ความสุขที่หาไดงาย วศิน อินทสระ
3 ความสุขที่หาไดงาย
สํานักพิมพ เรือนธรรม ความสุขที่หาไดงาย วศิน อินทสระ ISBN 974-90995-7-5 ภาพปก : ขวัญ เพียงหทัย พิมพ : มีนาคม ๒๕๔๖ จัดพิมพ : สํานักพิมพเรือนธรรม บริษัท จีเอ็ม แม็ก มีเดีย จํากัด ๒๙๐/๑ ถนนพิชัย ดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท : ๐-๒๒๔๓-๑๒๗๙-๘๐ โทรสาร : ๐-๒๒๔๓-๑๕๙๐ บรรณาธิการ : พรจิตต พงศวราภา พิมพคอมพิวเตอร : พรเพ็ญ สุภิรักษ ศิลปกรรม : ประทีป ปจฉิมทึก, พิติ แสงแกว, กานตพิชชา คงอยู พิสูจนอักษร : สมพร แสงสังข ประสานงานการผลิต : รัตนา โคว พิมพที่ : บริษัท โอเอส พริ้นติ้ง เฮาส จํากัด โทรศัพท : ๐-๒๔๒๔-๖๙๔๔ จัดจําหนายโดย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน) อาคารเนชั่นทาวเวอร ชั้นที่ ๑๙ เลขที่ ๔๖/๘๗-๙๐ ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ โทรศัพท : ๐-๒๗๕๑-๕๘๘๘ โทรสาร : ๐-๒๗๕๑-๕๐๕๑-๔ http://www se-ed.com 4 ความสุขที่หาไดงาย
ความสุข เปนสิ่งที่หาไดงาย สําหรับผูม ักนอย สันโดษ และมีความเพียร
5 ความสุขที่หาไดงาย
ความสุขที่หาไดงาย ดวยอาศัยความมักนอย สันโดษ และความเพียรพยายาม สม่ําเสมอ เปนไปติดตอ ไมทอถอยงาย ความสุขมีแลวตั้งแต บัดนั้น เมื่อประสบความสําเร็จและพอใจในความสําเร็จนั้นจะ เล็กนอยปานใดก็ตาม ความสุขก็เพิ่มพูนขึ้นอีก ความสุขจึง เปนสิ่งหาไดงายสําหรับผูมักนอย สันโดษ และมีความเพียร ตามธรรมดาคนเรายอมไดรับสิ่งที่ตนควรไดอยูเสมอ แตความทะยานอยากของเราวิ่งออกหนาอยูเรื่อยเหมือนกัน จึง รูสึกเหมือนไมไดรับความสําเร็จ เมื่อหญิงเจาของเรือนคนหนึ่งปฏิเสธการถวายอาหารแกพระเถระดวยการพูดวา นิมนตโปรดขางหนาเถิด ทานสวน ทางกับชายเจาของบาน เมื่อถูกถามวาไดอะไรบาง ทานตอบวา ได ความหมายของทานคือไดคําวา นิมนตโปรดขางหนาเถิด ผูมักนอย ยอมรูสึกวา ได ในสิ่งที่คนอื่นๆรูสึกวาไมได อะไร เหมือนคนใสรองเทานุมๆ แมจะเดินบนพื้นขรุขระและ แข็งก็รูสึกวาพื้นนั้นนุมเดินสบาย ผูสันโดษยอมเปนเจาแหงความสุข เมื่ออยูคนเดียวนานๆ รูสกึ เหงาก็ทําใจใหรูสึกยินดีใน การอยูคนเดียวนั้น ความสุขก็เกิดขึ้นได มนุษยเราสุขทุกขอยูที่เราคิดเองเสียเปนสวนมาก ความหนักอกหนักใจ หงุดหงิด ฟุงซานอันปรารภตนบาง ปรารภผูอื่นบาง เปนสิ่งทําลายความสงบสุขของดวงจิต บางทีมันเหมือนหินกอนเล็กๆหอยอยูที่ใจ ปลดไมออก บอกใครๆไดแตเขาชวยปลดใหเราไมได เราตองปลดออกเอง ยิ่งอยูในโลกไปนานวัน ใครครวญพิจารณาความเปนไปของมวลมนุษยในโลกมากเขา ยิ่งสลดสังเวช ระทดระทวยใจ วาเหตุไฉนมนุษยเราจึงตองทนทุกขทรมานอยูในโลกถึงปานนี้ ทั้งๆที่ความสุขก็หาไดไมยาก หากพวกเขาเพียงแตลดความ ทะยานอยากลง มุงหนาสูสันติธรรมใหมากขึ้นแทนการมุงแสวงหาอามิสอันเปนสิ่งหลอกลวงใหเดินวนเวียนอยูในสังสารวัฏ เมื่อไรมนุษยเราหมุนกลับมาหาสันติธรรม แทนการวิ่งเขาหาวัตถุธรรมอันฟุง เฟอฟุมเฟอยเกินจําเปน เมื่อนั้นเขาจะได พบกับสันติสุขอันแทจริงและยั่งยืน ขอขอบใจคณะศิษยผูขวนขวายในกิจที่ชอบ ชวยทําใหหนังสือเลมนี้ออกมาไดอยางที่เห็นอยูนี้ ขออวยพรใหคณะศิษย มีความสุขสมบูรณโดยธรรม ขอทานผูอานซึ่งถือวาเปนผูสนับสนุนกิจการนี้ใหยั่งยืนพึงบรรลุถึงสันติธรรม ดํารงธรรมและพึง ชวยกันสองแสงธรรมใหสวางรุงเรืองยิ่งๆขึ้นไป ดวยความปรารถนาดีอยางยิ่ง วศิน อินทสระ 2 ธันวาคม 2545 6 ความสุขที่หาไดงาย
สารบัญ ความสุขที่หาไดงาย เรื่องที่ 1. ความมักนอย (อัปปจฉกถา) และความสันโดษ (สันตุฏฐิกถา) เรื่องที่ 2. ความสงบ (ปวิเวกกถา) เรื่องที่ 3. ความเพียร (วิริยารัมภกถา) เรื่องที่ 4. วิมตุ ติกถา และวิมุตติญาณทัสสนะกถา ความมักนอย (อัปปจฉกถา) และความสันโดษ (สันตุฏฐิกถา)
7 ความสุขที่หาไดงาย
10 34 80 111
สารบัญ ความมักนอยและความสันโดษ - กถาวัตถุ 10 ประการ - กถาวัตถุขอที่ 1 ความมักนอย - จําแนกบุคคลที่มีความปรารถนานอย 1. เปนผูปรารถนานอยในปจจัย 4 2. เปนผูปรารถนานอยในธุดงคคุณ 3. เปนผูปรารถนานอยในปริยตั ิ 4. เปนผูปรารถนานอยในอธิคม
10 11 12 13 14 15 16
- กถาวัตถุขอที่ 2 สันตุฏฐิกถา ความสันโดษ - สันโดษมี 3 ระดับ 1. พอใจตามที่ได 2. พอใจตามกําลัง 3. พอใจตามสมควร
17 17 17 17 18
- สันโดษในการรับ - สันโดษในการบริโภคใชสอย - สันโดษไมใชความเกียจคราน - ความสันโดษกับการพัฒนาสังคม - คุณคาที่แทจริงของชีวิต - คุณธรรมเปนสิ่งที่สอนกันได - ความสันโดษของสมณะ ๐ สันนิธิปริวัชนสันโดษ ๐ ปตตปฏิคาหสันโดษ ๐ โลลุปปวิวชั นสันโดษ
19 19 19 19 22 23 23 26 26 26
8 ความสุขที่หาไดงาย
๐ อุปการสันโดษ ๐ ปริมาณสันโดษ - การฉัน - ความสันโดษที่ภิกษุควรพิจารณา - ภิกษุณี - คนหลอกลวง - พระอรหันตตุม - อรหันตยานไทร
9 ความสุขที่หาไดงาย
27 27 27 27 29 30 30 31
ความมักนอยและความสันโดษ สวัสดีครับ ทานผูฟงที่เคารพทุกทาน ทุกวันอังคารเวลาประมาณ 2 ทุมเศษๆ ผม-วศิน อินทสระ จะมาพบกับทานผูฟง ในรายการวิเคราะหธรรม ของมหาวิทยาลัยมหามกุฎ ราชวิทยาลัย ผมจะวิเคราะหธรรมไปตามตัวอักษร คราวนี้จะมาถึงธรรมอีกขอหนึ่ง ที่เปนตัว ก. ไก คือ กถาวัตถุ กถาวัตถุนี่แปลวา ถอยคําที่ควรพูด ซึ่งพระพุทธเจาทรงแสดงเอาไว 10 ประการดวยกัน คือ ประการที่ 1 อัปปจฉกถา ถอยคําที่ควรจะพูดกันในเรื่องความมักนอย ความปรารถนานอย ประการที่ 2 คือถอยคําที่ชักนํากันใหมีความสันโดษ ประการที่ 3 คือถอยคําที่ชักนํากันใหมีความสงัดกาย สงัดใจ ประการที่ 4 คือถอยคําที่ชักนําไมใหมีการคลุกคลีดวยหมู ประการที่ 5 คือถอยคําที่ชักนําใหปรารภความเพียร ประการที่ 6 คือถอยคําที่ชักนําใหตั้งอยูในศีล ประการที่ 7 คือถอยคําที่ชักนําใหทําจิตใหมั่นคง หรือ ที่เรียกวาใหเปนสมาธิ ประการที่ 8 คือถอยคําที่ชักนําใหเกิดปญญา เรียกปญญากถา ประการที่ 9 คือถอยคําที่ชักนําใหทําใจใหพนจากกิเลส เรียกวิมุตติกถา ประการที่10 คือถอยคําที่ชักนําใหเกิดความรูความเห็นใน การที่หลุดพนจากกิเลส วิมุตติญาณทัสสนะกถา รวมเปนกถาวัตถุ 10 ผมจะไดวิเคราะห กถาวัตถุ 10 นี้ โดยยอบาง โดยละเอียดบางเปนบางหัวขอ เทาที่เวลาจะอํานวย ใหพูดได
10 ความสุขที่หาไดงาย
ความมักนอย เริ่มจากขอที่ 1 อัปปจฉกถา ถอยคําที่ชักนําหรือชักชวนกันใหมีความปรารถนานอย หรือมักนอยความมักนอยก็ตรง ขามกับความมักมาก ความมักมากทานใชคําวามหิจฉตา คือความมักมาก คนที่เปนคนมักมากเรียกมหิจโฉ คนมักนอยเรียกวา อัปปจโฉ ในที่นี้ อัปปจฉกถา อปแปลวานอย ปจฉะแปลวาตองการ ไปสนธิกันก็เปน อัปปจฉะ แปลวามีความตองการนอย มีความปรารถนานอย กถาก็แปลวาถอยคํา ในวงสนทนา ไมวาจะเปนวงสนทนาของพระสงฆ หรือวงสนทนาของชาวบาน ถาเผื่อเรามาชักชวนกันพูดถึงความ มักนอยนี้บาง ก็ชวยใหจติ ใจเราสบาย ไมตองการอะไรมาก ความตองการแตนอย หรือความปรารถนานอย ทําใหเรารูสึกวาเรามีมาก หรือสมบูรณหรือเพียงพอ แตถาเรามีความ ปรารถนามากเทาไหร มันก็รูสึกวาไมเพียงพอ ความปรารถนานอยทําใหเรามีจิตใจสุขสําราญ สมมุตวิ า แมเราจะเดินอยูบนกอนหิน หรือเดินอยูบนกรวด แตถาเผื่อวาเรามีรองเทาที่พื้นรองเทานุมๆ เราเดินอยูบน กอนกรวดเราก็รูสึกวาเราเดินอยูบนพื้นที่นุม แตถา พื้นรองเทาแข็งกระดางหนา ถึงเราเดินบนพื้นหญาที่นุม ก็รสู ึกวามัน กระดางแข็ง เพราะฉะนั้น อยูที่พื้นความตองการของเรา จะใหความสุขหรือความทุกขแกเรา ก็อยูที่เราตองการมากหรือนอย ถาเราเปนคนที่มีความตองการนอย ความตองการของเราเปนศูนย เราไดมา 1 ก็ถือวาเราไดเยอะแลว ได 2 ก็ยิ่งมากใหญ ได 5 ก็ไดเยอะแลว แตถาความตองการของเราเปน 100 ไดมา 90 ก็ยังรูสึกวายังนอยอยู ไดมา 80 ก็ยิ่งนอยใหญ ยิ่งไดมา 10 ก็ยิ่งนอย เหลือเกิน แตอีกคนหนึ่ง ความตองการเขาเปนศูนย แมเขาไดมาเพียง 5 เพียง 10 เขาก็รูสึกวาไดมากแลว เพราะฉะนั้น คนที่มีความปรารถนานอย มีความตองการแตนอย จึงเปนคนไมขาดแคลน มั่งคั่ง คือสิ่งที่มีอยูมันเหลือ ความตองการ ไมตองการอะไรมากกวานี้ เมื่อเราไมตองการ สิ่งที่มีนอยก็เหมือนมีมาก แตถาเราตองการมาก สิ่งที่มีมาก ก็ เหมือนมีนอย เพราะฉะนั้น แทนที่จะไปสนองความตองการ ตองการเรงเราใหเกิดความอยาก อยากแลวก็สนองความอยาก ตองการแลวสนองความตองการอยางนี้ กับการที่เราดับความตองการมากมายนั้นเสีย แลวก็ตองการแตนอย เราก็จะมี ความสุขสบายมากกวาเยอะเลย 11 ความสุขที่หาไดงาย
ยิ่งในสมัยนี้ การทํางานทานใหเงินเดือนนอย เราก็คิดวาทานใหเงินเดือนนอยดีกวาทานไมใหเลย ทานลดเงินเดือน บางก็ดีกวาทานไลออก ถาเรามีความตองการอยางนี้ เราก็จะเปนเจาแหงความสุขสําราญ มีความสุขอยูไดในหลายเรื่องหลาย ประการ พระพุทธเจาตรัสไวในพระสุตันตปฎก เลม 20 อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต พระพุทธเจาตรัสวา ความมักมากเปนเหตุ ใหอกุศลเกิดขึ้น ทําใหกุศลเสื่อมไป สวนความมักนอยเปนเหตุใหกุศลธรรมเกิดขึ้น ทําใหอกุศลธรรมเสื่อมไป ในเรื่องนี้ ความมักมากทานไดไขความวา มหาโลโภ ก็คือโลภจัด หนากวาความไมสันโดษเสียอีก หนักหนากวา ความไมสันโดษ เพราะความไมสันโดษ ทานใชคําวาโลโภเฉยๆ ไมมีคําวามหานําหนา ลองนึกเอาเองก็ไดวา คนโลภจัด กระหายอยางแรง ก็จะกระเสือกกระสนอยางไมคํานึงถึงศีลธรรม หรือผิดชอบชั่วดีแตประการใด เมื่อใดความมักมาก ที่เรียก มหิจฉตาเกิดขึ้น บาปอื่นๆก็จะเกิดตามมา เชน ความริษยา ความโออวด เลหกระเทหคือมายาตางๆ ตลอดถึงการประกาศคุณ งามความดีของตนที่ไมมีอยูจริง ซึ่งเปนการหลอกลวงเปนการโกหก สิ่งเหลานี้ก็จะตามมาดวย เพราะวาไมรูจักพอ เพราะฉะนั้น ทานโบราณาจารยทานจึงกลาวไววา ไฟไมอิ่มดวยเชื้อ มหาสมุทรไมอิ่มดวยน้ําฉันใด บุคคลผูมักมากก็ ฉันนั้น ใหปจ จัยเทาไหรๆก็ไมรูจักพอใจ สวนคนมักนอย หรือความมักนอย จะมีลักษณะตรงกันขามกับความมักมาก ปาปจฉ ตา นี้อาจจะแปลตามตัว ก็คือผูที่มีความปรารถนานอย ตองการแตนอย ในอรรถกถา อังคุตตรนิกาย ทานไดจําแนกบุคคลที่มีความปรารถนานอยเปน 4 อยาง คือ 1. เปนผูปรารถนานอยในปจจัย 4 ปจฺจยอปฺปจฺโฉ 2. เปนผูปรารถนานอยในธุดงคคุณ เรียกวา ธุตงฺคอปฺปจฺโฉ 3. เปนผูปรารถนานอยในปริยัติ เรียกวา ปริยตฺติอปฺปจฺโฉ คือการศึกษาเลาเรียน 4. เปนผูปรารถนานอยในธรรมที่บรรลุ เรียกวา อธิคมอปฺปจฺโฉ อันนี้มีความที่คอนขางจะละเอียดลึกซึ้งอยูสักหนอย ถาฟงเผินๆ อยางนี้อาจจะเขาใจผิดได ตองอาศัยคําอธิบาย จึงจะ เขาใจไดถูกตอง และไมผิดจากความมุงหมายของพระพุทธเจา และพระโบราณาจารยทั้งหลาย ที่ไดแนะนําพร่ําสอนศิลปะ แหงการดํารงชีวิตแกพวกเรา
12 ความสุขที่หาไดงาย
1. เปนผูปรารถนานอยในปจจัย 4 ปจฺจยอปฺปจฺโฉ ทานสอนใหรูกําลังของผูให เรียกวาทายก และรูก ําลังของไทยธรรม คือของที่จะให ทานอธิบายวา แมไทยธรรมคือของที่เขาจะใหมาก แตถาทายกตองการจะใหแตนอย ก็พึงรับแตนอย อยางนี้เรียกวา รูจักกําลังของผูใหคือทายก ถาไทยธรรมมีนอย แตทายกตองการจะใหมาก พึงรับแตนอย อยางนี้เรียกวา รูจักกําลังของไทยธรรม คือของที่เขาจะ ให ถาไทยธรรมมีมาก ทายกจะใหมาก ผูรับคะเนกําลังและความพอควรแกตน รับแตพอประมาณ นี่ก็เปนสิ่งที่ดีมาก คือรูกาํ ลังของผูให รูก ําลังของของที่เราจะให ถามีมากทั้งสองอยาง ก็ใหรูจักประมาณตัว คะเน กําลังของตัว พอควรแกกําลังของตัว และรับแตพอประมาณ ไมวาจะเปนบรรพชิตหรือคฤหัสถ หากวาเปนคนมักนอยไมโลภ ก็จะเปนคนนาเคารพนับถือ นารัก นาพอใจ นาคบ ภาษาชาวบานเรียกวาเปนคนไมเห็นแกได บางคนนอกจากไมเห็นแกไดแลว ก็ยังเปนคนเห็นแกให คือชอบทีจ่ ะให มีเรื่องขําๆอยูเรื่องหนึ่ง มี ก. กับ ข. สองคนตายไป ไปเจอยมบาลเขา พญายมบอกวาใหไปเกิดใหมเปนมนุษย แตมี ทางเลือกอยู 2 ทางคือ คนหนึ่งใหเปนคนที่คิดแตจะให คือใหเปนคนชอบที่จะให อีกคนก็เปนคนที่จะไดรับจากผูอื่น ให เลือกเอาวาจะไปเกิดเปนอะไร คนหนึ่งก็รีบรับทันทีเลยวาจะไปเกิดเปนผูที่จะไดรับจากผูอื่น เปนผูสะดวกและมีบุญที่จะ ไดรับจากผูอื่น พญายมก็บอกวา ถาอยางนั้น ใหไปเกิดเปนขอทาน แลวถาม ข. วาจะเอาอยางไหน ข. ก็คุกเขานิ่งอยู ไมพูดวาอะไร พญายมก็เลยบอกวา ถาอยางนั้น ใหไปเกิดเปนคนร่ํารวย จะไดเปนคนใหแกคนที่ตองการจะเกิดมารับ นี่เปนนิทานสนุกๆขําๆ แตก็เปนคติสอนใหเรารูวาคนที่คิดแตจะรับจากผูอื่นนั้น ก็เปนเหมือนกับขอทาน สวนคนที่ จะใหก็เหมือนกับร่ํารวย หรืออยางนอยก็พยายามขวนขวายใหเปนคนมีเพื่อจะไดใหแกผูอื่นได เพราะฉะนั้น คนที่มักนอย ก็จะเปนคนที่ไมเห็นแกได ถาจะรับจากคนอื่น ก็พยายามที่จะรับแตนอย ไมตองการมาก 13 ความสุขที่หาไดงาย
ผมขอแวะนิดหนึ่ง เมื่อผมพูดถึงไทยธรรม ถาทานทั้งหลายดูโทรทัศนหรือฟงวิทยุ บางทีถามีขาวออกมาวา เจาภาพได ถวายจตุปจจัยไทยธรรมแกพระสงฆ พระสงฆก็อนุโมทนานี่ก็คือของที่จะให เขาเตรียมไวแลว เรียกวาไทยธรรม ถาพูดหรือ เขียนวาไทยทานนั้นไมถูกในที่นี้ แตความจริง ไทยทานก็แปลไดเหมือนกัน แปลวาการใหสิ่งที่ควรให แตถา ไทยธรรมก็แปลวาสิ่งที่ควรให เพราะฉะนั้นในที่นี้ถาเปนจตุปจจัย ตอดวยไทยธรรม ไมใชไทยทาน 2. เปนผูปรารถนานอยในธุดงคคุณ ธุดงคแปลวา ธรรมเปนเครื่องกําจัดกิเลส ในพุทธศาสนานี้ทานบัญญัติธุดงคเอาไว 13 ขอ แตวาพระพุทธเจาไ ทรง บังคับ ภิกษุรูปใดสมัครใจจะถือขอใดก็ได ผูใดจะไมถือก็ไมตองถือ ไมไดบังคับ เปนสิ่งที่ปฏิบัติโดยสมัครใจ ทานอธิบายวา ไมตองการใหใครรูวาเปนผูสมาทานธุดงคขอใดขอหนึ่ง แปลอีกทีหนึ่งวา ไมตองการจะอวดใคร ทาน เลาประกอบเอาไววา มีพระเถระรูปหนึ่งคือ มหากุมารกัสสป เปนผูถือธุดงคขอที่อยูปาชาเปนวัตร วัตรหมายความวาเปน ประจํา ภิกษุอื่นๆสักรูปเดียว ก็ไมรูเลยวาทานถือธุดงคขอนี้ เพราะทานปด ไมตองการอวด บางคราวทานก็อุทานออกมาดวย ความเบิกบานใจในคุณธรรมของทานวา เราอยูในปาชาถึง 10 ป ไมมีใครรูสักคนเดียว เราเปนโสสานิก แปลวาผูอยูในปาชาชั้นยอดทีเดียว มีพระเถระพี่นองกัน 2 รูป แยกกัน พระเถระผูเปนพี่ถือธุดงคขอฉันหนเดียวในวันหนึ่ง เอกาสนิกังคธุดงค เมื่อลุกจาก ที่นั่งแลว ใครจะถวายของอีกก็จะไมรับในวันนั้น วันหนึ่งพระเถระผูนองไปหาพี่ นําน้ําออยงบ คือน้ําออยที่เปนแวนเปนแผนกอน ที่โยมอุปฏฐากถวายถือติดมือไปดวย ขอรองใหพระพี่ชายฉัน บังเอิญเวลานั้นพระที่เปนพี่ฉันเสร็จแลว บวนปากแลวพระพี่ชายจึงปฏิเสธไมฉัน พระนองชายก็ถาม วา ทานถือธุดงคขอเอกาสนิกังคะหรือ เพียงเทานี้ พระเถระผูพ ี่ประสงคจะปกปดธุดงคของตัว จึงบอกพระนองชายวา ถา อยางนั้นเอาน้ําออยงบมาเถิด แลวทานก็ยอมฉันน้ําออยงบนั้น บวนปากแลวก็อธิษฐานธุดงคใหม
14 ความสุขที่หาไดงาย
เห็นไหมครับ พระเถระโบราณทานปฏิบัติกันอยางไร ความจริงทานถือธุดงคขอนี้มาเปนเวลาถึง 50 ปแลว และปกปด เสมอมา ทานไมตองการจะโออวด ฝายคฤหัสถก็เหมือนกัน มีคุณธรรมอะไร อยางไร ปฏิบัติขอวัตรอะไร อยางไร ไม จําเปนที่จะตองโออวดกับใคร เพราะบางทีเมื่อโออวดแลวก็ฟุงซานทําคุณธรรมเหลานั้นใหเสื่อมไปโดยงาย สวนมากผูปฏิบัติจริงๆ ก็มักจะปกปดกัน ไมตองการจะใหใครรู ไปปฏิบตั ิอยางไร มีคุณธรรมอยางไร ใหผูที่พบเห็น ดูเอาเอง 3. เปนผูปรารถนานอยในปริยัติ คือไมตองการใหใครรูวาตนเปนพหูสูตร มีความรูม าก ในอรรถกถา ทานยกตัวอยาง สาเกตติสสะเถระ ทานเปน พหูสูตร แตก็ไมตองการจะใหใครรู จะเรียนหรือจะถามอะไรทาน ทานก็วาไมมีเวลา จนภิกษุทั้งหลายคงจะรําคาญ จึงถาม ทานวา เมื่อไหรทานจะมีเวลาตายสักที ทานก็เลยละหมูคณะไปอยูในที่แหงหนึ่ง คงจะเปนเรื่องที่ลังกานะครับ ในพรรษานั้น ไดทําอุปการะมากแกพระทั้งหลายทั้งปวง ทั้งพระใหม พระปูนกลาง และพระเถระ ถึงวันมหาปวารณาคือวันออกพรรษาได แสดงธรรมเปนที่จับอกจับใจของพระเณรและชาวบานยิ่งนัก เรื่องทํานองนี้ พระพุทธเจาทานไมทรงตําหนิ แลวแตอัธยาศัย ถาหากผูใดมีความรูแลวชวยกันบอกคนอื่นตอๆไป ก็ดี เปนประโยชน พระพุทธเจาทานก็ทรงสรรเสริญใหชวยกันใหธรรมทาน ซึ่งพระพุทธองคก็ทรงยกยองวาเลิศกวาทานอื่นๆทั้ง ปวง ในเรื่องมักนอยในปริยัติ ในสิ่งที่ไดเรียนไดรู บางทานก็มีปริญญาเยอะแตก็ไมตองการใหใครรูวาตัวไดปริญญา อะไรบาง ฉะนั้นในการเขียนชื่อ ในการพิมพนามบัตร ทานก็จะไมบอกวุฒิอะไร มีแตชื่อที่อยู เพื่อตองการจะปกปดปริยัติ ของตัว ไมตองการจะโออวดการเรียนรูหรืออะไรตางๆ เวลาเขียนหนังสือก็ไมจําเปนตองลงวุฒิวาไดอะไรมีอะไร ลงแตชื่อ ไปเฉยๆ ทํานองนี้ คือสาระที่ทํานั้นสําคัญกวาวุฒิปริญญาตางๆ ที่จะหอยทายหลังชื่อมายาวเหยียด ผมคิดวาเปนเรื่องที่ดี เพราะวาพระโบราณาจารยของเราไดทําตัวอยางมาใหดูแลว ก็ควรจะดําเนินตามอยางนั้น แสดงใหเห็นเปนผูที่รูจักขัดเกลา จิตใจ รูจักวาควรจะทําอยางไร ควรจะเวนอยางไร
15 ความสุขที่หาไดงาย
4. เปนผูปรารถนานอยในอธิคม ไดแกธรรมที่บรรลุ อันนี้ไมไดหมายความวาบรรลุโสดาบันแลวพอแคนั้น พระพุทธเจาไมไดสรรเสริญอยางนั้น แตวาตองการจะปกปด คุณที่ไดบรรลุ เชน เปนโสดาบันแลว เปนอรหันตแลว ไมตองการใหใครรูวาเปนโสดาบันหรือเปนอรหันต คือใหผูที่อยู ใกลชิดหรือคบหาสมาคมนั้นดูเอาเอง มีพระเถระรูปหนึ่งเปนพระอรหันต สมัยพระเจาอโศกมหาราช แตทานประพฤติปอนมากเลย ปอนคือคร่ําครา บาตร และจีวรของทานคร่ําคราราคานอย วันฉลองวิหารของพระเจาอโศกนั้นทานอยูในฐานะสังฆเถระ คือเปนหัวหนา แตคน ทั้งหลายเห็นทานคร่ําคราเหลือเกิน จึงบอกใหทานออกไปขางนอกเสีย แตทานก็มีความปรารถนาดี อยากจะสงเคราะหพระเจาอโศกจึงดําดินลงไป แลวก็ไปผุดตรงที่เขากําลังถวายบิณฑบาต แกพระสังฆเถระอยู ทานเปนพระมหาขีณาสพถึงอยางนี้ ยังไมอยากจะใหใครรูวาเปนอรหันต อยางนี้เรียกวามักนอยในอธิคม คือในสิ่งที่ไดบรรลุ เพราะฉะนั้น การที่ไดบรรลุอะไรแลวไปอวด พระพุทธเจาทานปรับอาบัติ แมจะไดจริง ถาเผื่อไมไดจริง โออวด ก็ ยิ่งปรับอาบัติหนักถึงปาราชิกเลยทีเดียว ชาวบานก็ควรจะงดๆประหยัดในเรื่องนี้กันบาง ไมโออวดในสิ่งที่ตัวไดบรรลุ ผมไดทราบมาวาสมเด็จพระสังฆราช เจากรมหลวงวชิรญาณวงศ (หมอมราชวงศชื่น นพวงศ) วัดบวรนิเวศ ทานลวงลับไปหลายปแลว เมื่อยังทรงพระชนมอยูกม็ ี ความมักนอยในความเปนพระสังฆราช ไมประสงคจะใหใครรูวาพระองคเปนพระสังฆราช บางทีคนมาหาทานที่วัดบวรฯ มาเจอทานถามวาพระสังฆราชอยูที่ไหน ทานบอกอยูกุฏิโนน ไมไดบอกวาทานเปน สักพักหนึ่งทานก็ไปที่นั่น แลวคนก็รูวา ออ คนที่เจอกันที่ลานวัดนั่นเอง สมเด็จพระพุฒาจารย โต พรหมรังสี มีคนไปกราบไปหาทาน ทานถามมาทําไม ก็บอกวามากราบสมเด็จ ทานบอกวา โนน สมเด็จอยูที่โนน ทานชี้ไปที่พัดที่อยูในตู สมเด็จอยูที่โนน นี่ไมใชสมเด็จ นี่ขรัวโต ทานวาอยางนั้น นี่ทานก็มักนอย ในยศศักดิ์ ผมขอแถมอีกนิดหนึ่ง คนที่จะทําความดีอยูไดเสมอตนเสมอปลาย ก็เพราะวาเปนคนที่มักนอย และจะทําไดตลอดไป แตถาไมมักนอย ก็จะทําไดไมตลอด เพราะตองการจะทําความดีอวดคนอยางเดียว อะไรที่คนไมเห็นหรือไมเห็นผลทันใจ ก็ 16 ความสุขที่หาไดงาย
