ชัยชนะ 8 ประการ

Page 1



ชัยชนะ 8 ประการ

วศิน อินทสระ (จากรายการ “ธรรมและทรรศนะชีวิต”)


คํานํา ชัยชนะเปนสิ่งที่คนตองการ แตขอควรระวังก็คือ อยาใหเปนชัยชนะที่วา งเปลา หรือมิฉะนั้นก็กอเวร กอศัตรูมากมาย เมื่อนึกถึงความชนะขอใหเรานึกถึงประโยชนที่จะพึงเกิดขึ้นตามมากับความชนะนัน้ นึกถึงความสงบรมเย็นอันจะพึงมีแกตนและผูอื่น เชน เอาชนะความโกรธดวยการใหอภัย ที่กลาวถึงในหนังสือเลมนี้ ชัยชนะอีกเจ็ดประการตอมาก็มุงใหเอาการชนะตนเองเปนสําคัญ เชน เอาชนะความอยากดวยความเสียสละ เอาชนะความติดโลกดวยการพิจารณาใหเห็นธรรมชาติอันชั่วรายของโลก เปนตน ผูพายแพตนเองยอมไมสามารถเอาชนะสิ่งเหลานีไ้ ดเลย การรบกับตนเองก็คือรบกับกิเลสภายในตน อาวุธหรือ เครื่องมือในการตอสูของเราก็คือคุณธรรมตางๆ เลือกมาใชใหเหมาะสมกับศัตรูที่เผชิญหนาเราอยู ถาจําเปนตองตอสูกบั คนรายหรือสัตวราย โดยที่หลีกเลีย่ งไมไดแลว ลองนึกถึงการตอสูของพระพุทธเจา 8 ครั้ง ที่เรียกวา “พุทธชัยมงคล” มีการตอสูกับพญามาร เปนตนวา ในเหตุการณอยางนั้นๆ พระพุทธองคทรงตอสูและไดชยั ชนะโดยวิธีใด เราลองดําเนินตามพระพุทธเจาบางไดหรือไม เพราะทรงทําเปนแบบอยางไวแลว เปนชัยชนะทีถ่ ูกจารึกไวยั่งยืนมาจนถึงเวลานี้ และตอไปในอนาคตอีกยาวนาน ขาพเจาหวังวา เรื่องชัยชนะ 8 ประการนี้ จะเปนประโยชนแกทานผูอานไมนอยทีเดียว ขอใหทานผูอานประสบชัยชนะโดยธรรม มีชัยชนะทีเ่ ปนประโยชน ปราศจากการเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ขอขอบใจคณะศิษยผูมีกุศลฉันทะ มีอุตสาหะใหหนังสือเลมนี้ออกมาได ขอใหคณะศิษยผูชวยเหลือในกิจการนี้ ประสบชัยชนะโดยธรรม และประสบความสําเร็จในชีวติ ทุกประการ วศิน อินทสระ


สารบัญ ชัยชนะ 8 ประการ ชนะความโกรธ ดวยการใหอภัย ชนะความอยาก ดวยความเสียสละ ชนะความโลภ ดวยความอดทนและสันโดษ ชนะความกลัว ดวยความกลาหาญ ชนะความทะนงตน ดวยความกรุณา ชนะโรคภัยไขเจ็บ ดวยความพอประมาณในทุกๆ อยาง ชนะความงวง ดวยความพอประมาณในอาหาร ชนะการติดโลก ดวยการพิจารณาใหเห็นโทษหรือธรรมชาติอันชั่วรายของโลก

1 1 4 5 6 10 14 16 17


ชัยชนะ 8 ประการ วันนีจ้ ะคุยกันเรื่องชัยชนะ 8 ประการ ซึ่งนํามาจาก ตําราเกานะครับ เริ่มตนดวย 1. ชนะความโกรธ ดวยการใหอภัย 2. ชนะความอยาก ดวยความเสียสละ 3. ชนะความโลภ ดวยความอดทนและสันโดษ 4. ชนะความกลัว ดวยความกลาหาญ 5. ชนะความทะนงตน ดวยความกรุณา 6. ชนะโรคภัยไขเจ็บ ดวยความพอประมาณในทุกๆ อยาง 7. ชนะความงวง ดวยความพอประมาณในอาหาร 8. ชนะการติดโลก ดวยการพิจารณาใหเห็นโทษหรือธรรมชาติอันชั่วรายของโลก อันนี้ผมบันทึกเอาไวนานแลว ประมาณ 30 ป จําไดวา นํามาจากหนังสือภาษาอังกฤษเลมหนึ่ง แตพยายามคนหาเทาไร ก็หาไมเจอวาตนตอมาจากไหน เราเริ่มดวยความโกรธกอน 1. ชนะความโกรธ ดวยการใหอภัย ชนะความโกรธ ดวยการใหอภัย มันเริ่มตนจากความไมพอใจ อรติ แปลวา ความไมพอใจ บางทีแปลวา ความริษยา ปฏิฆะ ความขัดเคืองหงุดหงิด โกธะ โทสะพลุงพลาน คิดประทุษราย ถาทําไดก็ทําไป ทําดวยกายบาง วาจาบาง โกธะ คือขุนมัวหรือที่เรียกวาโกรธ โกรธนั้นเปนภาษาทีย่ ังไมไดแปล โกรธนี่ยังไมถงึ กับลงมือแตวา ดากอน คือขุน อยูภายใน ยังไมแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ แตถาโทสะแลวลงมือเลย โทสะนั้นพลุงพลานออกมา มันกลายเปนในระดับพฤติกรรม ขางตนกวานั้นมันก็ยังอยูใน พวกปริยุฏฐานกิเลส พวกกลุมรุมอยูในจิตใจถาทําไดก็ทําไป ถาทําไมไดก็ผูกพยาบาทกันไป คราวหนาจะเลนงานใหสะใจ อันนี้เปนพยาบาท พอเปนพยาบาทก็เปนมโนกรรมฝายอกุศล เปนกรรมบถขาด ขาดตรงที่พยาบาท เพียงแตโกรธ ก็ยังไมขาด โทสะ ถายังไมกระทําก็ยังไมขาด แตถามาถึงพยาบาท ศีลกรรมบถก็ขาด เพราะวามันมีมโนกรรมอยูต ัวหนึ่ง คือพยาบาท อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ อันนี้พดู ถึงกระแสสายของความโกรธ คราวนี้ก็เอาชนะ เอาชนะความโกรธดวยการใหอภัย ก็ นึกวาคนเราทุกคนมีขอบกพรอง เขาก็มีขอบกพรอง คนอื่นก็มี ขอบกพรอง คนเราดีไมทั่วชัว่ ไมหมด บางสวนดีบางสวนไมดี ก็ใหอภัยไป พยายามใหอภัยไป 1 ชัยชนะ 8 ประการ


เอาชนะความโกรธไดดวยการใหอภัย คนเกงๆ นักปราชญ เปนนักใหอภัยทั้งนั้น พระพุทธเจา พระเยซู มหาตมะ คานธี หรือใครที่เปนคนทางดานนี้ เขาเปนนักใหอภัย ใหอภัยแลวใจสบาย ความโกรธก็หมดไปดวย เราควรจะใหอภัยคนเชนไร ใหอภัยแกคนทีค่ วรใหอภัยถาเผื่อวาตองเอาโทษ ก็ตองลงโทษตามสมควร คือถาเขาทําผิดก็ตองลงโทษ ไมใชใหอภัยเรื่อยไป อยางนั้นไมได มันผิดหลักการปกครอง หลักการปกครองมันอยูที่วา ลงโทษคนที่ควรลงโทษ ใหรางวัลสําหรับคนที่ควรใหรางวัล ขมคนที่ควรขม ยกยองคนที่ควรยกยอง คนที่ทําความผิดเปนอาจิณ เราก็อภัยอยูเรื่อยอยางนี้ใช ไมได พลอยทําใหเขาเสีย ถาเปนลูกก็ทําใหเขาเสีย เราตองไมประพฤติธรรมใหคนอื่นเขาเสีย อยางเมตตากรุณาก็เปนการฆาความโกรธ ละความโกรธ แตเราตองไมเมตตากรุณาจนเสียความ ยุติธรรม ความยุติธรรมมันเวนอคติ ไมมีอคติ เวนอคติ 4 ก็คือ ความยุติธรรม ถาบอกวาใชเมตตาดวยอคตินี่ไมไดเลย เพราะวา เปนลูกของเรา เปนลูกนองของเรา ตองใชเมตตาอยางนี้ทําให เสียความยุติธรรม ถามีอคติแลวเสียความยุติธรรม ถาเผื่อ 2 อยาง คือ เมตตากรุณากับความยุติธรรมมา เผชิญหนากัน หมายความวาถาจะประพฤติเมตตากรุณา ก็จะเสีย ความยุติธรรม ถาตั้งอยูในความยุตธิ รรม ก็จะเสียความเมตตา กรุณา อยางนีใ้ หเลือกเอาอยางไร อันนี้ทางจริยศาสตรทานใหตงั้ อยู ในความยุติธรรม ยอมเสียเมตตากรุณา ความจริงเมตตากรุณามัน แฝงอยูในความยุติธรรม คือเมตตาตอเขา ไมอยากใหเขาเสียมาก ไปกวานั้น ก็เลยทําไปดวยความยุตธิ รรม ดูเหมือนวาไมมีเมตตากรุณา ความจริงเมตตากรุณามันก็แฝงอยูในความยุติธรรมนั่นแหละ แตบางทีก็ทําไปดวยความเมตตากรุณา ใหอภัยแลวก็เสียความยุติธรรม ยกตัวอยางเชน พวกเราเปนครู ถานักเรียนสงขอสอบในการสอบ เราก็มีเมตตากรุณากับนักเรียน เราก็ให A หมดเลย สงสารให A หมดเลย ตอบผิด ตอบถูก ตอบดี ตอบปานกลาง ก็ A หมด อยางนี้มันเสียความยุติธรรม คนที่ตั้งใจเรียนดีได A ก็ไมยุติธรรม เพราะคนที่ไมเรียนเลยได A คนที่ได A โดยไมควรไดก็จะเสียความนับถือเอาดวย เพราะฉะนั้น เรื่องเมตตากรุณาจึงตองมองถึงความยุติธรรม ดวย เมตตากรุณาทีเ่ สียความยุติธรรมนี่ใชไมไดเลย ตองดํารงรักษาความยุตธิ รรมเอาไว ถาเผื่อมันมาเผชิญหนากัน การละความโกรธดวยการใหอภัย การใหอภัยในที่นกี้ ็จะตองมีความยุติธรรมหรือตัวอุเบกขา เขามากํากับดวย อุเบกขาไมใชเฉยๆ เปนตัวเวน อคติ เมตตาเกินอุเบกขา กรุณาเกินอุเบกขา มุทิตาเกินอุเบกขา ถาอยางนี้ก็เสียความยุติธรรม อุเบกขาเปนธรรมะตัวรักษาธรรม เมตตา กรุณา มุทิตาเปนการรักษาคน แตอุเบกขาเปนการรักษาธรรม ถาไมเสียความยุติธรรมก็ใชได ถาเสียความยุติธรรมก็คง ไมได ความโกรธ ลองดูเขาไปในคุก คนในคุกนี่ ความโกรธ ความโลภ ความหลง อยางใดอยางหนึ่ง หรือทั้งสามอยางรวมกันมันสงเขาไป แลวก็มองไปทางไหนก็ดูเหมือนวา เห็นแตคนที่ลําบาก ก็กิเลส 3 ตัวนี้เปนตัวกอตั้ง แตถาโกรธจนระงับไมอยูก ็ตองลําบาก สุดแลวแตตวั ไหนจะออกหนา ตัวไหนเปนแรงหนุน 2 ชัยชนะ 8 ประการ


