ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และทีมงานกองบรรณาธิการ วารสารผลิใบ
Editor’s Note เพิง่ จะผ่านพ้นพระราชพิธสี ตมวาร หรือครบ 100 วัน ในการเสด็จสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2560 ซึ่งน้องๆ คงจะได้เห็นหรือได้ยินคำ�ว่า สตมวาร กันมา บ้างแล้วเมื่อครั้งที่พระองค์เสด็จสวรรคตครบ 7 วัน สำ�หรับภาษาพูดคงจะไม่แตกต่างสักเท่าใด แต่ถา้ เมือ่ ใด ที่ต้องเขียนควรสังเกตและจดจำ�กันให้ดี เพราะความ แตกต่างของ สัตมวาร นั้นจะหมายถึงการทำ�บุญครบ 7 วัน ส่วนคำ�ว่า สตมวาร ก็คือทำ�บุญครบ 100 วัน นั่นเองครับ และเพื่ อ เป็ น การรำ � ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อันล้นพ้นของรัชกาลที่ 9 ในคอลัมน์รอยเท้าของพ่อ จึงได้นำ�โครงการในพระราชดำ�ริต่างๆ มาให้น้องๆ ได้ รู้จัก ซึ่งในฉบับนี้เราจะได้ทำ�ความรู้จักกับโครงการ ชั่งหัวมันว่ามีความเป็นมาอย่างไร นอกจากนั้นยังมี สถานการณ์ปัจจุบันมาให้น้องๆ ได้ Update กัน โดย เฉพาะเรื่องสำ�คัญอย่างการพัฒนาประเทศเพื่อเข้าสู่ เมืองไทย 4.0 ทีค่ นไทยจำ�เป็นต้องทราบเพือ่ นำ�ไปปรับใช้ ให้สอดคล้องกับการดำ�เนินชีวติ ต่อไป ส่วนด้านการศึกษา ในยุคดิจิทัลนั้น คอลัมน์ Think Out of the Box ได้ นำ�ข้อมูลสาขาใหม่ๆ สำ�หรับศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา มาให้น้องๆ ได้เป็นตัวเลือก รวมทั้งจะได้รู้ว่าโรงเรียน 4.0 คืออะไรใน Let’s go Green วารสารผลิใบจะนำ�เนือ้ หาสาระดีๆ แบบนีม้ านำ�เสนอ ให้น้องๆ ได้อ่านกันอย่างต่อเนื่องในทุกๆ 3 เดือน และ จะยังคงสรรหาสาระน่ารู้มาเผยแพร่ต่อไป
ศ.ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ บรรณาธิการบริหาร
• วารสารผลิใบได้รบั รางวัลดีเด่น ประเภทวารสาร ที่ มี เ นื้ อ หาทั่ ว ไปเหมาะสมกั บ เยาวชน ประจำ � ปี พ.ศ. 2538 - 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ศ.ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล โรงพิมพ์ บจก. มาตา การพิมพ์ สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2503 3333 โทรสาร : 0 2504 4826-8 อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei
32
36
8
4
18
16
Young Storyteller
30
Young Artist
32
Inspiration for Youth
35
Science Tricks
36
รอยเท้าของพ่อ
4
On The Move
37
IT Generation
5
Do It Yourself
38
6
Give and Share
39
English for Fun
7
Membership
40
Animal Wonders
8
Think Tank
Cover Story 11 Think Out of the Box Green Enegy
13
15 16
Green Mind
17
What the World Offers?
18
Green Innovation
20
Evolution Fun Facts
23
The Question Mark?
28
์ ฤกษ ิการ จุลพ าธ ัตน์ รรณ ศิริร ขากองบ เล
Grew the Earth
รอยเท้าของพ่อ
ชั่งหัวมัน ครงการชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�ำริ เกิดขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงมีตอ่ เกษตรกร ในการทีจ่ ะพัฒนาส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม ให้ประสบความส�ำเร็จ สามารถเลี้ยงดู ตัวเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน “ชั่งหัวมัน” ชื่อนี้มีที่มา...
พระราชทานชื่ อ โครงการว่า “โครงการ ชัง่ หัวมัน ตามพระราชด�ำริ” พื้นที่ทั้งหมดของโครงการถูกจัดสรร ท� ำ การเกษตร มี ทั้ ง แปลงพื ช เศรฐกิ จ หลายชนิ ด โดยเน้ น ที่ พื ช ท้ อ งถิ่ น ของ จังหวัดเพชรบุรี เช่น มะพร้าว ชมพู่เพชร มะนาว กะเพรา สัปปะรด ข้าวไร่พันธุ์ ต่ า งๆ และทรงมี พ ระราชด� ำ ริ ใ ห้ ป ลู ก แปลงทดลองมันเทศ นอกจากพื้นที่ทางการเกษตรแล้ว ยังมีส่วนของกังหันลมผลิตไฟฟ้า ฟาร์ม โคนม ฟาร์มไก่ และแปลงเกษตรที่จัด เป็นสวนสวยส�ำหรับให้คนมาเยีย่ มชม ส่วน ผลพลอยได้ของชาวบ้านทีน่ กี่ ค็ อื โครงการนี้ ได้สร้างงาน สร้างอาชีพให้กับชาวบ้านใน พืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการเข้ามาเป็นลูกจ้างในการดูแล พืชผลและการปศุสัตว์ภายในโครงการ
ต้นก�ำเนิดของพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ เริม่ ขึน้ ตอนที่ พระองค์ท่านประทับอยู่ ณ วังไกลกังวล แล้วมีชาวบ้านน�ำมันเทศมาถวาย ช่วงนัน้ พระองค์ตอ้ งเสด็จกลับกรุงเทพฯ เลยรับสัง่ ให้เจ้าหน้าทีน่ ำ� หัวมันเทศไปวางไว้บนตาชัง่ ในห้องทรงงานจากนัน้ ก็เสด็จกลับกรุงเทพฯ จนเวลาล่วงไปเป็นเดือน เมื่อเสด็จ กลับมาหัวหินอีกครัง้ ทรงพบว่ามันเทศนัน้ ได้แตกใบ เลยตรัสว่า “มัน อยูท่ ไ่ี หนก็ขนึ้ ” ดังนั้นจึงมีพระราชด�ำริให้จัดหาที่ดินเพื่อ ท�ำโครงการด้านการเกษตร พระองค์ทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วน ติดต่อโครงการ : 0-3247-2700-1 พระองค์ซื้อที่ดินจากชาวบ้านกว่า 250 ไร่ และทรงแสดงชื่อเป็นเจ้าของที่ดินในนาม เกษตรกร (เดิมทีพื้นที่แห่งนี้เป็นดินลูกรัง ปลูกไม้ยูคาลิปตัส) จากนั้นพระราชทาน พันธุม์ นั เทศ ซึง่ งอกออกมาจากหัวมันทีต่ งั้ โชว์ ไว้บนตาชัง่ ในห้องทรงงาน ณ วังไกลกังวล ให้ น� ำ มาปลู ก บนที่ ดิ น แปลงนี้ โดย 4
ผลิใบ
ภาพประกอบ พิมพ์ปะการัง (https://pantip.com/topic/31210410) http://travel.mthai.com www.chillpainai.com
IT Generation
Recycle
สนับสนุน Green Concept เพื่อโลกสวย พื่อตอบรับกระแส Green Concept ที่ทุกคนหันมาให้ความ ส�ำคัญกับการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม จึงได้มผี ลิตภัณฑ์มากมายเกิดขึน้ เพือ่ ตอบโจทย์ดา้ นการอนุรกั ษ์ โดยเฉพาะบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ ามารถย่อยสลาย ได้ แต่ถ้าไม่ได้จริงๆ ก็จ�ำเป็นต้องมีการคัดแยกขยะเพื่อน�ำไปรีไซเคิล ให้สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง จากการส�ำรวจพบว่าน้องๆ หรือแม้แต่ผใู้ หญ่บางคนก็อาจจะ ยังไม่มั่นใจว่าขยะแต่ละชนิดนั้นเราจะทิ้งลงในถังไหนดี บริษัทเนสท์เล่จึงได้พัฒนาสมาร์ทโฟน แอพพลิเคชั่น แบบใช้ บริการได้ฟรีรายแรกของโลก เพื่อส่งเสริมให้เราสามารถแยกขยะ ก่อนน�ำเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ชื่อ “123Recycle App” ที่ท�ำงานผ่านอุปกรณ์มือถือไอโฟนและ แอนดรอยด์ โดยเริ่มโครงการเป็นต้นแบบที่ประเทศสิงคโปร์ ลักษณะการท�ำงานของแอพพลิเคชัน่ นี้ คือ สามารถท�ำการสแกน บาร์โค้ดบนตัวหีบห่อสินค้า และระบุรายละเอียดว่าลูกค้าต้องท�ำการ ทิ้งชิ้นส่วนต่างๆ ของหีบห่ออย่างไรจึงจะถูกต้องและเหมาะสม เช่น ขวดและฉลากควรจะทิง้ ในถังขยะสีเขียวส�ำหรับรีไซเคิลวัสดุประเภท แก้ว ส่วนฝาเกลียวที่เป็นโลหะ ควรจะแยกทิ้งในถังขยะสีเหลือง เพือ่ การรีไซเคิลโลหะและอะลูมเิ นียม เป็นต้น ซึง่ เทคโนโลยีการสแกน บาร์โค้ดนี้เป็นผลงานการวิจัยร่วมกันระหว่างเนสท์เล่กับโรงเรียน ลีเทคนิคนันยางด้านไอที ครอบคลุมทัง้ สินค้าทีเ่ นสท์เล่เป็นผูผ้ ลิตและ สินค้าภายใต้การผลิตของแบรนด์อื่นๆ ด้วย หากมีระบบบาร์โค้ดที่ สามารถสแกนได้เหมือนกันบนระบบการอ่านเดียวกัน โดยทางการ สิงคโปร์มีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้ประกอบการรายอื่นในสิงคโปร์เข้ามา ร่วมส่งข้อมูลหีบห่อ เพือ่ ให้สามารถอ่านได้ดว้ ยระบบ 123Recycle App ของเนสท์เล่โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ข้อมูล : http://m.th.mobomarket.net http://www.manager.co.th
ทั้งนี้ผู้ผลิตแอพพลิเคชั่นจะ มีการปรับปรุงฐานข้อมูลประเภท หี บ ห่ อ และวิ ธี ก ารคั ด แยกขยะ ทุก 1-2 เดือน เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่ เ ป็ น ปั จ จุ บั น ตลอดเวลา และ เพิ่มเติมประเภทสินค้า ประเภท หีบห่อได้เรื่อยๆ นอกจากนี้ยังมี แผนในการแสดงแผนที่ ตั้ ง ของ ถังขยะที่ใกล้ที่สุด เพื่อให้ผู้บริโภค น�ำเอาขยะที่ผ่านการคัดแยกแล้ว ไปทิ้งได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย
ผลิใบ
5
วนเกษตร
Think Tank
Agroforesty “วนเกษตร” เป็นแขนงหนึ่งของระบบเกษตรเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมหรือเกษตรแบบยั่งยืน ที่ประกอบไปด้วย เกษตร ทฤษฏีใหม่ เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชาติ และวนเกษตร ซึ่งไม่ใช่เรื่องใหม่ในสังคมไทย แต่คนไทยไม่ค่อยรู้จัก มากนัก ซึ่งการท�ำวนเกษตรก็คือการท�ำเกษตรโดยใช้พื้นที่อย่างเป็นระบบ เลียนแบบหลักการความยั่งยืนของป่าไม้ที่มีการอยู่ร่วมกัน ของพันธฺุ์ไม้และสัตว์ในรูปแบบพึ่งพา มีการผสานความรู้หลากหลายเรื่องทั้งในเรื่องของไม้ป่า ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผักสวนครัว พืชสมุนไพร และการปศุสัตว์ โดยจัดระบบให้พืชและสัตว์ทั้งหมดที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่ได้อย่างไม่เบียดเบียนแย่งธาตุอาหาร น�้ำ แสงสว่าง และอากาศกัน เป็นระบบของพืชใหญ่ดูแลพืชเล็ก โดยการน�ำธาตุอาหารจากรากสู่ใบและร่วงหล่นมาท�ำให้มีธาตุอาหาร บนผิวดิน ช่วยให้รากพืชตืน้ ได้รบั ธาตุอาหาร สัตว์สามารถอาศัยอยูไ่ ด้โดยมีแหล่งอาหารและคืนธาตุอาหารในรูปของมูล กลายเป็นวงจร ระบบนิเวศที่หมุนเวียน รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านการใช้ที่ดินอย่าคุ้มค่ามากกว่าการท�ำการเกษตรเชิงเดี่ยว เกษตรกรสามารถ พึ่งพาตนเองได้ในเรื่องอาหาร ยา และพืชที่สามารถสร้างมูลค่าที่เป็นตัวเงินในอนาคต การท�ำวนเกษตรเรียกได้ว่าเป็นการผสมผสาน สภาพแวดล้อมของป่าและสภาพแวดล้อมทางการเกษตรของคนเข้าด้วยกัน และเกิดความเกือ้ กูลกันด้านนิเวศวิทยาของป่า โดยจัดสรร ในเรื่องของเวลาปลูก พืน้ ที่ และพันธุไ์ ม้ เพือ่ พึง่ พาอาศัยกันในระบบนิเวศ ซึง่ ส่วนหนึง่ เป็นการใช้พน้ื ทีป่ า่ มาเพือ่ ท�ำการเกษตรโดยไม่ตอ้ ง ถางป่า ซึ่งอาจจะเป็นการปลูกพืชหลายอย่างในแนวระนาบ หรือ ในแนวดิ่ง พืชหลากหลายชั้นความสูง ซึ่งท�ำให้สวนวนเกษตรสามารถ มีผลผลิตทีส่ งู เลียนแบบระบบธรรมชาติของป่า สร้างสมดุลของนิเวศการเกษตร และอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมไปพร้อมกัน โดยวนเกษตรเน้น การให้พืชเกษตรอยู่ร่วมกับพืชป่าได้อย่างเกื้อกูล
ตัวอย่างการจัดสรรพื้นที่แบบวนเกษตร แสงสว่าง ปลูกไม้ยืนต้นที่ใช้ประโยชน์ จากเนื้อไม้เป็นหลัก
ใบไม้ย่อยสลายในเขตร้อน ได้อย่างรวดเร็ว เป็นอาหารจุลินทรีย์ในดิน ซึ่งกลายมาเป็นอาหารแก่ต้นไม้
ปลูกไม้ผล พืชคลุมดิน
พืชผักสวนครัว
ปศุสัตว์ พืชสมุนไพร
6
ผลิใบ
English for Fun ในฉบับนี้เราได้พูดถึงเรื่องวนเกษตรกันไปแล้วในคอลัมน์ Think Tank ซึ่งเราอาจจะไม่คุ้นหูกับค�ำศัพท์ค�ำนี้กันสักเท่าใดนัก แต่ส�ำหรับในต่างประเทศจะคุ้นเคยกับค�ำศัพท์ Agroforestry กันเป็นอย่างดี ฉะนั้นพี่ผลิใบจึงอยากน�ำค�ำศัพท์ค�ำนี้มาให้น้องๆ ได้ ทบทวนกันอีกครั้งในคอลัมน์ English for Fun พร้อมทั้งค�ำศัพท์อื่นที่เกี่ยวข้อง ถ้าพร้อมแล้วไปท่องศัพท์พร้อมๆ กันเลยค่ะ
Agroforestry
การท�ำสวนป่า