จะไมอยากจะทํา แตคนมักนอยกลับตรงกันขาม คือเมื่อจะทําความดีก็ไมตองการใหใครรูหรือเห็น สวนผลที่จะไดหรือไมก็ ไมเดือดรอน พอใจอยูแตวาไดทําความดีแลวก็พอใจอยูแตในเรื่องที่ไดทําความดี ใครจะรูจะเห็นหรือไมก็ชางเถอะ ไมเปนไร กถาวัตถุขอที่ 2 สันตุฏฐิกถา แปลวาถอยคําที่ควรสนทนากัน เกี่ยวกับเรื่องสันโดษ ถาจะตั้งคําถามกอนวา สันโดษกับมักนอยตางกันอยางไร ก็จะมีคําตอบโดยยอวา มักนอยก็เอาแตนอย รับแตนอย พอใจแตนอย ถึงเขาจะใหมาก มีโอกาสจะไดมาก ก็เอาแตนอย ตามความสมควรแก ตน สันโดษก็จะมีอยู 3 ระดับดวยกัน คือ 1. พอใจตามที่ได ไดมาเทาไหรก็พอใจเทานั้น แตวาตองไดมาโดยสุจริต ถาไดมาโดยทุจริตก็เปนการเสียสันโดษแลว อันนี้ก็จะเห็นความแตกตางระหวางมักนอยกับสันโดษ อยางพอแมจะใหเงินลูก ให 1,000 ลูกก็รับ 1,000 ให 2,000 ลูกก็รับ 2,000 ให 3,000 ลูกก็รับ 3,000 เทาที่ได แตถามักนอยจะไมใชอยางนี้ คือเห็นวา 3,000 มากไปสําหรับตัว ไมรูจะเอาไปใช อะไร ก็วารับมากไป ขอแค 1,500 เห็นวาพอแลวสําหรับตัว เปนคนไมมักมาก นี่ก็เรียกมักนอย ตางกันอยางนี้ 2. พอใจตามกําลัง คือมีกําลังเทาไหร เทาที่เราจะทําไดก็พอใจเทานั้นตามกําลังของเรา คนเรามีกําลังไมเทากัน บาง คนเขาก็มีกําลังมาก เขาก็มีโอกาสที่จะแสวงหาอะไรไดมาก บางคนมีกําลังนอย เราดูกําลังของเราแลว เรามีกําลังเทานี้ ได เทานี้ ก็ดีแลวสําหรับเราที่มีกําลังเทานี้ นี่ก็เรียกวายินดี สันโดษตามกําลัง พอใจตามกําลังของเรา ถาเผื่อไมพอใจตามกําลัง แลวมันจะหันไปในทางทุจริตอยากจะไดเทาคนอื่น เห็นคนอื่นเขาไดมากก็อยากจะไดเทาคน อื่น ไมนึกถึงกําลังของตัวเอง ทานลองนึกดู นักเรียนทีท่ ุจริตในการสอบก็เพราะวาขาดสันโดษขอนี้ ทุจริตจนเคยตัวตั้งแตเริ่มเรียนหนังสือมาก็ ทุจริตมาเรื่อย อกุศลกรรมมันหนาแนนขึ้น ทุกวันทุกป พอปสดุ ทายจะสําเร็จอยูแลว ปที่ผานมาเขาจับไมไดไลไมทันก็พนไป ปสุดทายกรรมการสอบจับได ถูกไลออก นาเสียดายเวลา กําลัง เงินทองที่เสียไปในการศึกษาเลาเรียน สูญไปเปลา นอกจากนี้ก็มีประวัติดางพรอยติดตัวไปดวย
17 ความสุขที่หาไดงาย
ถาเผื่อวาเขารูจักสันโดษตามกําลังของตน คือวามีกําลังสติปญญาเทาไหร ก็สอบไปเทานั้น ไมทุจริตในการสอบ ตั้งใจใหมั่นคงแนวแน มีปญญาเทาไหรก็เอาเทานั้น ผลรายก็จะไมเกิดขึ้นในชีวิต เขาก็จะอาศัยความเพียรพยายามของตนเอง จะนําตนไปถึงความสําเร็จในชีวิตได เขาก็จะพยายามทุกอยางจนสุดกําลังความสามารถ คนอยางนี้ไมตกอับ ไมตกต่ํา แมจะ พลาดพลั้งไปบาง ก็เปนธรรมดาของชีวิตก็จะกลับตั้งตัวขึ้นไดใหม ลองนึกดูวาพวกสัตวมันตกหลุมตกบอแลว ก็ยังตะเกียกตะกายขึ้นมาเพื่อจะขึ้นจากหลุมจากบอจนสุดความสามารถของ มัน มนุษยเรามีคุณสมบัติเหนือกวาสัตวอื่นๆเปนจํานวนมาก ทําไมจะไมพยายามเพื่อจะเอาชนะอุปสรรคของชีวิต เมื่อได พยายามจนสุดความสามารถแลว แมจะไมสําเร็จ ก็จะไมมีใครติเตียนเราได คนที่ไมพยายามตามกําลังของตัว พวกนี้แหละที่จะถูกติเตียนวาเปนคนเกียจคราน ไมใชความพยายามใหเต็มกําลังของ ตัว เพราะฉะนั้น ขอนี้ทานก็สอนใหเราสันโดษตามกําลังของตน กําลังทรัพย กําลังกาย กําลังความรู กําลังสติปญญาของ เรามีเทาไหร เราก็ทําไปตามนั้น 3. พอใจตามสมควร หรือตามความเหมาะสมแกตัว ทานเรียกวา ยถาสารุปปสันโดษ หมายความวาอะไรที่ไมสมควร แกเรา ก็ไมฟุงซานอยากไดสิ่งที่ไมสมควรแกตน เรื่องนี้ตองใชปญญาหนอย ตรองดวยตนเองวาอะไรควรแกตน อะไรไมควรแกตน จะไปรับสิ่งที่ไมสมควรแกตนเขา ก็จะนําภัยมาใหแกตัว เดือดรอนภายหลังได แมสิ่งที่สมควรแลวทานก็ยังสอนใหรูจักประมาณ เชนอาหาร อาหารที่ควรกินไมเปนของแสลง แตทานก็ใหรูจัก ประมาณในการบริโภค วาจาที่ควรพูดก็ตองพูดแตพอประมาณ ไมพูดมากเกินไปจนเขารําคาญ ไมพูดเกินเวลา อะไรทํานอง นี้
18 ความสุขที่หาไดงาย
สันโดษในการรับ นอกจากสันโดษในการแสวงหา คือแสวงหาแตในทางสุจริตแลว ทานก็ยังสอนใหสันโดษในการรับอีกดวย แมจะมี ผูให ก็ไมรบั ใหเกินประมาณจนนาเกลียด และยังแสดงอุปนิสัยของผูโลภจัด ทานไดกลาวไววา อติโลโภ ปปาปโก ความโลภจัดเปนความเลวทรามอยางหนึ่ง แลวก็ไมรับของผิดกฎหมาย ไมรับ สินบน เรื่องการรับสินบนเรื่องคอรรัปชั่นตางๆ ซึ่งใครๆก็รูอยูวาเปนของไมสมควร แตก็ยังรับกันอยู ยังมีเรือ่ งมีราวกันอยู ใหหนังสือพิมพลง ใหวทิ ยุไปออก ใหโทรทัศนไปออกเปนขาวอื้อฉาวกันอยูบอยๆ สันโดษในการบริโภคใชสอย ทานสอนใหสันโดษในการบริโภคใชสอย บริโภคปจจัย 4 แตพอประมาณ ไมมากเกินไป ไมนอยเกินไป คือใน สังคมของเรานี้ ปจจัย 4 ก็มีอยูจํากัด ถาเผื่อหลายๆคนหรือคนจํานวน มาก บริโภคไมรูจักประมาณ มันหมดไปสิ้นไป อีก หนอยก็ไมมีอะไรจะใช ไมมีอะไรจะกิน รุนลูกรุน หลานทรัพยากรก็จะสิ้นไป จนเขาไมมีจะใชไมมีจะกิน เขาก็จะตําหนิ บรรพบุรุษไดวา อยูกันอยางไร พัฒนาบานเมืองกันมาอยางไร กินกันจนหมดไมเหลือไวใหพวกเขาบางเลย สันโดษไมใชความเกียจคราน มีคนเขาใจผิดอีกอันหนึ่งวา ความสันโดษนี่เปนการไมทําอะไร หรือพวกเกียจคราน ความจริงไมใช สันโดษไมใช พวกเดียวกับเกียจคราน หรือการไมทําอะไร ในพระสูตรหลายแหงที่พระพุทธเจาทรงสอนสันโดษ และมีความเพียรไวในที่แหงเดียวกัน เชน ในนาถกรณธรรม สูตร สูตรทีว่ าดวยการทําที่พึ่งหรือพึ่งตัวเอง และลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8 ประการ วาอะไรเปนธรรมเปนวินัย อะไรไมใช ธรรมไมใชวนิ ัย ทานก็สอนเรื่องสันโดษเอาไว และสอนเรื่องความเพียรดวยควบกันไป ความสันโดษกับการพัฒนาสังคม สังคมใดไมมีสันโดษ สังคมนั้นก็เต็มไปดวยความทุจริตคดโกง ดีหรือเปลา สันโดษนี่เปนตัวปราบคอรรัปชั่นที่สําคัญ เราจะไปปราบคอรรัปชั่นกันโดยปลายเหตุ ก็ยาก ถาเผื่อสอนใหคนสันโดษ ทําความสันโดษใหเกิดขึ้นในสังคม ใหคนของ เราสันโดษ คอรรัปชั่นมันจะไมมี
19 ความสุขที่หาไดงาย
หัวใจของคนที่มีสันโดษเทานั้น จึงจะเหมาะสําหรับปลูกฝงคุณธรรมอื่นๆ สังคมจะพัฒนาไปไดโดยยาก ถาคนของ เราขาดสันโดษ คนสวนมากเขาใจผิดคิดวาถามีสันโดษแลว ก็จะไมพัฒนา หรือทําใหการพัฒนาเปนไปไดโดยยาก คนที่มีความสันโดษจะ Active อยูเสมอ เกียจครานไมเปน ทํางานไดสม่ําเสมอตลอดวัน เพราะวาเขาตองการผลแต นอย เขาทําเหตุมากคนที่มีสันโดษก็จะทําความดีไดยั่งยืน ไมจืดจาง ทําความดีดวยความสุจริต ความสันโดษจะหลอเลี้ยง จิตใจอยู มองในทางที่เกิดขึ้นในทางราย จากการไมสันโดษผมก็จะยกตัวอยางที่พอมองเห็นไดในปจจุบัน พวกขโมย พวกฉก ชิงวิ่งราว ก็เปนเพราะขาดคุณธรรมคือความสันโดษ สังคมก็ตองวุนวาย บางทีก็ตองฆากัน เพราะเหตุที่วาไมพอใจในสิ่งที่ สมควรแกตน คนที่มีความรัก แลวคนอื่นปฏิเสธไมรัก ก็ไปฆาเขา ไปทํารายเขา ก็ไมเห็นดีอะไร ในกรณีอยางนั้น ถาจะไป ฆาคนอื่น หรือไปฆาคนที่เรารักในทํานองนั้น ฆาตัวเองเสียยังดีกวา มันหมดเรื่อง และก็ไมเปนปญหากับใครมากนัก ไม เดือดรอนเทาไหร แตเพราะวาคิดอยางนี้ไมเปนแลวก็ไปทํารายคนอื่น ก็เลยเดือดรอน สังคมเดือดรอนเพราะคนพวกนี้เพียงไร พวกนี้เอาแตอารมณ เห็นกันอยูแลว เมื่อเปนอยางนี้ ทั้งปจเจกชน ทั้งสังคมก็ตองสะดุงหวาดหวั่น เพราะมนุษยที่ไมสันโดษ การลงทุนทางเศรษฐกิจ ใน ลักษณะที่สูญเปลา เยอะแยะไปหมดเลย เชน การสรางรั้วบาน ไมตองมีก็ไดถาไมมีขโมย การทําเหล็กดัด คนเราเวลานี้ใน กรุงเทพฯ และตางจังหวัด บานเมืองที่เปนชุมชน มีคนอยูกันมากๆ สรางบานแลวก็ตองทําเหล็กดัด มีลูกกุญแจหลายๆชั้น ตองซื้ออยางแพง ถาไมมีขโมย พวกขโมยนี้เปนพวกไมสันโดษ ไมพอใจในสิ่งของที่เปนของของตน สิ่งเหลานี้จะมีไวทําไม แพงนะ ครับ ไมใชถกู ๆ ถาเราคิดไปทั่วประเทศ เราตองลงทุนไปกับสิ่งเหลานี้ตั้งเทาไหร เครื่องมือในการปองกันขโมยเยอะแยะไป หมดเลย แลวก็ตองปราบปรามกันไปอีก คนหนุมในกรมตํารวจมาเที่ยวตามผูรายเสียไมรูเทาไหร การทําสิ่งเหลานี้ ก็เพื่อปองกันทรัพยสินใหปลอดภัยจากคนไมสันโดษ ปหนึ่งไมใชนอยทีเดียว แผนดินตองเสีย งบประมาณใหกรมตํารวจ กรมราชทัณฑ เพราะคนพวกนี้ปละเทาไหร คุกก็ไมพอขังคนแลว ทราบขาววาคนลนคุก คนมาก ไปเทาตัวสองเทาตัว ลนไปหมดเลย ถาสํานวนพระพุทธเจาก็คลายๆวา ไปยัดเยียดกันอยูในนรก เพราะเหตุที่วาไมสํารวมตน ไมสันโดษ ไมมีความอดทน ไมมีการฝกตน 20 ความสุขที่หาไดงาย
ถาไมมีขโมย ไมมีการเบียดเบียนกัน คนในสังคมมีคุณธรรมดี การพัฒนาบานเมือง การพัฒนาสังคมก็เปนไปโดย เรียบรอย รวดเร็วเพราะไมมีอุปสรรค ไมมีปญหา เราเสียเวลาไปกับการแกปญหานี่ไมรูเทาไหร รัฐบาลแตละรัฐบาลขึ้นมาก็ แกปญหา มีแตปญหา แลวก็แกปญหา แกปญหายังไมหมดเลย ไมมีเวลาที่จะเดินกาวหนาไปได สังคมเราพัฒนาไปไมได เพราะมันมีปญหาเยอะแยะไปหมดเลย การไมมีปญ หานั่นแหละ จะทําใหเราพัฒนาไปได เพราะฉะนั้น ขอหลักธรรมเรื่องสันโดษ มันจะชวยแกไปไดเยอะเลย แตวาคนเราก็ไมคอยเขาใจ และไมคอยสนใจ เรื่องนี้ และเขาใจผิดเสียอีกดวย การพัฒนาประเทศหรือสังคม ปจจัยที่สําคัญก็คือคนหรือทรัพยากรบุคคล เราฝกคนของเราใหมีคุณธรรม มีสันโดษ เปนพื้นฐาน เราก็จะไดทรัพยากรบุคคลที่ดีมาก และการพัฒนามันก็ไปไดอยางรวดเร็ว สังคมของเราเวลานี้ เรากําลังขาด ทรัพยากรบุคคลอยางมากเลย เรามีคนดีไมคอยพอในทุกๆวงการ ถาเราไมสามารถผลิตคนดีขึ้นใหเพียงพอแกความตองการ แลว แมทรัพยากรอยางอื่นจะมีมากเพียงไร จะมีเพียงพอ ก็ไมสามารถที่จะพัฒนาสังคมไปได ยิ่งกวานั้นก็จะกลายเปนผลราย เสียอีก ทรัพยากรเหลานั้น จะถูกใชเปนเครื่องมือของคนชั่ว มาทําลายสังคมใหทรุดโทรมยอยยับ จิตใจของคนในสังคมนั่นแหละคือลักษณะที่แทจริงของสังคมนั้น การสรางคนใหเปนคนดีมีประโยชนแกสังคม เปน งานหนัก ทําไดยากมาก ถาเปรียบการสรางคน เหมือนกับการปลูกสรางสิ่งอื่น บานเรือนหรือตนไม คุณธรรมคือสันโดษจะ เหมือนการปรับพื้นใหเรียบรอยเหมาะสมกับการปลูกสรางนั้นๆ คุณธรรมทั้งหลายจะงอกงามในหัวใจของคนที่มีสันโดษ ขอใหเรารูจักสันโดษกันใหดี ถาสรางคนไดสําเร็จจะมีผล ยั่งยืนกวาการสรางสิ่งอื่น เพราะวาจะมีการสืบตอเชื้อสายสงทอดกันไปตามลําดับ ที่เราเรียกวาเชื้อไมทิ้งแถว หรือลูกไมหลน ไมไกลตน การชวยกันสรางเยาวชนใหมีธรรม จะมีความหมายเทากับการสรางอนาคตของชาติใหรุงเรืองดีงาม แรกทีเดียวเรา จะตองสอนเขาใหรูจักสันโดษเสียกอน ใหเขาประพฤติอยูในธรรมคือสันโดษ และความเพียรพยายาม คือทั้งสองตัวนี้จะตอง ควบคูกันไป ความพยายามที่ไมมีสันโดษควบคุม จะเกินพอดี คือมันจะมีความพยายามมากเกินไป บางทีก็ออกนอกทาง คือเกิน เหตุ หรือทําอะไรเกินเหตุ ไมพอดี เพราะฉะนั้น จําเปนจะตองเอาสันโดษมาควบคุมเอาไวก็จะนําไปในทางที่ไมผิด ถาไมมี 21 ความสุขที่หาไดงาย
สันโดษแลวมันจะนําไปในทางที่ผิดไดงาย ลอแหลมเปนอันตรายไดมากทีเดียว คลายๆกับรถที่วิ่งดีแตหามลอไมดี เกิดเบรก แตกขึ้นเมื่อไหร จะวิ่งเลยขีดไปชนนั่นชนนี่ บังคับใหหยุดไมได มันจะวุนวายกันไปใหญเลย เพราะฉะนั้น เมื่อมีคุณภาพดีแลว เบรกตองดีดวย หยุดไดในที่ที่ตองการจะหยุด ไมใชวิ่งไปไดอยางเดียว แลวก็หยุด ไมเปน อันนั้นเปนอันตรายมากกวารถที่วิ่งไมได ทานจะสังเกตตอไปไดวา ในหมูผูใหญการแกงแยงแขงดีกันในหมูผูใหญ จนถึงตองทําลายลางกัน ใสรายปายสีกัน การทุจริต การมิจฉาชีพตางๆ ที่ระบาดอยูในสังคมของเรานี้ จนถึงกับทําใหเรารูสึกวามันเกิดสังคมพิการขึ้น และวุนวายกัน ไปหมดเลย ภาษาทางสังคมเรียกวา Social disorganization สังคมพิการ ก็เพราะหัวใจของคนเราพิการไปกอน มันขาดสันโดษ มุง เอาแตจะได ไมคํานึงถึงความผิดชอบชั่วดีอยางไร ความเห็นแกตัวของคนมีอํานาจ การกอบโกยฉวยโอกาสของพอคา นัก ธุรกิจ ไมคํานึงถึงความเดือดรอนของคนสวนมาก ความเรารอนใจ เพราะโลภจัดไมรูจักพอ เทาไหรก็ไมพอ กลายเปนการมัวเมาในวัตถุ ทะเยอทะยานจนเกินกําลัง ความสามารถของตัว ไดมาโดยสุจริตไมทันใจ ก็ตองลงมือประกอบการทุจริตตางๆ เพื่อสนองความอยากที่มันเผาลนจิตใจ อยู ดําเนินชีวิตอยางไรเหตุผล เพราะความโลภเขามาบดบังดวงตาคือปญญาเสีย เห็นสิ่งที่ไมเปนสาระวาเปนสาระ เห็นสิ่งที่ เปนสาระวาไมเปนสาระ จึงทุมเทชีวิตทั้งชีวิตลงไป เพื่อแสวงหาสิ่งที่ไมเปนสาระ ซึ่งตนเขาใจผิดคิดวาเปนสาระ อันนี้นาเสียดาย เพราะวาขาดสันโดษนั่นเอง ทําใหเสียโอกาส จับฉวยเอาแตสิ่งที่ไมเปนสาระวาเปนสาระในชีวิต เพราะความไมรูนี่เอง คุณคาที่แทจริงของชีวิต คนเราสวนมากไดละเลยคุณคาที่แทจริงของชีวิต ภาษาทางปรัชญาทานเรียกวา Intrinsic Value คือคุณคาภายใน คุณ คาที่แทจริงของชีวิต และพะวงหลงใหลอยูกับคุณคาอันรอง หรือคุณคาภายนอก คุณคาปลอมของชีวิตที่เรียกวา Extrinsic Value
22 ความสุขที่หาไดงาย
ถาจะถามวาอะไรคือคุณคาที่แทจริงของชีวิต คําตอบก็คือ คุณธรรมหรือคุณงามความดี จิตใจที่ไดรับการอบรมใหผอง แผว อุปนิสัยที่ดีงาม ความกลาหาญ และความซื่อสัตย นี่คือคุณคาที่แทจริงของชีวิต สวนชื่อเสียง เกียรติยศ ความมั่งคั่งร่ํารวย ลาภยศที่ระคนอยูดวยบาปในสังคม ความยิ่งใหญในวงศตระกูล ความสุข ที่เจือดวยความเพลิดเพลินในอารมณที่นาใครตางๆ ลวนแตเปนคุณคาปลอมของชีวิตทั้งนั้น เปนที่นาเสียดายวาคนสวนมาก พากันหลงใหลใฝฝนอยากไดคุณคาปลอมของชีวิตมากกวาคุณคาจริง ทั้งนี้สาเหตุหนึ่ง มาจากไมรู เพราะวาไมไดศึกษาหรือขาดผูแนะนําที่ดี หรือเพราะอุปนิสัยของเขาไมเพียงพอที่จะรูคุณคาที่แทจริงของชีวิตได ซึ่งเราจะตองแนะนําพร่ําสอน ทําตัวอยางใหดู เปนอยูใหเห็น คุณธรรมเปนสิ่งที่สอนกันได คุณธรรมเปนสิ่งที่สอนกันได และคุณธรรมนั้นหมายถึงความเลอเลิศของอุปนิสัยที่เราจะตองปลูกฝงกัน สั่งสอนกัน แตตองอาศัยเวลาหนอย ตองทําดวยความอดทนและใจเย็น ผมขอเรียนวา จิตใจของผูใดก็ตามที่ไดรับการหลอหลอมดวยคุณธรรมแลว มีคุณธรรมหยั่งลงในจิตใจดีแลว ถาเผื่อ ใครมาทําลายรื้อถอนคุณธรรมของบุคคลผูนั้นโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ก็จะเปนบาปหนักทีเดียว ผมขอยืนยันไวในที่นี้วา สันโดษเปนคุณธรรมที่ประเสริฐ เปนไปเพื่อความสุขความสงบของชีวิต ทั้งแกปจเจกชน ทั้งแกสังคมและประเทศชาติ สันโดษไมไดเปนอุปสรรคในการพัฒนาสังคมแมแตนอย และไมเปนอุปสรรคในการพัฒนาตน ดวย เพราะเราจะตองมีความเพียรพยายามควบคุมอยูตลอดเวลา ความไมสันโดษตางหากที่เปนอุปสรรคในการพัฒนาชีวิต ในการพัฒนาสังคม นี่เปนสันโดษที่เกี่ยวของกับชีวิตของฆราวาส เกี่ยวของกับชีวิตของสังคม ความสันโดษของสมณะ ตอไปจะพูดถึงความสันโดษของสมณะหรือนักบวช ซึ่งเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งเหมือนกันในสมัยนี้ เพราะไดยินเสียงพูด เสียงตําหนิกันอยูไมใชนอยเหมือนกันวา สมณะใชชีวิตแบบฟุมเฟอย แบบหรูหรา แบบไมใชชีวติ ของสมณะที่ควรจะเปน 23 ความสุขที่หาไดงาย
ถาจะกลาวถึงสิ่งที่จําเปนของสมณะของนักบวช โดยเฉพาะอยางยิ่งนักบวชในพุทธศาสนา ทานกลาววา ภิกษุหรือพระเฉพาะที่มีบริขาร 8 ไดชอื่ วาเปนผูที่สันโดษอยางยิ่ง บริขาร 8 มีไตรจีวร คือผา 3 ผืน สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกน ประคดเอวหรือผารัดเอว ที่กรองน้ํา นี่เปนบริขาร 8 เปนสิ่งที่จําเปน นอกจากนี้ที่จําเปนที่จะเพิ่มขึ้นสําหรับ บางทาน ถาเผื่อมีความจําเปนจะเพิ่มขึ้นบางทานก็ไมตําหนิ แตถาไมจําเปน และเพิ่มขึ้นมาก ทานก็ตําหนิวาเสียสันโดษ สิ่งที่อาจจะมีเพิ่มขึ้นตามความจําเปน เชน 1. เครื่องลาดสําหรับเสนาสนะที่อาศัย เชน พรม เสื่อ หรืออยางอื่นที่ใชประโยชนในทํานองเดียวกัน 2. เครื่องรักษาความปลอดภัย เชน กุญแจ 3. ผาอาสนะหรือผารองนั่ง จะทําดวยพรมหรือเสื่อหรือหนังก็ได แตเวนหนังสัตวที่ดุรายหรือที่ประชาชนรังเกียจ เชน หนังเสือ หนังจระเข เปนตน 4. เครื่องชวยพยุงกายสําหรับภิกษุชรา เชน ไมเทา 5. เครื่องชวยอยางอื่น เชน น้ํามันสําหรับใชทาตัว เมื่อหนาหนาวหนารอน หนาหนาวผิวแหงใชน้ํามันได หนารอนผิว แตกก็ใชน้ํามันทาได ถามีความจําเปน 6. รมและรองเทา บางแหงทานกลาววา ภิกษุผูมีบริขาร 8 ทานไปไหนทานก็ใชวิธีหอมีด คือมีดโกน บางครั้งก็ใชคําวามีดนอย หอมีด และเข็มไวในผากรองน้ํา แลวเก็บไวในบาตร คลองบาตรบนบา นุงหมแตจีวรและประคดเอว ก็ไปไหนไดตามสบาย เหมือนนกโผผินบินไป มีแตเพียงปกสองขาง ไมตองกลับมาเอาอะไรอีก ทานกลาวไวอยางนี้ เปนเรื่องที่นาสนใจทีเดียว มีคําอธิบายมากมายเรื่องสันโดษเกี่ยวกับเรื่องนักบวช ผมจะนํามาเลาใหทานฟงเฉพาะบางเรื่อง ยกตัวอยางเรื่องหนึ่งเกี่ยวกับจีวร รับสันโดษ 3 อยาง ที่กลาวมาแลวก็ใชไดเหมือนกัน สําหรับพระและฆราวาส ที่วา สันโดษตามที่ได สันโดษตามกําลัง สันโดษตามสมควร ทีนจี้ ะพูดไปแปลออกไปที่วาเกี่ยวกับจีวร สันโดษในการตรึก คือ คิดแสวงหาจีวรในกาลที่เหมาะสม คิดแสวงหาจีวรโดยบริสุทธิ์ ไมใหความคิดที่เศราหมองเกิดขึ้นในการแสวงหาจีวร ทานยกตัวอยาง ภิกษุรูปหนึ่งที่ทานมีความสันโดษในการแสวงหาในการตรึก ทานเลาไวอยางนี้ 24 ความสุขที่หาไดงาย