ทีนี้มองดูไปอีกแงวาทรัพยสมบัติ ชีวิต แลวก็เวลาที่มีคา ของมนุษย ก็ถูกทําลายลางผลาญไปเพราะความโกรธ โลภ หลง มากมายเหลือเกิน ในที่นเี้ นนเรื่องความโกรธนะครับ หรือวาเนนเรื่องความหลงดวยก็ได พวกนักการพนันนี่เพราะความหลง หลงคิดวาเลนการพนันแลวจะรวย ปรากฏวาพออยากรวยก็เกิดความโลภขึ้นมา เลนไปแลวเกิดเสียขึ้นมาก็เกิดความโกรธ ยิงกัน โกงกัน ก็กลาเสี่ยง พวกนี้กลาเสี่ยง กลาไดกลาเสีย กลาทํา ทีนมี้ องไปอีกแงวา กุศลกรรมหรือความดี ก็ไมตองเสี่ยงเลย เกิดผลดีอยางเดียว แตวาทําไมคนจึงไมคอ ยกลาทุมตัวลงไปใหหมดตัว ถาถือตาม พระพุทธภาษิตก็ไดนะครับ พระพุทธเจาทานตรัสวา ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน คนสวนมากเปนคนชัว่ เปนคนทุศีล เหมือนกับที่สญชัยปริพาชกพูดกับพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตรวา “คนฉลาดก็ไปหาพระพุทธเจา คนโงก็มาหาเรา” คนโงในทีน่ ี้ก็คือคนทุศีล “ตราบใดที่คนโงยังมาหาเราอยู ไมตองกลัววาจะอดตาย” อยูกับคนโง บางคนบอกวา “หาวาผมโง ผมโงผมมีเงินเยอะได อยางไร” คนโงนี่เปนคนมีเงินก็ได เปนคนจนก็ได อยางพราหมณเอกสาฎก เขามีผาผืนเดียว สุดทายก็ไดดวงตาเห็นธรรม จนก็ฉลาด ได หรือนางวิสาขาถือวาเปนคนรวยก็ฉลาด แตวาพอผัวเปนคนรวย ก็โง เรียกวาการที่ร่ํารวยหรือวาเรียนสูงๆ ไมไดเปนเครื่องประกันวาเปนคนโงหรือคนฉลาดในความหมายของศาสนาพุทธ ถือตามพระสูตรบางพระสูตร ที่ทานกําหนดไว พระมหาโกฏฐิตะถามพระสารีบุตรวา “คนเชนไรเรียกวาเปนผูมปี ญ  ญาดี” พระสารีบุตรตอบวา “ไมรูอริยสัจตามความเปนจริงเรียกวา คนมี ปญญาไมดี เมื่อรูอริยสัจตามความเปนจริงแลวเรียกวาเปนผูมี ปญญาดี” ถาเอาตรงนี้เปนหลัก คนก็มีปญญานอยเหลือเกิน เพราะ วารูอริยสัจตามความเปนจริงนี่รูยาก ตองละสมุทัยดวย รูแจง นิโรธ รูทุกขตามความเปนจริง แลวมรรคก็เจริญไดบริบูรณดวย สมุทยั ทีค่ วรละก็ละไดดวย เรียกวารูจ ริง อันนี้กําหนดอยางสูง ถาเอาตามมาตรฐาน คนโงกย็ ิ่งมากขึ้น ทีนี้ก็มีคนแยงวา ถาโลกมีแตคนชั่วปานนี้โลกคงแตกไป แลว แสดงวาโลกนี้มีคนดีมาก โลกจึงอยูได มันก็อยูไ ด แตมัน ก็อยูอยางเลอะๆ อยูอยางรบราฆาฟนกัน ไมไดอยูอยางสะอาด

3 ชัยชนะ 8 ประการ


2. ชนะความอยาก ดวยความเสียสละ ความอยากในที่นี้คืออิจฉา อิจฉาคือความอยาก ความตองการ อิจฉาตัวนี้ ถาหากอยากมากขึ้นมันก็เปน มหิจฺฉา ถามากขึ้นอีกแลวไมไดโดยทางทีช่ อบ มันก็เปน ปาปจฺฉา คือ ปรารถนาในทางชั่ว เมื่อปรารถนาในทางชั่วแลวตอไปมันก็เปน อภิชฌา-วิสมโลภะ คือโลภอยากไดของผูอื่นในทางทีผ่ ิด เอาชนะความอยากดวยความเสียสละ คือมีความอยากถาไมเสียสละ มันก็ละไมได มันตองมีน้ําใจเสียสละ มีจิตใจเสียสละจึงละได คือถาไมเสียสละบางมันก็อยากอยูนั่นแหละ ไมพอ หากเสียสละแลวจะรูสึกวามันจะไปอิ่มใจกับความเสียสละ มีบางคนเสียสละเหมือนกัน แตวาเสียสละเพื่อวัตถุประสงค อยางอื่น เชน สมมุติวาจะทําบุญบาง ก็ทําไปเพื่อทีป่ ระกาศใหคน เขารูวาเรามันแน มีเงินมาก ถาเสียสละอยางนี้ถือวาถูกตองไหม อันนี้ก็เสียสละ แตวามันมีกิเลสตัณหานํามา ผมขอยกตัวอยางสักเรื่องหนึ่ง ตัวอยางคนโดยสารแท็กซี่ พอเห็นถุงกระดาษอยูที่เบาะหลัง ลองเปดดูก็เห็นเปนธนบัตรใบละ 100 จํานวนมาก ปกใหญเลย ตั้งสมมุติฐานวาเปนของผูโดยสาร คนกอนลืมไว มองดูคนขับแท็กซี่ก็รูวาเขาไมรูเรื่อง ทีนี้ถาจะถือ เอาเปนกรรมสิทธิ์ของตัวเสียก็คงจะได ก็ลังเลอยูนานวาจะทําอยางไรดี ความเห็นแกตัวกับความเห็นแกธรรมคือความถูกตอง และความเห็น ใจผูอื่น ก็รบกันอยูใ นจิตใจของเขาชัว่ ระยะเวลาหนึ่ง ในที่สุดก็ตดั สินใจบอกแท็กซี่ใหแวะที่สถานีตํารวจที่เปน ทางผาน แลวมอบเงินจํานวนนั้นใหกบั เจาหนาทีต่ ํารวจสืบหาเจาของเงินตามหลักฐาน ตํารวจตามตัวเจาของเงินมารับเงินคืนไปได พรอมทั้งนัดผูเก็บเงินไดใหมาพบ เจาของเงินดีใจมากเลย ลงกราบผูที่ไมเห็นแกตวั ดวยความเคารพเลือ่ มใสจากใจจริง แลวก็น้ําตาไหล คือปราโมทยน้ําตาไหล เมื่อสนทนากันไปก็ไดรูวาเงินจํานวนนัน้ เจาของเงิน กําลังจะเอาไปใหเจาของที่ เจาของบานซึ่งเขาผอนสงไว ขาดสง มาหลายงวดแลว หาเงินไมทนั พอไดเงินมาก็รีบเอาไปให รีบเอา ไปใชเขา ลูกก็ปวยอยูทโี่ รงพยาบาล ใจก็กังวลถึงแตลูกจนลืม ของสําคัญ เพราะวามีของหลายอยาง หอบหิว้ พะรุงพะรัง พอลงจากแท็กซี่ก็รูสึกหิว แวะทานอาหาร ขณะรออาหารก็สํารวจดูจึงรูวาลืมถุงเงินเอาไว แตไมรูจะไปตามแท็กซี่ไดทไี่ หน กลุมใจจนทําอะไรไมถกู เพราะวาถาไมสงเงินงวดนี้อีก เจาของที่หรือเจาของบานเขาจะยึดคืน

4 ชัยชนะ 8 ประการ


ฟงเลาแลวผูเก็บเงินไดก็ปติจนขนลุกซูไปหมด รูสึก เอิบอิ่มใจเปนที่สุด เปนเรื่องที่จะตองจดจําไปตลอดชีวิต รูสึกขึ้น ทีไร ก็ปลื้มใจสุขใจทีนนั้ รูสึกวาไดตดั สินใจถูกทีไ่ มเห็นแกตวั ไมอยากได ไมยอมทําตามขอเสนอแนะของความโลภ ความอยาก แตทําตามขอเสนอแนะของธรรม คือความไมโลภ ไมอยากได ไมเห็นแกตวั แตก็จําไปตลอดชีวิตนะครับ ตอไปก็ไปเลาใหลูกหลาน ฟงได โดยความภาคภูมิใจ 3. ชนะความโลภ ดวยความอดทนและสันโดษ ความโลภมีหลายระดับ ความโลภอยางหยาบ อยางกลาง และอยางละเอียด ก็มีความแตกตางกัน ความโลภอยางหยาบ คือความโลภในทางทุจริต อภิชฌา- วิสมโลภะ ความโลภอยางกลาง คือไมรูจักพอ อยากไดในทางสุจริต ทํามาหากินในทางสุจริต แตวาไมรูจกั พอ ไมมีเพดาน อยากไดมากเกินไป เกินขอบเขต ก็ถือเปนความโลภเหมือนกัน แตเปนอยางกลาง มันก็ไมดีเหมือนกัน ทําใหเราเอาเปรียบคนอื่น ถาเรามีของที่เกินจําเปนมากๆ ก็ทําใหคนอื่นทีค่ วรจะไดไมได ทําใหคนอื่นเขาเสียโอกาส ความโลภอยางละเอียด ทานใชคําวา สิทธิโลภะ หมายถึงความติดใจในสิ่งของที่เปนของตัว จิตใจหมกมุนพัวพันใน สิ่งของที่เปนของตัว เชนวา มีเสื้อผาเยอะๆ ก็รูสึกจิตใจพัวพัน หมกมุนในสิ่งของที่ตัวมีอยู อยางคนที่สะสมอะไรเยอะแยะเกินความ จําเปน อันนี้ก็เปนความโลภอยางละเอียด ถาไมพิจารณาก็ไมเห็น ที่เขาเลากันวาสมเด็จพระสังฆราช ที่วัดบวรนิเวศฯ องค กอนหนาทานสมเด็จฯ กรมหลวงวชิรญาณวงศ ทานมีถวยชาอยูใบ หนึ่งบางเหมือนใบขาว ทานก็ใชอยูเปนประจํา วันหนึ่ง เด็กไป ทําแตก ก็วันตอมาก็เอาถวยชาอีกใบเขาไป ตัวสั่นเชียว กลัวทานดุ ทานถามวาใบที่ใชเปนประจําไปไหน ก็ตอบวาแตกเสียแลว เออดี! หายหวงไปที อาจารยทองขาว เลาวา “เรื่องนี้ผมก็เคยประสบกับตนเอง ทานอาจารยเมื่อตอน เปนเณรอยูที่สุพรรณฯ อาจารยที่เลี้ยงผมมาตัง้ แตเล็กๆ ทานจะมีปานน้ําชาอยูใบหนึ่ง ทานรักมาก ปานใบอื่นชงชาแลวไมอรอย ตองใบนี้ เชาขึ้นมาก็ตองไปลางแลวเอามาชงน้ําชาใหทาน ทานบอกวาอรอยดี มันอาจเปนเพราะวามันเปนปานที่เกา 5 ชัยชนะ 8 ประการ