(การปลูกไม้ยนื ต้น เช่น สวนยางพารา สวนผลไม้ สลับกับพืชผัก และพืชให้ผลชนิดอื่น)
Environmental Health สุขอนามัยสิ่งแวดล้อม
(สุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนที่ด�ำรงอยู่ในสิ่งแวดล้อม โดยมีสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพของพื้นที่)
Environmentally-friendly เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ผลิใบ
7
โลกของสัตว์เรืองแสง ถ้าจะพูดถึงสิ่งมีชีวิตที่เรืองแสงได้หรือมีแสงไฟอยู่ในตัวเอง ทีท่ ำ� ให้เราสามารถมองเห็นแสงของมันได้อย่างชัดเจนในเวลากลางคืน หรือในทีม่ ดื คนส่วนใหญ่มกั จะนึกถึงหิง่ ห้อยเป็นอันดับต้นๆ ซึง่ ใน ความเป็นจริงแล้วในโลกของเรายังมีสงิ่ มีชวี ติ อีกหลาย ชนิดที่สามารถเรืองแสงได้ นึกออกไหมคะว่ามีสัตว์ชนิดใดบ้าง ถ้านึกไม่ออกพี่ผลิใบจะมาเฉลยให้น้องๆ ได้ทราบและ ท� ำ ความรู ้ จั กสั ต ว์โลกมหัศจรรย์เ หล่านี้ไ ปพร้อมๆ กันค่ะ แต่ก่อนอื่นน้องๆ จะต้องทราบก่อนว่าการเรืองแสงใน สิ่งมีชีวิต เป็นที่รู้จักกันมานานในชื่อ Bioluminescence ซึ่งเกิดได้ในสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด เช่น แพลงตอน แมงกะพรุน หอยทากทะเล หมึก ปลาฉลาม หรือแม้แต่เห็ดรา การเรืองแสงได้ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเกิดจาก ปฏิกิริยาเคมีที่แตกต่างกันออกไป แต่อย่างไรก็ตาม หิ่งห้อย ต้องประกอบไปด้วย 3 องค์ประกอบ (Firefly, Lightning Lightning bug,) bug) (Firefly, ดังนี้ คือ เอนไซม์ Luciferase เป็นแมลงปีกแข็งที่สามารถผลิตแสงได้ด้วยตนเอง มีขนาดตั้งแต่ ซึ่งท�ำหน้าที่ดึงองค์ประกอบที่ 2 2 มิลลิเมตร ไปจนถึง 10 เซนติเมตร สีของแสงหิ่งห้อยที่พบในประเทศไทย คือ ออกซิเจนในสิ่งแวดล้อม จะเป็นสีเหลืองและน�้ำตาล ซึ่งแสงที่หิ่งห้อยเปล่งออกมาเป็นพลังงานแสงร้อยละ 90 เข้ามาสู่องค์ประกอบ ส่วนอีกร้อยละ 10 เป็นพลังงานความร้อน สุดท้ายที่เรียกว่า การที่หิ่งห้อยเรืองแสงได้ เพราะเซลล์จากอวัยวะการสร้างแสงของหิ่งห้อยจะผลิตสารสีขาว Luciferin ซึ่งเป็น ทีช่ อื่ “ลูซเิ ฟอริน” (Luciferin) หิง่ ห้อยจะควบคุมการเปล่งแสงโดยบังคับอากาศทีไ่ ด้จากการหายใจเข้าไป โมเลกุลชีวภาพ เมื่อออกซิเจนในอากาศสัมผัสกับสารลูซิเฟอริน และท�ำปฏิกิริยากับเอนไซม์ชื่อ Luciferase หิ่งห้อยก็จะ ในตัวมัน ท�ำให้เกิด ปล่อยพลังงานออกมาเป็นแสงได้ ฉะนั้นแสงจะสว่างหรือดับจึงขึ้นอยู่กับการหายใจของหิ่งห้อยนั่นเอง หิ่งห้อยไม่ได้เปล่งแสงเพื่อความสวยงามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เป็นการส่งสัญญาณเพื่อการหาคู่ ปฏิกิริยาเคมีจนเป็น ซึ่งหิ่งห้อยแต่ละชนิดจะมีจังหวะการกระพริบแสงที่แตกต่างกัน ฉะนั้นหิ่งห้อยแต่ละชนิดจึงจดจ�ำ โมเลกุลที่มีพลังงานสูง และถูกปลดปล่อยออกมา การกะพริบแสงของพวกเดียวกันได้ท�ำให้เกิดการผสมพันธุ์ที่ถูกกับชนิดของหิ่งห้อยนั้นๆ ส่วนใหญ่หงิ่ ห้อยอาศัยอยูต่ ามพุม่ ไม้ หรือตามพืน้ ทีช่ มุ่ ชืน้ ใกล้หนองน�ำ้ หรือล�ำธารทีม่ นี ำ�้ ใส ในรูปของแสงสว่าง สะอาด และที่ส�ำคัญตรงนั้นต้องเป็นน�้ำนิ่ง ตลอดจนบริเวณป่าโกงกาง ชายฝั่งทะเล ใน ได้เวลาไปท�ำความรู้จัก ระยะตัวเต็มวัยหิ่งห้อยมักเกาะอยู่ตามต้นล�ำพู ต้นล�ำแพน โพทะเล ต้นฝาก ต้นแสม กับสัตว์เรืองแสงในโลกของเรา ต้นสาคู และต้นเหงือกปลาหมอ นอกจากนั้นหิ่งห้อยยังเป็นตัวที่บ่งบอกถึง กันแล้วค่ะ ความอุดมสมบูรณ์ หรือเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศและสิง่ แวดล้อม หมายเหตุ น�ำเสนอเพียงบางชนิด 8
ผลิใบ
ได้เป็นอย่างดี
หนอนปล้องเรืองแสง (Swima Bombiviridis) เป็ น หนอนสปี ชี ส ์ ใ หม่ ที่ ถู ก ค้ น พบ ใต้ ท ้ อ งทะเลลึ ก หนอนทะเลเหล่ า นี้ มีทั้งหมด 7 สปีชีส์ด้วยกัน โดยทุกสปีชีส์ จะมีไส้พงุ โปร่งใสจนสามารถเห็นสีทเี่ ปล่งออกมา ได้อย่างสวยงาม โดยทีมค้นพบได้ตั้งชื่อให้พวกมันว่า Swima Bombiviridis ซึง่ มีความหมายว่านักว่ายน�ำ้ ทีเ่ ก่งกาจและ นักทิ้งระเบิดสีเขียว ชื่อนี้มาจากพฤติกรรมที่มันปล่อยอวัยวะ เรืองแสงสีเขียวออกมาจากบริเวณเหงือกที่มีระเบิดอยู่ ตัวละประมาณ 8 ลูก มันจะทิ้งระเบิดสีเขียว ออกมาครัง้ ละ 1-2 ลูก เพือ่ หลอกล่อศัตรูและ เบีย่ งเบนความสนใจของนักล่านัน่ เอง
หมึกเรืองแสง (Firefly Squide) เป็นหมึกชนิดหนึ่ง ที่สามารถเรืองแสงด้วยตัวเอง คล้ายกับหิ่งห้อย โดยหมึกชนิดนี้ จะมีลักษณะคล้ายคลึงกับ หมึกกล้วยในบ้านเรา แต่จะมีแสงสีฟ้าระยิบระยับไปทั่วตัวโดยอวัยวะพิเศษ ที่เรียกว่า Photophores ที่กระจายอยู่ทั่วล�ำตัว โดยเฉพาะบริเวณปลายหนวด และรอบดวงตาจะมีขนาดใหญ่มาก เพื่อใช้เป็นกับดักหลอกล่อศัตรูและเหยื่อ ให้ติดกับ โดยปกติแล้วหมึกชนิดนี้จะอาศัยอยู่ใต้น�้ำที่ลึกประมาณ 1,200 ฟุต เมื่อถึงฤดูวางไข่พวกมันจะไปรวมตัวกันผสมพันธุ์และวางไข่ที่อ่าวโทมายะ ประเทศญี่ปุ่น ท�ำให้เกิดภาพชายหาดเรืองแสงอันโด่งดังไปทั่วโลก ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน **จริงๆ แล้วปลาหมึกกล้วยทั่วๆ ไปก็สามารถเรืองแสง ได้ เ ช่ น กั น ค่ ะ แต่ สี ข องมั น จะมี ลั ก ษณะ คล้ายกับพรายน�้ำ
ซาล์ป (Salp)
สั ต ว์ ตั ว จิ๋ ว ชนิ ด นี้ เ ป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต เรื อ งแสง จ� ำ พวกสั ต ว์ ท ะเลที่ ค ล้ า ยกั บ แมงกระพรุ น ตัวโปร่งใส มีความยาวประมาณ 1–10 เซนติเมตร นอกจากความพิเศษในเรื่องการเรืองแสงได้แล้ว มันยัง เป็นสัตว์ทมี่ สี ว่ นในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อกี ด้วย อาหารของ Salp คือสาหร่ายเซลล์เดียวมากมายในทะเลที่ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เอาไว้ เมือ่ ถูก Salp กินเข้าไป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกสะสมไว้ในสาหร่ายจะถูกขับ ออกมาเป็นของแข็งแล้วจมลงสูก่ น้ ทะเล จากการส�ำรวจของ Mark Baird นักวิจยั จาก CSIRO พบว่า ช่วง 100 ปีทผี่ า่ นมา ปริมาณของ Salp มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งในน่านน�้ำของ ออสเตรเลียก็พบ Salp หลายสายพันธุ์ และทุกพันธุ์ สามารถจั ด การกั บ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ได้ทั้งหมด
ผลิใบ
9
แมงกะพรุน Atolla Wyvillei เป็นแมงกะพรุนทะเลน�้ำลึก มีลักษณะเด่นอยู่ตรงขอบเรียก Lappets มีอวัยวะอย่างพวก Rhopalium กับหนวด อยู่ราวๆ 2 อันในแต่ละช่อง เป็นพวกที่ปรับตัว มาอาศัยใต้ทะเลลึกราวๆ 500-5,000 เมตร มันจะส่องแสงสีฟ้ารูปกังหันออกจากเส้นรอบตัวเมื่อ เข้าโจมตีเหยื่อ หรือเวลาที่ถูกรบกวน โดยแสงที่ เปล่งออกมาจะมีลักษณะเป็นวงล้อหมุนวนรอบร่างกาย ส่วนด้านบนหรือส่วนร่มสามารถเรืองแสงได้คล้ายๆ กับหิ่งห้อย
หนอนเรืองแสง (Glow Worm)
เป็ น ระยะตั ว อ่ อ นของแมลงเล็ ก ๆ ที่ มี ลั ก ษณะ คล้ายยุง มีชอื่ ว่า Arachnocampa Luminosa การเปล่งแสงของ พวกมันก็เพื่อล่อให้เหยื่อมาติดกับ วิธีการก็คือมันจะปล่อยเมือกเหนียวๆ ที่ มีลักษณะคล้ายเส้นไหมที่มีตุ่มน�้ำ มีความยาวตั้งแต่ 1-50 เซนติเมตรลงมา เพื่อเป็นเบ็ดตกเหยื่อ สายเหล่านี้จะห้อยระโยงระยางจากเพดานถ�้ำดูคล้ายกลุ่ม ของเส้นใยไหม ส่วนตัวพวกมันจะวางโครงข่ายท่อบนเพดานถ�ำ้ เพือ่ เป็นทางส�ำหรับ เคลือ่ นทีไ่ ปมา จากนัน้ จะรอให้เหยือ่ ทีห่ ลงเข้ามาเล่นไฟทีเ่ รืองแสงออกมาจากตัว ของพวกมันเข้ามาติดกับเบ็ดที่ห้อยเอาไว้ ยิ่งดิ้นก็ยิ่งติดแน่น หนอนเรืองแสง จะเคลื่อนตัวไปตามโครงข่ายท่อที่วางไว้ ไปยังท่อของสายเบ็ด แล้วโผล่ ออกมาลากเหยื่อกลับเข้าไปในท่อ เพื่อสังหารเหยื่อและกินเป็น อาหาร แต่จ�ำนวนเยอะๆ ของมันก็ท�ำให้ถ�้ำทั้งถ�้ำสวยงาม ระยิบระยับจนกลายเป็นแหล่งท่องเทีย่ วโด่งดัง ไปทั่วโลก
10
ผลิใบ
ข้อมูล : www.dek-d.com www.wannaphong.com https://daily.rabbit.co.th www.vcharkarn.com ภาพประกอบ : https://s-media-cache-ak0.pinimg.com http://i.dailymail.co.uk www.malangmo.com http://hotaruikamuseum.com www.boredpanda.com/
ประเทศไทย 4.0
คือ โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมไปสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม ที่เน้นเทคโนโลยี ไอที ความคิดสร้างสรรค์ และภาคบริการภายใต้วิสัยทัศน์
มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เศรษฐกิจแบบเดิมเน้นอุตสาหกรรม
เศรษฐกิจแบบใหม่เน้นเทคโนโลยี และไอที
ท�ำมาก ----> ได้น้อย
ท�ำน้อย ----> ได้มาก
ประเทศไทยเคยผ่านเศรษฐกิจมาแล้ว 3 ยุค ประเทศไทย 1.0
ประเทศไทย 2.0
ยุคที่เน้นการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยคนไทยจะปลูกข้าว พืชไร่ พืชสวน เลี้ยงสัตว์ และน�ำผลผลิต ไปขายเพื่อสร้างรายได้
เป็นยุคของอุตสาหกรรมเบา มีการน�ำเครื่องมือต่างๆ มาช่วย ในการผลิตสินค้า เช่น เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องประดับ เริ่มมีศักยภาพในการผลิตมากขึ้น
20 ปี ของ ประเทศไทย 3.0
สถิติเศรษฐกิจของไทย พ.ศ. 2500-2536 เคยเติบโต 7-8% ต่อปี
ประเทศไทยอยู่ในยุคนีิ้นานกว่า 20 ปี
ปัจจุบัน
พ.ศ.2537
พ.ศ.2536
พ.ศ.2500
ประเทศมีรายได้ปานกลาง มีความเหลื่อมล�้ำด้านความมั่งคั่ง ความไม่สมดุลด้านการพัฒนา
ประเทศไทย 3.0
ตั้งแต่ พ.ศ. 2537 เศรษฐกิจเติบโต 3-4% ต่อปี
ยุคที่เน้นอุตสาหกรรมหนักและ ส่งออก ผลิตและส่งออกเหล็กกล้า ก๊าซธรรมชาติ รถยนต์ ฯลฯ โดยอาศัยเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อการส่งออก
ประเทศไทยจึงมีความจ�ำเป็น ต้องเปลี่ยนโครงสร้าง เศรษฐกิจ สู่ประเทศไทย 4.0 ผลิใบ
11
ประเทศไทย 4.0
มีการยกระดับ 4 องค์ประกอบส�ำคัญ โดยผนึกก�ำลังจากทุกภาคส่วนภายใต้แนวคิดประชารัฐ พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
เกษตรแบบดั้งเดิม
SMEs แบบเดิม
บริการแบบเดิมมูลค่าต�่ำ
Traditional SMEs หรือ SMEs ที่รัฐต้อง ให้ความช่วยเหลือ อยู่ตลอดเวลา
เกษตรสมัยใหม่ที่เน้นการ บริหารจัดการ เทคโนโลยี และ ไอที ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ้นโดยการใช้ไอที ช่วยในการซื้อขายสินค้า
Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพสูง
แรงงานทักษะต�่ำ
Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่า ค่อนข้างต�่ำ
แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทักษะสูง
บริการที่มีมูลค่าสูง
5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย
กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech)
12
ผลิใบ
กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยี ทางการแพทย์ (Health, Wellness&Bio-Med)
กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์ อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และ ระบบเครื่องกลที่ใช้ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics)
กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยี อินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อ และบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และ เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, IoT, Artificial Intelligence & Emb
กลุ่มอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง (Creative, Culture & High Value Services)
ข้อมูล : www.thairath.co.th www.oie.go.th ภาพประกอบ : Designed by freepik.com
Think Out of the Box ทุกวันนีก้ ารศึกษาเป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะสามารถตอบโจทย์ของอนาคตได้วา่ เราต้องการจะประกอบอาชีพอะไร ค�ำว่า “อาชีพ” อาจจะยังห่างไกลจากน้องที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในระดับประถมถึงมัธยมต้น แต่ถ้าขึ้นชั้นมัธยมปลายแล้ว เราจะต้องค้นหาตัวเองให้พบว่าเราชอบอะไรและอยากเป็นอะไร ซึ่งบางคนอาจชอบวิชาการแพทย์ บัญชี บริหารธุรกิจ นิเทศศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ ซึ่งเรารู้จักกันดีอยู่แล้ว แต่เพื่อตอบรับยุคดิจิทัลที่ก�ำลังเติบโตขึ้นอย่างไม่มีที่สิ้นสุด หลายมหาวิทยาลัยจึงได้เปิดสาขาใหม่ดา้ นดิจทิ ลั มีเดียขึน้ มาเพือ่ ตอบโจทย์การขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามเป็นประเทศ ดิจิทัลระดับสากล ทีนี้เรามาดูกันค่ะมีสาขาอะไรบ้างและน่าสนใจขนาดไหน เพื่อได้เป็นทางเลือกหนึ่งในการตัดสินใจศึกษาต่อของ น้องๆ ในอนาคต d Game Design) an ve ti ac er nt (I ม ะเก แล ฟ ์แอคที สาขาวิชาการออกแบบอินเทอร แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ ิทัลที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ จ ิ บด แบ ป รู ใน อ ่ ื บส เนื้อหาการเรียน แบ อก รอ กา ษากี่ยวกับ าน 1. กลุ่มอินเทอร์แอคทีฟ จะศึก มีเดียเพื่อใช้ในการสร้างสรรค์ผลง ติ ล ั บม แบ อก รอ กา บ ั หร ำ ส� รม แก ปร ซึ่งต้องมีการประยุกต์ใช้การเขียนโ ิกส� ำหรับใช้ในเกมทั้งรูปแบบ าฟ กร บบ กแ ออ าร ะก แล กม บเ แบ วกับการออก 2. กลุ่มเกมดีไซน์ จะเรียนเกี่ย 2 มิติและ 3 มิติ ฒนา ลัยศรีปทุม นโปรแกรมกราฟิกเพื่อใช้ในการพั ย เขี มหาวิทยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยา าร นก า ด้ าญ วช ย ่ ชี เ ้ ู ผ ์ อร มเม กร Interactive Programmer (โปรแ Designer (นักออกแบบเว็บไซต์) จบแล้วท�ำอะไร b We ) ต์ ไซ บ เว็ นา ฒ พั ก ั (น er พ มัลติมีเดีย) Web Develop (ผู้ออกแบบและสร้างสรรค์งานภา me Ga for t tis Ar t ep nc Co ม) Game Designer (นักออกแบบเก ้น เช่น ตัวละคร ฉาก และไอเท็ม) ื้องต ของเกมจากแนวความคิดในขั้นเบ ัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น รพ กา ต์ ก ยุ ระ ป ์ อร เต ว พิ อม รค อมพิวเตอรม์ าประยุกต์กบั รค กา ยา ท วิ อง ข สาขาวิชาวิทยากา ฎี ฤษ รท กา ก ลั ห ช้ ยใ กระบวนการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ โด ั บ วก ่ ี ย เก ษา ก ศึ อฟต์แวร์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ะซ พา น ย ี ยเฉ รเร โด กา ย หา บา โม เนื้อ ละ แ ี ลย นโ คโ ยใต้เว็บเท กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ ภา ลัยศรีปทุม ซอฟต์แวร์ ระบบงานฐานข้อมูล นา ฒ พั ก นั มหาวิทยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยา / ์ อร เต ว พิ อม ค ร์ สต วิทยาศา นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ / นัก จบแล้วท�ำอะไร โมบาย และโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์ มมิฟิเคชัน าญในอุตสาหกรรมเกม วช ย ่ ชี เ ้ ู ยผ โด รม สาขาวิชาเทคโนโลยีเกมและเก กร ต ั นว นา ฒ พั ์ พนธ สอนจะเน้นการวิจัยและท�ำวิทยานิ าร นก ย ี รเร กา น ย ี รเร กา หา เนื้อ โดยเฉพาะ ลัยมหิดลภาคอินเตอร์ พัฒนาเกม / นักวิเคราะห์และ ก นั / ม มหาวิทยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยา เก บบ กแ ออ ก นั / น ั ิฟิเคช นจริง / นักพัฒนาด้าน อ นักวิจัยด้านเทคโนโลยีเกมและเกมม มื งเส ลอ ำ จ� บบ ระ นา ฒ จบแล้วท�ำอะไร พั ละ บแ อบ / ผู้ออกแบ ทดสอบเกม / ผู้ผลิตสื่อเชิงโต้ต กพัฒนาด้านการท�ำภาพเคลื่อนไหว นั / ก ฟิ รา ก ์ อร เต ว พิ อม นค า ด้ มัลติมีเดีย / นักพัฒนา ผลิใบ
13
สาขามัลติมีเดียและกราฟิกดีไซน์ สือ วาดรูป ระบายสี ตัดต่อ ท�ำหนัง เป็นสาขาที่เรียนโดยรวม ทั้งการท�ำกราฟิกอาร์ต จัดอาร์ตในหนัง เนื้อหาการเรียน อนิเมชั่น ท�ำ 3D และอื่นๆ ท�ำสื่อโทรทัศน์ ท�ำ Packaging ท�ำเว็บ ท�ำมีเดีย ท�ำเอฟเฟค ท�ำ ิ มหาวทิ ยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ หลักสูตรนานาชาต Interface Designer / Digital Designer / Web / gner Desi hics Grap r pute Com / r rato Illust อะไร จบแล้วท�ำ Photographer / Picture Editor / Graphics Artist / Computer Animator / Model Maker / r / Artist / Creative Director/ New Media Developer / Flim and Video Producer / Edito Videographer สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต บ สร้างสรรค์ทางความคิด มุ่งเน้น การเรียนการสอนด้านการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบ เนื้อหาการเรียน ้ทางศิลปะ การฝึกทักษะปฏิบัติในการใช้คอมพิวเตอร์ และการปรับพื้นความรู มหาวทิ ยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยาลัยรังสิต 2D Animator / 3D Animator / Broadcast Designer จบแล้วท�ำอะไร ศิลปบัณฑิตสาขาวิชามัลติมีเดียดีไซน์ งด้านทฤษฎีที่ทันสมัยในเรื่องการออกแบบโดยการใช้ ละทา แ ิ ต ั บ ิ นปฏ า งด้ ษะทา ก ทั น พู ม ่ รเพิ นกา า ด้ น เน้ น ย รเรี เนื้อหากา active media, video and sound สื่อเทคโนโลยี เพื่อผลิตบัณฑิตออกไปท�ำงานด้าน website, inter ts production, game design, post production หรือ special effec มหาวทิ ยาลัยทีเ่ ปิดสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์ - มัลติมีเดีย การวัดผลและการประเมินผล เทคโนโลยีการศึกษา ษา ก รศึ ยากา ท วิ ต จิ น เช่ ฐาน น ้ ื พ ยี นโล เทคโ สาขา น ย รเรี เนื้อหากา ทางการศึกษา กราฟิก เทคนิคสีสัน วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียพื้นฐาน เช่น การถ่ายภาพ วิทยุโทรทัศน์ ารสนเทศ วิชาคอมพิวเตอร์ประยุกต์ และเสียง ส�ำหรับงานมัลติมีเดีย วิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีส ุกต์ทางการศึกษา สื่อสารมวลชน - มัลติมีเดีย เช่น โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางมัลติมีเดีย มัลติมีเดียประย ไอ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ และเทคนิคการพัฒนามัลติมีเดีย ซี เอ มหาวทิ ยาลัยทีเ่ ปิดสอน พระจอมเกล้าธนบุรี วชาญด้านมัลติมีเดีย อาจารย์สอนด้านสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ / วิทยากรผู้เชี่ย จบแล้วท�ำอะไร สาขาการผลิตแอนิเมชัน บัติโดยมีอาจารย์ผู้เคยมีประสบการณ์การท�ำงานระดับโลก ปฏิ น เน้ ation Anim ต ลิ การผ ก ึ ฝ ได้ ษาจะ ก ศึ ก นั น ย รเรี เนื้อหากา จาก Hollywood มหาวทิ ยาลัยทีเ่ ปิดสอน สถาบันกันตนา Animator / Stop Motion Animator / Character Animator / Effects จบแล้วท�ำอะไร oonist และ 3D Modeler Character designer / Editor / Animation Director / Cart 14
ผลิใบ
ข้อมูลจาก www.mthai.com ภาพประกอบจาก www.freefik.com
Green Energy
1 0 0 0 5 น า รู้จัก ISO ง ง ั ล พ �ำคัญด้าน ISO (International Standards Organization) คือ องค์การมาตรฐาน
สากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการ มาตรฐาน โดยจะออกมาตรฐานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง กับธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม โดยมีวถั ปุ ระสงค์ เพื่ อ จั ด ระเบี ย บการค้ า โลกให้ เ ป็ น ไปตาม มาตรฐานเดียวกัน
ักบความส
ISO 50001 คืออะไร? ISO 50001 มีวัตถุประสงค์หลัก
ตัวเลขที่อยู่ด้านหลังค�ำว่า ISO หมายถึง สินค้า และบริการทีแ่ ตกต่างกัน โดยระดับของมาตรฐาน การวัดคุณภาพจะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ISO 9000 ISO 9001 ISO 9002 และ ISO 9003 ซึ่งเป็นการวัดคุณภาพจากการจัดการ ขององค์กร
เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน การจัดการอนุรักษ์พลังงาน โดยมี ข้อก�ำหนดให้องค์กรทีข่ อมาตรฐานนี้ จะต้องมีแผนในการลดใช้พลังงาน ภายในองค์กร ไม่น้อยกว่า 20 % ทั้ง ในด้านพลังงานไฟฟ้า และพลังงาน น�้ำมัน โดยมาตรฐานดังกล่าวจะเป็น ในลักษณะสมัครใจไม่มีการบังคับ รวมถึงลดต้นทุนด้านพลังงาน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และลด ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมอืน่ ๆ โดยต้องปฏิบตั อิ ย่างต่อเนือ่ งตามหลักการ P-C-D-A คือ วางแผน (Plan) ปฏิบัติ (Do) ตรวจสอบ (Check) แก้ไข และปรับปรุง (Act)
ISO 14000
มาตราฐาน ISO 50001 มีหลักการที่ส�ำคัญ คือ
ISO 9000 ISO 9001 ISO 9002
เป็ น เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มและ หลังจากทัว่ โลกมีความตืน่ ตัวเรือ่ งสภาวะโลกร้อน กันอย่างขว้างขวาง ISO 14001 ก็เกิดขึ้นเพื่อ เป็ น มาตรฐานในการบริ ห ารจั ด การเรื่ อ งของ สิ่งแวดล้อม และเรื่องของการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกตามพิธีสารเกียวโตที่ให้ทุกองค์กร พยายามลดการปล่อยคาร์บอนฯ ISO 14001 จึ ง ถู ก น� ำ มาใช้ เ พื่ อ ลดการปล่ อ ยมลพิ ษ ออกสู ่ ชั้นบรรยากาศ
ข้อมูลจาก : http://www.tpa.or.th/
1. การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) ซึ่งจะ รวมทั้งมุมมองด้านการใช้เทคโนโลยี 2. การใช้พลังงาน (Energy Use) ทั้งมุมมองเชิงคุณภาพ และกิจกรรม ที่มนุษย์มีส่วนร่วม 3. การเผาผลาญพลังงาน (Energy Consumption) จะเน้นมุมมอง เชิงปริมาณ ตัวมาตราฐานที่ใช้ และโครงสร้างของระบบการจัดการ
ผลิใบ
15
Grew the Earth
ต้นรวงผึ้ง พรรณไม้ประจ�ำรัชกาลที่ 10
ทราบหรือไม่ว่าท�ำไมต้นรวงผึ้งจึงเป็นต้นไม้ประจ�ำพระองค์รัชกาลที่ 10
ต้นรวงผึ้ง มีดอกสีเหลือง : สีเหลืองเป็นสีที่ตรงกับวันพระราชสมภพ (วันจันทร์ 28 กรกฎาคม พุทธศักราช 2495) วันผลิดอกอยู่ในช่วงเดือนพระราชสมภพ : ดอกรวงผึ้งจะผลิดอกสีเหลืองบานสะพรั่งในช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม ต้นรวงผึ้งเป็นต้นไม้ทรงปลูก : เมื่อพระองค์ทรงเสด็จประกอบพระราชกรณียกิจตามสถานที่ต่างๆ จะทรงปลูกต้นรวงผึ้ง พระราชทานไว้เพื่อเป็นตัวแทนแห่งพระองค์ท่าน เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ราษฎร