ภิกษุรูปหนึ่งถือผาบังสุกุล หรือใชจีวรเฉพาะที่ไดจากการบังสุกุล ไมรับจีวรที่ทายกถวาย วันหนึ่งทานไหวเจดียที่เจติย บรรพตแลว ทานคิดวาจีวรของเราเกานักแลว เราจะไดจีวรในที่มีภิกษุมาก ทานก็ไปยังมหาวิหาร พบเถระผูใหญ ก็ขอพัก อาศัยอยูที่มหาวิหารกับพระเถระผูใหญ วันรุงขึ้น ก็ถือบาตรและจีวรมายังสํานักของพระมหาเถระ เพื่อชวนพระมหาเถระไปเปนเพื่อน พระมหาเถระถามวามี ธุระอะไร ทานบอกวา จะไปที่ประตูเรือน พระมหาเถระบอกวาทานเองก็จะไปเหมือนกัน ทั้งสองจึงไปบิณฑบาต ไปยืนอยูที่ประตูของมหาโพธิ์ เปนทวงทํานองวา ทานชวนผูใหญไปเปนเพื่อน ไปยืนทีป่ ระตู มหาโพธิ์แลวจะไดจีวรที่ชอบใจ จากผูใจบุญทั้งหลาย เมื่อคิดดังนี้ ก็ฉุกคิดขึ้นไดวา ความคิดของเราไมบริสุทธิ์เสียแลว ทานจึงกลับ ในวันรุงขึ้น ก็ไปสูที่อีกแหงหนึ่ง ในวันรุงขึ้นก็ไปทีอีกแหงหนึ่ง พอรูสึกตัววาความคิดของตัวไมบริสุทธิ์ ก็กลับทุก แหงไป ในวันที่ 4 ก็ไปหาพระมหาเถระอีก พระมหาเถระคิดวาการตรึกของภิกษุนี้คงไมบริสุทธิ์เปนแนแท ถามปญหาหลาย ขอกับภิกษุนั้น แลวก็พากันไปสูละแวกบาน คืนนั้นเอง มีคนคนหนึ่งเปนโรคทองรวงอยางแรง ถายรดผานุงของตัว แลวทิ้งผานุงนั้นไวที่กองหยากเยื่อ พระเถระ เห็นผานั้นกองอยู มีแมลงวันหัวเขียวตอมอยู จึงประคองอัญชลีขึ้น เมื่อพระมหาเถระถามวา ทําไมจึงประคองอัญชลีแกกอง หยากเยื่อ จึงตอบวา ทานผูเจริญ กระผมไมใชประคองอัญชลี แกกองหยากเยื่อ แตกระผมประคองอัญชลีนอมนมัสการพระทศพล คือ พระพุทธเจาผูทรงเปนพระบิดา ผูทรงสลัดสัตวเล็กสัตวนอย แลวถือเอาผาบังสุกุลที่เขาหอสรีระหญิงทาสคนหนึ่ง แลวทิ้งไว ในปาชา ทรงนําผานั้นมาใช ทรงกระทํากรรม (สิ่ง) ที่บุคคลทําไดยากยิ่งแลว คือเคยมีเรื่องวาพระพุทธเจาเคยทําอยางนี้มา ภิกษุพอเห็นเรื่องคลายๆทํานองเดียวกัน เลยนอมนมัสการพระพุทธเจาวา พระพุทธเจาทําได เราก็ควรจะทําได 25 ความสุขที่หาไดงาย
พระมหาเถระคิดวา ความตรึกของภิกษุนี้บริสุทธิ์จริงๆ ภิกษุผูถือบังสุกุลเปนวัตร คือถือเปนประจํา ยืนอยู ณ ทีน่ ั้นเอง เจริญวิปสสนาบรรลุผล 3 คือโสดาปตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล แลวถือเอาผาผืนนั้นไปทําจีวร แลวก็ไปสูวิหาร แหงหนึ่ง ไดบรรลุอรหัตผล ซึ่งเปนผลที่ 4 ทานสันโดษในจีวร ในการตรึก เพียงแตคิดอยางนี้ทานก็รูวาทานคิดผิดหรือคิดถูก ทานคิดที่เปนกุศลหรืออกุศล ทาน คิดสมควรหรือไมสมควรแกทานผูประพฤติสันโดษ พูดถึงเรื่องการบิณฑบาต เสนาสนะ คิลานเภสัช คือยาแกโรค ก็มีความสันโดษในการตรึก คือการคิด และในการ แสวงหาในการรับ เปนตน ในทํานองเดียวกันกับสันโดษในเรื่องจีวรนี้เหมือนกัน สันนิธิปริวัชนสันโดษ ขอกลาวใหพิสดารออกไปอีกนิดหนึ่ง มีสันโดษอีกหลายอยางที่ควรทราบในที่นี้สําหรับผูบวช ทานเรียกวา สันนิธิปริ วัชนสันโดษ คือสันโดษในการเวนจากการสะสมและไมสะสม คือเมื่อไดจีวรหรือบิณฑบาตมา ก็ไมสะสมไวมาก เก็บไวแต เพียงพอใชเทานั้น เมื่อจะสละใหภิกษุหรือสามเณร ก็สละใหโดยไมเห็นแกหนา คือไมมีอคติ ตั้งอยูในสาราณียธรรมคือธรรม ที่เปนเหตุใหระลึกถึงกัน คือมีเมตตากรุณาแกผูควรสงเคราะห การสละใหโดยวิธีนี้ ทานเรียกวาวิวัชนสันโดษ สันโดษในการ เสียสละหรือสละโดยไมเห็นแกหนาทําโดยเสมอภาค ประพฤติสาราณียธรรมดวยเมตตากรุณาแกผูที่ควรสงเคราะห ปตตปฏิคาหสันโดษ อีกอยางหนึ่ง ทานเรียกวา ปตตปฏิคาหสันโดษ แปลวาสันโดษในการรับแตพอประมาณ อันนี้ผมไดกลาวไวบางแลว ในเรื่องความปรารถนานอย หรือความมักนอยวา ถาเผื่อไทยธรรมของเขามีมาก แตเขาปรารถนาจะใหแตนอย ก็ควรรับแต นอย ฉะนั้นจะไมกลาวซ้ําในที่นี้อีก โลลุปปวิวัชนสันโดษ การเวนจากความลําเอียง เวนการเลือกไปเฉพาะตระกูลที่มั่งคั่งเทานั้น แตไปบิณฑบาตตามลําดับที่ถึงเขา เรียกวา โลลุปปวิวชั นสันโดษ คือสันโดษในการบิณฑบาตที่ไปตามลําดับ ไมเวน ไมเลือกเฉพาะตระกูลที่มั่งคั่ง
26 ความสุขที่หาไดงาย
อุปการสันโดษ การระลึกถึงปจจัย 4 ที่วา เราไดอาศัยปจจัย 4 นี่แลว จึงสามารถบําเพ็ญความดี นําตนออกจากทุกขได เรียกวา อุปการ สันโดษ ปริมาณสันโดษ การไมรับบาตรที่ทายกบรรจุอาหาร จนเต็มบาตรแลวนํามาถวาย แตเมื่ออนุปสัมบันคือลูกศิษยมีอยู พึงใหอนุปสัมบัน นั้นรับแทน เมื่ออนุปสัมบันไมมี พึงใหทายกนําไป สวนตนรับแตเฉพาะของที่พอนําไปโดยสะดวกเทานั้น เรียกวา ปริมาณ สันโดษ คือสันโดษดวยการรูจักประมาณ การฉัน การที่ภิกษุฉันอาหารและระลึกอยูเสมอวาเพื่อจะบรรเทาความหิว เพื่อจะอนุเคราะหพรหมจรรยหรือระบบการบําเพ็ญ คุณงามความดี โดยเฉพาะอยางยิ่งหมายถึงศีล สมาธิ ปญญา เพื่อออกจากทุกข ทานเรียกวาบริโภคสันโดษ สันโดษในเวลา บริโภค ชาวบานก็ใชได ทําไดเหมือนกันในทํานองเดียวกันนี้ เพราะฉะนั้น สําหรับภิกษุสามเณร เวลาจะฉันอาหารทาน ใหปจจเวก แปลวา พิจารณาวาอาหารนี้เราบริโภคไมใชเพื่อเลน ไมใชเพื่อเมา หรือเพื่อใหรางกายสวยงามเปลงปลั่ง แตเพื่อ จะใหรางกายนี้เปนไปได จะไดทําคุณงามความดี การที่ไมเก็บอาหารไวฉันใหเกินวันไป ใหลวงวันไป ทานเรียกวา สันนิธิปริวัชนสันโดษ ไดกลาวมาบางแลว ความสันโดษที่ภิกษุควรพิจารณา ผมจะพูดถึงเรื่องความสันโดษ ที่ภิกษุควรจะสํารวมหรือควรจะพิจารณาในเรื่องของความสันโดษเปนอยางยิ่ง ทาน ยกตัวอยางเอาไวในตําราวา มีภิกษุรูปหนึ่งทานชอบขนมที่ทําดวยแปง มารดาของทานก็ตองการจะทดลองการปฏิบัติของทาน ตั้งใจไววาถาเผื่อ บุตรของเรารูจักประมาณในการรับ เราก็จะถวายขนมตลอดพรรษา 3 เดือน
27 ความสุขที่หาไดงาย
ในวันเขาพรรษา มารดาของทานจึงถวายขนมอันหนึ่งกอน เมื่อถวายทานก็ฉันหมด แลวก็ถวายอีก อันที่ 2 อันที่ 3 ก็ ปรากฏวาภิกษุรูปนั้นฉันหมด ไมไดหามโยมเลยวาพอแลวโยม เอาแตฉันอยางเดียว มารดาก็รูวาบุตรของเราเปนผูไมรูจัก ประมาณในการบริโภค คิดวาขนมที่ตั้งใจจะถวายตลอด 3 เดือน บุตรของเราไดฉันหมดแลวในวันนี้ ตั้งแตนั้นมาก็ไมได ถวายอีกเลย นี่คือคนมักมาก ไมรูจักพอ ไมรูจักประมาณจะเสื่อมจาก ลาภ อันที่จริงก็ควรจะยั่งยืน เขาตั้งใจจะถวายตลอดพรรษา แตวา ไดเห็นกิริยาอาการที่ฉันไมรูจักประมาณแลว เขาก็เลยหมดศรัทธาที่จะถวาย แมแตมารดาไมตองพูดถึงคนอื่น ก็จะยิ่ง หนักขึ้นไปอีก มีอีกเรื่องหนึ่งที่ทานเลาเอาไว คือเรื่องพระเจาติสสะมหาราช ทรงถวายทานแกภิกษุที่เจติยบรรพตทุกวัน ชาวชนบท ทั้งหลายกราบทูลวา ไฉนมหาราชจึงถวายทานอยูที่แหงเดียว ไมถวายแกภิกษุในที่อื่นบาง พอในวันที่ 2 พระเจาติสสะมหาราช ก็รับสั่งใหถวายทานแกสงฆทั่วอนุราชบุรี ไมมีภกิ ษุรูปใดรูประมาณในการรับเลย ของเคี้ยวของฉันที่ภิกษุรูปหนึ่งรับไวนั้น ตองใหคนยกถึง 2-3 คน ทีเดียว วันรุงขึ้น พระเจาติสสะสั่งใหนิมนตภิกษุสงฆที่เจติย- บรรพตวิหารมาฉันในพระราชวัง เมื่อภิกษุเหลานั้นมาถึง พระราชวัง พระราชาก็ตรัสวา ขอพระคุณเจาทั้งหลายใหบาตร ภิกษุก็ถวายพระพรวา อยาเลยมหาบพิตร ภิกษุทงั้ หลายจะรับ อาหารโดยประมาณของตน คือถาหากวาใหบาตรไป คงจะบรรจุอาหารจนเต็มบาตร หากบาตรอยูที่ภิกษุ เมื่อทายกนํามา ถวาย ทานจะกําหนดประมาณของตนและหามเสียได เมื่อเห็นวาเขาจะถวายมากเกินไป เมื่อเปนดังนี้ ภิกษุทั้งหลายก็มิไดมอบใหไป เมื่อรับอาหารก็รับแตพอประมาณของตนเทานั้น พระราชารับสั่งวา ดูเถิดทานทั้งหลาย เมื่อวานนี้ ภิกษุสักรูปหนึ่งก็ไมมีที่จะประมาณในการรับ ของมากมายไมมี อะไรเหลือเลย แตมาวันนี้ ทานรับเอาแตนอย ของยังเหลือมากมาย พระราชาทรงพระทัยในภิกษุเจติยบรรพตวิหาร เพราะ ทานเหลานั้นรูจักประมาณในการรับ ไมทรงพอพระทัยภิกษุนอกจากนี้ที่ไมรูจักประมาณ เรื่องทั้งสองเรื่องนี้ ทานบอกวาปรากฏอยูใน ขุทกวิภังค อรรถกถาสัมโมหวิโมทนี ซึ่งเปนอรรถกถาที่พระพุทธโฆษา จารย ไดแตงที่ลังกา เรียกวา กถาวิภังคปกรณ เปนการอธิบายพระอภิธรรมสวนที่วาดวยวิภังค 28 ความสุขที่หาไดงาย
มีอรรถกถาอีกเลมหนึ่ง ทีพ่ ระพุทธโฆษาจารยแตงสมัยที่อยูอินเดียกอนที่จะไปอยูลังกา คืออัฏฐสาลินี อันนี้อรรถ กถาสังคณีของอภิธรรม แสดงวาเรื่องเหลานี้เกิดขึ้นที่ลังกาสมัย อรรถกถา รวมความวา อัฏฐสาลินี เปนอรรถกถาของ คัมภีรสังคณี สัมโมหวิโนทนี เปนอรรถกถาของคัมภีรวิภังค ภิกษุณี อุบาสกคนหนึ่งในเมืองสาวัตถี บอกอนุญาตถวายกระเทียมแกภิกษุณีแลว ก็สั่งคนรักษาไรกระเทียมไววา ถา ภิกษุณีมาใหถวายกระเทียมแกทานคนละ 2-3 จุก ตอมาวันหนึ่ง ภิกษุณีชื่อถูรนันทา แปลวานันทาหยาบ พรอมกับบริวารไปไรกระเทียม พวกเธอเปนผูไมรูจักประมาณ ไดขนเอากระเทียมไปเปนจํานวนมาก คนเฝาไรกระเทียมติเตียนภิกษุณีพวกนั้น พระพุทธเจาทรงทราบเรื่องนี้ สอนภิกษุ ทั้งหลายวา ขึ้นชื่อวาคนมักมาก ยอมไมเปนที่รักที่พอใจของใครเลย แมแตมารดาบังเกิดเกลาก็ยังไมอาจทําใหเลื่อมใสได คน อื่นไมตองพูดถึง พวกเขาจะทําคนที่ยังไมเลื่อมใสไมใหเลื่อมใส ทําคนที่เลื่อมใสแลวใหเสื่อมความเลื่อมใสลงไป และไมอาจ ทําลาภที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น รักษาลาภที่เกิดขึ้นแลวใหมั่นคง สวนผูที่มักนอยสันโดษ ก็กอใหเกิดผลตรงกันขาม พระพุทธเจาไดตรัสเลาเรื่องอดีตของภิกษุณี ถูรนันทาวา ภิกษุณีถูรนันทาไมใชมักมากเพียงในกาลนี้เทานั้น แมในกาล กอนก็มักมากแลวเหมือนกัน แลวก็ตรัสเลาเรื่องในอดีตกาล พราหมณคนหนึ่งในกรุงพาราณาสีตายแลวเกิดเปนหงสทอง ระลึกชาติไดเห็นภรรยาและธิดากําลังลําบาก รับจางคน อื่นเลี้ยงชีพอยู ไปยังบานเดิมดวยรักบุตรและภรรยา สลัดขนปกใหขนหนึ่งแลวก็จากไป นางพราหมณีและธิดา ไดนําขนปกที่ เปนทองนั้นไปขายเลี้ยงชีพ หงสทองไดไปที่บานนั้นเสมอๆ และทุกครั้งที่ไปก็สลัดขนปกไวให จนครอบครัวนั้นมั่งคั่งขึ้น ตอมาวันหนึ่ง นางพราหมณีไดพูดกับธิดาวา ธรรมดาสัตวเดรัจฉานจิตใจไมแนนอน ตอไปอาจไมมาก็ได เพราะฉะนั้นเมื่อมาอีกก็ชวยกันจับแลวถอนขนใหหมดเลย ธิดานั้นไมเปนคนมักมาก ก็หามวา อยาทําอยางนั้นเลย แตมารดา ไมเชื่อ เมื่อหงสทองมา ก็ไดจับและถอนขนปกออกจนหมด ขนที่นางถอนออกมาแลว กลายเปนขนธรรมดา เพราะเหตุที่วา นางไดถือเอาโดยพลการ ไมไดรับความยินยอมของหงส หงสไมสามารถจะบินได นางพราหมณีก็ไดขังเอาไวในตุมใหญ แต ขนที่งอกมาใหมก็ไมไดเปนขนทองอีกเลย เปนขนนกธรรมดานี่เอง 29 ความสุขที่หาไดงาย
นางพราหมณีใหขาวใหน้ําเพื่อใหขนเปนทอง มันก็ไมเปน เมื่อขนปกงอกดีแลวหงสก็บินจากไป นางพราหมณีก็เสื่อมจากลาภที่ตนควรจะไดอยางสม่ําเสมอ เพราะความมักมากของตัว เรื่องนี้เปนนิทาน ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อเรื่องทํานองนี้ก็แลวแต แตจริงๆในสังคมมนุษยของเราก็มีอยูเปนอันมาก ที่มี ลักษณะคลายๆกับนางพราหมณี ตองประสบความวิบัติขัดของเพราะความมักมากของตัวเอง ตองการจะไดมากเกินไป เกิน เหตุ เลยเสื่อมไปหมดเลย สุภาษิตไทยบอกวาโลภนักมักลาภหาย ก็เขาลักษณะนี้ ถาเปนคนมักนอยสันโดษ ก็จะเลี้ยงชีพไปไดตลอดชีวิต นี่พดู ถึงนางพราหมณีนะครับ พระพุทธเจาไดทรงนําอดีตนิทานเรื่องนี้มา แลวก็ตรัสวา ถูรนันทาสมัยนี้ ก็คือพราหมณีสมัยนั้น สมัยกอนนางถูรนัน ทาก็อาศัยความมักมากของตน เสื่อมจากทองมาแลว มาบัดนีก้ ็เสื่อมจากกระเทียม เพราะความมักมากเหมือนกัน ภิกษุหรือภิกษุณีแมจะไดปจจัยมากก็ควรประมาณในการรับ เมื่อไดนอยก็ควรสันโดษดวยปจจัยตามมีตามได ไมควร เปนคนมักมาก คนหลอกลวง คนที่เปนคนมักมาก มีปรารถนาชั่วอยูเสมอ เชนเปนผูไมมีศีลไมมีศรัทธา ก็ปรารถนาใหคนทั้งหลายทราบอยูเสมอวา ตนเปนผูมีศีลมีศรัทธา ปรารถนาความยกยองในคุณที่ไมมีในตน อันนี้ก็จัดวาเปนคนหลอกลวง นักพรตหรือนักบวชที่เปน คนหลอกลวง แมเปนผูไมมีศรัทธาก็แสดงตัววามีศรัทธาเสียเหลือเกิน ไมเปนขีณาสพ คือเปนคนไมสิ้นกิเลส มีกิเลสอยู มากมาย ก็แสดงอาการดุจดังวาเปนขีณาสพ คือเปนผูไมมีกิเลส ทําสิ่งตางๆเพียงเพื่อตบตาคน เพื่อหลอกลวงคน ดังพระ อรหันตตุม พระอรหันตยามใจ มีเรื่องเลาอยู 2 เรื่องนะครับ พระอรหันตตุม คนโกหกผูหนึ่งฝงตุมไวในหอง เมื่อคนมาหาก็เขาไปหลบซอนเสียในตุม มนุษยทั้งหลายเขาไปในหองไมเห็น ก็ ออกมาถามลูกศิษยวาพระคุณเจาไปไหน ในหองไมมี พวกศิษยก็บอกวาทานอยูในหองนั่นแหละ ไมไดไปไหนเลย
30 ความสุขที่หาไดงาย
พวกมนุษยก็เขาไปในหองอีกครั้งหนึ่ง ขณะนั้นคนลวงก็ออกมาจากตุมแลว (เขาฝงตุมไวในหองได เพราะเปน กระทอมดิน) ก็เห็นพระคุณเจานั่งอยูบนตั่ง ก็วาพระคุณเจาเมื่อสักครูนี้เอง พวกขาพเจาเขามาไมเห็นพระคุณเจาจึงออกไป ทานไปไหน คนหลอกลวงก็แสดงอาการดุจดังขีณาสพ คือผูสิ้นกิเลส บอกวาสมณะทั้งหลายยอมจะไปสูที่อันตนปรารถนา อรหันตยานไทร มีอีกเรื่องหนึ่ง มีสมณะหลอกลวงอีกผูหนึ่ง อยูในบรรณศาลา ใกลภูเขาลูกหนึ่ง ขางหลังบรรณศาลาก็มีตนไทรใหญ ตนหนึ่ง ยานของมันก็ยื่นออกไปไกล ปลายไปจรดดินแหงหนึ่ง มนุษยทั้งหลายไปหาตามทางเดิน ถึงบรรณศาลาก็นิมนต คนโกหกเขาก็ลงทางยานไทร (หมายถึง รากไทรที่หอยยอยลงมา) ถึงประตูบานของผูนิมนตกอน เมื่อมนุษยทั้งหลายผูมาภายหลังเห็นทาน ก็ถามวาทานมาอยางไร เขาก็ตอบวา ธรรมดาทางมาของสมณะทั้งหลายไม ควรจะทํา สมณะยอมไปสูที่ของตนตามปรารถนา ครั้งนั้น มีคนหนึ่งคอยสังเกตดู เห็นสมณะผูนั้นลงไปทางยานไทร ตอมาจึงตัดยานไทรนั้นใหคอดกิ่วเอาไว เมื่อคนมา นิมนต สมณะหลอกลวงคนนั้น ก็ลงทางยานไทร แลวก็ตกลงมา บาตรดินก็แตกกระจาย เขารูวามนุษยทั้งหลายรูเรื่องแลวจึง หนีไป ทานสอนใหเปนผูรูจักประมาณและอยาหลอกลวง ทานสอนใหรูจักประมาณในการรับ หลีกเลี่ยงความเปนผูมักมาก ความเปนผูปรารถนามาก และความเปนผูหลอกลวง มีอยางไรก็แสดงไปอยางนั้น คือแสดงไปตามที่เปนจริงดีกวา เรื่องของความสันโดษ นับวาเปนคุณธรรมที่สําคัญที่พระพุทธเจาไดทรงยกยองมากทีเดียว ในการสนทนากัน ชาว พุทธก็ควรสนทนากันในเรื่องความมักนอย ความสันโดษ เพือ่ จิตใจจะนอมไปในทางมักนอยและสันโดษ ทานจึงจัดไวเปน กถาวัตถุขอที่ 1 และขอที่ 2 คือกถาที่วาดวยความมักนอย และกถาที่วาดวยความสันโดษ ใหพุทธบริษัทหมั่นสนทนา หมัน่ พูดหมั่นคุย หมั่นชักนํากันในเรื่องนี้ ก็จะเกิดประโยชนทางดานจิตใจ ทั้งแกตนและบานเมือง บานเมืองของเราก็จะสงบสุข รมเย็น ไมมคี นมักมาก ไมมีคนหลอกลวง ไมมีคนกอปญหามากมายใหสังคม ซึ่งเปนอยูในเวลานี้ เพราะเหตุที่ขาดความมัก นอย และขาดความสันโดษ
31 ความสุขที่หาไดงาย
ผมขอยุติการสนทนาธรรมในเรื่องความมักนอยและความสันโดษ ซึ่งอยูในกถาวัตถุ 10 ไวแตเพียงเทานี้ ขอความสุข สวัสดีความเจริญในธรรม ความมักนอย ความสันโดษ ความสงบสุข พึงมีแดทานผูฟงทั้งหลายโดยทั่วกัน สวัสดีคะ
32 ความสุขที่หาไดงาย
33 ความสุขที่หาไดงาย
ความสงบ (ปวิเวกกถา)
34 ความสุขที่หาไดงาย
สารบัญ ความสงบ v วิเวกคืออะไร - กายวิเวก - จิตวิเวก - อุปธิวิเวก
38 39 39
v วิวิตตสูตร - วิเวก 3 ของภิกษุ 1. ภิกษุเปนผูมีศีล ละความทุศีล - ความเปนผูมีศีล มี 5 อยาง คือ 1. ไดโภคะมาก 2. ชื่อเสียงเกียรติคุณอันดี 3. เปนผูแกลวกลา 4. ไมหลงตาย 5. ไปสูคติ
40 41 41 42 43 43 43
2. การละมิจฉาทิฏฐิ - เหตุเกิดของมิจฉาทิฏฐิ 1. ปรโต โฆษะ 2. อโยนิโสมนสิการ 3. การละอาสวะ - อาสวะ มี 4 ประการ คือ 1. กามาสวะ 2. ทิฏฐาสวะ 3. ภวาสวะ 4. อวิชชาสวะ - คุณลักษณะของชีวิตที่ดี
43 44 44 44 44 45 45 49 60 65 66
35 ความสุขที่หาไดงาย
1. ปญญารูตามความเปนจริง 2. คุณธรรมเพื่อความดีงาม 3. ใหเขาถึงความสุข v ภาคผนวก พลังแหงความเงียบ
36 ความสุขที่หาไดงาย
66 67 68 71
“ถาเราอยูกับความวิเวกได อยูกับความสงบสงัดได เราจะมีความสุขอยางยิ่ง”
37 ความสุขที่หาไดงาย
ความสงบ สวัสดีครับ ทานผูฟงที่เคารพทุกทาน นี่คือเสียง ธรรมจากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย รายการนี้เปนรายการวิเคราะหธรรม ซึ่งดําเนินรายการโดยผม - วศิน อินทสระ ผมจะมาพบกับทานผูฟงทุกวันอังคาร เวลายี่สิบนาฬิกาเศษๆ ทางสถานีวิทยุพล.ม.2 963 รายการนี้ไดดําเนินมาครบ 2 เดือนพอดี ครั้งนี้เปนครั้งที่ 9 เพราะวาเดือนนี้มี 5 ครั้ง ผมไดพูดถึงเรื่องกตัญูกตเวที มาเปนเรื่องแรก เรื่องตอมา เปนเรื่องของความมักนอย ความสันโดษ เกี่ยวกับกถาวัตถุ ผมจะพูดธรรมะตามตัวอักษร วันนี้ยังเปนอักษร ก.อยู ตอนนี้พูดเรื่องกถาวัตถุ 10 พูดมาได 2 ขอแลว คืออัปปจฉกถา ถอยคําที่ชักนําใหมีความปรารถนานอย มักนอย และสันตุฏฐิกถา ถอยคําที่ชักนํากันใหมีความสันโดษ ยินดีในทางสุจริต ยินดีตามที่ได ตามที่มี ตามที่เปน ตามกําลัง ตามสมควร วันนี้จะเริ่มหัวขอใหม เปนกถาที่ 3 ของกถาวัตถุ คือปวิเวกกถา ปวิเวกก็คือวิเวกนั่นเอง ผมไดพูดอยูเสมอกับใครตอใครที่เขารูสึกเหงา รูส ึกวาเหว รูสึกอยูคนเดียวไมคอยได บอกวาที่จริงแลวความวิเวก ความสงัด เปนสหายที่ประเสริฐของเรา ถาเราอยูกับความวิเวกได อยูกับความสงบสงัดได เราจะมีความสุขอยางยิ่ง หรือวาอยูไดในสถานการณทุกอยาง แมจะอยูในที่วุนวายบาง แตถาจิตใจของเราไมคอยวุนวาย ก็อยูได ถาอยูใ นที่วิเวก ในที่สงบสงัด ถาอยูคนเดียวได นึกถึงพระที่ทานอยูในปารูปเดียว ทานอยูไดอยางไร ทามกลางความเงียบสงัด ทามกลางสิงสาราสัตวตางๆ ทานอยูได บางทีเราอยูบาน อยูคนเดียว อยูในทีซ่ ึ่งมีบานเรือนอยูติดๆกันเยอะแยะ แตบางคนก็อยูคนเดียวไมคอยได เพราะไมคุนกับความวิเวก ที่จริงความวิเวก เปนสิ่งที่เปนประโยชนแกเรามาก อยางที่ทานพูดถึงวิเวก 3 กอนที่จิตจะสงบ เราก็ไดกายวิเวกกอน กายวิเวก คือความสงัดทางกาย รางกายที่ตัวเราไดอยูในที่ที่สงบสงัด ไมมีสิ่งรบกวน ไมมีสิ่งที่จะมาทําใหวุนวายหรือไมคลุกคลีกันจนวุนวาย อยางนี้ก็ไดความสงัดทางกายในการปฏิบตั ิธรรม หรือในการศึกษาเลาเรียน
38 ความสุขที่หาไดงาย
เด็กๆที่จะเรียนหนังสือ ก็ตองการความเงียบ ถามีเสียงมารบกวน เสียงนี่เปนอันตรายกับความสงบ เด็กก็รูสึกไมสบายที่จะดูหนังสือหรือทํางานใหเปนสมาธิ ฉะนั้น เวลาที่จะทํางานใหประณีตก็ตองการความวิเวก ความสงบ และสบาย นี่คือกายวิเวก ไดเสนาสนะที่เหมาะสม ที่จะทําสิ่งนั้นๆ เรียกวาให เสนาสนะสัปปาย คําวาสบายในภาษาไทย ก็มาจากสัปปายะในภาษาบาลีนี่เอง สัปปายะไมไดหมายความวาสบาย สบายแลวก็นอน ไมใชอยางนั้น แตหมายความวามันเหมาะสม เปนสถานที่ เปนเสนาสนะที่เหมาะสม ในการที่จะทํากิจที่กําลังทําอยูเวลานั้น อยางนี้ก็เรียกวาเสนาสนะสัปปายะ คนที่จะศึกษาเลาเรียน คนที่จะทํางานใหไดดี คนที่จะทําสมาธิวิปสสนา คนที่จะทําจิตใจใหสงบ ถาไดเสนาสนะที่ดีเปนสิ่งแวดลอมที่ชวยใหงายขึ้น ดีขึ้น นี่กไ็ ดกายวิเวก เมื่อไดจติ วิเวก ความสงบจิต ความสงัดจิต อันนี้ความหมายโดยธรรมสามัญ โดยปริยายเบื้องต่ํา ก็คือจิตสงบพอที่จะทําอะไรได ไมฟุงซาน ไมถูกนิวรณรบกวนมากน แตถาปริยายเบื้องสูง ทานก็หมายถึงสมาธิในระดับฌาน ไดฌานในระดับตางๆ จิตสงบดิ่งอยูในอารมณเดียว ทานเรียกวาฌาน มีอีกวิเวกหนึ่ง คือ อุปธิวิเวก อุปธิในที่นี้หมายถึงกิเลส สงัดจากกิเลส หมายความวา จิตใจหางจากกิเลส พนจากกิเลส ตั้งแตพระโสดาบันขึ้นไป ซึ่งตัดกิเลสไดเด็ดขาดเปนเรื่องๆไป เปนขอๆไป จนตัดไดหมดสิ้น หางไกลจากกิเลส เปนอุปธิวิเวก นี่คือความหมายของวิเวก หรือปวิเวก ปวิเวกกถา เราชักนํากันใหพอใจในความสงบสงัด ไมพอใจในการคลุกคลีโดยไรความหมาย หรือไรประโยชน คลุกคลีกันเกินเหตุ คลุกคลีกันโดยไมจําเปน ซึ่งในหัวขอตอไปคือหัวขอที่ 4 อสังสัคคกถา คือพูดจาชักนํากันในการทีจ่ ะไมใหคลุกคลีดวยหมูคณะกันเกินเหตุ หรือไมจําเปน หัวขอที่ผมจะขยายในที่นี้ จะขยายตามแนวของพระสูตร ซึ่งเห็นวาดีมาก เรียกวาวิวิตตสูตร เปนวิเวก 3 ของภิกษุ คําวาภิกษุ ทานผูฟงโปรดทราบวา พระพุทธเจาเวลาแสดงธรรม ทานกลาวถึงภิกษุ แตโดยใจความจริงแลวหมายถึงผูปฏิบัติธรรมทั้งหมด อันนี้ผมไมไดพูดเอาเองนะครับ เปนนัยอรรถกถา เชน ในอรรถกถามหาสติปฏฐานสูตร ทานอธิบายถึงคําวาภิกษุ ขยายความเปนวา หมายถึงผูปฏิบัติธรรมทั้งหมด 39 ความสุขที่หาไดงาย
