วารสารผลิใบ ฉบับ 122

Page 1



ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย กองบรรณาธิการวารสารผลิใบ


Editor’s Note เดื อ นตุ ล าคมปี 2559 คงจะเป็นเดือนที่พสกนิกร ชาวไทยจดจำ�ไปตราบชั่วนิรันดร์ เมื่อพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม เราชาวไทยทีไ่ ด้เกิดมาภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ได้ประจักษ์ชัดในหัวใจของเราว่าตลอด 70 ปีท่ีผ่านมา พระองค์ได้ทรงครองแผ่นดินโดยธรรมเพือ่ ประโยชน์สขุ ของ มหาชนชาวสยามตามที่ได้ทรงตั้งพระบรมราชปณิธานไว้ อย่างแท้จริง พระราชกรณียกิจต่างๆ ที่พระองค์ทรงทำ�ไว้เมื่อครั้ง มีพระชนม์ชพี ล้วนทำ�ให้ราษฎรได้อยูด่ ี กินดี สามารถดำ�รง อยูไ่ ด้ดว้ ยตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะขอจดจำ�จารึกในพระมหา กรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชไว้ตราบชัว่ ชีวติ วารสารผลิใบตั้งแต่ฉบับนี้เป็นต้นไปจึงได้มีการเพิ่ม คอลัมน์ “รอยเท้าของพ่อ” ขึน้ มาเพือ่ เผยแพร่โครงการใน พระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช เพือ่ ให้เยาวชนรุน่ หลังได้รบั รูร้ บั ทราบว่าครัง้ หนึง่ เราเคยมีกษัตริย์นักพัฒนาผู้ทรงสละความสุขสบายส่วน พระองค์เพื่อมาดูแลทุกข์สุขของประชาชนชาวไทย ด้วย โครงการในพระราชดำ�ริซ่ึงล้วนสร้างความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน เป็นการนำ�ร่องให้ประชาชนเจริญรอยตามต่อไป

• วารสารผลิใบได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทวารสารที่มีเนื้อหาทั่วไป เหมาะสมกับเยาวชน ประจำ�ปี พ.ศ. 2538 – 2539 จากคณะกรรมการ ส่งเสริม และประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550

เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ศ.ดร. ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล โรงพิมพ์ บจก. มาตา การพิมพ์ สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมรำ�ลึก 11120 ในพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็นล้นพ้นอันหาทีส่ ดุ มิได้ โทรศัพท์ : 0 2503 3333 ข้าพระพุทธเจ้า คณะผูบ้ ริหาร และกองบรรณาธิการ โทรสาร : 0 2504 4826-8 วารสารผลิใบ อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei

ศ.ดร. ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล บรรณาธิการบริหาร


36 7

4 17

38

28

Young Storyteller

30

On The Move

32

Young Creative Environment Artist

34

Think Tank

35

รอยเท้าของพ่อ

4

Science Tricks

36

IT Generation

6

Do It Yourself

38

Animal Wonders

7

Give and Share

39

Membership

40

Cover Story

10

Inspiration Book

12

Inspiration Movie

12

Think Out of the Box

13

Green Energy 15 16

Green Mind

17

The Question Mark

20

English fo Fun

23

Evolution Fun Facts

24

What the World Offers?

26

Young Artist

28

์ ฤกษ ิการ จุลพ าธ ัตน์ รรณ ศิริร ขากองบ เล

Grew the Earth


รอยเท้าของพ่อ โดย ผลิใบ

โครงการแกล้งดิน สวัสดีค่ะ น้องๆ ส�ำหรับฉบับนี้และต่อๆ ไป ผลิใบจะได้มีการเพิ่มคอลัมน์ ‘รอยเท้าของพ่อ’ ขึ้นมาอีก 1 คอลัมน์ เพื่อส�ำนึกใน พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ที่ได้ทรงพระราชทานโครงการเนื่องในพระราชด�ำริขึ้นเพื่อ ประโยชน์สขุ ของประชาชนชาวไทยกว่า 3,000 โครงการ ทัง้ แนวคิด แนวทางการปฏิบติ ิ เพือ่ เปลีย่ นการด�ำเนินชีวติ ทัง้ ในระดับบุคคล ชุมชน องค์กร จนถึงระดับรัฐ ให้รอดพ้นจากวิกฤตและดําเนินอยู่ในสังคมได้อย่างสมดุล มั่นคง และยั่งยืน ส�ำหรับโครงการแรกที่น�ำมาให้น้องๆ ได้รู้จักคือ โครงการพระราชด�ำริเกี่ยวกับดิน ซึ่งมีอยู่ด้วยกันถึง 8 โครงการ อันได้แก่ โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน จังหวัด ฉะเชิงเทรา โครงการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยทราย จั ง หวั ด เพชรบุ รี โครงการศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา ห้วยฮ่องไคร้ จังหวัดเชียงใหม่ โครงการพัฒนาพื้นที่ ลุม่ น�ำ้ แม่อาว จังหวัดล�ำพูน โครงการศึกษาฟืน้ ฟูทดี่ นิ เสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม จังหวัดราชบุรี โครงการทดลอง แก้ ป ั ญ หาดิ น เปรี้ ย ว จั ง หวั ด นครนายก โครงการ หญ้าแฝก และโครงการแกล้งดิน ฉบับนีเ้ ราจะมารูจ้ กั โครงการ ‘แกล้งดิน’ กันค่ะ แกล้งดิน เป็นแนวพระราชด�ำริของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เกี่ยวกับ การแก้ปัญหาดินเปรี้ยว หรือดินเป็นกรด โดยมีการ ขังน�้ำไว้ในพื้นที่ จนกระทั่งเกิดปฏิกิริยาเคมีท�ำให้ดิน เปรี้ยวจัดจนถึงที่สุดแล้วจึงระบายน�้ำออกและปรับ สภาพฟื้นฟูดินด้วยปูนขาว จนกระทั่งดินมีสภาพดี พอที่จะใช้ในการเพาะปลูกได้ 4

ผลิใบ


โครงการนีเ้ กิดขึน้ หลังจากทีส่ มเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล ยเดชฯ เสด็ จ ฯ เยี่ ย มราษฎรในเขตจั ง หวั ด นราธิวาส เมื่อปี พ.ศ. 2524 และทรง พบว่ า ดิ น ในพื้ น ที่ พ รุ ที่ จ ะน� ำ มาใช้ ท� ำ การเกษตรแปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด ท�ำให้เพาะปลูกไม่ได้ผล จึงมีพระราชด�ำริ ให้สว่ นราชการต่างๆ พิจารณาหาแนวทาง ในการปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ พ รุ ที่ มี น�้ ำ แช่ ขั ง ตลอดปีให้เกิดประโยชน์ในทางการเกษตร มากที่สุด และให้ค�ำนึงถึงผลกระทบต่อ ระบบนิ เ วศด้ ว ย การแปรสภาพเป็ น ดินเปรีย้ วจัด เนือ่ งจากดินมีลกั ษณะเป็น เศษอินทรียวัตถุ หรือซากพืชเน่าเปื่อย อยู่ข้างบน และมีระดับความลึก 1 - 2 เมตร เป็นดินเลนสีเทาปนน�้ำเงิน ซึ่งมีสารประกอบก�ำมะถัน ที่เรียกว่า สารประกอบไพไรท์ อยู่มาก ดังนั้น เมื่อดินแห้ง สารไพไรท์จะท�ำปฏิกิริยากับอากาศ ปลดปล่อยกรดก�ำมะถันออกมา ท�ำให้ดินแปรสภาพเป็นดินกรดจัด หรือเปรี้ยวจัด ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จึงได้ด�ำเนินการสนองพระราชด�ำริโครงการ “แกล้งดิน” เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดิน เริ่มจากวิธีการ “แกล้งดินให้เปรี้ยว” คือท�ำให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไป เพื่อเร่ง ปฏิกิริยาทางเคมีของดิน ซึ่งจะไปกระตุ้นให้สารไพไรท์ท�ำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ ปลดปล่อยกรดก�ำมะถันออกมา ท�ำให้ดิน เป็นกรดจัดจนถึงขั้น “แกล้งดินให้เปรี้ยวสุดขีด” จนกระทั่งถึงจุดที่พืชไม่สามารถเจริญงอกงามได้ จากนั้นจึงหาวิธีการปรับปรุงดิน ดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชได้ วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดตามแนวพระราชด�ำริ คือควบคุมระดับน�้ำใต้ดิน เพื่อป้องกันการ เกิดกรดก�ำมะถัน จึงต้องควบคุมน�้ำใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารไพไรท์อยู่ เพื่อมิให้สารไพไรท์ท�ำปฏิกิริยากับออกซิเจน หรือถูกออกซิไดซ์ วิธกี ารปรับปรุงดินตามสภาพของดินและความเหมาะสม มีอยู่ 3 วิธี ใช้น�้ำชะล้างความเป็นกรด เพราะเมื่อดินหาย เปรี้ยว จะมีค่า pH เพิ่มขึ้น หากใช้ปุ๋ยไนโตรเจน และฟอสเฟต ก็จะท�ำให้พืชให้ผลผลิตได้ ใช้ปูนมาร์ลผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน ใช้ทั้งสองวิธีข้างต้นผสมกัน

ผลิใบ

5


IT Generation โดย ผลิใบ

น้องๆ ทีม่ ภี มู ลิ ำ� เนาอยูใ่ นภาคเหนือของประเทศไทยคงจะคุน้ ชินกับปัญหา ไฟป่ า และหมอกควั น ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ ทุ ก ปี ใ นช่ ว งฤดู ที่ มี อ ากาศแห้ ง ซึง่ เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ทั้งจากธรรมชาติและการกระท�ำของมนุษย์ มทร.ธัญบุรีได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของปัญหานี้ จึงได้สร้างสรรค์ แอพพลิเคชั่น ‘iPollution’ ระบบแจ้งเตือนหมอกควันไฟป่า จนคว้ารางวัล สุดยอดแอพฯ สิ่งแวดล้อมจากการพัฒนานวัตกรรมโมบายแอพฯ ภาครัฐ เพราะแอพพลิ เ คชั่ น ดั ง กล่ า วสามารถแจ้ ง เตื อ นหมอกควั น ก่ อ นที่ จ ะลุ ก ลาม เกิดเป็นไฟไหม้ใหญ่โตได้ทันท่วงที

แอพลิเคชั่น iPollution มี 3 ฟีเจอร์หลัก ฟีเจอร์แรกเป็นข้อมูลเกี่ยวกับมลภาวะหรือ มลพิษต่างๆ ฟีเจอร์ทสี่ องเป็นส่วนของข้อมูลข่าวสาร เป็นส่วนทีแ่ ยกออกจากเซ็นเซอร์ ซึง่ หน่วย งานหรือผู้เกี่ยวข้อง จะเป็นผู้ป้อนข้อมูลข่าวสารเข้าไป และฟีเจอร์สุดท้ายเป็นส่วนงานส�ำหรับ หน่วยงานหรือผู้เกี่ยวข้อง หากเซ็นเซอร์ตรวจวัดค่าหมอกควันได้เกินมาตรฐานที่ผู้ใช้งาน ก�ำหนดไว้ จะมีการแจ้งเตือนไปที่เจ้าหน้าที่หลัก และเจ้าหน้าที่คนดังกล่าวจะส่งข้อความ แจ้งเตือนไปยังผู้เกี่ยวข้อง เช่น พนักงานดับเพลิง ผู้ควบคุมไฟป่า หรือเจ้าหน้าที่ในเขตนั้นๆ เพื่อให้เ ข้าไปด�ำเนินการได้อย่างทันท่ว งที รวมถึงประชาชนในพื้นที่ ในการเตรี ย ม ความพร้ อ ม ท� ำ ให้ ช ่ ว ยลดปั ญ หาหมอกควั น หรื อ สาเหตุ ก ารเกิ ด ไฟป่ า ได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ แอพฯ แจ้งเตือนหมอกควันไฟป่านี้ รองรับการใช้งานทั้งระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ และ iOS ขณะนี้ก�ำลังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาตัวต้นแบบ เพื่อน�ำไปสู่การใช้งานได้จริง 6

ผลิใบ

ข้อมูลและภาพประกอบจาก www.news.rmutt.ac.th


Animal Wonders โดย ผลิใบ

มหัศจรรย์ชีวิต...

แมงกะพรุน

้ ู ร ก า ย อ ก รเ ื่องลับที่โล

ถ้าน้องๆ คนไหนได้ตดิ ตามข่าวสารคงจะ ได้เห็นข่าวแมงกระพรุนไฟหมวกโปรตุเกสหรือ แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรตุเกสทีถ่ กู คลืน่ ซัดมา นอกจากแมงกะพรุ น ที่ มิ พิ ษ ในระดั บ ติดชายหาดในจังหวัดภูเก็ตเป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ทั่ ว ไปแล้ ว พี่ ผ ลิ ใ บอยากจะพู ด ถึ ง เรื่ อ งของ แมงกระพรุ น ที ม ่ พ ี ษ ิ แมงกระพรุนชนิดนี้มีพิษร้ายแรงถึงขั้นท�ำให้ แมงกะพรุ น ที่ มี พิ ษ ร้ า ยแรงเยอะเสี ย หน่ อ ย เพราะว่าเวลาทีน่ อ้ งๆ ไปเทีย่ วทะเลจะได้หลีกเลีย่ ง เสียชีวติ เลยนะคะ ทีนอี้ าจจมีคนสงสัยว่า..เอ๊ะ!! สัตว์สีสวยเหล่านี้ให้พ้นเพราะพวกมันอาจมี เราก็เคยทานแมงกะพรุนไม่เห็นเป็นอะไรเลย อันตรายถึงชีวิต!!! ก็เพราะว่าแมงกะพรุนทีเ่ ราน�ำมารับประทานนัน้ เป็นคนละชนิดกันยังไงล่ะคะ มาถึงตอนนีน้ อ้ งๆ เริม่ อยากจะท�ำความรูจ้ กั กับเจ้าแมงกะพรุนกัน บ้างหรือยังคะ.. แมงกะพรุนในโลกของเรานั้นมีอยู่ประมาณ 250 ชนิด แต่ละชนิดก็จะมีขนาด รูปร่าง และสีสัน แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตุเกส หรอื แมงกะพรุนไฟเรือรบโปรต ที่แตกต่างกันออกไป จ�ำพวกที่มีขนาดเล็กมักจะมี ุเกส สีสดและเข้ม เช่น สีชมพู ม่วง เขียว หรือใส ส่วน ที่ได้ชื่อนี้มาก็เนื่องจากรูปร่างของมัน พวกที่มีขนาดใหญ่มักจะมีสีฟ้า น�้ำตาล หรือขาวขุ่น คล้ายกับหมวกของทหารเรือชาวโปรตุเกส สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปตามบริเวณชายฝั่งทะเล ในยุคศตวรรษที่ 18 หรือเรือรบของโปรตุเกส และท้องทะเล จะพบมากในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ในยุคล่าอาณานิคม แมงกะพรุ น ชนิ ด นี้ จั ด เป็ น ชนิ ด ที่ มี พิ ษ ร้ า ยแรงที่ สุ ด ในโลก แมงกระพรุน เทียบเท่าแมงกะพรุนกล่องหรือแมงกะพรุน ที่ ใช้บริโภค อิ รุ คั น จิ ซึ่ ง พิ ษ ของมั น จะท� ำ ลายระบบ ประสาท ผิวหนัง หัวใจ เมือ่ ถูกพิษจะมีอาการ ปวดแสบปวดร้อนอย่างมาก ส่วนใหญ่ผู้ท่ี โดนพิษจะช็อค และหัวใจล้มเหลว แมงกะพรุนหนัง แมงกะพรุนหอม แมงกะพรุนลอดช่อง ผลิใบ

