เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปท่ี 23 ฉบับที่ 124 เดือนเมายน-มิถนุ ายน 2560
Evalution Fun Facts วิวฒ ั นาการพลังงานไทย
Young Artist ประกาศรางวัลผูช นะในโครงการ Young Creative Environment Artist
www.facebook.com/plibai2012.tei
Let’s go Green ปดไฟ 1 ชม.ประหยัดไฟไดเทาไหร
World of Energy
Editor’s Note สวัสดีนอ้ งๆ หนูๆ ทีค่ อยติดตามอ่านวารสารผลิใบ กันมาโดยตลอด ที่ผ่านมาทางทีมงานได้คัดสรรเนื้อหา ทีเ่ หมาะสมมาฝากกันอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ในฉบับนีเ้ รานำ� ความรู้ที่มุ่งเน้นในด้านพลังงานมานำ�เสนอเพื่อจะเป็น ประโยชน์ต่อไปสำ�หรับการเลือกใช้พลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือกอื่นๆ โดยในคอลัมน์ “รอยเท้าของพ่อ” น้องๆ จะได้ ทราบว่ า โครงการผลิ ต พลั ง งานทดแทนของส่ ว น พระองค์ สวนจิตรลดา นั้นมีการนำ�พลังงานทดแทนใด มาใช้บา้ ง คอลัมน์ “Evalution Fun Facts” จะทำ�ให้ ได้ทราบถึงวิวัฒนาการอันยาวไกลของพลังงานในบ้าน เรา คอลัมน์ “Green Mind” จะพาไปรู้จักกับขยะ ทะเลที่ เ ป็ น ผลกระทบต่ อ สั ต ว์ ท ะเลมายาวนาน จนกระทั่งปัจจุบัน และพิเศษสำ�หรับฉบับนี้ที่จะได้จุใจ กั บ บรรยาการการคั ด เลื อ กภาพและมอบรางวั ล ใน โครงการ Young Creative Environment Artist ปี 2 หนึ่งในเวทีเล็กๆ ที่เปิดโอกาสให้เด็กๆ ได้แสดงความ สามารถด้านการสร้างสรรค์ภาพเพือ่ ปลูกจิตสำ�นึกด้าน สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และท้ายนี้สำ�หรับน้องๆ ที่อยากเข้าร่วมโครงการ ผู้นำ�อาสาสมัครกรีนพีซ (Greenpeace Volunteer Leaders) โดยส่งเสริมจิตอาสาของบุคคลในทุกระดับ ชั้น ร่วมกันสร้างสังคมให้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจาก การกระทำ�ของมนุษย์ทมี่ ผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดย กิจกรรมทีผ่ นู้ �ำ อาสาสมัครจะมีสว่ นร่วมขับเคลือ่ นอย่าง เข้มข้นในปี 2560 นี้ จะเป็นประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับขยะ พลาสติก อาหารและเกษตรกรรมเชิงนิเวศ โดยจะเปิด รับสมัครตัง้ แต่วนั ที่ 16 มิถนุ ายน - 10 กรกฏาคม 2560 ถ้าน้องๆ คนไหนมีเวลาก็เป็นอีก 1 กิจกรรมที่น่าสนใจ ครับ
ศ.ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ บรรณาธิการบริหาร
• วารสารผลิใบได้รบั รางวัลดีเด่น ประเภทวารสาร ที่ มี เ นื้ อ หาทั่ ว ไปเหมาะสมกั บ เยาวชน ประจำ � ปี พ.ศ. 2538 - 2539 จากคณะกรรมการส่งเสริมและ ประสานงานเยาวชนแห่งชาติ • วารสารผลิใบได้รบั คัดเลือกให้เป็นหนึง่ ในวารสารอ่านเพิม่ เติมสำ�หรับ ห้ อ งสมุ ด โรงเรี ย นสั ง กั ด สำ � นั ก งานคณะกรรมการประถมศึ ก ษา แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. 2542 • วารสารผลิใบได้รางวัลดีเด่นประเภทสือ่ มวลชน รางวัลลูกโลกสีเขียว ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2550 เจ้าของ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บรรณาธิการบริหาร ศ.ดร. เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา กมนนุช สมบุญธวงษ์ บรรณาธิการ ณชชน พชรชัยกุล กองบรรณาธิการ ภัทรา จิตรานนท์ เลขากองบรรณาธิการ ศิริรัตน์ จุลพฤกษ์ ออกแบบ ณชชน พชรชัยกุล โรงพิมพ์ บจก. มาตา การพิมพ์ สำ�นักงาน : วารสารผลิใบ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์ : 0 2503 3333 โทรสาร : 0 2504 4826-8 อีเมล : plibai.book@gmail.com, sirirat@tei.or.th, notchana@tei.or.th เว็บไซต์ : www.tei.or.th Facebook : www.facebook.com/Plibai2012.Tei
35
8
4
38
The Question Mark?
16
Evolution Fun Facts
20
26
27
Cover Story 32 Young Artist
35
Book Inspiration
3
Do It Yourself
38
IT Generation
4
Give and Share
39
6
Membership
40
Think Tank
8
Let’s go Green
11
รอยเท้าของพ่อ
12
Science Tricks
14
Grew the Earth
16
Green Mind
17
English for Fun
19
Think Out of the Box
20
Green Innovation
23
On The Move
24
์ ฤกษ ิการ จุลพ าธ ัตน์ รรณ ศิริร ขากองบ เล
Animal Wonders
Book Inspiration
พลังงาน ฉบับการ์ตูน เป็ น หนั ง สื อ ความรู ้ พื้ น ฐานเรื่ อ งพลั ง งานต่ า งๆ อ่านสนุก เข้าใจง่าย เนื้อหาให้ผู้อ่านเรียนรู้ความหมาย และหลักการพื้นฐานเรื่องพลังงาน และศึกษาหลักการ ใช้พลังงานให้เป็นประโยชน์ ทั้งพลังงานแสง ไฟฟ้า ความร้อน เชื้อเพลิงซากดึกด�ำบรรพ์ พลังงานทดแทน และพลังงานนิวเคลียร์ รู ้ จั ก แหล่ ง พลั ง งานดั้ ง เดิ ม อย่ า งดวงอาทิ ต ย์ ความร้อน การเผาไหม้ และพลังงานในธรรมชาติ อย่าง แม่นำ �้ มหาสมุทร หิมะบนภูเขา รวมถึงพลังงานสมัยใหม่ อย่างไฟฟ้าและพลังงานนิวเคลียร์ ทบทวนแหล่งพลังงานในปัจจุบันที่ใช้สะดวก แต่ก่อ ปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น น�้ำมัน ถ่านหิน รู้จักพลังงาน สะอาดที่หมุนเวียนได้ เช่น แสงอาทิตย์ น�้ำ ลม ชีวมวล มหาสมุทร ความร้อนใต้พิภพ และค้นหาแหล่งพลังงาน ทีอ่ าจใช้ได้ในอนาคต เพือ่ ทางออกทีย่ งั่ ยืนของทุกปัญหา พลังงาน
พลังงานหมุนเวียน หนังสือเล่มนี้จะพาน้องๆ ไปรู้จักกับเหล่าสมาชิก พลังงานหมุนเวียนทัง้ 5 ทีใ่ ห้พลังงานแสนสะอาด และ ไม่มวี นั หมดสิน้ ! พวกเขาจะมาช่วยขับเคลือ่ นโลกของเรา ให้ห่างไกลอันตราย ของการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ดินฟ้าอากาศ พร้อมทั้งช่วยให้พวกเราทุกคนพบกับ อนาคตอันสดใส ประหยัดพลังงาน และปราศจากมลพิษ
ผลิใบ
3
IT Generation
Oiligarchy เกม..ที่..มากกว่า..เกม ชื่อหรือไม่ว่าเกมคอมพิวเตอร์สามารถ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผูค้ นได้ โดยเฉพาะ ถ้ า ผู ้ อ อกแบบเกมสามารถสร้ า งความสนุ ก ควบคู่ไปกับสาระได้อย่างลงตัวก็จะท�ำให้ผู้เล่น คล้อยตาม โดยเกมทีเ่ อามาแนะน�ำให้นอ้ งๆ ได้ รู้จักในฉบับนี้เป็นเกมที่ทั้งสนุกและสอดแทรก ให้ ค นเล่ น เข้ า ใจประเด็ น สิ่ ง แวดล้ อ มและวิ ธ ี แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม Oiligarchy เป็นเกมออนไลน์ที่มุ่งสร้าง ความเข้าใจในแนวคิดเรื่อง Peak Oil หรือ จุ ด ผลิ ต น�้ ำ มั น สู ง สุ ด โดยจะชี้ ใ ห้ เ ห็ น ความ สัมพันธ์อันแนบแน่นระหว่างธุรกิจพลังงาน สงคราม และการเมืองระหว่างประเทศ
4
ผลิใบ
ในเกมเราจะได้เล่นเป็นซีอีโอของบริษัทน�้ำมันยักษ์ใหญ่ในอเมริกา ต้องสมดุลอุปสงค์และอุปทานในการบริหารจัดการ ในขณะทีต่ อ้ งจัดการ กับปัญหาทางการเมืองและทัว่ โลก โดยเริม่ จากปี 1946 บริษทั ของเรา มีแค่ท่ีดินผืนเล็กๆ ในมลรัฐเท็กซัส ขุดน�้ำมันขายได้ไม่นานทรัพยากร ใต้ดนิ ของเราจะหมด เราต้องออกไปส�ำรวจและขุดเจาะน�ำ้ มันในต่างแดน ซึ่งจะท�ำให้ถูกต่อต้านอย่างหนักจากนักสิ่งแวดล้อมและชาวพื้นเมือง ดังนั้นก่อนที่บริษัทของเราจะท�ำก�ำไรในต่างแดนได้ รัฐบาลของเราจะ ต้องช่วยแก้ปัญหาให้ เช่น ส่งทหารไปโจมตี แต่นั้นหมายความว่าเรา ต้องมีอ�ำนาจควบคุมรัฐบาล ผ่านการบริจาคเงินให้กับพรรคการเมือง ในเกมจะให้เล่นได้ 6 ต�ำแหน่งทั่วโลก คือ • เท็กซัส เป็นที่ตั้งของแหล่งน�้ำมันแห่งแรกของผู้เล่น ที่นี่มี เสถียรภาพทางการเมืองและมีนำ�้ มันมากมายในดิน แต่กอ่ นทีจ่ ะขุดเจาะ ได้ผเู้ ล่นจะต้องท�ำการส�ำรวจแหล่งนำ�้ มันก่อน ทีเ่ มืองนีย้ งั เป็นจุดเริม่ ต้น ที่จะท�ำให้ผู้เล่นรู้สึกถึงผลกระทบของ Peak Oil ในภายหลัง • วอชิงตัน ดี. ซี. เป็นพื้นที่ล้มเหลวทางการเมือง ผู้เล่นจะต้อง ให้เงินทุนแก่พรรคการเมืองเพื่อสนับสนุนการผลิตน�้ำมันทั่วโลก • อลาสกา ในตอนแรกพื้นที่จะถูกปิดพื้นที่ขุดเจาะ แต่หลังจากที่ ผู้เล่นมีเงินเพียงพอในวอชิงตันก็จะสามารถขุดเจาะได้ทั้งในและนอก ชายฝั่ง • เวเนซุเอลา มีเสถียรภาพทางการเมืองอยู่ตลอดเวลา (แม้ว่าจะ ไม่ใช้เงินลงทุนในการรักษารัฐบาลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในการใช้ พลังงาน) แต่ก็มีทั้งทางบกและทางทะเลเพื่อส�ำรวจแหล่งแร่
