากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ ปริมาณเท่ากันถึง 298 เท่า ในระยะเวลา 100 ปี และยัง เป็นก๊าซเรือนกระจกที่ก่อให้ เกิดภาวะโลกร้อนมากเป็น อันดับที่ 4 ก๊าซชนิดนีเ้ กิดจาก การย่อยสลายซากสิ่งมีชิวิต โดยแบคที เ รี ย แต่ ที่ มี เ พิ่ ม สูงขึน้ ในปัจจุบนั เนือ่ งมาจาก อุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริก ในกระบวนการผลิต และเมือ่ ก๊าซไนตรัสออกไซด์ลอยขึน้ สู่ บรรยากาศชัน้ สตราโตสเฟียร์ มั น จะท� ำ ปฏิ กิ ริ ย ากั บ ก๊ า ซ โอโซน ท�ำให้เกราะป้องกัน รังสีอัลตราไวโอเล็ตของโลก ลดน้อยลง
CFC
สาร CFC มีองค์ประกอบ เป็นคลอรีน ฟลูออไรด์ และโบรมีน ซึง่ เป็นสารที่ สามารถท� ำ ลายโอโซน ชั้นบรรยากาศของโลก ได้ ส่งผลให้รังสีอัลตรา ไวโอเลตหรื อ รั ง สี ยู วี ส่งมายังโลกได้มากกว่า ปรกติ มีแหล่งก�ำเนิด จากโรงงานอุตสาหกรรม และอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งใช้ ในชี วิ ต ประจ� ำวั น เช่ น ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ แอร์ในรถยนต์ และจาก สเปรย์ฉีดพ่น
ผลิใบ
11
Think Out of the Box โดย ผลิใบ
Silicon Valley
พื้นที่สเี ขียวบนหลังคา...ใหญ่ท่ส ี ดุ ในโลก
พื้นที่สีเขียวบนหลังคาใหญ่ที่สุดในโลก
หลากหลายรูปแบบ โดยบริษัท พัฒนาที่ดินต้องการใช้หลังคา สีเขียว เพือ่ รองรับการขยายตัว ของชุมชน พื้ น ที่ บ นหลั ง คาสี เ ขี ย ว จะประกอบไปด้วยบ้าน ไร่องุน่ สวนผลไม้ สนามเด็กเล่น และ โรงละครกลางแจ้ง พืน้ ทีใ่ ต้หลังคา สี เ ขี ย วจะมี ทั้ ง อพาร์ ต เม้ น ท์ ศูนย์การค้า สถานทีอ่ อกก�ำลังกาย และท�ำกิจกรรม เป็นการออกแบบ สถานที่ที่เอื้อประโยชน์สูงสุด และเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพราะหลังคาเขียวมีประโยชน์
หลายด้าน ทั้งมีคุณสมบัติเป็น ฉนวนกั น ความร้ อ นจากแสง อาทิตย์เข้าสูอ่ าคาร ช่วยดูดซับ น�้ำฝน และให้ความร่มรื่นแก่ ผูใ้ ช้งานและผูพ้ บเห็น เสมือนเป็น การน�ำธรรมชาติมาไว้ใกล้ตัว สวนลอยฟ้าและหลังคาเขียว จึงเป็นองค์ประกอบหลักทีข่ าด ไม่ได้สำ� หรับอาคารเขียวยุคใหม่ กระทั่งเกิดเป็นปรากฏการณ์ สวนลอยฟ้าและหลังคาเขียวที่ แพร่กระจายไปทั่วทุกมุมโลก
หลังจากทีป่ ระเทศฝรัง่ เศสออกกฎหมายให้อาคารพาณิชย์
ที่สร้างใหม่จะต้องมีหลังคาสีเขียวหรือ Green Roofs คือหลังคา จะต้องมีพื้นที่เป็นแผงพลังงานแสงอาทิตย์ หรือเป็นหลังคาที่ ปกคลุมด้วยต้นไม้ กฎหมายนี้ก็ส่งผลให้ทั่วโลกตื่นตัวตามไปด้วย ซึง่ การน�ำธรรมชาติมาหลอมรวมกับสถาปัตยกรรมเป็นแนวคิดที่ ได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยสิ่งก่อสร้างแรกๆ ที่จ�ำลอง สภาพแวดล้อมธรรมชาติไว้บนตัวอาคาร คือสวนลอยแห่งบาบิโลน ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อ 700-800 ปี ก่อนคริสตกาล ล่าสุดบริษัทพัฒนาที่ดิน Vinoly วางแผนที่จะสร้างหลังคา สีเขียว ครอบคลุมพื้นที่ 30 เอเคอร์ ซึ่งประกอบไปด้วยอาคาร
12
ผลิใบ
ข้อมูลจาก : www.mentalfloss.com, www.sarakadee.com, www.iurban.in.th ภาพประกอบจาก : www.inhabitat.com
'ไลเคน' ราหลากสี... ดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ
ไลเคน คือ สิ่งมีชีวิตที่เกิดจากการมาอยู่ร่วมกันของรา กั บ สาหร่ า ย และ/หรื อ ไซยาโนแบคที เ รี ย ซึ่ ง ต่ า งฝ่ า ยต่ า ง เอื้ อ ประโยชน์ ซึ่ ง กั น และกั น โดยราจะได้ รั บ ความชื้ น และ ก๊ า ซออกซิ เ จนจากสาหร่ า ย ส่ ว นสาหร่ า ยก็ จ ะได้ รั บ ก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์เพือ่ ใช้ในการสังเคราะห์แสงจากรา เราสามารถ พบไลเคนขึ้นกระจายอยู่เกือบทุกพื้นที่ในโลก ตั้งแต่หนาวจัด ใกล้ขวั้ โลก ในเขตทุง่ หญ้าทุนดราถึงร้อนชืน้ อย่างโซนป่าเขตร้อน และร้ อ นแห้ ง แล้ ง แบบทะเลทราย หรื อ จากชายฝั ่ ง ทะเลถึ ง ยอดเขาสูง โดยไลเคนจะด�ำรงชีวิตด้วยการเกาะอาศัยอยู่บน พื้นผิวของวัตถุต่างๆ ทั้งธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะห์ ทุกวันนี้ “ไลเคน” กลายเป็นพืชชัน้ ต�ำ่ ทีถ่ กู น�ำมาใช้ประโยชน์ ในหลายด้าน โดยเฉพาะการเป็นดัชนีบ่งบอกคุณภาพอากาศ เนื่ องจากไลเคนไม่สามารถเจริญ เติบ ได้ใ นบริเ วณที่มีมลพิษ เพราะไลเคนมีความอ่อนไหวต่อการเปลีย่ นแปลงคุณภาพอากาศ เนื่องจากมันเติบโตโดยใช้น�้ำและสารอาหารจากบรรยากาศที่
ละลายอยูใ่ นหมอก ฝน น�ำ้ ค้าง ไม่มีชั้นผิวที่จะปกป้องตัวเอง จากมลพิษเหมือนกับพืชทัว่ ไป มลมิษในอากาศจึงเข้าไปสะสม ในไลเคนได้งา่ ย โดยเฉพาะก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ก๊าซฟลูออไรด์ และสารเคมีที่มีฤทธิ์ เป็นสารออกซิไดซ์สูง ไลเคนแต่ละชนิดมีความ ทนทานต่อมลพิษทางอากาศ ไม่เท่ากัน ซึ่งท�ำให้เราสามารถ ใช้เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพอากาศ ได้ในเบื้องต้น ซึ่งหากบริเวณ สถานทีท่ เี่ ราอาศัย มีไลเคนเกิด ขึ้ น ตามบริ เ วณต่ า งๆ เช่ น ต้นไม้ แผ่นหิน แผ่นไม้ หรือ วั ส ดุ สั ง เคราะห์ ก็ ใ ห้ สั ง เกต ประเภทและลักษณะการเกิด โดยเราสามารถแบ่ ง ไลเคน ออกเป็ น 3 กลุ ่ ม คื อ กลุ ่ ม อากาศดี กลุ่มทนทาน และ กลุ่มทนทานสูง โดยไลเคนในแต่ละกลุ่ม จะมีลักษณะเฉพาะตัว ดังนี้ 1. กลุ ่ ม ที่ อ ่ อ นไหวมาก หรื อ กลุ ่ ม อากาศดี มั ก เป็ น ไลเคนที่ มี ลั ก ษณะเป็ น พุ ่ ม มีพื้นผิวกว้างมาก ทนพิษใน อากาศได้น้อย มักพบไลเคน กลุ ่ ม นี้ ใ นพื้ น ที่ ที่ มี อ ากาศ บริสทุ ธิม์ ากๆ เช่น บนยอดดอย 2. กลุ่มที่อ่อนไหวปาน กลาง หรือกลุ่มทนทาน หรือ กลุ ่ มอากาศพอใช้ มั ก มี ลักษณะเป็นใบขนาดเล็กแนบ
ลงไปกั บ พื้ น ผิ ว ที่ เ กาะ ทน มลภาวะได้ ดี ก ว่ า ชนิ ด ที่ มี ใ บ ขนาดใหญ่ พบได้ในชุมชนริม คลองที่ไม่มีถนนเข้าถึง 3. กลุ่มทนทานสูง มักมี ลักษณะเป็นแผ่นดวงเกาะติด กับพื้นผิว จะตายเป็นอันดับ สุดท้ายเมื่อเจอมลภาวะ ปั จ จุ บั น กลุ ่ ม ประเทศใน ยุ โ รปออกกฏระเบี ย บให้ ใ ช้ ไลเคนในการตวจสอบคุณภาพ อากาศควบคู่กับการใช้เครื่อง ตรวจวัดอากาศ
ผลิใบ
13
ดังนั้นถ้าน้องๆ อยากรู้ว่าคุณภาพอากาศบริเวณที่เราอยู่เป็นอย่างไร ก็ให้สังเกตว่าบริเวณนั้นมีไลเคนกลุ่มใดอยู่มากน้อยแค่ไหน หรือถ้าไม่มีเลยก็แสดงว่าคุณภาพอากาศบริเวณนั้นไม่ดีเอาเสียเลยค่ะ
ชนิดของไลเคนที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานคร ร้อยรู
หัตถ์ทศกัณฑ์กุมน�้ำแข็ง
สิวหัวช้างจิ๋ว
ริ้วแพร
กลุ่มลายเส้น
ร้อยเหรียญ
ธิดามะกอกด�ำ
หลังตุ๊กแก
กลุ่มโดรายากิ
ไหทองโรยขมิ้น
พริกไทยร้อยเม็ด
กลุ่มลายเส้นผลรวม
สาวน้อยกระโปรงบานบางกอก
แป้งมณโฑ
ผักกาดหน่อแท่ง
ผักกาดหน่อฟอง
พาสต้าเส้นแบน
อากาศดี
ทนทาน
ทนทานสูง
ไฝพระอินทร์
ที่บ้านน้องๆ มีไลเคนเหล่านี้อยู่บ้างไหมคะ