7


ลั ก ษณะของแมงกะพรุ น ไฟ หมวกโปรตุเกสคือมีสฟี า้ หรือ สีม่วง หนวดยาว มีอยู่ ด้วยกัน 2 ชนิดเท่านัน้ หนวดที่มีเข็มพิษอาจยาว ได้ถงึ 30 เมตร และมีปากมากกว่า หนึ่งปาก เป็นสัตว์ที่อยู่เป็นฝูง ซึ่งอาจมากกว่า 1,000 ตัวขึ้นไป วิธกี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นจะใช้วธิ เี ดียวกับ การถูกพิษของแมงกะพรุนไฟหรือแมงกะพรุน พิษชนิดอื่นไม่ได้ ห้ามใช้น�้ำส้มสายชูหรือน�้ำ จืดล้างแผลโดยเด็ดขาด แต่ให้ใช้น�้ำทะเลเพื่อ ก�ำจัดเข็มพิษออกไปก่อน แล้วจึงรีบน�ำส่ง โรงพยาบาลโดยด่วน

แมงกะพรุนชนิดนี้จัดเป็น แ ม ง ก ะ พ รุ น จ� ำ พ ว ก แมงกะพรุ น กล่ อ ง หรื อ คูโบซัว เป็นแมงกะพรุนที่มี พิ ษ ร้ า ยแรงมากชนิ ด หนึ่ ง ของโลกที่เพิ่งค้นพบใหม่ในปี ค.ศ. 2007 ซึง่ สถาบันไอไอเอสอี ของมหาวิทยาลัย แอริ โ ซนาสเตตในสหรั ฐ อเมริ ก า จั ด ให้ เ ป็ น การค้นพบอันดับ 8 ของ 10 สุดยอดการค้นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ ของโลกแห่งปี แมงกะพรุนอิรคุ นั จิ มีลกั ษณะโปร่งใส มีขนาดเล็ก ความยาว เพียงไม่เกิน 1 เซนติเมตร น�้ำหนักไม่เกิน 1 ออนซ์ หนวดแต่ละเส้น จะประกอบด้วยเซลล์พษิ จ�ำนวนมาก เข็มพิษก็จะมีมากตามหนวดทีย่ ดื ออก มาด้วย ท�ำให้แมงกะพรุนอิรคุ นั จิเป็นแมงกะพรุนชนิดทีม่ พี ษิ ร้ายแรงทีส่ ดุ โดยพิษนี้จะสร้างความเจ็บปวดอย่างรุนแรง ท�ำให้เซลล์ผิวหนังบริเวณ ที่ สั ม ผั ส ตาย พิ ษ สามารถเข้ า สู ่ ก ระแสเลื อ ดไปท� ำ ลายเซลล์ เม็ดเลือดแดง และเมื่อเข้าสู่ระบบประสาทก็จะกดทับระบบ ประสาท ท�ำให้หยุดหายใจ

แมงกะพรุนกล่อง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าตัวต่อทะเล หรือ นักพ่นพิษแห่งท้องทะเล ได้ชื่อนี้มาจากรูปร่างที่เหมือนลูกบาศก์ หนวดแต่ละเส้นจะมีเซลล์พิษอยู่ประมาณ 5,000 เซลล์ แมงกะพรุนกล่องเป็นสายพันธุ์ที่พัฒนาอย่างก้าวไกลกว่าแมงกะพรุนทั่วไป ด้วยการพัฒนา ความสามารถในการเคลื่อนที่โดยการพุ่งขึ้นอย่างรวดเร็ว พวกมันมีดวงตาเกาะกลุ่มกันหกกลุ่มอยู่ทั้งสี่ด้าน ของล�ำตัว แต่ละกลุ่มจะมีดวงตาหนึ่งคู่ซึ่งมีเลนส์ตา เรตินา ตาด�ำ และแก้วตาที่มีประสิทธิภาพสูง แม้ว่าจะไม่มีระบบ ประสาทส่วนกลางแต่พวกมันก็สามารถมองเห็นได้ ซึ่งแม้แต่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่แน่ใจว่าแมงกะพรุนพวกนี้มีกระบวนการ ในการมองเห็นอย่างไร ส่วนพิษของมันน่ะเหรอ..ถือว่าเป็นหนึ่งในพิษที่เป็นอันตรายที่สุดในโลก ซึ่งมีพิษในการโจมตีหัวใจ ระบบประสาท และเซลล์ผิวหนัง พิษนี้จะสร้างความเจ็บปวดอย่างแสนสาหัส มีรายงานว่าเหยื่อที่เป็นมนุษย์จะ เกิดอาการช็อคและจมน�้ำหรือเสียชีวิตจากภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว ส่วนผู้โชคดี ที่รอดชีวิตมาได้จะมีอาการเจ็บปวดอยู่หลายสัปดาห์เลยเชียวละ

8

ผลิใบ

ข้อมูลจาก www.nstda.or.th www.wikipedia.org www.liekr.com www.lib.ru.ac.th www.nationalgeographic.com ภาพประกอบจาก www.stingmate.wordpress.com pixabay.com www.wikipedia.org www.kohphangannews.org www.enca.com www.fhshh.com


ได้รู้จักแมงกะพรุนทั้งที่กินได้ มีพิษ และมีพิษร้ายแรงกันไปแล้ว ทีนี้เรามาท�ำความรู้จักกับ แมงกะพรุนที่สาวๆ คนไหนได้ยินเรื่องราวของมันก็คงจะอิจฉาเป็นแน่แท้ นั่นก็เพราะว่าแมงกะพรุนชนิดที่ พี่ผลิใบจะพูดถึงนี้สามารถคงชีวิตอมตะเอาไว้ได้โดยไม่มีวันแก่... มันน่าตื่นเต้นใช่ไหมล่ะคะ แมงกะพรุนอมตะ หรือ Turritopsis Nutricula สามารถท�ำสิ่งมหัศจรรย์ ที่มนุษย์อย่างเราก็ท�ำไม่ได้นอกเสียจากในภาพยนตร์เรื่อง Benjamin Button เพราะเจ้าแมงกะพรุน ชนิดนี้สามารถย้อนวัยตัวเองกลับไปสู่วัยหนุ่มสาวได้อีกครั้งหลังจากที่เข้าสู่วัยผสมพันธุ์ โดยมันจะมี กลไกภายในเซลล์ที่เรียกว่า Transdifferentiation ซึง่ ปกติจะเห็นเฉพาะในอวัยวะ ซึ่งซ่อมแซมตัวเองได้อย่างตับมนุษย์ แต่ในแมงกะพรุนอมตะ กลไกนี้สามารถ ท�ำให้ร่างกายของมันไม่แก่ไปตามปกติ พอถึงวัยผสมพันธุ์มันจะถอยหลัง กลับไปอยู่ในสภาพตัวอ่อนอีกครั้ง ด้วยวิธีที่เรียกว่า Cell Development Process of Transdifferentiation เป็นอย่างนี้ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่า ในขณะที่ แมงกะพรุนชนิดอื่นก็เกิดแก่เจ็บตายเหมือนกับสัตว์โลกทั่วๆ ไป แต่ทั้งหมด ทัง้ มวลนีก้ ไ็ ม่ได้หมายความว่าแมงกะพรุนอมตะจะตายไม่ได้นะคะ มันสามารถ สาบสูญไปจากโลกนี้ได้จากการถูกกินโดยสัตว์อื่น เจ็บป่วย ถูกท�ำร้าย ส�ำหรับ หรือถูกฆ่า แต่ถ้าไม่มีใครมาท�ำอะไร มันก็จะสามารถเดินวงจรอายุจากเด็กไปแก่แล้วย้อนกลับมาเป็น ในบ้ า นเรา เด็กได้อย่างไม่จ�ำกัดอยู่อย่างนี้ตลอดไปค่ะ ก็ มี แ มงกะพรุ น อยู ่ ส�ำหรับ หลากหลายชนิ ด เช่ น กั น น้ อ งๆ ที่ มี แต่ที่เป็นดาวเด่นแห่งทะเลอ่าวไทย โอกาสได้ ไปพบเจอ ก็เห็นจะเป็นแมงกะพรุนถ้วยหลากสี ทีท่ กุ ๆ แมงกะพรุนไม่ว่าชนิด เดือนตุลาคม-พฤศจิกายนจะพบเห็นแมงกะพรุน ใดก็ ต ามอย่ า ได้ ไ ปจั บ ชนิดนี้อยู่เป็นจ�ำนวนมาก เล่นเพราะความสวยของ มันทีเดียวนะคะ เพราะ แมงกะพรุนถ้วยมีรูปร่างคล้ายกับถ้วย คือ ด้านบนของ แมงกะพรุ น ชนิ ด นั้ น ร่างกายจะโค้งนูน ส่วนด้านล่างเว้าเข้าเป็นด้านที่มีปาก พวกมันจัดเป็น อาจมีพิษอันตรายอยู่ แมงกะพรุนที่มีพิษ แต่ไม่ร้ายแรงถึงขั้นมีอันตรายต่อชีวิต แมงกะพรุนถ้วย ในตัวมันก็ได้ ยกเว้น มีสีสันต่างๆ กันที่หลากหลาย อาศัยอยู่ทั้งในเขตน�้ำตื้นและน�้ำลึก ส่วนมากจะพบมากในเขต เสี ย แต่ ที่ ท�ำมาเป็ น น�้ำตื้น เพราะจะถูกน�้ำทะเลพัดมาในเวลากลางคืน และก็จะหาอาหารในเขตน�้ำตื้นไปด้วย อาหารแล้ ว นะคะ ซึ่งอาหารก็ได้แก่ ปลาและสัตว์น�้ำขนาดเล็กต่างๆ โดยแมงกะพรุนถ้วยจะใช้เข็มพิษ ท�ำให้เหยื่อหมดสติ และกินเป็นอาหาร ผลิใบ ภาพประกอบจาก www.stingmate.wordpress.com pixabay.com www.wikipedia.org www.kohphangannews.org www.enca.com www.fhshh.com www.digitalay.com www.freepik.com

9


s d n e r T a g Global Me เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นไปพฤติกรรมและความต้องการของผูบ้ ริโภคก็เปลีย่ นตาม เพราะฉะนัน้ เราจ�ำเป็น

ต้องเรียนรู้และตามให้ทันกระแสโลก โดยเฉพาะผู้สร้างนวัตกรรมยิ่งจ�ำเป็นต้องปรับแผนการผลิตให้สอดคล้อง กับความต้องการในอนาคตของผู้บริโภค ซึ่งนักวิชาการหลายท่านได้คาดการณ์ว่า กระแสนิยมหลักในปี พ.ศ. 2563 หรือ ปี 2020 จะให้ความส�ำคัญในเรื่อง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมกันมากขึ้น ถึงแม้ในปัจจุบันจะไม่ค่อยเห็นการปฏิบัติอย่างจริงจังสักเท่าใดนัก เพราะในช่วง 7-8 ปี ที่ผ่านมาเน้นไปที่การกระตุ้นให้คนตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมมากกว่าการท�ำให้เห็นเป็นรูปธรรม แต่นับจากนี้ไปมนุษย์เราจะต้อง ช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมเอาไว้ทุกวิถีทาง เพื่อโลก เพื่อลูกหลาน และเพื่อชีวิตของเราทุกคน ตามกระแสโลกของปี 2020 ดังนี้

Consumer Needs & Behavior Change E-Mobility

2020 Global Mega Trends

Go Green Green Concept

Healthy Society Innovative technology 10

ผลิใบ


Green Concept :

โลกในยุค 2020 จะให้ความใส่ใจกับแนวคิดสีเขียวมากยิ่งขึ้นควบคู่ไปกับความก้าวล�้ำ ในโลกแห่งเทคโนโลยี เช่น ให้ความส�ำคัญกับสภาพภูมิอากาศโลกที่ผันผวนมากขึ้น การสร้างอาคารส�ำนักงานหรือ แม้แต่ทพี่ กั อาศัยถูกออกแบบในรูปแบบของอาคารเขียวทีอ่ ยูส่ บายไม่สร้างมลพิษ รวมถึงสินค้าต่างๆ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ก็จะได้รับความนิยมมากขึ้นเช่นกัน

Innovative technology : ในปี 2020 เราจะได้เห็นความอัจฉริยะของสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ มากมาย ตลอด

จนสินค้าอุปโภคบริโภคทีช่ าญฉลาด อันจะช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ และเพิม่ ความสะดวกสบายให้ผคู้ นมากยิง่ ขึน้ ซึง่ เทคโนโลยี สมัยใหม่ที่เป็นอัจฉริยะต้องสอดคล้องกับแนวคิดสีเขียว นั่นคือ นวัตกรรมที่ห่วงใยโลกและสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่เป็นอัจฉริยะเพื่อโลกสีเขียว เช่น Smart Car, Smart Phone, Smart Energy, Smart Medical, Smart Cloud, Smart Material, Smart Grid, Smart Home, Smart City ฯลฯ

Healthy Society :

ในยุค 2020 จะเป็นสังคมของคนรักสุขภาพอย่างแท้จริง เพราะปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ คือแรงจูงใจอย่างหนึง่ ทีเ่ ราเลือกรับประทานอาหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพ คนจะมีชวี ติ ความเป็นอยูท่ ดี่ ี การให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ ชีวิตของมนุษย์ที่ลึกซึ้งมากขึ้น โดยค�ำนึงถึงมุมมอง 3 ด้าน ได้แก่ ร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ สุขภาพและชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีจะต้องมีครบทั้ง 3 ด้าน ซึ่งแนวโน้มนี้จะท�ำให้เกิดการพัฒนาด้านวิทยาการทางการแพทย์และสุขภาพต่างๆ ในอนาคต เช่น Nutraceutical, E-Health/M-Health, Health Kiosks, Cybernetics, Healthcare Tourism, Wonder Drugs, Non-Invasive Surgery, Gene Therapy ฯลฯ ส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงและมีอายุยืนยาวขึ้น รวมถึงความ เจริญก้าวหน้าทางการแพทย์สง่ ผลให้อตั ราการตายของประชากรโลกลดลง โดยคาดการณ์วา่ ในปี 2020 ผูส้ งู อายุจะมีสดั ส่วน สูงถึงร้อยละ 30 ของประชากรทั่วโลก

E-Mobility :

การขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่จะเปลี่ยนพลังงาน เชื้อเพลิงในการขับเคลื่อนจากน�้ำมันมาเป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งจะเติมพลังงานขับเคลื่อนใหม่ได้ด้วยการชาร์จไฟฟ้าเข้าไป ในแบตเตอรี่ ในอนาคตนอกจากจะมีปั๊มเติมน�้ำมันเติมแก๊สแล้วจะต้องมีสถานีให้บริการเติมไฟฟ้าด้วย และเทคโนโลยี ยุคต่อไปก็จะพัฒนาไปเป็นการชาร์จแบบไร้สาย และคาดว่าในปี 2563 จะมียานพาหนะทีข่ บั เคลือ่ นด้วยระบบไฟฟ้าทัง้ ประเภท 2 ล้อ และ 4 ล้อวางจ�ำหน่ายกว่า 40 ล้านคันทั่วโลก

ข้อมูลจาก : www.scglogistics.co.th www.manager.co.th www.humanrevod.wordpress.com