• ไนจีเรีย มีเจ้าหน้าทีด่ า้ นน�ำ้ มันและเจ้าหน้าทีท่ อ้ งถิน่ จ�ำนวนมากทีเ่ ต็มใจ ที่จะท�ำงานกับบริษัทน�้ำมันข้ามชาติที่มีเงินมากพอ เป็นดินแดนที่อันตรายและ ต้องใช้ทหารรับจ้าง แต่ก็มีปริมาณน�้ำมันคุ้มค่าพอ • อิรกั หากผูเ้ ล่นต้องการขุดเจาะในประเทศนี้ ต้องใช้เวลาในการด�ำเนินการ เพื่อบุกเข้าพื้นที่ โดยจะต้องน�ำกองทหารจ�ำนวนมาก และจ้างทหารรับจ้าง เพื่อเข้ายึดพื้นที่ให้ส�ำเร็จจึงจะสามารถขุดเจาะน�้ำมันได้ โดยถ้าผูเ้ ล่นสามารถเล่นเกม Oiligarchy ได้ดี ก็จะเจริญรอยตามประวัตศิ าสตร์ จริงหลังจุด Peak Oil คืออุปทานน�้ำมันเริ่มหดตัวสวนทางกับอุปสงค์ ถ้าเรายัง มุ่งกอบโกยด้วยการท�ำให้ทุกคนเสพติดน�้ำมัน (วัดด้วยดัชนี “Oil Addiction” ในเกมยิ่งสูงเรายิ่งขายน�้ำมันได้เยอะ) เราก็จะจบเกมในแบบที่โลกทั้งใบล่มสลาย แต่ถ้าหากเรายอมลดอ�ำนาจการผูกขาดและคลายการครอบง�ำรัฐ (ซึ่งก็จะหมายถึง ก�ำไรทีล่ ดลง) เกมก็จะจบแบบ Happy Ending ส�ำหรับทุกคนบนโลก เพราะสามารถ ข้ามพ้นเศรษฐกิจแบบพึ่งพาน�้ำมันได้ แต่แย่ส�ำหรับผู้เล่นในฐานะผู้บริหารบริษัท น�้ ำ มั น ซึ่ ง นั่ น ก็ คื อ สารหลั ก ที่ ผู ้ ส ร้ า งเกมนี้ ต ้ อ งการจะสื่ อ ด้ ว ยโมเดลธุ ร กิ จ ยุคอุตสาหกรรมของบริษัทน�้ำมัน ยิ่งบริษัทประสบความส�ำเร็จเพียงใด ผู้คนและ โลกยิ่งเดือดร้อนเพียงนั้น ในเกม Oiligarchy นี้ผู้เล่นจึงต้องสวมบทผู้ร้าย เพื่อชี้ให้เห็นปัญหา ตลอดจน ผลกระทบของอุตสาหกรรมน�ำ้ มัน และสามารถอธิบายเรือ่ งยากๆ อย่างอุตสาหกรรม น�ำ้ มันผ่านเกมทีเ่ ล่นสนุก ท้าทาย ท�ำให้ผเู้ ล่นได้มคี วามเข้าใจถึงเรือ่ งนีไ้ ด้อย่างลึกซึง้
ข้อมูลและภาพประกอบจาก ttp://www.mnn.com/earth-matters/energy/blogs/play-oiligarchy-and-drill-baby-drill
ผลิใบ
5
Think Tank
Mission Innovation ปฏิบัติการลดโลกร้อน Mission Innovation เป็นปฏิบตั ิ การความร่วมมือของมหาเศรษฐีโลก จ� ำ นวน 27 คน ที่ เ รี ย กตั ว เองว่ า “Breakthrough Energy Coalition” พวกเขาจะให้การสนับสนุนในด้าน การวิจัยพลังงานใหม่ เพื่อทดแทน พลังงานเดิมที่ก�ำลังลดลงอย่างต่อ เนี่อง น้องๆ คงอยากท�ำความรู้จัก กับปฏิบัติการนี้แล้วใช่ไหมคะ ไปดู กันค่ะว่า Mission Innovation มี ความน่าสนใจอย่างไร
บิล เกตส์ มหาเศรษฐีโลกผูม้ ท ี รัพย์สน ิ กว่า 84,600 ล้านดอลลาร์ (กว่า 3 ล้านล้านบาท) เขา จ ะ บ ริ จ า ค เ งิ น ส ่ ว น ตั ว 10,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ (ราว 360,000 ล้าน บาท) เพื่ อ เป็ น ทุ น ในการ “วิจัยพลังงานสะอาด” ใน อีก 5 ปีข้างหน้า และเรียก ร้องให้รัฐบาลเพิ่มเงินวิจัย 6
ผลิใบ
แจ็คหม่า ผู้ก่อตั้งเว็บไซต์ อาลีบาบา
จอร์จ โซรอส ผู้บริหารกองทุนโซรอส
Mission มาร์ค ซัคเกอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้ง เฟซบุ๊ก
เจฟฟ์ เบซอส ผู้ก่อตั้ง อเมซอน ดอท คอม
Innovation
เซอร์ ริชาร์ด แบรนสัน ผู้ก่อตั้งเวอร์จิน กรุ๊ป
มหาเศรษฐีโลกที่ร่วมลงทุน เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดลดโลกร้อน กลุ่มนี้จะท�ำงานร่วม 19 ประเทศ อาทิ สหรัฐฯ อินเดีย ซาอุดีอาระเบีย จีน ชิลี เมื่อรวมกันแล้ว จะมีงานวิจัยและพัฒนาพลังงานสะอาด เพื่อลดโลกร้อนถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของงานวิจัยและ พัฒนาในโลก และเรียกชื่อว่า Mission Innovation หรือ “ปฏิบัติการสร้างนวัตกรรม” ซึ่งแต่ละประเทศ ที่เข้าร่วมโครงการ ได้ให้ค�ำปฏิญาณว่า จะเพิ่มงบการวิจัย และพัฒนาพลังงานสะอาดเพิ่มขึ้นเป็นตัวเลขสองหลัก เพื่อผลักดันให้การพัฒนาเทคโนโลยีมีต้นทุนต�่ำลง และสร้างสรรค์เทคโนโลยีใหม่ๆขึ้นมา
มหาเศรษฐีจากแอฟริกา ไนจีเรีย ฯลฯ ข้อมูล www.thairath.co.th ภาพประกอบ www.freepik.com
ผลิใบ
7
Animal Wonders
ด ิ ต น บั ึ ด ง ด ุ ย า ร ด ล ั ส ใ แ จ ว ง ตุ๊กแก..ผู้สรา้
หนักมาก ตุ๊กแก เป็นสัตว์ที่มีน�้ำ บเพดาน ทสี่ ดุ ทสี่ ามารถเกาะตดิ กั าสตร์จึง หรือผนังได้ นักวิทยาศ เป ็ น สิ่ ง ที่ ห าข ้ อ สั ง เก ต ว่ า อ ะไ ร ารถยึด ท�ำให้เท้าของตุ๊กแกสาม นยี วแนน่ ฝาผนงั เอาไว้ไดอ้ ย่างเห
นั ก วิ ท ย า ศ าสต P l a n c k In ร ์ จ า ก M a x s t it Stuttgart ได u t e ใ น เ มื อ ง ใ้ ชก้ ก�ำลังขยายส ลอ้ งจลุ ทรรศน์ ูงส่องดูใต้เท ้าของ ตุ ๊ ก แ ก แ ล ้ ว พ บ ว ่ า มี ขนขนาดเล ็กม ประมาณสิบ า ก ๆ ล้านเส้น อยู่ใต้เท้าแต ่ละข้าง
ไปได้อย่างมั่นคง ด้วยความสามารถพิเศษที่ตุ๊กแกสามารถเกาะติดทุกพื้นผิวที่คืบคลาน เป็นแรงบนั ดาลใจ ซ�ำ้ แล้วซ�ำ้ เล่าอย่างไม่มที ที า่ ว่าความเหนียวหนบึ ทีฝ่ า่ เท้าจะหมดไป กลาย เฮชิน ลี (Haeshin ให้ ศ.ฟิลิป บี. เมสเซอร์สมิธ (Phillip B. Messersmith) และลูกศิษย์ หลายครั้ง Lee) คิดประดิษฐ์วัสดุที่มีความเหนียว ติดทนนาน กันน�้ำและใช้ซ�้ำได้
8
ผลิใบ
ในระบบการยึดเกาะของตุ๊กแกที่สามารถเกาะเพด านและ ไต่ลงมาในลักษณะที่เอาหัวลงได้ ยังคงเป็นปริศ นาของ นักวิทยาศาสตร์มาจนกระทัง่ บัดนี้ นักวิทยาศาสตร์ยงั ไม่มนั่ ใจ ว่ากลไกใดกันแน่ที่ท�ำให้เท้าของตุ๊กแกมีประสิทธิภาพใ นการ เกาะติดขนาดนัน้ เพราะคอ่ นข้างชัดเจนว่าระบบการยึ ดเกาะ ของตุก๊ แกนนั้ แห้ง ไม่ได้มกี ารหลัง่ สารอะไรออกมา จะมกี แ็ ต่ เพียงน�้ำซึ่งเป็นเหมือนแผ่นฟิล์มบางๆ ที่มีอยู่บนทุก พื้นผิว
ภายใต้เท้าของตุก๊ แกมีขนยึดเกาะขนาดเล็กมากเรียกว่า Spatulae อยู่ ซึง่ มีความกว้าง และความยาวราวๆ 200 นาโนเมตร อยู่ประมาณสิบล้านเส้น ขนเหล่านี้จะสัมผัส และยึดเกาะกับสิ่งต่างๆ โดยตรง ขนเล็กๆ เหล่านี้จะอยู่บนสุดของระบบยึดเกาะ สามระดับหรือบนปลายของ Setae โดย Setae จะมีขนาดประมาณหนึ่งในสิบของ เส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์ คือยาวประมาณ 100 ไมโครเมตร และกว้างประมาณ 6 ไมโครเมตร และจะเรียงตัวอยู่ด้วยกัน เป็นแถว เราเรียก Setae ทีเ่ รียงตัวกันเป็นแถวนีว้ า่ Lamellae ซึ่งมีความยาวตั้งแต่ 400 ถึง 600 ไมโครเมตร และ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
บว่าเท้าของตุ๊กแกประกอบไปด้วย ะพ แล แก ก ๊ ตุ อง ะข เกา ด ึ รย กา ใน มารถ านั้นว่า พิลลาร์ (Pillar) ล่ เคยมีนักวิทยาศาสตร์ศึกษาความสา เห ขน น ้ กเส ย เรี าล าศ มห าย ยม ขนจ�ำนวนมากมา โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายกับเส้น จ�ำนวนมากมายนีท้ �ำใหป้ ระสิทธิภาพ ร์ ลา ล พิ ตร เม โน นา 0 20 ง ี ย งเพ ย์กลา ผิวที่สัมผัสกับพิลลาที่เท้า และแต่ละเสน้ ขนาดเล็กมีเส้นผ่านศนู น ้ ื งพ ขอ ล ุ ลก มเ งโ า ่ หว ระ ด ดู ง ดึ รง ยมันจะสร้างแ การเกาะติดของตุ๊กแกเป็นเลิศ โด างอ่อนแต่เกาะติดแน่นเพราะมีจุด ย่ งอ แร น ็ เป ง ่ ซึ ls) aa W r De n ล์ (Va ของมัน เรียกว่า แรงแวนเดอร์วาล ยกเท้าขึ้นแรงยึดติดก็จะหายไป แก ก ๊ ุ ต ่ ี ท ที น ทั ด จุ นๆ า ล้ บ ั น ่ ู อย ลา สัมผัสของพิล อีกครั้ง แต่ความสามารถนี้ น ้ ขึ ด ดู ง ึ งด แร ด กิ เ ็ ก ม่ ให ลง า ้ งเท วา เมื่อ จะลดลงเมื่อเป็นพื้นผิวเปียกน�้ำ
ผลิใบ
9
ดุที่ประกอบด้วย ส ั ว ง า ้ ร ส ง อ ล ด ท ้ ทีมวิจัยได ก เสน้ พลิ ลารท์ �ำขนึ้ จา ก า ม น ว �ำน ์ จ ร า ล ิ ล เสน้ พ ผ่านศูนย์กลาง น ้ เส ด า น ข น ้ ส ะเ ล ่ ต ซิลิโคน แ ละ 600 นาโนเมตร แ ง ู ส ร ต เม โน า น 400 ั ง เค ร า ะ ห ์ ข อ ง ส ์ ร อ ม เ ิ ล โพ น ่ ผ แ ย เค ลื อ บ ด ้ ว ้า ียกวัสดุเลียนแบบเท เร ย ั จ ิ ว ม ี ท ง ่ ึ ซ อ เ ี ดีโอพ ล” (Geckel) ตุ๊กแกนี้ว่า “เกคเค
เมื่ อ น�ำเกคเคลไปทดสอบประสิท ธิภ าพ การยึดติดกับวัสดุต่างๆ พบว่าให้ผลดีทั้ง พื้นผิวแห้งและเปียก ทั้งเรียบและขรุขระ และยังใช้หมุนเวียนได้ถึง 1,000 ครั้ง แต่ เ มื่ อ ลอกโพลิ เ มอร์ ดี โ อพี เ อออก ประสิ ท ธิ ภ าพเกคเคลจะด้ อ ยลงทั น ที แสดงว่าโพลิเมอร์ของกรดอะมิโนดีโอพีเอ เป็นส่วนส�ำคัญทีท่ �ำให้การยึดเกาะติดแน่น
10
ผลิใบ
เซอร์สมิธ และ วัสดุที่เรียกว่าเกคเคลโดยฝีมือของ ศ.เมส ทธิภาพให้ดยี งิ่ คณะยังอยใู่ นขนั้ ทดลองและปรับปรงุ ประสิ ถาบันสุขภาพ ขึ้น โดยทีมวิจัยได้รับการสนับสนุนจากส ) และองค์การ แห่งชาติ (National Institutes of Health ่งได้รายงานผล บริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ซึ ะหวังว่าต่อไป การวิจัยลงในวารสารเนเจอร์ (Nature) แล หลายดา้ น โดย จะสามารถพัฒนาจนน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ เฉพาะด้านการแพทย์
ที่มา : www.manager.co.th https://en.wikipedia.org/wiki/Synthetic_setae
Let’s go Green
แนวทางอนุรักษ์พลังงาน การใช้พลังงาน อย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยการสร้างค่านิยม และจิตใต้ส�ำนึก การใช้พลังงาน
การเลือกใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5 หลอดผอมประหยัดไฟ
อย่างได้ผล