ไอกลิ่นชา ใบชา มันก็คงเกาะอยูที่ตัวมันนัน่ นะ ทําใหอรอย วันหนึ่ง ผมก็ไปลางแลวก็ทําหูแตก ทั้งพระทั้งเณรในวัดก็กะแลววาเณรขาวนี่ถกู ตีแนนอน ไปทําของรักของหวงแตก ผมก็ตัดใจบอกวา หลวงตาครับผมทําหูกาน้ํานี่แตกครับ ทานพูดคําเดียวบอกวา “เออ” แคนั้นก็จบ ก็แสดงวาทานก็คงละได” เขาถึงครับ วาสิ่งนี้มีความแตกเปนธรรมดา 4. ชนะความกลัว ดวยความกลาหาญ ที่ควรจะวินิจฉัยกอนก็คือ ความกลัวเปนสัญชาตญาณ อยางหนึ่งของทัง้ คนและสัตว ดังสุภาษิตโบราณที่วา อาหารนิทฺทา ภยเมถุนฺจ อาหารการกิน การนอน ความปลอดภัย แลวก็การสืบพันธุ อันนี้เปนสามัญทั่วไปแกสัตวทั้งปวง สามฺ เมตมฺปสุภิ นิรานํ ธมฺโม หิ เตสํ อธิโก วิเสโส ธมฺเมน หีนา ปสุภิ สมานา ธรรมนั้นแหละที่ทําใหคนและสัตวแตกตางกัน คนที่เสื่อมจากธรรมหรือคนที่ไมมีธรรม ก็เสมอกันกับสัตวเดรัจฉาน ความกลัวนี่ถือวาเปนสัญชาตญาณ หรือวาเปนพื้นฐาน ในจิตใจของสัตวทั้งหลาย ไมวาจะเปนสัตวชนิดใด พอเกิดมาก็รูจกั กลัวแลว ไมวาจะเปน นก หนู หมู แมว แมแตสัตวเซลลเดียว เรื่องของการกลัวภัยนี่ควรจะตองมี แมแตหนอนนีเ่ ราไปถูกมัน มันก็หนีเราแลว มันตางกันแตเพียงวัตถุทางความกลัว ซึ่งสวน มากก็ไมใชวัตถุที่มีตัวตนจริง เปนเรื่องที่จติ สรางขึ้นมากกวา สิ่งที่จิตสรางขึ้นมาใหนากลัวมันอยูนานกวาสิ่งที่มีตัวตน จริงๆ และทรมานจิตใจคนไดมากทีเดียว วัตถุแหงความกลัวที่มีตัวตนจริงๆ กับสิ่งที่จิตสรางขึ้น เชน เสือ มันมีตวั ตนจริงๆ งูหรือสัตวที่นากลัว คนที่นากลัว มันเปนวัตถุที่นากลัว แตวามันมีสิ่งที่นากลัวกวานัน้ ที่ยั่งยืนก็คือสิ่งที่ไมมีตัวตน หรือวาคนสรางขึ้น จิตมันสรางขึ้นใหนากลัว แตละคนจะสรางสิ่งที่นากลัวขึ้นมาในใจของตัว แลวก็สิ่งนี้จะอยูนานมาก เชน คนกลัววาจะไมไดเลื่อนยศ เลื่อนตําแหนง กลัววาคนโนนจะเขาใจผิด กลัววาคนโนนจะไมรัก กลัววาเงินเดือนจะไมขึ้น กลัวอนาคตแกแลวจะไมมีคนเลี้ยง กลัวอะไรไปสารพัดอยาง บางคนไปเบิกเอาทุกขในอนาคตมาใชในปจจุบนั กอนเรื่องยังมาไมถึงไปวิตก ไปกลัว เอาทุกขที่ยังไมมีมาถมตน ความกลัวมันก็มีทั้งสวนดีและสวนเสีย สวนดีก็ทําใหรูจักปองกัน บางทีก็กลัวทําใหมีการประกันภัย ก็มีสวนดีบางเหมือนกัน

6 ชัยชนะ 8 ประการ


สวนดีคือถาหากวามีสติสัมปชัญญะ จะทําใหเกิดความไมประมาท จะทําใหมีการปองกัน เชน กลัวน้ําทวม ก็ชวยกันปองกันสาเหตุของน้ําทวม คือชวยปองกันอะไรที่จะเปนเหตุใหน้ําทวม นี่ก็เพราะความกลัวปองกันไวกอน กลัววาไฟจะไหมบาน ก็เตรียมเครื่องฉีดดับเพลิงไว เตรียมเครื่องมือ เตรียมน้ําไว สวนเสียนี่ทําใหตระหนกเกินไป วิตกกังวลเกินไป ก็เปน ภัยตอความสุขสําราญในชีวิตประจําวัน ทางจิตวิทยาทานบอกวา สิง่ ที่คนกลัว 90% ไมเกิด มันจะเกิดอยางมากก็เพียงแค 10% ทีนี้อีก 90% เราวิตกกังวลไปเปลาๆ บางคนไมขึ้นเครื่องบิน พราะวากลัวเครื่องบินตก แตโอกาสที่เครื่องบินจะตก เราบอกวา แสนเที่ยวจะมีสักเที่ยวหนึ่ง สถิติก็คือลักษณะอยางนั้น แตวา บางคนไมกลาขึ้นเครื่องบิน อยางนักฟุตบอลฮอลแลนดคนหนึ่งจะ ไปไหนตองขับรถไป เพราะไมกลาขึ้นเครื่องบิน กลัวเครื่องบินตก มีทานผูใหญคนหนึ่ง ตอนนีท้ านเสียไปแลว เปนนายทหารผูใหญ ทานไมคอยขึ้นเครือ่ งบินเหมือนกัน ทานกลัวตก แตวาถาไปเมืองนอกทานก็ขึ้น ตองแข็งใจขึ้น ความกลัวที่เกินเหตุไปนั้น มันก็วิตกกังวลเกินเหตุไป มันเปนภัยตอความสุขสําราญในชีวิตประจําวันของเรา ทีนี้มามองดู เด็กๆ เด็กๆ จะกลัวความมืด เด็กกลัวโดยไมมีเหตุผลนะครับ เพราะเด็กยังไมมีเหตุผล ก็จะกลัวความมืด กลัวเสียงดัง กลัวคนทีท่ ําทาทางแปลกๆ เด็กยังแยกไมออกระหวางความจริงกับสิ่งที่หลอก ก็เลยกลัวอะไรไปสารพัดอยาง ถาเผื่อผูใหญไปกลัวอะไรทีไ่ มควรกลัว มันก็แสดงวามีความเปนเด็กอยูม าก ความกลัวสูงสุดของสัตวโลกดูเหมือนวาจะกลัวตาย ทาน บอกวาคนทีไ่ มกลัวตายมีอยู 2 พวก คือ พระอรหันตกบั สัตว อาชาไนย สัตวอาชาไนยก็ขยายแยกออกมาเปนพวกชางอาชาไนย มาอาชาไนย โคอุสุภราช บุรุษอาชาไนยก็พระอรหันต ทานอธิบายวาพระอรหันตทา นละสักกายทิฏฐิแลว ละอุปาทานในตัวตนไดแลว ก็เลยไมกลัวตาย สัตวบางจําพวกนั้นตรงกันขามคือวา มันมี สักกายทิฏฐิมาก มีความทะนงตนมาก ก็เลยกลัวตาย แตวาที่สุดกับที่สุดไปทั้งสองจําพวกนี้ พระอรหันตเปนที่สุดขางหนึ่ง ชีวิตนั้นเปนทีร่ ักของสัตวทั้งหลาย สพฺเพสํ ชีวิตํ ปยํ ชีวิตเปนที่รักของสัตวทั้งปวง อตฺตานํ อุปมํ กตฺวา ทําตนใหเปนเครื่องเปรียบแลว น หเนยฺย น ฆาตเย ไมควรฆาเองและไมควร ใหคนอื่นฆากัน ชีวิตเปนที่รัก ฉะนั้น เมื่อความตายเปนการ สูญเสียชีวิต สัตวทั้งหลายจึงกลัวตาย แตวา ชีวิตไมใชอยางเดียวกับความทุกข และก็ไมใชตางหากจากความทุกขเสียทีเดียว คือ บางทีคนก็กลัวทุกข เพราะวาความตายเปนความทุกขอยางหนึ่ง แลว คนก็กลัวทุกข ก็เลยมีชวี ิตอยูแ ลวก็กลัววาชีวิตจะมีความทุกข มันไปพัวพันเขากับความตาย ความตายเปนสิ่งที่นํามาซึ่งความ ทุกขอยางหนึ่ง แลวชีวติ กับความทุกข มันไมใชอยางเดียวกัน