ผลิใบ

11


Inspiration Book

อีโค่ ฮีโร่พิทักษ์สิ่งแวดล้อม พบกับการ์ตนู ความรูแ้ สนสนุก เรือ่ ง ราวของ “ไมโล” เด็กชายที่ไม่เคยสนใจ สิ่งแวดล้อม บังเอิญเก็บนาฬิกาประหลาด ได้ ท�ำให้เขากลายเป็น อีโค่ ฮีโร่ผู้คอย พิทักษ์สิ่งแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว และภารกิจ แรกทีเ่ ขาต้องเผชิญ คือ การช่วยเหลือสัตว์ ป่าที่เดือดร้อนจากการตัดไม้ในอะเมซอน จนไร้ทอี่ ยูแ่ ละอาหาร โดยทัง้ หมดเป็นฝีมอื ของ “อัลเรชีโอ” หนุ่มชนเผ่าพื้นเมือง ผู้เคยมีนิสัยอ่อนโยน รักธรรมชาติ อะไรที่ ท�ำให้อลั เรชีโอเปลีย่ นไปถึงขนาดนี้ ร่วมลุน้ และต่อสู้ไปพร้อมกับอีโค่ ฮีโร่สุดต๊องใน “อีโค่ ฮีโร่พิทักษ์สิ่งแวดล้อม”

เนื้อหาภายในเล่ม ประกอบไปด้วย 1. มหันตภัยปรากฏ 2. เสียงเรียกจากแอมะซอน 1 3. เสียงเรียกจากแอมะซอน 2 4. เสียงเรียกจากแอมะซอน 3 5. สงครามสีด�ำ 1 6. สงครามสีด�ำ 2 7. สงครามสีด�ำ 3 8. สงครามสีด�ำ 4 9. หมอกแห่งความตาย 1 10. หมอกแห่งความตาย 2 ฯลฯ

Inspiration Movie

ผมอยากจะคิ ด ว่ า ผมตระหนั ก ถึ ง สิ่งแวดล้อมและผมรักทะเล และผมก็ใช้ ทรัพยากรของโลกอย่างไม่ดูแลรักษา ผม ถูกล้างสมองให้เชือ่ ว่าพลาสติกเป็นสิง่ ทีใ่ ช้ แล้วทิ้ง เหมือนที่ทุกๆ คนคิด เขาพูดกับ ส�ำนักข่าว South China Morning Post ผลคือการออกเดินทางแบบส่วนตัว เพือ่ ค้นหาสาเหตุและวิธกี ารทีข่ ยะมากมาย เหล่านัน้ จบลงในมหาสมุทรของเรา เพราะ ท้ายที่สุดแล้ว หากพวกเราไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เราอาจ A Plastic Ocean เมือ่ นักเล่นเซิรฟ์ นักข่าว และ ผูอ้ ำ� นวยการสร้างภาพยนตร์ จะลงเอยด้วยการที่ในมหาสมุทรมีพลาสติกมากกว่าปลาในปี อย่าง Craig Leeson ได้ยินเรื่องเกี่ยวกับพลาสติกในมหาสมุทร พ.ศ. 2593 เขารู้สึก“ตกใจและหวาดกลัว” 12

ผลิใบ


Think Out of the Box โดย ผลิใบ

อาศรมพลังงาน..

‘อาศรมพลังงาน’ เปิดด�ำเนินงานมายาวนาน

เป็นทีร่ จู้ กั กันดีในกลุม่ นักอนุรกั ษ์ หรือคนทีใ่ ห้ความ สนใจด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงาน เริ่มก่อตั้งจาก คณาจารย์ แ ละนิ สิ ต คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย รวมทั้ ง วิ ศ วกรอาชี พ จ�ำนวนหนึ่ง ได้รวมกันก่อตั้งกลุ่มศึกษาค้นคว้าวิจัย และเผยแพร่งานเทคโนโลยีที่เหมาะสม ภายใต้ชื่อ

“กลุ่มเทคโนโลยีเพื่อชาวบ้าน” หรือ Adaptive Technology Group (ATG) เพื่อให้บริการแก่

ชุมชนในรูปของการฝึกอบรม การจัดพิมพ์เอกสาร รวมถึงการออกแบบสร้างเครื่องเจาะน�้ำบาดาล ถังเก็บน�้ำซีเมนต์เสริมไม้ไผ่ และกังหันลม ต่อมาจึง ได้จัดตั้ง “อาศรมพลังงาน” (Energy Ashram) ขึ้ น อย่างเป็นทางการในปี 2547 ให้เป็นสถาบันที่ ท�ำกิจกรรมวิจัยพัฒนา เผยแพร่เทคโนโลยีพลังงาน ทางเลือกภายใต้การดูแลของสมาคมเทคโนโลยีที่ เหมาะสม โดยมีวิถีการด�ำเนินงานที่พึ่งตนเอง คือ สติ ความรู้ อาหาร พลังงาน สุขภาวะ สังคม นิเวศ นอกจากนัน้ ในด้านการพึง่ ตนเองด้านความรู้ มีการ วิจยั พัฒนาในวิถพี งึ่ ตนเองด้านต่างๆ ท�ำการทดลอง แล้ ว สรุ ป บทเรี ย นน� ำ สู ่ ก ารทดสอบซ�้ ำ จั ด ท� ำ หลักสูตรเผยแพร่สู่สังคม มุ่งเน้นการพัฒนาวิธีการ และสร้างเครือ่ งมือ พัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอนในรูปแบบการศึกษาทางเลือก เพื่อพัฒนา

แหล่งเรียนรู้ที่ท�ำได้จริง

ขีดความสามารถของคนในท้องถิ่น และเยาวชน ในชุมชน ให้มคี วามรูต้ ลอดจนทักษะในการวางแผน และจัดการปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนของตนเอง อาศรมพลังงานตัง้ อยูท่ อี่ ำ� เภอปากช่อง จังหวัด นครราชสีมา เป็นชุมชนทดลองที่ด�ำเนินภายใต้ กระบวนทัศน์ของการเรียนรูก้ ารด�ำเนินชีวติ ด้วยสติ เรียนรู้ตนเอง ท�ำความเข้าใจกับสิ่งรอบข้าง เรียนรู้ ที่จะปรับตัว กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ ระบบนิเวศ โดยมีความเชื่อว่าทิศทางการพัฒนา ของสังคมโลกก�ำลังก้าวสู่ความจ�ำกัดของระบบ นิเวศไปทุกขณะ ซึ่งส่งผลต่อความมั่นคงทางด้าน อาหาร พลังงาน น�ำ้ รวมถึงวิกฤตเศรษฐกิจ การเมือง และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งส่งผลต่อ การด�ำเนินชีวิตอย่างยิ่ง ชุ ม ชนนิ เ วศอาศรมพลั ง งานมี ก ารสอนให้ ด�ำเนินชีวิตด้วยความรู้ ความไม่หลง ทั้งในด้าน ทางโลกและทางธรรมะ การฝึกฝนและเรียนรูใ้ นการ เติบโตทางด้านความคิดและจิตวิญญาณในการ อยูอ่ ย่างมีสติ โดยน�ำกระบวนการศึกษามาใช้ในการ พัฒนาตนเอง ให้เกิดความเข้าใจและสามารถปรับ ตัวให้ด�ำเนินชีวิตไปอย่างมีสติ อยู่อย่างเรียบง่าย ไม่ทำ� ลายสิง่ แวดล้อม และสามารถน�ำสังคมไปสูก่ าร ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ ข้อมูลจาก : www.mentalfloss.com, www.sarakadee.com, www.iurban.in.th ผลิใบ 13 ภาพประกอบจาก : www.inhabitat.com


การจัดการภายในอาศรมพลังงาน จะประเมินและวัดผลจากร่องรอย คาร์บอน (Carbon Footprint) ที่เกิดจากแต่ละกิจกรรม โดยใช้พลังงานหลัก จากชีวมวล ผลิตถ่านด้วยกระบวนการทีม่ ปี ระสิทธิภาพและสามารถลดปริมาณ ก๊าซเรือนกระจกให้น้อยลงด้วยการท�ำให้ถ่านคุณภาพ โดยน�ำถ่านลงดิน ปรับสภาพให้อดุ มสมบูรณ์ ลดการใช้สารเคมี ไม่ทำ� ลายป่า และส่งเสริมความรู้ เหล่านี้สู่ชุมชน

เกษตรนิเวศที่นี่ใช้ถ่านและน�้ำส้มควันไม้ อาศัยกลไกของระบบนิเวศ ฤดูกาลผลิตเพื่อเป็นอาหารที่ดีมีคุณภาพ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน ทางเลือกที่มีความยั่งยืน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เพื่อให้เกิด เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน และสถานการณ์ โดยเน้นการใช้พลังงานที่มี ต้นทุนไม่สูงและชุมชนสามารถจัดการได้ด้วยตนเอง เช่น พลังงานแสงแดด น�้ำมันไบโอดีเซล ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการผลิตน�้ำมันเชื้อเพลิงใช้เอง เพื่อรองรับวิกฤตพลังงานจากฟอสซิลที่ก�ำลังจะหมดและส่งผลกระทบอย่าง รุนแรงต่อภูมอิ ากาศโลก งานด้านหัตถกรรมและสุขภาพ เป็นการน�ำภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นและผลผลิตจากสวนเกษตรมาพัฒนาและแปรรูปเป็นสินค้าที่ดูแล ทัง้ สุขภาพกาย จิตใจและสิง่ แวดล้อม ชุมชนนิเวศด�ำเนินการภายใต้ระบบธุรกิจ เพือ่ สังคมทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไร แต่เป็นกิจกรรมทีด่ ำ� เนินเพือ่ พัฒนาองค์ความรู้ และกระบวนการศึกษาเพือ่ ปรับเปลีย่ นการเรียนรูข้ องคนและสังคมไปสูช่ มุ ชน ที่มีความยั่งยืน พัฒนาความคิด พัฒนาการแสวงหาทางจิตวิญญาณ แต่ไม่ใช่ การพัฒนาทางวัตถุ

นอกจากนี้ อ าศรมพลั ง งานยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ธรรมชาติทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมจ�ำหน่าย โดยน�ำ ผลิ ต ผลต่ า งๆ ที่ มี อ ยู ่ ใ นชุ ม ชนมาดั ด แปลงเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ที่ ไ ม่ ใ ช่ ส ารเคมี หรื อ ใช้ ใ น ปริมาณน้อยกว่าสินค้าทั่วไป สามารถท�ำได้เองโดย ไม่ต้องซื้อหรือหาอะไรให้ยากและเป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่น น�ำมาประยุกต์ให้ใช้ได้ง่ายขึ้น ผลิตภัณฑ์ ทุกชนิด มีกระบวนการผลิตทีม่ กี ารปล่อยก๊าซเรือน กระจกสู่ชั้นบรรยากาศน้อย หรือไม่ปล่อยเลย ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในกลุ่มใหญ่ 2 กลุ่ม คือ 1. สื่อและสิ่งพิมพ์ คู่มือการศึกษา หนังสือ คู่มือการพึ่งตนเองและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน

2. สินค้าและผลิตภัณฑ์สีเขียว ปล่ อ ย CO 2

0

สินค้าแนะนำ

เรื่อง นริศรา ภาพ ดรุณี

สวัสดีค่ะ จดหมายข่าวในปี 2555 นี้ เราได้เปิดคอลัมน์ใหม่ เป็นการเปิด ร้านเสาวรส ให้ทุกคนได้รู้จักกัน ซึ่งร้านเสาวรสเป็น Green Shop ของอาศรมพลังงานที่จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ทางเลือกที่ เราผลิตเองในอาศรมพลังงานและรับมาจากภายนอก สินค้ามีหลาก หลายเช่น แชมพูมะกรูด แป้งถั่วเขียว สบู่มะขามน�้าผึ้ง ลิปน�้ามันงา สเปรย์ไล่ยุงตะไคร้หอม สินค้าจากถ่านไม้ไผ่ และผ้าทอมือย้อมสี ธรรมชาติ โดยสินค้าเหล่านี้เป็นผลิตภัณฑ์สีเขียวที่ลดโลกร้อนได้!

วิธีทำ

14

ผลิใบ

และในจดหมายข่าวฉบับนี้ ขอน�าเสนอเรื่องราวของ “แชมพู มะกรูด” ซึ่งเป็นสินค้าตัวแรกของร้านเสาวรสที่ผลิตเอง ซึ่งมีส่วน ประกอบและวิธีทา� ที่งา่ ยและท�าได้เอง มะกรูดจะมีสารเบอร์กาม็อตทิน ลินาทูล และลินาลิลอะซีเตท ธรรมชาติในน�้ามันผิวมะกรูดช่วย ปรับสมดุลและรักษาหนังศีรษะจากเชื้อรา ท�าให้รากผมแข็งแรง ลด อาการคัน ผมร่วง รักษารังแค สะเก็ดเงิน น�้ามันผิวมะกรูดช่วย ให้ผมนุ่มลื่นและมีน�้าหนัก น�้ามะกรูดช่วยชะล้างความมัน มีลีโมนิน ลินนทูล นีรัลและพีนินในน�้ามันมะกรูด กลิ่นของมะกรูดช่วยบรรเทา อาการปวดศีรษะและท�าให้รู้สึกสดชื่น กระปรี้กระเปร่าหลังสระโดย มีส่วนประกอบอย่างเดียว คือ ลูกมะกรูด

2.นำมะกรูดที่หั่นแล้วมาต้มจนเดือด ทิ้งไว้ให้เย็น

สวัสดีค่ะ พบกันอีกแล้วกับคอลัมน์เปิดร้านเสาวรส ในฉบับนี้ร้านเสาวรสขอน�าเสนอ “สบู่มะขามน�้าผึ้ง” ซึ่ง เป็นผลิตภัณฑ์สีเขียวที่ทา� เองได้ ประหยัดค่าใช้จ่ายและ ที่ส�าคัญช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ด้วย อยากรู้แล้วหละซิว่า ท�าไม? สบู่มะขามน�า้ ผึ้ง ถึง ช่วยลดสภาวะโลกร้อนได้ ส่วนผสม มะขามเปียก 1 กก. น�้าผึง้ 0.5 กก. วิธีใช้ ถูตามใบหน้าและร่างกาย เหมือนกับสบู่ หรือผสม กับผงสครับ (ผงถั่วเขียว) ใช้ขัดหน้าและผิวกายได้

2. 1. นำเนื้อมะขามมาใส่กับน้ำอุ่นแค่พอท่วมแล้วขย้ำให้เนื้อมะขามกับน้ำอุ่นเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน

เคล็ดลับที่ไม่ลับมำกฝำกกัน น�้าผึ้ง ในน�้าผึ้งมีสารแอนติออกซิเดนท์ ยังมีวิตามินบี

3.นำมาปั่นจนละเอียด

แชมพูมะกรูดช่วยโลก!!!