การใช้พลังงาน ทดแทน โดยเฉพาะพลังงาน ที่ได้จากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน�้ำ และอื่นๆ
การเพิ่ม ประสิทธิภาพเชื้อเพลิง เช่น การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างท�ำให้เชื้อเพลิง ให้พลังงานได้มากขึ้น
การใช้พลังงาน อย่างรู้คุณค่าจะต้อง มีการวางแผนและควบคุมการใช้ อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ สูงสุด มีการลดการสูญเสียพลังงาน ทุกขั้นตอน มีการตรวจสอบและดูแล การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าตลอดเวลา เพื่อลดการรั่วไหล ของพลังงาน
การหมุนเวียน กลับมาใช้ใหม่ โดยการน�ำ วัสดุที่ช�ำรุดน�ำมาซ่อมใช้ใหม่ การลดการทิ้งขยะที่ไม่จ�ำเป็น หรือการหมุนเวียนกลับมา ผลิตใหม่ (Recycle)
การอนุรักษ์พลังงาน หรือการใช้พลังงานเชิงอนุรักษ์ที่ส�ำคัญ ที่มา : www.energyvision.co.th
ผลิใบ
11
รอยเท้าของพ่อ
มีกังหันลมสูบน�้ำจ�ำนวน 2 เครื่อง ติดตั้งที่บริเวณด้านหน้า โครงการส่วนพระองค์ฯ และบริเวณโรงเพาะเห็ด ขนาดความสูง 18 เมตร ขนาดความกว้างของใบพัด 20 ฟุต จ�ำนวนใบพัด 45 ใบ ปริมาณน�้ำที่สูบได้ 2,000-24,000 ลิตรต่อชั่วโมง สูบน�้ำจากคลอง รอบพระต�ำหนักเข้ามาที่บ่อเลี้ยงปลานิลที่ด้านหน้าโครงการฯ และ น�ำน�้ำจากคลองมาใช้ในการอุปโภคที่บริเวณโรงเพาะเห็ด
กังหันลมสูบน�้ำ ในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
โครงการเครื่องอบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์
12
ผลิใบ
เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นแบบอุโมงค์ลมร้อน โดยมีแผงรับความร้อน จากแสงอาทิตย์และมีพัดลมเป็นตัวเป่าลมร้อนที่เกิดขึ้น สามารถน�ำไปใช้อบผลิตผลทางการเกษตรต่างๆ เช่น เมล็ดธัญพืช เมล็ดถั่ว ผัก ผลไม้ พืชสมุนไพร ตลอดจน ผลิตภัณฑ์เนื้อและผลิตภัณฑ์ประมง เพื่อเป็นการประหยัด พลังงานไฟฟ้าในการอบแห้งผลิตภัณฑ์อบแห้งของโครงการ ส่วนพระองค์ฯ ได้แก่ การท�ำกล้วยตาก และผลไม้อบแห้งอื่นๆ
เพื่อปูพ้นื ฐานการอนุรักษ์พลังงาน และใช้พลังงานทดแทน โดยการใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ และเพื่อสาธิตการผลิตกระแสไฟฟ้าจาก เซลล์แสงอาทิตย์ สาธิตการประจุกระแสไฟฟ้าตรงลงใน แบตเตอรี่และสาธิตเทคโนโลยีการป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ จ�ำหน่ายของการไฟฟ้านครหลวง ตลอดจนน�ำความร้อน จากแสงอาทิตย์มาใช้ประโยชน์ในการผลิตน�้ำร้อน
โครงการ บ้านพลังงานแสงอาทิตย์
งานทดลองผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ชื้ อ เพลิ ง เริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2528 ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ร.9 ได้เสด็จพระราชด�ำเนินตรวจเยี่ยมโครงการ ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา และมีพระราชกระแส รับสั่งให้ศึกษาต้นทุนการผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อย เพราะในอนาคตอาจเกิดเหตุการณ์นำ�้ มันขาดแคลน หรื อ อ้ อ ยราคาต�่ ำ การน� ำ อ้ อ ยมาแปรรู ป เป็ น แอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน จึงเป็น แนวทางหนึ่งที่จะแก้ไขปัญหานี้ได้ ปัจจุบันโครงการแก๊สโซฮอล์ใช้แอลกอฮอล์ 99% ผสมกับเบนซินธรรมดาในอัตราส่วน 1 : 9
โครงการ ผลิตแก๊สโซฮอล์
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ร.9 ทรงมี พระราชด�ำริตั้งแต่ พ.ศ.2518 ว่าควรมีการ น�ำแกลบมาใช้งานให้เป็นประโยชน์ ทั้งทางด้าน การท�ำเป็นปุ๋ยส�ำหรับปรับปรุงสภาพดินและท�ำเป็น เชื้อเพลิง ซึ่งจะช่วยอนุรักษ์ป่าไม้ได้อีกทางหนึ่ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2523 จึงได้มีการทดลองน�ำแกลบ มาอัดให้เป็นแท่งและแปรสภาพ ให้เป็นเชื้อเพลิงแท่ง
โครงการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง (แกลบอัดแท่ง) ผลิใบ
13
Science Tricks
สะ เต็ม ศึกษ า วิทยาศาสตร์
STEM
เทคโนโลยี
เป็นค�ำย่อจาก ภาษาอังกฤษของ ศาสตร์ 4 สาขา วิชา วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ สะเต็ ม ศึ ก ษา คื อ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้น การน�ำความรู้ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ หรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินชีวิต และการท�ำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและ การท�ำงาน การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรียนรู้ ที่ไม่เน้นเพียงการท่องจ�ำทฤษฎีหรือกฏทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฏเหล่านัน้ ผ่านการปฏิบตั ใิ ห้เห็นจริง ควบคู่กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งค�ำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูล และวิเคราะห์ขอ้ ค้นพบใหม่ๆ พร้อมทัง้ สามารถน�ำข้อค้นพบนัน้ ไปใช้หรือ บูรณาการกับชีวิตประจ�ำวันได้
14
ผลิใบ
5
เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจที่สอดคล้องกับเนื้อหาทั้ง 4 วิชา ท้าทายความคิดของนักเรียน
4
เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21
3
ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง เนือ้ หาวิชาทัง้ 4 กับชีวติ ประจ�ำวันและการท�ำอาชีพ
2
การจัดการเรียนรู้ ตามแนวทางสะเต็ม มีลักษณะ 5 ประการ
เป็นการสอนที่เน้นการบูรณาการ
1
ที่มา : http://www.stemedthailand.org ภาพประกอบ : www.freepik.com ผลิใบ
15
Grew the Earth
” ง า ้ ค � ำ ้ “หยาดน มหัศจรรย์ พืชกินแมลง
ต้ น หยาดน�้ ำ ค้ า ง (Sundew) เป็ น พื ช กิ น แมลงที่ มี ส ายพั น ธุ ์ หลากหลายมากที่สุดในปัจจุบัน มันกระจายตัวอยู่ทั่วโลก ตั้งแต่ บริเวณขั้วโลกที่หนาวเย็น จนถึง ทะเลทรายในออสเตรเลีย
มีถิ่นก�ำเนิดอยู่ในทุ่งที่มีแสงแดด จัด พืน ้ ดินไม่มแี ร่ธาตุอาหาร มัน จึงวิวัฒนาการเพื่อความอยู่รอด ด้วยการจับแมลงกินเป็นอาหาร และวิวฒ ั นาการมานานจนกระทัง่ เกิดสายพันธุแ์ ท้ และลูกผสมกว่า 200 ชนิด
มีหลายร้อยสายพันธุ์ บางชนิดไม่ ทิง้ ใบ บางชนิดปลูกได้ดใี นเขตร้อน บางชนิดเกิดในเมืองหนาว บาง ชนิ ด มี หั ว บางชนิ ด ก็ เ ล็ ก มาก เหมือนไม้แคระเรียกว่า Pigmy และบางชนิดสูงเกือบถึงเอว
มันจะสร้างน�ำ้ เหนียวใสคล้ายกาวเป็นหยดเล็กๆ จ�ำนวนมาก กลิน ่ รสยัว่ แมลงให้เข้าไป ดูดกิน มองเห็นพร่างพราวเหมือนน�้ำค้าง คนไทยจึงเรียกว่า หยาดน�้ำค้าง น�้ำใสที่ ต่อม Trichomes ผลิตขึ้นแท้ที่จริงเหนียวคล้ายกาว สามารถยึดแมลงไว้ไม่ให้ดิ้น หลุด และยิ่งแมลงดิ้นมากเท่าไร แรงดิ้นจะกระตุ้นให้ Trichomes อีกส่วนหนึ่งเร่ง สร้างน�ำ้ ย่อยออกมา ขณะเดียวกันใบของหยาดน�ำ้ ค้างก็จะค่อยๆ โอบม้วนเข้าหากัน ห่อแมลงไว้จนมิด รอเวลาให้น�้ำย่อยท�ำงานร่างแมลงจะค่อยๆ ถูกย่อยสลายกลาย เป็นอาหาร ให้หยาดน�้ำค้างดูดซึมเข้าไปใช้ประโยชน์ 16
ผลิใบ
ข้อมูล : www.neofarmthailand.com
Green Mind
ส�ำรวจเมื่อปี 2558 โดย กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
“ท�ำไมสารพันขยะจึงเป็นอันตรายต่อสัตว์ทะเล” – มีขยะมากมายที่ดูเหมือนอาหาร อย่างถุงพลาสติกซึ่งล่องลอยอยู่ในน�้ำ มองเผินๆ ก็คล้ายแมงกะพรุน ที่เต่าทะเลชื่นชอบ แต่ถ้ามันกินแมงกะพรุนปลอมเข้าไปเยอะๆ ต้องปวดท้องอย่างทรมานแน่นอน – ขยะหลายชิ้นถูกพ่อแม่นกทะเลคาบกลับไปที่รัง ซึ่งบางครั้งมันก็มีส่วนแหลมคมหรือปนเปื้อนสารเคมี จึงเป็นอันตรายต่อลูกนกที่ยังไม่โตเต็มที่ – สัตว์ทะเลไม่มีนิ้วมือ! ขยะพวกสายรัดพลาสติก ถุงเท้าและยางยืด อาจเป็นสาเหตุที่ท�ำให้พวกมันถูกพัน รัดร่างกายจนได้รับบาดเจ็บ การไม่มีนิ้วมือเพิ่มความยากล�ำบากในการแกะออกจากปีก ครีบ และคอ ** เราทุกคนสามารถช่วยกันดูแลชายฝั่งทะเลที่สวยงามและปกป้องสัตว์ทะเลจากขยะสารพัน ด้วยวิธีการง่ายๆ ...ลดใช้ ใช้ซ�้ำ และน�ำกลับมาใช้ใหม่! ปี 2557 ปี 2558
T T
5,614 ชิ้ น 2,873 ชิ้ น
ไม่มีข้อมูล 2,334 ชิ้ น
5,406 ชิ้ น 2,043 ชิ้ น
14,977 ชิ้ น 15,850 ชิ้ น 11,579 ชิ้ น 5,252 ชิ้ น
7,057 ชิ้ น 3,752 ชิ้ น
9,800 ชิ้ น 4,4192 ชิ้ น 6,276 ชิ้ น ไม่มีข้อมูล
6,388 ชิ้ น ไม่มีข้อมูล 5,406 ชิ้ น 2,065 ชิ้ น
9,276 ชิ้ น ไม่มีข้อมูล
5,861 ชิ้ น ไม่มีข้อมูล ผลิใบ
17
¢Ç´¾ÅÒʵԡ 450 »‚
¢Ç´á¡ŒÇ äÁ‹Â‹ÍÂÊÅÒ àÍç¹µ¡»ÅÒ 600 »‚
¡Œ¹ºØËÃÕè 1-5 »‚
àÈɼÅäÁŒ 2 ÊÑ»´ÒË
¶Ø§¾ÅÒʵԡ 10-20 »‚
¡Ãл‰Í§ ÍÅÙÁÔà¹ÕÂÁ 250 »‚
˹ѧÊ×;ÔÁ¾ 6 ÊÑ»´ÒË â¿Á 50 »‚
NEWS NEWS
No.