นอกจากนี้ ด ้ ว ยความ จ�ำเพาะของการเกิดไลเคนทีไ่ ม่ เหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ท�ำ ให้ ไ ลเคนสามารถสร้ า งสาร ธรรมชาติที่แตกต่างจากสิ่งมี ชีวิตอื่น ไลเคนจึงถูกน�ำมาใช้ ประโยชน์หลายด้าน เช่น • • • •
14
ด้านการแพทย์ อาหาร อุตสาหกรรม ประเทศจี น มี ก ารน� ำ ไลเคนมาท�ำเป็นชา
ผลิใบ
• ประเทศอินเดียน�ำไลเคน มาใช้เป็นส่วนผสมใน การท�ำผงกะหรี่ • ประเทศฝรั่งเศส และ ฮอลแลนด์ น�ำไลเคน มาสกัดสี • ไลเคนยังมีบทบาทต่อ ระบบนิเวศ ด้วยการ เป็ น ที่ ห ลบภั ย และ สร้างปลอกหุ้มตัวอ่อน ของแมลงหลายชนิด ที่มา : nstda.ตรวจสอบ "มลพิษ" ด้วย "ไลเคน" www.nstda.or.th หน่วยวิจัยไลเคนแห่งมหวิทยาลัยรามค�ำแหง www.greenworld.or.th ภาพประกอบ : จากอินเทอร์เน็ต
Green Energy โดย ผลิใบ
นับวันมนุษย์ได้มกี ารใช้พลังงานอย่างต่อเนือ่ ง และมีแนวโน้มว่าพลังงาน ต่างๆ อาจหมดไปได้ในอนาคตอันใกล้ถา้ ยังไม่ประหยัดหรือหาพลังงานทดแทน ใหม่ๆ มาใช้ ซึง่ ทัว่ โลกก็มคี วามตืน่ ตัวและตระหนักถึงปัญหาของการใช้พลังงาน ฟอสซิลเป็นอย่างมาก หลายหน่วยงานจึงท�ำการวิจยั และคิดค้นเทคโนโลยีดา้ น พลังงานทดแทนในรูปแบบของพลังงานสะอาดขึ้น อาทิ พลังงานความร้อน ใต้พิภพ พลังงานลม พลังงานคลื่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อน พลังงานจลน์ พลังงานน�ำ้ พลังงานหมุนเวียน พลังงานกล แรงสัน่ สะเทือน ฯลฯ โดยพลังงานทดแทนต่างๆ เหล่านี้เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงพลังงานจาก สิง่ แวดล้อมต่างๆ รอบตัวให้เป็นพลังงานไฟฟ้า และสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ เป็นพลังงานทีไ่ ม่มวี นั หมดไป ซึง่ ตามหลักวิศวกรรมศาสตร์ เรียกวิธดี งั กล่าวว่า “การเก็บเกี่ยวพลังงาน หรือ Energy Harvesting” โดยในปัจจุบันทั่วโลกมีการใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นกว่า 50% และ คาดว่าเทคโนโลยีการเก็บเกีย่ วพลังงานจะมีแนวโน้มการใช้งานเพิม่ สูงขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในด้านเศรษฐกิจ ด้านการผลิต ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสาธารณูปโภค และจากสถิตใิ นปี 2555 ประเทศไทยใช้พลังงานทดแทน 18.2% ของพลังงาน ทั้งหมด และมีอัตราการใช้พลังงานเชื้อเพลิงแบบดั้งเดิมลดลง 10% ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าประเทศไทยให้ความส�ำคัญในด้านของพลังงานทดแทนมากขึ้น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นสถาบันเดียว ในประเทศไทยทีม่ กี ารวิจยั ด้านการเก็บเกีย่ วพลังงานในทุกๆ รูปแบบ ตลอดจน น�ำองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาชิ้นงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ซึ่ง ได้น�ำเหตุและปัจจัยข้างต้นมาพัฒนานวัตกรรมเพื่อเก็บเกี่ยวพลังงานใหม่ขึ้น
4 นวัตกรรมด้วยกัน คือ 1. เครือ่ งเก็บเกีย่ วพลังงาน จ า ก แ ร ง สั่ น ส ะ เ ทื อ น บ น เครือ่ งจักร โดยใช้หลักการ เพียโซเพื่อติดตามสภาพ เครื่องจักร งานวิจัยชิ้นนี้ เป็นงานวิจัยเกี่ยวกับการเก็บ เกีย่ วพลังงานจากแรงสัน่ สะเทือน ตามเครื่องจักรในโรงงานโดยการน�ำ อุ ป กรณ์ เ พี ย โซบั ซ เซอร์ แ บบรั บ แรงกระแทก ไปติดตั้งที่เครื่องจักร เมื่อเครื่องจักรท�ำงานจะเกิด แรงสั่นสะเทือนไปยังอุปกรณ์เก็บเกี่ยวพลังงาน เพียโซบัซเซอร์ และแปลงแรงกระแทกที่ได้เป็น พลังงานไฟฟ้าที่มีแรงดัน 100 โวลต์ เก็บสะสมไว้ที่ ตัวประจุ โดยพลังงานทีเ่ ก็บเกีย่ วมาได้นจี้ ะถูกน�ำมาใช้ เพื่อให้พลังงานกับอุปกรณ์เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ เครื่ อ งจั ก ร โดยเซ็ น เซอร์ จ ะส่ ง ข้ อ มู ล ตรวจวั ด อุณหภูมิไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อติดตามและ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องจักรและป้องกันการเกิด อุบัติเหตุและความเสียหายจากเครื่องจักรช�ำรุดได้ และเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณ์ชิ้นนี้ให้สามารถเก็บ พลังงานได้ในปริมาณมากขึน้ ในอนาคต เครือ่ งจักร ต่ า งๆ ในโรงงานจะถู ก ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยพลั ง งาน หมุนเวียนที่เครื่องจักรเหล่านี้สร้างขึ้นเองได้ ท�ำให้ การผลิตสินค้าในโรงงานลดต้นทุนจากพลังงาน สิน้ เปลืองได้อกี มาก ซึง่ ผลงานวิจยั ชิน้ นี้ ได้รบั รางวัล ดีเด่นอันดับ 1 ในพิธีมอบรางวัลความคิดริเริ่ม ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน ครั้งที่ 6 จากสมาคมวิศวกรรมเคมี และเคมี ป ระยุ ก ต์ แ ห่ ง ประเทศไทยร่ ว มกั บ SCG Chemicals และ Dow Chemical ผลิใบ
15
2. เครื่องเก็บเกี่ยวพลังงานจากการเคลื่อนไหว ของร่างกาย โดยการเก็บเกี่ยวพลังงานจากข้อต่อ หั ว เข่ า และการเคลื่ อ นไหว ของร่างกายซึ่งจะใช้ส่วน การท�ำงานของกล้ามเนือ้ ขา เพื่อผลิตพลังงาน ไฟฟ้า โดยอุปกรณ์ ทีใ่ ช้ในงานวิจยั ชิน้ นี้ ท� ำ จากสเตปเปอร์ มอเตอร์ตอ่ เข้ากับขาส่วน ข้อต่อ เมือ่ เกิดการเคลือ่ นไหว ส่วนขาหรือเกิดแรงเหวีย่ งท�ำให้ แกนสเตปเปอร์มอเตอร์มกี ารเคลือ่ นที่ และเกิดเป็น พลังงานไฟฟ้าขึ้นมา ซึ่งโดยปกติแล้วมนุษย์เรา มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้การเก็บเกี่ยว พลังงานจากการเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ ก่ อ ก� ำ เนิ ด เป็ น พลั ง งานได้ ใ นปริ ม าณมาก โดย อุ ป กรณ์ เ ก็ บ เกี่ ย วพลั ง งานนี้ ส ามารถเก็ บ สะสม พลั ง งานที่ ไ ด้ จ ากการเดิ น 1 กิ โ ลเมตรไปใช้ ใ ห้ พลังงานไฟฟ้ากับอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ขนาดเล็ก ทีต่ อ้ งการพลังงานไฟฟ้าต�ำ่ ได้ หรือประมาน 7 โวลต์ ซึง่ ในอนาคตจะสามารถพัฒนาให้เป็นเครือ่ งก�ำเนิด พลังงานไฟฟ้าจากร่างกายมนุษย์เพื่อใช้ชาร์จแบต โทรศัพท์มือถือได้ และหากทุกคนติดอุปกรณ์ชิ้นนี้ ไว้กบั ตัว พลังงานไฟฟ้าทีไ่ ด้จากการเคลือ่ นไหวก็จะ กลายเป็นแหล่งก�ำเนิดพลังงานส�ำคัญของโลกได้ 3. เครื่องเก็บเกี่ยว พลังงานจากรถเข็นสินค้า โดยการเก็ บ เกี่ ย ว พลั ง งานจากรถเข็ น ช็ อ ปปิ ้ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง
16