การท�าแชมพูใช้เองได้ประโยชน์หลายด้าน ทัง้ ความปลอดภัย เพราะ แชมพูมะกรูดไม่มีส่วนผสมที่เป็นสารเคมีเลย ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และที่ส�าคัญรู้หรือไม่ว่า แชมพูมะกรูด สามารถลดภาวะโลกร้อนได้ ด้วย เพราะ แชมพูมะกรูด 1 กิโลกรัมปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่ ชั้นบรรยากาศเพียง 0.38 กิโลกรัมเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์ การที่เราช่วยโลกเป็นเรื่องง่ายนิดเดียวจริงๆใช่ไหมค่ะ

Recommend

เรื่อง นริศรา ภาพ ดรุณี

1.ล้างมะกรูด แล้วผึ่งให้แห้ง แล้วหั่นมะกรูดเป็นชิ้น (ไม่เอาแกนกลาง)

แชมพูมะกรูด

เป้าหมายของอาศรมพลังงาน 1. น�ำการปรับกระบวนทัศน์ใหม่เพื่อสังคมในอนาคตถัดจากยุคสมัยนี้ 2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์และเยาวชนให้เผชิญกับวิกฤติทางสังคมที่วิปริต 3. พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อรับมือกับการแปรปรวนของนิเวศ 4. แสวงหาทางเลือกส�ำหรับอนาคตด้วยสัมมาทิฎฐิ

Tamarind สบู่มะขาม Honey น้ำผึง้ Soap

kg.co 2e

4.คั้นมะกรูดที่ปั่นแล้วด้วยผ้าขาวบาง จะได้เนื้อครีมมะกรูดออกมา วิธีการใช้ ใช้สระผม นวดเบาๆ (ถ้าชอบให้มีฟอง ให้ผสมกับแชมพู ที่เราใช้) ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 นาที แล้วล้างด้วยน้ำสะอาด 6.นำเนื้อครีมมะกรูดมาเคี่ยวให้เดือด หรือใช้หมักผม ทิ้งไว้ 15-20 นาที ทิ้งไว้ให้เย็นแล้วนำมาใช้ได้ ก่อนสระก็ได้

และกรดอะมิโน ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพและช่วยชะลอ การเสื่อมของเซลล์ ซึง่ เราสามารถน�าเอาคุณประโยชน์ 3. 4. เหล่านี้ของน�า้ ผึ้งมาใช้ในทุกขั้นตอนของการดูแลผิวตั้งแต่ การท�าความสะอาดผิว กระชับรูขุมขนและการบ�ารุงผิวให้ จากนั้นกรองด้วยกระชอนให้ได้แต่เนื้อครีมมะขาม นำเนื้อครีมมะขามใส่หม้อคนให้เข้ากัน ชุ่มชื้น ป้องกันการเกิดริ้วรอยก่อนวัย มะขามเปียก ช่วยช�าระสิ่งสกปรกจากผิวหนัง เพราะ ฤทธิ์ที่เป็นกรดอ่อนๆ ในมะขาม จะช่วยขจัดสิง่ สกปรก จากผิวหนังได้ดี เห็นมั้ยว่า แต่ละขั้นตอนในการท�าสบู่ใช้พลังงาน และทรัพยากรน้อยมาก รวมถึงวัตถุดิบที่ใช้ก็เน้นของที่มี 5. 6. อยูใ่ นครัว ในท้องถิ่น ไม่ตอ้ งขนส่งให้เปลืองน�า้ มัน ทีส่ า� คัญ มีของเสีย หรือขยะน้อยมากถ้าเทียบกับสบู่ทั่วไป แถมยัง เคี่ยวด้วยไฟอ่อนจนร้อน ใส่น้ำผึ้งลงไปคนให้เข้ากัน เคี่ยวต่อจนพอเดือด ไม่มีสารเคมีตกค้างในร่างกายและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย เห็นไหมว่าการสวยแบบ “สวยใสไร้เคมี” ง่ายนิด เดียว ตอนนี้เราทั้งสุขภาพดี สิ่งแวดล้อมก็ดี แบบนี้เรียก ว่า สวยอย่างมีคุณค่า ใช่มยั้ คะ เจอกันฉบับหน้าค่ะ... 7. 8. พักไว้ให้เย็น นำไปใช้ได้

สั่งซื้อได้ที่ Tel. 044 297 621

ขอบคุณภาพและข้อมูลจาก www.ata.or.th


Green Energy โดย ผลิใบ

เมืองไทยเป็นเมืองเกษตรกรรมมาช้านาน เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การท�ำการเกษตร เราจึงมี ผลืตผลทางการเกษตรเพื่อการส่งออกหลายชนิด โดยเฉพาะข้าวและผลไม้ไทย บางครั้งก็เกิดปัญหาด้านมาตรฐานการส่งออก หรือสินค้าล้นตลาด แต่ยุคที่พลังงานฟอสซิลก�ำลังขาดแคลนเช่นนี้ พืชพลังงานก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ภาคเกษตรกรรมไม่ควร มองข้าม แล้วน้องๆ ทราบหรือไม่คะว่าในบ้านเรามีพืชพลังงานอะไรบ้าง และพืชเหล่านั้นให้พลังงานอะไร

อ้อย เกือบทุกชิ้นส่วนของอ้อยถูกน�ำไปใช้ประโยชน์ด้านพลังงาน ไม่ว่าจะเป็นกากน�้ำตาล ชานอ้อย ใบอ้อย ฯลฯ น�ำมาผลิตไฟฟ้า และเอทานอลผสมเบนซินส�ำหรับเป็นพลังงานขับเคลือ่ น เครื่องจักรกลและรถยนต์

ปาล์มน�้ำมัน พืชเศรษฐกิจด้านพลังงานทีส่ ำ� คัญของ ภาคใต้ ภาคอีสาน และภาคตะวันออก ปาล์มน�ำ้ มันมี ความคล้ายคลึงกับอ้อยคือ หลังจากสกัดน�ำ้ มัน ทีร่ จู้ กั กันในชือ่ CPO (Crude Palm Oil) ออกไปแล้วจะ เหลือทลายปาล์มเปล่า เหมือนอ้อยทีม่ ชี านอ้อยเหลือ อยู่ ซึง่ สามารถน�ำไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงชีวมวล หรือน�ำ ไปหมักเอาก๊าซชีวภาพได้อกี

มันส�ำปะหลัง เป็นพืชทีเ่ คยถูกจัดอันดับให้เป็นพืชทีม่ ผี ลตอบแทนต่อไร่ตำ�่ ทีส่ ดุ แต่ก็เป็นพืชที่ส่งออกเป็นอันดับต้นๆ ของโลก ต่อมาได้มีการน�ำล�ำต้น มันส�ำปะหลังมาผลิตไบโอเอทานอล และเหง้าใช้ในโรงไฟฟ้าชีวมวล เนือ่ งจาก มันส�ำปะหลังเป็นวัตถุดบิ ทางการเกษตรทีม่ แี ป้งและน�ำ้ ตาลสูง

ยางพารา เป็นพืชพลังงานทีส่ ำ� คัญอีกอย่าง ของเมืองไทย เพราะเมือ่ ถูกตัดโค่นจะมีสว่ นที่ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย โดยน�ำส่วนทีเ่ หลือจาก การผลิตไม้แผ่น มาผลิตเชือ้ เพลิงอัดแท่ง ข้อมูลจาก : www.vcharkarn.com www.webkc.dede.go.th www.efe.or.th

ผลิใบ

15


Grew the Earth ดอกพะยูง ดอกออกรวมกันเป็นช่อแยกแขนง ตามปลายกิง่ หรือตามง่ามใบใกล้กับปลายยอด ช่อดอกตั้งขึ้น ยาว ประมาณ 10-20 ซ.ม. ลักษณะของกลีบดอกเป็นรูป ดอกถั่วสีขาวนวล มีกลิ่นหอมอ่อนๆ กลีบฐานดอก เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยหรือเป็นรูประฆัง จะออกดอกใน ช่วงประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม

โดย ผลิใบ

ต้น ไม้ล�้ำค่าที่..

ุ์ ธ น ั พ ญ ู ส ง ี ย ่ เส ผลพะยูง ออกผลเป็นฝักแบนและ บอบบาง ตรงกลางมีกระเปาะ หุ้มเมล็ด ฝักจะแก่ประมาณ 2 เดือนหลังการออกดอก

ใบพะยูง เป็นใบประกอบ ช่อติด เรียงสลับกัน ยาวประมาณ 10-15 ซ.ม. ใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปรี แกมรูปไข่ ติดเรียงสลับประมาณ 7-9 ใบ ใบมีลักษณะเหนียวคล้ายกับแผ่นหนังบางๆ หลังใบเป็นมีนสีเขียวเข้มกว่าด้านท้องใบ โดยท้องใบเป็นสีเขียวนวล 16

ไม้พะยูง มีเปลือกต้นสีเทา เปลือกใน สี น�้ ำ ตาลแกมเหลื อ ง เนื้ อ ไม้ มี สีแดงอมม่วงถึงแดงเลือดหมูแก่ เนือ้ ละเอียด แข็งแรงทนทาน เป็นไม้ที่ราคาแพงมากที่สุด ในโลก มีความต้องการเป็น จ�ำนวนมากจากประเทศจีน และเวียตนาม โดยเริ่มจาก การน�ำเข้าไม้ชนิดนีไ้ ปซ่อมแซม พระราชวังต้องห้ามทีป่ ระเทศจีน เมื่อปี พ.ศ.2551 ต่อมามีความ นิยมน�ำไปแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์ ราคาแพง ปัจจุบันไม้พะยูงมีราคา พุง่ สูงอย่างมาก จึงเปลีย่ นไปท�ำวัตถุมงคล หรือของแต่งบ้านชิ้นเล็กๆ นอกจากนี้ พะยูงยังเป็นยาพื้นบ้าน โดยน�ำเปลือกต้น หรือแก่นผสมแก่นสนสามใบ แก่นแสมสาร และแก่นขี้เหล็ก ต้มน�้ำดื่ม แก้มะเร็ง เปลือกต้นหรือแก่นผสมล�ำต้นหวาย ต้มน�้ำดื่ม แก้เบาหวาน ส่วนต�ำรายาไทยน�ำรากมารับประทานแก้พิษไข้ เซือ่ งซึม ใช้เปลือกต้มเอาน�ำ้ อมแก้ปากเปือ่ ย ริมฝีปากแห้งแตก ยางสดใช้ทาแก้เท้าเปื่อย **ปัจจุบนั ประเทศไทยคือผืนป่าไม้พะยูง "ผืนสุดท้ายของโลก"

ผลิใบ ภาพประกอบจาก : www.phargarden.com


Green Mind โดย กองบรรณาธิการ

ต้นแบบจัดการขยะบนที่สูง บน

ถานีเกษตรหลวงอ่างขาง สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วอั น สวยงามราวกั บ ดิ น แดน สวรรค์แห่งนี้ เดิมทีเป็นภูเขา หัวโล้นทีเ่ ต็มไปด้วย “ฝิน่ ” ครั้งหนึ่งพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพล อดุลยเดชฯ ได้ทรงเสด็จ ทางเฮลิคอปเตอร์ผ่านยอด ดอยแห่งนี้ และทอดพระเนตร ลงมาเห็นหลังคาหมู่บ้าน จึง มีพระด�ำรัสให้เครื่องลงจอด พบว่าเป็นหมูบ่ า้ นของชาวเขา เผ่ามูเซอ ท�ำอาชีพปลูกฝิน่ และ ท�ำไร่เลื่อนลอย พระองค์จึงทรงมี พระราชด�ำรั ส ที่ จ ะแปลงทุ ่ ง ฝิ ่ น ให้ เ ป็ น แปลงเกษตร โดยทรงทราบว่ า ที่ ส ถานี ทดลองไม้ผลเมืองหนาวของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้ทดลองวิธีติดตา ต่อกิ่ง

‘ดอยอ่างขาง’

กั บ ท้ อ ฝรั่ ง จึ ง สละพระราชทรั พ ย์ ส ่ ว น พระองค์ เ พื่ อ ซื้ อ ที่ ดิ น และไร่ ใ นบริ เวณ ดอยอ่างขางส่วนหนึ่ง จากนั้นจึงโปรดเกล้าฯ ตั้งโครงการ หลวงขึ้นเป็นโครงการส่วนพระองค์ เมื่อ พ.ศ. 2512 ใช้เป็นสถานีวิจัยและทดลอง ปลูกพืชเมืองหนาวชนิดต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น ไม้ผล ผัก ไม้ดอกเมืองหนาว เพื่อเป็น ตัวอย่างแก่เกษตรกรชาวเขา ในการน�ำพืช เหล่านี้มาเพาะปลูกเป็นอาชีพ ซึ่งต่อมา ทรงพระราชทานนามว่า “สถานีเกษตรหลวง อ่างขาง” สถานีเกษตร หลวงอ่างขางเป็น สถานีวจิ ยั แห่งแรก ของโครงการหลวง ปัจจุบันเป็นขุนเขาที่เต็ม

ไปด้วยความอุดมสมบูรณ์ จากการวิจัย และพัฒนาพันธุ์ไม้ผล ผักเมืองหนาว และ ดอกไม้เมืองหนาว สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง มีพื้นที่ ส�ำหรั บ วิ จั ย ทดสอบพั น ธุ ์ พื ช เขตหนาว จ�ำนวน 1,800 ไร่ สูงจากระดับน�้ำทะเล ประมาณ 1,400 เมตร มีหมู่บ้านชาวเขา บ ริ เ ว ณ ร อ บ สถานีฯ เป็น

ผลิใบ

17


เขตส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ รวม 9 หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านขอบด้ง บ้านนอแล บ้านหลวง บ้านปางม้า บ้านป่าคา บ้านคุม้ บ้านผาแดง บ้านถำ�้ ง๊อบ และบ้านสินชัย รวมประชากร ประมาณ 3,215 คน เป็นชาวไทยภูเขาเผ่า จีนยูนาน ไทใหญ่ มูเซอด�ำ และปะหล่อง สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จึงเป็น อีกหนึง่ แหล่งท่องเทีย่ วทีส่ �ำคัญของจังหวัด เชียงใหม่ และเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เมื่ อ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วก็ ย ่ อ มมี ปัญหาเรือ่ งของสิง่ แวดล้อมและขยะมูลฝอย ตามมา เนื่องจากปริมาณขยะที่นับวันมี แต่จะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตามจ�ำนวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วปี ล ะประมาณ 200,000300,000 คน ทั้ ง ยั ง พบว่ า ปริ ม าณขยะ มูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่มีปริมาณมากถึง 2-8 ตันต่อวัน 18

ผลิใบ

จากเดิมพื้นที่บนดอยอ่างขางใช้วิธี ก�ำจั ด ขยะโดยเทกองตามหุ บ เขา ซึ่ ง เป็นการก�ำจัดที่ไม่ถูกวิธี จนกระทั่งเมื่อปี 2542 กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ ง แวดล้ อ ม ได้ ม อบหมายให้ กรมควบคุ ม มลพิ ษ ส�ำนั ก งานนโยบาย และแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล้ อ ม และสถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย ร่วม กันด�ำเนินการเพื่อ แก้ไขปัญหา โดย ท�ำการศึ ก ษา และออกแบบ รายละเอียด เพือ่ ก�ำหนด แนวทาง การแก้ ไ ข

ปัญหาขยะในพื้นที่อ่างขางที่เป็นรูป แบบที่ชัดเจนและมีความต่อเนื่อง รวม ทั้งสามารถน�ำรูปแบบที่ได้จากผลการ ศึกษาไปปรับใช้กับพื้นที่อื่นที่มีลักษณะ คล้ายคลึงกันต่อไป จากผลการศึกษาได้ก�ำหนดแนวทาง ในการจัดการขยะมูลฝอย ให้ครอบคลุม สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง และหมู่บ้าน โดยรอบ 5 หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านหลวง บ้านคุม้ บ้านปางม้า บ้านขอบด้ง และบ้านนอแล โดยจัดท�ำรูปแบบการก�ำจัดขยะมูลฝอย และสิ่งปฏิกูลบนพื้นที่สูง เน้นวิธีจัดการ แบบผสมผสาน ใช้แนวทางการลดปริมาณ ของเสียจากแหล่งก�ำเนิด และน�ำกลับมา ใช้ประโยชน์ให้มากทีส่ ดุ ภายใต้ “โครงการ จัดการขยะมูลฝอยของชุมชนขนาดเล็ก บนพืน้ ทีส่ งู (พืน้ ทีโ่ ครงการหลวงอ่างขาง)” โดยให้ ค วามส�ำคั ญ ในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สงู สุด