มารู้จักต้นรวงผึ้งกันเถอะ ต้นรวงผึ้งมีชื่อสามัญว่า Yellow Star และพื้นเมืองว่า “น�้ำผึ้ง” หรือ “สายน�ำ้ ผึง้ ” เป็นไม้หอมทีม่ ถี นิ่ ก�ำเนิดในประเทศไทย พบมากในป่าทางภาคเหนือ สูงจากระดับน�้ำทะเล 1,000-1,100 เมตร เป็นพันธุ์ไม้พวกเดียวกับปอกระเจาและ ตะขบฝรั่ง ลักษณะเด่นของต้นรวงผึ้งคือ ดอกสีเหลืองเข้มมีกลิ่นหอมตลอดทัง้ วัน มีช่อดอกดกเกิดตามซอกใบเป็นช่อสั้น โคนกลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน ปลายแยกออก เป็น ๕ แฉกคล้ายรูปดาว ไม่มีกลีบดอก มีเกสรตัวผู้จ�ำนวนมาก ซึ่งส่วนที่มอง เห็นเป็นสีเหลืองเหมือนดอกนัน้ คือเกสรตัวผูท้ รี่ วมกันเป็นกระจุก กิง่ ค่อนข้างเล็ก เรือนยอดเป็นพุ่มมน ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปแผ่นใบสองข้างไม่เท่ากัน ผิวใบด้าน บนสีเขียวด้านล่างสีนำ�้ ตาลนวล สามารถขยายพันธุด์ ว้ ยการตอนกิง่ และเพาะเมล็ด ดอกรวงผึง้ จะเบ่งบานในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ผลิดอกได้นาน 7-10 วัน เมื่อดอกสีเหลืองบานพร้อมกันทั้งต้น จะดูงดงามและส่งกลิ่นหอมชื่นใจตลอดวัน
16
ผลิใบ
ข้อมูล : www.royalparkrajapruek.org ภาพประกอบ : http://deeps.tnews.co.th
Green Mind
SMART FARM
เกษตรอัจฉริยะ
ไม่ว่าการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของโลกจะเป็นอย่างไร แต่ประเทศไทยก็ยังคงเป็นประเทศเกษตรกรรมด้วยสภาพพื้นที่ ภูมิอากาศ ตลอดจนความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านการเกษตร จนท�ำให้ประเทศไทยเป็นหนึ่งในครัวโลกที่ส�ำคัญเพราะเป็น แหล่งผลิตอาหารทางการเกษตรที่มีคุณภาพ แต่อย่างที่ทราบกันว่าสภาพภูมิอากาศที่ก�ำลังเปลี่ยนแปลงทั่วโลกจึงน่าเป็นห่วงว่า จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคการเกษตร ซึ่งในยุทธศาสตร์แผนพัฒนาการเกษตร ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 11 มีแนวคิดในการพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ มีภูมิคุ้มกันพร้อมรับความเสี่ยง ในมิติของการผลิตและการตลาด รวมทั้งมีความสามารถในการผลิตและการตลาดในระดับที่พร้อมก้าวสู่การเป็นผู้จัดการฟาร์ม มืออาชีพ โดยการน�ำเอาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ ไร่ นา สวน และฟาร์ม ให้กลายเป็นการเกษตรอัจฉริยะ หรือ Smart Farm
SMART FARM มีแนวคิดหลักคือ การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานของ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ไปจนถึงผู้บริโภค
ng odeli rop M �ำการ โลยี C ๆ มาท เทคโน �ำข้อมูลต่าง ัมพันธ์กับ ส น ซึ่งจะ หาความ กี่ยวได้ โมเดล ผลิตที่เก็บเ ผล
Eval ด้วย uatio น อ ่ ื ล ค เ บ ั ผ ข ม ล ถ ร การป n เป็นขั้น ร ปรแก ย ว ้ ด ุ๋ย โ มากน ฏิบัติก ตอนใ มลง ยอดป �้ำแบบ น การห S การให้น รือยาฆ่าแ ารถ หร อ้ ยเพยี งใ ารว่ามีปร การประ ด ห ม ะ P อ ื G �ำส่งปุ๋ย นซึ่งสา ไม่ โด ค้มุ คา่ สิทธิภ เมิน ม โ น า ก า ร ารเงิน ยใช้เทค แก่การ าพ กา ค็ปซูลน ปล่อยต ด และเ โนโลย ลงทุน แ ด้วย ุมการปล �ำหนด อ ุตสาห ศรษฐศาส ีด้าน ควบค งื่อนไขที่ก กรรม ตร์ เ
เครือ ตรวจ ข่ายเซ็นเ ซ ดาวเ วัดอากาศ อร์ สถาน ทียม เ ภาพถ ี สภาพ ครื่องสแก ่าย น ดิน
Ana าร lys ตอนใก ว เป็นขั้น รองและ ิเครา is เป็นข ก ะ ั้น ostics Diagn ัยข้อมูล สร้าง โยชน์เข้าสู่ ผลผลิต ห์ข้อมูล ตอนในก เชิงพ การ าร โลยี ็นประ วินิจฉ น ป ก เ ่ ี ท า ล ู ร ม ช้เทคโ วางแ ื้นที่ รวม ท�ำนา เก็บข้อ มักจะใ ไ ผ ง ่ ึ น ซ ล ู ศ จ ม ท ัดการ ปถึง ฐานข้อ ภูมิสารสนเ
น ขั้นตอ น ็ ป เ ง n lectio งดิน น�้ำ แส ) l o C Data ็บข้อมูลขอ o-climate การเก กาศ (micr ิต ภูมิอา และผลผล
Preci s เป็นข ion Field ั้นตอน Ope ตามแ ในการปฏิบ ration ผ น ท ว ่ ี างไว้ ัติการ
ข้อมูล : ส�ำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตร, Journal of Agricultural Extension and Communication Vol.7 No.2 (2011) 102-109
ผลิใบ
17
What the World Offer
Sustainable Development Goals (SDGs) เชื่อว่าน้องๆ คงเคยได้ยินค�ำว่า SDGs17 กันมาบ้าง และหลายคนก็คงสงสัยว่า SDGs หมายถึงอะไร และท�ำไมต้องมี ในฉบับนี้พี่ผลิใบ จะมาให้ความกระจ่างกันค่ะ SDGs ย่อมาจาก Sustainable Development Goals คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งเป็นกรอบทิศทางการพัฒนาของโลก ภายหลังปี ค.ศ. 2015 ที่องค์การสหประชาชาติ กําหนดต่อเนื่องจาก MDGs หรือเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) ที่สิ้นสุดลงเมื่อเดือนสิงหาคม 2558 และในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยสามัญ ครั้งที่ 70 ได้มีการรับรอง วาระการพัฒนาที่ยั่งยืน ค.ศ. 2030 และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อให้ประเทศต่างๆ นําไปปฏิบัติให้บรรลุผลสําเร็จ เกิดการ พัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในช่วงระยะเวลา 15 ปี (เดือนกันยายน 2558 – สิงหาคม 2573) ดังนั้นเราก็ควร ต้องทราบว่าเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 ชนิดนี้มีอะไรบ้าง มาท�ำความรู้จักกันเลยค่ะ
End poverty in all its forms everywhere ขจัดความยากจน ในทุกรูปแบบ ทุกที่
18
ผลิใบ
End hunger, achieve food security and improved nutrition and promote sustainable agriculture ขจัดความหิวโหย บรรลุเป้าความมั่นคง ทางอาหารและ โภชนาการที่ดีขึ้น และส่งเสริม เกษตรกรรมยั่งยืน
Ensure healthy lives and promote well-being for all at all ages ท�ำให้แน่ใจถึงการมี สุขภาวะในการด�ำรง ชีวิต และส่งเสริม ความเป็นอยู่ที่ดีของ ทุกคนในทุกช่วงอายุ
Ensure inclusive and quality education for all and promote lifelong learning ท�ำให้แน่ใจถึงการ ได้รับการศึกษาที่ ได้คุณภาพอย่าง เท่าเทียมและทั่วถึง และส่งเสริมโอกาสใน การเรียนรู้ตลอดชีวิต แก่ทุกคน
Achieve gender equality and empower all women and girls บรรลุถึงความ เท่าเทียมทางเพศ และเสริมสร้างพลัง ให้แก่สตรีและ เด็กหญิงทุกคน
Ensure access to water and sanitation for all ท�ำให้แน่ใจว่าเรื่องน�้ำ และการสุขาภิบาล ได้รับการจัดการ อย่างยั่งยืน และ มีสภาพพร้อมใช้ ส�ำหรับทุกคน
Ensure access to Promote Build resilient affordable, inclusive and infrastructure, reliable, sustainable promote sustainable and economic sustainable modern energy growth, industrialization for all employment and foster ท�ำให้แน่ใจว่าทุกคน and decent work innovation สามารถเข้าถึง for all พัฒนาโครงสร้าง พลังงานที่ทันสมัย ส่งเสริมการเจริญ พื้นฐานที่พร้อมรับ ยั่งยืน เชื่อถือได้ เติบโตทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลง ตามก�ำลังซื้อของตน ที่ยั่งยืนและทัว่ ถึงให้ ส่งเสริมการปรับตัว เป็นไปอย่างยั่งยืน ให้เป็นอุตสาหกรรม ส่งเสริมศักยภาพ อย่างยั่งยืนและทั่วถึง การมีงานท�ำและ และสนับสนุน การจ้างงานเต็มที่ นวัตกรรม และงานที่มีคุณค่า ส�ำหรับทุกคน
Take urgent action to combat climate change and its impacts ด�ำเนินการอย่าง เร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศและ ผลกระทบที่เกิดขึ้น
Sustainably manage forests, combat Ensure inclusive desertification, and quality education for all halt and reverse land and promote lifelong learning degradation, halt biodiversity loss อนุรักษ์และ พิทักษ์ บูรณะ ใช้ประโยชน์จาก และส่งเสริมการใช้ มหาสมุทร ทะเล ประโยชน์ที่ยั่งยืนของ และทรัพยากร ระบบนิเวศบนบก ทางทะเลส�ำหรับการ จัดการป่าไม้ ต่อสู้กับ พัฒนาให้เป็นไป การแปรสภาพ อย่างยั่งยืน
ข้อมูลและภาพประกอบ จาก www.un.org www.manpattanalibrary.com
Reduce inequality within and among countries ลดความเหลื่อมล�้ำ ทั้งภายในและ ระหว่างประเทศ
Make cities inclusive, safe, resilient and sustainable ท�ำให้เมืองและ การตั้งถิ่นฐาน ของมนุษย์ มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงและ ยั่งยืน
Ensure sustainable consumption and production patterns ท�ำให้แน่ใจถึงการ มีแบบแผนการผลิต และการบริโภค ที่ยั่งยืน
เป็นทะเลทราย หยุดยั้งและฟืน้ ฟู ความเสือ่ มโทรมของ ที่ดิน และหยุดยั้ง การสูญเสีย ความหลากหลาย ทางชีวภาพ
Promote just, peaceful and inclusive societies ส่งเสริมให้สังคม Revitalize the มีความเป็นปกติสุข global ไม่แบ่งแยก เพื่อการ partnership for พัฒนาที่ยั่งยืน มีการ sustainable เข้าถึงความยุติธรรม development โดยถ้วนหน้า และ เสริมสร้างความ สร้างให้เกิดสถาบัน เข้มแข็งในวิธีการ อันเป็นที่พึ่งของ ปฏิบัติให้เกิดผล และ ส่วนรวม มีประสิทธิผล สร้างพลังแห่งการ และเป็นที่ยอมรับ เป็นหุ้นส่วน ในทุกระดับ ความร่วมมือระดับ สากลต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ผลิใบ
19
Green Innovation
AgriTech
.0 4 ย ท ไ น ค อ ่ ื พ เ ร ต ษ นวัตกรรมการเก AgriTech หรือ Agriculture Technology คือ เทคโนโลยีทางการเกษตร ที่ในปัจจุบันทั่วโลกก�ำลังนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ
เพราะถือว่า เป็นโมเดลธุรกิจที่ช่วยให้ผู้ประกอบการด้านการเกษตรได้มีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาบริหารจัดการเพื่อเพิ่มคุณภาพของการผลิต ตลอดจนเพิ่มรายได้ของเกษตรกรไปพร้อมๆ กัน เรามาดูกันค่ะว่า AgriTech ถูกน�ำมาใช้ในด้านการเกษตรอย่างไรบ้าง
การควบคุมโรคและศัตรูพืช
เป็นการน�ำเอาเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันโรคและศัตรูพืช เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพสูง การระบุอาการของโรคและการเตือนเมื่อเกิดปัญหา เพื่อการแก้ไขที่ทันท่วงที โดยมีเครื่องมือที่จะคอยดูตัวชี้วัดทาง ธรรมชาติต่างๆ จากนั้นถ่ายทอดข้อมูลเซนเซอร์ไปยังศูนย์กลางข้อมูลที่จัดไว้เป็นในชุดของอัลกอริทึม ซึ่งระบบ จะจัดเก็บ เจาะรายละเอียดข้อมูลและท�ำนายผลลัพธ์ออกมา ให้ผู้ใช้อ่านผลได้โดยการเข้าระบบ PreDiVine ได้ทั้ง บนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน
การตรวจสอบสถานะน�้ำและคุณภาพของดิน
Internet of Things ใช้ฮาร์ดแวร์เซ็นเซอร์ท�ำงานร่วมกับซอฟแวร์เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจผ่านเทคโนโลยี Cloud การผสมผสานเซนเซอร์ตา่ งๆ ส�ำหรับเรือ่ งอุณหภูมิ ความชืน้ ของดิน สารอาหาร อากาศ และอีกมากมาย ท�ำให้ เกิดระบบการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น กระถางปลูกต้นไม้อจั ฉริยะทีม่ เี ซนเซอร์คอยตรวจจับสภาพของต้นไม้วา่ ต้นไม้ได้รบั น�ำ้ หรือแสงแดด เพียงพอหรือไม่ หรือสภาพของดินดีหรือเปล่า เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงท�ำนาย การวิเคราะห์เชิงความหมาย และ ระบบ AI เพื่อให้มีระบบแจ้งเตือนส�ำหรับเกษตรกร
การส�ำรวจทางอากาศเพื่อหาความผิดปกติ