ผลิใบ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินชีวิตของผู้คนในปัจจุบันเป็นอย่างมาก โดย ในแต่ละวันมีผู้ใช้บริการห้างสรรพสินค้าและรถเข็นช็อปปิ้งส�ำหรับใส่สินค้า เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งงานวิจัยอุปกรณ์เก็บเกี่ยวพลังงานจากรถเข็นช็อปปิ้งนี้ จะสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดอื่นๆ ได้ อาทิ จ่ายไฟให้กับแท็บเล็ตแสดงรายการสินค้า หรือเครื่องตรวจสอบราคาสินค้า โดยอาศัยการหมุนของล้อรถเข็นช็อปปิง้ เป็นส่วนก�ำเนิดพลังงาน ซึง่ ใช้หลักการ เหนี่ยวน�ำที่สามารถแปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ และเมื่อล้อรถเข็น หมุนด้วยความเร็ว 2.22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อุปกรณ์ก�ำเนิดพลังงานจะเก็บ สะสมพลังงาน และแปรเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าที่สามารถใช้งานได้ และ ในอนาคตอุปกรณ์ชิ้นนี้จะสามารถพัฒนาให้เก็บพลังงานได้มากขึ้น และเป็น แหล่งพลังงานไฟฟ้าที่ส�ำคัญของห้างสรรพสินค้าหรือซุปเปอร์มาร์เก็ต ที่ใช้ พลังงานไฟฟ้าในปริมาณมากได้ ทัง้ นี้ สจล. ได้พฒ ั นาระบบสมาร์ทช็อปปิง้ หรือ รถเข็นก�ำเนิดพลังงาน ที่จะสามารถค�ำนวณราคา สินค้าที่ลูกค้าหยิบใส่รถเข็นได้ 4. พื้นก�ำเนิดพลังงาน เป็นงานวิจัย ที่ ก� ำ เนิ ด พลั ง งานจากศาสตร์ เ พี ย โซ อิเล็กทริก มีเป้าหมายในการเก็บเกี่ยว พลังงานที่เกิดขึ้นอย่างสูญเปล่ารอบๆ ตัวเรา และเปลี่ยนพลังงานเหล่านั้นให้เป็น พลังงานที่สามารถใช้งานได้ โดยพื้นก�ำเนิด พลังงานจากเพียโซอิเล็กทริกเป็นการเก็บพลังงาน จากการเดินผ่าน หรือการกดทับ และเมื่อมีการเหยียบเป็นจ�ำนวน 15 ครั้ง โดยทีผ่ เู้ หยียบมีนำ�้ หนัก 52 กิโลกรัม ท�ำให้ได้พลังงานไฟฟ้าสูงสุดประมาณ 23 มิลลิจูล ซึ่งหากน�ำอุปกรณ์ชิ้นนี้ไปติดตั้งในที่สาธารณะที่มีคนพลุกพล่าน อาทิ สถานีรถไฟฟ้าสยาม ซึ่งมีผู้ใช้บริการประมาณ 112,600 คนต่อวัน พื้นก�ำเนิด พลังงานขนาด 19 x 33 เซนติเมตรนี้จะสามารถเก็บพลังงานได้กว่า 26 กิโลจูลต่อวัน และน�ำพลังงานที่เก็บสะสมได้นี้ไปใช้จ่ายไฟให้กับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าต�่ำได้ และหากสถานีรถไฟ ฟ้าหนึง่ ๆ ติดตัง้ พืน้ ก�ำเนิดพลังงานนีไ้ ว้ทวั่ สถานี จะยิง่ เพิม่ พลังงาน ที่ได้มากขึ้นไปอีก ซึ่งจะท�ำให้พื้นก�ำเนิดพลังงานนี้กลายเป็นแหล่ง พลังงานส�ำคัญที่ไม่มีวันหมดไปได้
ข้อมูล : www.mthai.com ภาพประกอบ : www.freepik.com, www.mthai.com
Evaluation Fun Facts โดย ผลิใบ
วิวัฒนาการของเครื่องทําความเย็น
• • • •
ดานการเกษตร การปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวบางชนิด ตองปรับสภาพอุณหภูมิใหเหมาะสม การเก็บหรือยืดอายุผลผลิตทาง การเกษตร การเก็บรักษาพันธุพืช การแชแข็งน�้ำเชื้อเพื่อการผสมเทียม
ดานการคาและธุรกิจ • การปรับอากาศในสํานักงาน ศูนยการคา ธนาคาร สถานบันเทิง • การเก็บและโชวสินคา อาหารสดตางๆ ตามมินิมารทและซูเปอรมารเก็ต
ดานการอยูอาศัย • ใชตูเย็นในการถนอมอาหาร • ใชเครื่องปรับอากาศในอาคารบานเรือน คอนโดมิเนียม หองพัก โรงแรม
ประโยชนของเครื่องทําความเย็น
ด้วยวิวฒ ั นาการและเทคโนโลยีทกี่ า้ วล�ำ้ ขึ้นทุกวันท�ำให้มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เกิดขึ้นมากมายเพื่อสนองความต้องการ ของมนุษย์ และสิ่งหนึ่งที่มีบทบาทในชีวิต ประจ�ำวันอย่างมากก็คอื เครือ่ งท�ำความเย็น ต่างๆ เช่น ตูเ้ ย็น และเครือ่ งปรับอากาศ และถึงแม้ว่าเครื่องท�ำความเย็นจะ มีส่วนในการท�ำให้โลกร้อน แต่มนุษย์ก็ สามารถน�ำมาใช้ท�ำประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้อย่างคุ้มค่า
ดานการขนสง • ใชในยานพาหนะ รถยนต รถไฟ รถไฟฟา เรือ เครื่องบิน ในสถานีขนสง ทาอากาศยาน • การขนสงอาหารสดและอาหารแชแข็ง ดานการอุตสาหกรรม • ใชควบคุมอุณหภูมิ ในกระบวนการผลิต • การแชเย็นเพื่อคงสภาพวัตถุดิบ • อุตสาหกรรมหองเย็น • การผลิตน�้ำแข็งและไอศครีม
• • • •
ดานการแพทย และวิทยาศาสตร การปรับอากาศหองผาตัดคนไข ปรับอากาศหองปฏิบัติการตางๆ การแชเย็นสารเคมีและตัวยาตางๆ การแชแข็งน�้ำเชื้อหรือหยุดการเติบโต ของเซลและแบคทีเรีย
ผลิใบ
17
ทีนี้เรามาดูกันนะคะว่าเครื่องท�ำความเย็นที่มีประโยชน์มากมายนั้นมีวิวัฒนาการอย่างไร ชาวจีนเปนชนชาติแรก ที่ รู จั ก การเก็ บ รั ก ษา น�ำ้ แข็งจากธรรมชาติ เพือ่ การทําความเย็น เปนเวลานับพันป มาแลว พ.ศ. 2342 มีการขนสง น�้ำแข็งจาก นิ ว ยอร ก ไปยั ง เซาตคาโรไลนา ใน ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า แต เ มื่ อ ถึ ง ปลายทางจะเหลื อ น�้ ำ แข็ ง เพี ย ง เล็กนอย สวนใหญละลายเนื่องจาก ยังไมทราบวิธีการเก็บรักษา
ชาวฮิบรูส ชาวกรีก และชาวโรมั น รู จั ก การนําหิมะจํานวนมาก ฝงไวในหลุมแลวคลุมดวย ฉนวน เปนการเก็บหิมะไวเพื่อ น�ำมาผสมทําเปนเครื่องดื่มเย็น
พ.ศ. 2327 วิลเลียม คูลเลน แหงมหาวิทยาลัย กลาสโกว ไดสาธิต การทํ า ความเย็ น เปนครั้งแรกโดยการทําใหเอธิลอีเธอร เดือดในสุญญากาศ
พ.ศ. 2343 เฟรเดอริก ทูเดอร ชาวนิวอิงแลนดคนพบวิธีตัดน�้ำเข็ง จากธรรมชาติใหเปนกอน เขามอง เห็ น ศั ก ยภาพของธุ ร กิ จ น�้ ำ แข็ ง จึ ง ร ว มมื อ กั บ นาฮาเนี ย ล เวธ คิ ด ค น ทดลองใช ฉ นวนต า งๆ ในการเก็ บ รั ก ษาน�้ ำ แข็ ง เช น ฝงไวในขี้เลื่อย บรรจุลงหีบเพื่อคงสภาพกอนน�้ำแข็ง ใหคงทนสําหรับขนสงไปจําหนายในที่ตางๆ เปนการ เริ่มใชประโยชนจากน�้ำแข็งในเรื่องเชิงธุรกิจการทํา ความเย็น คนสมัยนัน้ ใหฉายาทูเดอรวา “ราชาน�ำ้ แข็ง”
18
ผลิใบ
พ.ศ. 2346 โทมัส มูร ชาวนา อ เ ม ริ กั น ใ น รั ฐ แมรีแลนดใชคําเรียก “ตูเ ย็น” เปนคนแรก
ชาวอียิปตโบราณ รูจ กั การทําความเย็น โดยการใชนำ�้ สะอาด ใสไวในหมอดิน แลวนํา ไปวางไวบนหลังคาบานตลอด ทั้งคืน เพื่อใหน�้ำไดรับความเย็น แล้วจึงนําน�้ำนั้นมาใชดื่มในตอน กลางวัน พ.ศ. 2143 ในสังคม ของชาวฝรัง่ เศสมีแฟชัน่ การดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม เย็ น โดยการจับคอขวดเครื่อง ดื่ ม แช แ ละหมุ น ขวดในถั ง น�้ ำ เย็ น ที่ ใ ส เ กลื อ โซเดี ย มไนเตรต จะได เครือ่ งดืม่ ทีเ่ ย็นจัด ซึง่ วิธนี จี้ ะถูกนํามา ใชทําน�้ำแข็ง และน�้ำผลไมแชแข็ง พ.ศ. 2348 โอลิเวอร อีแวนส ชาวอเมริกัน ออกแบบเครื่องทําความเย็น เปนครั้งแรก โดยใชวิธีอัดไอ แตเขาไมได้สร้าง เครื่องนี้ขึ้นมา
หน้าถัดไป
พ.ศ. 2377 จาคอบ เพอรกินส เปนนักประดิษฐที่มี ผลงานทาง เครื่อ งกลมากมาย และเขาได ป ระดิ ษ ฐ เครื่ อ งทํ า ความเย็ น ระบบอั ด ไอขึ้ น เป น ครั้ ง แรกของโลกขณะที่ เ ขาอายุ ได 35 ปี
พ.ศ. 2410 เจ.บี. สุเธอรแลนด แห ง เมื อ งดี ท รอยต รั ฐ มิ ชิ แ กน สหรัฐอเมริกา ไดออกแบบและ สรางตูโ บกีร้ ถไฟหอ งเย็นเพือ่ ขนสง อาหารสด เขาทําชองใสน�้ำแข็ง ไวที่ผนังทุกดาน ตรงกลางบรรจุ อาหารพวกนม เนย อาหารทะเล ซึ่งเขาไดจดทะเบียนลิขสิทธิ์ไว
พ.ศ. 2385 จอหน กอรรี นักฟสิกสชาวอเมริกัน ไดออกแบบสรางเครื่องทําความเย็นที่โรงพยาบาล ฟลอริดา โดยใชอากาศเปนสารท�ำความเย็น อาศัย หลักของการอัดก๊าซสงผานคอยลระบายความรอน แลวปลอยใหขยายตัวไดความเย็น อันเปนหลักการ เบื้ อ งต น ของการทํ า ความเย็ น ในป จ จุ บั น เขา ได พั ฒ นาและจดทะเบี ย นลิ ข สิ ท ธิ์ ที่ รั ฐ ฟลอริ ด า สหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2394 ตอมาภายหลัง อเล็กซานเดอรซี. ทวินิ่ง ไดนําวิธีการของจอหน กอรรีไปพัฒนาใหใชซัลฟูริกอีเธอรเปนสาร ทําความเย็น