มีการคัดแยกน�ำไปใช้ประโยชน์ใหม่ แยก ขยะอินทรีย์มาหมักท�ำปุ๋ย ในส่วนขยะที่ เหลื อ ชิ้ น สุ ด ท้ า ยน�ำไปก�ำจั ด ร่ ว มกั บ เทศบาลต�ำบลฝาง โดยใช้วิธีการฝังกลบ และเนื่องจากพื้นที่อ่างขางเป็นที่สูง และเป็นแหล่งต้นน�้ำ จึงได้พัฒนามาเป็น โรงแยกขยะ และการน�ำขยะมาใช้ ใ ห้ เกิดประโยชน์สงู สุด โดยแบ่งขยะมีประโยชน์ ออกเป็น 2 ส่วน คือ ขยะแห้งที่สามารถ สร้างรายได้ โดยน�ำไปขายเพื่อไปรีไซเคิล ต่ อ ไป เช่ น กล่ อ ง กระดาษ แก้ ว พ ล า ส ติ ก และขยะ เ ป ี ย ก ที่ สามารถ

น�ำมาท�ำปุย๋ หมัก โดยแยกเป็นผัก ผล ไม้และเปลือกไข่ เป็นต้น พื้นที่สถานีเกษตรหลวง ยังมีการ จัดการขยะอินทรีย์ด้วยวิธีธรรมชาติ โดย น�ำไปเลี้ยงสัตว์ เช่น หมูหลุม แพะ และ เลี้ ย งไส้ เ ดื อ น เพื่ อ ผลิ ต ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ แ ละ ปุ ๋ ย น�้ ำ ซึ่ ง ผลผลิ ต ที่ ไ ด้ จ ากมู ล ไส้ เ ดื อ น

ยั ง สามารถ ท�ำรายได้ให้กับ ช า ว เข า ใ น พื้ น ที่ อีกด้วย และในปัจจุบัน มี โ รงเรื อ นเลี้ ย งไส้ เ ดื อ น 3 โรงเรื อ น ซึ่ ง สามารถย่ อ ยสลาย ขยะอินทรีย์ได้ถึงวันละ 3 ตัน ทั้งยังเป็น แหล่งศึกษาดูงานส�ำหรับจากพืน้ ทีอ่ นื่ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง มี ผู ้ ส นใจเข้ามา ศึกษาดูงาน และน�ำไปประยุกต์ใช้ใน พื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นจ�ำนวนมาก โครงการจัดการขยะมูลฝอยของ สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง ยังเป็นต้นแบบ ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย บนพื้นที่ สูงอื่นๆ เช่น พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง พระต�ำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ และยังเป็น แนวทางที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษได้ ด�ำเนิ น การจั ด การคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม บริ เ วณศู น ย์ ภู ฟ ้ า พั ฒ นา ต�ำบลภู ฟ ้ า

อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน และศูนย์ อ�ำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเป็น กิจกรรมเพือ่ ขับเคลือ่ นโครงการศึกษาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของศูนย์ ตาม พระราชด�ำริ ข องสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อคราว เสด็จฯเยี่ยมราษฎร เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ ให้ กั บ ประชาชนและองค์ ก รปกครอง ส่วนท้องถิ่นบนพื้นที่ห่างไกลต่อไป

ข้อมูลจาก www.environment.isit.or.th www.manager.co.th ภาพประกอบจาก www.angkhangstation.com www.travel.mthai.com www.23sureerat5654.files.wordpress.com www.images.thetrippacker.com www.guidemae.com www.tpkcdn.com www.thainews.prd.go.th www.thai.tourismthailand.org www.picpost.postjung.com/171514.html ผลิใบ

19


The Question Mark โดย กองบรรณาธิการ

แบตเตอรี่

ระเบิด ได้อย่างไร

แบตเตอรีล่ ิเธียม

ใช้ ง านกั น อย่ า งแพร่ ห ลายใน ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตั้งแต่แลปทอป โฮเวอร์บอร์ด ไปจนแบตเตอรี่ เครื่องบิน

น้องๆ คงจะได้เคยได้ยินข่าวที่ว่า ทางสายการบินสัง่ ห้ามน�ำ Smart Phone ยี่ ห ้ อ หนึ่ ง ขึ้ น เครื่ อ งบิ น เนื่ อ งจากเคยมี เหตุ ก ารณ์ ที่ แ บตเตอรี่ ลิ เ ธี ย มในมื อ ถื อ ระเบิดขึน้ บนเครือ่ งบินถึงสองครัง้ จนต้อง น�ำเครือ่ งลงจอดฉุกเฉิน ในทีส่ ดุ ผูผ้ ลิตต้อง ออกมาประกาศการหยุ ด ผลิ ต เครื่ อ ง Smart Phone รุ่นนั้นในทันที ทีนี้เรามา ดูกันค่ะว่าแบตเตอรี่ลิเธียมคืออะไร และ เกิดการระเบิดตูมตามขึ้นได้อย่างไร

แบตเตอรี่อาจใช้วัสดุต่างกัน แต่หลักการ ก็คล้ายกัน มีส่วนแคโธด (cathode) ที่มีไอออนบวก และ ส่วนแอโนด (anode) ทีม่ ไี อออนลบ โดยไออนเหล่ า นี้ จ ะเคลื่ อ นที่ เ ป็ น ทาง เดียวเมือ่ ถูกชาร์จ และจะเคลือ่ นทีก่ ลับ เมื่อถูกคายประจุหรือแบตเตอรี่ถูกใช้ งาน ทั้งสองส่วนจะต้องไม่สัมผัสกัน ดังนั้นโรงงานจะใส่แผ่นกั้นเพื่อแยก แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนเป็นแบตแบบชาร์จไฟได้ สองส่วนนีอ้ อกจากกัน ปฏิกริ ยิ าเคมี และบรรจุพลังงานได้มากเมือ่ เทียบกับน�ำ้ หนัก ท�ำให้ ที่ท�ำให้แบตเตอรี่ท�ำงานนั้นก็ท�ำให้ เกิดความร้อนด้วย ไม่เพียงเท่านั้นแบตเตอรี่เองยังมีสารประกอบที่ เหมาะส�ำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา ติดไฟง่าย และเซลล์ของแบตเตอรีก่ ถ็ กู ปรับความดันด้วย ซึง่ รอยร้าว ในแผ่นกัน้ ทีเ่ กิดจากการผลิตเป็นหนึง่ ในสาเหตุสำ� คัญทีท่ ำ� ให้เกิดการ อีกสาเหตุคอื การประจุไฟมากเกินไปหรือเร็วเกินไป ระเบิด ก็ทำ� ให้เกิดความร้อนส่วนเกิน และเกิดการลัดวงจร ที่ท�ำให้เกิดการระเบิดได้ 20

ผลิใบ

ขอบคุณข้อมูลจาก : www.manager.co.th


NT

INABLE M A T S U S O r VEM fo E

องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/



English for Fun โดย กองบรรณาธิการ

Weather Vocabulary ช่วงนี้สภาพอากาศของโลกมักจะแปรปรวนอยู่บ่อยๆ เรียกว่าใน 1 วันแทบจะมาครบทั้ง 3 ฤดูเลยก็ว่าได้ ทีนี้เราลองมา ศึกษาค�ำศัพท์เกี่ยวกับสภาพอากาศกันบ้างดีกว่าค่ะ ว่าสภาพดินฟ้าอากาศแบบไหนใช้ค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษว่าอะไร Cloudy (คลาว-ดิ) : เมฆเยอะ --------------------------------------------------------------------Foggy (ฟ็อก-กิ) : หมอกหนา หรือจะใช้ Hazy (เฮ-ซี่) ก็ได้ --------------------------------------------------------------------Hailing (เฮล) : ลูกเห็บ ถ้าเกิดขึ้นมากเข้าก็จะกลายเป็นพายุลูกเห็บซึ่งจะใช้ค�ำว่า Hailstorm --------------------------------------------------------------------Lightning (ไล้ท-นิง) : สายฟ้า คือฟ้าผ่าเบาๆ แต่ถ้าเกิดอย่างต่อเนื่องแถมมีฝนด้วยก็เรียกว่าพายุฝนหรือ Thunderstorm --------------------------------------------------------------------Raining (เรน-นิง) : ฝนตก ถ้าตกไม่หนักมาก ฝนตกปรอยๆ จะเรียกว่า Drizzle --------------------------------------------------------------------Snowing (สโนว-วิง) : หิมะตก ส�ำหรับพายุหิมะที่เกิดขึ้นตามภูเขา จะเรียกว่า Snowstorm --------------------------------------------------------------------Sunny (ซัน-นี่) : แดดจ้า จะใช้ค�ำว่า Clear เคลียร์ ก็ได้ ถ้าอากาศร้อนชื้น จะใช้ค�ำว่า Humid หรือ Muggy --------------------------------------------------------------------Windy (วิน-ดี้) : ลมแรง ถ้ารุนแรงมากให้ใช้ Stormy หรือพายุเข้านั่นเองค่ะ --------------------------------------------------------------------เห็นไหมคะว่าค�ำศัพท์พวกนี้ไม่ยากเลย แถมน้องๆ ยังได้มีโอกาสใช้บ่อยในชีวิตประจ�ำวันอีกด้วย ส�ำหรับการจดจ�ำ เป็นพื้นที่ที่มีฝนตกน้อย อาจเลือกจ�ำเป็นหมวดหมู่แบบนี้ก็ได้ พี่ว่าก็จ�ำง่ายดีนะคะ

อัตราการระเหยของน�้ำมาก

ที่มา : http://iz2vocabulary.blogspot.com

ผลิใบ

23


Evolution Fun Facts โดย ผลิใบ

ย ท ไ ง อ ข น า ท ะ ร ป ล วิวัฒนาการการช ปั ญหาที่เกิดขึ้นจากน�้ำเป็นหนึ่งปัญหาหลักที่ท�ำให้ หลายประเทศทั่วโลกได้รับผลกระทบ ไม่ว่าจะเป็น น�้ำท่วม น�้ำแล้ง หรือแม้แต่ภัยพิบัติรุนแรงที่เกิดขึ้นจากน�้ำ ดังนัน้ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งมีหน่วยงานคอยก�ำกับดูแล ปัญหาต่างๆ เหล่านี้ กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน�้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย แบ่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม รวมถึงการป้องกันความเสียหายอัน เกิดจากน�ำ้ กับการคมนาคมทางน�ำ้ ซึง่ อยูใ่ นเขตชลประทานด้วย

จริงๆ แล้วมนุษย์เรารู้จักการชลประทานมานานกว่า 5,000 ปีแล้ว โดยประเทศที่เคยเจริญรุ่งเรืองในอดีต เช่น ประเทศแอสซีเรีย บาบิโลเนีย อียิปต์ กรีก และจีน ฯลฯ ได้จัดตั้งโครงการชลประทานไว้หลายแห่ง โดยการสร้างเขื่อน แล้วขุดคลองส่งน�ำ้ น�ำน�ำ้ จากด้านหน้าเขือ่ นไปใช้ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูก จนท�ำให้การเพาะปลูกมีผลดีขนึ้ เชือ่ ว่าการชลประทานเป็นสิง่ หนึง่ ทีช่ ว่ ยให้ประเทศต่างๆ เหล่านัน้ มีการเพาะปลูกทีใ่ ห้ผลดี ท�ำให้ มีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง จนเป็นประเทศที่เจริญและมั่งคั่ง ที่ สุ ด ในสมั ย นั้ น และส� ำ หรั บ ประเทศไทยของเรานั้ น จะมี วิวัฒนาการของการชลประทานตั้งแต่เมื่อใด มาดูกันเลยค่ะ

สมัยกรุงสุโขทัย พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชได้ทรงสร้างเขื่อนดินแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ส�ำหรับเก็บกักน�ำ้ ในล�ำธารทีม่ มี ากในฤดูฝน โดยได้ระบายน�ำ้ ทีเ่ ขือ่ นเก็บกักไว้ออกไปให้พนื้ ทีเ่ พาะปลูกรอบๆ ในยามทีฝ่ นไม่ตกหรือในหน้าแล้ง เป็นการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน�ำ้ ใช้สำ� หรับการเพาะปลูกของพืน้ ทีส่ ว่ นหนึง่

สมัยกรุงศรีอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2176 สมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้ทรงสร้างเขือ่ นเก็บกักน�ำ้ ธารทองแดงเพือ่ เก็บกักน�ำ้ ไว้สำ� หรับ ใช้รดต้นไม้และส�ำหรับอุปโภค-บริโภคในบริเวณพระราชนิเวศน์ธารเกษมที่พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2204 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ทรงสร้างเขื่อนเก็บกักน�้ำที่ห้วยซับเหล็กอีกแห่ง หนึ่ง เพื่อเก็บกักน�้ำไว้ส�ำหรับการเพาะปลูกและการอุปโภค-บริโภคที่เมืองลพบุรี ในสมัยต่อๆ มาก็ได้มีการ ขุดคลองเชื่อมแม่น�้ำสายต่างๆ ในบริเวณทุ่งราบภาคกลางเพื่อประโยชน์ในด้านคมนาคมและเพื่อให้น�้ำจากแม่น�้ำ กระจายเข้าไปสู่พื้นที่เพาะปลูกให้ราษฎรได้วิดสาดขึ้นไปใช้ในการปลูกข้าวตามบริเวณสองฝั่งล�ำน�้ำเหล่านั้นด้วย

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการขุดคลองเชื่อมทางน�้ำและแม่น�้ำต่างๆ ในบริเวณทุ่งราบภาคกลางเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้มีทางน�้ำส�ำหรับน�้ำ เข้าไปยังพื้นที่เพาะปลูกได้มากยิ่งขึ้นเมื่อน�้ำในแม่น�้ำล�ำคลองมีระดับสูงจะไหลล้นตลิ่งเข้าไปท่วมพื้นที่เพาะปลูก ได้เอง หรือราษฎรอาจวิดสาดขึ้นไป ราษฎรในสมัยนั้นจึงได้รับประโยชน์จากคลองที่ขุดไว้เป็นอย่างมาก ซึ่งต่อมาได้มีการพัฒนาการชลประทานมาเป็นล�ำดับ 24