7 ชัยชนะ 8 ประการ


แตก็ไมใชตางหากจากกันเสียทีเดียว แตเพราะอาศัยชีวติ ความทุกขจึงเกิด มันเหมือนคลื่นกับน้ํา ไมใชอยางเดียวกันและไมใชแยกจากกัน ทีนี้มองดูชีวิต ชีวิตเปนปจจัยธรรม มีกิเลสเปนปจจัย คือความทุกขจึงเกิดขึ้นมี 3 ตัว มีปจจัยธรรม คือตัวตั้ง ปจจัย คือตัวประกอบ แลวก็ปจจยุปน นธรรมคือสิ่งที่เกิดขึ้นเพราะปจจัย เชนวาน้ําเปนปจจัยธรรม ลมเปนปจจัย แลวพอรวมกันก็เกิดคลื่นขึน้ มาเปนปจจยุปนนธรรม อันนี้ก็เหมือนกัน ชีวิตเปนปจจัยธรรมเปนตัวตั้ง กิเลสเปนปจจัย พอมีกิเลสความทุกขกเ็ กิดขึ้น ความทุกขเปนปจจยุปนนธรรม มันเกิดขึ้นตามปจจัย ถาไมมีปจจัยมัน ไมเกิด ดังนั้น ชีวิตของพระอรหันตจึงไมมคี วามทุกขทางใจ เพราะเหตุที่ไมมีปจจัยใหเกิด ไมกลัวความทุกข แลวก็ไมกลัวตาย ไมกลัวทุกข ไมกลัวตาย ไมกลัวอะไร เพราะวาปจจัยที่จะทําใหกลัวมันไมมี ความทุกขกับชีวิตสัมพันธกนั แบบสังโยชน ไมใชสัมพันธแบบสมวาย (สะ-มะ-วาย) คําวาสัมพันธแบบสังโยชนคือวาแยกกันได เชน เกาอี้กบั คนนั่งเกาอี้ นี่สัมพันธแบบสังโยชน บางอยางมัน สัมพันธกันแบบสมวาย คือแยกไมได เชน กลิ่นกุหลาบกับดอก กุหลาบ เลือดกับเนื้อ มันแยกไมได เจาะเนื้อเขาไปตรงไหน ก็เจอเลือดทุกแหงเลย ตัดเนื้อออกมาก็ติดเลือดออกมาดวย เหมือนกลิ่นกุหลาบกับดอกกุหลาบ เราจะเอาเฉพาะกลิ่นของกุหลาบมาไมได มันตองมีทั้งกลิ่นทั้งดอกอยูดว ยกัน ทีนี้ของคนปุถุชน มันจะตองเปนอยางนี้ คือชีวิตกับความทุกขมันตองสัมพันธกันไป อยางนี้สวน มากจะทําอยางไร ก็จะตองใหรูตามความเปนจริง แลวก็เดินตามรอยของพระอริยะ ตามรอยของพระอรหันต ทุกขจะนอยลง ถึงจะมีอยูบางแตจะนอยลง ปญหาตอไปวาจะเอาชนะความกลัวไดอยางไร ในหัวขอนี้บอกวาเอาชนะความกลัวดวยความกลาหาญ แตถาจะถามวาทําอยางไรถึงจะกลาหาญ ตอบวา ขอใหหลักยอๆ เอาไวนะครับ 1. สรางความเชื่อมั่นในสิ่งที่ยดึ ไวเปนทีพ่ ึ่ง เชนวา คุณความดีจะคุมครองเรา เพราะเรายึดความดี ไวเปนที่พึ่ง ก็ใหมั่นใจวาคุณความดีจะชวยเรา ฉะนั้น ความกลา ก็เกิดขึ้น ไมกลัว ความกลาที่จะทําสิ่งที่ควรทําก็เกิดขึ้น สราง ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ยึดไวเปนที่พึ่ง ใครที่เห็นอะไรเปนที่พึ่งไดยดึ สิ่งนั้นเอาไวเชื่อมั่น 2. อยาคิดถึงสิ่งที่กลัว กลัวสิ่งใดก็อยานึกสิ่งนั้น ใหนึกอยางอืน่ สงใจไปที่อื่นเสีย คือเมื่อกําลังนึกถึงสิ่งอื่น ไมนึกถึงสิ่งที่กลัว เชน คนขับรถไมเปน ไมกลาขับรถ แตพอเขาที่คับขันเขา วันหนึ่ง 8 ชัยชนะ 8 ประการ


ลูกปวยไมมีใครอยูตองสงโรงพยาบาลทันที เกิดขับรถไดขึ้นมา เพราะเวลานั้นไมไดคิดถึงอะไรแลว ไมกลัวอะไรแลว นึกแตวาจะสงลูกไปโรงพยาบาลอยางไรทัน แตทีนขี้ ากลับขับไมได เวลานั้นไมนึกถึงสิ่งที่กลัว ใจมันไปนึกถึงสิ่งอื่น อีกตัวอยางนะครับคนที่กลัวผี กลัวผีไมกลาเดินผานปาชา เกิดไปรักผูห ญิงขึ้นมา ทางไปบานผูหญิงตองผาน ปาชา กลาเดินไปหาทุกวัน เพราะวาใจมันไปนึกอยูที่คนโนน ไมไดนึกถึงผี ในธชัคคสูตร พระพุทธเจาทานก็ตรัสถึงภิกษุที่อยูปา แลวก็กลัว ทานใหนกึ ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เลาถึง เทวาสุรสงคราม เทพกับอสูรรบกัน ทาวสักกะทานใหดูธง ใหดยู อดธง ไวเปนกําลังใจ เขาดูยอดธงก็ไมกลัวฉันใด ภิกษุทั้งหลายเมือ่ เกิดความกลัว ใหระลึกถึงพระพุทธคุณ ถายังไมหายก็ระลึกถึง พระธรรมคุณ ถายังไมหายก็ระลึกถึงพระสังฆคุณ ก็จะหายกลัว ก็คือเอาใจไปไวที่อื่น ไมไวทผี่ ีหรือที่ความกลัว 3. กลาเผชิญหนากับสิ่งที่กลัว ที่เขาบอกวา เสือดุใหเขาใกล บางคนไมกลาเขาใกล คนดุพอเขาไปทานก็ไมดุ พูดถึงเสือ เสือมันมีคุณสมบัติพิเศษ คือจะกระโดดสวนทางกับลูกปนที่ยิงมาไปหาตนตอของปน แตสุนัขมันจะกัดปลายไมที่แหยมนั ถาเปนเสือมันจะกระโดดกัดคนแหย มองดูก็เห็นขอแตกตางระหวางสัตว 2 ประเภทนี้ในการแกปญหา ก็มาเทียบดูกับคน คนโงกับคนฉลาด ในการแกปญหาคนฉลาดจะแกไปที่ตนตอเลยทีเดียว เหมือนเสือกระโดดเขาหาตนตอ ของลูกปน ไมรีรอ แตคนโงจะแกที่ปลายเหตุ เหมือนสุนัขทีถ่ ูกแหยแลวก็ไปกัดปลายไม หรือเรารูสึกรอนเพราะวาเรามีกองไฟอยู ใกลๆ เสร็จแลวเราก็เอาน้ํามาราดอยูที่ในหอง ราดเทาไรความรอนก็ไมลดลงเพราะวาไมไดไปราดที่ตน ตอของมัน แตถาไปราดที่กองไฟ เดี๋ยวก็เย็นทํานองนั้น การแกปญหาถาเปนปญหาสําคัญ เราไมไปแกที่ตน ตอ เราไมไปแกทจี่ ุดกําเนิดมันก็อีรุงตุงนัง แกแลวมันก็เกิดขึ้นมาอีก ถาถอนตนอุตพิดทิ้ง กลิ่นมันก็หายไป ทีนี้ถาเรามัวเอากลิ่นอื่นมากลบ ไอตนอุตพิดมันยังอยู ผมขอยกตัวอยางพุทธจริยาหนอย ในภยเภรวสูตร พระสูตรที่แปลวา พระสูตรที่นากลัว พระพุทธเจาไดตรัสเลาเอาไววาเมื่อยังไมตรัสรู พระองคทรงเสพเสนาสนะปา แลวก็ทรงสะดุง กลัวในบางคราว ทรงมีวิธีฝกใหหายกลัว โดยยืนอยูที่ใด นั่งอยูที่ใด เมื่อรูสึกกลัวก็จะยืนอยูตรงนัน้ จนกวาจะหายกลัว เดินอยูท ี่ไหน เกิดความกลัวก็จะเดินอยูตรงนั้น นั่งอยูตรงไหนเกิดความกลัวก็จะนั่งอยูตรงนั้น จนกวาจะหายกลัว นี่ก็เปนตัวอยางหนึ่งวา ฝกลงไปตรงๆ เผชิญหนากับความกลัวตรงๆ 9 ชัยชนะ 8 ประการ


อะไรคือตนเหตุหรือมูลเหตุสําคัญของความกลัวก็คือ อุปาทาน ซึ่งแตกตัวออกมา เปนกามบาง เปนความรักบาง เปน สิ่งที่รักบาง เปนตัณหาบาง อยางพระพุทธพจนทวี่ า ความกลัวเกิดจากกาม ความกลัวเกิดจากสิ่งทีร่ ัก ความกลัวเกิดจากความรัก ความกลัวเกิดจากตัณหา ถาจะตัดตนเหตุของความกลัวจะทําอยางไร ถามีกําลังพอก็ตรงเขาตัดที่ตน เหตุเลย เชน ตัดอุปาทาน ไปเสียเลย ตัดรักไปเลย ตัดตัณหาไปเลย แตถากําลังไมพอก็ คอยๆ บรรเทาใหเบาบางลง โดยพยายามทําความดีทั้งทางโลกและทางธรรม สามารถควบคุมตัวเองไมใหทําสิ่งที่ไมตองการจะทําได และตระหนักเสมอวาสิ่งทั้งปวงเปนอนัตตา เปนไปตามเหตุปจจัย แลวใจของคนผูนั้นจะไดที่พึ่งที่ประเสริฐ แลวก็จะตัดตนเหตุของความกลัวไปไดมาก 5. ชนะความทะนงตน ดวยความกรุณา ความทะนงตนก็คือมานะ มานะในทางตําราของเรามี 9 อยาง แตโดยยอ เอาเพียงแค 3 ก็ได 1. มานะวาสูงกวาเขา 2. มานะวาเสมอเขา 3. มานะวาต่ํากวาเขา ก็แจกไปอยางละ 3 คือ ตนสูงกวาเขา สําคัญตนวาสูงกวาเขา, เสมอเขา, ต่ํากวาเขา ตนเสมอเขา สําคัญตนวาสูงกวาเขา, เสมอเขา, ต่ํากวาเขา ตนต่ํากวาเขา สําคัญตนวาสูงกวาเขา, เสมอเขา, ต่ํากวาเขา ก็รวมเปน 9 พอดี เรียกวามานะ 9 ความทะนงตนก็มา คูก ับการดูหมิน่ ผูอื่น มานะแลวก็อติมานะ อยูในอุปกิเลส 16 มี มานะแลวก็อติมานะ อติมานะ คือดูหมิ่นผูอื่น บางทานอาจสงสัยวา ทําไม ตนสูงกวาเขา สําคัญวาต่ํากวาเขา สําคัญวาเสมอเขา จึงเปนมานะดวย นาสงสัยไหมครับ คือโดยปกติทานไมตองการใหนําตนไปเทียบกับใคร ไมตองการใหนําใครมาเทียบกับตน หมายความวา เปนตัวของตัวเอง เราคือเรา เขาก็คือเขา ในโลกนี้ไมมใี ครที่จะสูงกวากันโดยประการทั้งปวง แลวก็ไมมีใครเสมอกันโดยประการทั้งปวง 10 ชัยชนะ 8 ประการ