No.
LOREM
DOLOR
SIT AMET
IPSUM
LOREM LOREM
LOREM
LOREM
LOREM
IPSUM
IPSUM
IPSUM
IPSUM
IPSUM
DOLOR
DOLOR
DOLOR
DOLOR
SIT AMET
SIT AMET
SIT AMET
DOLOR
LOREM
LOREM
LOREM
IPSUM
IPSUM
IPSUM
DOLOR
DOLOR
SIT AM
ET
SIT AMET
SIT AMET
11:12:20
14
11:12:2014
SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMETLORE LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET M IPSUM DOLOR SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM AMET DOLOR SIT AMET LOREM DOLOR SIT IPSUM SIT AMET DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUM SIT AMET SIT AMET LOREMSIT AMET DOLOR DOLOR DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUM IPSUM AMET SIT AMET LOREM SIT AMET DOLOR DOLOR DOLOR SIT IPSUM SIT AMET IPSUMLOREM DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUMAMET SIT AMET LOREM SIT AMET DOLOR DOLORIPSUM DOLOR SIT SIT AMET LOREM DOLORLOREM IPSUM IPSUM AMET LOREM IPSUM LOREM DOLOR SIT AMET SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM DOLOR SIT SIT AMET LOREM LOREM IPSUM IPSUM DOLOR IPSUM IPSUM LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET AMETLOREM LOREM DOLOR AMET DOLOR SIT AMET LOREM IPSUMSIT SIT AMET DOLOR SIT AMET DOLOR SIT LOREM LOREM IPSUM DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUM IPSUM LOREM LOREM IPSUM DOLOR IPSUM LOREM DOLOR AMETSIT AMET DOLOR AMET IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR IPSUM SIT SIT AMET SIT AMET LOREM DOLOR DOLOR LOREMDOLOR SIT IPSUM SIT AMET DOLOR LOREM IPSUM SIT AMET LOREM LOREM IPSUM DOLOR LOREM IPSUM IPSUM DOLOR SIT AMET IPSUM DOLOR AMET AMET IPSUM SIT SIT AMET LOREM DOLOR SIT AMET SIT AMET LOREM DOLOR DOLOR SIT IPSUM SIT AMET LOREM IPSUM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR LOREM IPSUM IPSUM DOLOR IPSUM AMET LOREM SIT AMET SIT AMET LOREM DOLOR SIT AMET LOREM DOLOR DOLOR SIT IPSUM SIT AMET LOREM IPSUM DOLOR IPSUM SIT AMET LOREM DOLOR LOREM IPSUM IPSUM DOLOR IPSUM SIT AMET AMET LOREM SIT AMET DOLOR SIT AMET SIT AMETLORE IPSUM DOLOR LOREM DOLOR DOLOR SIT SIT AMET IPSUM SIT AMET IPSUM DOLOR LOREM IPSUM DOLOR AMET LOREMM IPSUM AMET AMET LOREM AMET SIT AMET LOREM DOLOR SIT DOLOR SIT DOLOR SIT DOLOR SIT IPSUM DOLOR IPSUM LOREM SIT AMET LOREM IPSUM LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET LOREM IPSUM LOREM IPSUM IPSUM AMET AMET SIT AMET DOLOR SIT AMET LOREM DOLOR SIT DOLOR DOLOR SIT IPSUM DOLOR IPSUMDOLOR SIT AMET LOREM SIT AMET LOREM IPSUM LOREMIPSUM DOLOR SIT AMETLOREM LOREM IPSUM IPSUM LOREM IPSUM SIT AMET AMET SIT DOLOR SIT AMET LOREM IPSUM LOREM DOLOR DOLOR SIT IPSUM DOLOR AMET LOREM IPSUM DOLOR LOREMT IPSUM DOLORSIT AMET SIT AMET DOLOR LOREMIPSUM DOLOR SIT AMET LOREM LOREM IPSUM LOREM SIT AMET IPSUM SIT AMET AMETLOREM AMET AMETLORE DOLOR IPSUM DOLORSIT AMET DOLOR DOLOR SIT DOLOR SIT SIT AMET DOLOR IPSUM IPSUM LOREM IPSUM LOREMMIPSUM SIT AMET LOREM IPSUM AMETLOREM DOLOR IPSUM DOLOR SIT AMET AMET LOREM AMET SIT AMET DOLOR SIT SIT AMET DOLOR LOREM DOLOR SIT IPSUM DOLOR LOREM IPSUM IPSUM LOREM IPSUM SIT AMET LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET LOREM IPSUM AMET LOREM AMET SIT AMET DOLOR SIT DOLOR SIT DOLOR DOLOR SIT AMET IPSUM DOLOR SIT LOREM IPSUM LOREM IPSUM LOREM IPSUM AMET LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET AMET LOREM DOLOR SIT DOLOR DOLOR SIT IPSUM IPSUM IPSUM SIT LOREM SIT LOREM AMET LOREM AMET DOLOR SIT IPSUM DOLOR DOLOR SIT LOREM LOREM IPSUM LOREM IPSUM SIT AMET DOLOR SIT IPSUM DOLOR LOREM IPSUM LOREM SIT AMET DOLOR SIT IPSUM DOLOR LOREM IPSUM AMETLOREM SIT AMET SIT AMET IPSUM DOLOR IPSUM DOLOR AMET LOREM AMET LOREM SIT AMET SIT AMET DOLOR SIT IPSUM DOLOR IPSUM DOLOR LOREM IPSUM AMET AMET LOREM AMET LOREM SIT AMET SIT AMET DOLOR SIT DOLOR SIT IPSUM DOLOR IPSUM DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUM AMET LOREM AMET LOREM AMET SIT SIT SIT DOLOR DOLOR IPSUM DOLOR LOREM IPSUM LOREM IPSUM AMET LOREM DOLOR SIT LOREMT LOREM IPSUM AMET DOLOR SIT LOREM IPSUM
SIT AME M DOLOR
T
LOREM IPSU
EM IPSUM
LORSIT AMET DOLOR
LOREM
DOLOR
SIT AMET
IPSUM
M
IPSU LORSITEM AMET DOLOR
18
ผลิใบ
ที่มา : http://news.thaipbs.or.th ภาพประกอบ : design by freepik
English for Fun
Alternative Energy พลังงานทดแทน
พลังงานทุกชนิดที่จะมาทดแทนน�้ำมัน ไม่ว่า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานน�้ำ พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานชีวมวล เป็นต้น
Renewable energy พลังงานหมุนเวียน
พลังงานหมุนเวียน หมายถึงพลังงานที่น�ำกลับมาใช้ได้อีก ถือเป็น Sub-set ของพลังงานทดแทน
ผลิใบ
19
Think Out of the Box
FOOD TECH
เติมเต็มความต้องการผูบ ้ ริโภค เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เข้ า มามี บ ทบาท ในการปรับเปลีย ่ นกระบวนการผลิต การจั ด ส่ ง และการบริ โ ภคอาหาร แบบดั้งเดิม • Yelp และ UrbanSpoon เว็บไซต์แชร์วิธี การท�ำอาหาร รีวิวร้านอาหาร • Savored เว็บไซต์แจกคูปองอาหาร • Opentable เว็บไซต์ให้บริการจองโต๊ะ อาหารร้านดัง • ธุรกิจจัดส่งอาหารออนไลน์ท่ีให้บริการ ตั้งแต่จัดส่งวัตถุดิบสดใหม่จากฟาร์ม ไป จนถึ ง วั ต ถุ ดิ บ พร้ อ มปรุ ง ตลอดจนเมนู อาหารมือ้ พิเศษทีร่ งั สรรค์ขนึ้ โดยเชฟชือ่ ดัง
Food Tech สตาร์ทอัพ แบ่งออกเป็น หลากหลายรูปแบบ ตัง้ แต่การจัดส่ง วัตถุดบ ิ สดใหม่ไปจนถึงอาหารพร้อม รับประทาน
20
ผลิใบ
• Grubhub แอพพลิเคชัน่ ทีใ่ ห้บริการจัดส่งอาหาร โดยจูงใจให้ผบู้ ริโภค ใช้โทรศัพท์มอื ถือและแพลตฟอร์มบนเว็บไซต์ในการสัง่ อาหารกลับบ้าน แทนการโทรสั่งอาหารในรูปแบบเดิม • Foodpanda และ Deliveroo เว็บไซต์ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นสื่อกลาง ในการให้บริการจัดส่งอาหารจากร้านอาหารต่างๆ ซึง่ ปกติไม่มบี ริการ จัดส่งอาหารถึงบ้าน