เป็นเทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับ หรือ UAV (Unmanned Aerial Vehicle) ที่คอยบินสังเกตการณ์ฟาร์ม โดยสามารถบันทึกสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กษตรกรควรรู้ ด้วยเซนเซอร์การมองเห็น เซนเซอร์ Multi-spectrum เซนเซอร์อณ ุ หภูมิ และ LIDAR ที่สามารถวัดความสูงที่เติบโตขึ้นของพืชผล ต้นไม้ และสิ่งอื่นๆ ได้
บรรจุภัณฑ์และการขนส่ง
ปั ญ หาของเกษตรกรก็ คื อ การเน่ า เสี ย การสุ ก การเกิ ด เชื้ อ โรคของพื ช ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น รถหว่ า งการขนส่ ง ซึ่งเราไม่สามารถดูสินค้าแบบเรียลไทม์ได้ และไม่สามารถปรับเปลี่ยนสภาพในตู้สินค้าระหว่างขนส่งได้ แต่ในปัจจุบัน มีการใช้โอโซนเข้าช่วย โดยโอโซนจะท�ำการออกซิไดซ์การเน่าและจุลิทรีย์ที่ท�ำให้เกิดโรค ส่งผลให้การเน่าของพืชผล ลดลง ทั้งยังช่วยเอาก๊าซเอธิลีนออก ซึ่งช่วยควบคุมการสุกของผลไม้ได้ ที่ส�ำคัญยังมีการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการ ติดตามการขนส่งสินค้าได้แบบ Real-time ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงที่หมาย
20
ผลิใบ
ขอบคุณข้อมูลจาก : https://techsauce.co/agriculture/4-areas-agritech-startups-are-innovating-in
กองทุ น สุ ข ภาพกั บ สภาวะโลกร้ อ นที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยมู ล นิ ธิ ส ถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มไทย (Thailand Environment Institute Foundation : TEI) ร่วมกับองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) ได้ให้การสนับสนุนการศึกษาวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อนในหัวข้อ “ผลของสภาวะโลกร้อน ต่อระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ” โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สนับสนุนให้เยาวชนมีความพร้อมในการด�ำเนินงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับภาวะโลกร้อน ที่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพอันเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในระดับท้องถิ่นของตน ตลอดจนพัฒนาให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน และขยายผลไปสู่ภาคประชาชนและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงความส�ำคัญในการเตรียมความพร้อม เพื่อรับมือกับปัญหา ดังกล่าวที่จะเกิดขึ้น โดยได้ด�ำเนินการมอบทุนสนับสนุนการด�ำเนินโครงงานวิจัยให้กับโรงเรียนต่างๆ มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 จนถึงปัจจุบัน และยังคงสานการด�ำเนินงานต่อเนื่องในปีต่อๆ ไป เพื่อสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีความรู้ความสามารถในการด�ำเนินงานวิจัย ซึ่งในปี พ.ศ.2559 คณะกรรมการ กองทุนฯ ได้พิจารณาตัดสินมอบรางวัลงานวิจัยดีเด่น ให้กับโครงงานวิจัยเรื่อง “ขี้เค้ก Adding Protein” จากโรงเรียนสิชลคุณาธารวิทยา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีรายละเอียดดังนี้ ชื่อโครงงานวิจัย ชื่อผู้ท�ำโครงงานวิจัย
ขี้เค้ก Adding Protein นางสาวกัญจพร กิ้มเส้ง นักเรียน นายเจษฎากร หมี่นแก้ว นักเรียน นางสาวนลพรรณ สมเขาใหญ่ นักเรียน นายอดิศักดิ์ บุญพิศ ครู นายปิยะรัฐ อารมย์ ครู
บทคัดย่อ โครงงานวิจัย ขี้เค้ก Adding Protein เกิดจากผู้ศึกษาสังเกตเห็นว่าโรงงานสกัดปาล์มน�้ำมันใน ท้องถิ่นใช้ประโยชน์จากกากผลปาล์มที่เหลือจากการสกัดปาล์มน�้ำมันน้อยมาก คือ น�ำไปขายให้เกษตรกร ราคาถูก เกษตรกรจะน�ำมาใช้เป็นอาหารสัตว์ แต่คุณค่าสารอาหารในขี้เค้กมีปริมาณน้อย จึงไม่เป็นที่นิยม ในการน�ำมาเลี้ยงสัตว์มากนัก ทางคณะผู้วิจัยมีความสนใจที่จะน�ำขี้เค้กไปเพิ่มปริมาณโปรตีนด้วยวิธีการ หมักยีสต์และยูเรีย การศึกษาในครั้งนี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระยะเวลาต่างๆ ในการหมักขี้เค้กด้วยยีสต์ และยูเรียว่าระยะเวลาใดมีปริมาณโปรตีนสูงทีส่ ดุ จากนัน้ น�ำไปใช้เลีย้ งปลาดุก โดยเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ของปลาดุกระหว่างเลีย้ งด้วยอาหารส�ำเร็จรูปกับขีเ้ ค้ก อัตราส่วน 50:50 กับปลาดุกระหว่างเลีย้ งด้วยอาหาร ส�ำเร็จรูป นอกจากนี้ยังศึกษาการแปลงสภาพของขี้เค้กระยะเวลาต่างๆ ที่ได้จากการหมัก รวมศึกษา ความพึงพอใจของเกษตรกรในท้องถิน่ ในการน�ำขีเ้ ค้กทีห่ มักด้วยยีสต์และยูเรียไปทดลองใช้เป็นอาหารแพะ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ 1) แบบบันทึกผลสัมภาษณ์เกษตรกรในท้องถิ่นในการเลี้ยงสัตว์ 2) แบบบันทึกผลการวิเคราะห์โปรตีนในขี้เค้ก 3) แบบบันทึกการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของปลาดุก ระหว่างปลาดุกทีเ่ ลีย้ งด้วยอาหารส�ำเร็จรูป 100 เปอร์เซ็นต์กบั ปลาดุกทีเ่ ลีย้ งด้วยขีเ้ ค้กและอาหารส�ำเร็จรูป ในอัตราส่วน 50: 50 4) แบบสังเกตการเปลี่ยนแปลงสภาพของขี้เค้กที่หมักครบในระยะเวลาต่างๆ 5) แบบสังเกตความพึงพอใจของเกษตรกรในการน�ำขี้เค้กมาใช้ในการเลี้ยงแพะ 6) แบบสอบถามความ พึงพอใจของเกษตรกรในการน�ำขี้เค้กมาใช้ในการเลี้ยงแพะ 7) แบบสัมภาษณ์ความพึงพอใจของเกษตรกร ในการน�ำขี้เค้กมาใช้ ผลการศึกษาพบว่า การเพิ่มโปรตีนในขี้เค้กด้วยวิธีการหมักยีสต์และยูเรีย ระยะเวลาที่มีโปรตีน มากทีส่ ดุ คือ ระยะเวลา 4 สัปดาห์ หรือ 28 วัน ส่วนการเจริญเติบโตของปลาดุกทีเ่ ลีย้ งด้วยอาหารส�ำเร็จรูป กับขี้เค้กอัตราส่วน 50:50 มีความเจริญเติบโตมากกว่าปลาดุกเลี้ยงด้วยอาหารส�ำเร็จรูปอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติ ขี้เค้กที่หมักเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์มีระยะเวลาการคงสภาพของขี้เค้กที่น�ำไปใช้งานได้นานที่สุด คือ 10 วัน ส่วนความพึงพอใจของเกษตรกรในการน�ำขี้เค้กไปใช้เลี้ยงแพะเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ผลิใบ
21
NT
INABLE M A T S U S O r VEM fo E
22
ผลิใบ
องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/
Evolution Fun Facts
ปั
จจุบันแม้มนุษย์จะพยายามกลับคืนสู่วิถีธรรมชาติ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ายังมีสิ่งสังเคราะห์ประเภทพลาสติกเข้ามา เกี่ยวข้อง หรือเป็นส่วนประกอบข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันอยู่ดี ทั้งนี้ก็เพราะพลาสติกมีคุณสมบัติที่ โดดเด่น คือ มีน�้ำหนักเบาท�ำให้สะดวกต่อการใช้งาน และการขนส่ง นอกจากนี้ยังมีความทนทานอยู่ได้เป็นเวลานาน มนุษย์จึง น�ำเอาพลาสติกมาแทนที่วัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ และไม้ การทีพ่ ลาสติกมีอายุยาวนานนีเ่ องจึงส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากต้องใช้เวลาในการย่อยสลายยาวนาน นับร้อยปี อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าเราจะพยายามลดการใช้พลาสติกลงบ้าง แต่พลาสติกก็ยังคงเป็นส่วนประกอบส�ำคัญในภาค อุตสาหกรรมของทุกประเทศ น้องๆ ลองสังเกตรอบๆ ตัวดูนะคะ ว่าตั้งแต่ตื่นนอนมาเราต้องใช้อะไรบ้างที่เป็นพลาสติกเป็นส่วน ประกอบ ทีนี้คงอยากทราบแล้วใช่ไหมคะว่าใครนะเป็นคนคิดค้นวัสดุชนิดนี้ขึ้นมา
เรื่องน่ารู้ของพลาสติก ในชีวิตประจ�ำวันมีพลาสติก เข้ามาเกี่ยวข้องมากมาย
พลาสติกท�ำมาจากอะไร ?
(พลาสติก คือ พอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ขึ้นมา)
พลาสติกเป็นวัสดุที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น โดยการน�ำ วัตถุดิบที่ได้จากธรรมชาติ เช่น น�้ำมันปิโตรเลียม มา แยกเป็นสารประกอบบริสุทธิ์หลายชนิด ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นสารประกอบระหว่างคาร์บอน (ถ่าน) กับก๊าซ ไฮโดรเจน เมื่อน�ำเอาสารประกอบแต่ละชนิด มาท�ำ ปฏิกิริยาให้มีลักษณะต่อๆ กันเป็นเส้นสายยาวมากๆ ก็จะได้วสั ดุทมี่ สี มบัตเิ ป็นพลาสติก พลาสติกทีเ่ กิดจาก สารประกอบที่ต่างกันจะมีสมบัติแตกต่างกันไปด้วย และพลาสติกบางชนิด อาจเกิดจากสารประกอบ มากกว่า 1 ชนิดก็ได้
ค.ศ.1839 Charles Goodyear นักประดิษฐ์ชาวอเมริกนั ได้พบ ผลส�ำเร็จในการปรับปรุงสมบัติ ของยางธรรมชาติ โ ดยผสม ก�ำมะถันกับยางธรรมชาติและ ให้ความร้อนด้วยวิธวี ลั คาไนเซชัน (vulcanization) ยางที่ ผ ่ า น กระบวนการนี้มีสมบัติดี และ ใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง จนกระทั่งทุกวันนี้
มากกว่าที่เห็นทั้งหมดนี้
ผลิใบ
23
ค.ศ. 1843
William Montgomerie ได้เล็งเห็นถึง ประโยชน์ ข องกั ต ตา – เปอร์ ช า (Gatta – percha) ซึง่ เป็นพอลิเมอร์ ที่ ไ ด้ จ ากต้ น ไม้ ใ นมาเลเซี ย ใช้ ประโยชน์ทำ� สายเคเบิลในเรือด�ำน�ำ้
ค.ศ. 1851
Nelson (น้องชายของ Charles Goodyear) ได้ผสมก�ำมะถันใน ปริมาณที่มากขึ้นได้ยางที่แข็งมากเรียกว่ายางแข็งหรือ อีโบไนต์ (Ebonite) ซึ่งมีสมบัติเป็นพลาสติก อีโบไนต์พลาสติก (จ�ำพวก Thermoset) เป็ น พลาสติ ก ชนิ ด แรกที่ ม นุ ษ ย์ ท� ำ ขึ้ น จากวั ส ดุ พอลิเมอร์ที่มีในธรรมชาติ
ค.ศ. 1862
Alexander Parks ชาวอังกฤษ ได้เปิดตัว พาร์เคซีน (Parkesine) ในงาน Great International Exhibition กรุงลอนดอน เขาได้ค้นพบ พาร์ เ คซี น และได้ จ ดทะเบี ย นไว้ ใ นปี ค.ศ. 1861 โดยอ้างว่าเป็นพลาสติกชนิดใหม่ท�ำโดยมนุษย์ และ สามารถท�ำทุกอย่างทีย่ างท�ำได้ แต่มขี อ้ ดีคอื พาร์เคซีน สามารถท�ำให้เป็นสีและสามารถขึน้ รูปให้มลี กั ษณะต่างๆ ได้ ซึง่ ชิน้ งานยาง วัลคาไนส์มักจะมีสีด�ำไม่สวยงาม พาร์เคซีนเป็นวัสดุชนิดเซลลูโลสไนเตรต (cellulose nitrate) มีสีคล้ายงาช้าง ยืดหยุ่นได้คล้ายยางและสามารถ กันน�้ำได้
ค.ศ. 1891
Louis Marie Hilaire Berniguat ได้คดิ ค้นเส้น ใยเรยอน (Rayon) ซึ่งเป็นเส้นใยสังเคราะห์ชนิด แรก โดยเขาได้พยายามสร้างของเหลว (ดัดแปลง มาจากเซลลูโลส) ทีม่ สี มบัตคิ ล้ายกับของเหลวธรรมชาติ ของหนอนไหมและให้ไหลผ่านเครื่องมือที่มีรูเล็กๆ ขนาดเท่าเส้นใยที่ สามารถน�ำมาฟั่นให้เป็นไหมได้ ผลที่ได้เป็นที่น่าพึงพอใจ คือเมื่อสัมผัส เส้นใยแล้วให้ความรู้สึกเหมือนไหม ต่อมา Charles Topham ได้แก้ไข ปัญหาของเส้นใยที่ติดไฟง่าย และผลิตขายได้ในปี ค.ศ. 1892
24
ผลิใบ
ค.ศ. 1866
John Wesley Hyatt นักประดิษฐ์ชาว อเมริกัน ได้รับการตัดสินให้เป็นผู้ชนะการ ประกวดการประดิษฐ์ลกู บิลเลียดชิงรางวัลใน สหรัฐอเมริกา ส�ำหรับผู้ที่หาวัสดุราคาถูกมา ใช้แทนลูกบิลเลียดที่เดิมท�ำด้วยงาช้างซึ่ง หายากขึน้ ทุกวัน เขาประดิษฐ์ลกู บิลเลียดด้วย สารที่เขาตั้งชื่อว่า เซลลูลอยด์ (celluloid) ไม่ ช ้ า ก็ มี ก ารค้ น พบประโยชน์ อื่ น ๆ ของ เซลลูลอยด์ เช่น ท�ำกรอบแว่นตา ด้ามมีด แผงบังลมรถ และฟิล์มถ่ายภาพซึ่งหากไม่มี เซลลูลอยด์อตุ สาหกรรมภาพยนตร์คงไม่มวี นั เกิดขึ้นมาได้ อย่างไรก็ตามเซลลูลอยด์ไม่ใช่ สารสั ง เคราะห์ ล ้ ว น เพราะใช้ วั ต ถุ ดิ บ เซลลูโลสที่มีในพืช