พ.ศ. 2398 นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน ไดประดิษฐเครือ่ งทาํ ความเย็น ระบบแอบซอรปชัน พ.ศ. 2453 เริม่ มีการ ผลิ ต ตู เ ย็ น ที่ ใ ช ใ นบ า นเป น ครั้งแรก
พ.ศ. 2422 โทมัส พ.ศ. 2456 เอลกินส ชาวอเมริกัน เชื้อสายแอฟริกัน ไดจด เจ.เอ็ม. ลาเซน ไดผลิต สิทธิบตั รเครือ่ งทําความเย็น เครื่องทําความเย็นควบคุม ในสหรัฐหมายเลข 221222 ดวยมือ พ.ศ. 2461 บริ ษั ท เคลวิ เ นเตอร ได ผ ลิ ต ตู เ ย็ น ซึ่งควบคุมโดยอัตโนมัติเปนครั้งแรกและทําเปนระบบ อุตสาหกรรมการผลิตตูเย็นจําหนายในสหรัฐอเมริกา ยอดจําหนายถึงป พ.ศ. 2463 มากกวา 200 เครื่อง
พ.ศ. 2396 เจมส แฮร ริ สั น ช า งพิ ม พ ชาวสกอตแลนด์ ไดปรั บปรุ ง พัฒนาเครือ่ งทําความเย็นแบบ ใชซ ลั ฟุรกิ อีเธอรใ หม คี ณ ุ ภาพดี ขึ้นกวาที่เคยมีมา พ . ศ . 2 4 5 4 วิ ล เลี ย ม ฮาวิแลนด แครเรียร วิ ศ วกร ป ริ ญ ญ า โ ท จ า ก ห า วิ ท ย า ลั ย คอรเ นลลไ ดค ดิ สูตรไซโครเมตริก ใหกบั สมาคมวิศวกรรมเครือ่ งกล แหงอเมริกาซึง่ นับวามีประโยชน อยา งมหาศาลในการคาํ นวณทีเ่ กีย่ วขอ งกับ ระบบปรับอากาศ ซึ่งใชงานมาจนทุกวันนี้ นอกจากนีใ้ นป พ.ศ. 2464 เขาไดคิดคน และจดทะเบียนลิขสิทธิ์เครื่องทําความเย็น แบบแรงเหวีย่ งหนีศนู ย ซึง่ เขานํามาใชแทน แบบลูกสูบ และในป พ.ศ. 2471 เขาได พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง ป รั บ อ า ก า ศ ที่ ใ ช ต า ม บานเรือน หน้าถัดไป
ผลิใบ
19
พ.ศ. 2463 ตูเ ย็นเริม่ ไดรบั ความสนใจจากผู บ ริ โ ภค มี อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในอเมริ ก าและ ยุโรป โดยตูเย็นกลายเปน เฟอรนิเจอรชิ้นหนึ่งในครัว
พ.ศ. 2474 จํานวนตูเย็นที่ ผลิตจําหนายในสหรัฐมีจํานวนสูง ถึงประมาณ 1 ลา นเครือ่ ง และ อีก 6 ป ตอ มาคือ พ.ศ. 2480 จํานวนตูเ ย็นมีประมาณ 6 ลานเครือ่ ง
พ.ศ. 2483 มีการผลิต เครื่องปรับอากาศเพื่อติดตั้งใน รถยนตมากกวา 3,000 คัน พ.ศ. 2493 ช ว งหลั ง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีการผลิต ตู เ ย็ น สมั ย ใหม อ อกจํ า หน า ย ในสหรัฐอเมริกาชาวนามากกวา 80 % และบา นในชนบทมากกวา 90 % มีตเู ย็นใช
พ.ศ. 2464 ตูเ ย็นใสหรัฐอเมริกา ถูกผลิตขึ้นจําหนาย มากกวา 5,000 เครือ่ ง
พ.ศ. 2470 บริษัทอิเล็กโทรลักซไดผลิตตูเย็น ระบบแอบซอรปชันควบคุมอัตโนมัติ จําหนายในสหรัฐ และ ในป นี้ เ องมี ก ารผลิ ต เครื่องปรับอากาศที่ใช ตามบ า นเรื อ นออก จําหนายเปนครั้งแรก ดวย
พ.ศ. 2466 มีการ ผลิตตูแชแข็งเพื่อแชอาหาร เปนครั้งแรก พ.ศ. 2469 บริษัทเยเนอรัล อิเล็กทริก (GE) ไดผลิตตูเย็นที่ใช มอเตอรคอมเพรสเซอร แบบเฮอรเมติกเปน ครั้งแรก
ประเทศไทย มี โ อกาสใช เ ทคโนโลยี เครื่องทําความเย็นและ เครือ่ งปรับอากาศเชนกัน โดยตูเย็นสมัยแรกตองนําเขา จากตางประเทศ ปจจุบันอุตสาหกรรมเครื่องทําความ เย็นภายในประเทศสามารถผลิตชิน้ สวนอุปกรณระบบทํา ความเย็นไดคอนขางทันสมัย จึงมีการผลิตตูเย็น เครื่อง ทําน�้ำเย็น ตูแช และเครื่องปรับอากาศ เพื่อจําหนายใน ประเทศและสงออกจําหนายไปอีกหลายประเทศ
จะเห็นได้ว่ามนุษยรูจักวิธีการทําความเย็นและใชประโยชนจากความเย็นมายาวนาน โดยเริ่มจากใช้วิธีการทาง ธรรมชาติในการน�ำความเย็นมาถนอมอาหาร และค่อยๆ มีการพัฒนาเครือ่ งท�ำความเย็นด้วยเทคโนโลยีของแต่ละยุคสมัย เพื่อนําไปใชประโยชนในดานตางๆ มากขึ้น จนน�ำมาสู่อุตสาหกรรมความเย็นที่สร้างคุณประโยชน์มากมาย แต่ไม่ว่า ความเย็นจะมีประโยชน์มากเท่าใดก็ตาม ทุกครัง้ ทีจ่ ะใช้เครือ่ งท�ำความเย็นก็ตอ้ งค�ำนึงถึงผลกระทบของสิง่ แวดล้อมเป็นหลัก ด้วยนะคะ 20
ผลิใบ
ทีม่ า : เครือ่ งทาํ ความเย็นและเครือ่ งปรับอากาศ 1 โดยรศ.บุญชัด เนติศกั ดิ์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลาํ ปาง
NT
INABLE M A T S U S O r VEM fo E
องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/
Green Mind โดย กองบรรณาธิการ
“กระถินยักษ์”
พืชทรงคุณประโยชน์ ที่เป็นภัยคุกคามต่อพืชท้องถิ่น แม้กระถินยักษ์จะมีคุณประโยชน์มากมายดังที่กล่าวมาข้างต้น
แต่!!! กระถิ น ยั ก ษ์ จั ด เป็ น ไม้ ต ระกู ล ถั่ ว เพราะ สามารถตรึ ง ไนโตรเจนในอากาศได้ โ ดยปมของ ไรโซเบียมเช่นเดียวกับต้นถั่ว นอกจากนี้ยังมีคุณ ประโยชน์ ม ากมาย จึ ง มี ค นจ� ำ นวนมากนิ ย มน� ำ กระถินยักษ์น�ำมาปลูกเพื่อใช้ประโยชน์ในครัวเรือน เพื่อเป็นธุรกิจ หรือแม้แต่น�ำไป “ปลูกป่า” โดยที่ หลายคนยังไม่ทราบว่าต้นกระถินยักษ์นนั้ อาจเป็นภัย คุกคามของพืชท้องถิ่นโดยไม่รู้ตัว ก่อนทีจ่ ะทราบถึงภัยร้ายของกระถินยักษ์เรามา ท�ำความรูจ้ กั กับคุณประโยชน์มหาศาลของกระถินกัน ก่อนค่ะ
การน�ำกระถินยักษ์ไปเป็นไม้ในการปลูกป่าทดแทน นั้น จะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพเป็น อย่างยิ่ง เนื่องจากมีรายงานว่ากระถินยักษ์เป็นชนิด พันธุ์ต่างถิ่นรุกราน ในอย่างน้อย 25 ประเทศ รุ ก รานได้ ดี ในบริ เ วณที่ ป ่ า ถู ก ท� ำ ลายหรื อ ป่ า ไม่ สมบูรณ์ เช่นบนเขาหัวโล้น จนในที่สุดกลายเป็นป่า ทีม่ พี ชื เพียงชนิดเดียว ไม่สนับสนุนให้เกิดความหลาก หลายทางชีวภาพ ก�ำจัดยากเพราะต้นสามารถงอก ออกมาใหม่จากตอได้ และเมล็ดอาจมีอายุอยู่ในดินได้ ถึง 20 ปี
จากบทความเรื่อง “กระถินยักษ์ น่ากลัวกว่าที่คิด” โดย ดร.นณณ์ ผานิตวงศ์ ผูก้ อ่ ตัง้ กลุม่ อนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและสิง่ แวดล้อม ระบุวา่ กระถินยักษ์ จัดเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานติดอันดับ 1 ใน 100 ตามการจัดอันดับของสหภาพ สากลว่าด้วยการอนุรักษ์ (The World Conservation Congress) หรือ IUCN ซึ่งมีรายงานการรุกรานใน 25 ประเทศ โดย ถ้าน�ำกระถินยักษ์ไปปลูกป่า ก็จะ เป็นป่าที่มีพืชเพียงชนิดเดียว ในขณะที่ป่าที่สมบูรณ์ ควรมีพืชเป็นร้อยชนิด ซึ่งความหลากหลายของพืชยิ่ง มากก็จะมีแมลง สัตว์ รา ที่อาจจะจ�ำเพาะอยู่กับพืช เหล่านี้ มากตามไปด้วย ซึ่งจ�ำนวนพืชเป็นร้อยชนิดที่ ว่านี้ก็มีตั้งแต่พืชคลุมดิน ไม้พุ่ม ไม้ใหญ่ ไม้เรือนยอด มีดอก และผลแตกต่างกันออกไป จึงเกิดความหลากหลาย ทางชีวภาพของพื้นที่ไปด้วย