Food Tech ไม่เพียงแต่เป็นการสร้าง ความสะดวกสบายให้ กั บ ผู ้ บ ริ โ ภค แต่ยังท�ำให้สินค้าต่างๆ เข้าสู่ตลาด ได้ ง ่ า ยขึ้ น โดยการจั ด ส่ ง อาหาร ประเภทที่สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ ของผู้บริโภค • Boston Juice Cleanse จัดส่งน�้ำผัก ผลไม้สกัดเย็น • Blue Apron และ Plated จัดส่งวัตถุดิบ ในการท�ำอาหาร โดยผูบ้ ริโภคสามารถเลือก เมนูที่ต้องการจะท�ำและระบุจ�ำนวนคนที ่ จะรับประทาน และทางร้านจะด�ำเนินการ จั ด ส่ ง วั ต ถุ ดิ บ อาหารเมนู นั้ น ๆ ให้ แ ก่ ผู้บริโภคถึงบ้าน • Sprig และ Spoonrocket มี ก ารใช้ แอพพลิ เ คชั่ น เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคสามารถ สั่ ง เมนู ที่ เ ชฟชื่ อ ดั ง ท�ำขึ้ น มาและจั ด ส่ ง ถึงบ้านในเวลาเพียง 15 นาที • การให้บริการจัดส่งวัตถุดิบสดใหม่จาก ฟาร์มถึงมือของผูบ้ ริโภค (Farm-to-Table) โดยผูป้ ระกอบการ Food Tech จะท�ำหน้าที่ เป็นคนกลางระหว่างเกษตรกรและผูบ้ ริโภค ในการซื้อขายสินค้าออร์แกนิค รวมถึงมี การระบุ แ หล่ ง ที่ ม า ตลอดจนการั น ตี คุณภาพของสินค้า ซึง่ ธุรกิจแบบนีจ้ ะค่อยๆ เข้ามาดึงส่วนแบ่งทางการตลาดไปจาก ร้านอาหารและร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม สร้างโอกาสให้กับธุรกิจที่ให้บริการ ด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละผู ้ ใ ห้ บ ริ ก าร ทางการเงิน
ที่มา : www.scbeic.com ภาพประกอบ : design by freepik
สร้ า งโอกาสให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการไทยที่ อ ยากจะ พัฒนา Food Tech ผ่านช่องทางออนไลน์ • ด้วยไลฟ์สไตล์ของคนไทยที่เริ่มมีการปรับเปลี่ยนในลักษณะ ที่คล้ายคลึงกับคนตะวันตก โดยผู้คนโดยส่วนใหญ่อาศัยอยู่ ในเมืองกันมากขึ้นและมีขนาดครอบครัวที่เล็กลง ท�ำให้การ ใช้เวลาไปกับกิจกรรมท�ำอาหารมีน้อยลง ดังนั้น ธุรกิจ จัดส่งอาหารออนไลน์ ไม่ว่าจะเป็นการจัดส่งวัตถุดิบสดใหม่ อาหารพร้ อ มรั บ ประทาน หรื อ อาหารที่ ป รุ ง มาจาก ร้านอาหารต่างๆ จึงกลายเป็นกระแสที่ได้ความนิยมมากขึ้น
• ธุรกิจทีใ่ ห้บริการด้านโลจิสติกส์อยูแ่ ล้ว สามารถเพิม่ การจัดส่งอาหาร ออนไลน์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาด • ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารทางการเงิ น เป็ น อี ก กลุ ่ ม ที่ จ ะได้ ป ระโยชน์ จ ากธุ ร กิ จ Food Tech ด้วยการจัดเตรียมแพลตฟอร์มที่ใช้งานง่าย มีความ น่าเชื่อถือและปลอดภัย ผลิใบ
21
NT
INABLE M A T S U S O r VEM fo E
22
ผลิใบ
องคการธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน Thailand Business Council for Sustainable Development http://www.tei.or.th/tbcsd/
Green Innovation
แสงสีมว่ งจากหลอด
Black Light แสงสีม่วงจากหลอด Black Light นั้น เราสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ ได้มากมาย ทีเ่ ห็นกันอย่างแพร่หลายก็คอื เคาท์เตอร์นบั เงินในธนาคาร ใช้เปิด งานปาร์ตตี้ า่ งๆ ในห้องมืดส�ำหรับล้างรูป และยังน�ำมาใช้ในการตรวจสอบวัตถุ โบราณของนักโบราณคดีด้วย แล้วน้องๆ สงสัยไหมคะว่าแสงไฟ Black Light ความมีความแตกต่างจากแสงไฟอื่นๆ อย่างไร ถึงแม้วา่ หน้าตาของมันจะไม่แตกต่างจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ทวั่ ไป แต่สิ่งที่ไม่เหมือนกันก็คือแสงที่ปล่อยออกมา เพราะเมื่อเราเปิดหลอดไฟ Black Light ในห้องมืด จะได้แสงสีม่วงจางๆ โดยไม่ได้ท�ำให้ห้องสว่างขึ้น แต่การท�ำงานของหลอด Black Light นอกจากจะท�ำให้เสือ้ ผ้าขาวเรืองแสง ในที่มืดแล้ว มันยังถูกใช้ในการตรวจสอบหาสารเคมี หรือวัตถุที่ต้องการได้ การประดิษฐ์ปากกาและน�ำ้ หมึกล่องหนจะมองเห็นได้เมือ่ ใช้ไฟ Black Light ส่อง แถบทีซ่ อ่ นไว้ในธนบัตรก็มสี ว่ นของฟอสฟอรัสทีจ่ ะเรืองแสงใต้ไฟ Black Light เท่านั้น ซึ่งท�ำให้เราสามารถแยกแยะธนบัตรจริงและปลอมออกจากกันได้ วิศวกรสามารถตรวจสอบหารอยรัว่ ของสารเคมีภายในท่อได้โดยการฉีดสาร ที่มีส่วนผสมของฟอสฟอรัสเข้าไปและใช้หลอดไฟส่องหาจุดรั่วไหล ซึ่งมี ประโยชน์อย่างมากเมือ่ มีการเดินท่อเดินสายระโยงระยางภายในอาคารหรือ โรงงานขนาดใหญ่ หรืออย่างที่เห็นในซีรี่ย์สืบสวนสอบสวนเมื่อนักสืบ ต้องการหารอยนิว้ มือก็จะมีการฉีดสเปรย์ทมี่ สี ว่ นประกอบของสารฟอสฟอรัส เข้าไปในที่เกิดเหตุและใช้ไฟแบล็กไลท์ในการตรวจหารอยนิ้วมือผู้ต้องสงสัย รวมถึงสารคัดหลั่งหลายๆ อย่างจากร่างกายก็สามารถเรืองแสงได้ เช่น เลือด และปัสสาวะ ที่มา : www.youtube.com/watch?v=IPlKpmOEt3A www.science.howstuffworks.com/innovation/everyday-innovations/black-light.htm www.physics.org/article-questions.asp?id=66 www.todayifoundout.com/index.php/2012/06/how-black-lights-make-things-glow/ ผลิใบ 23
On the Move
ใครทีเ่ ป็นแฟนผลิใบคงจะทราบดีวา่ ส่วนใหญ่เนือ้ หาของเราจะน�ำเสนอเรือ่ งราวทีส่ อดแทรกปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม เข้าไปด้วย แต่หลายครั้งพี่ก็ได้สรรหาข้อมูลทีึ่มีประโยชน์ส�ำหรับน้องๆ ที่ก�ำลังอยู่ในวัยเรียนมาฝากกันด้วย เพื่อให้ได้ รับข้อมูลที่หลากหลายเหมาะสมกับช่วงวัยมากขึ้น ซึ่งคอลัมน์ On the Move ฉบับนี้เราได้น�ำข้อมูลที่น่าสนใจส�ำหรับ น้องๆ ที่ก�ำลังจะตัดสินใจเลือกเรียนด้านการบินว่ามีโอกาสในการท�ำงานมากน้อยแค่ไหน
นักบินในประเทศไทยขาดแคลน สถานการณ์การขาดแคลนนักบินเกิดขึ้นในประเทศไทย เนื่องจากการขยายตัวของสายการบิน และการเพิ่มเที่ยวบิน ขณะที่ก�ำลังการผลิตนักบินโดยเฉพาะระดับกัปตันนั้นไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ จนเกิดการทุ่มเงินซื้อตัวนักบินระหว่างสายการบินกันอย่างสุดตัว
จ�ำนวนนักบิน ในประเทศไทย
กัปตัน 2,472 คน
นักบินผู้ช่วย 3,600 คน
พาณิชย์ 2,472 คน เฮลิคอปเตอร์ 96 คน
พาณิชย์ 3,179 คน เฮลิคอปเตอร์ 421 คน
ก�ำลังผลิตนักบิน / ปี ม.รังสิต 50 คน โรงเรียนการบินศรีราชา 50 คน ม.นครพนม 50 คน โรงเรียนบางกอกเอวิเอชั่น 250 คน สถาบันเทคโนโลยีการบินพลเรือน 100 คน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ความต้องการนักบิน ในปี 2558-2562
2,100 คน 24
ผลิใบ
อัตราสากลเครือ่ งบินพาณิชย์ 1 ล�ำ ต่อนักบิน
14.5-14.6 คน
เรียนที่ไหนได้บ้าง กัปตัน เก็บชั่วโมงบิน
นักบินผู้ช่วย ผ่านการฝึกและตรวจสอบ
นักบินฝึกหัด
สอบใบอนุญาตนักบินพาณิชย์ตรี (CPL)
จากสภาวการณ์นักบินพาณิชย์ขาดแคลน หลายสายการบินเปิด ช่องทางสร้างบุคลากรของตัวเองผ่านการให้ทนุ ขณะทีม่ สี ถาบัน การศึกษาด้านการบินมากขึ้น โดยมีค่าเรียนตลอดหลักสูตร มากกว่า 2-3 ล้านบาท หลังจากสอบใบอนุญาตฯ ได้แล้ว นักบิน จะเก็บชั่วโมงบินเพื่อก้าวสู่การเป็นกัปตัน
สถาบันฝึกอบรมด้านการบิน เรียน 1 ปี (ส่วนใหญ่รับวุฒิ ป.ตรี)
สถาบันการบินพลเรือน โรงเรียนการบินศรีราชา โรงเรียนการบินกรุงเทพ โรงเรียนการบินเอเชีย เอวิเอชั่นอเคเดมี
มหาวิทยาลัย เรียน 4 ปี
ม.อีสเทิร์นเอเชีย ม.อัสสัมชัญ สถาบันการบิน ม.รังสิต วิทยาลัยนานาชาติ ม.นครพนม
สถาบันการบินรอยัล สกายเอวิเอชั่นเซ็นเตอร์ โรงเรียนการบินกองทัพ อากาศ (ก�ำแพงแสน)
สถาบันเทคโนโลยีการบิน
ม.เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ทุนสายการบินต่างๆ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
เรียนที่สถาบันฝึกอบรมด้านการบิน
คุณสมบัตินักบินพาณิชย์
สอบชิงทุนนักบินฝึกหัด เมื่อสอบ ใบอนุญาตได้แล้ว ต้องกลับมาท�ำงาน ให้สายการบิน
(แล้วแต่สายการบิน
จบปริญญาตรี อายุไม่เกิน 28-30 ปี สูงไม่ต�่ำกว่า 163-165 ซม. พ้นพันธะทางทหาร
สุขภาพดี ไม่มีประวัติอาชญากรรม TOEIC 650 คะแนนขึ้นไป
ที่มา : http://www.thaipbs.or.th/ ผลิใบ 25
EIA กับ EHIA คืออะไร ?