คือใครปฏิบัติในสติปฏฐานนี้ ผูนั้นก็ชื่อวาเปนภิกษุ ภิกษุในความหมายวาผูทุบ ผูทําลายกิเลส ผูเห็นภัยในสังสารวัฏ ภิกษุตามความหมายโดยความหมายที่แทจริง ไมใชโดยรูปแบบ ภิกษุทั่วๆไปก็มีภิกษุโดยรูปแบบบาง ภิกษุในความหมายที่แทจริงบาง บางทานก็มีทั้งสองอยาง คือทานมีรูปแบบเปนนักบวช นักพรต เปนภิกษุ และทานมีความหมายจริงๆ ดวย คือทานเปนผูมีปฏิปทาในการทุบกิเลส ทําลายกิเลส เห็นภัยในสังสารวัฏ ในวิวิตตสูตร คัมภีรอังคุตตรนิกาย พระไตรปฎกเลม 20 ขอ 533 พระพุทธเจาทรงแสดงวา 1. ภิกษุเปนผูมีศีล ละความทุศีล สงัดหรือหางไกลจากความเปนผูทุศีลนั้น 2. เปนสัมมาทิฏฐิ ละมิจฉาทิฏฐิ เปนผูหางไกลจากมิจฉาทิฏฐินั้น 3. เปนผูสิ้นอาสวะ ละอาสวะได หางไกลจากอาสวะนั้น นี่คือปวิเวก ความสงัดของผูปฏิบัติ ผูเชนนี้แหละพระพุทธเจาตรัสเรียกวา เปนผูถึงความเปนเลิศ ถึงสาระอันบริสุทธิ์ ตั้งอยูในธรรมอันเปนสาระ เปรียบเหมือนคหบดีชาวนา เมื่อขาวสาลีในนาสุกดีแลว เก็บเกี่ยว ขนเขาลาน นวด เอาฟางออก รวมขาวเปลือกไวเปนกอง ฝดขาว ซอมขาวเอาแกลบออก เหลือแตสวนที่เลิศ คือเม็ดขาวสาร สะอาดหมดจด เปนสิ่งมีแกนสาร คือมีสาระในที่จะหุงและบริโภค ผมจะขอขยายความในแตละขอตอไป ขอ 1 คือ หางไกลจากความทุศีล ทุศลี คือไรศีล ไมมีศีล แลวก็มาเปนผูมีศีลมีธรรม การมีศีลมีธรรมนั้นทําใหรูสึกวาปลอดภัย ไมตองระแวงวาใครจะทําราย หรือใครจะโจทกทวง ชี้หนาตําหนิในขอบกพรองเกี่ยวกับศีลหรือความประพฤติ ทําใหโปรงใจไมอึดอัด ไมกังวลหรือระแวงผูอื่นจนเกินเหตุ เพราะวามองไมเห็นขอบกพรองของตน
40 ความสุขที่หาไดงาย
ทานจะสังเกตวาคนที่มีความบกพรองหรือคนที่ทําความผิด พอเดินไปผานกลุมคน ถาเห็นเขาซุบซิบกัน ก็รูสึกระแวงวาเขาจะวาตัวหรือเปลา เพราะวามีผิดอะไรอยู แตถาคนที่ไมมีความผิด ใครจะพูดอะไร ก็ไมรูสกึ อะไร เพราะวาไมระแวงไมนึกถึงความผิดของตัว ไมกลัว ฉะนั้น พระพุทธเจาจึงไดทรงแสดงอานิสงสของความเปนผูมีศีลเอาไว 5 อยาง คือ ขอ 1. ไดโภคะมาก ไมเสื่อมจากโภคะที่ไดแลว อามิสโภคะ คือโภคะอยางที่ชาวบานรูๆกันอยางโภคทรัพย สินทรัพย คนทีม่ ีศีลจะไดโภคะมาก ไมเสื่อมจากโภคะที่ไดแลว เพราะวาเขาเวนอบายมุข ตั้งตนอยูในสัมมาอาชีวะ ก็ไมเสือ่ มจากโภคะที่ไดแลว รักษาโภคะไวไดแลวก็มีโอกาสจะไดโภคะมากดวย เพราะความเปนผูมีศีลนั่นเอง เพราะฉะนั้น ในอานิสงสของศีล ทานก็บอกวา สีเลนะ โภคะ สัมปทา เปนผูบริบูรณดวยโภคะก็เพราะมีศีล ทานคิดอยางนี้ก็ได บางคนมีความผิดแรงๆ แลวก็ ตองตอสูในโรงในศาล ตองเสียทรัพยไปตั้งเทาไหร บางทีตองไปติดคุกเปนเวลานานๆ บางคนก็ติดตลอดชีวิตเพราะฆาเขาตาย เพราะไปลวงศีลขอที่ 1 ปาณาติบาต โภคะที่เคยหาไดก็หาไมไดแลว ที่มีอยูแลวก็รักษาไมได มันก็เสื่อมไปจนหมด หมดเนือ้ หมดตัว เมื่อตอนเย็น ผมฟงพระเทศน สถานีวิทยุ 01 มีนบุรี พระทานเลาถึงเรื่องคนคนหนึ่งขี้เมา มีชีวิตอยูก็เลนการพนันบาง เมาบาง เย็นลงมาก็ชวนกันกินเหลาเมายา ใครชวนไปทําบุญใหทานที่ไหนก็ไมไป วันหนึ่ง ก็นั่งกินเหลากันอยู ก็หัวเราะกันไป หงายหลังตกลงไปจากชั้นบนลงไปชั้นลาง ตางจังหวัดเขาปลูกบานใตถุนสูง ตกลงไปใตถุน ปรากฏวาตาย พอดีลูกสะใภมีทองอยู ก็ปรากฏวามาเกิดเปนลูกของลูกสะใภ ทานเลาตอไปวา ตั้งแตเด็กคนนี้เกิดมา แมไมมีนมใหเด็กกิน ตามธรรมชาติแมตองมีนมใหลูกกิน แตนี่ไมมี ตองไปขอนมคนอื่นใหลูกกิน เพราะไมไดทําบุญทําทานอะไรเอาไว ก็แปลกดี
41 ความสุขที่หาไดงาย
เลาแคนี้กอนนะครับ นี่ยกตัวอยางมาใหฟงวา คนมีศีลจะทําใหเปนคนที่ไดโภคะ ทั้งรักษาโภคะที่มีอยูแลวไมใหเสื่อม เพราะเวนอบายมุขไดทั้งหมด เวนอบายมุขไดอยางเดียวก็ปองกันความเสื่อมไดเยอะแลว ตอไปก็มีแตทําความดี พัฒนาขึ้นไปไมมีสวนลบ ไมมีสวนทีท่ ําใหเสื่อม ทําความดีไดเทาไหรมันก็เทานั้น ไมมีสวนที่จะมาติดลบ พระพุทธเจาก็บอกแลววาอบายมุขมันเปนปากทางของความเสื่อม ขอ 2. ชื่อเสียงเกียรติคุณอันดี ยอมฟุง ขจรไปวาเปนคนมีศีลมีธรรม นาไววางใจ ไมเปนที่หวาดระแวงของใครๆ ทานดูสิครับ เวลานี้คนเขาหวาดระแวงกันเทาไหร คดีขมขืน คดีฉุดคราอนาจาร คดีทํารายเจาทรัพย คดีเยอะแยะไปหมด เพราะคนไมมีศีล ทําใหคนไมไววางใจกัน เดินไปในที่เปลี่ยวๆ หมามันเดินตามไปขางหลัง คนยังรูสึกสบายใจกวาคนเดินตาม คนที่ไมรูจักกัน ไมรูจะทําอะไรเราหรือเปลา เด็กๆผูหญิงสมัยนี้นาสงสารแคไหน ทานลองนึกดู ตองระแวงภัยมากมาย ทําอยางไรใหผูชายทั้งหลาย ทําตัวใหรูสึกวาไมมีภัยจากเรา ใหใครเขาคบเราไดสนิทใจ เราเปนผูมีศีลมีธรรม เย็นใจได ไวใจได ศีล (ศี-ละ) แปลวาเย็นก็ได เย็นจากเรา ไมตองกลัววาจะมีภัยจากเรา ถาทําไดอยางนี้ บานเมืองก็ดี เจริญ สังคมนั้นก็เจริญ ผมเองก็ใฝฝนในเรื่องพวกนี้มาก พยายามคุยกันสอนกัน ทั้งเขียนหนังสือ ทั้งพูดออกอากาศ ก็อยากจะใหสังคมเราดีขึ้น คือการที่คนไมไววางใจกัน มันเสียศักดิ์ศรีของมนุษย มนุษยจะตองกูศักดิ์ศรีของมนุษยเรื่องนี้ขึ้นมา มนุษยควรจะตองไววางใจมนุษยได แตมนุษยที่ไมดี มันทําใหเปนตัวอยาง ใหคนไมไววางใจ เราก็เห็นใจเขา เพราะวามันมีคดีตัวอยางที่ไมนาไววางใจอยูมาก แมจะมีคนที่นาไววางใจ เขาก็ระแวงไวกอน ถาทานขับรถไป เจอผูหญิงคนหนึ่งยืนอุมลูกตัวเล็กๆอยูกลางแดด ทาทางเหมือนจะไปโรงพยาบาลไปหาหมอ คอยรถเมลอยู ขี้ฝุนก็เยอะ โดยเฉพาะที่เมืองนนทนี่ ขี้ฝุนเต็มเมืองเลยเดี๋ยวนี้ ยังสรางกันไมเสร็จเลยถนนหนทาง ไมทราบเมื่อไหรจะเสร็จ ใครที่เกี่ยวของกับเรื่องนี้ก็ชวยดูๆหนอยนะครับ ถาทานเจอผูหญิงอยางนั้น แลวจะแวะรับเขาไปสง เขาไมยอมหรอกครับ แมจะมีผูชายยืนอยูดวย จะเปนนองหรือเปนสามีก็ตาม ไมยอมไปกับทานหรอก เพราะเขาไมไววางใจ ถึงทานจะมีเจตนาบริสุทธิ์สักเทาไหร มันเปนการปดกั้นโอกาสที่จะทําความดี คนที่ทําความเสียเอาไว ทําใหมนุษยขาดความไววางใจมนุษย มันทําใหคนที่เขาเปนคนดี เสียโอกาสที่จะทําความดี 42 ความสุขที่หาไดงาย
อานิสงสขอที่ 2 นี้ จึงบอกวาชื่อเสียงหรือเกียรติคุณอันดียอมฟุงขจรไป วาเปนคนดี มีศีลธรรมนาไววางใจ ไมเปนที่หวาดระแวงของใครๆ ถาตรงกันขาม ก็คือชื่อเสียงที่เสียก็ยอมฟุงขจรไปวาเปนคนไมมีศีลไมมีธรรม ไมนาไววางใจ เปนที่หวาดระแวงของคนทั้งหลาย อานิสงส 2 ขอนี้ตรงกับที่พระพุทธเจาทรงยกยองชมเชยคหบดีคนหนึ่ง ซึ่งเปนสาวกของพระองคและเปนอนาคามีดวยวา สทฺโธ สีเลน สมฺปนโน ยโสโภคสมปฺปโต ยํ ยํ ปเทสํ ภชติ ตตฺถ ตตฺเถว ปูชโิ ต บุคคลผูมีศรัทธา สมบูรณดวยศีล ยอมเปนผูมียศคือเกียรติ หมายถึงเกียรติยศ และพรั่งพรอมดวยโภคะ ทานไปที่ใดๆ ก็ยอมไดรับการบูชาในที่นั้นๆ ทุกแหงไป นี่เปนอานิสงสของการเปนผูมีศีลดี ทานจึงบอกวาใหเปนผูมีศีลธรรมดี ถึงจะมีความสุข ขอ 3. เปนผูแกลวกลา อาจหาญ ไมเกอเขินในประชุมชน มีความเชื่อมั่นในตนเองสูง เพราะมั่นใจในคุณธรรมของตน ขอ 4. เมื่อตนสิ้นชีพ จะมีสติสัมปชัญญะคุมครองตนได ไมหลงต ขอ 5. เมื่อสิ้นชีพแลว ไปสูสุคติ คือภพภูมิที่ดี ไมตอง ไปอบายภูมิ ขอ 2 การละมิจฉาทิฏฐิ หางไกลจากมิจฉาทิฏฐิ เปนผูมีสัมมาทิฏฐิ มิจฉาทิฏฐิ พระพุทธองคตรัสวาเปนยอดโทษ ใชพระพุทธพจนวา มิจฉาทิฏฐิปรมานิ ภิกฺขเว วชฺชานิ ภิกษุทั้งหลาย โทษทั้งหลายมีความเห็นผิดเปนอยางยิ่ง หมายความวา บรรดาโทษทั้งหลาย มิจฉาทิฏฐิเปนโทษที่มาก หรือเปนยอดโทษ เพราะวาเปนตนเคาของมิจฉาทิฏฐิอื่นๆมากมาย เชน เมื่อมีมิจฉาทิฏฐิแลว มิจฉาวาจาก็จะตามมา คือเขาพูดสิ่งใดตามความเห็นผิด คําพูดของเขาก็เปนมิจฉาวาจา เขาไปกระทําสิ่งใดเพราะความเห็นผิดเปนเหตุ การกระทําของเขาก็เปนมิจฉากัมมันตะ 43 ความสุขที่หาไดงาย
เขาไปประกอบอาชีพที่ผิดก็เปนมิจฉาอาชีวะเขาไปใชความพยายามผิดเปนมิจฉาวายามะ ตั้งสติผิดเปนมิจฉาสติ ตั้งใจมั่นผิดเปนมิจฉาสมาธิ มันก็จะเปนมิจฉาไปหมดเลยทั้งกระบวน เพราะฉะนั้น มิจฉาทิฏฐิจึงเปนสิ่งที่สําคัญเปนยอดโทษ ในทางกลับกัน สัมมาทิฏฐินี่ก็เปนยอดคุณ เพราะวาเมื่อไดสัมมาทิฏฐิแลว คุณธรรมอื่นๆหรือสิ่งอื่นๆที่เปนประโยชนก็จะตามมา เชน สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา เปนตน เหตุเกิดของมิจฉาทิฏฐิ มี 2 อยาง คือ 1. ปรโต โฆษะ คือไดยินไดฟงสิ่งที่ไมดีอยูบอยๆ เนืองๆ 2. อโยนิโสมนสิการ ขาดความคิดที่ถูกตองแยบคาย คิดไมเปน คิดไมลึกซึง้ คิดตื้นๆ คิดไมรอบ คิดอยางไมฉลาด ก็ทําใหเกิดมิจฉาทิฏฐิขึ้นมา ดังนั้น เหตุเกิดก็มี 2 อยาง คือสิ่งแวดลอมภายนอก อาจจะเปนตัวบุคคล เปนสํานึก เปนสิ่งแวดลอมอื่นๆใกลตัวไกลตัวก็แลวแต และอีกสิ่งหนึ่งก็คือการคิดไปไมรอบคอบของตัวเอง สัมมาทิฏฐิ จะตรงขาม เปนยอดคุณ ผูที่เปนสัมมาทิฏฐิ จะเกิดมาเปนประโยชนยิ่งใหญแกโลก เพราะวาสามารถนําบุคคลเขาสูคลองแหงศีลธรรม ทําใหความดียั่งยืนอยูในโลก เหตุเกิดของสัมมาทิฏฐิ ก็มี 2 อยางเหมือนกัน คือ ขอ 1. ไดยินไดฟงสิ่งที่ดีๆจากครูบาอาจารย จากสํานัก จากกัลยาณมิตร จากใครที่เปนสัมมาทิฏฐิ เปนตัวจูงใจ ขอ 2. อาศัยตัวเองที่เปนคนคิดเปน เรียกวามีโยนิโสมนสิการ ถาในสังคมของเรา คนพยายามละมิจฉาทิฏฐิกันใหมาก คือเห็นตรงตามความเปนจริง อะไรชั่วก็เห็นเปนชั่ว อะไรดีก็เห็นเปนดี อะไรนําไปสูความทุกขความเดือดรอนก็เห็นวาเปนสิ่งที่นําไปสูความทุกขความเดือดรอน อะไรที่นําไปสูความสุขความเจริญ ก็เห็นถูกตองวานําไปสูความสุขความเจริญ เห็นอบายมุขเปนสิ่งควรเวน เห็นบุญกุศล เห็นคุณงามความดีเปนสิ่งควรทํา เห็นธรรมะเปนสิ่งควรฟง ดังนี้เปนตน สังคมของเราก็จะหางไกลจากมิจฉาทิฏฐิ แลวก็จะกลับเปนสังคมสัมมาทิฏฐิ การบริโภคใชสอย การทําสิ่งที่ไมจําเปนก็จะถูกตัดไป เราจะเหลืออยูเฉพาะสิ่งที่จําเปนแกชีวิต การใชจายก็ไมมากนัก เพราะวาคนมีความเห็นถูกตอง วาอะไรควร อะไรไมควร สัมมาทิฏฐิมีประโยชนอยางนี้ 44 ความสุขที่หาไดงาย
ขอ 3 การละอาสวะ ละอาสวะไดแลวหางไกลจากอาสวะ เปนผูไมมีอาสวะ อาสวะคือ กิเลสที่หมักดองอยูในจิตหรือในสันดาน เหมือนสิ่งที่หมักดอง ทําใหผูดื่มกันมึนเมา พระพุทธเจาไดทรงแสดงไว 4 ประการ คือ 1. กามาสวะ กิเลสเครื่องหมักดองจิตคือกาม หมายถึงกามคุณ ไมใชกามารมณอยางเดียว 2. ทิฏฐาสวะ กิเลสเครื่องหมักดองจิตคือ ทิฏฐิ 3. ภวาสวะ กิเลสเครื่องหมักดองจิตคือความมีความเปน หรือความติดในภพ 4. อวิชชาสวะ กิเลสเครื่องหมักดองจิตคืออวิชชา ผมจะพูดรายละเอียดของทั้ง 4 ขอนี้ 1. กามาสวะ กาม ตามตัวก็แปลวาความใคร หรือวัตถุที่ใครก็ได ถาวัตถุที่ใครก็เรียกวาวัตถุกาม มี 2 อยาง คือ กิเลสกาม หมายถึงความใครความกําหนัดพอใจในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ คือสิ่งที่มาถูกตองกาย และธรรมารมณ คือเรื่องราวตางๆที่จิตใจชอบ อันนี้เปนตัวกิเลสที่อยูภายใน วัตถุกาม หรือกามวัตถุ หมายถึงสิ่งเราภายนอก มีรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่นาพอใจ นาปรารถนา ถาเราสังเกตจะพบวา มนุษยและสัตวโลกในชั้นกามาวจร ซึ่งแปลวาทองเที่ยวอยูในกาม กามในทีน่ ี้ไมไดหมายถึง กามคุณ กามารมณอยางเดียว กามารมณนั้นคือ Sensual เกี่ยวกับทางเพศ กามคุณมันจะรวมทั้งรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ มันเปน Sensual เกี่ยวกับ Sense ทั้งทางตา หู จมูก ลิ้น ซึ่งก็หมายถึงรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่นาปรารถนา นาพอใจ เทวดา มนุษย สัตวเดรัจฉาน ก็อยูในชั้นกามาวจรทองเที่ยวอยูในอารมณที่เกี่ยวกับกาม ติดใจในกาม ติดในรสของกาม ครึกครื้นในกาม ถูกกามดักจิตเอาไว และผูกมัดเอาไว ก็หลงเหยื่อคือกาม จึงติดเบ็ดดิ้นไมหลุด ตนเองตองตกเปนเหยื่อและตกเปนทาสของโลก ที่บุคคลผูนั้นหลงเหยื่อของมันนั่นเอง รูปเปนตนนี้เปนวัตถุกาม ที่จริงก็เปนมายาที่ซับซอนยากที่โลกียชนจะรูเทาทันได เพราะโดยปกติปุถุชน หรือโลกียชนจะมองอะไรก็มองเพียงดานนอก และเพงเล็งแตเรื่องวาพอใจหรือไมพอใจ ชอบหรือไมชอบเทานั้น อะไรที่ตัวชอบก็วาดี อะไรที่ตัวไมชอบก็วาไมดี คือตัดสินสิ่งตางๆ ตามความชอบหรือไมชอบของตัว 45 ความสุขที่หาไดงาย
เพราะฉะนั้น จึงมองไมเห็นทะลุถึงความจริงได จิตใจของคนสวนมากจึงถูกเคลือบหรือหอหุมไวดวยความใคร ความปรารถนา ความกําหนัดขัดเคือง และลุมหลง จนแสงสวางคือปญญาสาดสองเขาไปไมถึง จึงยึดติดอยูกับเปลือกนอกหรือสิ่ง สมุมติ เทาที่มองเห็นและยึดถือเปนจริงเปนจัง เห็นวาเปนตนบาง เปนของตนบาง ถาพิจารณาใหดี ก็จะมองเห็นไดชัดเจนวาอะไรเปนสิ่งสมมุติ อะไรเปนสิ่งแทจริง แตบางทีเปลือกมันหอหุมไวหลายชั้น หนาแนน ก็เลยทําใหคนที่มีปญญาจักษุนอย มองไมเห็น และถลําเขาไปในทุกขตางๆมากมาย บางทีความทุกขที่สุขุม ก็ตองใชปญญาที่สุขุมจึงจะมองเห็นได ปลาที่มีกางละเอียด ฝงอยูในเนื้อ ไมเหมือนปลาที่กางอยูตางหาก เนื้ออยูตางหาก เนื้อหุมกางอยู พอแกะเนื้อออกมาก็เห็นกาง แตวาปลาบางชนิด มันจะมีกางฝงอยูในเนื้อ ถาเผื่อมองไมดีก็จะไมเห็น ก็เปนสิ่งที่ทําใหคนที่มีปญญาจักษุนอย มีธุลใี นจักษุมาก มองไมเห็นความทุกขที่สุขุม หลงยึดเอาวาเปนสุข เพราะฉะนั้น ในทางพุทธศาสนาจึงบอกวา สิ่งที่ปุถุชนเห็นเปนสุขนั้น พระอริยะเห็นเปนทุกข สิ่งที่พระอริยะเจาเห็นเปนความทุกข ปุถชุ นเห็นเปนความสุข สวนทางกันอยู เมื่อวัตถุกามที่บุคคลยึดติดอยูนั้นแปรปรวน เปลี่ยนแปลงไปเปนอื่น ไมเปนไปตามที่เขาปรารถนา เขาก็ทุกขรอน โศกเศราร่ําไรรําพัน อยางที่ไมอาจที่จะหักหามใจได เพราะวาไดทุมตัวลงไปเพื่อสิ่งนั้นหมดเลยทีเดียว เมื่อโทษของกามคุณปรากฏใหเห็นชัดเจนเชนนั้น เขาก็ยังมองไมเห็นวานั่นเปนโทษของกามคุณ ไมเคยสําเหนียกรู ก็หมกมุนพัวพันแสวงหาความพอใจอยูแตกับอัสสาทะ แปลวารสที่นาพอใจของสิ่งนั้น ซึ่งมันเปนเพียงเล็กนอย เปนของเล็กนอย เขาไมไดตระหนักถึงโทษอันมากมายของสิ่งนั้น ของกามคุณนั้น ไมตองกลาวถึงวาจิตใจใฝหาที่จะออกไปเสียจากกามคุณ เปนกามาสวะ ปุถุชนหรือโลกียชน จึงหมดตนอยูกับกามคุณ รูจ ักแตรสของกามคุณ แสวงหาและปรนเปรอตนและผูอื่นดวยกามคุณ ตองการยิ่งๆขึ้นไป นี่คือกามาสวะ กิเลสที่หมักดองคือกาม
46 ความสุขที่หาไดงาย
มีนิทานชาดกที่พระพุทธเจาไดทรงแสดงถึงเรื่องสุนัขจิ้งจอก ตัวหนึ่ง อาศัยอยูที่ฝงแมน้ําใกลปาแหงหนึ่ง ครั้งนั้นก็มีชางแกตัวหนึ่ง ลมตายลงที่ฝงแมน้ํา สุนัขจิ้งจอกเที่ยวหากิน พบซากชาง ดีใจวานี่คือเหยื่อชิ้นใหญอนั โอชะของเรา มันก็กัดที่งวง รูสึกเหมือนกัดที่งอนไถ จึงรูวาตรงนี้ไมควรกิน มันก็ไปกัดที่งา รูสึกเหมือนกัดเสา จึงรูวาตรงนี้ก็ไมควรกิน กัดตรงนั้นตรงนี้เรื่อยไป ก็รูวาไมควรกิน จนกระทั่งไปถึงเวจมรรค คือทวารหนักของ ชาง ก็รสู ึกวานุมดีนากิน จึงตกลงใจกัดเนื้อที่ทวารจนเปนโพรง แลวก็เขาไปในทอง ในลําไส ปอด มันกัดกินตับ หัวใจ เปนตน พอกระหายน้ําก็กินเลือดของชาง ตรงนี้ผมเองก็สงสัยวา ชางตายมานานเทาไหร ตายแลวมันจะมีเลือดใหกินหรืออยางไร ตรงนี้ก็ลองพิจารณาดู แลวมันก็นอนในทองชางนั่นแหละ สุนัขจิ้งจอกก็คิดวา ซากชางนี้เปนเหมือนเรือนของมัน เปนที่อยูสบาย เมื่ออยากกินอาหารก็มีเนื้ออยางเพียงพอ เราจะไมไปที่อื่น เราจะอาศัยกินอยูที่นี่แหละ บังเอิญฤดูแลงมาถึง ซากชางก็หดตัวเหี่ยวแหงลง เพราะแดดลมบาง ชองทวารที่สุนัขจิ้งจอกเขาไปก็ปดลง ภายในทองชางก็มืดมิด เนื้อชางก็เหี่ยวแหงลง เลือดก็แหงไปดวย สุนัขจิ้งจอกตัวนั้นก็ไมมีทางออก เกิดความกลัวเปนกําลัง จึงซมซานไปกัดทางนั้นทางนี้ หาทางออกวุนวายไปหมด ทุกขหนัก ลวงมา 2-3 วัน เกิดฝนตกใหญ ซากนั้นก็ชุมไปดวยน้ําฝน จึงพองขึ้น ก็มีสันฐานปกติ ทวารของชางก็เปดออก สุนัขจิ้งจอกเห็นชองนั้น คิดอยางดีใจวา คราวนี้เราก็มีทางออกแลว ถอยหลังไปจนบั้นทายของมันไปชนหัวชาง แลวก็วิ่งปราดไปเอาหัวชนเวจมรรคของชางออกไปได ขนของมันหลุดไปหมดเลย ถลอกติดอยูกับเวจมรรคของชาง สุนัขจิ้งจอกมองดูตัวเอง แลวก็เกิดความสะดุงหวาดหวั่น เพราะเห็นกายของมันที่ไมมีขน วิ่งไปหนอยหนึ่งแลวก็นั่งลง รําพึงวา ความทุกขเกิดแกเราครั้งนี้ ไมใชเพราะสิ่งอื่น แตเปนเพราะความโลภของเรานั่นเอง ความโลภนี่โลภในการกิน ก็ถือเปนความโลภเหมือนกัน เราจะไมยอมอยูใตอํานาจของความโลภอีกตอไป ขึ้นชื่อวาซากชาง จะไมยอมเขาไปอีกเปนอันขาด สุนัขจิ้งจอกก็หนีไปจากที่นั่นทันที ไมเคยเหลียวดูซากชางใดๆอีกเลย แลวก็ไมยอมอยูใตอํานาจของความโลภอีกเพราะเข็ดหลาบตอความทรมานที่มีความโลภเปนเหตุเปนปจจัย
47 ความสุขที่หาไดงาย
พระพุทธเจาทานตรัสเลา เพื่อภิกษุทั้งหลายที่ไมสํารวมในเรื่องนี้ก็แจมแจงอยูแลว ขอเพิ่มเติมอีกเล็กนอยวา บัณฑิตเมื่อไดรับบทเรียนที่ดีสักครั้งหนึ่งแลว ก็จะจําไดตลอดไป คือไมทําผิดในเรื่องเดียวกันเปนซ้ําสอง แตวาคนพาลแมจะไดรับบทเรียนครั้งแลวครั้งเลา ก็ไมหลาบจํา คลายๆมาเลว แมจะถูกแทงดวยปฏักเลือดไหลครั้งแลวครั้งเลา ก็ยังทําผิดซ้ําๆอยูนั่นเอง แตบัณฑิตเหมือนมาดี เพียงแตสารถียกปฏักขึ้น เห็นเงาปฏักก็เรียนรูวาสารถีจะใหตนทําอะไร บางคนเห็นผูอื่นมีความทุกข ก็เฉยๆไมรูสึกอะไร เมื่อตัวเองมีความทุกขนั่นแหละ จึงหวาดหวั่นพรั่นพรึงตอทุกข บางคนพอเห็นคนอื่นมีทุกข แมความทุกขนั้นยังมาไมถึงตัว ก็หวาดเสียว สะดุงตอความทุกข หาทางที่จะพนจากความทุกข ความจริงในชีวิตของคนเรา ความสุขมีเพียงเล็กนอย มิหนําซ้ําสุขที่เล็กนอย ยังเจืออยูดวยทุกขเสียอีก เรียกวาเปนสุขลอทุกข คือเอาสุขมาลอเล็กนอย เพื่อใหติดสุขนั้น แลวก็พบกับความทุกขที่ยิ่งใหญ คลายๆปลาหลงเหยื่อที่พรานเบ็ดเกี่ยวเอาไวที่ปลายเบ็ดก็ติดเบ็ด ความโลภเปนปจจัยสําคัญแหงความทุกขที่ยืดเยื้อ ความโลภมาจากความโลภในอาหาร ในปจจัย 4 ความโลภในเรื่องลาภสักการะ โลภในชื่อเสียง ในเกียรติยศ โลภในความมีความเปน เมื่อมีความโลภก็มีความดิ้นรน เพื่อใหไดมาในสิ่งที่ตัวอยากใหเปนใหมี ก็ไปติดรางแหของความทุกข ซึ่งมีความโลภนั่นเองเปนเปาหมายเอาไวขางหนา เพราะฉะนั้น ผูที่ตองการที่จะลดทุกข หรือพนทุกข ก็ตองพยายามลดความโลภลงในทุกสิ่งทุกอยาง แมจะเปนในเรื่องกามคุณ ในลาภยศชือ่ เสียง เปนอยูดวยความสงบ พอใจในความสงบ ก็จะหาความสุขสงบได งายกวา และดีกวา ประณีตกวาตั้งเยอะ นี่เปนเรื่องนิทานชาดกที่พระพุทธเจาตรัสใหภิกษุทั้งหลาย ที่ปรารภเรื่องภิกษุขาดความสํารวม มีความตรึกในกาม ในพยาบาท ในความเบียดเบียน และทรงเตือนภิกษุเหลานั้นแลวตรัสเลาเรื่องนี้ใหฟง นี่เกี่ยวกับเรื่องกามาสวะ อาสวะคือกามที่เปนที่ติดที่ผูกพันของบุคคลทั้งหลาย