ผลิใบ


ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมกล้าเจ้าอยู่หัว ใน พ.ศ. 2445 ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญการชลประทานชาวฮอลันดา ชื่อ Mr.Moman vander Heide ได้มาศึกษาหาลูท่ างสร้างกิจกรรมการชลประทานขนาดใหญ่ในบริเวณทุง่ ราบ ภาคกลาง ซึ่งได้เสนอให้สร้างเขื่อนทดน�้ำขนาดใหญ่เพื่อทดน�้ำในแม่น�้ำเจ้าพระยา ที่จังหวัดชัยนาท แล้วขุดคลองส่งน�้ำน�ำน�้ำบาดาลหน้าเขื่อนไปยังพื้นที่เพาะปลูก บริเวณสองฝั่งแม่น�้ำจนถึงพื้นที่บริเวณชายทะเล แต่แผนงานก่อสร้างโครงการนี้ ต้องระงับเพราะใช้เงินลงทุนมากจึงได้ขุดคลองรังสิตและขุดลอกคลองต่างๆ บริเวณภาคกลาง ตอนล่างแทน ซึง่ คลองทีข่ ดุ ลอกได้แก่ คลองภาษีเจริญ คลองด�ำเนินสะดวก คลองแสนแสบ คลองพระโขนง และคลองส�ำโรง เป็นต้น พร้อมกับสร้างอาคารบังคับน�้ำที่ปากและท้ายคลองให้ท�ำหน้าที่ปิดกั้นน�้ำไว้ในคลอง ส�ำหรับไว้ใช้ท�ำนาและการคมนาคม พร้อมกันนี้ในรัชสมัยของพระองค์เมือ่ พ.ศ. 2445 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตัง้ กรมคลอง เพื่อให้รับผิดชอบการพัฒนางานด้านนี้ต่อไป ในรัชสมัยพระบามสมเด็จพระมุงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2475 ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อกรมคลองเป็นกรมทดน�้ำ พร้อมกับได้ จั ด สร้ า งกิ จ กรรมการชลประทานขนาดใหญ่ ขึ้ น เป็ น แห่ ง แรก เมื่ อ พ.ศ. 2485 โดยการสร้างเขือ่ นพระราม 6 ปิดกัน้ แม่นำ�้ ป่าสัก ทีต่ ำ� บลท่าหลวง อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พร้อมกันก่อสร้างงานระบบ ส่งน�ำ้ ครอบคลุมพืน้ ทีเ่ พาะปลูกประมาณ 680,000 ไร่ ซึง่ การก่อสร้างทัง้ หมดนี้ ได้เสร็จตามโครงการเมื่อ พ.ศ. 2467

ต่อมาในรัชสมัยพระบามสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรม ราชวินิจฉัยว่างานของกรมทดน�้ำที่ปฏิบัติอยู่นั้นส่วนใหญ่เกี่ยวกับ การจัดหาน�้ำไปใช้เพื่อการเพาะปลูกซึ่งตรงกับค�ำภาษาอังกฤษว่า “irrigation” จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ กรมทดน�ำ้ เป็น “กรมชลประทาน” เมือ่ พ.ศ. 2470 ท�ำหน้าที่ วางแผนและด�ำเนินการเกี่ยวกับการจัดหาน�้ำเพื่อน�ำไปใช้ใน การเพาะปลูกเป็นหลักจนถึงปัจจุบนั กรมชลประทานได้จดั สร้างกิจกรรม การชลประทานในภาคต่างๆ

ผลิใบ

25


What the World Offer โดย กองบรรณาธิการ

สวัสดีครับเพื่อนๆ ผมคือ ไส้เดือนดิน ถึงแม้หน้าตา ผมจะไม่หล่อ แต่ผมมีประโยชน์มากมาย โดยเฉพาะ เรือ่ งดิน...ไว้ใจผม ผมไม่เคยเป็นพาหะแพร่เชือ้ โรค สู่คนหรือสัตวเ์ลี้ยงอื่นนะ ตัวผมมีน�้ำ เป็นส่วนประกอบร้อยละ 80 ผมไม่มี จมูกเลยต้องหายใจทางผิวหนัง เป็น สัตว์อ่อนไหวง่ายโดยเฉพาะต่อแสง สามารถย่อยสลายอินทรีย์วัตถุได้ทุกชนิด และขับถ่ายออกมาเป็นปุ๋ย พวกเราก�ำจัดขยะอินทรีย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว เป็นวิธีที่ช่วยลดปัญหาขยะมูลฝอยในส่วนของขยะอินทรียด์ ้วยวิธี ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากก�ำจัดขยะอินทรีย์แล้ว ยังสามารถผลิตปุ๋ยหมักและน�้ำหมัก ส�ำหรับน�ำกลับมาใช้ใน ภาคการเกษตรได้ กระบวนการก�ำจัดขยะอินทรียข์ องพวกเรา จะได้ผลผลิตออกมา 3 ชนิด คือ ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน 12% ของขยะอินทรียท์ กี่ ำ� จัด น�ำ้ หมักมูลไส้เดือนดิน 40% ของขยะอินทรีย์ที่ก�ำจัด และพวกเราจะขยายจ�ำนวนเพิ่ม ขึ้นมากมาย (น่ารักน่าเอ็นดูที่สุด)

26

ผลิใบ

ด้วยคุณสมบัติ ต่างๆ นาๆ ที่ผมเล่าไป ม นุ ษ ย ์ ก็ เลยผลัก ดัน ให้ ผ มได้ เ ป็ น พระเอกของเรือ่ ง ในวันนี้ เขาส่งผม ไปท�ำอะไรบ้างอยากรู้ไหม ครับ ถ้ารู้แล้ว..ใครๆ ที่เคยกลัวผม เกลียดผม จะต้องหลงรักผมอย่างแน่นอน

ตอนนี้ ผ ม และผองเพือ่ นเข้า มาท�ำงานในโรงเรือน มนุษย์เริ่มสนใจใน ตัวพวกเราและศึกษา วิ ถี ชี วิ ต เ ร า อ ย ่ า ง ต่อเนี่อง ถึงขัน้ สร้างโรงเรือน สาธิตวิธีการเลี้ยงพวกเรา เพื่อให้คนที่อยากเรียนรู้ได้เข้ามาศึกษา ว่าเราท�ำประโยชน์อะไรได้บ้างนอกจากเรื่องดิน และแล้วเขาก็พบ ว่าพวกเราสามารถย่อยขยะอินทรีย์ได้อย่างคล่องแคล่ว จึงน�ำเรา เข้าสู่กระบวนการ Zero Waste อย่างเป็นทางการ (นี่มันงาน ระดับประเทศเลยนะ) ผมภูมิใจในตัวเองมาก


การใช้ไส้เดือนดินในการ ก�ำจัดขยะอินทรีย์และ ผลิ ต ปุ ๋ ย อิ น ทรี ย ์ เป็นการจัดการ ขยะอิ น ทรี ย ์ ที่ ลงทุ น น้ อ ย แต่ได้ผลลัพธ์ ที่สูงมาก

พวกเราท�ำงานกันอย่างเป็นระบบ และนี่ คื อ วั ฏ จั ก รของประโยชน์ จากพวกเราในการย่ อ ย ขยะอินทรีย์

จัดการโดยไส้เดือนดิน

ปัจจุบันเพื่อนๆ ของผมในประเทศแถบอเมริกา ยุโรป และออสเตรเลีย ก็ได้มีอาชีพเป็นผู้ก�ำจัดขยะ อินทรีย์เพื่อผลิตปุ๋ยหมัก และขยายวงกว้างไปถึงระดับ ครั ว เรื อ น เขาน� ำ เอาพวกเรามาเลี้ ย งในขยะเพื่ อ ให้ อินทรียวัตถุเสื่อมสภาพ เมื่อไส้เดือนดินอย่างพวกเรากิน ขยะอินทรีย์เข้าไป ก็จะขับถ่ายออกมาเป็นมูลก้อนเล็กๆ มูลของพวกเราสามารถน�ำไปใช้เป็นวัสดุปรับปรุงดินต่อไป ไส้เดือนดินจะกินจุลินทรีย์ซึ่งเจริญเติบโตบนของเสียเป็น อาหาร และขณะเดียวกันก็จะช่วยเร่งกิจกรรมของจุลินทรีย์ ดังนัน้ มูลไส้เดือนดินจึงร่วนไม่เกาะตัวกัน และมีจลุ นิ ทรียม์ ากกว่า ที่กินเข้าไป ขบวนการย่อยอาหารของไส้เดือนจึงเป็นพื้นฐานของ ขบวนการท�ำปุ๋ยหมักอย่างดี ข้อมูล : www.reo06.mnre.go.th www.web2012.hrdi.or.th www.energysavingmedia.com ผลิใบ

27


Young Artist

โดย ผลิใบ น งา ผล ง ่ ส ่ ที ภาพวาดน้องๆ vironment Artist En e tiv ea Cr g un Yo ง คร เข้าร่วมโ g Environment” ภายใต้ Concept “Our Livin มิตรกับสิ่งแวดล้อม น ป็ เ ่ ที น ่ ิ งถ อ ้ าท ญ ญ ั ป ิ ม ภู อ ข้ ระดับประถมศึกษา หัว

รางวัลชนะเลิศ ด.ญ. เปรมณิกา วาสนาพันธ์พงศ์ โรงเรียนมาร์มาร่า วิชัยวิทยา จังหวัดเชียงใหม่

รางวัลรองชนะเลิศ ด.ญ. สิริรัช รัตตมณี โรงเรียนตรังคริสเตียนศึกษา จังหวัดตรัง

28

ผลิใบ


รางวัลชมเชย ด.ช. ปริยวิศว์ สิงห์โกราช โรงเรียนวารีเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

รางวัลชมเชย ด.ญ. อรชพร จงสุข โรงเรียนมาร์มาร่า วิชัยวิทยา จังหวัดเชียงใหม่

รางวัลชมเชย ด.ช. ณัฐสิทธิ์ สิริศุภวิชญ์ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล จังหวัดกรุงเทพฯ ผลิใบ

29


Young Storyteller โดย ศศิวิไล จันลือชัย

ผลงานประกวดเขียนเรียงความในโครงการ “นักเขียนรุ่นเยาว์ปีที่ 9” ในหัวข้อ ฉลากสิ่งแวดล้อมกับเยาวชนไทย รางวัลรองชนะเลิศ ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวศศิวิไล จันลือชัย

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนชลกันยานุกูล

ฉลากสิ่งแวดล้อมกับเยาวชนไทย เมือ่ ต้องซือ้ สินค้าชิน้ หนึง่ จากสินค้า ชนิดเดียวกันมากมายและราคาเท่ากันหมด ผู้บริโภคอาจมีวิธีเลือกซื้อที่หลากหลาย ส่ ว นมากมั ก พิ จ ารณาจากปริ ม าณและ ราคา ส่วนผสม ตรวจดูว่าผ่านการรับรอง จากองค์การอาหารและยาหรือมาตรฐาน อุตสาหกรรมหรือไม่ ในขณะที่ผู้บริโภค บางส่วนอาจคิดว่าสินค้าใช้ได้เหมือนกัน หมด หยิบได้อะไรก็ซื้อสินค้าชิ้นนั้นมาใช้ แทนกันได้ แต่จะสักกี่คนกันที่เลือกซื้อ สินค้าจากสัญลักษณ์สีเขียวเล็กๆ ด้าน หน้าหรือด้านหลังผลิตภัณฑ์ มีสักกี่คน ที่ รู ้ ว ่ า สั ญ ลั ก ษณ์ นั้ น คื อ ฉลากเขี ย วที่ มี ความส�ำคัญต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม อย่างยิง่ พฤติกรรมการบริโภคเช่นนี้ ล้วน ถูกปลูกฝังมาจากรุ่นสู่รุ่น หากไม่มีใคร ใส่ใจสอนพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้อง ให้เยาวชนใส่ใจฉลากสิง่ แวดล้อมบนบรรจุ ภัณฑ์มากกว่านี้ ไม่เข้าใจสิ่งใดก็ปล่อยให้ ไม่เข้าใจอยู่อย่างนั้น แล้วเยาวชนไทย ยุคใหม่จะร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ให้ดีขึ้นได้อย่างไร 30

ผลิใบ

ฉลากสิ่งแวดล้อม (Eco Labeling) เป็นฉลากที่มอบให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการ ตรวจสอบจากองค์ ก รกลางแล้ ว ว่ า ส่ ง ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าสินค้า ชนิดเดียวกัน เป็นกลยุทธ์ทางนโยบายสิ่ง แวดล้ อ มอย่ า งหนึ่ ง ที่ น� ำ การตลาด มาใช้ท�ำให้ผู้ประกอบการหันมาใส่ใจใน กระบวนการผลิตควบคูไ่ ปกับการรับผิดชอบ ต่อสิง่ แวดล้อม จากการแข่งขันกันปรับปรุง การผลิตผลิตภัณฑ์ของตนให้ได้มาตรฐาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้การ

รั บ รองฉลากสิ่ ง แวดล้ อ มเพื่ อ บอกให้ ผูบ้ ริโภคทราบว่าผลิตภัณฑ์นมี้ กี ระบวนการ ผลิตที่ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ปั จ จุ บั น คนไทยเริ่ ม ตื่ น ตั ว เรื่ อ ง สิ่งแวดล้อมมากขึ้น เนื่องจากผลกระทบ ต่อภาวะโลกร้อนเริ่มรุนแรงและเด่นชัด ท�ำให้การรณรงค์เรื่องสิ่งแวดล้อมขยาย วงกว้างครอบคลุมสิง่ ต่างๆ ในชีวติ ประจ�ำวัน หนึ่งในนั้นคือการเลือกซื้อสินค้าที่มีฉลาก สิ่งแวดล้อม ซึ่งเริ่มใช้ในประเทศไทยมา นานแล้ว เพียงแต่ไม่คอ่ ยมีใครสังเกตหรือ


เข้าใจความหมายสักเท่าไหร่ นอกจาก และต่อสุขภาพของผู้บริโภค นอกจากนี้ ฉลากประหยัดไฟเบอร์หา้ ทีผ่ บู้ ริโภคมักใช้ ฉลากสิ่งแวดล้อมยังท�ำให้ผู้บริโภคทราบ ในการตัดสินใจเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้า ว่าผลิตภัณฑ์นั้นมีคุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม สามารถเลือกซือ้ มาใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ ซึ่งมีให้เลือกหลากหลาย เช่น ฉลากเขียว ฉลากประหยัดไฟเบอร์หา้ ฉลากคาร์บอน

ข้าพเจ้าลองเดินส�ำรวจดูที่ซุปเปอร์ มาเก็ตแห่งหนึ่ง ลองสุ่มหยิบผลิตภัณฑ์ ต่างประเภทและต่างการใช้งานกันขึ้นมา พบว่าสินค้าที่มีฉลากสิ่งแวดล้อมนั้นมีอยู่ มาก แต่ก็มีบ้างที่ไม่มีฉลากสิ่งแวดล้อม ข้าพเจ้าเพิ่งทราบเช่นกันว่ามีผลิตภัณฑ์ ที่มีฉลากสิ่งแวดล้อมมากมายถึงเพียงนี้ คงเพราะเป็นเรือ่ งทีป่ ฏิบตั กิ นั มานานและ คนไทยเริ่มตื่นตัวเรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น แต่ฉลากสิ่งแวดล้อมกลับเป็นสิ่งทีร่ กู้ นั ใน หมู่ผู้ประกอบการ ในขณะที่ผู้บริโภคใน ประเทศแทบไม่รู้เลยว่าฉลากสิ่งแวดล้อม มีความส�ำคัญในการเลือกซือ้ สินค้าอย่างไร หรือหากน�ำผลิตภัณฑ์นั้นมาใช้แล้วจะมี ผลดีกับตนเองอย่างไร การมี ฉ ลากสิ่ ง แวดล้ อ มท� ำ ให้ ผู้ประกอบการตระหนั ก ถึ ง ความส� ำคั ญ ของการรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมมากขึน้ เร่งปรับปรุงให้ผลิตภัณฑ์ของตนให้ส่งผล เสียต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ ลดการปล่อย มลพิษสู่สิ่งแวดล้อม เช่น ย่อยสลายง่าย บรรจุภัณฑ์สามารถน�ำกลับไปใช้ใหม่ได้ ไม่มสี ารพิษทีเ่ ป็นอันตรายทัง้ ต่อสิง่ แวดล้อม