ใช้ทำ� ใช้ท�ำถ่าน ถ่าน แนวรั้ว จากกระถินยักษ์ให้ ใช้ท�ำ ควันน้อย มีความร้อนสูง ใช้ทำ� ฟืน เนื่องจาก 28,665 บีทยี /ู กิโลกรัม แนวกันไฟ ไม้กระถินยักษ์ให้ค่า จากประโยชน์ แ ละผลกระทบที่ เ กิ ด จากการน� ำ และกันลม ความร้อน 16,438.4 กระถินยักษ์ไปปลูกป่า น้องๆ มีความคิดเห็น บีทียู/กิโลกรัม อย่างไรกันบ้างคะ ใช้ท�ำ ไม้แปรรูป ปาเก้ เสา ใช้เป็นอาหารสัตว์ ใช้ท�ำ มี ค วามแข็งปานกลาง ไม้ เช่น วัว ควาย แพะ เยื่อกระดาษ กระดาษ กระถินยักษ์อายุ 3 ปี มีค่า แกะ เป็ด ไก่ มีไนโตรเจน ช่วย ที ท ่ ำ � จากไม้กระถินยักษ์มีความ 36-47 กรัม/กิโลกรัม มี ความหนาแน่น 0.66 กรัม/ซ.ม. แข็งแรงต่อการฉีดขาดและการพับ ปรั บ ปรุงดิน มี ค วามแข็ ง พอที จ ่ ะมี ก ำ � ลั ง ต้ า นแรงดึ ง ใช้ ท ำ � แอลกอฮอล์ โปรตีนดิบ 230-300 แรงกดและแรงดัดโค้งได้ เนื้อไม้ เหมาะส�ำหรับใช้ประโยชน์ในการพิมพ์ ราคาจะต�่ำกว่าราคาน�้ำมัน เนื่องจากเป็นพืชตระกูล กรัม/กิโลกรัม ถั่ว ท�ำให้เพิ่มไนโตรเจน และเป็นกระดาษเขียน นอกจากนี้ยัง มีรายละเอียดง่ายต่อการตัด เบนซิ น เมื อ ่ ใช้ ไ ม้ ผ ลิ ต ในดิน ท�ำปุ๋ยพืชสด สามารถผลิตเป็นแพรเทียมหรือ และเลื่อย แอลกอฮอล์ แ ล้ ว กระดาษแก้วได้ จะได้ลิกนินเป็นผลพลอยได้ ประมาณ 30% ซึ่งท�ำให้มี ผลิใบ 23 ก�ำไรเพิ่มขึ้น
The Question Mark โดย กองบรรณาธิการ
จริงหรือ?
ที่ภาวะโลกร้อนท�ำให้เกิดเฮอริเคน
หลายคนสงสัยว่าลมพายุที่มีความรุนแรงมาก อย่างเฮอริเคนนัน้ เกิดมาจากสาเหตุของภาวะโลกร้อน หรือไม่ ค�ำตอบคือ ภาวะโลกร้อนไม่ได้เป็นตัวท�ำให้ เกิดเฮอริเคน แต่...ภาวะโลกร้อนจะส่งผลให้เฮอริเคน ทวีความรุนแรงมากขึ้น เรามารู้จักกับเฮอริเคนกันค่ะ เฮอริ เ คน เป็ น ชื่ อ เรี ย กของลมที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน มหาสมุทรแปซิฟคิ เป็นพลังงานทีส่ บู ขึน้ มาจากน�ำ้ อุน่ ในมหาสมุทร ยิ่งมหาสมุทรอุ่นมากขึ้น เฮอร์ริเคน ก็ยิ่งรุนแรงขึ้น ฉะนั้นภาวะโลกร้อนจึงมีส่วนเพิ่ม ความรุนแรงของเฮอร์ริเคน เฮอริเคน จะก่อตัวเหนือบริเวณน�ำ้ อุน่ (อย่างน้อย 27 องศาเซลเซียส) อากาศค่อนข้างชืน้ ลมมีลกั ษณะ หมุนวนใช้เวลาก่อตัวหลายชัว่ โมง จนถึงหลายวัน หลั ก การคื อ อากาศร้อ นมีน�้ำหนักเบากว่า อากาศเย็นท�ำให้มันลอยตัวสูงขึ้น และกลั่นตัวเป็น หยดน�้ำในระดับสูง ขณะกลั่นตัวมีการคายความร้อน ทีเ่ รียกว่า ความร้อนแฝงของการกลัน่ ตัว ความร้อนนี้ จะท�ำให้อากาศเบือ้ งบนอุน่ ขึน้ และท�ำให้ลอยตัวสูงขึน้ ไปอีก ส่วนอากาศเย็นไหลเข้าแทนที่ เกิดการไหลของ อากาศแบบหมุนวน มีก�ำลังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หมุนรอบ จุดศูนย์กลาง ลักษณะการหมุนเหมือนกับการไหลของ น�้ำที่ก�ำลังระบายลงสู่รูระบายน�้ำทิ้ง (ลองสังเกต ในอ่างล้างจานก็ได้ค่ะ) 24
ผลิใบ
ภาพแสดงการท�ำงานของเฮอริเคน
อากาศแห้ง ลมชั้นบน ทิศทางของการหมุน ของเฮอริเคน
ตาพายุ
อากาศอุ่น
เกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง ลมระดับต�่ำไหลเข้า
รูปร่างของเฮอริเคน ลมที่พัดและมีลักษณะไหลวน เมื่อพัดผ่านไอร้อนของน�้ำทะเล มันจะดันให้ไอร้อนลอยตัวสูงขึ้น เสริมกับอากาศ ร้อนข้างบน ท�ำให้การไหลวนของลมมีความเร็วเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันลมบนที่มีก�ำลังแรง (อยู่เหนือจากผิวน�้ำ 9,000 เมตร) จะช่วยพัดไอร้อน จากจุดศูนย์กลางพายุออกไป ท�ำให้ไอร้อนจากข้างล่างไหลเข้ามาเสริม ต่อเนื่องเป็นวัฏจักร ตลอด และในที่สุดก่อตัวขึ้นเป็นเฮอริเคน
เฮอริเคนมีหลายขนาดด้วยนะ >>> บางลูกมีขนาดเล็ก หางสั้น ทิ้งพายุฝนไว้ เป็นช่วงเวลาสั้นๆ
ใหญ่ ด า น ี ข ม บางลูก บริเวณกว้าง ร ใน เกิดฝน ยพันกิโลเมต า ยาวหล แต่ ภ าวะโลกร้ อ นก็ มี ข ้ อ ดี อยู่บ้าง คือส่งผลทางอ้อมให้พายุ เฮอร์ ริ เ คนที่ มี ค วามรุ น แแรง ญ่ มีอ�ำนาจการท�ำลายสูงมาก ห ใ มีจ�ำนวนน้อยลง เพราะมันไป นาด นมาก ง พัดไปบริเวนใด ข น อ ่ ื เพิม่ ความแรงของลมเฉือน หรือ ริเค �้ำฝ เน บริเวณนั้นพังพินาศหมด ้ถาเฮอ มจุของน อย่างตอ่ ัน ปรากฏการณ์ซงึ่ ลมเปลีย่ นทิศทาง ว า ก มีคว หฝ้ นต ถึง 2 หรือความเร็วอย่างรวดเร็วและ ทำ� ใ 1 อาจ นาน รุนแรงในระยะทางสั้นๆ ลมเฉือนจะ ปั ด เป่ า มวลอากาศตรงยอดและฐานของ พายุที่เริ่มก่อตัว ท�ำให้เฮอร์รเิ คนขนาดเล็กสลายไปและไม่สามารถพัฒนา เป็นเฮอร์ริเคนขนาดใหญ่ได้ ข้อมูลจาก : www.kidsnews.bectero.com, www.rmutphysics.com ภาพประกอบจาก : www.science.howstuffworks.com
ผลิใบ
25
Young Artist โดย ผลิใบ
ภาพวาดน้องๆ ที่ส่งผลงานเข้าร่วมโครง Young Creative Environment Artist ภายใต้ Concept “Our Living Environment” ระดับประถมศึกษา หัวข้อ แบบอย่างในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นของฉัน
รางวัลชนะเลิศ ด.ญ. ภิมวรีย์ ดวงแดง โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ รับรางวัล 8,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
รางวัลรองชนะเลิศ ด.ญ. พศิกา เกตุจันทร์ โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง ์1) เขื่อนเพชร (พิบูลสงเคราะห รับรางวัล 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
26
ผลิใบ
รางวัลรองชนะเลิศ ด.ญ. ณัฐสุภา เอี่ยมส อาด โรงเรียนนิคมสร้างตน เอง เขื่อนเพชร (พิบูลสงเค ราะห์1) รับรา
งวัล 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรต ิคุณ
รางวัลชมเชย ด.ญ. อนุตตรีย์ ดนตรี ทยา โรงเรียนพร้อมพรรณวิ
รับรางวัล 3,000 บาท ุณ พร้อมใบประกาศเกียรติค
ผลิใบ
27
English for Fun โดย กองบรรณาธิการ
สวัสดีค่ะน้องๆ ชาวผลิใบ ฉบับนี้เราน�ำเสนอเรื่องราว เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นส่วนใหญ่ English for Fun จึงน�ำค�ำศัพท์เกี่ยวกับภูมิอากาศหรือ ที่ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Climate มาฝากน้องๆ ด้วย เช่นกันค่ะ เพราะว่าในปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกต่างตื่นตัว และให้ความส�ำคัญกับสภาพภูมอิ ากาศเป็นอย่างมาก ฉะนัน้ เราก็ควรศึกษาค�ำศัพท์เหล่านี้เอาไว้ด้วยค่ะ เพื่อที่เวลาไป เจอเพื่อนต่างชาติจะได้คุยกับเขาได้อย่างไม่ติดขัด
Microthermal Climates
ภูมิอากาศหนาวเย็น
ฤดูร้อนอากาศเย็น ฤดูหนาวหนาวเย็น อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่อบอุ่นที่สุด ไม่ต�่ำกว่า 10 ํC อุณหภูมิเฉลี่ย ของเดือนที่หนาวที่สุด ต�่ำกว่า -3 ํC
Dry Climates ภูมิอากาศแห้งแล้ง เป็นพื้นที่ที่มีฝนตกน้อย อัตราการระเหยของน�้ำมาก 28
ผลิใบ
Tropical Climates ภูมิอากาศร้อนชื้น เป็นพื้นที่ภูมิอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร ที่ทุกเดือนจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย สูงกว่า 18 ํC
Mesothermal Climate ภูมิอากาศอบอุ่น ฤดูร้อนอากาศอบอุ่น ฤดูหนาวไม่หนาวมาก อุณหภูมิเฉลี่ยของเดือนที่หนาวที่สุด ต�่ำกว่า 18 ํC และสูงกว่า -3 ํC
Polar Climates ภูมิอากาศขั้วโลก เป็นพื้นที่ที่อุณหภูมิเฉลี่ย ของเดือนที่อบอุ่นที่สุดต�่ำกว่า 10 ํC
Young Storyteller
ผลงาน าดเส็น ม ห า ภ ิ ว ์ พ ญ. พิม
ด.