The Question Mark?
26
ผลิใบ
ถ้าใครเคยดูข่าวเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมคงจะได้ยินค�ำว่า EIA และ EHIA กันอยู่ บ่อยๆ ซึ่งหลายคนก็ไม่ทราบว่าคืออะไร The Question Mark? ในฉบับนี้จึงน�ำ ค�ำตอบมาให้ทราบกันค่ะ EIA (Environmental Impact Assessment) คือ “รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” จากโครงการต่าง ๆ ของรัฐและเอกชน เช่น เขื่อน โรงไฟฟ้า ถนน สนามบิน ทีอ่ ยูอ่ าศัย โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ ทัง้ ด้านบวกและ ลบ เพือ่ เตรียมมาตรการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขก่อนเริม่ สร้างโครงการนัน้ ๆ ส่วน EHIA (Environmental Health Impact Assessment) เป็นรายงาน ส่วนหนึ่งของ EIA อีกที แต่จะเน้นที่ “ผลกระทบต่อสุขภาพ” ของประชาชนที่อาจ เกิดขึ้นจากโครงการนั้น ๆ หลายประเทศออกพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่ง ชาติ บังคับให้ภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ต้องท�ำ EIA และ EHIA ก่อนสร้างโครงการต่าง ๆ โดยเริม่ จากกระบวนการกลัน่ กรองโครงการ จัดเวทีรบั ฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน เพื่อกําหนดขอบเขตการศึกษาและประเมินระดับ ผลกระทบ จากนั้นต้องจัดเวทีรับฟังการทบทวนร่างรายงานอีกครั้งเพื่อก�ำหนด มาตรการป้องกัน แก้ไข และติดตามตรวจสอบ ก่อนจะท�ำรายงาน EIA หรือ EHIA เสนอส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) และหน่วยงานอนุญาต เมือ่ ผ่านความเห็นชอบแล้ว สผ. จะส่งรายงาน EIA หรือ EHIA ไปขอความเห็น ประกอบจากองค์กรอิสระ ขั้นตอนสุดท้ายหน่วยงานผู้มีอํานาจอนุมัติจะเผยแพร่ เหตุผลและคําชี้แจงการตัดสินใจต่อสาธารณะและบนเว็บไซต์ เพราะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมบ้านเราก�ำลังขยายตัวรวดเร็ว ถ้ามีแต่ผสู้ ร้าง สิง่ ต่าง ๆ โดยมุง่ แต่ผลตอบแทนทางธุรกิจ ไม่ส�ำรวจผลกระทบก่อนด�ำเนินโครงการ ย่ อ มมี โ อกาสก่ อ ปั ญ หาทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล้ อ มไปจนถึ ง สุ ข ภาพประชาชน EIA และ EHIA จึงเป็นเหมือนประตูด่านแรกที่จะปิดกั้นผลเสียต่าง ๆ สู่ชุมชนและ สิ่งแวดล้อม เพื่อความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่ายนั่นเองค่ะ
ที่มา : www.sarakadee.com ภาพประกอบ : www.freepik.com
Evolution Fun Facts
วิวัฒนาการพลังงานไทย จากสถานการณ์การใช้พลังงานในประเทศไทยเมื่อ เดือนมกราคม 2560 มีปริมาณ 6,698 พันตันเทียบเทา น�้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ 1.9 คิดเปนมูลคาการใชพลังงานรวมกวา 93,765 ลานบาท เป็นตัวเลขทีน่ า่ ตกใจใช่ไหมคะ ซึง่ ตัวเลขเหล่านีก้ ม็ แี นวโน้ม ที่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในยุคที่เศรษฐกิจขยายตัว นี่เป็น อีกหนึ่งปัจจัยที่ท�ำให้พลังงานธรรมชาติก�ำลังจะหมดไป และเป็นเหตุผลว่าท�ำไมราคาพลังงานจึงสูงขึ้นเป็นเงา ตามตัว เราทุกคนทราบดีว่าพลังงานนั้นจ�ำเป็นต่อชีวิตขนาด ไหน แต่ อ าจจะยั ง ไม่ ท ราบว่ า พลั ง งานนั้ น มี ที่ ม าที ไ ป อย่างไร ในฉบับนี้เราจะพาน้องๆ ไปรู้จักกับวิวัฒนาการ ของพลังงานในประเทศไทยกันค่ะ
ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 – พ.ศ. 2453) ได้มีวิทยาการ สมัยใหม่เข้ามาในประเทศไทยมากมาย ท�ำให้ประเทศเกิด การเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน ช่วงนั้นจึงถือได้ว่าเป็น สยามยุคพัฒนา โดยเริม่ มีการก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น โทรศัพท์ ไปรษณีย์ โทรเลข โรงพยาบาล รถราง รถไฟ รวมไปถึงการน�ำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ เช่น ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมหรือนำ�้ มัน ทีเ่ ริม่ เข้ามามีบทบาท ในชีวติ ประจ�ำวันของคนไทย กระทัง่ กลายมาเป็นสิง่ ส�ำคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในที่สุด กิจการด้านพลังงานของประเทศไทย ทัง้ ในด้านไฟฟ้า และน�้ำมันนั้น มีการพัฒนามาเป็นล�ำดับอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
ช่วงบุกเบิกพลังงานสยาม (พ.ศ. 2411 – 2475) ช่วงเติบโตด้านพลังงาน (พ.ศ. 2476 – 2483) ช่วงฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลก (พ.ศ. 2484 – 2500) ช่วงเร่งรัดพัฒนา (พ.ศ. 2501 – 2514) ช่วงโชติช่วงชัชวาล (พ.ศ.2515 – 2549) ช่วงเศรษฐกิจก้าวกระโดด (พ.ศ. 2541 – 2549) ช่วงบุกเบิกพลังงานสยาม (พ.ศ. 2411 – 2475) เนือ่ งจากวิวฒ ั นาการของพลังงานไทยนัน้ มีเนือ้ หาทีค่ อ่ นข้างมาก ในฉบับนีจ้ งึ ขอน�ำเสนอในช่วงบุกเบิกพลังงาน สยามกันก่อน และในฉบับหน้าเราจะมาท�ำความรู้จักกับช่วงอื่นๆ ของวิวัฒนาการของพลังงานไทยกันต่อค่ะ ที่มา : กระทรวงพลังงาน ภาพประกอบ : www.freepik.com
ผลิใบ
27
น ั ม ำ ้ � น น า ง ง ั ล พ ช่วงบุกเบิกพลังงานสยาม
น�้ำมันก๊าดเป็นน�ำ้ มัน เชือ้ เพลิงชนิดแรกที่เข้ามา ในประเทศไทย ในระยะแรกใช้เพื่อ จุดตะเกียงให้แสงสว่าง ประชาชนในสมัยนัน้ เรียกน�้ำมันก๊าดว่าน�้ำมันปิโตรเลียม น�้ำมันก๊าดได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว เนื่องจากใช้ง่าย สะดวก มีควันและ เขม่าน้อยกว่าน�้ำมันมะพร้าว บริษทั น�ำ้ มันต่างชาติทเี่ ข้ามา ค้าน�ำ้ มันในประเทศไทยเป็นบริษัทแรก คือ บริษัท รอยัลดัทช์ ปิโตรเลียม จ�ำกัด จัดตั้งผู้แทนจ�ำหน่ายน�้ำมันในกรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ. 2435 ต่อมาได้ร่วมทุนกับ บริษัท เชลล์ทรานสปอร์ตแอนด์เทรดดิ้ง จ�ำกัด ก่อตั้ง บริษัท เอเชียติก ปิโตรเลียม (สยาม) จ�ำกัด ขึ้นเพื่อจ�ำหน่ายน�้ำมันก๊าด บริษทั แสตนดาร์ด ออยล์ จ�ำกัด จากสหรัฐอเมริกา ได้เข้าสู่ ธุรกิจปิโตรเลียมของประเทศไทยเป็นราย ถัดมา ด้วยการเปิดที่ท�ำการสาขาพร้อมทั้ง ก่อสร้างคลังน�้ำมันขึ้นในกรุงเทพฯ โดยน�ำเข้า มันก๊าด ตรา “ไก่” และ ตรา “นกอินทรี” ตลอดจนน�ำ้ มันหล่อลืน่ เครือ่ งจักรไอน�ำ้ ใน โรงสีข้าวเข้ามาจ�ำหน่าย
28
ผลิใบ
พ.ศ. 2437
พ.ศ. 2435
ในช่วงระยะเวลาใกล้เคียงกัน บริษัทแว็คคั่มออยล์ จ�ำกัด เป็นอีกบริษัทหนึ่งที่ได้เข้ามาค้าน�้ำมัน ในประเทศไทย ซึ่งต่อมาได้รวมกิจการเข้ากับ บริษัทแสตนดาร์ดออยล์ฯ พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท โซโคนี่แว็คคั่มคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด โดยจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์น�้ำมันหล่อลื่นตรา “นกแดง” ซึ่งมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายในขณะนั้น
พ.ศ. 2439
พระยาสุรศักดิ์มนตรี เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ จึงได้น�ำรถยนต์คันแรกเข้ามาทดลอง วิ่งบนท้องถนน และอีก 6 ปีต่อมา พระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร) ได้ดัดแปลงมาเป็นรถเมล์ขาว จึงเป็นจุดเริ่มใน การน�ำน�้ำมันเบนซินมาใช้ในประเทศไทย
มีการก่อสร้างสถานี บริการเพื่อจ�ำหน่ายน�้ำมัน บริษัทค้าน�้ำมันต่างๆ ได้ทยอยน�ำ น�้ำมันดีเซลและน�้ำมันเตาเข้ามาจ�ำหน่าย ในประเทศไทย ในช่วงแรกๆ กิจการน�้ำมันเป็นการซื้อมาขายไป ไม่มีการผลิตในประเทศ
พ.ศ. 2473
พ.ศ. 2464
มีการ พบน�้ำมันที่อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงสั่งให้ขุดบ่อเพื่อกักน�้ำมันไว้ เรียกว่า “บ่อหลวง” หรือ “บ่อเจ้าหลวง” พลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระก�ำแพงเพชร อัครโยธิน เมื่อครั้งด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้บัญชาการ รถไฟ ทรงติดต่อว่าจ้างนักธรณีวิทยา ชาวอเมริกันขื่อ Mr. Wallace Lee มาท�ำการส�ำรวจ เมื่อปี พ.ศ. 2464 ผลิใบ
29
พลังงานไฟฟ้า
ช่วงบุกเบิกพลังงานสยาม
ประเทศไทย เริ่มมีไฟฟ้าใช้ครั้งแรก โดยผู้ให้ก�ำเนิดการไฟฟ้าของไทย คือ เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) เมื่อครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนาถ โดยท่าน ได้ติดตั้งเครื่องกเนิดไฟฟ้า เดินสายไฟฟ้า และ ติดดวงโคมไฟฟ้าที่กรมทหารซึ่งเป็นที่ตั้งกระทรวงกลาโหม ในปัจจุบัน ในวันที่เปิดทดลองใช้ไฟฟ้าครั้งแรกนั้น บรรดาขุนนาง ข้าราชการ และประชาชน มาดูแสงไฟฟ้า อย่างแน่นขนัดด้วยความตื่นตาตื่นใจ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ติดตั้งไฟฟ้า แสงสว่างขึ้นในวังหลวงทันที รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัมปทานเดินรถราง แก่ นายอัลเฟรต จอห์น ลอฟตัส และนายอังเดร เดอริเชอลิเออร์ จนในที่สุดวันที่ 22 กันยายน 2431 รถรางสายแรกในประเทศไทยและในเอเชียก็เกิดขึ้น โดยการเดินรถรางครั้งแรกใช้ม้าลากขบวนรถราง เช่นเดียวกับรถม้า ถือเป็นการสร้างระบบขนส่งมวลชน ครั้งส�ำคัญในประวัติศาสตร์ ซึ่งส่งผลให้ การคมนาคมในพระนครสะดวกยิ่งขึ้น
พ.ศ. 2427
พ.ศ. 2430
* จากคมนาคมด้วยรถรางนี้เอง ที่ท�ำไฟฟ้าได้ก่อประโยชน์อย่างส�ำคัญ เดิมเจ้าหมื่นไวยวรนาถวางแผนที่สร้าง โรงไฟฟ้าให้ประชาชนในจพระนครได้ใช้ไฟฟ้า โดยคิดจะจัดรูปบริษัทร่วมกับชาวต่างประเทศ แต่ยังไม่ทันได้ด�ำเนินการ
ทางราชการได้รับ กิจการไฟฟ้าที่เจ้าหมื่นไวยวรนาถ ริเริ่มไว้มาด�ำเนินการต่อ เวลานั้น กิจการรถรางขาดทุน และได้โอนมาให้ บริษัท เดนมาร์ก ซึ่งได้ขยายกิจการรถราง ใหม่ โดยเปลี่ยนจากม้ารถลาก มาใช้ไฟฟ้า เคลื่อนขบวนรถ ถือเป็นขบวน รถรางไฟฟ้าสายแรกๆ ในโลก
*** การผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าวัดเลียบและโรงไฟฟ้าสามเสน ท�ำให้ประชาชนในเขตพระนครและธนบุรีมีไฟฟ้าใช้กันอย่างกว้างขวาง และยังได้รับการบันทึกไว้ในหนังสือ Far Eastern Review ฉบับประจ�ำเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2474 ว่า “ด้านหนึ่งของเอเชียอาคเนย์ อยู่ที่บางกอกเมืองหลวงของประเทศสยาม” สะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงเป็นปึกแผ่น และความนิยมอย่างแพร่หลายของกิจการไฟฟ้าในเมืองหลวงได้เป็นอย่างดี อีกก้าวส�ำคัญของกิจการไฟฟ้าคือ ไฟฟ้าได้ทวีความส�ำคัญขึ้นเป็นสาธารณูปการที่มีผลต่อความมั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองของประเทศ
30
ผลิใบ
พ.ศ. 2437
ความนิยมใช้ไฟฟ้า พ.ศ. 2440 เริ่มเพิ่มขึ้นใน พ.ศ. 2440 นายเลียวนาดี ชาวอเมริกันผู้ร่วมกันจัดตั้ง บริษัท บางกอก อิเล็กตริก ไลต์ ซินดิเคท (Bangkok Electric Light Syndicate) ด�ำเนินกิจการ ไฟฟ้าโดยเอกชนเป็นครั้งแรก โดยมีสัญญาจ่ายไฟ พ.ศ. 2444 นายอ๊อก เวสเตนโฮลซ์ ตามจุดต่างๆ ในท้องถนนหลวงและสถานที่ราชการ ชาวเดนมาร์ก จึงรับโอนกิจการมาในนาม โดยได้เช่าที่ดินวัดราชบูรณะรายวรวิหาร (วัดเลียบ) บริษทั ไฟฟ้าสยาม จ�ำกัด (Siam Electricity Co., Ltd.) เพื่อตั้งโรงจักรผลิตไฟฟ้า โรงไฟฟ้าแห่งนี้ ซึ่งจดทะเบียนที่กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จึงเรียกกันว่า โรงไฟฟ้าวัดเลียบ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2441 เพื่อด�ำเนินกิจการเดินรถรางและ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าในพระนคร โดยมีสถานที่ท�ำการและ โรงไฟฟ้าอยู่ข้างวัดเลียบ โรงไฟฟ้าวัดเลียบในสมัยนั้น เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อน (ไอน�้ำ) ใช้ไม้ฟืน ถ่านหิน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า น�้ำมัน และแกลบเป็นเชื้อเพลิง มีเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 6 เครื่อง และรวมก�ำลังผลิตทั้งสิ้น 18,500 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช กิโลวัตต์ (18.50 เมกะวัตต์) (ปั้น สุขุม) เสนาบดีกระทรวงนครบาล จัดสร้างโรงไฟฟ้า และโรงกรองน�้ำขึ้นที่สามเสนในคราวเดียวกัน พ.ศ. 2455 เพื่อจะได้ก�ำลังไฟฟ้าที่มีราคาถูกและสะดวกในการเดินเครื่องสูบน�้ำ ของการประปาด้วย โรงไฟฟ้าสามเสนก่อสร้างแล้วเสร็จ รัฐบาล ในปี พ.ศ. 2457 มีก�ำลังผลิต 25,500 กิโลวัตต์ ได้ประกาศใช้ เริ่มจ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้า โดยใช้ชื่อว่า พระราชบัญญัติควบคุมกิจการค้าขาย การไฟฟ้าหลวงสามเสน เป็นรัฐพาณิชย์ ระบุถึงสาธารณูปโภคไว้ 7 อย่าง ได้แก่ อยู่ภายใต้การควบคุมของกระทรวงมหาดไทย รถราง ขุดคลอง เดินอากาศ ประปา ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นกองไฟฟ้าหลวง พ.ศ. 2471 รถไฟชลประทาน และโรงไฟฟ้า ในส่วนของ สามเสน กิจการไฟฟ้านั้น จะต้องได้รับอนุญาตหรือ สัมปทานจากรัฐก่อนจึงจะด�ำเนิน รัฐบาลมีนโยบาย การค้าขายได้ ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกิจการไฟฟ้า ขึ้นทั่วประเทศเพื่อกระจายความเจริญ พ.ศ. 2472 ไปสู่ภูมิภาค จึงได้จัดตั้งแผนกไฟฟ้า ** ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทยจาก สังกัดกองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข “ระบอบราชาธิปไตย” มาเป็น “ระบอบประชาธิปไตย” กระทรวงมหาดไทยขึ้น เพื่อจัดให้มีไฟฟ้า เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น กิจการไฟฟ้าได้ขยายไปยังสุขาภิบาล ใช้ตามสุขาภิบาลต่างๆ หลายแห่ง ซึ่งได้แก่ ปราจีนบุรี ภูเก็ต นครนายก ชลบุรี บ้านโป่ง จันทบุรี และเชียงใหม่
ติดตามต่อฉบับหน้า >>
ผลิใบ
31
Cover Story ความร้อนใต้พิภพ
ความร้อนภายในโลก ท�ำให้น�้ำใต้ดินมีอุณหภูมิสูงขึ้น น�้ำที่มีอุณหภูมิสูงจะถูกสูบขึ้นมา แล้วส่งจ่ายไปตาม บ้านเรือน เพื่อให้ความร้อนแก่ตัวอาคาร ในขณะที่ไอน�้ำที่เกิดจากความร้อนจากแหล่งเดียวกันนี้ สามารถน�ำไปผลิตไฟฟ้าได้
เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
น�้ำ
กังหัน
หอท�ำความเย็น
เครือ่ งปัม๊ น�ำ้ เครือ่ งปัม๊ น�ำ้ น�้ำเย็น น�้ำร้อน
ในกรณีที่ไม่มีแหล่งน�้ำใต้ดิน เราสามารถอัดน�้ำลงไป จากนั้นสูบน�้ำที่ได้รับการถ่ายเทความร้อนใต้พิภพแล้วน�ำขึ้นมาใช้ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
พลังงานแสงอาทิตย์
ลม
พลังงานจากการเคลื่อนที่ของลม สามารถแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยอาศัยกังหันลมที่หมุน และขับเคลื่อนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
กระจก
พลังความร้อนจากดวงอาทิตย์ ที่ถูกรวมศูนย์โดยใช้กระจก วางในมุมต่างๆ สามารถน�ำไป ใช้ในการหุงต้มอาหาร หรือ ต้มน�้ำให้เดือด เพื่อใช้ในการ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้
กังหัน
กระแสน�้ำ
พลังงานที่เกิดจากภาวะน�้ำขึ้น-ลง สามารถ น�ำไปใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
รถเก็บขยะ
โรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน
ชีวมวล
ขบวนการสังเคราะห์แสงของพืช ท�ำให้เกิดการสะสมพลังงานในรูปของชีวมวล ที่สามารถน�ำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าหรือใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อกิจกรรมอื่นๆ ได้ นอกจากนีเ้ รายังใช้พลังงานชีวมวลในรูปของก๊าซชีวภาพหรือก๊าซมีเทนอีกด้วย 32
ผลิใบ
แก้ว ฉนวน
แผ่นทองแดง
การใช้พลังงานจากแสงแดดโดยผ่านอุปกรณ์เฉพาะ
แผ่นอลูมิเนียม ท่อทองแดง
แผงรับแสงแดดจะดูดรับรังสีความร้อน จากนั้นความร้อนจะถูกถ่ายเทสู่น�้ำท�ำให้น�้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น เครื่องใช้ไฟฟ้า
พลังงาน หมุนเวียน
การใช้ พ ลั ง งานจากแสงแดด โดยไม่ตอ ้ งผ่านกระบวนการใดๆ
การออกแบบอาคารบ้านเรือน อย่างเหมาะสมจะท�ำให้สามารถ ใช้ประโยชน์ในรูปของความร้อน และแสงสว่างจากดวงอาทิตย์
คลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่นในทะเล ท�ำให้เกิด พลังงานจลน์ที่สามารถน�ำไปใช้ในการผลิต กระแสไฟฟ้าได้
แสงตกกระทบ
เซลล์แสงอาทิตย์
อิเล็กตรอน
แผงรับแสงแดด
พลังงานจากแสงอาทิตย์ ท�ำให้อิเล็กตรอนของ เซลล์แสงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปมา จากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนท�ำให้เกิด พลังงานไฟฟ้าขึ้น
พลังน�้ำ
เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
การไหลของปริมาณน�้ำมากๆ จากที่สูง ลงสู่ที่ต�่ำ ท�ำให้สามารถขับเคลื่อนกังหัน ในการก�ำเนิดไฟฟ้า และเกิดเป็นพลังงานไฟฟ้าขึ้น ผลิใบ
33
ประกาศรางวัล โครงการ
ระดับประถมศึกษา
หัวข้อ สังคมสีเขียวในแบบที่ฉันอยากให้เป็นเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ด.ช. ณัฐสิทธิ์ สิริศุภวิชญ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเซนต์คาเบรียล
รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ด.ญ. ชลิตา พูลสวัสดิ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวิชูทิศ รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
ด.ญ. เพ็ญพิชชา ไชยวิราช ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาลสันป่ายางหลวง ด.ช. ภุวิช สงแช้ม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์ ด.ญ. กัญญาวีร์ ตั้งจิตวิสุทธิ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอนุบาลสามเสน
ระดับมัธยมศึกษา
หัวข้อ สถาปัตยกรรมสีเขียวในจินตนาการของฉัน รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ด.ญ. เกียรติสดา ตัณฑกิจวัฒนะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรียาภัย
รางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 5,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
ด.ญ. มนทกานติ ฤทธิ์จ�ำนงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรียาภัย
รางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 3,000 บาท พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ ด.ช. อรรณพ สัทธศรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย นายปัตถกร พรรณมณีทอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนศิลปะคัลเลอร์มี ด.ญ. เจ แพทริเชีย แม็คคัลเลย์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรียาภัย
หัวข้อ ผลิตภัณฑ์สีเขียวของคนรุ่นใหม่ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน รางวัลชนะเลิศ ทุนการศึกษา 8,000 บาท โล่รางวัล พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ
ด.ญ. ดิษญา ประดิษฐ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒน์ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
34
ผลิใบ
Young Artist
โดย ดร.ทัศนาวลัย อุฑารสกุล อาจารย์ศุภชัย นาทีชัยชนะ อาจารย์อุณรุท กสิกรกรรม
อาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา อาจารยผู้เชี่ยวชาญด้านศิลปะ อาจารย์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาพบรรยากาศการตัดสินการประกวดวาดภาพในโครงการ Young Creative Environment Artist (Season 2) เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2560 โดยคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลิใบ
35
ผลการประกวดวาดภาพระดับชั้นมัธยมศึกษา หัวข้อ สถาปัตยกรรมสีเขียวในจินตนาการของฉัน
รางวัลชนะเลิศ ด.ญ. เกียรติสดุ า ตัณฑกิจวัฒนะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรียาภัย
รางวัลรองชนะเลิศ ด.ญ. มนทกานติ ฤทธิ์จ�ำนงค์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ศรียาภัย
รางวัลชมเชย นายปัตถกร พรรณมณีทอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนศิลปะคัลเลอร์มี
36
ผลิใบ
ด.ช. อรรณพ สัทธศรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย
ด.ญ. เจ แพทริเชีย แม็คคัลเลย์ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรียาภัย
บรรยากาศการมอบโล่รางวัลในโครงการ โดย คุณมีชัย วีระไวทยะ
ผลิใบ
37
Do It Yourself
สวัสดีค่ะ ฉบับนี้พี่ทีมงานผลิใบได้น�ำไอเดียน่ารัก เก๋ไก๋ มาฝากน้องๆ ที่สนใจงาน DIY กันอีกแล้วค่ะ โดยเฉพาะบ้านใครที่มีขวดโหล เหลือทิ้งเยอะๆ ไม่ว่าจะเป็นขวดแยม ขวดน�้ำ หรือภาชนะอื่นที่เป็นแก้วใส เมื่อเราไม่ใช้แล้วก็สามารถน�ำมาดัดแปลงเป็นของแต่งบ้าน หรือน�ำมาใส่ดินสอ ปากกา ได้อีกครั้ง ซึ่งดีกว่าโยนทิ้งไปให้เป็นขยะที่ย่อยสลายยากนะคะ ซึ่งขั้นตอนการท�ำก็ไม่ได้ยุ่งยากเลยค่ะ แค่มีอุปกรณ์นิดหน่อยบวกกับไอเดียสร้างสรรค์ เท่านี้ก็สามารถสร้างงานที่น�ำมาใช้ประโยชน์ได้แล้วค่ะ เทปกาว ขวดโหล น�ำเทปกาว มาพันรอบขวดโหล เป็นลวดลาย ตามชอบ สีเขียนกระจก พู่กัน ใช้สีเขียนกระจกสีที่ชอบ ทาทับให้ทั่วจนเต็มพื้นที่
ทิ้งไว้ให้แห้ง จะใช้พัดลมหรือ ไดร์เป่าผมช่วยก็ได้
ลอกกระดาษกาวออก จะเห็นลวดลายเป็นเนื้อแก้วใสๆ น�ำมาใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
38
ผลิใบ
ทีม่ าและภาพประกอบจาก www.pinterest.com
Give and Share บริษัท ไทยสเปเชี ลแก๊ดสฉ.122 จ�ำกัด ซียูอีแอล ่ยจ�ำกั
THAI SPECIAL GAS
บริษัท ไทยสเปเชี่ยลแก๊ส จ�ำกัด สนับสนุนโครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ เพื่อมอบของขวัญอันทรงคุณค่าด้วยการส่งเสริม ให้เยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และสนับสนุนวัฒนธรรมการอ่านให้กับโรงเรียนต่างๆ ดังรายนามต่อไปนี้ โรงเรียน โรงเรียนวัดโบสถ์ (บวรธรรมกิจวิทยา) โรงเรียนชุมชนวัดจันทน์กะพ้อ โรงเรียนบางโพธิ์เหนือ โรงเรียนวัดเชิงท่า โรงเรียนคณะราษฎร์บ�ำรุงปทุมธานี โรงเรียนธัญบุรี โรงเรียนธัญรัตน์ โรงเรียนบัวแก้วเกษร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี โรงเรียนวรราชาทินัดดามาตุวิทยา โรงเรียนคลองบ้านพร้าว โรงเรียนคลองสระ
จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
โรงเรียน โรงเรียนวัดบ้านพร้าวใน โรงเรียนวัดปทุมทอง โรงเรียนวัดเมตารางค์ โรงเรียนวัดสองพี่น้อง โรงเรียนวัดสะแก โรงเรียนวัดสามัคคิยาราม โรงเรียนสุเหร่าใหม่เจริญ โรงเรียนวัดสหราษฎร์บำ�รุง โรงเรียนศาลาพัน โรงเรียนวัดถั่วทอง โรงเรียนวัดป่างิ้ว โรงเรียนสามโคก องค์การบริหารส่วนจังหวัด ปทุมธานี โรงเรียนเทศบาลเมืองปทุมธานี โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ โรงเรียนวัดชินวราราม โรงเรียนวัดดาวเรือง โรงเรียนอนุบาลปทุมธานี
จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
จ.ปทุมธานี
โรงเรียนวัดหงส์ปทุมาวาส
จ.ปทุมธานี
จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
โรงเรียนวัดสมุหราษฎร์บำ�รุง โรงเรียนชัยสิทธาวาส "พัฒน์สายบำ�รุง" โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี โรงเรียนปทุมธานี "นันทมุนีบำ�รุง" โรงเรียนปทุมวิไล โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี
จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
จังหวัด จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
จังหวัด จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี
THAI SPECIAL GAS
โรงเรียนชุมชนวัดไก่เตี้ย โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ โรงเรียนสายปัญญารังสิต โรงเรียนเทพศิรินทร์คลองสิบสาม ปทุมธานี โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสาร เกษตร) โรงเรียนธรรมศาสตร์คลองหลวงวิทยาคม โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต โรงเรียนหนองเสือวิทยาคม โรงเรียนวัดบางนา โรงเรียนวัดท้ายเกาะ โรงเรียนวัดบางเตยนอก โรงเรียนวัดบางเตยใน
ภาพประกอบ design by freepik
ผลิใบ
39
Membership แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (สามารถถ่ายสำ�เนาได้) ชื่อ / สกุล …………............................................…………….......…………….. อายุ ………......................วันเกิด........................................................................... อาชีพ .....................………………………............................................................... หน่วยงาน ………………………........................................................................... สถานที่ติดต่อ ………………………. ……………………............................... รหัสไปรษณีย์ …………........……โทรศัพท์ …….......................................... โทรสาร ………....………อีเมล ...........…………………......................……....
รับทันที
กระเป๋าผ้า
GREEN INNOVATION มูลค่า 250 บาท และกระติกน�้ำพร้อมแก้ว จาก บางจาก
¼ÅÔ㺠123.pdf 1 3/28/2017 2:59:23 PM
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 23 ฉบับที่ 123 เดือนมกราคม-มีนาคม 2560
ปท่ี 23 ฉบับที่ 124 เดือนเมายน-มิถนุ ายน 2560
C
World of Energy
C
M
M
Y
Y
CM
CM
MY
MY
CY
CY
CMY
CMY
K
K
Grew the Earth ตนรวงผึง้ พรรณไมประจํารัชกาลที่ 10
What the World Offer Sustainable Development Goals (SDGs)
Let’s go Green แนวทางอนุรกั ษพลังงานอยางไดผล
Evalution Fun Facts วิวฒ ั นาการพลังงานไทย
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders โลกของสัตวเรืองแสง
Young Artist ประกาศรางวัลผูช นะในโครงการ Young Creative Environment Artist
cover.pdf 1 31/3/2559 11:58:27
cover 121.pdf 1 27/7/2559 11:39:13
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
ปท่ี 22 ฉบับที่ 120 เดือน,มกราคม-มีนาคม 2559
ปท่ี 22 ฉบับที่ 121 เดือนเมษายน-มิถนุ ายน 2559
C LI
Eco Life Issue MA
C
T
C
M
Y
EC
M
Y
CM
CM
MY
HA
MY
NG
CY
CMY
K
K
SU E
Green Energy นวัตกรรมพลังงานใหมแหงอนาคต
English for Fun Eco not Ego
Animal Wonders นักปลูกปาผูน า รัก
Let’s go Green Carbon Offset / Carbon Credit
www.facebook.com/plibai2012.tei
Animal Wonders สัญญาณเตือน ภัยพิบตั จิ ากสัตวโลก
CY
CMY
E IS
www.facebook.com/plibai2012.tei
Let’s go Green ภารกิจลางมหาสมุทร
cover_117_2.pdf 1 30-Jun-15 10:40:07 AM
cover_119_2.pdf 1 11/2/2559 11:25:59
ปที่ ๒๑ ฉบับที่ ๑๑๘ เดือนกรกฎาคม-กันยายน ๒๕๕๘
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม ปที่ 21 ฉบับที่ 119 เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2558
ÃÇ‹ ÁÊà §Ê Green ÒŒ Soc §Ñ ¤Á iet ÂÕ Ç ue ÊàÕ ¢ Iss y
เติบใหญผลิใบ หัวใจรักษสิ่งแวดลอม
Recycle
C
M
Reject
วารสารผลิใบ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนด์สตรีท ตำ�บลบางพูด อำ�เภอปากเกร็ด นนทบุรี 11120 โทรศัพท์ 0 2503 3333 โทรสาร 0 2504 4826-8 Email plibai.book@gmail.com
วารสารย้อนหลัง
124_edit2.pdf 1 3/7/2560 14:12:42
www.facebook.com/plibai2012.tei
สมัครสมาชิก ราย 1 ปี / 4 ฉบับ / 216 บาท (รวมค่าจัดส่ง) ราย 2 ปี / 8 ฉบับ / 432 บาท (รวมค่าจัดส่ง) สมาชิกสามัญเริ่มต้นฉบับที่ ……......…... ถึงฉบับที่ ...………..... สั่งซื้อวารสารย้อนหลัง ฉบับที่ …….........ถึงฉบับที่ ...………..... โครงการห้องสมุดอุปถัมภ์ (Give & Share) เริ่มต้นฉบับที่ ……...… ถึงฉบับที่ …........…... ห้องสมุดโรงเรียนที่ต้องการอุปถัมภ์ ระบุเอง ชื่อโรงเรียน ………………………........................................................................ ที่อยู่ ………………………........................................................................................ ............................................................................รหัสไปรษณีย์ ………………… ต้องการให้วารสารผลิใบคัดเลือกโรงเรียนให้อ�ำ เภอ/จังหวัด ทีต่ อ้ งการ ………………………............................................................................ การชำ�ระเงิน เงินสด โอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย สาขาเมืองทองธานี บัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย” เลขที่บัญชี 147-1-13740-6
สมัครสมาชิกวารสารผลิใบ
Y
CM
C
M
Reuse
Y
MY
CM
MY
CY
CY
CMY
CMY
K
K
Green Society
Repair
นํ้าหายไปไหน
Animal Wonders “ลีเมอร” สัตวโลก (สีเขียว)
IT Generation
Think Tank สรางนักวิทย สูนักวิจัย
www.facebook.com/plibai2012.tei
The Question Mark
ขวดกลับหัว
www.facebook.com/plibai2012.tei
Do It Yourself
มหัศจรรยพลังนํ้า
www.facebook.com/plibai2012.tei
Green Energy
Reduce