ส�ำหรับข้าพเจ้าแล้วฉลากสิง่ แวดล้อม เป็นสิง่ ดี เปิดโอกาสให้ทกุ ภาคส่วนได้เข้า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ได้ง่ายและทั่วถึง หากผู้บริโภคเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ก็ เ หมื อ นเป็ น การต่ อ ต้ า นและกดดั น ผู ้ ป ระกอบการที่ ไ ม่ ใ ส่ ใ จสิ่ ง แวดล้ อ ม นอกจากนี้ยังท�ำให้ผบู้ ริโภคปลอดภัยจาก สิ น ค้ า อื่ น ที่ ผู ้ ป ระกอบการมุ ่ ง จะเอา ผลประโยชน์เพียงอย่างเดียว โดยไม่สนใจ สิ่งอื่นใด ให้ต้องปรับปรุงการผลิตของ ตนเองให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เนื่ อ งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ กี่ ย วกั บ สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันยังมีราคาแพงกว่า สินค้าประเภทเดียวกันอยูบ่ า้ ง ซึง่ มีผลต่อ การตัดสินใจของผูบ้ ริโภคทีม่ ฐี านะยากจน ที่ ยั ง ขาดความรู ้ แ ละไม่ มี โ อกาสเข้ า ถึ ง สิ น ค้ า ที่ มี คุ ณ ภาพดี ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ่ ง แวดล้อม อีกทั้งร้านขายของช�ำทั่วไปยัง ไม่ค่อยใส่ใจเลือกสินค้าเข้าร้านอีกด้วย เยาวชนและผู้ปกครองจึงไม่มีทางเลือก

มากนัก เนือ่ งจากครอบครัวส่วนใหญ่ตอ้ ง ซื้ อ ของจากร้ า นขายของช� ำ แถวบ้ า น ทว่าเยาวชนก็ยงั มีโอกาสดีกว่าผูใ้ หญ่ในวัย ท�ำงาน เนื่องจากยังต้องเรียนหนังสือใน โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ท�ำให้สามารถ รับรูข้ อ้ มูลข่าวสารได้งา่ ยกว่า และสามารถ น� ำ ไปเผยแพร่ ใ ห้ ผู ้ ใ หญ่ รั บ รู ้ รับทราบได้ง่าย โดยอาจเริ่มต้น ด้ ว ยการบอกเล่ า หรื อ ขอให้ ผู ้ ป กครองซื้ อ สิ น ค้ า ฉลาก สิ่ ง แวดล้ อ มเข้ า มาใช้ ใ นบ้ า น ซึ่ ง สิ น ค้ า เหล่ า นั้ น กระจายอยู ่ ทั่วไป (แน่นอนว่าในร้านขาย ข อ ง ช� ำ ก็ มี สิ น ค ้ า ฉ ล า ก สิ่ ง แวดล้อมบ้าง) การเผยแพร่ข่าวสารจาก แผ่นพับทีไ่ ด้รบั แจก หรือให้เหตุผลประกอบ ว่าเหตุใดจึงต้องดูฉลากสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้ ผูใ้ หญ่ได้รบั ทราบข้อมูลเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม มากขึน้ และไม่มองว่าสิง่ แวดล้อมเป็นเรือ่ ง ไกลตัวอีกต่อไป ที่ผ่านมายังไม่มีใครให้ความรู้เกี่ยว กับฉลากสิง่ แวดล้อมแก่ผบู้ ริโภคเท่าทีค่ วร ท�ำให้ผู้บริโภคไม่รับรู้และไม่ตระหนักถึง ความส�ำคัญของฉลากสิ่งแวดล้อม ทว่า ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันได้ทวีความ รุ น แรงอย่ า งเด่ น ชั ด ขึ้ น การเลื อ กซื้ อ ผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากสิ่งแวดล้อมจึงเป็นอีก ตัวเลือกหนึ่งที่คนไทยควรมีส่วนร่วมใน การรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นหนึง่ ในวิธกี ารง่ายๆ ทีแ่ ม้แต่เยาวชนอย่างเราๆ ก็สามารถท�ำได้ เพื่อให้โลกของเราน่าอยู่ ขึ้น และเป็นการปลูกฝังพฤติกรรมการ บริโภคอย่างใส่ใจและฉลาดเลือกให้กับ เยาวชนรุ่นหลังเราเพื่อให้เราสิ่งแวดล้อม ที่ดีอย่างยั่งยืน ผลิใบ

31


On the Move โดย ผลิใบ

ญี่ปุ่น...เมืองต้นแบบไร้มลพิษ สั ญ ลั ก ษณ์ ข องความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรมญี่ปนุ่ ในอดีตทีเ่ มืองคิตะคิวชู เป็นมลพิษ รุนแรงที่เต็มไปด้วยสารพิษที่กัดกร่อนสุขภาวะของ ชาวเมื อ งคิ ต ะคิ ว ชู และท� ำ ลายสิ่ ง มี ชี วิ ต ในทะเล อ่าว Dokai ให้กลายเป็น “Sea of the Death” คนกลุ่มแรกที่รับรู้ถึงภัยใกล้ตัว คือ “กลุ่มแม่บ้านคิตะคิวชู” ซึ่งทนไม่ได้ที่จะเห็นชีวิตลูกหลานตกอยู่ในอันตรายจากมลพิษทางอากาศ น�้ำเสีย และบ้านช่องปกคลุมด้วยฝุ่นสกปรกเกาะหนาที่มาจากปล่องโรงงาน ยิ่งไปกว่านั้นมลพิษอุตสาหกรรมในช่วงปี 2503-2513 ก่อให้เกิดโรคร้าย ต่างๆ เช่นเดียวกับทีเ่ มืองอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ของญีป่ นุ่ เช่น โรค Itai-Itai ทีจ่ งั หวัด โตยามะ โรค Minamata ทีเ่ กิดจากสารปรอททีจ่ งั หวัด Kumamoto โรค Kawasaki Asthma หรือโรคภูมิแพ้รุนแรง และ โรค Yokkaichi Asthma ซึ่งเกิดในเมือง Yokkaichi กลุ่มแม่บ้านคิตะคิวชูจึงรวมตัวเดินขบวนร่วมกับสื่อมวลชน และนักวิชาการที่ให้ความรู้จนจุดประกายให้ชาวเมืองตื่นตัวรับรู้ปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อมที่เผชิญอยู่ และกดดันให้เทศบาลเมืองคิตะคิวชูท�ำหน้าที่ตรวจสอบโรงงานให้ยอมรับและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากเมืองที่เคยถูกปกคลุมด้วยควันพิษจากโรงงานจนได้ชื่อว่า Grey City วันนี้เมืองคิตะคิวชูกลายเป็น Green Frontier City แห่งเอเชีย ซึ่งสามารถบริหารจัดการ ปั ญ หามลพิ ษ อุ ต สาหกรรมได้ ส� ำ เร็ จ จนกระทั่ ง กลายเป็ น เมื อ งต้ น แบบ Eco-Town แห่งแรกของประเทศญี่ปุ่น ตั้งแต่ปี 2540 และยังคงพัฒนาต่อเนื่อง สู่สังคม Low Carbon Society และ Sustainable Development Society เมื อ งนี้ เ ป็ น โมเดลการแก้ ป ั ญ หา สิ่งแวดล้อมแบบ “Multi-Stakeholder” ครั้งแรก โดยเริ่มต้นท�ำข้อตกลงระหว่าง เมื อ งคิ ต ะคิ ว ชู กั บ ภาคโรงงานเอกชน เน้นเรือ่ งหลักคือ มลพิษทางอากาศ โดยถ้า ค่ามลพิษสูงขึน้ โรงงานจะต้องลดเวลาท�ำการลง 32

ผลิใบ


หรือหยุดกระบวนการผลิตบางส่วนที่ก่อให้เกิดมลพิษ หรือถ้าเกิดเหตุฉุกเฉินจะต้องมีมาตรการแก้ไขและรายงานเหตุทันทีโดยไม่ต้อง รอชาวบ้าน จะต้องมีรายงานการใช้เชื้อเพลิงเพื่อควบคุมสาร Sulfer Dioxide ที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ ถ้าสูงมากก็ต้องให้โรงงานเปลี่ยน เชื้อเพลิงและพัฒนากระบวนการผลิต รวมทั้งเรื่องประหยัดพลังงาน ส่วนการแก้ไขมลพิษน�ำ้ เสีย มีการน�ำเรือไปขุดลอกตะกอนจากอ่าว Dokai ขึน้ มาอย่างต่อเนือ่ ง โดยค่าใช้จา่ ยในการจัดการมลพิษ ส่วนนี้ทางโรงงานอุตสาหกรรมเป็นผู้จ่าย 70% ส่วนตะกอนที่ลอกได้ก็น�ำไปฝังกลบให้กลายเป็นพื้นที่ใหม่ของเมือง มีการวางระบบ ท่อรับน�้ำเสียและบ�ำบัดน�้ำเสียทั้งของชุมชนและอุตสาหกรรมไปพร้อมกัน โครงสร้างภาษีที่เก็บจากภาคธุรกิจเอกชนญี่ปุ่น 40% เงินภาษีนี้จะเข้าคลังส่วนกลาง 30% ส่วนที่เหลืออีก 10% จะให้ท้องถิ่น บริหารงบประมาณตัวเอง และมีอ�ำนาจตัดสินใจให้สิทธิประโยชน์ด้านภาษี เพื่อจูงใจให้อุตสาหกรรมสะอาดเข้าไปลงทุนในพื้นที่ของ ตนเอง วิธีการแก้ปัญหามลพิษของเทศบาลเมืองคิตะคิวชู คือไม่ปิดโรงงานต้นเหตุ แต่ใช้ธีประคองให้โรงงานยังด�ำเนินการต่อไปได้ และน�ำรายได้มาจัดการแก้ปัญหามลพิษที่ตัวเองก่อไว้ให้ลุล่วง ด้วยองค์ความรู้จัดการปัญหาที่เกิดจากการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด เข้ามาใช้และพัฒนาพลังงานที่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ นี่คือที่มาของ Eco-Town ของเมืองคิตะคิวชู ที่สามารถแก้ปัญหาจัดการขยะนี้ได้อย่างเป็นรูปธรรมและกลายเป็น “เมืองต้นแบบ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” แห่งแรกจากในจ�ำนวน 26 เมืองที่ได้รับมติจากรัฐบาลกลางของประเทศญี่ปุ่น ที่มีแผนปฏิบัติการน�ำของเสีย จากอุตสาหกรรมมาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตอุตสาหกรรมอื่นๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราการปล่อยของเสียจากโรงงานเป็น Zero Emission หลักเกณฑ์ของเมือง Eco-Town คือ 1. มีนวัตกรรมของโรงงานรีไซเคิลที่วางแผนอย่างดี ได้รับความร่วมมือจากชุมชน ชาวบ้าน NGO นักวิชาการ และโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ 2. กิจการรีไซเคิลมีผลก�ำไรและอยู่ได้ด้วยตัวเอง 3. การด�ำเนินการต้องเป็นไป ตามกฎหมายเฉพาะของเมืองนั้นๆ 4. ต้องสร้างสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คือต้องน�ำหลัก 3R คือ Reduce Reuse Recycle (ลดการใช้น้อยลง การใช้ซ�้ำ การแปรรูปกลับมาใช้ใหม่) มาใช้

ที่มา : www.sbmc.or.jp www.info.gotomanager.com

ผลิใบ

33


1. ระดับประถมศึกษา 1.1 วาดภาพระบายสี หัวข้อ สังคมสีเขียวในแบบที่ฉันอยากให้ เป็นเพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาระดับประถมศึกษา ปีที่ 4-6 2. ระดับมัธยมศึกษา 2.1 วาดภาพระบายสี หัวข้อ ผลิตภัณฑ์สีเขียวของคนรุ่นใหม่ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน 2.2 วาดภาพระบายสี หัวข้อ สถาปัตยกรรมสีเขียว ในจินตนาการของฉัน คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักเรียนที่ก�ำลังศึกษาระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 3. ระดับอุดมศึกษา 3.1 หนังสั้น ความยาวไม่เกิน 20 นาที หัวข้อ ไลฟ์สไตล์สีเขียว เทรนใหม่ของคนวัยมันส์ คุณสมบัติผู้ส่งผลงาน ผู้ส่งผลงานต้องเป็นนักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาระดับอุดมศึกษา ปีที่ 1-4 กติกาการส่งผลงานภาพวาด 1. ผู้ส่งผลงานต้องเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานด้วยตัวเอง 2. เขียนชื่อภาพ ค�ำอธิบายภาพ (Concept Idea) พร้อมชื่อ-สกุล ที่อยู่ เ บอร์โทรศัพท์ ชื่อโรงเรียน และระดับชั้นที่ก�ำลังศึกษาไว้ด้าน หลังภาพที่ส่งเข้าประกวด (ถ้าข้อมูลไม่ครบตัดสิทธิ์การส่งผลงานเข้า ประกวด) 3. ขนาดของผลงาน 16 x 24 นิ้ว (A2) 4. ไม่จ�ำกัดเทคนิคในการวาด และใช้สีได้อย่างอิสระ 5. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เคยได้รับรางวัลและ/หรือไม่เคย ตีพิมพ์เ ผยแพร่ในสื่อใดๆ 6. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 7. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 8. 1 คน ส่งได้ 1 ผลงาน

กติกาการส่งผลงานหนังสั้น 1. ผู้ส่งผลงานต้องเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานด้วยตัวเอง 2. เขียนชื่อเรื่อง Concept Idea พร้อมชื่อ-สกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ชื่อโรงเรียน และระดับชั้นที่ก�ำลังศึกษา แนบกับซีดีที่ส่งเข้าประกวด (ถ้าข้อมูลไม่ครบตัดสิทธิ์ การส่งผลงานเข้าประกวด) 3. ความยาวหนัง 15 นาที 4. ไม่จ�ำกัดอุปกรณ์การถ่ายท�ำ 5. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดต้องไม่เคยได้รับรางวัล และ/หรือ ไม่เคยเผยแพร่ในสื่อใดๆ มาก่อน 6. ผลงานที่ส่งเข้าประกวดจะตกเป็นกรรมสิทธิ์ของ สถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย 7. การตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 8. 1 คน ส่งได้ 1 ผลงาน รางวัล ระดับมัธยมศึกษา และประถมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ระดับอุดมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 15,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 10,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ เปิดรับผลงาน ตั้งแต่วันนี้ ถึง 30 มกราคม 2560 (โดยถือวันที่ประทับ ตราไปรษณีย์เป็นส�ำคัญ)

ส่งผลงานได้ที่ : วารสารผลิใบ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 จ่าหัวเรื่อง “YOUNG CREATIVE ENVIRONMENT ARTIST” สอบถาม 0 2503 3333 ต่อ 534


Think Tank โดย ผลิใบ

รหัสโมเดลของไทยที่ผ่านมา Thailand 1.0 เปลี่ยนแปลงสู่ โมเดล เน้นที่ภาคการเกษตร ขายวัตถุดิบ

เป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจไปสู่ Value Based Economy หรือ “เศรษฐกิจที่ขับ เคลื่อนด้วยนวัตกรรม”

Thailand 4.0

เพิ่มขีดความสามารถ 4 กลุ่มเป้าหมาย

Thailand 2.0

เน้นที่อุตสาหกรรมเบา ใช้ต้นทุนแรงงาน และวัตถุดิบน้อย

Thailand 3.0

เกษตรกรแบบดั้งเดิม

SMEs เดิม

บริการมูลค่าต�่ำ

แรงงานทักษะต�่ำ

เกษตรกรสมัยใหม่

Smart SMEs/Startups

บริการมูลค่าสูง

แรงงานมีความรู้

สู่

เปลี่ยนความได้เปรี ยบเชิงเปรี ยบเทียบ

ความได้เปรี ยบในเชิงแข่งขัน ด้วย นวัตกรรม+ความคิดสร้างสรรค์

เน้นที่อุตสาหกรรมหนัก หรือมีความซับซ้อน มากขึ้น ผลที่ ได้ ประเทศมีรายได้ปานกลาง ความเหลื่อมล�้ำ ความไม่สมดุล อัตราการการเติบโตของ เศรษฐกิจลดลง