โดย เด็กหญิงพิมพ์วิภา หมาดเส็น
าลระนอง
โรงเรียนอนุบ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่ประกอบ
ไปด้ ว ยคุ ณ ธรรมซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ดั้ ง เดิ ม ชีวิตของชาวบ้านธรรมดาที่มีความคิดสร้างสรรค์ ชาวบ้ า นในท้ อ งถิ่ น มี ป ระสบการณ์ แ ละความ เฉลียวฉลาด รวมทัง้ ความรูท้ เี่ คยได้รบั การถ่ายทอด มาเมื่อสมัยบรรพบุรุษและอาจจะมีการประยุกต์ ปรับเปลี่ยนใหม่ให้สอดคล้องกับยุคปัจจุบัน โดย วิธีต่างๆ เพื่อให้ชิ้นงานแต่ละชิ้นดูสวยงามและ กลมกลืนกับยุคปัจจุบัน ในประเทศไทยนี้ มี ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น หลายอย่ า งที่ ขึ้ น ชื่ อ และภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น แต่ ล ะอย่ า งล้ ว นเป็ น สิ่ ง ที่ อ นุ รั ก ษ์ พลั ง งานให้ อ ยู ่ ต ่ อ ไป เช่ น ภูมปิ ญ ั ญาทางภาคใต้ อย่าง ผ้าบาติกที่มีชื่อเสียงโด่งดัง มากทั้ง ในภาคใต้เ องและ ในภาคอื่นๆ ผ้ า บาติ ก คื อ ผ้ า ชนิ ด หนึ่งมีวิธีการท�ำโดยใช้เทียน ปิดส่วนที่ไม่ต้องการ ให้สีติด และใช้วิธี การแต้ ม ระบาย
รางวัลรองชนะเลิศ ระดับประถมศึกษา โครงการนักเขียนรุ่นเยาว์ปี 9 หัวข้อ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่ออนุรักษ์พลังงาน
หรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี ซึ่งเมื่อท�ำเสร็จสมบูรณ์ก็จะออกมาอย่าง สวยงาม ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น แต่ ล ะอย่ า งเป็ น ภู มิ ป ั ญ ญา ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานทั้ ง สิ้ น เช่ น ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ทางภาคอี ส านอย่ า งผ้ า ฝ้ า ย ผ้ า ฝ้ า ยได้ ถู ก ลอกลายสี เ ขี ย นจากหม้ อ ดิ น เผา เป็นเครือ่ งใช้ของมนุษย์สมัยประวัตศิ าสตร์ทขี่ ดุ ค้น ได้ในแหล่งโบราณคดี ผ้าฝ้ายมีลวดลายสวยงาม แปลกตาและเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เส้นฝ้าย ก็ ผ ลิ ต เองตามกรรมวิ ธี ธ รรมชาติ แ ละย้ อ มด้ ว ย สีธรรมชาติ ทุกอย่างล้วนมีคณ ุ ค่าอนันต์มากนัก ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น อี ก อย่ า งของ ภาคเหนื อ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากมายคื อ ร่มบ่อสร้าง เป็นสินค้าที่มีชื่อเสียง มากในภาคเหนือ เป็นร่มที่สร้างขึ้น ได้ง่ายและมีอุปกรณ์อยู่ในท้องถิ่น สามารถอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานได้ อ ย่ า ง มากมายเพราะสิ่งที่ใช้นั้นก็แค่ ผ้าแพร ผ้าฝ้าย และกระดาษสา ซึ่งหาได้ง่าย ในท้ อ งถิ่ น และมี ก ารวาดลายที่ ส วยงาม ทุกสิง่ อย่างล้วนแล้วแต่ทจี่ ะประดิดประดอยออกมา ได้โดยที่ไม่ต้องใช้พลังงานมากนัก ผลิใบ
29
ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ล ้ ว นมี ค วามสวยงามหรื อ ประโยชน์ แตกต่างกันไป แต่ก็ท�ำให้เห็นได้ว่าผู้คนในท้องถิ่นมีความริเริ่มที่ดี ท�ำให้ ภูมิปัญญาของแต่ละท้องถิ่นได้มีชื่อเสียงโด่งดัง ในแต่ละ พื้นที่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ใช้ภูมิปัญญาที่ใครๆ ก็จะ ท�ำได้ตอ้ งอาศัยความช�ำนาญ ต้องมีทกั ษะ และต้อง แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน และ คนกับธรรมชาติ เป็นสิ่งที่รวมกิจกรรมทุกอย่าง ในชีวิต การที่จะสร้างผลงานของท้องถิ่นนั้นต้องมี ความรูเ้ กีย่ วกับวัฒนธรรมในท้องถิน่ ไม่ใช้พลังงาน ที่ไม่เกิดผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้อง และต้ อ งเน้ น ความส� ำ คั ญ ของ จริ ย ธรรมมากกว่ า วั ต ถุ ธ รรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีกหนึ่งภาค ที่ น ่ า สนใน คื อ ภู มิ ป ั ญ ญา ท้ อ งถิ่ น ของภาคกลาง เช่ น หั ต ถกรรมเครื่ อ งจั ก สาน เครือ่ งจักสานนัน้ มีนานแล้วและ อาศัยการประดิษฐ์มาตั้งแต่สมัย บรรพบุรุษ กว่าที่ชาวบ้านจะประดิษฐ์ เครือ่ งจักสานมาได้นนั้ ต้องอาศัยการลองผิดลองถูก มากมายไม่รกู้ คี่ รัง้ ต่อกีค่ รัง้ เพราะเครือ่ งจักสานทีช่ าวบ้านท�ำนัน้ อาศัยวิธฝี กึ หัด และการบอกเล่ากันมาทั้งนั้น จึงสามารถสะท้อนให้เห็นการเรียนรู้ความรู้ ที่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบัน โดยเครื่องจักสานแต่ละชิ้นที่ ชาวบ้านได้ท�ำไว้เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นนั้นมีความสวยงาม ความประณีตและ อ่อนช้อยในการท�ำเป็นอย่างมาก สิง่ น�ำมาเป็นเครือ่ งจักสานนัน้ ก็เป็นสิง่ ทีเ่ ห็น และหาได้ในท้องถิ่นที่มีอยู่มากมาย ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น แต่ ล ะอย่ า งล้ ว นแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง แต่ ล ะท้ อ งถิ่ น ว่ า มีความส�ำคัญอย่างไร แต่ละท้องถิ่นมีสิ่งใดที่อันเป็นประโยชน์ของท้องถิ่น แต่ ล ะที่ นั้ น มี สิ่ ง ที่ เ ป็ น ธรรมชาติ อ ย่ า งล้ น หลามที่ จ ะน� ำ มาท� ำ เป็ น สิ น ค้ า ในท้องถิน่ แต่กต็ อ้ งค�ำนึงไว้วา่ ธรรมชาติกล็ ว้ นทีจ่ ะหมดไปได้หากเราไม่รกั ษา ไว้ให้ดี อันที่จริงสิ่งของจากธรรมชาติที่จะน�ำมาเป็นสินค้าในท้องถิ่นไม่ควร 30
ผลิใบ
ที่จะใช้พลังงานให้มันมากนัก ควรใช้สิ่งที่มีอยู่ตาม ท้องถิ่นมาท�ำมากกว่า ดังพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ ว ่ า ประชาชนนั้ น แหละเขามี ความรู้ เขาท�ำงานมาหลายชัว่ คนแล้ว เขาท�ำงาน มาเป็นอย่างดี เขามีความเฉลียวฉลาด เขารู้ว่า ตรงไหนควรท�ำอะไรบ้าง รู้ว่าตรงไหนควรท�ำ กสิ ก รรม เขารู ้ ว ่ า ตรงไหนควรจะเก็ บ รั ก ษา แต่ทเี่ สียก็เพราะพวกทีไ่ ม่รเู้ รือ่ งไม่ทำ� มานานแล้ว ท� ำ ให้ ลื ม ไปว่ า ชี วิ ต มั น เป็ น ไปได้ โ ดยการท� ำ กสิกรรมที่ถูก พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานแก่ ช าวบ้ า นชุ ม ชน บ้านมหา ในวันที่ 16 สิงหาคม 2519 การที่เราได้ประดิษฐ์ชิ้นงานโดยใช้วัสดุของ ท้องถิน่ นัน้ ไม่เพียงทีจ่ ะสร้างสินค้าให้ทอ้ งถิน่ เท่านัน้ ยังเป็นการหารายได้ให้ครอบครัวอีกด้วย และ ยังเป็นการประหยัดอดออม โดยที่ใช้สินค้าที่เรา ประดิษฐ์เอง ไม่ต้องไปซื้อสินค้าอื่นมาใช้ถ้ามันเป็น สินค้าจ�ำพวกเดียวกันและใช้ประโยชน์ได้เหมือนกับ สินค้าที่เราประดิษฐ์ขึ้นมาเองตามวัสดุธรรมชาติ และวัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่นทั่วไป ภูมิปัญญาท้องถิ่นล้วนแต่เป็นความคิดของ ชาวบ้ า นที่ จ ะน� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ เ พราะสิ น ค้ า ทีช่ าวบ้านได้ทำ� นัน้ ก็นำ� วัสดุจากทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ มาประดิษฐ์ให้เป็นสินค้าในท้องถิ่นที่มีชื่อเสียง โด่งดังและเป็นที่รู้จักของท้องถิ่นอื่นๆ แถมยัง สะท้อนให้เห็นถึงความเจริญของท้องถิ่นนั้นๆ ว่าเป็นอย่างไร
ภาพประกอบจาก http://shopping.phuketindex.com, http://www.phuketbatik.com, http://sala108.com, http://www.naryak.com/
Think Tank โดย ผลิใบ