ค.ศ. 1907
Leo Hendrick Baekeland ประสบความส�ำเร็จในการท�ำ พอลิ เ มอร์ สั ง เคราะห์ (พลาสติ ก ) ชนิ ด แรก โดยใช้ ฟ ี น อล (Phenol) ท�ำปฏิกิริยาควบแน่นกับฟอร์มัลดีไฮด์ (Formaldehyde) ผลิตภัณฑ์ที่ได้เรียกว่าแบกเคลไลต์ (Bakelite) เป็นพลาสติกชนิดแรกที่สังเคราะห์ขึ้นเพื่อใช้ในทางการค้า Baekeland เป็นนักเคมี ชาวเบลเยียม ต่อมาได้มาตัง้ รกรากอยูท่ นี่ วิ ยอร์ก ประเทศอเมริกา การค้นพบของ Baekeland กระตุน้ ให้เกิดการผลิตพลาสติกชนิดอื่นๆ ตลอดจนการเติบโตของอุตสาหกรรมพลาสติกในปัจจุบัน
ค.ศ. 1913
Dr. Jacques Edwin Brandenberger วิศวกร ชาวสวิสเซอร์แลนด์ ได้คน้ พบ เซลโลเฟ (Cellophane) แผ่ น พลาสติ ก ที่ มี ค วามใส โดยเขามีแรงบันดาลใจมาจาก เหตุ ก ารณ์ เ มื่ อ เขาสั ง เกตเห็ น ลู ก ค้ า ในร้ า นอาหาร แห่งหนึ่งท�ำไวน์หกรดลงบนผ้าปูโต๊ะ ซึ่งบริกรรีบน�ำ ผ้าผืนใหม่มาเปลีย่ นให้ทนั ทีและทิง้ ผืนเก่าทีเ่ ลอะเทอะ ไป เขาจึ ง มุ ่ ง มั่ น ว่ า จะต้ อ งค้ น หาวั ส ดุ ที่ ส ามารถ ท�ำความสะอาดได้ง่ายเพียงแค่เช็ดออกเพื่อป้องกัน อุบัติเหตุเหล่านี้ โดยขั้นแรกเขาได้ผสมสารวิสคอส (Viscose ซึ่งเป็นอนุพันธ์หนึ่งของเซลลูโลส) ลงในผ้า แต่ผลปรากฏว่าวัสดุท่ีได้แข็งเกินกว่าที่จะใช้งานได้ ต่อมาเขาได้พฒ ั นาเครือ่ งจักรทีส่ ามารถขึน้ รูปวิสคอส ให้เป็นแผ่นบางๆ จนได้แผ่นเซลโลเฟนใสที่น�ำมาใช้ ห่อหุ้มสินค้าและอาหารดังที่เห็นทุกวันนี้
ค.ศ. 1929
กลุ่ม I.G. Farbenindustrie AG ซึ่ ง เป็ น กลุ ่ ม ของอุ ต สาหกรรม ด้านเคมีของประเทศเยอรมัน ได้ ร่ ว มมื อ กั น คิ ด ค้ น วิ ธี ก ารเตรี ย ม พอลิสไตรีน (Polystyrene, PS) ขึน้ โดยการน�ำของ Herman Mark จากนั้นในปี ในปี ค.ศ. 1931 บริษัท BASF ได้ท�ำ ผลิตภัณฑ์ชนิ้ แรกจากพอลิสไตรีนออกสู่ 3 ตลาด ในขณะเดียวกันบริษทั Dow Chemical Company ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ ของพอลิสไตรีนขึน้ เช่นกัน แต่ใช้เวลานานพอสมควร และได้ผลิตเป็นสินค้าชิ้นแรกออกสู่ท้องตลาดใน ปี ค.ศ. 1935 ในปัจจุบนั นีผ้ ลิตภัณฑ์ของพอลิสไตรีน มีมากมายหลายรูปแบบ เช่น ของเล่นเด็ก ส่วนประกอบภายนอก ของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ตลอดจนบรรจุ ภั ณ ฑ์ และแก้ ว โฟมใส่ เครื่องดื่ม
ผลิใบ
25
ค.ศ. 1930
Waldo Lonsbury Semon ค้นพบพอลิไวนิลคลอไรด์ หรื อ พี วี ซี (Polyvilnyl Chloride, PVC) โดยเขา ได้พบการท�ำให้แผ่นพีวีซี บางในขณะที่ยังเหนียวและ นิ่ม การใช้งานในช่วงแรก ที่ส�ำคัญ คือ การน�ำไปใช้ ในการสร้ า งเขื่ อ นกั้ น น�้ ำ และหลั ง สงครามโลกครั้งที่สองพีวีซีได้เข้ามี บทบาทส�ำคัญโดยน�ำมาท�ำเป็นวัสดุ หุ้มสายเคเบิ้ลทดแทนยางธรรมชาติ ทีข่ าดแคลนในขณะนัน้ จากนัน้ พีวซี ี ยังถูกน�ำมาท�ำเป็นหนังเทียมเพื่อใช้ หุ้มเก้าอี้โซฟา พีวีซีได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายเนื่องจากเป็นวัสดุที่ มีราคาถูก ทนทาน ติดไฟได้ยาก และ สามารถขึ้นรูปได้ง่าย
ค.ศ. 1935
Wallace Hume Carothers นักเคมีจากมหาวิทยาลัย ฮาเวิรด์ (ต่อมาได้มาท�ำงานเป็นหัวหน้าห้องปฏิบตั กิ ารเคมี ให้แก่บริษัทยักษ์ใหญ่ Du Pont Company) ทั้งนี้ Julian Hill นักวิจัยในกลุ่ม ของคาร์โรเทอร์ได้เตรียมไนลอนเพื่อใช้ ทดแทนเส้นใยจากธรรมชาติ เช่น ใยไหม ในตอนแรกนั้นเขา เรียกเส้นใยชนิดนี้ว่า เส้นใย 66 (Fiber 66) Carothers ได้เล็งเห็นว่าเส้นใยมีคุณสมบัติที่ดีและสามารถ น�ำมาท�ำเป็นถุงน่องได้ ดังนั้นบริษัทดูปองท์ จึงส่งผลิตภัณฑ์ นี้ออกสู่ตลาดในปี ค.ศ.1939 ราคาคู่ละ 1 ดอลลาร์ ผล ปรากฏว่าสามารถขายได้ถึง 5 ล้านคู่ภายในวันแรก เท่านั้น และเมื่อสหรัฐอเมริกา เข้ า สู ่ ส งครามโลกครั้ ง ที่ 2 ไนลอนมีความส�ำคัญเป็นอย่าง มาก คือเป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการ ท�ำร่มชูชีพ เนื่องจากมีความ คงทนสูง
ค.ศ. 1933
Ralph Wiley คนงานในห้องปฏิบตั กิ ารของบริษทั Dow Chemical ได้ ค ้ น พบพลาสติ ก ชนิ ด ใหม่ คื อ พอลิ ไ วนิ ล ลิ ดี น คลอไรด์ (Polyvinylidene Chloride, PVDC) หรือชือ่ ทางการค้าว่า “Saran” คุณสมบัติที่เด่นของ PVDC คือ การแพร่ผ่านของน�้ำและก๊าซต่างๆ ต�่ำ ตลอดจนทนต่อสารเคมีและตัวท�ำละลายต่างๆ ได้ดี ในช่วงแรก จึงได้นำ� มาใช้เคลือบบนเครือ่ งมือทางทหารเพือ่ ป้องกันการกัดกร่อน เมื่อสัมผัสกับไอเกลือจากทะเล หลังจากนั้นได้ดัดแปลงมาใช้กับอาหาร โดยท�ำเป็นฟิล์มบางห่อหุ้มภาชนะเพื่อยืดอายุของ อาหาร นับว่าเป็นการประยุกต์ใช้แผ่นฟิล์ม PVDC ที่เป็นประโยชน์และเป็นที่รู้จัก กันแพร่หลายในปัจจุบัน
26
ผลิใบ
ค.ศ. 1933
Reginald Gibson และ Eric Fawcett 2 นักวิจัยได้ค้นพบพอลิเอทิลีนขึ้ น โดย บังเอิญในห้องปฏิบัติการทางเคมีของ ICI (Imperial Chemical Industries) การค้น พบพอลิ เ อทิ ลี น ชนิ ด ความหนาแน่ น ต�่ ำ (Low Density Polyethylene, LDPE) ของพวกเขามีผลกระทบต่อโลกเป็นอย่าง มาก ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ใช้เป็นวัสดุหมุ้ สายเคเบิล้ ใต้นำ�้ และเป็นฉนวนส�ำหรับเรดาร์ เพราะพอลิเอทิลีนมีสมบัติเบาและเป็นฉนวนที่ดี นอกจากนี้พอลิเอทิลีนยังเป็นเทอร์มอ พลาสติกทีส่ ามารถขึน้ รูปได้งา่ ย หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 พอลิเอทิลนี ได้รบั ความนิยมอย่าง มากมาย มากกว่าทีไ่ อซีไอคาดหวังไว้ พอลิเอทิลนี กลายเป็นพลาสติกทีม่ ยี อดขายถึงพันล้าน ปอนด์ในประเทศอเมริกา และเป็นพลาสติกที่มีปริมาณการใช้สูงสุดในโลก ทุกวันนี้เราจะ เห็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ จากพอลิเอทิลนี มากมายในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น ขวดน�ำ้ อัดลม ถัง ภาชนะ ใส่อาหาร ตลอดจนถุงพลาสติกที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย
ค.ศ. 1941
J. T. Dickson และ J. R. Whinfield จากบริษทั Calico Printers ประเทศอังกฤษ ได้พฒ ั นา Poly (Ethylene Terepathalate) หรือ PET ขึ้นบน รากฐานของ Polyester โดยเริ่มแรก PET ที่ เตรียมขึ้นถูกน�ำมาใช้ในรูปของเส้นใย จากนั้น สามารถขึ้นรูปเป็นแผ่นฟิล์มได้ และ PET ได้รับการส่งสริมอย่างครึกโครมเมื่อได้ขึ้นรูปแบบ Blow Molding ที่สามารถท�ำให้การจัดเรียงของเส้นสายโมเลกุลเป็นไปอย่างระเบียบ มากขึ้น ส่งผลให้มีสมบัติเป็นขวดที่ดีโดยเฉพาะส�ำหรับบรรจุน�้ำอัดลมเนื่องจากมีค่าการ แพร่ผ่านของก๊าซต�่ำมาก ท�ำให้น�้ำอัดลมที่เราต้องการดื่มสามารถเก็บได้นาน
ค.ศ. 1938
Roy Plunkett นักวิจัยจากบริษัท ดูปองท์ ได้ค้นพบ พลาสติ ก ชนิ ด ใหม่ ด ้ ว ยความ บั ง เอิ ญ เช่ น กั น นั่นคือ เทฟลอน (Teflon) ซึง่ นิยมใช้ ท�ำเป็นเครื่องใช้ในครัว Plunkett พบว่าก๊าซฟรีออน (Freon) ผ่านท่อเย็นทีท่ งิ้ ไว้ขา้ ม คืน เกิดผงสีขาว (เทปล่อน) ขึ้น ภายในท่อ พลาสติกชนิดใหม่นี้ มีคุณสมบัติพิเศษคือ สามารถ ทนต่อกรด สารเคมีต่างๆ รวม ทั้งอุณหภูมิสูงและต�่ำได้ดี เป็น ฉนวนที่ ดี และมี พื้ น ผิ ว ที่ ลื่ น ท�ำให้สารต่างๆ เกาะติดได้ยาก จึงนิยมน�ำมาเคลือบบนผิวของ หม้อ กระทะ และภาชนะต่างๆ เพื่อให้ท�ำความสะอาดได้ง่าย
ค.ศ. 1954
Guilio Natta นั ก เคมี ช าว อิตาลี ประสบความส�ำเร็จใน การเตรียมพอลิโพรพิลีน จากก๊าซโพรพิลีนที่ได้จากการแยกปิโตรเลียม โดยใช้ตัว เร่งที่คิดค้นโดย Karl Ziegler นักเคมีชาวเยอรมัน ผู้ประสบความส�ำเร็จในการ เตรียมพอลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง ซึ่ง Ziegler และ Natta ได้รับรางวัล โนเบลร่วมกันในปี ค.ศ. 1963 จากการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาพอลิโพรพิลีน เป็นพลาสติก โดยมีสมบัติคล้ายพอลิเอทิลีนแต่ทนความร้อนได้สูงกว่า ทนต่อการ พับงอมีความเหนียวและขาดยาก ส่งผลให้มีการนิยมน�ำพอลิโพรพิลีนมาใช้ท�ำ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ ผลิใบ
27
The Question Mark
Nas a
ค้นพ บดาวเคราะห์
ล้ เ ก ค ใ ียงกับ ะ ณ ษ โลก ลี ัก ม วง ด 7 f
b c
d
g
e
ในวันพุธที่ 22 ก.พ. ที่ผ่านมา NASA ได้มีการประกาศการค้นพบที่ ยิง่ ใหญ่อกี ครัง้ ซึง่ ในครัง้ นีไ้ ม่เหมือนกับการค้นพบดาวเคราะห์ดวงอืน่ ๆ ทีผ่ า่ นมา เพราะมีการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบขนาดเท่าโลกถึง 7 ดวง และมี ความเป็นไปได้มากสุดทีส่ งิ่ มีชวี ติ จะสามารถอาศัยอยูไ่ ด้ โดยมีความน่าจะเป็น ว่าจะพบน�้ำหรือของเหลวที่เป็นปัจจัยส�ำคัญของสิ่งมีชีวิตบนดาวถึง 3 ดวง เนื่องจากมีระยะห่างจากโลกเพียง 40 ปีแสง หรือประมาณ 235 ล้านล้านไมล์ ซึ่งถือว่าไม่ได้ไกลจากโลกมากนัก NASA ได้ตงั้ ชือ่ ของระบบสุรยิ ะนีว้ า่ TRAPPIST-1 (แทรพพิสต์-วัน) โดย ตั้งมาจากชื่อกล้องโทรทรรศน์ Transiting Planets and Planetesimals Small Telescope ของประเทศเบลเยียมทีต่ งั้ อยูใ่ นประเทศชิลี ซึง่ ในตอนแรก ค้นพบดาวเพียง 2 ดวงในปี 2016 และต่อมากล้อง Spitzer Space Telescope ของ NASA ก็คน้ พบอีก 5 ดวง (กล้องตัวนีอ้ ยูใ่ นอวกาศ) ถึงแม้กล้องของ NASA จะค้นพบเพิ่มเข้ามาอีก แต่ NASA ก็ตั้งชื่อเป็นเกียรติแก่กล้อง TRAPPIST ที่ ได้พบเป็นครั้งแรก จึงเป็นที่มาของ TRAPPIST-1 ซึ่งในขณะนี้ดาวเคราะห์ ทั้ง 7 ดวงยังไม่มีชื่ออย่างเป็นทางการ มีเพียงการเรียงตัวอักษร b-h ไว้เท่านั้น ดาวฤกษ์ของ TRAPPIST-1 เป็นดาวฤกษ์ดาวแคระ (Dwarf Planet) ที่มีขนาดไม่ใหญ่มากนัก (หากเทียบกับดวงอาทิตย์มีขนาดเพียง 8% ของ ดวงอาทิตย์) ถือเป็นดาวฤกษ์ก�ำเนิดใหม่ ที่มีอายุเพียงประมาณ 500 ล้านปี (ดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 10,000 ล้านปี) และมีแสงสว่างเทียบไม่ได้กับ ดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมิที่เย็นกว่าดวงอาทิตย์ ซึ่งเย็นขนาดดาวเคราะห์ที่ อยูใ่ กล้มากทีส่ ดุ จะอาจมีของเหลวอยูไ่ ด้ (หากเทียบกับระบบสุรยิ ะของเราดาว พุธทีอ่ ยูใ่ กล้ดวงอาทิตย์มากทีส่ ดุ ไม่มที างเป็นไปได้เลยว่าจะมีนำ�้ หรือของเหลว 28
ผลิใบ
h
เพราะความร้อนจากดวงอาทิตย์นั้นร้อนจนท�ำให้ไม่มีความชื้นบนพื้นผิวดาวเหลืออยู่เลย) และดาวเคราะห์ทั้ง 7 ดวงอยู่ไม่ห่างจาก ดาวฤกษ์มากนัก ที่น่าสนใจคือเคราะห์ที่ว่านี้หันหน้าเข้าหาดาวฤกษ์เพียงข้างเดียว กล่าวคือ ส่วนที่เป็นกลางวันก็จะเป็นกลางวัน ตลอด กลับกันส่วนที่เป็นกลางคืนก็จะเป็นกลางคืนตลอดเช่นกันค่ะ สรุปการค้นพบให้เข้าใจได้ง่าย ดังนี้ค่ะ ดาวฤกษ์หลักของระบบ TRAPPIST-1 เป็น ดาวเคราะห์แดง คือมีมวลและขนาดเล็กกว่า ดวงอาทิตย์มาก และปล่อยแสงในย่านแสง สีแดง จึงเรียกดาวแคระแดง ในบรรดาดาวเคราะห์ทั้ง 7 ดวงนี้ พบว่ามีจำ� นวนถึง 3 ดวงทีอ่ ยูใ่ นระยะ ทีเ่ อือ้ ต่อกาก�ำเนิดสิง่ มีชวี ติ คือ อยูใ่ น ระยะทีน่ ำ�้ สามารถอยูใ่ นสถานะของเหลว ได้ เช่น ไม่ใกล้ดาวแม่มากจนน�ำ้ ถูก ความร้อนเผาจนกลายเป็นไอไปเสียหมด เช่น ดาวพุธ หรืออยูไ่ กลจนความร้อน จากดาวแม่แผ่ไปไม่ถึงจนกลายเป็นน�้ำ แข็งไปเสียทัง้ หมด เช่นดาวพลูโต