ไมมีใครต่ํากวากันโดยประการทั้งปวง มันอยูที่แงในการเปรียบเทียบ คือเปรียบเทียบในแงไหน ถาเอามาตรฐานบางอยางไปเปรียบเทียบมันก็อาจจะ ก ต่าํ กวา ข แตถาเอามาตรฐานบางอยางไปเทียบ ข จะต่ํากวา ก เชนวา อธิบดีกับคนถางหญาหนากระทรวง ถาเอามาตรฐานในการปกครองคือทางวิชาการไปอธิบดีก็เดนกวา แตถาใหไปถางหญาแขงกัน อธิบดีก็สูคนถางหญาไมได ดอยกวาคน ถางหญา พอคิดไดอยางนี้ วาในโลกนีไ้ มมีใครที่จะเดนกวาผูอื่นดวยประการทั้งปวง หรือต่ํากวาผูอนื่ ดวยประการทั้งปวง อาจจะดีในบางแง เดนในบางแง ดอยในบางแง เมื่อเปนอยางนีแ้ ลว อติมานะจะหมดไป จะไมมี อยางคนขับรถเมลเราไปขับอยาง เขาก็ไมได มันตองมีคนอยางนัน้ อยู คนกวาดถนน คนขนขยะ เวนแตวาใครจะไปอยูตรงนั้น คือใหมองวาแตละคนเขาก็มคี วาม สําคัญของตัวเอง เมื่อเรามองเห็นความสําคัญของคนอื่นเราก็ไม ไปดูถูก ไมเอาตัวเราไปเปรียบเทียบกับคนอื่น ฉะนั้น ถาจะใหเอาชนะความทะนงตนแบบนี้ ก็ตองใชธรรมะขอ 1 คือ ความกรุณา เขาใจ เห็นใจผูอ ื่น เปรียบวาในบานถาจะสะอาดมันตองมีไมกวาด ผาขี้ริ้ว แตพอถึงเวลารับแขก เราก็เอาดอกกุหลาบมาวางบนโตะสวยๆ สิ่งที่ทําใหโตะสะอาด คือผาขี้ริ้วกับไมกวาด แตผูที่ออกหนาคือดอกกุหลาบ ก็ไมใชวาผิด แลวก็ ผาขี้ริ้วจะประทวงดอกกุหลาบไมเห็นทําอะไร พอถึงเวลาก็มาออกหนา มันคนละอยางคนละหนาที่ ในปจจุบนั บางทีผาขี้ริ้วอยากเปนดอกกุหลาบ ดอกกุหลาบอยากเปนผาขี้ริ้ว ทีนี้ในเรื่องของการถือตัว บางทีเราก็สอน กันวา “ลูกเอย เราจะตองเรียนใหสูงๆ เพือ่ จะเปนเจาคนนายคน” ลักษณะนี้สอนใหเปนคนถือตัวหรือเปลา ที่จริงอันนี้เอากิเลสไปลอนะครับ คือเอาตัวมานะไปลอ ขางหนา ในภาษาไทยก็ใชคําวา มานะพยายาม จริงๆ ไมคอย ถูกนักถามองในแงของทางธรรม แตมันก็เอามาใชประโยชนใหมี ความเพียรพยายาม แลวก็เอาตัวนีไ้ ปลอเอาไวเปนเหยื่อ เหมือนกับตอนที่เด็กๆ เลนกัน ที่บอกวา เตาไมไปเอาไมแหยตูด เตาไมพูดเอาตูดลนไฟ ก็หมายความวา เตาปกติมัน จะไมเดิน ก็เอาไมไปแหยตดู มันก็จะรีบเดิน เอาของรอนไปลน เพราะฉะนั้น คนเราถาไมขยัน ก็ตองเอาอยางนี้เขามาพูดเพือ่ ให เกิดความตั้งใจ ความมานะที่จะเรียน หรือตองการมีความตั้งใจทีจ่ ะทําอะไรใหสาํ เร็จสักอยางหนึ่ง คือเอาเหยือ่ ไปลอ เอาเหยื่อไปเปน motive เปนแรงเรง แรงจูงใจ ทีจ่ ริงถาสอนกันทางแนวพุทธ ไมตองสอนแบบนั้นก็ได สอนใหเขารีบทําความเพียร รีบทําความดี เขาจะไดเปนตัวของตัวเอง เขาจะไดมีความสุข ทํานองนี้กไ็ ด ไมตองเปนเจาคนนายคนก็ได

11 ชัยชนะ 8 ประการ


มีพระเถระอยูร ูปหนึ่ง ตอนนี้ทานมรณภาพไปแลว ตอนนั้นทานเปนพระครู ทานเจาคณะภาคเรียกทานมา ทานก็บอกใหทําอยางนั้นๆ แลวผมจะใหเปนเจาคุณ เปนพระราชาคณะในสมัยหนา ทานลุกขึ้นบอกวา จะใชอะไรผมก็ใชเพราะวาทานเปนผูบังคับบัญชา อยาเอาของพวกนี้มาลอ ทานพูดตรงๆ เลย มีเจาคณะจังหวัดอยูรูปหนึ่ง ทานอยูทางภาคใต ก็มี สามเณรลามาเรียนที่กรุงเทพฯ ทานก็บอกวา ไปก็เรียนไมสาํ เร็จ หรอก ทานพูดอยางนี้ แลวสามเณรก็จาํ ไวตลอด เวลาทอทีไรก็ นึกถึงคํานี้ ก็เรียนไปๆ เรียนไดเปนเปรียญ 5 ประโยค เพราะนึกถึงคําที่วาไปก็เรียนไมสําเร็จ เกิดความวิริยะ เกิดความมุขนึ้ มานะจะเอาชนะคําปรามาสใหได ผมขอพูดถึงความกรุณาตอไป ที่วาเอาชนะความทะนงตน ดวยความกรุณา คนที่มีมานะทะนงตน และคนที่มีอติมานะ คือ ดูถกู ผูอื่น เพราะวาขาดความกรุณา ผูที่เปยมดวยความกรุณาจะมีจิตใจออนโยนตอคนทั้งปวง แมในคนชั่วหรือคนบาป ทานก็มีใจกรุณาปรารถนาใหเขาพนทุกข ไมดูหมิ่น ไมเหยียดหยาม ตัวอยางในพรหมวิหารในคัมภีรวิสุทธิมรรค ทานพูดถึงเอาไวตอนทีว่ า ดวยกรุณาพรหมวิหาร ทานสอนวา “พึงแผกรุณาไปยังบุคคลผูตกยากกอน ถาไมมีบุคคลเชนนั้นก็แผไปยังบุคคลที่ ทําชั่ว คนบาป ทานวาคนเชนนั้น แมมีอาการภายนอกเสมือนหนึ่งวามีความสุข แตที่แทแลวเขามีความทุกขที่ควรไดรบั ความกรุณา” เปรียบเหมือนโจรปลนทรัพยที่กําลังจะถูกฆา แมจะประดับประดาไปดวยพวงดอกไมและของหอม หรือมีคนนําโภชนะที่ประณีตมาใหกต็ าม แตโจรนั้นก็ไมมีความสุข ฉะนั้นคนที่มีความกรุณามาก จึงสามารถเอาชนะคนที่มีความทะนงตนได แมผูอื่นจะต่าํ ตอยกวาก็ไมดหู มิ่นเหยียดหยามเขา คอยหาทางชวยเหลือใหเขาพนทุกขอยูเสมอ นี่เอาชนะความทะนงตนดวยความกรุณา “การที่ทําอะไรดวยความกรุณา ปรารถนาให ผูอื่นพนทุกข ดวยความอดทน ทีนี้ถาไมสาํ เร็จดวยกําลังของเรา ก็จะสําเร็จดวยกําลังของผูที่มีกําลังมากกวา ซึ่งมีความกรุณาตอเรา” เพื่อประกอบเรื่องนี้ ผมขอเลาเรื่องหนึ่ง นานมาแลวมีคนจีนชื่อ ยือคุง เปนคนแกที่โงเขลา ใชชีวิตอยูในเทือกเขาสูง ยากลําบากอยูระหวางภูเขาไทจิงและหวางหู วันหนึ่ง เขาเรียกคนทุกคนในครอบครัวเพือ่ ใหทุกคนรวมกําลังกัน เพื่อมีกําลังเขมแข็งทําการเคลื่อนยายภูเขา ทุกคนเห็น ดวย เริ่มขุดดินทันที ทุบหินแลวก็ขนหิน 12 ชัยชนะ 8 ประการ


กอนหินทั้งหมดไปทิ้งทะเล ตองใชเวลาเดินทางไปถึง 1 ป ระหวางภูเขากับทะเล ระหวาง ทางยือคุงผานที่อยูของทิเชา ชายแกผูฉลาด ไดบอกเขาวา เขาคงจะมีอายุไมยืนยาวนัก หมายถึงยือคุงมีรางกายที่ออนแอเกินไปไมแข็งแรง งานทีเ่ ขาทําก็จะเปนการเสียเวลาสูญเปลา ยือคุงตอบวา “คนปราดเปรียวทั้งหลายเชนทาน ลวน มีความเห็นเชนนีท้ ั้งนั้น แตความสําเร็จอาจไมเกิดในชวงชีวิตของ ขาพเจา ถาลูกหลาน ลูกของหลาน เหลนของหลาน เหลนของ เหลน จะทํางานนีต้ อไปไมหยุดดวยความขยันหมั่นเพียร ก็จะ บรรลุจุดมุงหมาย บรรลุจุดหมายปลายทางในวันหนึ่งขางหนา มีสิ่งหนึง่ ที่แนนอนคือ จะไมมีภูเขาใหมงอกขึ้นมาแทนภูเขาเกา” เทวดาสองตนที่สิงสถิตอยูที่ภูเขาทั้งสอง ไดยินคํานี้รูถึงความตั้งใจจริงของยือคุง เปนสัญญาณบอกวาที่สิงสถิตของเทวดา พังแน เทวดาจึงขอใหจอมเทพในสวรรคคอื ทาวสักกะชวย ทาวสักกะเห็นใจเทวดาแลวก็เคารพจิตใจที่แนวแนของยือคุง จึงมีเทวบัญชาใหเทวดาที่มีพลังยายภูเขาไปไวที่หางไกลเพื่อความ ปลอดภัย ชื่อยือคุงชายชราผูโงเขลานี้ ไมทราบวาจะเปนคําประชด ประชันแดกดันหรือไม จริงๆ แลวเขามีสติปญ  ญามองเห็นวาสิ่งที่นาจะสูญเสียกําลังเปลา ถามองในระยะยาวจะเห็นวามีความสําคัญอยางยิ่ง คือวามีวิสัยทัศนกวางไกลยาวไกล การยืนหยัดความเพียร พยายามหรือความบากบัน่ ที่แทจริงดวยความกรุณา อยูเหนือการทนทุกขในปจจุบัน ยือคุงเปนสัญลักษณของปญญาที่ลุมลึก ประเภทหนึง่ อันนี้ขอใหทานผูฟงโปรดจําใหดนี ะครับวา ยือคุงเปนสัญลักษณของปญญาที่ลุมลึกประเภทหนึ่ง บุคคลประเภทยือคุงนี้ มีความสามารถมั่นคงที่จะดําเนินชีวิตไปใหประสบความสําเร็จดวยการตระหนักรูวางานของเขาจะนําไปสูความหม ายนิรันดร โดยไมสนใจประโยชนผิวเผิน หรือประโยชนเฉพาะหนาเปนอยางไร คนสวนมากจะมองแตประโยชนเฉพาะหนา ถามองไมเห็นประโยชนเฉพาะหนาก็จะไมทํา แตคนที่มีวิสยั ทัศนกวางไกล บางทีดูเหมือนวาวันนีจ้ ะไมไดอะไร หรือตอนนี้จะไมไดอะไร แตอนาคตที่ยาวไกลจะไดสิ่งที่ดีงาม ผมขอยอนกลับมาขอความที่วา ถาเราทําอะไรดวยความกรุณา ดวยความอดทน ถาไมสําเร็จดวยกําลังของเรา ก็จะสําเร็จดวยกําลังของคนที่มีกําลังมากกวา ที่มีความกรุณาตอเรา โดยเฉพาะอยางยิ่งก็คือวาเห็นความตั้งใจจริง ความยืนหยัด การไมยอมแพตอความตั้งใจที่ดีของเรา