‘พลาสติก’ เป็นวัสดุทเ่ี ราแทบไม่อาจหลีกเลีย่ งได้ในชีวติ ประจ�ำวัน เพราะ ไม่ว่าเราจะหยิบฉวยหรือซื้อข้าวของอะไรส่วนใหญ่ก็มักมีบรรจุภัณฑ์เป็น พลาสติกแทบทั้งสิ้น แต่เรามักขาดความรู้ว่าพลาสติกแต่ละชนิดนั้นมีความ แตกต่างกันอย่างไร เราสามารถน�ำกลับมาใช้ได้หรือไม่ และน�ำมาใช้ใหม่ได้ อย่างไร ฉบับนี้พี่ผลิใบจึงขอน�ำความรู้เรื่องของ ‘พลาสติก’ มาแบ่งปันกันค่ะ
เราเอาเม็ดพลาสติกมาท�ำอะไรบ้าง
เม็ดพลาสติก
พลาสติกมาจากไหน
ก่อนที่จะมาเป็นภาชนะพลาสติกที่มีรูปแบบแตกต่างกันนั้นจะต้องผ่าน กระบวนการมากมาย น�้ำม ิ ันดิบ ต า ช ม ร ธร ก๊าซ แท่นขุดเจาะ ก๊าซธรรมชาติ
เครื่องหลอมเหลว เม็ดพลาสติกหลังจากหลอมด้วย ความร้อน ส่งเข้าแม่พิมพ์ เป่าลม
โรงกลั่นน�้ำมันดิบ
โรงแยกก๊าซธรรมชาติ
ได้ขวดตามแบบของแม่พิมพ์ Naphtha
ขวด Propylene
Ethylene
Styrene Monomer
ขวดพลาสติกที่นยิ มทั่วไป สามารถบรรจุอาหารได้ มี 2 ชนิด
Polymerization
PP
PET
HDPE LDPE
PS
ขวด PET
ขวด HDPE
ผลิใบ
31
เม็ดพลาสติก
เม็ด PS
Blowing Agent (สารขยายตัว)
เม็ดพลาสติก เครื่องรีด เป็นแผ่นฟิล์ม
ปั๊มขึ้นรูป ตามแบบ
เครื่องเป่าถุง ผ่านลม
เครื่องรีด
รีดและจัดเก็บเข้าม้วน แล้วเข้าเครื่องตัดออก มาเป็นถุง
ถุง ถุงพลาสติกมี 4 ชนิด แบ่งตามเม็ดพลาสติก คือ - ถุงร้อน HDPE - ถุงร้อน PP - ถุงเย็น LDPE - ถุงหูหิ้ว T-Shirt Bag
32
ผลิใบ
โฟม PS ถาด ถาดพลาสติกแบ่งตามเม็ดพลาสติก คือ - ถาด PET - ถาด PP - อื่นๆ
ที่มา : Plastics Story กลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทพศไทย
น�ำเม็ดพลาสติก (PS) ผ่าน กระบวนการ ใช้สารขยายตัว (Blowing Agent) น�ำเข้าเครื่องรีด ท�ำให้พลาสติกนั้นกลายเป็นแผ่น โฟม แล้วเข้าเครื่องอัดขึ้นรูปตาม ภาชนะต่างๆ
On the Move โดย ผลิใบ
'เกาะกูด' อีกหนึ่ง แหล่งท่องเที่ยว ทางทะเล ที่น่าอนุรักษ์
ผลิใบ
33
‘เกาะกู ด ’ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทาง ทะเลของจังหวัดตราด เป็นเกาะสุดท้าย ของทะเลอ่าวไทยทีไ่ ด้รบั การขนานนามว่า ‘อั น ดามั น ตะวั น ออก’ เนื่ อ งจากมี ทัศนียภาพทีง่ ดงามและน�ำ้ ทะเลสีครามใส เช่นเดียวกับทะเลอันดามัน เดิมทีเกาะกูดได้รับการส่งเสริมให้ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ม าโดย
34
ผลิใบ
ตลอด โดยการส่ ง เสริ ม ให้ ท� ำ ที่ พั ก หรื อ รีสอร์ทสีเขียว มีโครงสร้างที่กลมกลืนกับ ธรรมชาติ ไม่ท�ำลายสภาพแวดล้อมเดิม รวมทัง้ ไม่บกุ รุกพืน้ ทีป่ า่ ซึง่ ผูป้ ระกอบการ ส่วนใหญ่ก็ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี เรา จึงมักเห็นรีสอร์ทส่วนใหญ่มงุ ด้วยจากและ แฝก ตั้ ง อยู ่ ท ่ า มกลางสวนมะพร้ า วที่ มี อยูแ่ ล้วก่อนจะสร้างรีสอร์ท จะสังเกตได้วา่ มีการตัดไม้น้อยมาก ถึงแม้ตัดไปบ้างก็จะ ปลูกทดแทนในต�ำแหน่งที่เหมาะสม นอกจากนั้ น ที่ เ กาะกู ด ยั ง มี ก ฏ อย่างเคร่งครัดไม่ให้มีการน�ำรถส่วนตัว ข้ามมาที่เกาะเพื่อเป็นการจ�ำกัดปริมาณ มลพิษและลดการท�ำลายสภาพแวดล้อม บนเกาะ ที่นี่จึงยังคงความสมบูรณ์เอาไว้ มาก ซึ่งถ้าได้เที่ยวชมรอบเกาะจะพบว่า ยังมีน�้ำตกอยู่หลายแหล่งที่มีน�้ำไหลตลอด ทั้งปี จุดด�ำน�้ำชมปะการังที่สมบูรณ์ วิถี ชีวิตของคนที่นี่ก็ยังคงเหมือนเดิม แม้จะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า ไปมากขึ้ น แต่ ใ นด้ า น ผลกระทบของสิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว ก็ ถื อ ว่ า ผูป้ ระกอบการจัดการได้เป็นอย่างดี ตลอด จนนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ เ ดิ น ทางมาไกลจาก ชายฝั ่ ง ก็ ใ ห้ ค วามเคารพกฏเกณฑ์ ข อง ธรรมชาติได้ดีเช่นกัน
ดๆในโลกล้ ว นเป็ น วิ ท ยาศาสตร์ น้ อ งๆ เชื่อแบบนี้หรือไม่คะ? ที่ พ่ี ผ ลิ ใ บเชื่ อ อย่ า งนี้ ก็ เพราะว่าทุกอย่างที่เกิด ขึน้ บนโลกนีล้ ว้ นมีเหตุผล มีที่มาที่ไป และพิสูจน์ ได้ แม้แต่ปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติต่างๆ ก็ สามารถพิ สู จ น์ ไ ด้ ด้วย หลักการทางวิทยาศาสตร์ เพราะฉะนั้ น คงไม่ ใ ช่ เรือ่ งแปลกทีว่ ทิ ยาศาสตร์ จะเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น วิ ท ยาการให้ เ กิ ด การ พัฒนาต่อไปอย่างไม่มที ี่ สิ้นสุด
ท�ำไมท้องฟ้า
จึงเป็นสีฟ้า
เข้าใจกันก่อนว่าจริงๆ แล้ว ท้องฟ้าไม่ใช่พื้นที่ว่างเปล่า แต่เต็มไปด้วยก๊าซ หลากหลายชนิด ฝุน่ ละออง ไอน�ำ้ ฯลฯ อีกอย่างทีเ่ ราต้องรูก้ ค็ อื แสงทีส่ อ่ งมาจาก ดวงอาทิตย์เป็นแสงสีขาวทีม่ คี วามยาวคลืน่ แตกต่างกัน ท�ำให้เราเห็นสี ม่วง คราม น�ำ้ เงิน เขียว เหลือง แสด แดง ตอนเกิดรุง้ กินน�ำ้ และเมือ่ แสงอาทิตย์สอ่ งผ่าน ชัน้ บรรยากาศของโลกก็จะชนโมเลกุลของก๊าซ ฝุนละออง และไอน�ำ้ โดยแสง ทีม่ คี วามยาวคลืน่ สัน้ ซึง่ ก็คอื สีฟา้ จะกระเจิงแสงได้ดที สี่ ดุ ท�ำให้เรามองเห็นท้องฟ้า เป็นสีฟ้าอย่างเช่นทุกวันนี้ กระบวนการที่ท�ำให้เราเห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้านี้ ถูกเรียกว่า เรย์เลห์ สแคตเตอริง (Reyleigh Scattering) ตามชื่อของนัก มีใครเคยสงสัยกันไหม ฟิสิกส์ จอห์น เรย์เลห์ ที่เป็นผู้อธิบายทฤษฎีนี้เป็นคนแรก (ปี ค.ศ. 1870) คะว่ า สิ่ ง ที่ เ รามองเห็ น อยู่ทุกเมื่อเชื่อวันอย่าง แต่จะว่าไปท้องฟ้าก็ไม่ได้เป็นสีฟ้าให้เห็นอยู่ตลอดเวลานี่นา เพราะเวลา ท้องฟ้าท�ำไมจึงไม่เป็น พระอาทิตย์ขนึ้ หรือก่อนจะลับขอบฟ้าเรามักเห็นท้องฟ้าเป็นสีสม้ เหลือง แดง สี ช มพู สี เ ขี ย ว สี แ ดง เพราะองศาทีแ่ สงอาทิตย์สอ่ งผ่านฝุน่ ละอองนัน้ สะท้อนแสงสีฟา้ ออกไปท�ำให้แสง ฯลฯ แต่ เ รากลั บ มอง ทีม่ าเข้าตาเราเหลือเพียงสีสม้ กับแดงซึง่ มีความยาวคลืน่ มากกว่านัน่ เองค่ะ เห็นท้องฟ้าเป็นสีฟ้าอยู่ ทุ ก วั น โดยเฉพาะใน หน้ า ร้ อ นที่ ไ ม่ มี เ มฆ ปกคลุม เราก็จะเห็นสี ท้องฟ้าสดใสขึน้ กว่าเดิม แต่ก่อนที่เราจะรู้ว่าเหตุ ใดท้ อ งฟ้ า จึ ง เป็ น สี ฟ ้ า เราต้ อ งมาท� ำ ความ
สีของท้องฟ้า : เกิดจากการกระเจิง แสง ปัจจัยของการกระ เจิงแสง : •ขนาดความยาว คลื่น • ปริมาณอุปสรรค • มุมทีแ่ สงตกกระ ทบ กับบรรยากาศ • ปริมาณสารแขวน ลอยในอากาศ
ข้อมูล : www.nstda.or.th ภาพประกอบจากอินเทอเน็ต ผลิใบ
35
Do It Yourself โดย กองบรรณาธิการ
กระถางแนวใหม่...สไตล์อินดี้ ผลิใบ
36
ผลิใบฉบับนีส้ บื เนือ่ งมาจากพีไ่ ปเจอไอเดีย DIY เก๋ๆ จาก www.thewhoot.com.au ที่น�ำเอาวัสดุ เหลือใช้ต่างๆ มาแปลงโฉมเป็นกระถางต้นไม้ โดย เฉพาะการเอาปูนซีเมนต์ที่เหลือจากการฉาบหรือเท พื้นมาหล่อเป็นกระถางต้นไม้ ซึ่งกระถางต้นไม้ที่ว่านี้ ไม่ได้เป็นทรงกลม ทรงเหลี่ยมอย่างกระถางต้นไม้ ที่เห็นกันทั่วไป แต่เขาได้น�ำเอาถุงมือเก่าๆ มาเทปูน ใส่ลงไป แล้วปรับรูปทรงให้ดูมีไสตล์แปลกตา แถมไม่ ซ�้ำใคร วิธีท�ำก็แสนง่ายที่เด็กๆ ก็สามารถท�ำได้ มาดู วิธีท�ำกันเลยค่ะ
เตรียมให้พร้อม
ปูนซีเมนต์
ถุงมือยาง
ลงมือท�ำ
ผสมปูนซีเมนต์กบั น�ำ้ ให้เข้ากัน ไม่ให้ เหลวหรือแห้งจนเกินไป
น�ำปูนทีผ่ สมแล้วเทลงในถุงมือยางที่ เตรียมไว้
จัดรูปทรงตามต้องการ แต่ควร จะให้สามารถใส่ดินได้ โดยดิน ไม่กระจายออกเวลารดน�้ำ