ระบบดาวเคราะห์นี้เรียกว่า “TRAPPIST-1” เป็นระบบทีม่ ดี าวฤกษ์เพียงดวงเดียว (คล้าย ระบบสุริยะที่มีดวงอาทิตย์เพียงดวงเดียว) ซึ่งท�ำให้ระบบไม่ซับซ้อนจึงเอื้อต่อการเกิด สิง่ มีชวี ติ มากกว่าระบบทีม่ ดี าวฤกษ์หลายดวง
ระบบ TRAPPIST-1 นี้อยู่ห่างจากโลก ประมาณ 40 ปีแสง ซึง่ ถือว่าอยูไ่ ม่ไกลมาก จนเกินไปนัก ท�ำให้สามารถส�ำรวจจากกล้อง โทรทั ศ น์ บ นโลกได้ง่า ย และในอนาคต อั น ไกลโพ้ น หากเทคโนโลยี พ ร้ อ ม เรา อาจสามารถเดินทางไปถึงได้
เนื่องจากดาวฤกษ์หลักเป็นดาวแคระแดง ซึ่งมีมวลและขนาดเล็กกว่าดวงอาทิตย์มาก จึงท�ำให้วงโคจรของดาวเคราะห์ทงั้ 7 ขยับ เข้ามาใกล้ก ว่าระบบสุริยะของเรา โดย ดาวเคราะห์ TRAPPIST-1h ซึง่ อยูไ่ กลทีส่ ดุ จะมีวงโคจรใกล้ดาวฤกษ์มากกว่าวงโคจรของ ดาวพุธกับโลก
ทีม่ า : https://pantip.com/topic/36141764 www.voathai.com www.nationtv.tv www.thairath.co.th ภาพประกอบ : www.nationtv.tv www.thairath.co.th www.freepik.com
ระบบนีป้ ระกอบด้วยดาวเคราะห์ 7 ดวง และทัง้ 7 ดวงเป็นดาวเคราะห์ทมี่ ขี นาด ใกล้เคียงกับโลก ถือเป็นครั้งแรกที่ ค้นพบระบบดาวเคราะนอกระบบสุรยิ ะ ทีเ่ ป็นดาวเคราะห์ขนาดใกล้เคียงกับโลก ทัง้ หมด
ผลิใบ
29
Young Storyteller โดย จิตตกาญจน์ ถิรชุดา
ผลงานประกวดเขียนเรียงความในโครงการ “นักเขียนรุ่นเยาว์ปีที่ 9” ในหัวข้อ ด�ำเนินธุรกิจอย่างเคารพสิทธิและพิทักษ์สิ่งแวดล้อม รางวัลรองชนะเลิศ ระดับมัธยมศึกษา นางสาวจิตตกาญจน์ ถิรชุดา โรงเรียนบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น ปัจจุบันโลกของเราประสบวิกฤตอย่างหนักด้าน สิ่งแวดล้อม ด้วยสาเหตุต่างๆมากมายที่เราอาจคาดไม่ถึง ใครจะค�ำนึงว่าการกระท�ำเล็กๆ น้อยๆ ที่เราไม่ใส่ใจ กลับสร้างความเสียหายทีย่ งิ่ ใหญ่ให้กบั โลกของเรา ดังนัน้ เราทุกคนควรต้องหันมาใส่ใจ ดูแลโลกของเราให้ดี ตัง้ แต่ วันนี้เพื่ออนาคตที่สดใส
ทุ ก วั น นี้ โ ลกของเราไม่ น ่ า อยู ่ เ หมื อ นสมั ย ก่ อ น เพราะเหตุใด? เป็นค�ำถามที่หลายคนสงสัยและสนใจ แต่จะมีสกั กีค่ นทีส่ งสัย สนใจ และเข้าไปแก้ไขอย่างจริงจัง ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีเ่ ราเผชิญอยูท่ กุ วันนีม้ าจากหลายสาเหตุ อาทิ การเพิม่ จ�ำนวนของประชากรมนุษย์ การเพิม่ จ�ำนวน ของยานพาหนะการขับขี่ การตัดไม้ท�ำลายป่าเพื่อน�ำไป
30
ผลิใบ
สร้างอาคารบ้านเรือน ของใช้ เครือ่ งประดับ เฟอร์นเิ จอร์ การบุกรุกป่าเพือ่ ท�ำเหมืองแร่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย การระเบิด ภูเขาเพื่อน�ำหินไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์ การใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น สารเคมีในการเกษตร มลพิษที่ เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ เป็นสาเหตุส�ำคัญอย่างยิง่ ทีค่ วรเร่งปรับปรุงแก้ไข ตลอดจนความไม่รหู้ รือความรูเ้ ท่า ไม่ถงึ การณ์ของมนุษย์ทไี่ ด้สร้างความเสียหายแก่สงิ่ แวดล้อม อย่างมหาศาล ซึ่งปัญหาเหล่านี้ได้ปรับเปลี่ยนค่านิยม ความคิด ความเป็นอยู่ และอุปนิสัยของมนุษย์ไปจากเดิม จากความพออยู ่ พ อกิ น พอเพี ย ง มี สิ่ ง ใดไม่ มี สิ่ ง ใดก็ แลกเปลี่ยนช่วยเหลือกัน กลายมาเป็นการซื้อขาย พัฒนา จนเป็นการด�ำเนินธุรกิจทีต่ อ้ งมีการแข่งขันเพือ่ ชิงดีชงิ เด่น เพือ่ อ�ำนาจบารมี และเพือ่ ความอยูร่ อด ผูป้ ระกอบการบางราย ต้องการก�ำไรเป็นจ�ำนวนมาก หันมาใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่ า งฟุ ่ ม เฟื อ ย โดยไม่ ค�ำนึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ ต ามมา ในอนาคตว่าจะเป็นเช่นไร ดิฉันในฐานะมนุษย์คนหนึ่งที ่ รักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และต้องการให้สิ่งแวดล้อม ของเรากลับมางดงามอีกครั้ง ดิฉันมีตัวอย่างโรงงานๆ หนึ่ง เป็นโรงงานขนาดย่อม ตั้งอยู่ในชนบท ซึ่งแต่เดิม ผลิตไอศกรีมและน�้ำหวาน วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเป็น วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี คุ ณ ภาพผ่ า นการรั บ รองจากส�ำนั ก งาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แต่กระบวนการผลิต ต้องใช้เตาขนาดใหญ่ในการต้มน�้ำและวัตถุดิบ เชื้อเพลิง ที่ใช้คือฟืนและน�้ำมัน ซึ่งผลจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง
เหล่านัน้ ก็คอื ควันเสีย ซึง่ ก่อให้เกิดมลพิษต่ออากาศ อีกทัง้ เตาขนาดใหญ่ยังก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงอีกด้วย น�้ำที่ เหลือจากการใช้ก็กลายเป็นน�้ำเสียแต่ปริมาณไม่มากนัก จึงท�ำร่องน�้ำให้น�้ำไหลเป็นทางยาวจนน�้ำเหล่านั้นแห้งไป กับพื้นดิน เจ้าของโรงงานแห่งนั้นเป็นคนที่รักธรรมชาติ ตระหนักถึงผลกระทบทีจ่ ะตามมาจึงพยายามหาทางแก้ไข โดยเริ่มต้นจากการปลูกต้นไม้เล็กต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นสัก ต้นสน ต้นยูคา ต้นเฟื่องฟ้า ต้นมะพร้าว ต้นเข็ม ฯลฯ ตลอดจนพืชผักสวนครัวต่างๆ ไว้รอบๆ บริเวณโรงงาน เพื่อให้ต้นไม้ช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ให้ความ ร่มรื่น ร่มเย็น และเพื่อน�ำผลผลิตที่ได้ซึ่งปลอดสารพิษ สารเคมี มาไว้บริโภคเอง ถ้าผลผลิตมีจ�ำนวนมากก็จะ น�ำไปแบ่งปันคนรอบข้าง ต่อมาเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ทีเ่ ป็นผลมาจากวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2540 ท�ำให้ราคา สินค้าวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ แต่ราคาสินค้าทีผ่ ลิตขายกลับเท่าเดิม เจ้าของโรงงานจึงตัดสินใจเลิกผลิตไอศกรีม หันมาผลิต น�้ำดื่มแทน แต่ยังคงผลิตน�้ำหวานเช่นเดิม และคิดหาวิธี ในการลดต้นทุนการผลิตโดยไม่เอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค และไม่เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม โดยเปลี่ยนมาใช้วัตถุดิบ ชนิดอื่นบางชนิดที่สามารถใช้แทนกันได้ มีราคาถูกกว่า และมีคุณภาพดีดังเดิม เปลี่ยนจากการใช้เตาขนาดใหญ่ ที่ต้องใช้ฟืนและน�้ำมันในการต้มมาเป็นเตาขนาดเล็กที่ใช้ ก๊าซหุงต้มแทน ซึ่งไม่ก่อให้เกิดควันเสีย ใช้ได้คุ้มค่ากว่า อีกทั้งไม่เป็นมลพิษทางเสียง น�้ำที่ผ่านการใช้แล้วก็ไหล ตามท่อ ตามร่องนำ�้ ลงสูด่ งใบเตยและต้นไม้ตา่ งๆ ทีป่ ลูกไว้ ซึ่งส่งผลให้ดินมีความชุ่มชื้น ปลูกพืชพรรณธัญญาหารได้ อย่างอุดมสมบูรณ์ และเมือ่ มีขอ้ สงสัยก็จะไปขอรับค�ำปรึกษา จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนทีเ่ กีย่ วข้อง และน�ำค�ำแนะน�ำ เหล่านัน้ มาปรับปรุงแก้ไขให้ดยี งิ่ ๆ ขึน้ ไป ถือได้วา่ โรงงาน แห่งนี้ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับคนในชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง
ไม่ได้เข้าไปแทรกแซงเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของคนในชุมชนนัน้ อีกทั้งยังเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอื่นๆ และบุคคลต่างๆที่อยู่รอบข้างอีกด้วย และนี่ก็เป็นตัวอย่าง โรงงานดีๆ โรงงานหนึ่งที่เคารพสิทธิของผู้อื่น และใส่ใจ สิ่งแวดล้อม ดิฉันหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ที่ได้อ่านบทความ ของดิฉันนี้จะได้รับความรู้ดีๆ จากมุมมองมุมมองหนึ่ง ทีม่ นุษย์ตวั เล็กๆอย่างดิฉนั อยากจะแบ่งปันและน�ำความรูน้ ี้ ไปปรับใช้เพือ่ พิทกั ษ์รกั ษาสิง่ แวดล้อมของพวกเราให้นา่ อยู่ สืบไป สิ่งแวดล้อมดีดีจะอยู่นาน ถ้าพวกเราช่วยรักษาดูแลไว้ ความรู้มีอย่าปล่อยปะละเลยไป ควรใส่ใจควรห่วงใยดูแลกัน อย่าอ้อนวอนขอพรจากท้องฟ้า ว่าให้มาช่วยประทานความสุขสันต์ ให้ธรรมชาติน่าอยู่ตลอดวัน ถ้าเรานั้นไม่ช่วยกันรักษาเอย... ไม่ว่าจะด�ำเนินธุรกิจอะไรก็ตามสิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ ธุรกิจของท่านมีความยั่งยืน คือ ความซื่อสัตย์สุจริต เคารพสิทธิของผูอ้ นื่ มีการคาดการณ์ถงึ อนาคต ค�ำนึงถึง ผลกระทบที่จะตามมา โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ประหยัด คุ้มค่า และพอเพียง ตลอดจนส่งเสริม สร้าง ทรัพยากรธรรมชาติทดแทน เช่น ปลูกป่า ปลูกต้นไม้ เป็นต้น เพือ่ ทีส่ งิ่ แวดล้อมดีๆ จะได้อยูก่ บั เรา ลูกหลานของเรา และ คนที่เรารักตลอดไป
ผลิใบ 31 ภาพประกอบจาก www.pixabay.com
Young Artist ภาพวาดน้องๆ ที่ส่งผลงาน เข้าร่วมโครง Young Creative Environment Artist ภายใต้ Concept “Our Living Environment” ระดับมัธยมศึกษา หัวข้อ ธุรกิจที่ฉันอยากท�ำเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน
32
ผลิใบ
ผลิใบ
33
Inspiration for Youth
การศึกษาไทยยุค 4.0 การศึกษาไทย 1.0 ยุคเกษตรกรรม มีการเรียนการสอนแบบ Teacher-Centered เน้นทีค่ รู เป็นส�ำคัญ แนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับวิชาต่างๆ เป็นต้นว่าทฤษฎี หลักการ งานวิจัย กฎ ระเบียบ และแนวปฏิบัติในวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เลข ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ฯลฯ ก็มี จ�ำกัด แค่เข้าใจ ท�ำโจทย์ได้ ท�ำข้อสอบได้
การศึกษาไทย 3.0 ยุคเทคโนโลยี มีการเรียนการสอนแบบ Learning-Oriented เน้นที่ การเรียนมากกว่าการสอน ครูจึงใช้เวลาในการบรรยาย หรือถ่ายทอดน้อยลง แต่ใช้เวลาตามตารางสอนไปเพื่อ ท�ำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความมั่นใจในสิ่งที่เขาไปศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้มาก ขึ้น หรือที่เรียกว่า “สอนน้อยลง เรียนรู้มากขึ้น-Teach Less, Learn More = TLLM.” * ผลิตภาพ (Productivity) คือ จ�ำนวนของผลผลิตสินค้าหรือบริการ ทีม่ กี ารปรับปรุงให้ได้คณ ุ ภาพ และปริมาณมากขึน้ ด้วยความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโยลี ข้อมูล : www.moe.go.th www.dpu.ac.th ภาพประกอบ : Designed by Freepik
การศึกษาไทย 2.0 ยุคอุตสาหกรรม มีการเรียนการสอนแบบ Child-Centered จัดการเรียน การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ นักเรียนที่ได้เรียนตาม ความถนัดและความสนใจจนสติปัญญาได้รับการพัฒนา เต็มที่ตามศักยภาพ
การศึกษาไทย 4.0 ยุคผลิตภาพ มีการเรียนการสอนแบบ Problem-based Learning (PBL) คือ ยึดปัญหา เป็นฐาน เพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะ ท�ำให้นักเรียนได้ใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม การเรียนและการ ท�ำงานร่วมกันเป็นทีม การมีภาวะผู้น�ำ การสื่อสาร การใช้ ข้อมูลและสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารทางไกล การใช้ คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์ การคิดค�ำนวณ การสร้าง อาชีพและการเรียนรู้ด้วยตนเอง หรือที่เรียกกันว่า “7Cs” นักเรียนอาจค้นหาค�ำตอบจากห้องทดลอง ห้องปฏิบตั กิ าร สถานประกอบการ แปลงสาธิต โรงงาน บริษัท ธุรกิจ ของรัฐ หรือของเอกชน นักเรียนได้ค้นหาค�ำตอบจาก สถานที่จริง สถานประกอบการจริง เพื่อให้ได้ค�ำตอบที่ เป็นจริง ท�ำให้เกิดค�ำว่า Work-based Learning หรือ Work-integrated Learning หรือ Site-based Learning ขึ้นทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