48 ความสุขที่หาไดงาย
2. ทิฏฐาสวะ เรื่องทิฏฐิตามตัว ก็แปลวาความเห็น ถาจะใหเปนดีหรือชั่วก็ใหเติมสัมมาหรือมิจฉาเขามา ในที่นี้พระพุทธองคทรงหมายถึงใหละเวนมิจฉาทิฏฐิ ใหสมาทานอยูในสัมมาทิฏฐิ มนุษยเรานอกจากจะตกอยูในบวงกามที่รัดรึงสัตวทั้งหลายอยูแลว ยังจะมีบวงหรืออาสวะอื่นๆอยูอีกหลายอยาง เชน ในที่นี้ก็คือทิฏฐิ หรือทรรศนะ หรือความเห็น โดยเฉพาะอยางยิ่งคือความเห็นผิด โดยปกติมนุษยเรามีความเห็นหรือความเชื่ออยางใดอยางหนึ่งประจําตัว ถือวาเปนธงของตน ปกใจวาความเห็นหรือความเชื่อของเขาเปนความจริง เมื่อตางคนตางก็ปกใจเชนนั้น ตางก็จะยืนยันความเห็นของตนวาถูกตอง ก็จะมีการทุมเถียงกัน โดยไมไดพิสูจนความจริงวา ความเห็นของตนตรงกับความเปนจริงหรือไม อันที่จริงคนเราถายังไมมีญาณทัสสนะที่ถูกตองถองแท คือยังไมมีความรู ความเห็นที่แนนอนดวยตนเองแลวความรูของเราที่ไดมาจากความเชื่อและเหตุผลแวดลอมในตรรกหรือที่เรียกวา Reasoning เราก็ไมควรจะยึดมั่นถือมั่นในความเห็นมากเกินไป ควรถือไวแตเพียงหลวมๆ เพื่อจะไดเปดใจใหกวางเพื่อจะไดรับความคิดเห็นของผูอื่นดวย คือไมควรจะยึดถือสิ่งใดไวอยางมากเกินไป หรือแนนเกินไป ที่เรียกในภาษาธรรมะวา สัจจาภินิเวส คือยึดมั่นดวยอุปาทาน เคยถือกันมาอยางไรก็ถือกันไปอยางนั้น โดยไมไดทดสอบใหมวาตอนนี้ความจริงไดเปลี่ยนไปแลวอยางไร แตคนสวนมากก็มักจะถืออยางเคยถือกันมา ถาผิดก็ผิดกันตอไป ถาถูกก็โชคดีไป ถาถือไวอยางสมาทาน พระพุทธเจาทานสอนใหถือไวอยางสมาทาน คือใหถือไวเพราะมีปญญาเห็นเหตุผลแจมกระจางแลว ก็จะเปนแบบสัจจานุรักษ รักษาไวเฉพาะสวนที่เปนจริง เวลานี้กําลังอยูในชวงเทศกาลสงกรานต ถาทานเปดวิทยุฟง ทานก็จะไดยินเรื่องสงกรานตกันแทบจะทุกรายการทุกสถานี เรื่องที่เขาเลากันเปนตํานานสงกรานต ก็คือเรื่องธรรมบาลกุมาร เรื่องทาวมหาพรหม เรื่องเศรษฐีที่ไปขอลูกจากตนไทร เรื่องนางสงกรานต ถืออะไรมาบนอะไรตางๆ นิทานเรื่องนี้เปนนิทานของฮินดู เขาเลากันไวตามประเพณีนิยมของฮินดู เราซึ่งเปนชาวพุทธ ไดเคยทดสอบไหมวาเรื่องนี้เปนความจริงแคไหนอยางไร ควรจะรักษาไว คือ เรื่องสงกรานตนี่รักษาไวได 49 ความสุขที่หาไดงาย
ความหมายที่วาเปนเทศกาลขึ้นปใหมแตโบราณของเรา ใหมีการรดน้ําผูใหญ เปนการแสดง กตัญูกตเวที และความออนนอมถอมตนตางๆ ซึ่งเปนคุณธรรมที่ดีงาม แตตํานานสงกรานตที่เลากันมาแตโบราณนั้น และก็มาถึงเรื่องนางสงกรานต เรื่องทาวมหาพรหมถูกตัดศีรษะ ถาโยนลงในทะเลน้ําก็จะแหง โยนขึ้นไปบนอากาศฝนก็จะไมตก นางสงกรานตลูกสาวก็เลยตองถือเศียรของพอเอาไวแลวเวียนเขาพระสุเมรุ วันนี้จะคงไวตอไปหรือจะตัดออกไดลองนึกดู นี่เปนเรื่องที่ถอื กันมาแตโบราณ ผมเสนอเอาไวลองคิดดู เปนความเห็นอันหนึ่ง มันเปนสัจจาภินิเวสหรือเปนสัจจานุรักษ ถาเปนสัจจาภินิเวสก็คือ ยึดถือไวตามที่เคยถือกันมา ถือกันมาอยางไร ก็ถอื กันไปอยางนั้น ไมตองเปลี่ยนแปลงอะไร ไมตองคิดอะไร ถาถือแบบสมาทาน ถือแบบสัจจานุรักษ คือรักษาไว เฉพาะสิ่งที่เปนจริง แบบที่พระพุทธเจาทานเปน พระพุทธเจาทานปฏิเสธสัจจาภินิเวส และสงเสริมสัจจานุรักษ รักษาไวเฉพาะสิ่งที่เปนจริง นักวิทยาศาสตร จะเปนสัจจานุรักษ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตรถูกทิ้งไป เรื่องแลวเรื่องเลา ทฤษฎีแลวทฤษฎีเลา ตั้งแตสมัยโบราณมา เมื่อเขาคนพบใหมวาอันนี้ถูกกวา อันนีด้ ีกวา ที่เขาเคยเชื่อถือกันมาแตโบราณนั้นไมถูกเสียแลว อยางนี้เขาก็ทิ้งทฤษฎีเกา และมาถือทฤษฎีใหมซึ่งเขาคิดวาถูกกวานั้นเปนสัจจานุรักษ เปนแบบวิทยาศาสตร ถาถืออีกแบบหนึ่งก็ถือกันตอไป พอหลายอยางเขาไมรูอะไรเปนอะไรก็รุงรังไปหมดเลย อยางที่ผมเคยเลาบอยๆ เวลาออกอากาศบาง เวลาสอนหนังสือบาง ที่ชาย 2 คนออกไปทํามาหากิน คนหนึ่งไปเจอปอ ก็เอาปอ ไปเจอเหล็ก ก็แบกเหล็กไปดวย เจอเงินก็แบกเงินไปดวย เจอทองก็แบกทองไปดวย คือเอาไปหมดทุกอยาง รุงรังไปหมดเลย และของที่ดีที่สุดคือทองก็ไดไปนิดหนอย แตอีกคนที่ไปดวยกัน เขาเจอของดีกวา มีคุณคาดีกวา เขาก็ทิ้งของเกา เจอเชือกปอก็เอาไปกอน เจอเหล็กดีกวาปอก็ทิ้งปอ ไปเจอเงินก็ทิ้งเหล็กเอาเงิน ไปเจอทองก็ทิ้งเงินเอาทอง ไดทองไปเต็มที่เลย อยางอื่นทิ้งหมด คิดดูวาอยางไหนดีกวาใน 2 คนนี้ คนหนึ่งวาถือมานานแลว ทิ้งก็เสียดาย เลยถือตอไป อีกคนหนึง่ ก็พิจารณาคุณคา อะไรดีที่สุดก็ถือเอาสิ่งนั้น คนไหนฉลาดกวาคนไหนดีกวา
50 ความสุขที่หาไดงาย
เพราะฉะนั้น เรื่องทิฏฐิ เปนสิ่งสําคัญในชีวิตคน คนมีทิฏฐิอยางไร มีความเห็นอยางไร ก็มีชีวิตไปอยางนั้นตามความเห็นของเขา มันเปนทรรศนะ เปนทฤษฎี ภาษาบาลีใชวาทิฏฐิ ภาษาอังกฤษใชวา Theory เปนความเห็นอยางหนึ่ง ถาจะมีผูสงสัยวา พระพุทธเจาทรงสอนใหมีศรัทธาในพระรัตนตรัย ในเรือ่ งกรรมและผลของกรรม ดังนั้นใชหรือไม ถาคนที่ปกใจเชื่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเรียกวาศรัทธา มั่นลงไปในสิ่งนั้นจะเปนการไมถูกตองหรือ คําตอบคือ ศรัทธาที่ศาสนาตองการ ตองเปนศรัทธาที่ตรองดวยปญญาแลว ไมใชความเชื่องมงายอยางที่บางศาสนาหรือบางลัทธิเชื่อ ศรัทธาในพุทธศาสนาไมควรจะเปนสิ่งที่เรียกในภาษาอังกฤษวา Fate หรือ Believe ไมควรจะเปนอยางนั้น แตควรจะเปนลักษณะ Confidence ซึ่งมีน้ําหนักมากกวาคือมั่นใจ เชื่อมั่นในตนเอง เกิดมาจากสิ่งที่เรียกวา Conviction คือไดทดสอบพิสูจนมาพอแลว เมื่อตองการจะทดสอบพิสูจนเมื่อใดก็ได และผลก็จะออกมาเปนเชนเดียวกัน เรื่อง fate เชื่อโดยไมตองพิสูจน เชื่อกันมาอยางไร ก็เชื่อกันไปอยางนั้น ไมตองพิสูจนก็ได เชื่อแบบ Believe เชื่อแบบไมตองตั้งคําถาม เปนเพียงความรูสึกวานาจะเปนจริง หรือไมเปนจริงเทานั้น แตถาเปน Confidence ก็เปนความมั่นใจแบบที่ไมตองมีผูอื่นเปนปจจัย คือไมตองเชื่อผูอื่น ที่ทานกลาวในภาษาทางศาสนาวา อปรปจจโย สัตถุสาสะเน คือไมตองมีผูอื่นเปนปจจัยในคําสอนของพระศาสดา เพราะวาไดรูเองไดเห็นเอง แจมแจงดวยตนเองแลว ศรัทธาเชนนี้เปนสิ่งที่มั่นคง ไมคลอนแคลน เพราะวาไดเห็นเองแลว ตัวอยางที่ยกใหฟงบอยๆก็คือ ถาใครสักคนหนึ่งเอาขอใสถุงไว แลวบอกวาในถุงนั้นมีเพชรหรือทอง ขอใหเรารักษาไว มันจะเปนประโยชนแกเราในภายหนา ถาเราเชื่อและรักษามันไวดวยชีวิต ก็แปลวาเราเชื่อบุคคลผูบอกนั้น เราไวใจวาเขาจะไมหลอกเรา
51 ความสุขที่หาไดงาย
แตนาจะมีบางคราวที่เราลังเลสงสัย วาจะมีเพชรหรือมีทองอยูจริงหรือเปลา เราไมคอยมั่นใจนัก นี่คือลักษณะของศรัทธาที่ขาดปญญา หรือญาณ ถามีใครมายืนยันกับเราวา เขาเห็นวาตอนที่ใสลงไปนั้นไมใชเพชรไมใชทอง เปนกอนกรวดกอนดิน จากนั้นเราอาจจะลังเลและอาจจะเชื่อคนที่มาบอกใหมก็ได แตวาถาเราเปดถุงออกดู ไดเห็นดวยตาตนเองแลววาในถุงนั้นมีเพชรมีทองแนๆเลย เราก็จะมั่นใจ ความเชื่อของเราจะมั่นคง นี่คือศรัทธาที่ประกอบดวยปญญาหรือประกอบดวยญาณ เปนญาณสัมปยุต สัมปยุตดวยญาณดวยความรู อีกตัวอยางหนึ่งที่พอมองเห็นไดคือ ภาชนะที่คว่ําอยู มีของอยูใตภาชนะที่คว่ํานั้น เรามองไมเห็นวาเปนอะไร ถาเจาของเขาบอกเรา เราเชื่อตามผูบอก แตไมคอยมั่นใจนัก แตถาเราหงายภาชนะนั้นขึ้น ก็จะเห็นวามันเปนอะไรเราไมจําเปนตองเชื่อผูบอกก็ได เราเชือ่ ตาของเราไดแลว นี่คือความเชื่อที่ประกอบดวยความรู พระพุทธเจาทรงประสงคใหเปนเชนนี้ เพราะฉะนั้นดวยเหตุนี้ เมื่อพระพุทธเจาทรงแสดงธรรมจบลง ผูฟงมักจะพอใจแลวกลาวชมเชยวา แจมแจงจริงพระเจาขา เหมือนหงายของที่คว่ํา เปดของที่ปด เหมือนบอกทางใหแกผูหลงทาง เหมือนสองไฟในที่มืด ใหคนมีจักษุไดเห็นทุกข อยางนี้เปนตน เพราะฉะนั้น ความเชื่อเฉยๆ ทิฏฐิที่เกี่ยวกับความเชื่อเฉยๆ มันยังมีปญหา เมื่อเรายังไมเห็นแจงวาอะไรเปนอะไร พอเราไดเห็นเองเสียแลว ความเชื่อก็ไมมีปญหาอีกตอไป พระธรรมของพระพุทธเจาเนนไปที่สันทิฏฐิโก คือใหเห็นเอง ใหเห็นไดในปจจุบัน เรียกใหมาดูได เปนเอหิปสสิโก เหมือนเรามีเพชรมีทองอยูในมือ และแบมือออก เพชรก็จะลอยเดน สองแสงแวววาววูบวาบ เพราะฉะนั้น ศรัทธาที่ปราศจากปญญา กับศรัทธาที่มีปญญา ความเห็นที่ประกอบดวยปญญา กับความเห็นที่ไมประกอบดวยปญญา จึงมีลักษณะที่ผิดกันมากทีเดียว ฉะนั้น ตองพยายามที่จะสงเสริมความเห็นที่มีปญญา ความเห็นหรือทิฏฐิใหประกอบดวยปญญามากขึ้น สังคมของเราก็ยังมีความเชื่อตางๆ ที่เปนสัจจาภินิเวสอยูเปนอันมาก ไมไดเปนสัจจานุรักษ
52 ความสุขที่หาไดงาย
ฉะนั้นพยายามใหทุกคนเห็นชัดเจนดวยตัวเอง ยกเวนคนตาบอด ก็จะมองอะไรไมเห็น แมจะมีแสงสวางก็มองไมเห็น ตองพยายามทําตาใหดี และมีแสงสวางดวย บางคราวก็จะมีพวกพราหมณมาเฝาพระพุทธเจา พวกพราหมณเขาก็จะมีความเชื่อในคัมภีรพระเวชของเขาที่นําสืบๆกันมาอยางมั่นคง ขอความที่ปรากฏในคัมภีรพระเวชนั้น เขาก็เชื่อวาจริงอยางไมมีปญหา ไมตั้งปญหา เขากราบทูลพระพุทธเจาวา คัมภีรพราหมณที่ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งรับชวงกันมาหลายชั่วอายุคน พวกพราหมณถือวาเปนจริงโดยไมมีเงื่อนไข และก็สรุปวานี้เทานั้นเปนจริง ความเห็นอื่นที่ขัดแยงกับคัมภีรนี้เปนของเท็จทั้งหมด คือถือสัจจาภินิเวส อิทเมว สจฺจํ โมฆมฺٛ ํ นี้เทานั้นเปนจริง อยางอื่นเปนเท็จทั้งหมด ในเรื่องนี้พระโคดมมีความเห็นอยางไร พระพุทธเจาทานตรัสถามวา ที่ยืนยันวานี้เทานั้นเปน จริง อยางอื่นเปนเท็จทั้งหมดนั้น มีพราหมณคนใดคนหนึ่งที่อยูในที่นี้บางไหม ที่พอจะกลาวยืนยันไดวา ตนไดเปนผูรูเห็นเอง พราหมณคนหนึ่งทูลตอบวาไมมี ถามตอไปวา อาจารยของพราหมณ อาจารยของอาจารยและพราหมณผูเปนอาจารยอื่นๆ นับถอยหลังไปสัก 7 ชั่วคน เคยรูเห็นดวยตนเองบางหรือไม พราหมณก็ตอบวาไมมีเหมือนกันทั้งหมดเปนความเชื่อ ที่เชื่อและถือสืบๆกันมาเทานั้น พระพุทธเจาจึงตรัสวา เมื่อเปนเชนนี้ ก็ไมตางอะไรกับคนตาบอดที่จูงมือเดินตามกันเปนแถวๆ กลางแถวเปนอยางไรหัวแถวเปนอยางไร หางแถวก็เปนอยางนั้น ลวนแตไมรูไมเห็นทั้งสิ้น ไมมีใครเคยรูเคยเห็นทั้งสิ้น พระพุทธเจาจึงตรัสตอไปวา ผูฉลาดตองรักษาสัจจะ หรือสัจจานุรักษ หรือสัจจานุรักขี หรือสัจจานุลักขณา เปน Protect- ion of the thrust ไมควรดวนสรุปโดยเหตุเพียงแคเชื่อกันมาเทานั้น วาสิ่งนี่เทานั้นเปนจริง อยางอื่นเปนเท็จทั้งหมด เขาควรจะพูดเพียงวานี้เปนความเชื่อของเขา และไมควรจะพูดวาสิ่งนี้เขาเชื่อ และถาจะเปนไปไดก็ควรพูดวา สิ่งที่เขาเชื่อเทานั้น เปนความจริง ไมควรจะพูดวาสิ่งที่เขาเชื่อเทานั้นเปนความจริง อยางอื่นเปนเท็จทั้งหมด แตควรจะพูดเพียงวา นี่คือเปนความเชื่อของเขา แตจะจริงเท็จแคไหนยังไมรู ยังไมไดทดสอบ ยังไมไดพิสูจน ถาถามความเชื่อ เขาก็เชื่ออยางนี้ แตไมใชไปปฏิเสธสิ่งอื่น ไมตองพูดถึงความเห็นหรือความเชื่อที่ผิด ซึ่งควรจะสละละทิ้งไมควรจะยึดถือไว 53 ความสุขที่หาไดงาย
แมความเห็นที่ถูก พระพุทธเจาก็ทรงสอนไมใหยึดมั่นถือมั่นเกินไป ตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย เราแสดงธรรมเปรียบเหมือนเรือหรือแพสําหรับไวขามฝง ไมเพียงแตอธรรมเทานั้นที่ตองละ แมธรรมก็ตองละดวย อันนี้อธิบายโดยยอวา คนที่ใชเรือหรือแพขามฝง เมื่อถึงฝงแลว ทําอยางไรถึงจะถูกตอง เขาควรจะแบกแพหรือเรือขึ้นไปดวยไหม หรือควรจะจอดเรือหรือแพเอาไวที่ทาน้ํา แลวตัวเองก็เดินไปใหสบาย หรือควรจะทําอยางไร ทางที่ถูกหรือทางที่ชอบ ทางที่ดี หรือผูปฏิบัติชอบในเรือหรือแพนั้นเขาควรจะจอดเรือหรือแพเอาไว ไมตองแบกเอาไปดวย เพราะฉะนั้น เรื่องทิฏฐิ นี่ผมพูดเรื่องทิฏฐิอยางเดียวนะครับ ยังไมไดพูดเรื่องสัมมาหรือมิจฉาอะไร แมแตทิฏฐิ หรือความเห็นก็ควรจะถือไวหลวมๆ จะไปถืออะไรใหยึดมั่นเกินไปจนเปนทิฏุปาทาน คือความยึดมั่นในทิฏฐิ เปนอุปาทานอยางหนึ่ง ในอุปาทาน 4 ในพุทธศาสนาที่พระพุทธเจาทรงใหถอนและใหละ กามุปาทาน ทิฏุปาทาน ความยึดมั่นในทิฏฐิ บางคนยึดมั่นในสิ่งหนึ่ง ใครไปกระทบในสิ่งนั้นเขาไมไดกระทบเขาก็เดือดรอน ดิ้นเลย ก็อยาไปยึดมั่นอะไรมากเกินไป ไมถอื ไวดวยสัจจาภินิเวส แตถือไวดวยสมาทาน ถือดวยเหตุผล ดวยความคิดที่ถูกตอง มีโยนิโสมนสิการ ในระดับสูง พระพุทธเจาก็ทรงสอนวา ไมใหยึดมัน่ ถือมั่นแมในธรรม ดังที่ตรัสวา ภิกษุทั้งหลายเราแสดงธรรมเปรียบเหมือนเรือหรือแพ เพื่อขามฝง ไมเพียงแตอธรรมเทานั้นที่ตองละ แมธรรมก็ตอ งละเสียดวย เรื่องอกุศลธรรมนั้นตองละอยูแลว แตกุศลธรรมหรือความดีตางๆ ในขั้นสามัญทานสอนใหบําเพ็ญไปกอน เหมือนกับอาศัยเรือสําหรับขามฝง แตในระดับสูง ในขั้นสุดทาย ทานสอนใหละธรรมและอธรรม ไมยึดมั่นในธรรมทั้งปวง นั่นเปนการปฏิบัติชอบตอธรรม เพราะวาตามหลักพุทธศาสนาในระดับสูง พุทธสาวกจะตองละเครื่องของทั้งปวง ทั้งที่เปนบุญและเปนบาป ดังพระพุทธภาษิตที่วา เรากลาวเรียกบุคคลผูละเครื่องของทั้งสองได คือทั้งบุญและบาป โยธ ปฺุญฺจ ปาปٛ จ อุโภ สงฺคํ อุปจฺจคา ขามเครื่องของทั้งสองเสียได คือทั้งบุญและบาป อโสกํ วิรชํ สุทธฺ ํ ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํ เรียกบุคคลผูเชนนั้น 54 ความสุขที่หาไดงาย
ซึ่งเปนผูไมโศก และปราศจากธุลีเปนผูบริสุทธิ์วาเปนผูประเสริฐ คือวาก็หลุดพนไปเสียจากสิ่งที่ชื่อวาทั้งดีทั้งชั่ว ทานใชคําวา สพฺพธิ วิมุตโต มีตัวอยางอีกตัวอยางหนึ่งคือวา คนกินยาจนหายโรคแลว ก็ควรจะละยานั้นเอาไว หรือเก็บไวใหเปนประโยชนแกคนอื่นตอไป ไมควรจะกินยานั้นตอไป นี่คือการปฏิบัติที่ถูกตอง บางทานอาจจะสงสัยวา ทําไมจึงใหละดีเสียดวย มีคุณบทหรือ สิ่งที่เรียกแทนพระอรหันตอยูชื่อหนึ่งวา ปุปาปปหีโน แปลวาผูละไดแลวทั้งบุญและบาป คือความชั่ว มันเปนสิ่งหยาบที่คนตองละ ผลของมันปรากฏเปนความทุกขความเดือดรอน เปนความทุกขที่เปดเผย แตสําหรับความดี ถาไปติดในดี มันจะมีความทุกขอีกแบบหนึ่ง คือคนชั่วก็เปนทุกขอยางคนชั่ว ความชั่วก็ใหทุกขแบบความชั่ว คนดีหรือความดีก็จะใหทุกขแบบคนดี หรือใหทุกขแบบความดี ความทุกขมันพูดออกมาตรงๆ แตความสุขซึ่งมาจากความดีหรือมาจากอะไรก็แลวแต มันมีเลหเหลี่ยม มีอะไรลับๆอยู คนที่ไมกําหนดใหดี หรือไมทําความเขาใจใหดีก็จะไมเห็นโทษของสิ่งนั้น เพราะวานิยมกันวามันเปนสิ่งดี ยกตัวอยางเชน คนมีลูก 2 คน คนหนึง่ เปนคนชั่ว คนหนึ่งเปนคนดี ทานลองนึกดูคนที่เปนพอเปนแมคนชั่วก็ใหความทุกขแบบคนชั่ว ลูกที่ชั่วก็ใหทุกขแบบลูกที่ชั่ว ลูกที่ดีก็ใหความชื่นใจอยูบางพอสมควร แตวามันก็ยังมีความทุกขแบบคนดีอยู เชน ใหความผูกพัน ใหความรูสึกกังวล ใหความรูสึกเปนหวงเปนใย สมมุติวาเขาตายไปหรือพิการไป ลองนึกดูวาพอแมที่มีลูกดีนั้นจะเศราโศกเพียงใด หรือเขาไปเที่ยวไปเจออุบัติเหตุแลวก็ตายไป ยิ่งดีมากเทาไหรพอแมก็ยิ่งมีความทุกขความโศกมาก นี่ก็เรียกวาใหทุกขแบบคนดี นั่นเปนความทุกขที่ซอนเรน ไมเปดเผย เพราะฉะนั้น ถาไมใชปญญาที่สขุ ุม ก็จะไมเห็น ธรรมดาสิ่งเหลานี้เปนความทุกขที่สุขุม ความทุกขที่สุขุมก็ตองใชปญญาที่สุขุมจึงจะสามารถมองเห็นได ถาเผื่อปญญาหยาบๆก็มองไมเห็น
55 ความสุขที่หาไดงาย
นี่เปนเหตุผลที่พระพุทธเจาทานใหละทั้งดีและชั่ว ไมติดทั้งดีและชั่ว แตวาในเบื้องตนก็ใหอาศัยดีไปกอน คลายๆอาศัยเรือขามฝง อาศัยยาเพื่อหายโรค อาศัยไปกอน ถาเผื่อยังไมถึงฝง ยังไมหายโรค ก็อยาเพิ่งทิ้งยา อยาเพิ่งทิ้งเรือ เพราะมีอันตรายเยอะถาเผื่อทิ้งเสีย หวังวาทานผูฟงคงจะเขาใจ บางทีทานกลาววาทั้งชั่วทั้งดี ลวนแตเปนสิ่งที่ไมนารัก อันนี้ตองพูดกันในระดับสูงแลว ไมใชพูดกันในระดับสามัญ เพราะธรรมะจะมี 2 ระดับ คือระดับสามัญกับระดับสูง ถาเราไมเขาใจเรื่องนี้ก็จะเอามาตีกัน เพราะฉะนั้น ตองแยกใหถูกวาตอนนี้เรากําลังพูดถึงเรื่องอะไร ถาพูดในระดับสามัญก็ตองพูดแบบสามัญ แบบสมมุติ สมมุติสัจจะ แตถาในระดับปรมัตถสัจจะ ก็ตองพูดกัน ตัดสินวินิจฉัยกัน โดยหลักของปรมัตถสัจจะ เชน ระดับสมมุติ เราก็พูดถึงคนนั้นคนนี้คนโนนดีอยางนั้นดีอยางโนน คนนี้ไมดี คนนั้นไมดี เราก็พูดกันไปที่ในระดับหนึ่ง ระดับจริยธรรม แตพอไปถึงระดับปรมัตถแลว ก็ไมมีสัตวไมมีบุคคล ไมมีตัวตน ไมมีเราเขา มีแตธาตุ มีแตอายตนะ มีแตขันธ 5 อยางนี้ ก็ไมตีกัน เพราะเราแยกออกไดวานี่คือระดับนี้
แตถาเราพูดถึงใครคนหนึ่งอยู สรรเสริญเขาอยู แลวก็มีใครสักคนมาพูดวา โอย พูดไปทําไม ไมมีสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา มีแตบัญญัติ อยางนั้นก็เรียกวาพูดคนละระดับกัน ก็คงไมรูเรื่องกันจนได เรื่องความเห็นหรือความเชื่อ ก็ควรจะใหอยูในฐานะของความเห็นความเชื่อ ไมควรยืนยันวาเปนความจริง ควรแยกจากกันได หมายความวานอกจากความเห็นความเชื่อนั้น จะเกิดจากญาณทัสสนะหรือประสบการณตรงของตนแลว แมประสบการณตรงของตนเองนั้นเองก็ควรจะทดสอบบอยๆ วายังเปนเชนนั้นอยูหรือเปลา หรือวาความจริงไดเปลี่ยนไปแลวอยางไร เพราะวาความจริงที่เกี่ยวกับโลกียธรรมหรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา สังขตธรรม จะเปลี่ยนอยูเสมอ
56 ความสุขที่หาไดงาย