13 ชัยชนะ 8 ประการ


6. ชนะโรคภัยไขเจ็บ ดวยความพอประมาณในทุกๆ อยาง มีสุภาษิตที่นาสนใจอยูขอหนึ่งวา “โรคภัยเขาทางปาก ทุกขภัยออกจากปาก” ทําไมโรคภัยเขาทางปาก คือคนไมระวังปาก คือกินไมเลือก กินไมพจิ ารณา เห็นแกกิน ก็มกั จะมีโรคภัยมาก โรคที่เกิดจากการไมรูจักประมาณในการกิน ตอมาก็วา ทุกขภัยออกจากปากคือถาไมสํารวมวาจา อยากพูดอะไรก็พูด ก็มกั จะมีทุกขภัยตามมา เพราะไมระวังวาจา รวมความวา “โรคภัยเขาทางปาก ทุกขภัยออกจากปาก” ก็เลยตองระวังทั้งเรือ่ งโรคภัยและทุกขภัย ผมจะพูดถึงเรือ่ งความไมมีโรคกอนนะครับ “ความไมมีโรคเปนลาภอยางยิง่ ” อันนี้เปนพุทธภาษิต อโรคยาปรมา ลาภา ก็ไดยินกันทั่วไป “ลาภทั้งหลายมีความไมมี โรคเปนอยางยิ่ง” ที่พูดๆ กันวา อโรคฺยา ปรมา ลาภา ไมถูก ไวยากรณ ไมถูกภาษา แตวาพอกลอมแกลมไปได ในพุทธภาษิต จริงๆ หมายถึงโรคทางใจ แตเราเอามาใชในความหมายของโรค ทางกายกันหมดแลว ผมขอเลาประวัติความเปนมานิดหนึ่ง ที่โรงบูชาไฟของพราหมณภารทวาชะ พระพุทธเจาประทับบนกองหญาในโรงบูชาไฟนั้น ซึ่งอยูที่นิคมชื่อกัมมาสธัมมะ ในแควนกุรุ ตอนเชาเสด็จออกบิณฑบาต เสร็จแลวเสด็จเขาไปใน ชายปา ประทับ ณ โคนไมตนหนึง่ ครานั้น มาคัณฑิยปริพาชก เดินเทีย่ วเลนอยู เขาไปในโรงบูชาไฟของพราหมณภารทวาชะเห็น ที่นั่งที่ทําดวยกองหญาแลว ทักวาคงจะเปนที่นั่งของสมณพราหมณภารทวาชะตอบวา “เปนของพระสมณโคดมซึ่งเปนพระอรหันต” ผมขอแวะตรงนี้หนอย คือที่นั่งของผูที่มีศีลธรรม เขา เรียกวา ทิพยอาสน ถาที่นั่งของผูที่ไดฌานก็เปนพรหมอาสน ที่นั่งของพระอริยะผูละกิเลสได ตั้งแตชั้นโสดาบันขึ้นไปจนถึงพระอรหันต ทานเรียกวา อริยอาสน ฉะนัน้ อยางพระพุทธเจา พระองคจะประทับนั่งอยูทไี่ หน ก็เปนทั้งทิพยอาสน เปนทั้งพรหมอาสน เปนทั้ง อริยอาสน แมพระองคจะนั่งบนกองหญาก็เปน ทีนี้ที่วาพราหมณภารทวาชะตอบวา เปนที่นั่งของ พระสมณโคดม ผูเปนพระอรหันต ตรงนี้ขอย้ําอีกทีนะครับวา ใหอานออกเสียงวา พระ-อะ-ระ-หัน ถาออกเสียง ออ-ระ-หัน แลวก็ไมมี ต ดวย ก็จะเปนสัตวในนิยายชนิดหนึ่งมี 2 เทา มีปก หัวเหมือนคน ในความหมายอีกความหมาย หมายถึงผูวเิ ศษ แตไมใชแบบพระอรหันตในพระพุทธศาสนานะครับ

14 ชัยชนะ 8 ประการ


ที่นี่แหละครับที่พระพุทธเจาสนทนากับปริพาชก เรื่องความไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่ง พระนิพพานเปนสุขอยางยิ่ง บรรดาทางทั้งหลายอันจะนําไปสูอมตธรรม มีองค 8 เปนทางที่ประเสริฐ เมื่อพระพุทธเจาตรัสอยางนี้ ปริพาชกก็ทูลวา ความไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่งเปนตนนี้ เขาเคยไดยินมาจากปริพาชกชั้นอาจารยมาแลวเหมือนกัน พระพุทธเจาตรัสถามวา “ในความนั้นทานเขาใจวามีความหมายอยางไร” ปริพาชกเอามือลูบตัวแลวทูลวา “ความไมมีโรคคืออยางนี”้ (คือไมมีโรคทางกาย) บัดนี้เขาเปนผูไมมีโรคมีความสุขดีอยู พระพุทธเจาก็ตอบวา “เปรียบไปก็เหมือนคนตาบอดแตกําเนิด ไมเคยเห็นอะไรเลย ตอมาไดยินคนพูดถึงผาสีขาว เขาก็เที่ยวแสวงหาผาสีขาว มีคนหนึ่งเอาผาขาวเทียมเปอนเขมามาลวงเขา บอกเขาวาเปนผาขาวสะอาดบริสุทธิ์ ไรมลทิน เขารับเอาผานัน้ ไวหม แลวดีใจวาเขาไดหมผาขาวงามบริสุทธิ์ เขาเห็นเองหรือวาเชื่อคนตาดีที่มาหลอกลวง” ปริพาชกก็ทูลวา “เขาเชื่อคนตาดีที่มาหลอกลวง” “พวกปริพาชกทั้งหลายก็เหมือนกัน ไมรูจักความไมมีโรค ไมรูจักพระนิพพาน แตก็ยังกลาววาความไมมีโรคเปนลาภอยางยิง่ พระนิพพานเปนสุขอยางยิ่ง” ซึ่งเปนพระดํารัสของพระอรหันต สัมมาสัมพุทธเจา พระคาถานั้นไดกลายมาเปนคําพูดของปุถุชนมาเรื่อยๆ คือแมปุถุชนผูไมรูความหมายอยางแทจริงก็พูดตอๆ กันมาวาความไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่ง อันที่จริงกายนีแ่ หละเปนโรค เปนหัวฝเปนความลําบาก ปริพาชกจึงประกาศความเลื่อมใสตอพระพุทธเจา และขอใหทรงแสดงธรรมใหฟง เพื่อใหรูจักความไมมีโรคและ นิพพาน พระศาสดาตรัสวา ถาแสดงแลวเขาไมรูไมเขาใจก็เปนการเหนื่อยเปลา เมื่อปริพาชกประกาศความเลื่อมใสยิ่งขึ้น ขอใหทรงแสดงธรรม จึงตรัสวา “บุรุษผูตาบอดแตกําเนิดนั้น ตอมาพยายามรักษาตาจน หายจากโรคแลว ผาขาวไรมลทินนั้นที่แทเปนผาสกปรกนารังเกียจ เขายอมเคียดแคนชิงชังคนทีห่ ลอกลวงเขาถึงกับตองการจะฆาเสีย เมื่อเราแสดงธรรมวาความไมมีโรคเปนอยางนี้ นิพพาน เปนอยางนี้ ถาทานรูจักความไมมีโรคและเห็นนิพพานได ทานก็จะละความกําหนัดพอใจในขันธ 5 ซึ่งทานยึดมัน่ อยู 15 ชัยชนะ 8 ประการ


ทานจะมีความรูสึกวาเราถูกจิตนี้หลอกลวงใหหลงผิดมานานแลวหนอ จึงหลงยึดมัน่ ในรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เพราะมีความยึดมั่นจึงมีภพ เพราะมีภพจึงมีการเกิด แก เจ็บ ตาย เรื่อยไป” ปริพาชกประกาศความเลื่อมใสยิ่งขึ้น ขอใหทรงแสดงธรรมเพื่อเขาจะไดหายสงสัย พระศาสดาตรัสสอนใหคบสัตบุรุษ คือคนดี ฟงธรรมของคนดี นําธรรมไปปฏิบัติ ก็จะรูเห็นเองวา โรค ฝ ลูกศร เปนอยางนี้ๆ และมันจะดับลงไดในที่นี้ เพราะการดับอุปาทาน เมื่ออุปาทานดับ ภพก็ดับ เกิด แก เจ็บ ตาย ก็ดับตามกันไป ทุกขทั้งมวลก็ดับตามกันไป กองทุกขทั้งมวลก็ดับลงอยางนี้ ปริพาชกสรรเสริญพระธรรมเทศนา จึงขอบวช เมื่อบวชแลวก็บําเพ็ญเพียรไมนานนักก็สําเร็จเปนพระอรหันต เรื่องความไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่ง พูดกันอยูเสมอในพุทธบริษัทเรา แตก็คงจะมีนอ ยคนนักทีเ่ ขาใจพุทธสุภาษิต หรือวารูถึงพุทธาธิบายลึกซึ้งนี้ เขาใจกันแตเพียงวา การมีรางกายที่ไมมีโรคเปนลาภอยางยิ่งแลว แตในความหมายลึกๆ ของพระพุทธองคก็คือ รางกายนั้นเองเปนตัวโรคอยูแ ลว ฉะนั้น การที่รางกายจะไมมีโรคเปนไมมี การละความกําหนัดพอใจในขันธ 5 มีรูป เปนตนนั้นตางหาก ทีเ่ ปนลาภอยางยิ่ง ขอความเบือ้ งตนที่เปนทีม่ าของพระพุทธสุภาษิตก็จบแคนี้นะครับ การเอาชนะโรคภัยไขเจ็บดวยความพอประมาณในทุกสิ่ง ทุกอยาง เลยทําใหเราไดความรูอยางหนึ่งวาแมจะมีโรคแลว ถาตองการจะบรรเทาใหนอยลง สิ่งหนึ่งที่จะตองทําก็คือวา ตองพอประมาณในทุกสิ่งทุกอยาง กินพอประมาณ นอนพอประมาณ ทํางานพอประมาณ ทุกอยางตองพอประมาณ พอประมาณก็คือ พอดีกับรางกาย พอดีกบั ความตองการ พอดีกับฐานะภาวะ คือ พอดีกับบุคคลผูนั้น ความพอประมาณนี่มีเฉพาะบุคคลดวยนะครับ พอประมาณของชางก็อยางหนึ่ง พอประมาณของสุนัขก็อยางหนึ่ง 7. ชนะความงวง ดวยความพอประมาณในอาหาร ก็คลายๆ กัน แตนี่ระบุมาที่ความงวง ก็เคยมีที่ทานสอนใหบริโภคอาหารที่มีประโยชนแกรางกาย แลวก็บริโภคแตพอประมาณ ไมนอยจนหิว ไมมากเกินไปจนอึดอัด ทําอะไรไมสะดวก แลวก็ชวนงวง อยางที่วาเพื่อบรรเทาเวทนาเกา คือบรรเทาความหิว เพื่อไมใหเวทนาใหมเกิดขึน้ คือไมใหถึงกับอึดอัด หรือที่พระสารีบุตรบอกวา “อีก 4-5 คํา จะอิ่มก็ใหหยุด ก็ดื่มน้ําแทน” รางกายจะกระปรี้กระเปราอยูตลอดเวลา เรื่องที่ชอบพูดถึงกันอยูเสมอก็คือ เรื่องที่พระพุทธเจาตรัสกับพระเจาปเสนทิโกศล พระเจาปเสนทิโกศลก็เมื่อกอนทานเปนคนที่บริโภคมาก เปนคนอวนอุยอาย อวนมากบริโภคมาก 16 ชัยชนะ 8 ประการ