1

กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ

4

กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยี และอินเตอร์เน็ต

2

กลุ่มสาธารณสุขและ เทคโนโลยีการแพทย์

5

3

กลุ่มหุ่นยนต์อัจฉริยะ และระบบเครื่องกล

กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการมูลค่าสูง

6

รวมพลัง ประชารัฐ ผลิใบ

35


กล้วยให้สุกทันใจวัยรุ่น

บ่ม

ง่ายกว่าปอกกล้วยเข้าปาก

ถ้ า น้ อ งๆ มี ก ล้ ว ยสี เขี ย วๆ อยู ่ ท่ี บ ้ า น แล้ ว อยากจะ รับประทานขึ้นมา แต่ท�ำยังไงมันก็ไม่สุกเสียที ครั้นจะทานทั้งที่ ยังดิบคงจะฝาดน่าดู วันนี้พี่ผลิใบมีเกร็ดวิทยาศาสตร์เล็กๆ น้อยๆ ที่จะท�ำให้กล้วยสุกเร็วขึ้นอย่างน่าอัศจรรย์มาฝากค่ะ

มะเขือเทศ

กล้วยด

ิบ

วิ ธี ท�ำให้ ก ล้ ว ยสุ ก อย่ า งรวดเร็ ว มี อุ ป กรณ์ เ ล็ ก น้ อ ยค่ ะ คื อ กล้ ว ยดิ บ มะเขือเทศลูกใหญ่หรือแอปเปิ้ล 1 ผล ถุงกระดาษสีน�้ำตาลทึบแสง ทีนี้ก็เลือก กล้วยผลทีเ่ ราต้องการใส่ลงไปในถุงกระดาษ พร้อมมะเขือเทศ หรือแอปเปิ้ล (แค่ลูก เดียวก็เอาอยู่ ถ้าอยากให้สกุ เร็ว ขึ้นก็ใส่หลายลูก) จากนั้นก็ พั บ ปากถุ ง ให้ ก ล้ ว ยและ มะเขือเทศหรือแอปเปิ้ล ใช้ ชีวิตอยู่ด้วยกันสักพัก แค่นี้ กล้วยก็สกุ อย่างน่าอัศจรรย์ เลยละค่ะ

36

ผลิใบ

ถุงกระดาษ

หรือ แอปเปิ้ล

ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ เ พราะ ในพื ช จะมี ฮ อร์ โ มนที่ ชื่ อ เอทิ ลี น (Ethylene) อยู่ ซึ่งเป็นก๊าซที่ควบคุมการเติบโตของพืช และ เป็นตัวการทีท่ �ำให้ผลไม้เกิดกระบวนการสุก มะเขือเทศสุกทีอ่ ยู่ ในถุง จะปล่อยก๊าซเอทิลนี ออกมา ก๊าซลอยไปมาอยูใ่ นถุง กล้วย จึงได้รบั ก๊าซนัน้ เข้าไปเต็มๆ เมือ่ เปิดถุงอีกรอบ ความมหัศจรรย์ ก็เกิดขึ้น กล้วยกลายเป็นสีเหลืองแล้ว ปอกกล้วยกินกันได้เลยค่ะ

สุกแล้วจ้า


เรื่องน่ารู้ของเอทิลีน (Ethylene) น็ พบว่า Ethylene เป ี ย เซ ั ส ร าว าช ษ ึ ก ศ กั ในปคี .ศ. 1901 น ถ่านหินที่ใช้เป็น ง อ ข ้ ม ไห า เผ ร า ก ดจาก 19 หนึ่งในแก๊สที่เกิ งต้นศตวรรษที่ ว ่ ช ใน น น ถ ง อ ้ ท ม า ylene เป็นแก๊ส แหล่งแสงสว่างต th E า ่ ว น ็ ห เ ้ ห ใ ์ น จ ู ารพิส สา ม า ร ถ เร ่ ง ะ ล หลังจากนั้นได้มีก แ ย อ ้ น ณ า ม ิ ร ึ้ น ไ ด ้ ใ น ป ที่ พื ช สั ง เค ร า ะ ห ์ ข จึงจัดเอทิลีนเป็น ้ ได ด ิ น ช าง บ ้ ไม องผล เก็บเกี่ยว และ ง ั กระบวนการสุกข ล าห ย ท ิ ว ร ี ร ส น ัญทางด้า ะ ฮอร์โมนพืชที่ส�ำค ั นาการทางสรรี ฒ พ ุ ม ค วบ ค ถ าร าม ลิ นี ส พบตอ่ ไปอกี ว่าเอท ากการควบคุมการ จ อ ื น เห ก อ น ๆ ง ก ของพืชในด้านต่า ระตุ้นการออกดอ ก าร ก น ่ เช ย ว ้ สุกของผลด

ck น็ Positive Feed Ba ป ะเ จ มา อก ยอ ่ อ ล ป ู ก ่ ี ถ Ethylene ท ไมส้ ร้าง Ethylene ผล ุ ้ น ต ระ ก ป ะไ ็ จ ก ก ิ่ม ยงิ่ มี Ethylene มา ้อมกัน ขณะที่ผลไม้เร ร พ ก ุ ส ้ ไม ล ผ ้ ให ำ � ท ป ะไ มากขึ้นซึ่งจ าจ�ำนวนมาก ขณะ ม ก อ อ ne le hy Et จะสุกจะสร้าง อกมาด้วย เมื่อปริมาณ อ O C ง า ้ ร ส ็ ก ้ 2 ไม เดียวกันผล ethylene ท�ำให้มี ง า ้ ร ส าร ก ง ้ ั ย บ ั ย ป ะไ จ าณ CO 2 มีระดับสูง เตม็ ที่ เมอื่ CO2 มปี รมิ ุ ก ่ ส ไม ั ง ้ ย ไม ล ้ ผ ให � ำ ยท ออกมานอ้ ทันทีท�ำให้ผลไม้สุก น ้ ขึ ง ู ส าณ ม ิ ร ป ี ะม จ ลดลง Ethylene O 2 มีระดับต�่ำ C ้ ี ะน ขณ ง ่ ึ ซ า ่ เน ม ่ ิ ร เต็มที่จนสุกงอมและเ ระดับสูง และมีก๊าซ Ethylene

งต้นไม้ และผลของมัน การสร้าง Ethylene ขอ ง Auxin และผลของ า ร้ รส กา บ ั ก ธ์ น พั ม ั ส น ้ ขึ ด ิ จะเก บิ โตมันจะถูกกระตนุ้ ด้วย Auxin ขณะทผ่ี ลไม้เจรญิ เต tokinins ระดับของ Cy ะ แล s lin el er bb Gi n, Auxi มีระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ Auxin ที่พืชสร้างขึ้นมาจะ ก ระ ตุ ้ น ให ้ พื ช ส ร้ า ง ไป จะ น มั ง ่ ึ น ห บ ดั ระ ง ถึ สู ง จะไปกระตนุ้ กิจกรรม Ethylene ออกมา Ethylene ใหเ้ กิดกระบวนการสกุ ่ ื อ เพ ิ ด ชน าย หล es m zy En ของ ของผลไม้

• แป้งและกรดในผลไม ้ที่ยังดิบอยู่ถูกเปลี่ยนให ้เป็น น�้ำตาล • เอนไซม์ Pectinase จะไปท�ำลาย Pectins ท ี่ผนัง เซลล์ท�ำให้เนื้อผลไม้นิ่ม Ethylene จะท�ำให้เกิดก าร เปลยี่ น Permeability ขอ งเยือ่ หมุ้ เซลล์ ทำ� ใหเ้ อน ไซม์ ท่ีท�ำลาย Chlorphyll ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไป ใน Chloroplasts และไปส ลาย Chlorophyll ฉ ะนั้น สีแดง สีเหลืองของผลไม ้ก็จะปรากฏออกมา เนื้อ ผล ไม้จะนิ่มขึ้น และมีรสหวา น

ที่มา : www.student.chula.ac.th www.thaikasetsart.com www.komchadluek.net

ผลิใบ

37


Do It Yourself โดย กองบรรณาธิการ

ไอเดียช่วยชีวิตหอยทากในเมือง สัตว์น่าทึ่งตัวเล็กจิ๋วอย่างหอยทากที่เรามักจะพบเห็นได้ทั่วไปแม้แต่ในเขต

รัว้ บ้าน มันมีดวงตาทีย่ นื่ ออกมานอกกระดองทีต่ ดิ อยูบ่ นหลัง ดูๆ ไปแล้วเป็นสัตว์ ที่น่ารักเอามากๆ แต่พวกมันโชคร้ายที่มักถูกเหยียบอยู่บ่อยครั้งเพราะไม่มีใคร สังเกตเห็น เนื่องจากการอ�ำพรางตัวเพื่อป้องกันนักล่าจากธรรมชาติ แต่หลักการ เอาตัวรอดนี้ใช้ไม่ได้ในเขตเมืองหรืออาณาบริเวณที่มีมนุษย์อาศัยอยู่ ดังนั้นการท�ำให้ หอยทากมองเห็นชัดเจนขึ้นน่าจะมีส่วนช่วยได้บ้าง จึงมีกลุ่มคนที่ตัดสินใจช่วยกันระวังภัยให้กับเจ้าหอยทากโดยการ ตกแต่งกระดองของพวกมันให้มีสีสันสดใส นอกจากจะท�ำให้มองเห็นหอยทากได้ง่ายขึ้นและลดความเสี่ยงที่จะโดน คนเหยียบแล้ว ยังช่วยเพิม่ ความสนุกให้กบั สิง่ แวดล้อมรอบข้าง อีกทัง้ ท�ำให้สตั ว์นกั ล่าต่างๆ คิดว่าหอยทากเหล่านีม้ พี ษิ และหลีกเลี่ยงที่จะกินมันด้วย ไอเดียเล็กๆ นี้สามารถช่วยชีวิตเจ้าหอยทากตัวน้อยเอาไว้ได้จริงๆ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้อง ระมัดระวังไม่น�ำเอาวิธีการนี้ไปใช้กับสัตว์อื่นที่ไม่มีกระดองหุ้ม หรือไม่ได้มีภาวะเสี่ยงเช่นเดียวกับหอยทากนะคะ

38

ผลิใบ


Give and Share บริษัท ซียูอีแอล จ�ำกัด ฉ.122 บริษัท ซียูอีแอล จ�ำกัด ฉ.122 สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนเทศบาลแหลมฉบัง 2 (มูลนิธิไต้ล้ง-เซ็ง) โรงเรียนบ้านแหลมแท่น โรงเรียนจุฑาทิศเทววงษ์ โรงเรียนบ้านตะเคียนเตี้ย

จังหวัด จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี

โรงเรียนบูรพาพัฒนศาสตร์ โรงเรียนบ้านบึง

จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี

โรงเรียนอนุบาลบุญพึ่ง โรงเรียนอนุบาลกาญจนา โรงเรียนอนุบาลมารีวิทย์ โรงเรียนวุฒิโชติ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) โรงเรียนเมืองพัทยา 2 (เจริญราษฎร์อุทิศ) โรงเรียนเมืองพัทยา 10 (บ้านเกาะล้าน) โรงเรียนเมืองพัทยา 7 (บ้านหนองพังแค) โรงเรียนวัดบุญสัมพันธ์ โรงเรียนเมืองพัทยา 3 (วัดสว่างฟ้าพฤฒาราม) โรงเรียนบ้านทุ่งกลม โรงเรียนสมคิดจิตต์วิทยา โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ชลบุรี โรงเรียนบ้านบึง"อุตสาหกรรมนุเคราะห์" โรงเรียนวัฒดรุณวิทย์ โรงเรียนวัดหนองชันจันทนาราม โรงเรียนวัดหนองน้ำ�เขียว โรงเรียนวัดหนองยาง โรงเรียนบ้านบึง"มนูญวิทยาคาร"

จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี

โรงเรียน โรงเรียนบ้านมาบลำ�บิด โรงเรียนบ้านป่าแดง(ไชยอุปถัมภ์) โรงเรียนบ้านมาบไผ่ โรงเรียนบ้านหนองชาก (ประโยชน์บุพการี อุทิศ) โรงเรียนบ้านมาบกรูด โรงเรียนบ้านหนองปลาไหล (ปรีชา ราษฎร์รังสรรค์) โรงเรียนบ้านห้วยมะไฟ โรงเรียนบ้านห้วยยาง (สุภาพสามัคคีราษฎร์) โรงเรียนบ้านหนองปรือ โรงเรียนอนุบาลบ้านบึง(อำ�นาจคุณูปถัมภ์) โรงเรียนวัฒนดรุณวิทย์ โรงเรียนบ้านเขาตะแบก โรงเรียนอนุบาลประเสริฐสุข โรงเรียนดวงมณี โรงเรียนเฉลิมชัยศึกษา โรงเรียนวัดนาพร้าว โรงเรียนวัดบ้านนา (ฟินวิทยาคม) โรงเรียนวัดอัมพวัน โรงเรียนสัตหีบ โรงเรียนบ้านอำ�เภอ โรงเรียนวัดนาจอมเทียน โรงเรียนจุกเสม็ด โรงเรียนชุมชนบ้านช่องแสมสาร โรงเรียนบ้านสัตหีบ โรงเรียนบ้านบางพระ

จังหวัด จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ชลบุรี จ.ตรัง ผลิใบ

39


Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....

GREEN INNOVATION มูลค่า 250 บาท และกระติกน�้ำพร้อมแก้ว จาก บางจาก

วารสารย้อนหลัง cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559

ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558

ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559

MA

C

T

M

Y

CM

C

C

M

MY

K

Y

CM

MY

MY

CY

CY CMY

CMY

E IS

K

K

SU E

Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก

Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit

cover_117_2.pdf 1 30-Jun-15 10:40:07 AM

นํ้าหายไปไหน

Reject

ตบิ ใ หญผ ล ปท ใิ บ

C

M

Reuse

M

Y

Y

CM

MY

Repair

MY

CY

CY

CMY

CMY

K

K

Reduce

Think Tank

www.facebook.com/plibai2012.tei

สรางนักวิทย สูนักวิจัย

www.facebook.com/plibai2012.tei

IT Generation

อ แว ด ล หัวใจรักษสิ่ง

๘ ๒๕๕ ี่ ๒๑ าคม ฉบับที่ ๑๑๖ เดือนมกราคม-มีน

C

CM

Animal Wonders

The Question Mark

ขวดกลับหัว

ÃÇ‹ ÁÊà §Ê Green ÒŒ Soc §Ñ ¤Á iet

Green Society

“ลีเมอร” สัตวโลก (สีเขียว)

Do It Yourself

มหัศจรรยพลังนํ้า

cover_116 copy.pdf 11-Nov-14 10:36:55 AM

ÂÕ Ç ue ÊàÕ ¢ Iss y

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

ปที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๑๘ เดือนกรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘

Green Energy

www.facebook.com/plibai2012.tei

English for Fun Eco not Ego

www.facebook.com/plibai2012.tei

Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต

www.facebook.com/plibai2012.tei

Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก

M

Y

CM

NG

CY

CMY

C LI

Eco Life Issue

Recycle

ผลิใบ

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม

HA

40

cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59

cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13

Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร

วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์ สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com

กระเป๋าผ้า

รับทันที

EC

สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………....................................................................... ที่อยู่ ………………………....................................................................................... ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ที่ ต้องการ ………………………............................................................. การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชี ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6

สมัครสมาชิกวารสารผลิใบ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.