ดวยเหตุนี้ การคนพบทางวิทยาศาสตรถึงไดมีทฤษฎีใหมแทนทฤฎีเกาอยูเรื่อยๆไป เพราะในระดับโลกียธรรมหรือสังขตธรรม สิ่งที่แทจริงคือความเปลี่ยนแปลง ความจริงก็คือความเปลี่ยนแปลงนั่นเอง ในตรรกศาสตรพุทธศาสนาไดบอกวา ความจริงเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ คือไมเที่ยงนั่นเอง ความไมเที่ยงนั่นแหละคือความเที่ยง นอกจากนั้นก็เปลี่ยนแปลงไป สุภาษิตทางวิทยาศาสตรก็มี Nothing Persists Save Change. Change is One Thing That Permanent. ไมมีสิ่งใดตั้งอยูถาวร ไมมีสงิ่ ใดเที่ยง นอกจากความเปลี่ยนแปลง ความเปลี่ยนแปลงอยางเดียวเทานั้นที่เที่ยงอยู เพราะฉะนั้น ตองทดสอบอยูเสมอ อะไรเปลี่ยนแปลงไปแลวอยางไร ถาสมมุติมีใครคนหนึ่งพูดวา นางสาว ก.เปนคนสวย ถานางสาว ก.สวยเมื่อ 50 ปกอน มาถึงเวลานี้เขาคงจะไมสวยแลว นั่นคืออิทธิพลของความเปลี่ยนแปลงที่ทําคนสวยใหไมสวย อยางนี้เปนตน หรือดอกไมดอกหนึ่ง เราบอกวาสวย ตองถามวาสวยเมื่อไหร ถาสวยเมื่อปกอน มาปนมี้ ันคงไมสวยแลว คงรวงโรยไปหมดแลว นี่คือสัจจะที่เกี่ยวกับเรื่องความ ไมเที่ยง แตมีอยูเรื่องหนึ่ง คือทิฏฐิของคนละไดยาก ทิฏฐาสวะ อาสวะคือทิฏฐิ เปนสิ่งที่ละไดยาก หรือยากพอๆกับเรื่องกาม หรือ อาจละไดยากกวากามเสียอีก เพราะวาอยูลึก ทิฏฐิอยูลึกสละไดยาก กามนั้นอยูตื้นและใครๆก็เห็นโทษไดงายกวา แตทิฏฐิอยูลึก และมีคนสนับสนุนดวย มีกองเชียร แมจะมีทิฏฐิที่ผิด แตก็มคี นที่มีอัธยาศัย มีอุปนิสัยอยางเดียวกันนั่นแหละสนับสนุนอยู ก็ตอ งเห็นอยางนั้นตอไป พวกศาสดาเจาลัทธิทั้งหลายทั้งในอดีตทั้งในปจจุบัน จึงละทิฏฐิของตัวไดยากมากเลย ศาสดามีทิฏฐิอยางใด พวกสาวกก็ มีทิฏฐิอยางนั้น ไมอยางนั้นแลวจะเปนศาสดาเปนสาวกกันไดอยางไร พวกสาวกก็จะเคารพนับถือ บูชาและยําเกรงศาสดาของตน ถือทิฏฐิเชนเดียวกับพระศาสดา ทั้งนี้ก็ดวยเห็นอานิสงส 2 อยาง คือ 1. อานิสงสในชาตินี้ คือจะไดลาภสักการะและไดชื่อเสียงวาเปนผูเคารพเลื่อมใสอยางยิ่งในพระศาสดาของตน 2. อานิสงสในชาติหนา วาจะไดมนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ และความบริสุทธิ์หมดจดไดในภายหนา ก็ดวยทิฏฐิอันนี้ นี่คืออานิสงส 2 อยางที่ทําใหคนถือทิฏฐิ 2 อยางนั้นอยู ตองระวังกันอยางมาก
57 ความสุขที่หาไดงาย
คงจะเปนเหตุดังกลาวมานี้ พระพุทธเจาจึงไดตรัสไววา บวงคือทิฏฐิ ที่ใชคําวา ทิฏฐินิเวศ เปนสิ่งที่ละไดยาก การตกลงใจในธรรมทั้งหลาย ที่ยึดมั่นไวแลวก็ละไดยาก เพราะฉะนั้น เมื่อยังมีบวงคือทิฏฐิอยู บุคคลก็ยอมจะสละธรรมบาง ยึดเอาธรรมไวบาง คอนขางจะฟงยากสักหนอยนะครับ บวงคือทิฏฐิที่ละไดยาก การตกลงใจในธรรมทั้งหลายที่ยึดมั่นไวแลว ก็ละไดยาก คือเขาตกลงใจวาอันนี้เปนอยางนี้ เมื่อยึดมั่นแลวก็ละไดยาก เมื่อยังมีบวงถือทิฏฐิอยู บุคคลก็สละธรรมบาง และยึดเอาธรรมไวบาง ที่วาสละธรรมบาง ยึดเอาธรรมไวบาง ตรงนี้ขออธิบายนิดหนึ่ง สละธรรมจะมีไดดวยเหตุ 2 อยาง คือ 1. สละเพราะความเห็นของผูอื่น เพราะการตัดสินของผูอื่น คือไดยินผูอื่นพูดตัดสินวา ศาสดาคนนั้น ครูคนนั้น เจาลัทธิคนนั้น ไมเปนสัพพัญู ธรรมของทานไมดี หมูคณะของทานก็ไมไดปฏิบัติชอบ มรรคาของทานก็ไมนําออกจากทุกขไดจริง นี่คนอื่นเขาพูดแลวก็เชื่อ เชื่อคนอื่นก็สละธรรมที่ยึดถือนั้นได 2. สละธรรม เพราะไมสําเร็จประโยชนเอง คือปฏิบัติตามแลวก็ไมสําเร็จประโยชน ทั้งศีลทั้งวัตร ปฏิบัติตามศีลวันใด วัตรวันใดที่ศาสดานั้นสอนเอาไว ก็ไมไดผล ไมไดประโยชน ไมเห็นผล ก็ละทิ้งไป แตบางคนทั้งๆที่เห็นอยางนั้น ก็ยังคงยัง ถือพระศาสดา และธรรมของศาสดานั้นตอไปดวยเหตุใดเหตุหนึ่งแลวแตเหตุที่เขาจะเห็นไปหรืออางมา ผมขอยกตัวอยางหนึ่งในปายาสิราชัญญสูตร พระเจาปายาสิทรงเห็นอยางเหนียวแนนวา ชาติกอนชาติหนาไมมี คนเราเกิดมาเพียงชาติเดียว ตายแลวสูญ ก็ไดสนทนาโตตอบกับพระกุมารกัสสป จนยอมรับนับถือพระกุมารกัสสป ยอมรับวาความเห็นของพระกุมารกัสสปที่วา ชาติกอนชาติหนามี สัตวทั้งหลายถายังมีกิเลสอยูยอมทองเที่ยวในวัฏสงสาร แตไมกลาประกาศวาความคิดเห็นของตนนั้นไดเปลี่ยนแปลงไปแลว เพราะใครๆก็รูกนั หมดแลววา พระเจาปายาสิมีความเห็นอยางไร ทานมีความเห็นตรงกันขามกับพระกุมารกัสสปมานานแลว จะสละทิฏฐิเดิมไปถือทิฏฐิใหมก็จะเปนการเสียหนา จึงขอประกาศตนถืออยางเดิมไปกอน แมจะผิดก็ตาม พระกุมารกัสสปอุปมาหลายขอ เชน ชายคนหนึ่งเลี้ยงหมู หาอาหารหมู วันหนึ่งไปเจออุจจาระแหงของคนเขา เขาใจวาเปนอาหารหมูจึงเก็บใสกระสอบแบกกลับบาน กลางทางฝนตก ผาเปยกโชกอุจจาระไหล
58 ความสุขที่หาไดงาย
พระกุมารกัสสปตองการเตือนพระเจาปายาสิวาจะทรงแบกทิฏฐิชั่วไวทําไมกัน โยนทิ้งไปเสียเถอะ ดังนี้เปนตน พระเจาปายาสิก็ทรงยอมทําตามคําสอนของพระกุมารกัสสป แสดงพระองคเปนอุบาสกนับถือพระรัตนตรัยตลอดชีวิต นี่เรื่องของทิฏฐิ คนที่มีทิฏฐิผิดบางคนจะไมยอมรับความจริง ทั้งๆที่รูวาความจริงเปนอยางไร ขอเลาเรื่องสั้นๆเรื่องหนึ่ง มีคนหนึ่งเปนคนมั่งมี ตอมาก็ยากจนลง ก็ไปแจกใบปลิวอยูขางถนนเพื่อทํามาหากิน ทานหลวงวิจิตรวาทการ ทานเปนนักปราชญคนหนึ่งของเมืองไทย ทานไปพบเขาแลวทานก็ยินดี เขาไปทักทายวารูจักทํามาหากินและยินดีมาก สงเสริมเขา เขาบอกวาตัวเขาเองไมเปนไร เขาอยูได ชวยเด็กเขาหนอย ทํานองนั้น ที่จริงถาเผื่อเขาไมมีทิฏฐิ ยอมรับความจริงวาเวลานี้ลําบากแลว ก็เปลี่ยนแปลงตัวเองได ก็นารักดี ไมเห็นจะมีใครวาอะไร แตวากลับมีทิฏฐิวาตัวเองไมเปนไร คงจะละอาย คนเราสวนมาก กลัวที่จะถูกพูดถึงวาเปนคนจน แตไมกลัวทุจริต ไมกลัวบาป และเห็นคนนอนกินไมทําอะไรเปนสิ่งประเสริฐ เปนคนมีบุญ อันนี้ก็ทิฏฐิผิดเหมือนกัน คนที่มีความเห็นผิด โดยธรรมดาก็จะดําเนินชีวิตไปในทางที่ผิดอยูเสมอ ผมขอพูดตอเรื่องความสามัคคี คนที่จะสามัคคีกันได นี่ก็มาจากทิฏฐิเหมือนกัน ทางพุทธศาสนาพระพุทธเจาทรงใหไววา 1. สีลสามัญญตา คือมีศีลเสมอกัน คนที่จะสามัคคีกันได อยูกันอยูเย็นเปนสุข หรือเปนเพื่อนกันได เปนมิตรกันได เปนอะไรตออะไรกันไดโดยสนิทสนมกลมเกลียว มันตองมาจากสีลสามัญญตา มีความประพฤติเสมอกัน มีความประพฤติดีดวยกัน ไมใชคนหนึ่งประพฤติดี คนหนึ่งประพฤติชั่ว มันก็อยูกันไมได 2. ทิฏฐิสามัญญตา ความเสมอกันในดานทิฏฐิ หรือความเห็น หลัก 2 ประการนี้ เปนเหตุของความสามัคคี ถาทิฏฐิไปคนละอยาง อะไรๆก็เห็นไมตรงกันไปหมด ก็ขาดทิฏฐิสามัญญตาความเสมอกันในทิฏฐิไมมี ก็ขัดแยงกัน เกิด conflict ตลอดเวลา นานๆเขามันก็พอกพูนไปคนละทาง แตถามีทิฏฐิเสมอกัน เรื่องอะไรๆมันก็คุยกันได มีสัมมาทิฏฐิดวยกัน มีความเห็นตรงกันทํานองนี้ 59 ความสุขที่หาไดงาย
เมื่อทิฏฐิสามัญญตา ความเสมอกันในเรื่องทิฏฐิ ก็นาํ มาซึ่งความสามัคคี ไมเชนนั้นก็จะเกิดแตกแยก มีการแบงแยกซึ่งมีอยูทั่วไปในสังคม ในที่ทํางาน ทุกหนทุกแหง แมในครัวเรือนเอง ถาขาด 2 อยางนี้แลว ก็สามัคคีกันไดยาก 3. ภวาสวะ อาสวะคือภพหรือความเปนตางๆ ภพ แบงออกเปน 2 อยางคือ กามภพ และอุปปตติภพ กามภพ หมายถึง เจตจํานงที่จะเกิดใหม หรือที่เรียกในภาษาอังกฤษวา The Will To Be Born คือในจิตใจของคนเราจะมีเชื้ออยูอันหนึ่งที่อยากจะเกิดใหม แตเกิดใหดีกวาที่เปนอยู ที่บนๆกันวาเบื่อๆ เมื่อไหรนั้น คือไมใชเบื่อจริง ไมใชเปนนิพพิทาซึ่งเปนธรรมะขอหนึ่งซึ่งเปนไปเพื่อวิราคะ คือความคลาย แตเบื่อของคนสวนมากมันเปนวิภาวตัณหา หรือเปนอัฏฏิยนา ความอึดอัดขัดของ แตถาไดในสิ่งที่ตองการ และไปเกิด ไปอยู ไปไดสิ่งที่ตัวตองการ ก็ยังอยากจะเกิดอีก นี่คือ The Will To Be Born หรือภวตัณหาก็ได อุปปตติภพ คือแหลงที่เกิดของสัตว ซึ่งทานแบงเอาไว 3 ภพดวยกันเรียกวา กามภพ หมายถึงอบายภูมิ 4 และมนุษย 1 และเทวดา 6 ชั้น ก็รวมเปน 11 รูปภพ ไดแก ภพที่เปนที่เกิดของรูปพรหม มี 16 ชั้น อรูปภพ ไดแก ภพที่เกิดของอรูปพรหม มี 4 ชั้น รวมทั้งหมด 31 ภูมิ ที่สัตวทั้งหลายทองเที่ยวอยู พระอรหันตไมมีภพอีกตอไป ทานจึงเรียกวา พระอรหันตเปนผูสิ้นชาติสิ้นภพไมตองเกิดอีก สิ้นชาติในภาษาธรรมดาไมดีนะครับ คือไมมีชาติ เปนคนที่ทําอะไรเหลวแหลกกันจนลมจม ชาติลมจมหรือสิ้นชาติ ไมดี แตในภาษาธรรมะสิ้นชาติดีครับ คือไมตองเกิดอีก ทานจึงมักจะลงทายวา ขีณาชาติ มีชาติสิ้นแลวคือสิ้นชาติ นตฺถทิ านิ ปุนพฺภโว ภพใหมไมมีแกเรา สิ้นภพ ไมตองเกิดอีก
60 ความสุขที่หาไดงาย
ภพที่หมายถึงในที่นี้ ที่เรียกวาภวาสวะ หมายเอากามภพหรือภวตัณหา คือความยินดี ความพอใจ ความติดใจ ความอยากในความมีความเปน หรือในภพใดภพหนึ่ง เพื่อเสวยสุขใหเต็มปรารถนา เปนสังขารอยางหนึ่ง หรือวาเปนความคิดปรุงแตง เพราะฉะนั้น การอธิบายภวาสวะ อาสวะคือภพในที่นี้จึงอธิบายไปในแนวของความรูสึกนึกคิด อธิบายคูกันไปกับภวตัณหา หรือสังขาร เพื่อใหผูฟงเขาใจงายขึ้น ก็พูดภวาสวะกับภวตัณหา ควบกันไปหรือเปนสังขาร คือสังขารในขันธ 5 สังขารแปลวาปรุงแตง สังขารภายใน สังขารที่เปนนามธรรมไมใชเปนรูปธรรม ตามปกติคนธรรมดา ยอมจะมีความอยากมากบาง นอยบาง สวนมากก็มีความอยากกันมากมายไมมีที่สิ้นสุด อยางที่พระพุทธเจาทานตรัสวา แมน้ําเสมอดวยตัณหาไมมี นัตถิ ตัณหา สมานะที คือแมน้ํายังรูจักเต็ม แตตัณหาของคนไมรูจักเต็ม มันจึงเกิดขึ้นมากมายกายกองตามสิ่งเราที่เราใหอยาก ยิ่งมีสิ่งเรามากก็ยิ่งอยากมาก มีสิ่งหนึ่งที่คนเราอยากกันมากเหมือนกัน ก็คืออยากเปน ที่เรียกวาภวตัณหา พออยากเปนมากๆเขา มันก็สะสมหมักหมมเปนภวาสวะ อาสวะมันเปนสิ่งที่หมักดองหมักหมม อยากไดตําแหนงใหญโต อยากมีอํานาจเปนหัวหนาคน เพราะพอไดเปนแลว ก็สามารถจะสนองความตองการอื่นๆไดมาก สามารถจะตามใจตัวเองไดมาก สามารถจะกําหนดสิ่งตางๆไดเทาที่ตองการ เทาที่อํานาจของตนมีอยู อํานาจเปนสิ่งที่หวานจอยอยางหนึ่งของมนุษย ซึ่งเมื่อใครไดแตะตองลิ้มรสเขาแลว ก็ไมอยากจะปลอย ไมอยากจะวาง ทานดูอํานาจทางการเมืองก็จะเห็นคนที่ไดอํานาจทางการเมืองแลว นอยคนนักที่จะปลอยที่จะวาง สวนมากก็จะเกาะติดแนนอยูกับอํานาจทางการเมือง อํานาจทางราชการก็คลายๆกัน เพราะฉะนั้น ก็มีการตอสู แยงชิงอํานาจกันมีอยูทั่วไปทุกประเทศ ทุกเมือง หรือแมในกลุม คนเล็กๆเพียงไมกี่คน เชน ในหมูบาน กํานันผูใหญบาน หรือแมในครอบครัวเอง ถาอยูกันมากๆก็จะมีการแยงชิงในครอบครัวกัน ในสมัยโบราณ ครอบครัวก็จะเปนครอบครัวใหญ มักจะมีผูหญิงเปนจํานวนหลายๆคน อาจจะมีผูชายคนเดียว ในกลุมผูหญิง ก็จะแยงชิงอํานาจกัน ใครจะไดครองความเปนใหญในครอบครัว นี่ก็เปนภวตัณหาทั้งนั้นแหละ ภวตัณหาหรือภวาสวะ
61 ความสุขที่หาไดงาย
มีนักปราชญทางรัฐศาสตรอยูคนหนึ่งคือ ลอรด แอ็กตัน ชาวอังกฤษ ไดกลาวคําที่นักรัฐศาสตรมักจะอางถึงอยูเสมอวา อํานาจทําใหคนเสีย อํานาจสูงสุดทําใหคนเสียไดมากที่สุด Absolute Power Corrupts Absolutly เพราะฉะนั้น ในการบริหาร การปกครอง ทานจึงมีการถวงดุลอํานาจกันไว เพื่อไมใหฝายใดฝายหนึ่งมีอํานาจมากเกินไป ไมตองกลาวถึงในหมูชาวบานธรรมดา แมในหมูพระสงฆในวัด ก็มีการมีเรือ่ งอํานาจ มีความเปนใหญ มีการตองการอํานาจ ตอนที่ยังไมไดอํานาจ ยังไมไดเปนใหญเปนโตก็ยังเปนพระดีๆอยู ไดเปนใหญเปนโตขึ้นมามีอํานาจมากขึ้น บางทีก็เสียพระไปก็มี คือไมรูจักระวังเกี่ยวกับสิ่งเหลานี้ ที่จริงแลว ตอนแรกๆมนุษยเราตองการเพียงจะมีชีวิตอยู และมีปจจัยพอจะดํารงชีวิตอยูได เรียกวาเดิมทีก็เปน The Will To Live ตอมาก็ตองการเปนอะไรตออะไรสักอยางหนึ่ง แลวก็ตองการอํานาจ The Will To Be ตองการเปนนั่นเปนนี่ คนนั้นเขาเปนนั่นเปนนี่ ก็ตองการจะเปนอะไรตออะไรขึ้นมา เปนภวตัณหา เปนภวาสวะ The Will To Power ตองการอํานาจโดยลําดับ ตองการการยกยองสรรเสริญ ตองการความนิยมชมชอบจากคนทั้งหลาย ตองการสิ่งเหลานี้ ถาไดรับการควบคุมโดยถูกตอง โดยชอบธรรม ก็ทําใหคนประพฤติจริยธรรมที่ดีไดเหมือนกัน เพราะวาตองการผลที่ดี จึงตั้งตนอยูในทางที่ชอบตามทํานองคลองธรรม และไดรับผลดีทางสังคมสมความปรารถนาเหมือนกัน ในแงของโลกุตตรธรรม ความตองการเหลานี้เปนเหยื่อของกิเลส กิเลสนั้นก็เปนสาเชื้อของความทุกข เพราะโอกาสที่คนเราผูที่หวังแลว จะไมไดตามที่หวังนั้น มีมากกวาไดตามที่หวัง คือสิ่งที่เราหวังเอาไว สวนมากเราไมไดตามที่หวัง การไมไดดังที่หวังก็เปนความทุกขอยางหนึ่ง ที่พระพุทธเจาทานทรงแสดงเอาไวในอริยสัจ ขอทุกขที่เรียกวา อิฉาวิฆาตะ หรืออิจฉิตาลาภะ คือที่พระทานสวดหรือชาวบานสวดมนตกันอยูวา ยัมปตฉัง น ลภติ ตัมปทุกขัง ปรารถนาสิ่งใดแลวไมไดสิ่งนั้นตามปรารถนา เอามาใชเปนศัพททางธรรมะ เรียกวา อิฉาวิฆาตะ คือพลาดจากสิ่งที่ปรารถนา หรืออิจฉิตาลาภะ อิจฉิตะ บวกดวย อลาภะ คือไมไดตามที่ตองการ ไมไดตามที่หวัง ก็เปนการเพิ่มเชื้อของความทะยานอยากขึ้นไปอีก เมื่อเพิ่มเชื้อความทะยานอยาก มันก็เผามากขึ้น ตองเที่ยววิ่งเพื่อจะดับความทะยานอยากอันนั้น ดับมันไดก็ดี ดับไมไดก็โดนมันเผาเรื่อยไป 62 ความสุขที่หาไดงาย
เมื่อเปนอยางนี้ แนวปฏิบตั ิสําหรับผูที่มุงสูโลกุตตรธรรมก็คือการทําเหตุโดยไมหวังผล แมจะหวังผลก็ไมใชเปนลาภเปนยศ หรือสรรเสริญสุขอยางที่คนทั่วไปหวัง แตวาเปนผลคือความสิ้น อาสวะ สิ้นภวาสวะ อาสวะคือภพ เพราะวาตราบใดที่ยังมีภพก็ยังมีทุกข ไมวาจะเปนภพไหนใน 3 ภพ ถาปรารถนาผลคือสิ้นอาสวะ สิ้นภพก็เปนการดับกิเลส และเพลิงทุกขโดยสิ้นเชิง หรือผลคือความสงบเย็นแหงใจ เมื่อหวังผลเชนนี้ ก็จะไดรับผลแลวตัง้ แตลงมือทําหรือคิดจะทํา คือวามุงทําแตเหตุที่ดี สวนผลนั้นก็ปลอยใหเปนหนาที่ของเหตุที่จะบันดาล เราไมทําตัวเปนผูบันดาลผลเสียเอง คลายๆเราปลูกตนไมเอาไว มีหนาที่สําหรับรดน้ําพรวนดิน กําจัดศัตรูพืช ลอมรั้วปองกันสัตวที่จะมาเบียดเบียนพืช การออกดอกออกผลใหรมเงา เปนหนาที่ของตนไมที่มันจะทําหนาที่ของมันเอง ถาทําไดอยางนี้ ความทุกขความกังวลใจเกี่ยวกับผล ที่เปนลาภ เปนยศ เปนสรรเสริญ ซึง่ คนสวนใหญพากันรอคอย จะไมกล้ํากรายบุคคลผูนั้น เขาจะดําเนินชีวิตมาถึงจุดสูงอันหนึ่ง ซึ่งเปนจุดที่พึงปรารถนามาก คือการทําหนาที่เพื่อหนาที่ และทําเหตุโดยไมหวังผล เปนโลกียธรรม หรือโลกียวัตถุ ซึ่งคนสวนมากหวังกันอยู ในภาษาอังกฤษ มีคําหนึ่งวา Doing Without Doer มีแตการกระทํา แตไมมีผูทํา สุภาษิตทางพุทธศาสนามีคําหนึ่งวา ทุกขเมวหิ นโคจิ ทุกขิโต ความทุกขมีอยูแตผูทุกขไมมี การโก น กิริยา ว วิชฺชติ การกระทํามีอยู แตผูทําไมมี อตฺถิ นิพพฺ ุติ น นิพฺพุโต ปุมา ความดับมีอยู แตผูดับไมมี มคฺคมตฺถิ คมโก น วิชชฺ ติ ทางมีอยู แตผูเดินไมมี นี่คือบุคคลดึงเอาตัวตนออกไปเสีย เหลือแตการกระทําหรือ Doing Without Doer มีการกระทําโดยไมมีผูกระทํา ยกผลแหงการกระทํานั้นใหแกธรรมชาติ ใหแกมวลชน ใหแกโลก โดยไมดงึ ผลแหงการกระทํานั้นเขามาสูตัว คนที่เปนเชนนี้ จะไมมีการบนวาทําดีไมไดดี เพราะวาเขาทําดีแลวเขาปลอย ความดีจะใหผลเมื่อไหร อยางไร ก็สุดแลวแตเหตุที่กระทํา จะไมบนวาทําดีไมไดดี เพราะวาความดีที่เขาทํานั้นจะไปตกอยูที่ใครก็แลวแต มันตองเกิดผลดี เพราะการกระทําดีอยางแนนอน
63 ความสุขที่หาไดงาย
คนที่เปนเชนนี้ จึงเปนผูที่ทวนกระแสโลกได และยืนอยูเหนือโลก แมจะอยูในโลก ก็ไมติดโลก คลายๆเปนคนที่อยูเหนือโลก กระแสที่ปนปวนของโลกทวมทับไมถึง ทานผูเชนนั้นจึงไดรับอิสรภาพอยางแทจริง ทั้งนี้ก็เพราะมีความสามารถในการกําจัดภวาสวะนั่นเอง ภวาสวะก็คือความอยากเปน ความอยากมี เมื่ออิสระจากภวาสวะแลวก็เปนผูสงัดจากภวาสวะ เปนปวิเวกอันหนึ่ง ปวิเวกคือความสงัด เปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ชักชวนกันใหเขาใจวาการปลีกออกจากภวาสวะมีคุณอยางไร ดีอยางไร เปนความสงบสุขแกจิตใจอยางไร นี่โดยธรรมดา เมื่อคนเราทําความดี ก็จะมุงผลดี การทําความดีเปนกุศลนั้น มันทําใหเกิดความสุข การทําชั่วมีผลทําใหเปนความทุกข แตในระดับสูงแลว ทานก็บอกใหทิ้งไปทั้งบุญทั้งบาป ทั้งดีทั้งชั่ว เพราะวาสําหรับทานผูมีจิตใจสูงในระดับนั้นแลว จะมองเห็นวาทั้งสุขทั้งทุกขเปนของไมเที่ยง มีความแปรปรวนไปเปนธรรมดา ทีใ่ นโลกธรรมสูตร ไดกลาวถึงวา อนิจโจ ทุกโข วิปรินามธัมโม ไมเที่ยงเปนทุกข มีความแปรปรวนไปเปนธรรมดา ถาเวลาที่มีความสุข ก็หวั่นไปถึงความทุกข ทานสังเกตดูวาคนที่หวั่นใจในเรื่องความทุกข หรือกลัวตอความทุกขมากที่สุดก็คือ คนที่กําลังมีความสุขนั่นเอง คือมีความหวาดหวั่นกลัวความทุกข เชนนั้นจะตกไป สูญไป หายไป จะปราศจากตนไปเสีย เมื่อมีความสุขอยางใดอยางหนึ่งขึ้นมาแลว ก็มีความหวัง ความใคร ความตองการที่จะใหมีความสุขเชนนั้นอีก และรอคอยผลแหงการกระทํา ตลอดเวลาที่รอคอยอยูนั้นก็มีความกระวนกระวาย วาเมื่อไหรผลจะมี เมื่อไหรผลจะเกิด ทุกครั้งที่เกิดความตองการ ความทุกขความทรมานใจก็เกิดตามขึ้นมา มีสุภาษิตทางจริยศาสตรอยูอันหนึ่ง A Felling of Want is Always Painful ความรูสึกตองการนั้นเปนความทุกขเสมอ
64 ความสุขที่หาไดงาย
เพราะฉะนั้น ทานที่พนไปเสียจากภวาสวะ จึงมีความโปรงเบาและมีความสุข ไมมีความดิ้นรน ไมมีความหวัง ไมตองหวังสิ่งใด ความหวังเปนธรรมดาของโลกียชน ตราบเทาที่ยังเปนโลกียชน ติดในโลกียธรรม ก็ยอมจะมีความหวังบางเปนธรรมดา แตทานที่พนไปจากสิ่งเหลานี้แลว ก็มชี ีวิตอยูโดยไมตองหวัง อะไรจะเกิดมันเกิดเอง นอกจากนี้ ทานก็ไดมากําหนดรูความจริงวา สิ่งทั้งหลายทั้งปวงนั้นเปนสังขาร เคยไดรับความสุขอยางไร คนก็อยากจะแสวงหาความสุขเชนนั้นอีก เพื่อจะใหไดความสุขเชนนั้นอีก แตวาโอกาสที่จะไดความสุขเชนนั้นอีก มันก็มีนอย เมื่อไมไดก็เปนทุกข เพราะฉะนั้น ก็ไมหวังเสียเลย อยูอยางไมตองหวัง อะไรที่จะเกิดขึ้นอะไรที่จะได มันไดเอง อันนี้พูดคนละระดับกันแลวนะครับ ถาในระดับโลกียธรรม ทานก็สอนใหหวัง หวังและก็ดําเนิน อะไรไปเพื่อใหสมหวัง แตในขณะนั้น มันก็ตองมีความทุกขติดตามไปดวยตลอดเวลา แตถาเผื่อกาวขึ้นสูระดับหนึ่ง หรือกาวขึ้น สูโลกุตตรธรรมแลว ตองการจะสงัดจากภวาสวะ มันก็จะมีชีวิตสดชื่นอีกแบบหนึ่ง ไมใชแบบของโลกียชนที่ติดในโลกียธรรมทั่วไป 4. อวิชชาสวะ อวิชชาสวะ แปลวา อาสวะ คือ อวิชชา อวิชชา ความหมายตรงๆที่พระพุทธเจาทรงแสดง หมายถึงความไมรูอริยสัจ 4 โดยถูกตองครบถวน ที่เรียกวาไตรปริวัตร คือ 3 รอบ ทวาทสาการ คือ 12 อาการ ไดแก ญาณ 3 ในอริยสัจ 4 แลว 3x4 ก็ 12 อาการ ก็ไมสามารถจะกลาวรายละเอียดในที่นี้ไดในเรื่องญาณ 3 ไตรปริวัตร และทวาทสาการ กลาวโดยยอในที่นี้วา คือใหรูจักทุกขโดยความเปนทุกข ถาเผื่อไพลไปเห็นเปนสุขเสีย ก็เรียกวาไมรูจักทุกข อยางที่ทานกลาววา ปุถุชนมีความเห็นอยางใด พระอริยะก็เห็นไปอีกอยางหนึ่ง เชน สิ่งใดที่ปุถชุ นเห็นวาเปนความสุข พระอริยะเห็นวาเปนความทุกข สิ่งใดที่ปุถุชนเห็นวาเปนความทุกข สิ่งนั้นพระอริยะเห็นวาเปนความสุข ความไมรูอริยสัจ ก็เปนไปในทํานองนั้น คือไพลไปเห็นกลับกันเสีย เห็นทุกขโดยความเปนสุข เห็นสุขโดยความเปนทุกข ไมรูจักสมุทัยวาเปนสิ่งที่ควรละ ไพลไปสงเสริมเพิ่มพูนสมุทัย คือเหตุใหเกิดทุกข สมุทัยตามตัวตรงๆ ก็คือตัณหาหรือกิเลส คนสวนมากก็ชอบไปเพิ่มพูนกิเลส สงเสริมกิเลส แทนที่วาจะชวนกันละกิเลสหรือลดกิเลสใหนอยลง ซึ่งจะเปนเหตุใหสังคมที่เราเปนอยูนี้ดีขึ้น ไมรูจักนิโรธวาควรทําใหแจง ก็ไพลไปทําใหมืดยิ่งขึ้น เดินสวนทางกับนิพพาน ก็ไมมีทางที่จะไปถึงนิพพานได 65 ความสุขที่หาไดงาย