ไปเฝาพระพุทธเจาทีไรก็นั่งถอนหายใจ นัง่ ลําบาก พระพุทธเจาก็ตรัสสอนบอกวา เมื่อใดบุคคลกินมากมักงวง มักนอนหลับ กระสับกระสายเหมือนหมูใหญ บุคคลผูนั้นยอมจะมึนซึมเขา หองนอนบอยๆ เพราะฉะนัน้ จึงควรมีสติทุกเมื่อ รูจักประมาณ ในการบริโภคอาหาร มีทุกขเวทนานอย อาหารทีบ่ ริโภคแลวคอยๆยอย และตออายุใหยืนนาน นี่เปนวิธีหนึ่งในการทําใหเปนคนมี ทุกขนอย แกชา และอายุยนื คือมีสติ บริโภคพอประมาณจะทําใหมีลักษณะอยางที่วา มีทุกขนอ ย แกชา อายุยืน ตอมาภายหลัง เมื่อพระเจาปเสนทิโกศลทรงปฏิบัติตามที่พระพุทธเจาทานสั่งสอน ก็กระปรี้กระเปรา กระฉับกระเฉงมากขึ้น จึงทูลพระพุทธเจาวาเวลานีพ้ ระองคสามารถวิ่งจับเสือไดแลว แตมันคอนขางจะทํายากหนอยนะครับ เพราะคนสวนมากจะตามใจปาก ตามใจลิ้นมานานตั้งแตเด็ก จนเปนหนุมเปนสาวมาถึงอายุวยั กลางคน ก็ตามใจปากตามใจลิ้น ติดในรสมาเปนเวลานาน และมันก็เปนความเพลิดเพลินเปนความสําราญอยางหนึง่ ของมนุษย ขอใหกนิ เมื่อหิว อยากินเมื่ออยาก ฉะนั้นมาฝกฝนเรื่องนี้กันบาง ใหประชาชนเรามาฝกฝนเรื่องการไมตามใจตนเอง ก็จะไดประโยชนทั้งทางสุขภาพและเศรษฐกิจ ถาเราเผยแพรและชักชวนกันใหดี มันจะไปไดทวั่ ประเทศ จะชวยประหยัด คือพอสุขภาพดี ไมตองเขาโรงพยาบาลบอยๆ ทั้งแพทยทั้งพยาบาล ก็ลดไปไดหมด เรื่องที่วาโรคภัยเขาทางปากก็เปนสิ่งที่ควรระวัง แตทีนี้มนั เปนความสุขสําราญอยางหนึง่ ของคน ในเรื่องการกิน ก็ชวนกันไปเลี้ยง จะนัดพบอะไรกัน ก็ตองไปกิน ไปเลี้ยง บริษัทตางๆ จะตกลงความอะไรกัน ก็ตองชวนกันไปกิน ใหมีความสุขสําราญไวกอน แลวถึงเจรจากัน รูสึกจะตกลงอะไรกันงายขึน้ 8. ชนะการติดโลก ดวยการพิจารณาใหเห็นโทษหรือธรรมชาติอนั ชั่วรายของโลก ขอนี้คอนขางสําคัญอยู เพราะสัตวโลกเกิดมาในโลก เหมือนกับปลาเกิดในน้าํ ลิงเกิดในปามันก็ติดปา ใหมองตามความเปนจริง Realistic คือวาเรายอมรับกันไหมวาในโลกนี้มันมีความชัว่ รายอยูไ มใชนอยทีเดียว มิฉะนั้น คนจะมีความทุกขไดอยางไร โดยทั่วไปคนจะมีความทุกขมากกวามีความสุข 1. เพราะวามันมีธรรมชาติที่ชั่วรายของโลกอยู 2. คือคนไปติดโลก คลายลิงติดตัง ลิงมันซน เห็นทอนไมก็เอาตังหรือยางเหนียวไปทากับทอนไม อยากจะจับเลน พอจับก็ไปติดมือหนึ่ง เอามือที่สองไปแกะ มือที่สองก็ไปติดอีก เอาเทาไปแกะก็ติดอีก เทาที่ 4 ไปแกะก็ติดอีก ก็ตดิ หมด เอาปาก ไปกัดปากก็ตดิ อีก แปลวาสวนทั้ง 5 ก็ติด ทํานองนั้นนะครับ 17 ชัยชนะ 8 ประการ


ถาจะถามวาคนติดโลก ติดอะไรของโลก ก็โลกมีสิ่งยั่วยวน คือกามคุณ กับโลกธรรม เปนสิ่งสําคัญของโลก กามคุณ 5 กับโลกธรรม 8 โดยเฉพาะโลกธรรม สวนที่เปนอิฏฐารมณ เราไมไดหมายความวามันเปนสวนดี หรือเปนสวนไมดี แตวามันเปนสวนที่คนตองการ อนิฏฐารมณเปนสวนที่คนไมตองการที่จะไปติด ไปติดในสวนที่คนตองการคืออิฏฐารมณ มีคนถามผมวา กามไมดี เขาเรียกวากามคุณ หรือคุณของกาม แลวทําไมบอกวาไมดี กามคุณไมไดแปลวาคุณของกาม ไมไดแปลวาประโยชน หรืออะไรทีเ่ ปนคุณ แตมันแปลวากลุม เหมือนกลุมดาย เชน สุตตคุณ แปลวา กลุมดาย มาลาคุณ แปลวา กลุมดอกไม กามคุณก็คือกลุมของกาม ไมใชคุณของกาม พอถึงคราวที่จะแสดงถึงสวนดี ของกาม พระพุทธเจาก็ใชคําวา อัสสาทะ ไมใชคําวาคุณ แปลวา สวนที่นาชื่นใจ แตถาพูดถึงโทษ ทานจะพูดถึง อาทีนวะ เพราะฉะนั้น คําวากามคุณ ไมไดหมายถึงคุณของกาม บางคนเขาใจอยางนั้น ก็การที่คนติดโลกก็คือคนไปติดในสวนทีด่ ีของโลก หรือวา เหยื่อของโลกก็คือติดกามคุณอยางหนึง่ ที่สําคัญอยางยิ่งก็คือ โลกธรรม ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข กามคุณ 5 ยังละไดงายกวา ลาภ ยศ ถาดูลาภสักการสังยุต ในสังยุตตนิกาย ก็จะเห็นชัดขึ้น คือพระพุทธเจาเคยตรัสถึงวา สมณพราหมณบางพวกก็ละกามคุณไปแลวแตวาไปติดในลาภ ยศ ในเสียงสรรเสริญ ปลีกตัวออกไปจากกามคุณแลว ก็ยังไปติดในโลกธรรม ไปติดในลาภในยศ ในเสียงสรรเสริญ พระพุทธเจาก็เนนทั้งสังยุตเลยใหเห็นโทษของลาภ ของยศ ของสรรเสริญ สําหรับสมณะใหเห็นใหมากๆ เลยวาเปนของทารุณ เผ็ดรอน ควรจะละเสีย นี่คือ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข สุขที่เกิดจากลาภ ยศ สรรเสริญ เปนสุขที่ทารุณ เปนความสุขที่เผ็ดรอน ที่ยังไมเกิดก็ไมควรพยายามใหเกิด นี่หมายถึงสมณะ และถึงไมใชสมณะ ก็ควรจะเห็นโทษของสิ่งเหลานี้เหมือนกัน กายนี่อาจจะปลีกออกมาจากกามคุณได ไมไปหลงรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะได แตวาในดานของอิฏฐารมณ ก็ยังฝกใฝกันอยู เปนสิ่งที่จิตตองการ จิตเขาไปเสพแลวก็ตองการ ทีนี้ก็ไมคอยจะเห็นโทษของมัน แตถาเปนผูที่เห็นโทษอยูก็ไมสูกระไร อยางที่ทานใชคําวา อาทีนวทสฺสาวี นิสฺสรณปฺโปริภุฺชติ คือเขาไปเกีย่ วของดวยการเห็นโทษ มีปญญาในการที่จะสลัดออก หมายความวา พรอมที่จะสลัดออกถาเผื่อจําเปน แตวาถาจําเปนที่จะบริโภคอยู ใชสอยอยูกใ็ ชสอยกันไป วิธีหนึ่งที่ไมใหติดโลกก็คือ “ตั้งใจไว วามีก็ได ไมมกี ็ได” มีก็ใชประโยชนเทาที่ประโยชนมันมี ไมมีก็เปนประโยชนอยางที่มนั ไมมี 18 ชัยชนะ 8 ประการ