พอปู น แข็ ง ตั ว ดี ตั ด ถุ ง มื อ ออก แล้วน�ำไปปลูกต้นไม้ตามต้องการ แนะน�ำว่าใช้ปลูกต้นไม้เล็กๆ จ�ำพวก กระบองเพชรจะเหมาะสมกว่าค่ะ 37
ผลิใบ
ที่มา : www.thewhoot.com.au ภาพประกอบจาก : www.thewhoot.com.au, www.siamsafetyppe.com, www.medforcare.com/
Give and Share
บริษัท โยโกฮามา ไทร์ แมนูเฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท โยโกฮามา ไทร์ แมนูเฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบของขวัญอันทรงคุณค่า ด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน
จังหวัด
โรงเรียนบ้านหนองมะปริง โรงเรียนบ้านคลองประทุน โรงเรียนบ้านฉางเกลือ (รักเมืองไทย 3) โรงเรียนวัดห้วงน�้ำขาว
จ.ระยอง จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด
โรงเรียนสตรีประเสริฐศิลป์ โรงเรียนวัดวัง (กิ่ม บุญอยู่ อุทิศ) โรงเรียนวัดวรุณดิตถาราม โรงเรียนวัดแหลมหิน โรงเรียนบ้านท่าประดู่ โรงเรียนบ้านเนินตาแมว โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม โรงเรียนบ้านท่ากุ่ม โรงเรียนเขาน้อยวิทยาคม โรงเรียนคีรีเวสรัตนูปถัมภ์ โรงเรียนมารดานุสรณ์ โรงเรียนวัดบางปรือ
จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด
โรงเรียนวัดไทรทอง โรงเรียนวัดคิริวิหาร โรงเรียนวัดเนินยาง โรงเรียนวัดแหลมกลัด โรงเรียนวัดตะกาง โรงเรียนวัดหนองโสน โรงเรียนบ้านเนินโพธิ์ โรงเรียนบ้านบางปรง โรงเรียนบ้านปากพีด
จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด
38
ผลิใบ
โรงเรียน
โรงเรียนบ้านสวนใน โรงเรียนบ้านเปร็ดใน โรงเรียนบ้านไร่ป่า โรงเรียนบ้านท่าเรือจ้าง(ประชาชนูป ถัมภ์) โรงเรียนบ้านนาเกลือ โรงเรียนบ้านทุ่งไก่ดัก โรงเรียนบ้านดอนสำ�ราญ โรงเรียนวัดไตรรัตนาราม โรงเรียนวัดสารนารถธรรมาราม โรงเรียนบ้านวังประดู่ โรงเรียนบ้านมาบยางพร โรงเรียนบ้านห้วยปราบ โรงเรียนบ้านหมอมุ่ย โรงเรียนบ้านคลองบางไผ่ โรงเรียนนานาชาติสวนระยอง โรงเรียนนานาชาติเซนต์แอนดรูว์ส ระยอง โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา โรงเรียนพัฒนเวชศึกษา โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จ.ระยอง 1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จ.ระยอง 3 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จ.ระยอง 6 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จ.ระยอง 9 โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง จ.ระยอง 2 โรงเรียนวัดชากผักกูด โรงเรียนบ้านหนองระกำ�
จังหวัด
จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ตราด จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง จ.ระยอง
Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....
กระเป๋าผ้า
รับทันที
GREEN INNOVATION มูลค่า 250 บาท และกระติกน�้ำพร้อมแก้ว จาก บางจาก
cover 121.pdf
1 27/7/2559
11:39:13
เติบใหญผลิใบ
หัวใจรักษสิ่งแวดลอ ปท่ี 22 ฉบับ ที่ 121 เดือ ม นเมษายน-มิถ นุ ายน 2559
CL
C
M
I
A
M
Y
CM
TE
MY
CY
CH
CMY
K
NG
A
EI
S SU
ฉบับ 121
E
cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสม ทุ ร
Green Energy นวัตกรรมพลงั งานใหมแ หงอนาคต
cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59
.com/plibai20
Animal Wonde rs สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัต วโลก
www.facebook 12.tei
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559
ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558
Eco Life Issue C
C
M
M
Y
Y
CM
CM
MY
MY
CY
CY CMY
CMY K
K
วารสารย้อนหลัง Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit
Do It Yourself
The Question Mark
มหัศจรรยพลังนํ้า
ขวดกลับหัว
นํ้าหายไปไหน
ฉบับ 120 cover_117_2.pdf 1 30-Jun-15 10:40:07 AM
Reject
เ
ตบิ ใ หญผ ล ปท ใิ บ
๘ ๒๕๕ ี่ ๒๑ าคม ฉบับที่ ๑๑๖ เดือนมกราคม-มีน
C
C
M
Reuse
M
Y
Y
CM
CM
MY
Green Society
Repair
MY
CY
CY
CMY
CMY
K
K
Reduce
IT Generation
Think Tank
ฉบับ 118
www.facebook.com/plibai2012.tei
สรางนักวิทย สูนักวิจัย
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders “ลีเมอร” สัตวโลก (สีเขียว)
อ แว ด ล หัวใจรักษสิ่ง
ม
ÂÕ Ç ue ÊàÕ ¢ Iss y
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๑๘ เดือนกรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘
cover_116 copy.pdf 11-Nov-14 10:36:55 AM
ฉบับ 119
ÃÇ‹ ÁÊà §Ê Green ÒŒ Soc §Ñ ¤Á iet
Recycle
วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์ สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com
Green Energy
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก
English for Fun Eco not Ego
www.facebook.com/plibai2012.tei
สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………....................................................................... ที่อยู่ ………………………....................................................................................... ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ที่ ต้องการ ………………………............................................................. การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชี ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6
สมัครสมาชิกวารสารผลิใบ
ฉบับ 117
ฉบับ 116
Aseans’ Game โดย ผลิใบ
ในระบบนิเวศของเรานั้นนอกจากจะมีสิ่งมีชีวิตที่สัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังมีสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์ กับสิ่งมีชีวิตด้วยกัน ทีนี้น้องๆ มาดูภาพต่างๆ เหล่านี้ แล้วตอบพี่ผลิใบทีว่าสิ่งมีชีวิตนี้มีความสัมพันธ์กันแบบไหน โดยเลือกข้อความในกล่องสีขาวไปใส่ไว้ใต้ภาพ 1. 2. 3. 4. 5.
ความสัมพันธ์แบบเหยื่อกับผู้ล่า ความสัมพันธ์แบบปรสิต ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน
ไลเคนและต้นไม้ เป็นความสัมพันธ์แบบ.................. ............................................................................ ........
ผีเสื้อและดอกไม้ เป็นความสัมพันธ์แบบ.................. ............................................................................ ........
สุนัขและเห็บ เป็นความสัมพันธ์แบบ.......................... ............................................................................... ............................................................................... 40
ผลิใบ
นกน�้ำและปลา เป็นความสัมพันธ์แบบ....................... ..............................................................................
ฉลามกับเหาฉลาม เป็นความสัมพันธ์แบบ.................. ............................................................................... ภาพประกอบจาก : www.pixabay.com