เพราะเหตุที่ไมรูจักมรรควาเปนสิ่งที่ควรดําเนินใหบริบูรณ ไพลไปเดินออกนอกมรรคนอกทางกันเสีย สิ่งใดที่เปนทางก็เห็นเปนไมใชทาง สิ่งที่ไมใชทางก็เห็นวาเปนทาง เมื่อเปนอยางนี้ ความทุกขในชีวิตก็เพิ่มพูนขึ้น เพราะความไมรูหรือรูผิด รูไมตรงตามความเปนจริง อวิชชาที่หมักหมมพอกพูนอยูทุกวัน คืออวิชชาสวะ เครื่องหมักดองจิตคืออวิชชา เมื่อเกิดความเคยชินขึ้น มันก็ยิ่งมีมากขึ้นในสันดานของบุคคลก็มีอวิชชามากขึ้น ทําใหเปนคนเบาปญญา ทําใหจิตของเราโงเขลาเบาปญญา เมื่อจิตโง คนก็โง เพราะสิ่งสําคัญในตัวคนก็คือจิต จิตเปนใหญเปนประธาน อยางที่ทานกลาววา มโนปุพพงฺคมา ธมฺมา สิ่งทั้งหลายมีใจเปนหัวหนา มีใจเปนใหญ มีใจประเสริฐ คนสมัยใหมไดเรียนรูวิชาการตางๆมามากมาย อาจจะฉลาดขึ้นในหลายๆเรื่อง แตถายังโงเขลาในการดําเนินชีวิต ก็ไมอาจจะลดความทุกขลงได ยิ่งถาเรียนมากรูมาก ความทุกขก็มากขึ้นดวย ก็ตองถือวาความรูนั้นเปนวิชชา แตในอวิชชา เพราะยิ่งรูมากก็ยิ่งเครียดมาก ยิ่งมีความทุกขมาก มีความเดือดรอนมาก ก็ไมเปนวิชชาสักทีหนึ่ง คุณลักษณะของชีวิตที่ดี ชีวิตของคนเรา ควรใหประกอบดวยคุณลักษณะที่สําคัญสัก 3 ประการ ก็จะเปนชีวิตที่ดี คือ 1. ใหเขาถึงความจริง อันนี้เราก็ตองใชปญญา 2. ใหเขาถึงความดีงาม ซึ่งจะตองใชคุณธรรมตางๆมากมาย 3. ใหเขาถึงความสุข หรือภาวะที่ไรทุกข เราทําไดโดยใหใจมีเสรีภาพ หรือบรรลุถึงอิสรภาพ 1. ปญญารูตามความเปนจริง ขอขยายความวา คนเราจะตองมีปญญาจึงจะรูความจริง รูสิ่งตางๆตามที่มันเปนจริง ที่ทานเรียกวา ยถาภูตญาณทัสสนะ แปลวา เราเขาถึงความจริงไดดวยปญญา อยางที่พระพุทธเจาไดตรัสไวเมื่อพระองคไดตรัสรูวา จักษุเกิดขึ้นแลว ญาณปญญา วิชชา แสงสวางไดเกิดขึ้นแลว เกี่ยวกับเรื่องอริยสัจ 4 อวิชชาคือความไมรู หรือความมืดก็ดับไปเหมือนเมื่อแสงสวางเกิดขึ้น ณ ที่ใด ความมืดในที่นั้นก็หายไป
66 ความสุขที่หาไดงาย
ในความมืดเราจะมองไมเห็นอะไร แมสิ่งตางๆจะมีอยูก็ตาม แตเราก็ไมอาจที่จะรูไดวามันตั้งอยูตรงไหน ตั้งอยูอยางไร นอกจากเราจะเคยเห็นมากอน แลวสิ่งนั้นๆยังไมถูกยายที่ แตถาเราสาดแสงสวางเขาไปก็จะมองเห็นสิ่งตางๆ ตามที่เปนจริง ขอนี้ฉันใด เมื่อจิตของเราถูกหอหุมดวยอวิชชาสวะ จิตก็จะมองอารมณหรือสิ่งตางๆไมเห็นตามเปนจริง แตเมื่อปญญาเกิดขึ้น ความจริงยอมจะปรากฏ สิ่งทีอ่ ยูในกะลาครอบ ก็จะไมเห็นโลกภายนอก แสงสวางภายนอกก็ไมอาจจะเขาไปได แตพอยกกะลาออกก็จะไดสัมผัสโลกภายนอกตามความเปนจริงทันที ดวยเหตุนี้ องคประกอบของชีวิตที่ดี ประการแรกก็คือปญญา เพื่อจะใหเราไดรูความจริง 2. คุณธรรมเพื่อความดีงาม ตอมาก็คือ เราจะเขาถึงความดีงามไดก็ดวยคุณธรรม เพื่อความดีงามของชีวิต เราจึงตองมีคุณธรรม คุณธรรมจะมีไดก็ตองศึกษาเรียนรูอบรมบมและปลูกฝงจนเคยชิน ความเคยชินในทางที่ดีเปนสิ่งที่ดีมาก คลายๆเชือกที่ฝนกันเปนเกลียว วันละเกลียวๆ นานวันก็จะเปนเชือกเสนใหญที่ยากที่จะตัดได นั่นคือเคยชินในทางที่ดี เคยชินในทางที่ชั่วก็เหมือนกัน นี่กลาวถึงความเคยชินที่ดี มันก็เปนนิสัยสันดานที่ดี เปนระบบคุณธรรมความดีงาม เราจะตองเรียนรูอีกตางหาก ไมใชจะเหมาเอาวา คนไดเรียนชั้นสูงๆ มีปริญญาสูงๆ มีตําแหนงทางวิชาการสูงๆ มีฐานะสูงๆ แลวจะมีคุณธรรมไปดวย นั่นเปนการตีขลุมเอาเปนการวาเอาคิดเอา ไมใชความเปนจริง ความเชื่ออยางนี้ ทําใหเราผิดพลาดมามากเกี่ยวกับการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย เพราะเราคิดแตวาคนที่ไดเรียนวิชาการตางๆสูงแลว จะเปนคนดีมีคุณธรรม แตวาสิ่งที่ปรากฏในสังคมมันฟองเราอยูทุกวัน วาสิ่งที่เราเชื่อนั้นไมเปนความจริง ระบบคุณธรรมจะตองเรียนอีกตางหาก จะตองประพฤติปฏิบัติ จะตองอบรมปลูกฝงกันอีกตางหาก ยกตัวอยางเปรียบเทียบวา คนที่มีการศึกษามากในระบบคุณธรรม ยอมจะไมสามารถใหเขารูวิทยาศาสตรแขนงตางๆไปดวย ขอนี้ฉันใด คนที่เรียนมากเรียนสูงในแขนงวิชาอื่นๆ เชน วิชา วิทยาศาสตร วิชาเศรษฐศาสตร วิชาอะไรตางๆมากมาย ก็จะไมสามารถใหเขารูระบบคุณธรรมไปดวย ฉันนั้นเหมือนกัน จึงตองหาเวลาตางหากสําหรับเรียนรูสิ่งเหลานี้ เพื่อความสมบูรณแหงชีวิต และก็ ‘ตอง’ ทีเดียวนะครับ ไมใชวาเรียนก็ได ไมเรียนก็ได รูก็ได ไมรูก็ได ไมใชอยางนั้น ‘ตองรู’ ทีเดียว 67 ความสุขที่หาไดงาย
คลายๆเรื่องการทําบุญ ‘ตอง’ ทําทีเดียว อยาคิดวามีโอกาสก็ทํา ไมมีโอกาสก็ไมทํา ทําก็ได ไมทําก็ได คิดอยางนั้นไมได ‘ตอง’ ทําทีเดียว 3. ใหเขาถึงความสุข องคประกอบอีกอยางหนึ่งคือความสุข ความสุขนี้เราจะเขาถึงได ก็โดยจิตใจที่มีอิสรภาพ มีเสรีภาพ ไมถูกบีบคั้น เราจะพบความจริงอยูเสมอวา บางคนมีวิชาความรู มีปญญา แตไมเปนคนดี บางคนเปนคนดีมีคุณธรรมแตไรปญญา บางคนเปนคนดี มีปญญา แตไรความสุข เกี่ยวกับเรื่องนี้ เราจะหาคําอธิบายอยางไร คนมีปญญา แตไรคุณธรรม ไมเปนคนดี ก็ไมดี คนดีมีคุณธรรม แตขาดปญญา ก็กลายเปนคนดีที่โงเขลา งมงาย ถูกหลอก เปนเหยื่อของคนที่มีปญญาแตขี้โกง คนมีปญญาแตไรคุณธรรม เปนคนขี้โกง โกงเพื่อน โกงบานโกงเมือง โกงทุกอยางที่จะโกงได มีปญญาเปน Cunning เปนคนมีปญญา แตไรคุณธรรม เปนคนขี้โกง ไมดีเหมือนกัน คนที่มีปญญา มีคุณธรรม แตไรความสุข ก็ไมดีที่เปนเชนนี้เพราะอะไร เปนเรื่องที่นาพิจารณา เพราะวาตามธรรมดาแลวคนที่มีปญญามีคุณธรรม นาจะเปนคนที่มีความสุขโดยไมมีเงื่อนไข แตเทาที่ปรากฏแกเรา ไมไดเปนอยางนั้นเสมอไป คนมีปญญาดี มีคุณธรรมดี ทําหนาที่การงานไดใหญโตกวางขวาง เปนที่ยกยองใหเกียรติของคนทั้งหลาย แตชีวิตจริงๆของเขาไมมีความสุขก็มีอยู ทานเคยเห็นไหมครับ ที่เปนเชนนี้ เราวิเคราะหไดวา ปญญาและคุณธรรมที่เขามีอยูนั้น ยังไมสมบูรณ ยังเปนปญญาและคุณธรรมขั้นตนอยู ยังไมเปนของแท เชน ปญญาก็ยังเปนปญญาอยางโลกๆ ที่ทานเรียกวาโลกียปญญา คุณธรรมก็ยังเปนคุณธรรมแบบที่ชาวโลกมี คุณธรรมแบบเด็กๆ ไมใชปญญาทางธรรม และไมใชคุณธรรมที่มั่นคง ยังเปน Relative เปนสัมพัทธอยู เขาดีก็ดีดวย เขาไมดีก็ฆาก็ฆากัน เกลือกับเกลือ ฟนตอฟน ทํานองนี้ เบียดเบียนประหัตประหารกันไป ยังวอกแวกหวั่นไหว ถาเปนปญญาทางธรรมที่ลึกซึ้งแทจริง และคุณธรรมนั้นมั่นคงแลว จะตองตามมาดวยอิสรภาพทางใจ หรือเสรีภาพทางใจ เปนภาวะที่ไรทุกข คราวใดที่มีทุกขเขามาก็สามารถจะสปริงทุกขออกไปได และไดเสมอทีเดียว จนเปนผูที่เปนทุกขไมเปน อยูเหนือทุกข เรียกงายๆวาเปนคนที่มีความสุข 68 ความสุขที่หาไดงาย
ทานลองดูพระคุณสําคัญ ของพระสัมมาสัมพุทธเจาที่กลาวโดยยอมี 3 ประการ คือ 1. พระปญญาคุณ 2. พระกรุณาคุณ คือพระคุณธรรมตางๆ ยกพระกรุณาขึ้นมาเปนตัวนํา 3. พระบริสุทธิคุณ คือสภาพที่พระทัยของพระองคปราศจากกิเลสเครื่องเศราหมอง เครื่องหมักดอง มีอิสรภาพทางพระทัยเต็มเปยมบริบูรณ จึงเปนผูมีความสุขไรทุกข ไมมีทุกขใดๆบีบคั้นพระทัยได พระคุณทั้ง 3 นี้ ถากลาวอยางสามัญก็คือ ปญญาความรูจริง คุณธรรม ความดีงาม และความสุข ตามที่ไดกลาวมาแลว ชีวิตที่ประกอบดวยองคธรรมทั้ง 3 ประการดังกลาวนี้ เปนชีวิตที่ไรปญหา เมื่อไมมีปญหาก็ไมมีความทุกขเขามาครอบงํา หรือแมจะมีปญหาบาง ก็มักจะแกปญหานั้นไดดวยปญญาและคุณธรรม อยางที่พระสัมมาสัมพุทธเจา และพระอริยเจาทั้งหลายไดแกมาแลว มีชีวิตทีส่ งบสุขใหดูเปนตัวอยาง แมเพียงพระโสดาบันก็อยูเหนือทุกขเปนอันมากแลว คือมีความทุกขนอยที่สุด คือมีความทุกขอยู แตมีความทุกขนอย พระพุทธเจาทรงเปรียบวา เหมือนกับเอาใบหญาจุมลงในสระใหญ แลวก็ดึงขึ้นมา หยาดน้ําที่ติดอยูกับใบหญานั้นแหละ คือทุกขของโสดาบัน แลวก็เปรียบทุกขของปุถุชนทั้งหลาย เหมือนกับน้ําในสระใหญ เห็นไดวาบุคคลที่มีชีวิตซึ่งประกอบดวยคุณเชนนี้ มีชีวิตที่มีทุกขนอย นี่ขนาดพระโสดาบัน ซึ่งเปนอริยบุคคลขั้นตน ถาเปนพระอริยะระดับสูงขึ้นไป จะมีความสุขมากแคไหน จะมีความทุกขนอยแคไหน คือจะไมมีทุกขเลย ปญญาในทางธรรมเมื่อเกิดขึ้นก็จะกําจัดอวิชชาใหดับไป จิตเปนธรรมชาติที่ผองใส แตเศราหมองเพราะถูกอวิชชาหอหุมเอาไว สิ่งใดเกิดขึ้นกับจิต อวิชชาก็จัดการกับสิ่งนั้นแทนปญญา เรียกวาจัดการไปทําไป ทําไปดวยความโงเขลาตามอํานาจของอวิชชานั่นเอง แตเนื่องจากจิตตกอยูภายในอํานาจของอวิชชาสวะ เปนจิตเขลา จึงไมรูวาทําไปดวยความเขลา เขาใจผิดวาทําไปดวยความฉลาด
69 ความสุขที่หาไดงาย
อวิชชาเห็นตัวเองซึ่งเปนความมืดวาเปนความสวางนี่สําคัญ ขอใหจําไว เหมือนคนโงสําคัญวาตนเองฉลาด พระพุทธเจาตรัสไววาบรมโง ถาคนฉลาดสําคัญตนวาเปนคนโงก็ยังดีกวา เห็นคําเตือนของคนฉลาดเห็นความโงเขลา ไมยอมทําตามและยังเยยหยันเสียอีก เพื่อความหลุดพนจากอาสวะดังกลาวมานี้ อาสวะทั้ง 4 กามาสวะ ทิฏฐาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ ผูปฏิบัติตองอาศัยศีล สมาธิ และปญญา จิตที่ปญญาอบรมดีแลว ก็จะหลุดพนจากอาสวะทั้งปวง ดังคําที่วา ปฺٛ าปริภาวิตํ จิตตํ สมฺมเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ จิตที่ปญญาอบรมแลว ก็จะหลุดพนจากอาสวะทั้งปวง นี่คือเรื่องของอวิชชาสวะ ขอทบทวนอีกนิดหนึ่ง เปนผูที่ละอาสวะทั้งหลาย เชน กามาสวะ สงบอยู หรือวาสงัดอยู เปนผูมีศีลละความทุศีล หางไกลจากความเปนผูทุศีล เปนสัมมาทิฏฐิ ละมิจฉาทิฏฐิ เปนผูหางไกลจากมิจฉาทิฏฐิ เปนผูสิ้นอาสวะ ละอาสวะไดแลว หางไกลจากอาสวะนั้น สําหรับเรื่องปวิเวกกถา การชักชวนกันไปในทางสงบสงัด ความเงียบ ซึ่งเปนสิ่งที่มีประโยชนกับชีวิตมาก ผมขอจบลงเพียงเทานี้ ขอความสุขทั้งทางโลกและทางธรรม มีแดทานทั้งหลายโดยทั่วกัน สวัสดีครับ
70 ความสุขที่หาไดงาย
ภาคผนวก พลังแหงความเงียบ
“ความเงียบ เปนแหลงพลังที่ยิ่งใหญของมนุษย เปนความลับที่แทจริง ของชีวิตทางจิตวิญญาณ”
71 ความสุขที่หาไดงาย
ภาคผนวก : พลังแหงความเงียบ ผมจะคุยกับทานผูฟงในเรื่องพลังแหงความเงียบ หรือ The Power of Silence ใหถือวาเปนสวนผนวกของกถาวัตถุขอที่วาดวย วิเวก หรือปวิเวกกถา ชักนํากันสนทนากันใหพอใจในวิเวก ในความเงียบสงัด เรื่องพลังแหงความเงียบ หรือ Power of silence เนื้อหาสวนมากเอามาจากหนังสือ The essence of spiritual philosophy ของทานหริทาส เชาธุลี บทที่ 27 วาดวยเรื่อง the power of silence ในนัน้ มีหลายเรื่อง แตเรื่องนี้นาสนใจมาก ทานพูดถึงความเงียบ เปนแหลงพลังที่ยิ่งใหญของมนุษย เปนความลับที่แทจริงของชีวิตทางจิตวิญญาณ หรือ Spiritual living อยูที่การสะสมพลังแหงความเงียบ ซึ่งมีลักษณะใหแสง สวางสรางสรรค สมัยปจจุบัน คนเราไมคอยตระหนักถึงความสําคัญแหงความเงียบ เราชอบอยูกับความวุนวาย แมเราอยูคนเดียว และมีพลังแหงความเงียบอยูแลว ก็ยงั นําเสียงรบกวนติดตัวไปดวย เชน วิทยุติดตัว เปนตน ในคัมภีรอุปนิษัทไดกลาววา พระเจาคือความเงียบ (God is silence) ทางพุทธศาสนา (อันนี้ผมเติมเองนะครับ) พระพุทธเจาตรัสไววา สุโข วิเลโก ตุฏฐสฺส ความวิเวกของผูพอใจในวิเวกเปนความสุข มีเด็กหนุม 4 คนไปแสวงหาครูผูยิ่งใหญ ใหสั่งสอนความจริงอันยิ่งใหญคือพรหม เมื่อไดพบครูแลว พวกเขาก็ไดขอใหครูสอนธรรมชาติอันยิ่งใหญคือพรหม ครูเงียบ เมื่อเด็กพวกนั้นขอรองหลายครั้ง ครูเงียบในที่สุด ครูก็ไดพูดขึ้นวา ขาพเจาไดใหคําตอบไปเรียบรอยแลว ความเงียบอันยิ่งใหญนั่นแหละคือพระเจา God is the great silence เธอจะรูจักพระเจาก็ดวยการเขาถึงความเงียบอันยิ่งใหญ ทานจะพบความจริงขอหนึ่งวา นักคิดผูยิ่งใหญและผูทํางานเพื่อปลดเปลื้องทุกขของมวลชน ลวนแตเปนผูพอใจในความเงียบ ตัวอยางที่เห็นทานหนึ่งคือ มหาตมะ คานธี ทานมหาตมะ คานธี วันจันทรเปนวันเงียบ อยูในที่ประชุมก็ไมพูด ถาจําเปนตองพูด ก็ใชเขียนเอา ใหเลขาอานใหที่ประชุมฟง ความสงบเงียบและความกรุณาในตัวทานนั้น ทําให ทานมีเสนหในตัวมาก ใครเขาใกลก็ตองรัก จนถึงกับประเทศอังกฤษ ซึ่งเมื่อสงใครมาปกครองอินเดีย ตองสั่งไววาถาไมอยากรักคานธี ก็อยาไปเขาใกลทาน ทั้งๆที่รูปรางทานก็ไมไดสวยงาม แตประการใดเลย 72 ความสุขที่หาไดงาย
แตความจริงใจความเมตตากรุณาและความสงบเงียบ ทําใหทานคานธีมีเสนหมาก พูดจาไพเราะซึ่งออกมาจากใจที่ออนโยนเหมือนแมเหล็กที่ดึงดูดคนใหเขาหาและรักใคร ทําใหคน เขาใกลรูสึกชุมเย็นและสบายใจ บุคคลประเภทนี้มีอํานาจดึงดูดคนไดสูง ที่เรียกในภาษาอังกฤษวา Human magnetism โดยทั่วไปก็หมายถึงแมเหล็ก แตวานํามาใชกับคน เราทุกคนมีโอกาสจะทําไดอยางทานมหาตมะ คานธี มหาบุรุษอื่นๆ ขอเพียงแตเรามีความตั้งใจจริงๆ มีกระแสจิตที่แรงพอในเรื่องเมตตากรุณา อันนี้มภี าษิตที่ผมชอบพูดถึงอยู บอยๆ ขอหนึ่งคือ มหาปุริสภาวสฺส ลกฺขณํ กรุณาสโห ทนไมไดเพราะความกรุณา เห็นใครทุกขไมไดเปนลักษณะของมหาบุรุษ อยางพระพุทธเจาที่มีพระคุณ 3 ที่สําคัญที่จะตองควบคูกันคือพระมหากรุณาคุณ พระปญญาคุณ พระบริสุทธิคุณ ความสงบเงียบมีอานุภาพสรางสรรคชีวิตจิตใจของเราอยางนาอัศจรรย เราเหน็ดเหนื่อยดวยการทํางานมาทั้งวัน ถาไดนอนพักในที่สงบเงียบและอากาศดี สัก 4-5 ชั่วโมง จะรูสึก กระปรี้กระเปรา และเปนชีวิตใหมที่สามารถทําสิ่งตางๆ ไดตอไปอีกทั้งวัน กิจกรรมสรางสรรคตางๆ มักจะเกิดขึ้นทามกลางความเงียบ เมื่อเรารูสึกมีปติความอิ่มใจ และปสสัทธิ ความผอน คลาย นักวิทยาศาสตร ศิลปน และนักศาสนา ทํางานสรางสรรคไดมากขึ้น ลวนอาศัยพลังแหงความเงียบจากภายนอกและความสงบภายในใจทั้งสิ้น ทานนโปเลียนเปนคนหนึ่งที่มีพลังเงียบในตัวมาก อยากจะหลับเมื่อไหรก็หลับได อยากจะตื่นเมื่อไหรก็ตื่นได ทานมหาตมะ คานธีก็เหมือนกัน คราวหนึ่งทานไปงานศพของบิดาทานเนรูห ทานหลับอยู รถชนกันทานตกลงไป ทานยังไมตื่นเลย เปนความตั้งใจดวยวาทานจะหลับยาวเทาไหร ยังไมถึงเวลาที่ทานตั้งไววาจะตื่น เลยยังไมตื่น มีนักประพันธผูยิ่งใหญชาวอเมริกัน คือเออรเนส แฮมมิงเวย ไมชอบใหใครถามวากําลังเขียนอะไรอยู ทานบอกทําใหทานผิดพลาด ทานจะบอกไดก็ตอเมื่อทําสําเร็จแลว หรือพรอมที่จะสงเขาโรงพิมพ นักปรัชญาตะวันตก ไดโอยินีส ปกติตอนเชาๆ จะไปอาบแดดอยูบนหลังคาตึก พระเจาอเล็กซานเดอรก็ไปหาบอกวา ทานอยากไดอะไรขอใหบอก ยินีสบอกวา ขอใหทานอยามายืนบังแดด ทานอเล็กซานเดอรบอกกับทหารวา ถาฉันไมเปนอเล็กซานเดอร ฉันจะเปนอยางคนนี้ คือทานเหลานี้มักจะไปสุดทางไปเลย
73 ความสุขที่หาไดงาย
วิถีของผูยิ่งใหญแตละคน ก็มีแนวของตัวเองทําตามยาก พระธรรมของพระพุทธเจาของเรา ก็ทําตามยากเหมือนกัน พระพุทธเจาตรัสวา ถาเราทําตามศาสดา คือสาวกตองทํา ตามศาสดาอยูแลว แตถาไดศาสดาผิด ยิ่งทําตามศาสดาก็ยิ่งผิดมาก ถาไดศาสดาถูกยิ่งทําตามศาสดา ก็ยิ่งถูกมาก อันนี้สําคัญมาก เพราะฉะนั้น คนที่ไดศาสดาถูกนี่โชคดีมาก โดยปกติเราก็ทําตามครูสํานักนั้น ทีนถี้ าสํานักถูก ทําตามสํานักนั้นก็โชคดี แตถาเขาสํานักผิด ยิ่งทําตามมากเทาไหร ก็ยิ่งผิดมากเทานั้น อันนี้นากลัว นาจะอยูที่พิจารณญาณเหมือนกัน การเขาสํานักผิด เสียหายมาก มันเปนปจจัยของมิจฉาทิฐิ เขาเรียก ปรโต โฆษะ เปนปจจัยหนึ่งของมิจฉาทิฐิ ทีนี้ถาได ปรโต โฆษะ ที่ไมดี แลวก็ประกอบกับอโยนิโสมนสิการ ในตัวของตัวดวย มันเปนมิจฉาทิฐิไปเลย ที่พระพุทธเจาทานทรงตําหนิ มักขลิโคศาล วาบรรดาผาที่นารังเกียจที่สุดคือผาที่ทําดวยผมคน บรรดาลัทธิทั้งหลายไมมีลัทธิอะไรนารังเกียจเทาลัทธิของมักขลิโคศาล คือตั้งลัทธิเหมือนเอาลอบเอาไซมาดักปลาเอาไว ไมใชเพื่อสวัสดิภาพของปลา แตเพื่อความพินาศของปลาทั้งนั้นเลย ลัทธิไมดี ก็พากันไปอบายทั้งปวง ผมจะเริ่มพูดถึงเรื่องความสงบกอน จากพระพุทธภาษิตที่วา นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ ไมมีความสุขใดนอกจากความสงบ นี่แปลได 2 อยางคือ ความสุขนอกจากความสงบไมมี ถาแปลอยางนี้ก็ปฏิเสธความสุขอยางอื่นทั้งหมดนอกจากความสงบ อันนี้ก็อธิบายไดวา ถาเราเกิดความหิวขึ้นมา เราก็เกิดความกระวนกระวายไมเปนสุข พอเรากินอาหารแลวความหิวสงบลง ก็เปนสุข แมแตเรื่องการกิน ความหิว นี่ก็ตองอาศัยความสงบเสียกอนจึงจะเปนสุข เรารอนมากก็กระวนกระวาย พออาบน้ํา ความรอนก็สงบลง เราก็รูสึกวาเปนสุข ทํานองนี้นะครับ คิดไปไดเยอะเลย ทุกอยางที่ความกระวนกระวายเกิดขึ้น มันก็เพราะมีอะไรมาผลักดันใหมีความกระวนกระวายเกิดขึ้น แลวพอทําใหสิ่งนั้นสงบลงไดจึงจะเปนสุข เพราะฉะนั้น ก็อธิบายไปไดตลอด จนถึงพระนิพพานนะครับ วาความสุขนอกจากความสงบไมมี แปลอีกอยางหนึ่งวา ความสุขยิ่งกวาสงบไมมี ไมมีความสุขใดยิ่งกวาความสงบ อันนี้แปลอีกสํานวนหนึ่งไดเหมือนกัน อันนี้ยอมรับความสุขอื่นๆ ทั้งหลายทั้งปวงดวย เชน กามสุข ฌานสุข และนิพพานสุข สันติสุขในที่นี้ก็เล็งไปถึงนิพพาน แตวายอมรับความสุขอื่นวามีเหมือนกัน แตสุขอันอื่นจะไมยิ่งกวาความสงบ 74 ความสุขที่หาไดงาย
สมเด็จพระมหาสมณเจา ทานเขียนวา “ความสุข (อื่น) ยิ่งกวาความสงบไมมี” อันนี้ทานเล็งสันติไปที่นิพพาน ความสงบเปนทั้งเหตุและผลของการเขาถึงธรรม คือคนที่จะเขาถึงธรรมตองอยูกับความสงบ และฝกฝน กาย วาจา ใจ เพื่อความสงบ เมื่อเขาถึงธรรมแลวก็จะไดความสงบมากขึ้น จึงกลาววาความสงบเปนทั้งเหตุเปนทั้งผลของการเขาถึงธรรม ความสงบมี 2 อยาง คืออยางแทกับอยางเทียม ถาเราไดความสงบอยางเทียม เราก็จะไดสุขอยางเทียม ถาไดความสงบอยางแท ก็ไดสุขอยางแท ความสงบอยางเทียม ก็คือความสงบที่มันพรอมจะไมสงบขึ้นอีก คือชั่วคราว คือความสงบที่กอใหเกิดสามิสสุข สุขอยางเทียม สุขแทคือนิรามิสสุข ก็ไดมาจากความสงบที่แท เหมือนกับเราทําใหไฟดับได 2 วิธี วิธีหนึ่งก็คือ ใสเชื้อสดๆลงไป แลวไฟก็ทําทาจะดับ แตวาพอเชื้ออันนั้นรอนดีแลว ไฟก็จะโหมขึ้นอีก ก็เปนความดับอยางเทียม คือชั่วคราว อีกวิธีหนึ่งคือคอยๆ ดึงเชื้อออก ถาดึงออกไฟมันก็จะคอยๆ ดับลงไป คราวนี้มันจะดับสนิทเพราะวาหมดเชื้อ นี่เปนความสงบอยางแท เชน ความสุขอยางแท ความสงบอยางเทียมนี้ เราก็ตองอาศัยไปพลางๆกอน แมจะไดความสงบอยางเทียม ก็ดีกวาไมไดเลย จนกวาจะไดสงบอยางแท แลวก็จะใหสุขอยางแท คืออาศัยสามิสสุขไปกอน จนกวาจะรูจักมันดีแลว ก็จะเบื่อที่จะเสวยสุขอยางเทียม คราวนี้จิตมันก็จะพรากออกไปไดเองโดยธรรมชาติ มนุษยและสัตวทั้งหลาย วุนวายและสงบในชีวิตสลับกันไป ถาจะถามวาอะไรเปนพื้นฐาน หรือสัญชาตญาณของจิตใจ เปนความวุนวายหรือความสงบ คําตอบคือความสงบ โดยธรรมชาติ เราตองการความสงบ แตที่ไมสงบเพราะมันมีสิ่งกระตุนใหมาวุนวาย หรือไมสงบ ทีนี้พอหมดสิ่งกระตุนนั้นแลว ก็จะไหลไปสูความสงบ คือตองการความสงบ อยางเชนสัตวมันนอนอยูเฉยๆ พอตื่นขึ้นมามันหิว มันก็ตองกิน แตพอมันหากินไดอิ่มตามความตองการแลว มันก็จะไปอยูสงบของมัน 75 ความสุขที่หาไดงาย