ทานถือวา ไดก็ดี ไมไดก็เปนกุศล คิดอยูเสมอวา ไดกด็ ไี มไดกเ็ ปนกุศล ขอใชคําบาลีนิดนะครับ อลตฺถํ ยทิทํ สาธุ นาลตฺถํ กุสลํ อิติ “ไดก็ดี ไมไดก็เปนกุศล” ใหตงั้ ใจอยูเสมอ คิดอยูเสมอ เปนผูคงที่ในการไดหรือไมได เหมือนกับคนที่เขาไปใกลตน ไมเวลาที่ไมตองการผลและไมตองการอะไรๆ จากตนไม จะไดหรือไมไดก็ไมเดือดรอน อันนี้คือขอความในโมไนยปฏิปทา แปลวาเราไปอาศัยเพียงรมเงาของตนไม สวนผลของมันจะไดกด็ ี ไมไดก็ไมมีปญหาอะไร เพื่อประกอบเรื่องนี้ขอเลาเรื่องเด็กนะครับ มีเด็กอยูคน หนึ่งพอเขามีเรือ แตไมใชเรือจาง เปนเรือที่ชอบพาเพื่อนไปไหนๆ ก็ไปเรือ แตพอเปนคนรับผิดชอบเรื่องเรือ เวลาจะไปไหนดวยกัน ก็มีเพื่อนฝูงไป ก็ไปลงเรือกัน พอก็เตรียมเรือ สําหรับลงเรือไป พอไปเรือกันแลวถึงจุดหมายปลายทางแลว เพื่อนๆ ก็ลงเรือ พอก็ตองคอยดูแลเรือ คอยผูกมัดอะไร กังวลกับเรื่องเรือ เด็กแกก็คอยสังเกตพอ รูสึกวายุงกับเรือมาก ตั้งแตกอนออกเรือ พออยูในเรือพอก็ตองแจวตองพายไป เพื่อนก็นั่งไป พอไปถึงแลว เพื่อนก็ลงจากเรือ เขาไปกันสบายสนุกสนาน พอตองกังวลกับเรื่องเรือ วันหนึ่งเด็กถามวา “พอครับ ทําไมคนอื่นเขาสบาย เขาไมตองยุง กับเรือ แตทําไมพอตองยุงกับเรือ” พอบอกวา “ลูกเอย วิถีของเราก็เปนอยางนี้แหละ คือวาเรามี เราเปนเจาของเรือ เรามีอะไรเราก็ตองเดือดรอนกับอันนั้นแหละ” เด็กคนนี้เลยบอกวา “พอครับ ตอไปผมจะไมมีอะไร” แลวทานก็ออกบวช แลวทานก็ไมมีอะไร จากตัวอยางที่เห็นพอยุงกับเรือ ฉะนั้น ผมถึงสรุปไวตรงนี้ วิธีไมใหติดโลกคือตั้งใจไววา มีก็ได ไมมกี ไ็ ด ฉะนั้น มีก็ใชประโยชนเทาที่มันมี ไมมีก็เปนประโยชน อยางที่มันไมมี ไมมีรถก็ดีเหมือนกันจะไดขึ้นรถเมล ขึ้นรถเมลก็ ไมตองไประวังวามันจะหายหรือไมหาย ตรงนี้สาํ คัญนะครับที่วา “ไมมีก็เปนประโยชนอยางทีม่ ันไมม”ี มันโชคดีที่ไมได สมมุติวาเปนเจาอาวาส ใครๆ ก็อยากเปนเจาอาวาส ถาเผื่อใจไวอยางนี้ ถาเผื่อเปนเจาอาวาสก็ดี จะไดทําประโยชนใหกับอาวาส เทาที่กําลังความสามารถเรามีอยู ไมไดก็ เปนกุศล ไมไดเปนนั่นแหละดีกวาเปน จะไปยึดมัน่ ไวทําไม หนวงเหนีย่ วไวทําไม

19 ชัยชนะ 8 ประการ


ทุกวันนี้เราก็มาดูวาทุกคนวิ่งเตนที่จะเปนนัน่ เปนนี่ มันก็สวนกระแสกับที่เราพูดกัน ทุกคนอยากเปนทหาร อยากเปนนายพล เปนอธิบดี เปนผูอ ํานวยการ เขาเรียกวาบางคนก็วิ่งกัน จนเสียเงินเสียทอง อยากไดเลื่อนยศ เลื่อนตําแหนงลําบากลําบน ที่มีเรื่องพูดๆ กันมานีน่ ะครับ เด็กของคนโนน เด็กของคนนี้ มันก็สวนกระแสธรรม บางทีพูดไปพูดมาก็วา ในวงพระสงฆองคเจา ก็ยังมี ก็พดู ลามปามกันไป ถายังมีกิเลสใหอยากเปนอยู ไมวาในวงการไหนมันก็มีตวั ผลักดันมันเปนตัวกิเลส ไมใชตัวรูปแบบ แตมันเปนที่ตวั กิเลสผลักดัน ฉะนั้นก็ตั้งใจไวอีกเรื่องวา “มาก็ไมดีใจ ไปก็ไมเศราโศก” ถามาก็มาตามเหตุของมัน ไมวา ลาภ ยศ สรรเสริญ ถามันมาก็มาตามเหตุที่เราไดทําเหตุเอาไว มันก็มา ถาเสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา มันมาก็มาตามเหตุ ทุกอยางก็มีเหตุปจ จัย มันไปก็ไมเศราโศก เพราะวามันไปตามเหตุ ตามเหตุที่มันควรจะไป อายนฺตึ นาภินนฺทติ ปกฺกามนฺตึ น โสจติ สงฺคามชึ มุตฺตํ ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ “มาก็ไมดีใจ ไปก็ไมเศราโศก” คนอยางนี้ไมติดโลก (เรื่องพระสังคามชิ) ในธรรมบทจะมีที่พระพุทธเจาตรัสถึงพระอรหันต เปรียบเหมือนนก นกบินไปในอากาศมันจะไมมีรองรอยใหเห็น ฉะนั้น คนที่อยูกับโลก ถาหากวาทําตัวใหเหนือโลก มันก็ไมมีอะไรเปนรองรอยใหกังวล หรือวาหมกมุนอยูก ับสิ่งนั้น เหมือนกับ รอยเทาไมปรากฏในอากาศ น้ําไมติดใบบัว ใบบัวไมติดน้ํา ลมไมติดตาขาย ตาขายไมติดลม ลมผานตาขายไดแตไมติด คนที่อยูในโลกแตไมตดิ โลก ก็เรียกวาเหนือโลก เดินเหินอยูในโลก แตก็พิจารณาเห็นโทษของโลก ก็ไมตดิ โลก ยิ้มเยาะโลกได ธรรมดาโลกมันหมุนไปสูความยุงเหยิงเสมอ ถาใครเอาใจไปเกี่ยวของกับโลก ไมถอยออกมาจากโลกแลว ก็พลอยยุงเหยิงกับมันไปดวย อาศัยธรรมชวยใหโลกมันยุง เหยิงนอยลง ถาไมมีธรรมะโลกมันจะยุงเหยิงตลอดเวลา มันจะยุงมากขึน้ ผมขอเรียนใหทานผูฟงทั้งหลายลองอาน โมไนยปฏิปทา ดีมากเลยครับ มีพระเถระรูปหนึ่งในศาสนาพุทธของเรานี้ คือ ทานนาลกะ ไดรับการยกยองจากพระพุทธเจาเปนเอตทัคคะทาง โมไนยปฏิปทา โมไนยปฏิบตั ิ เปนผูปฏิบัติอยางมุนี มุนแี ปลวา ผูรู แปลวา นักปราชญ แตวาทานมีรายละเอียดในขอปฏิบัติ มุนีสําหรับผูเปนโมไนยยะ โมไนยปฏิปทา ถาทานตองการอาน รายละเอียด พระไตรปฎก เลมที่ 25 ขอ 388 ชื่อนาลกสูตร ใน สุตตนิบาต ขุททกนิกาย โมไนยปฏิปทาหมายถึงขอปฏิบัติเพื่อความเปนมุนี แลวก็ทานผูที่ไดรับการยกยองเปนปฏิปทานี้ เปนพิเศษ คือ ทานนาลกะ เปนสาวกของพระพุทธเจา เอตทัคคะในดานทางนี้ ถาเผื่ออานตรงนั้นก็จะไดความทีด่ ีมาก เปนแนวปฏิบตั ิเพื่อความเปนมุนีที่ประเสริฐ 20 ชัยชนะ 8 ประการ


ผมขอยกตัวอยางบางตอน เมือ่ กี้พูดไปขอหนึ่งแลววา ใหคิดอยูเสมอวา “ไดก็ดี ไมไดกเ็ ปนกุศล ไมใบทําเปนเหมือนใบ ไมหมิ่นทานวานอย ไมดูแคลนผูให บริโภคปจจัยอยางระวัง เหมือน เลียหยาดน้ําผึง้ จากมีดโกนดวยความระมัดระวังเกรงจะบาดลิ้น รักษาจิตใหพนจากกิเลสในการบริโภค บรรเทาความอยากในรส เปนผูสํารวมอาหารในทอง คือไมเสพปจจัยที่เกิดในทางอันเศราหมอง ไมบริสุทธิ์ ไมชอบธรรม” มีอีกเรื่องหนึ่ง ที่ควรจะนําไปใชประโยชนไดมากในขอนี้ คือวาใหพิจารณาสัญญา 10 อยูเสมอที่พระพุทธเจาพระองคให พระอานนทไปแสดงกับพระคิริมานันทะ ในพระไตรปฎกทานใชคําวา อาพาธสูตร ถาไปหาคิริมานันทะในพระสูตรจะไมเจอ ทานใช อาพาธสูตร ในทสกนิบาต อังคุตรนิกาย เลมที่ 24 ทานก็ใหพิจารณาสัญญา 10 อยูเสมอ อันนี้สําคัญมาก ทําใหสุขภาพจิตดี ทําใหไมติดโลก ไดแก 1. นึกถึงความไมเที่ยงอยูเสมอ ทุกอยางมันไมเที่ยง ไมตอ งไปกังวลกับมัน มันไมเทีย่ งไมอยูหรอก 2. นึกถึงความไมมีตัวตนของสิ่งทั้งปวง รวมทั้งนิพพาน ดวย เปนอนัตตา รวมทั้งนิพพานดวย อยาไปยกเวนนิพพานไว 3. นึกถึงความปฏิกูลของสิ่งทั้งหลายทั้งปวงอยูเสมอเพื่อไมติดในสิ่งที่เปนรูปธรรม 4. พิจารณาใหเห็นโทษของรางกายวามีทุกขมาก มีโทษมาก เปนที่ตั้งของโรคตางๆ มากมาย 5. ตั้งจิตไวเพือ่ ละการเกิดในกามคุณ 6. คิดไปในทางคลายความผิดพลาดไปจากสิ่งที่เคย ยึดมัน่ เชน ใชปญญายึดมัน่ วาสิ่งใดทีเ่ ขาไปติดพันยึดมั่น มันจะใหโทษ มันไมดี ถอนใจออก 7. คิดไปในทางดับ คือดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข ชีวิตของเราอยูเพื่อจะดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข 8. เห็นวาไมมอี ะไรนายินดีในโลกทั้งปวง คือถอนตัวออกมาจากโลก 9. พิจารณาเห็นวาไมนาปรารถนาในสังขารทั้งปวง ขึ้นชือ่ วาสังขารแลวมันเปนทุกขทั้งนั้นครับ 10. เรื่องอานาปานสติ นี่ก็เปนสัญญา 10 ขอ สัญญาแปลวาสิ่งที่ควรพิจารณา ที่พระพุทธเจาทรงมอบหมายใหพระอานนทไปแสดงกับพระคิริ- มานันทะ ขอใหทุกทานมีความสุขความเจริญ ใหอยูในโลกโดยการพิจารณาเห็นโทษของโลก ใหถือเอาสวนที่ดีในความสุขที่พึงมีได อะไรที่เปนโทษก็พิจารณาแลวก็ละทิ้งไป เปนคุณก็เอาไว ขอใหทุกทานสําเร็จในสิ่งทีต่ องการนะครับ สวัสดีครับ 21 ชัยชนะ 8 ประการ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.