ผลิใบ
35
กุ้งเปลี่ยนสี กุ้งในสภาวะปกติ
กุ้งในสภาวะที่โดนความร้อน
สีน�้ำเงินและสีด�ำ ในตัวกุ้งช่วยในการ อ�ำพรางตัว ตามธรรมชาติ ในกุ้งจะมีโปรตีน ครัสตาไซยานิน
และ
สารสีแดง เมื่อโปรตีนครัสตาไซยานินรวมตัวกับสาร แอสตาแซนทิน สีแดงแอสตาแซนทินในเปลือกกุ้ง พันธะ โมเลกุลจะถูกบิดและท�ำให้เกิดปฏิกิริยา Enolization ท�ำให้การดูดกลืนแสงของกุง้ เปลี่ยนไป เปลือกกุ้งที่เรามองเห็นจึงเป็น สีน�้ำเงินด�ำ วัตถุดูดกลืนคลื่นแสงบางสี ให้แสงสะท้อนโทนส้มแดง
สารแอสตาแซนทิน แยกออกมา
การดูดกลืนแสงเปลี่ยน ให้แสงสะท้อนโทนน�้ำเงิน
เมือ่ โดนกับความร้อน โปรตีนครัสตาไซยานิน จะเกิดการเสียสภาพธรรมชาติ จึงไม่สามารถ จับกับสารแอสตาแซนทินได้ สารจึงหลุดออก มาจากโปรตีนแล้วกลายเป็นสีแดงอีกครั้ง
โปรตีนเสียสภาพ
(โปรตีนเสียสภาพคือ ปริมาณโปรตีนยังเท่าเดิมแต่โครงสร้าง ในการจัดเรียงตัวเปลี่ยนไป)
เอ๊ะ!!! แล้วท�ำไมกุง้ โดนน�ำ้ มะนาวจึงเปลีย่ นเป็นสีสม้ ?? ความเป็นกรดด่างสามารถท�ำให้ โปรตี น เสี ย สภาพได้ เช่ น กั น จึ ง ท�ำให้กุ้งเปลี่ยนสีเป็นสีส้ม แต่ไม่ ได้ท�ำให้เนื้อกุ้งสุก
เปลือกกุ้งที่มี สารแอสตาแซนทิน และโปรตีนครัสตาไซยานิน
เปลือกกุ้งที่มีแต่ สารแอสตาแซนทิน
สัตว์ทะเลอื่นๆ ที่มีสารแอสตาแซนทิน (สารในกลุ่มแคโรทีนอยด์)
กุ้งมังกร 36
ผลิใบ
ปลาแซลมอน
ปู ที่มา : www.facebook.com/witsanook www.dek-d.com
On the Move
ในผลิใบฉบับที่ 119 เราเคยน�ำเสนอเรื่องการประชุม COP21 กันไปแล้วซึ่งถ้าใครติดตามผลิใบ เป็นประจ�ำคงจะจ�ำกันได้ แต่ถ้าน้องๆ คนไหนที่ยังไม่ทราบ เราจะมาท�ำความรู้จักกับการประชุม COP กันอีกครั้งค่ะ COP หรือในชื่อเต็มคือ Conference of the Parties เป็นการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งในครั้งนี้จะเป็นสมัยที่ 22 เป็นการเจรจา ระหว่างผู้น�ำประเทศจากเกือบ 200 ประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย มีผู้เข้าประชุมจากทั่วโลก กว่า 50,000 คน จากหลากหลายภาคส่วน อาทิ การเมือง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม และ ประชาสังคม ซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 – 18 พฤศจิกายน 2559 นี้ ณ เมืองมาร์ราเกซ ประเทศโมร็อกโก การประชุม COP22 มีความส�ำคัญอย่างไร ในการประชุม COP21 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ประเทศสมาชิก 196 ประเทศ ได้ก�ำหนด เป้าหมายร่วมกันว่าจะรักษาระดับอุณหภูมเิ ฉลีย่ โลกให้สงู ขึน้ ไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส เมือ่ สิน้ สุดทศวรรษ ที่ 20 หรือ ปี ค.ศ. 2100 และหากเป็นไปได้จะพยายามควบคุมไม่ให้อณ ุ หภูมเิ พิม่ สูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส จนเกิดเป็นความตกลงปารีสที่ประเทศทั่วโลกบรรลุข้อตกลงทางด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และได้รับการยอมรับว่าเป็นข้อตกลงประวัติศาสตร์ ซึ่งหวังว่าจะเป็นผลดีต่อคนทั้งโลก ผลส�ำเร็จใน COP21 ท�ำให้ทวั่ โลกเริม่ ผลักดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงไปสูส่ งั คมคาร์บอนตำ�่ ประเทศ พัฒนาแล้วยังได้ให้ค�ำมั่นว่าให้เงินสนับสนุน Green Climate Fund จ�ำนวน 1 แสนล้านเหรียญสหรัฐ/ ปี ภายในปี 2563 ในการช่วยเหลือให้ประเทศก�ำลังพัฒนา และประเทศด้อยพัฒนาในการปรับตัวกับ สภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงของโลก ส่งเสริมโอกาสในการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ รวมถึงบรรเทาผลกระทบและส่งเสริมการปรับตัวอย่างเร่งด่วนที่สุด ซึ่งแต่ละประเทศต้อง พัฒนากลยุทธ์ทแี่ ข็งแกร่งเพือ่ ทีจ่ ะลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง ส่งเสริมประเทศอืน่ ๆ รวมถึง ระดมทุนเพื่อเร่งการเปลี่ยนแปลงนี้ COP22 ในปีนี้ที่เกิดขึ้น ณ เมืองมาร์ราเกช ประเทศโมร็อกโก เป็นการประชุมรัฐภาคีความตกลง ปารีสครั้งที่ 1 (CMA1) ที่ประเทศสมาชิกจะได้หารือการด�ำเนินงานภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ทัง้ ประเด็นทางด้านเทคนิค ประเด็นด้านการเงิน และการด�ำเนินงาน ภายหลังการมีผลบังคับใช้ของความตกลงปารีส ที่จะท�ำให้โลกบรรลุเป้าหมายของความตกลงปารีส ร่วมกันสร้างอนาคต ที่ส�ำคัญก็คือความพยายามจะท�ำให้ได้เกินเป้า 2 องศาเซลเซียส คือจ�ำกัดอุณหภูมิ
ให้ไม่เพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ ในการประชุ ม COP22 จะมี ก ารหารื อ เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพระหว่างประเทศซึง่ จะช่วยยกระดับมาตรการ ต่ า งๆ รวมทั้ ง หาแนวทางสนั บ สนุ น ทางการเงิ น ให้ส�ำเร็จ ก่อนปี 2563 ในขณะที่ช่วงหลังปี 2563 ก็ ต ้ อ งเปลี่ ย นค�ำมั่ น สั ญ ญาทั้ ง หลายให้ ก ลายเป็ น “รูปธรรม” ที่สามารถจับต้องได้จริง ผลิใบ
37
Do It Yourself โดย กองบรรณาธิการ
สวัสดีค่ะน้องๆ ชาวผลิใบที่น่ารักทุกคน ในหลายๆ ฉบับพี่ได้พยายามที่จะหาไอเดียการน�ำของเหลือใช้ต่างๆ มาประดิษฐ์เป็น สิ่งของเพื่อให้สามารถน�ำกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกครั้ง ดีกว่าที่จะทิ้งไปให้กลายเป็นปัญหาขยะแก่โลกของเรา ซึ่งในฉบับนี้ ก็เช่นกันค่ะ พีไ่ ด้ไปพบกับไอเดียน่ารักๆ ของต่างประเทศทีน่ ำ� เอาขวดน�ำ้ เหลือใช้มาประดิษเป็นของใช้ ของเล่น ทีด่ มู มี ลู ค่าและคุณค่า ทางใจขึน้ มาอีกครัง้ ซึง่ ก็มวี ธิ กี ารท�ำง่ายๆ ทีน่ อ้ งๆ ก็สามารถท�ำได้ทกุ คน มาดูกนั เลยดีกว่าค่ะ
ดอกไม้จากปากขวด ที่ใส่ดินสอปากกาจากก้นขวด
ที่ใส่เศษเหรียญ
กระถางต้นไม้จากขวด
กล่องใส่ของใช้จุกจิก เต่าเก็บเหรียญจากก้นขวด 38
ผลิใบ
ทีม่ าและภาพประกอบจาก www.pinterest.com
Give and Share ระเทศไทย บริมูษลัทนิธซีิสยแตนเลย์ ูอีแอล ปจ�ำกั ด ฉ.122 มูลนิธิสแตนเลย์ประเทศไทย สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริมให้เยาวชนอนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี โรงเรียนวัดไพร่ฟ้า โรงเรียนวัดนาวง โรงเรียนวัดรังสิต โรงเรียนวัดบางพูน โรงเรียนวัดโพธิ์เลื่อน โรงเรียนวัดราษฎร์ศรัทธาทํา โรงเรียนวัดเวฬุวัน โรงเรียนวัดมะขาม โรงเรียนวัดโคก โรงเรียนวัดพืชนิมิตร โรงเรียนวัดมูลเหล็ก โรงเรียนวัดสว่างภพ โรงเรียนวัดคุณหญิงส้มจีน โรงเรียนวัดศิริจันทราราม โรงเรียนสามัคคีราษฎร์บํารุง โรงเรียนวัดผลาหาร โรงเรียนวัดตะวันเรือง โรงเรียนวัดเพิ่มทาน โรงเรียนคลองสอง (เสวตสมบูรณ์อุปถัมภ์) โรงเรียนจารุศรบํารุง โรงเรียนเจริญวิทยา โรงเรียนคลองหนึ่ง (แก้วนิมิต) โรงเรียนวัดกล้าชอุ่ม
ภาพประกอบ design by freepik
จังหวัด จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
โรงเรียน โรงเรียนวัดกลางคลองสาม โรงเรียนวันครู 2502 โรงเรียนลําสนุ่น โรงเรียนลิ้นจี่อุทิศ โรงเรียนวัดเกิดการอุดม โรงเรียนทองพูลอุทิศ โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร โรงเรียนอนุบาลธัญวิทยา โรงเรียนสังฆรักษ์บํารุง โรงเรียนบางโพธิ์ใหม่ โรงเรียนวัดบ่อทอง โรงเรียนวัดบ่อเงิน โรงเรียนคลองบางโพธิ์ โรงเรียนชุมชนวัดไก่เตี้ย โรงเรียนสี่แยกบางเตย โรงเรียนสุเหร่าใหม่เจริญ โรงเรียนวัดบางเตยนอก โรงเรียนวัดสามัคคิยาราม โรงเรียนวัดถั่วทอง โรงเรียนวัดเชิงท่า โรงเรียนวัดเมตารางค์ โรงเรียนวัดสะแก โรงเรียนวัดป่างิ้ว โรงเรียนวัดบ้านพร้าวใน โรงเรียนชุมชนวัดจันทน์กะพ้อ
จังหวัด จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
ผลิใบ
39
Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....
GREEN INNOVATION มูลค่า 250 บาท และกระติกน�้ำพร้อมแก้ว จาก บางจาก
วารสารย้อนหลัง
¼ÅÔ㺠123.pdf 1 3/28/2017 2:59:23 PM
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปท่ี 23 ฉบับที่ 123 เดือนมกราคม-มีนาคม 2560
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Grew the Earth ตนรวงผึง้ พรรณไมประจํารัชกาลที่ 10
What the World Offer Sustainable Development Goals (SDGs)
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders โลกของสัตวเรืองแสง
cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27
cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59
cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559
ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558
ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559
Eco Life Issue MA
C
T
M
Y
CM
C
C
M
K
MY
CY
CY CMY
CMY
E IS
K
K
SU E
Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก
Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit
cover_117_2.pdf 1 30-Jun-15 10:40:07 AM
นํ้าหายไปไหน
Recycle Reject
เ
ตบิ ใ หญผ ล ปท ใิ บ
C
M
Reuse
M
Y
Y
CM
MY
Repair
MY
CY
CY
CMY
CMY
K
K
Reduce
Think Tank
www.facebook.com/plibai2012.tei
สรางนักวิทย สูนักวิจัย
www.facebook.com/plibai2012.tei
IT Generation
อ แว ด ล หัวใจรักษสิ่ง
๘ ๒๕๕ ี่ ๒๑ าคม ฉบับที่ ๑๑๖ เดือนมกราคม-มีน
C
CM
Animal Wonders
The Question Mark
ขวดกลับหัว
ÃÇ‹ ÁÊà §Ê Green ÒŒ Soc §Ñ ¤Á iet
Green Society
“ลีเมอร” สัตวโลก (สีเขียว)
Do It Yourself
มหัศจรรยพลังนํ้า
cover_116 copy.pdf 11-Nov-14 10:36:55 AM
ÂÕ Ç ue ÊàÕ ¢ Iss y
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๑๘ เดือนกรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘
Green Energy
www.facebook.com/plibai2012.tei
English for Fun Eco not Ego
www.facebook.com/plibai2012.tei
Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก
Y
CM
MY
NG
CY
M
Y
CM
HA
MY
CMY
ม
C LI
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร
วารสารผลิใบ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com
กระเป๋าผ้า
รับทันที
EC
สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………........................................................................ ที่อยู่ ………………………........................................................................................ ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................................ การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6
สมัครสมาชิกวารสารผลิใบ