คนเราก็เปนอยางนั้น ปกติก็ชอบสงบ ไมมีใครชอบความวุนวาย แตวามันมีสิ่งที่มาเรามากระตุน หรือมาเปนเหตุใหเกิดความไมสงบขึ้น ทั้งในชีวติ สวนตัวและในชีวิตสังคมตางๆ ความสงบมันก็อยูที่เดียวกับความวุนวาย เหมือนแสงสวางมันอยูที่เดียวกับที่มืด ความสะอาดอยูที่เดียวกับความสกปรก พอแสงสวางเขามา ความมืดก็หายไป หรือพอกําจัดสิ่งสกปรกไดความสะอาดก็โผลขึ้นมา ผมจะเชื่อมโยงกับ ความสงบเปนพลังที่ยิ่งใหญ ที่แฝงตัวอยูเบื้องหลังของความสับสนวุนวายดวยแรงผลักดันตางๆ พอหมดแรงผลักดันแลว ความสงบก็จะเขามาแทนที่ เชน หลังพายุฝนก็มีความสงบเกิดขึ้น ถาเราใชชีวิตอยางถูกตอง หรือคิดอยางถูกตอง อยูกบั พลังของความสงบหรือพลังของความเงียบ เราก็จะสามารถสรางสรรคสิ่งที่ดีงามตางๆ ขึ้นในตัวเราไดมาก สิ่งนี้มีบทบาทอยาง มากในชีวิตของคนทั้งหลาย รวมทั้งในชีวิตของนักปราชญผูยิ่งใหญทุกคน นักปราชญหรือมุนีผูยิ่งใหญ ทานจะสั่งสอนเรื่องพลังแหงความสงบ หรือพลังแหงความเงียบนี้แกคนทุกคน เนื่องจากทานเหลานี้มีพลังของความสงบหรือความเงียบอยูในตัวมาก เพียง ไดเขาใกลทาน เราก็จะรูสึกสงบเยือกเย็น โดยที่ทานยังไมตองพูดอะไรก็ได ก็คลายๆดวงจันทรวันเพ็ญ เพียงเห็นก็รูสึกเย็น สบาย มีความสุข หรือดอกไมก็สงกลิ่นหอมตามธรรมชาติอยาง เงียบๆ รมเงาของตนไมใหญใครเขามาใกลกร็ มเย็น หรือเพียงเห็นก็สดชื่น แมในรูปภาพเห็นตนไมยังรูสึกสบายใจ นักปราชญ ทานศรี ออโล พินโท ไดรับการยกยองจากนักปราชญรวมสมัยวาเปนผูวิเศษที่ยิ่งใหญที่สุดในยุคปจจุบัน ทานใชคําวา The greatest mystic of the modern age ตลอดปมี 4 วัน เทานั้นที่ประชาชนจะไดพบเห็นทาน นอกนั้นทานใชชีวิตอยูในบานของทานดวยความสงบ ฝกฝนจิตใจ คนควาหาความรูและเขียนหนังสือ ในโอกาส 4 วันนี้ เมื่อประชาชนมาเคารพทานเปนจํานวนพันหรือมากกวา ตั้งแถวยาวเหยียด คนแลวคนเลาเขาไปในหองของทาน ยืนตอหนาทาน ทําความเคารพ แลวก็เดินออกมาอยางเงียบๆ เปนกิจกรรมแหงความเงียบที่สมบูรณแบบ คนที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ไดสะสมมาจากพลังความเงียบจะมีสงาราศี สวนคนที่ไมดีทั้งสองอยางจะดูซบเซาเศราหมอง ไมมีเสนห ไมมีใครอยากเขาใกล เขาใกลแลวทุรน ทุรายไมเปนสุข 76 ความสุขที่หาไดงาย
บางคนมีสุขภาพกายดี แตสุขภาพจิตไมดี มีความทุกขรอนอยูภายในใจ เราก็จะมองเห็นความเศราหมองของเขา แมเขาจะพยายามทําเปนราเริงสนุกสนาน และพยายาม ปกปดความทุกขนั้นไวเพียงใดก็ตาม คลายเอากระดาษไปปดไฟ ปดไมไดและไหมดวย พลังแหงความเงียบ ทําใหเราไดพลังสําคัญอยางหนึ่ง คือกระแสความคิด และพลังความคิด ซึ่งจะกอใหเกิดพลังความสงบและพลังแหงปญญา เราอยูคนเดียว บางทีกก็ ลัว ถาอยูกันเปนกลุม ก็อบอุน แตก็นอ ยที่จะเงียบได ถาเราอยูกันมาก ถาเงียบไดก็ดีงามเหลือเกิน เพราะเจริญสติอยูกับกัมมัฏฐาน อยางที่เคยเลาใน ประวัติพระพุทธเจา คือมีพระอยู 500 เขาไปนี่เงียบ ไมมีเสียงอะไรเลย คือมีกายตางกัน แตมีจิตอันเดียวกัน คนที่อยูสงบ ถือวาอยูคนเดียว พระพุทธเจาทานใชวา เอกาสนัง นั่งคนเดียว เอกาไสยัง นอนคนเดียว แมจะนั่งกินอยูเปนรอย แตสงบ ก็ถือวานั่งคนเดียว ตรงขาม ถาอยูปาคนเดียว แตวิตกตางๆ มันพลุงพลานไปหมดเลย ไปที่นนั่ ไปที่โนน ก็ไมชื่อวาอยูคนเดียว ผูที่เคยอยูหรูหรา ฟุมเฟอย หอมลอมดวยบริวาร เมื่อตองการอยูคนเดียวในบางครั้ง จะรูสึกวาเหว แตเมื่อไดกําลังใจอุดหนุนก็จะสามารถดําเนินชีวิตเชนนั้นตอไปได และไดรับ รางวัลอันประเสริฐเปนสิ่งตอบแทน อันนี้มีตัวอยางในคัมภีร เรื่อง ภิกษุวัชชีบุตร ออกบวชจากราชตระกูล ไปอยูคนเดียว ก็รูสึกเหงา ไดยินเสียงดีดสีตีเปาในเมืองแววมา ก็นึกวา “ใครหนอ ในราตรีเชนนี้ จะแยกวาเรา” แตเทวดามาบอกวา ทานนั่นแหละ ดีที่สุดแลว ใครตอใครเขากระหยิ่มตอทาน ความสงบเปนสิ่งที่เกื้อกูลแกความหลับอันสงบ ถาเราไดหลับในที่สงบเงียบเพียง 4 ชั่วโมงก็พอ ถาหลับลึก มีบุคคลอีกผูหนึ่งที่ใชชีวิตสงบเงียบอยางมีความสุข ทั้งๆที่มีโอกาสจะหรูหรา ฟุมเฟอย ทานเปนนักประพันธผูยิ่งใหญ ตอล สตอย มีประวัติที่ดีมาก สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรง เปนบุรุษที่ยอดเยี่ยมไมมีผูใดเสมอเหมือน ในเรื่องรักความสงบ วาทรงเสพเสนาสนะสงัด และชักจูงใหพุทธบริษัทเสพเสนาสนะสงัดเพื่อไดกายวิเวก ไดจิตตวิเวก และอุปธิวิเวก อาศัยกันนะ ครับ เปรียบเหมือนความหวาน อาศัยน้ําออย น้ําออยอาศัยลําออย ลําออยอาศัยฟาดิน 77 ความสุขที่หาไดงาย
พระพุทธเจาตรัสรูแลวก็ยงั เสพเสนาสนะสงัด ตรัสวา อยาคิดวาเราเสพเสนาสนะสงัดเพื่อละกิเลส แตเพื่ออยูเปนสุขในปจจุบันและเปนตัวอยางของคนรุนหลัง
78 ความสุขที่หาไดงาย
79 ความสุขที่หาไดงาย
ความเพียร (วิริยารัมภกถา)
80 ความสุขที่หาไดงาย
สารบัญ ความเพียร ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐
ความหมายของวิริยารัมภะ บุคคลลวงทุกขไดดวยความเพียร ภิกษุผูคลายความเพียร พระมหาชนก คุณของความเพียรชอบ ตบะ คือความเพียร สัมมาวายามะ
84 85 88 91 92 93 94
v 1. สังวรปธาน - วิธีระวังปองกันบาปอกุศล 1. ปาติโมกขสังวร 2. อินทรียสังวร 3. ญาณสังวร 4. ขันติสังวร 5. วิริยสังวร
94 95 95 95 96 97 97
v 2. ปหานปธาน - โทษของทุจริต 5 ประการ - คุณของสุจริต 5 ประการ
99 99 99
v 3. ภาวนาปธาน
100
v 4. อนุรักขนาปธาน - การเปลีย่ นแนวคิดของร็อคกี้ เฟลเลอร
101 103
81 ความสุขที่หาไดงาย
๐ คนลวงทุกขไดดวยความเพียร ๐ ความทุกขคืออะไรบาง 1. ความทุกขจากความยากจน 2. ความทุกขจากความเจ็บปวย 3. ความทุกขในอบายภูมิ และความทุกขในสังสารวัฏ
82 ความสุขที่หาไดงาย
107 107 107 108 108
“บุคคลยอมลวงทุกขไดดวยความเพียร บุคคลผูสมบูรณดวยศีล มีปญญา มีใจตั้งมั่นคือสมาธิอยูเสมอ มีความเพียรเสมอตนเสมอปลาย นี่คือวิริยารัมภะ”
83 ความสุขที่หาไดงาย
ความเพียร สวัสดีครับ ทานผูฟงที่เคารพทุกทาน ทุกวันอังคาร เวลาประมาณ 2 ทุมเศษๆ ผม-วศิน อินทสระ จะมาพบกับทานผูฟงในรายการวิเคราะหธรรม ของมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย ตอนนี้กําลังคุยกันถึงเรื่อง กถาวัตถุ 10 มาถึงขอที่ 5 วาดวยเรื่องวิริยารัมภกถา ความหมายของวิริยารัมภะ วิริยารัมภะ นี่แปลวาปรารภความเพียร แตในความหมาย จะหมายถึง ความเพียรสม่ําเสมอ ความเพียรเสมอตนเสมอปลาย ความเพียรไมยอทอ ความเพียรเปนไปติดตอ อันนี้คือวิริยารัมภะ วิริยารัมภกถา ก็คือชวนกันสนทนาถึงความเพียร ชักชวนกันใหมีความเพียรไมเปนคนเกียจคราน พระพุทธเจาทานตรัสสอนไววา ทานทั้งหลายเห็นความเกียจครานเปนภัย เห็นความเพียรเปนธรรมที่เกษมหรือปลอดภัย จงเปนผูมีความเพียรสม่ําเสมอเถิด นี่เปนพุทธานุสาสนี คือการพร่ําสอนของพระพุทธเจา นี่เปนขอความจากคัมภีรจริยาปฎก ขุททกนิกาย พระไตรปฎกเลม 33 ทานจะเห็นวาความเกียจครานเปนภัยอยางยิ่งทีเดียว เพราะวาเปนบอเกิดแหงความหายนะหลายประการ บรรดาสิ่งที่นากลัวและควรขับออกไปจากตัวของคนเรา ก็เห็นจะไมมีอะไรมากเทากับความเกียจคราน สําหรับผูที่หวังความเจริญใหแกชีวิต ความเกียจครานควรจะเปนสิ่งแรกที่จะตองขับใหออกไปโดยเร็วที่สุดเทาที่จะเร็วได นักเรียนที่เกียจครานไมเปนที่ตองการของครู ครูที่เกียจครานไมเปนที่ตองการของนักเรียน และก็ไมเปนที่ตองการของโรงเรียน คนงานที่เกียจคราน พอแมที่เกียจคราน ไมเปนที่ตองการของใครๆทั้งนั้น และเปนโจรปลนเวลาที่สําคัญที่สุด รวมความวาความขี้เกียจเปนความไมดีอยางยิ่งของตัวคน เปนสิ่งที่นากลัว เปนภัย เปนหายนะที่ควรขับออกไปจากตัวบุคคล 84 ความสุขที่หาไดงาย
เมื่อยอมใหความเกียจครานเขาครอบงําแลว ความเสื่อมตางๆก็จะคืบคลานเขามาในชีวิตของคนอยางแนนอน สวนความเพียร โดยเฉพาะอยางยิ่งความเพียรชอบ คือสัมมาวายามะ เปนธรรมที่เกษม คําวาเกษมแปลวาปลอดภัย เชน ปลอดภัยจากการถูกติเตียนจากบัณฑิต ปลอดภัยจากความลมจม ความเสื่อมเสีย ต่ําทราม ความเพียรเปนเกราะเปนที่พึ่ง ที่ชวยสงเสริมยกฐานะของคนต่ําตอยใหสูงศักดิ์ ยกคนเลวใหเปนคนดี หนุนผูบกพรองทางสติปญญาใหสมบูรณขึ้น ผมขอยกตัวอยางสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส นักปราชญที่สาํ คัญของเมืองไทย ไดทรงนิพนธไว มีใจความวา “ถาเขาเปนคนมีปญญาใหญ ความเพียรจะชวยใหเขาดีขึ้น ถาเขามีปญญาพอสถานประมาณ ความเพียรจะหนุนความบกพรองของเขา ถากําลังปญญาของเขาจํากัดมากนัก ความตองการอุตสาหะก็มากขึน้ ปญญาแตพอปานกลาง จําตองขยายออกโดยความตั้งใจ กลาหาญ อุตสาหะไมหยุดหยอน คนตอยุทธ (คือคนที่สูรบกัน) รองวา กระบี่ของตนสั้นนัก ควรจะไดคําบอกใหสาวกาวตอกระบี่เขาไป คือยางเทากาวไป เพื่อจะเปนการตอกระบี่ใหยาวขึน้ คือใหกาวกระชั้นเขาไป ปญญาที่มีจํากัด ก็เปนคุณที่ใหเจริญดวยอุตสาหะทวีคูณ และมุงกระตือรือรนมากขึ้น” พระพุทธเจาไดทรงเตือนใหเปนผูมีความเพียรสม่ําเสมอ ใชคําเปนคุณศัพท อารัทธวิรโิ ย เรียกเปนหัวขอธรรมวาวิริยารัมแปลวาปรารภความเพียร คือนึกถึงความเพียรจดจออยูในการทําความเพียร ไมเปดโอกาสใหความเกียจครานเขามาได จะทําอะไรก็ทําอยางสม่ําเสมอ ไมจืดจางเร็ว มีความอดทนในการทํา อดทนรอคอยผล อยางสุภาษิตที่วา อป อตรมานานํ ผลาสา ว สมิชฺฌติ ความหวังผลยอมสําเร็จแกผูที่รูจักรอคอย มีความมั่นใจวาเมื่อทําดีแลว จะตองมีผลดี ไมเปนคนใจรอนดวนได ความเพียรที่สม่ําเสมอเชนนี้ ยอมจะมีผลจริงและมีผลยั่งยืน งานที่แทจริงยอมไมไรผล บุคคลลวงทุกขไดดวยความเพียร อีกขอหนึ่งที่พระพุทธเจาตรัสเอาไววา บุคคลลวงทุกขไดดวยความเพียร ใหสังยุตนิกาย สคาถวรรค พระไตรปฎกเลม 15
85 ความสุขที่หาไดงาย
พระพุทธเจาตรัสเรื่องนี้เพราะมีผูมาถามวา บุคคลจะลวงทุกขไดอยางไร ก็ตรัสตอบวา บุคคลจะลวงทุกขไดดวยความเพียร ตัวอยางเชน ความทุกขเพราะความยากจน ก็ลวงพนไดดวยความเพียรในการทํางาน ขยันทํามาหากินในทางสุจริต ความทุกขเพราะความโงเขลา ลวงพนไดดวยความขยันหมั่นเพียรในการศึกษาเลาเรียน แสวงหาวิชาความรูอยูเสมอ ใหเพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆ ไมรจู ักหยุดในการแสวงหาความรูนั้น ผูมปี ญญาหรือบัณฑิต รูสกึ ตนเสมือนวาจะไมแกไมตาย ในการรีบทําความดี บัณฑิตจะรูสึกตนเสมือนวาจะมีชีวิตอยูอีกเพียงวันเดียว คือรีบทํา ตามพระพุทธโอวาทที่วา ควรรีบทําความเพียรในวันนี้ทีเดียว ใครจะรูไดวาความตายจะมาถึงในวันพรุงนี้หรือไม อันนี้จากขอความในภัทเทกรัตตสูตร พูดถึงเรื่อง ความทุกขเพราะถูกกิเลสเบียดเบียน เราสามารถจะลวงพนได ก็ดวยรูจักควบคุมตนเอง และรูจักอดกลั้น ซึ่งเปนตบะธรรม ตบะแปลวาเผา เผากิเลส คือธรรมดาคนเราถูกกิเลสเผาแทบทุกวัน ก็เผากิเลสเสียบาง คือความเพียรเครื่องเผากิเลสใหเหือดแหง ความทุกขในสังสารวัฏบุคคลจะลวงพนเสียได ก็ดวยความเพียรในการปฏิบัติธรรม บุคคลผูมีความเพียร ยอมจะรูแจงดวยตนเองวา ตนไดลวงพนความทุกขนั้นๆ มาดวยความเพียรอยางไร พระพุทธเจายังตรัสสอนอีกวา บุคคลผูสมบูรณดวยศีล มีปญญา มีใจตั้งมั่นคือสมาธิอยูเสมอ มีความเพียรเสมอตนเสมอปลาย นี่ก็คือวิริยารัมภะ บากบั่นอยางไมคิดอาลัยในชีวิต ยอมจะสามารถขามโอฆะที่ขามไดโดยยากเสียที คําวาบากบั่นอยางไมคิดอาลัยในชีวิตนี้ แปลมาจากคําบาลีวา ปหิตัสโต แปลตามตัววา มีตนสงไปแลว นักเรียนบาลีก็แปลอยางนี้ แตโดยใจความก็คือ ทําความเพียรแบบมอบกายมอบชีวิต ไมเห็นแกชีวิต ถึงจะตองตายเพราะการทําความเพียร เพื่อบรรลุจุดประสงคนั้นๆก็ยอม อยางเชนองคพระพุทธเจาของเรา เมื่อทรงทําความเพียรเพื่อบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ไดทรงตั้ง จตุรงคมหาปธาน แปลวาความเพียรซึ่งประกอบดวยองค 4 วา เลือดและเนื้อในสรีระของเราจะเหือดแหงไป เหลือแตเอ็นและกระดูกก็ชางเถิด ถายังไมบรรลุผลที่ตองการ คือพระสัพพัญุตญาณ จะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด อยางนี้เรียกวาทรงทําความเพียรแบบมอบกาย มอบชีวิต ไมทรงอาลัยในชีวิต ในที่สุดพระองคก็ไดบรรลุผลสมความมุงหมาย คือไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เปนพระสัมมาสัมพุทธเจา มีผลแกโลกมาจนถึงทุกวันนี้ 86 ความสุขที่หาไดงาย
ในกาลตอมา พระพุทธเจาก็ไดทรงเตือนพุทธบริษัทใหมั่นในความเพียรวา ผูใดเกียจคราน มีความเพียรเลว คือความเพียรต่ํา มีชีวิตอยูรอยป ชีวิตของผูนั้นก็ไมประเสริฐ สวนผูที่มีความเพียรสม่ําเสมอ แมชีวิตจะอยูเพียงวันเดียว ก็ยังประเสริฐกวา หมายความวาใชชวี ิตอยูวันเดียวของผูมีความเพียรดีกวา มีชีวิตอยูรอยป แตยังเกียจคราน ผลาญทรัพยากรของสังคมหมดไปเปลาๆ แกไปเปลาๆ ไมไดประโยชนอะไร เพราะคนเมื่อมีชีวิตอยู ไมทําความดี ไมทําความเพียร ไมทําประโยชน ก็ผลาญทรัพยากรของสังคมใหสิ้นไป พวกนี้มักจะกินมากดวย เพราะขี้เกียจ เมื่อขี้เกียจก็ใชเวลาในการกินการเที่ยว เปลืองมาก คนที่มีความเพียรมาก ขยันมาก เวลาก็หมดไปกับการงาน การทําอะไรตออะไร ไมคอยจะมีเวลาที่จะผลาญทรัพยสินอะไรเทาไหร เมื่อเปนเชนนี้ ผูมีความเพียร ก็เรียกวาเปนผูมีชีวิตไมเสียเปลา สวนผูที่มีชีวิตอยางเกียจคราน ก็ทําตนใหเปนหมัน เปนภาระหนักแกคนอื่น อยูเปลืองขาวสุก เปลืองเสื้อผา ยาแกโรคของสังคม ผูสิ้นความเพียรก็ควรจะสิ้นชีวิตเสียเลย หรือสิ้นชีวิตเสียยังดีกวาอยูอยางผูสิ้นความเพียร รวมความวา การตายดีกวาการมีชีวิตอยูอยางเกียจคราน บางคนก็มีความเพียรบางเหมือนกัน แตวาความเพียรเลวเต็มที เพียรนอย เพียรยอหยอน พระพุทธเจาทรงเรียกวา หินวิริโย คือมีความเพียรหยอน ความเพียรต่ํา ความเพียรแบบไฟไหมฟาง ลุกขึ้นวูบหนึ่งแลวก็ดับไป พบอุปสรรคเขาก็ทอถอยงาย เหมือนไฟเชื้อออน ถูกลมพัดนิดหนอยก็ดับแลว ความเพียรที่ทรงสรรเสริญนั้น ตองเปนความเพียรที่มั่นคง ถึงจะพบอุปสรรคบางก็ไมทอถอย เห็นอุปสรรคเปนกําลังใจ อุปสรรคเปนยากําลัง เปนเครื่องทดสอบกําลังใจ ทดสอบความเพียรของคน เมื่อเห็นวามีอุปสรรค ไมทอถอย เมื่อเห็นวาทิศทางนี้เปนทางที่ถูกตองแลว ก็บากบั่นอยางมั่นคง พระพุทธเจาทรงชักชวนพุทธบริษัทใหเห็นคุณของความเพียร ไมถอยหลัง อยางที่ตรัสแกภิกษุทั้งหลายวา ภิกษุทั้งหลาย เราสรรเสริญธรรม 2 อยาง ความไมทอถอยในความเพียร 1 อปฺปปฏิวาณิตา ปธานสมิ และความไมสันโดษในกุศลธรรม 1 อสนฺตุฏฐิตา กุสเลสุ ธมฺเมสุ 87 ความสุขที่หาไดงาย
เราไดเคยตั้งความเพียรอันไมทอถอยมาแลววา เลือดเนื้อในรางกายเราจะเหือดแหงไป เหลือแตเอ็นและกระดูกก็ตามที ถายังไมบรรลุสิ่งที่บุคคลพึงบรรลุไดดวยเรี่ยวแรงกําลังแลว เราจะไมหยุดความเพียรเปนอันขาด ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายก็จงตั้งความเพียรอันไมถอยกลับเชนนั้นเถิด เพื่อบรรลุธรรมอันประเสริฐ ที่กุลบุตรผูออกบวชเพื่อประพฤติพรหมจรรยมุงหมาย พระพุทธเจาทานเตือนภิกษุ แตฆราวาสก็ใชได หมายถึงฆราวาสดวย ผมเคยพูดวา เมื่อพระพุทธเจาตรัสถึงภิกษุทั้งหลาย หมายถึงผูปฏิบัติธรรม ภิกษุผูคลายความเพียร ในสมัยพระพุทธเจา มีภิกษุสาวกของพระพุทธเจารูปหนึ่ง เรียนกัมมัฏฐานในสํานักพระพุทธเจาแลว ก็ไปทําความเพียรอยูในปาถึง 3 เดือน ก็ไมสามารถจะใหบรรลุผลใดๆได พอไมบรรลุผลแลว ก็กลับมา คิดวาในบรรดาบุคคล 4 จําพวกเราคงเปนปทปรมะบุคคล คือเปนพวกที่อาภัพในศาสนา ไมอาจจะบรรลุมรรคผลได อยูปาตอไปก็ไมมีประโยชน เราควรจะกลับไปอยูในเมือง ฟงพระธรรมเทศนาที่ไพเราะของพระพุทธเจาดีกวา คิดอยางนี้แลวก็กลับมาที่วัดเชตวัน เลาเรื่องนั้นใหภิกษุพรหมจารี หรือผูประพฤติพรหมจรรยรวมกันทราบ ภิกษุทั้งหลาย ก็ไดนําเธอไปยังสํานักของพระศาสดา กราบทูลเรื่องราวนั้นใหทรงทราบวา ภิกษุรูปนี้เปนผูคลายความเพียรเสียแลว พระพุทธเจาตรัสวา เธอบวชในศาสนาของเรา ผูสรรเสริญความเพียร ไฉนจึงเปนผูคลายความเพียรเสียเลา เธอไมควรทําตนใหคนทั้งหลายรูจัก วาเปนผูคลายความเพียร แตควรทําตนใหเขารูจักในฐานะเปนผูมีความเพียรสม่ําเสมอ ไมทอถอย ครั้งกอนเธอเปนผูมีความเพียรมาอยางดีแลว คนจํานวนมากไดอาศัยความเพียรของเธอแตผูเดียว ไดดื่มน้ําในทะเลทรายที่กันดาร คนเหลานั้นก็ไดรับความสุข เพราะความเพียรไมทอถอยของเธอ พระพุทธเจาตรัสอยางนี้ ตรัสเพื่อจะเราใจใหมีความเพียรและทรงตรัสเลาเรื่องในอดีตของภิกษุรูปนั้น มีใจความสําคัญดังนี้
88 ความสุขที่หาไดงาย
ในอดีตกาล พระโพธิสัตว เปนหัวหนาพอคาเกวียนในกรุงพาราณสี เที่ยวคาขายดวยเกวียน 500 เลม สวนมากก็จะเปนสํานวนคือจํานวนรอย ทานก็จะใสวา 500 ลงไป มาถึงทะเลทรายกันดารแหงหนึ่ง ระยะทางกันดารยาวถึง 60 โยชน (เทาที่ทราบ 1 โยชน เทากับ 16 กิโลเมตร) ทะเลทรายนี้ ทรายละเอียดออน ขนาดวากําแลวไมติดอยูในมือเลย ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นรอนเหมือนกองเพลิง เพราะฉะนั้น พวกพอคาเกวียนพวกนี้จึงบรรทุกเสบียงอาหาร เชนฟน น้ํา น้าํ มัน ขาวสาร เปนตน เดินทางเฉพาะกลางคืนเทานั้น แมในสมัยปจจุบันนี้ ที่อินเดีย พอคาเกวียนก็นิยมเดินทางกลางคืนเหมือนกัน กลางวันรอน พอรุงอรุณก็จะทําปะรํา หยุดพัก พอตกเย็นบริโภคอาหารเย็นแลว แผนดินแผนทรายคอยๆเย็นลง แลวก็ชวนกันเดินทางตอไป พระโพธิสัตว ก็คือพระพุทธเจาของเราในอดีต ขณะที่ทรงบําเพ็ญบารมีอยู พระโพธิสัตวในเวลานั้น ก็เปนหัวหนาพอคาเกวียน เดินทางผานทางกันดารในทะเลทราย เดินทางไปได 59 โยชนแลว เหลืออีกราตรีเดียวก็จะพนทางกันดาร ถึงไดสั่งใหบริวารเทน้ําหรือสิ่งที่ไมจําเปนเสีย เพื่อจะใหเกวียนเบาลง พอคาเกวียนก็นั่งอยูที่เกวียนคันหนา คอยดูดวงดาวและบอกทางวา จะหันเกวียนไปทางนี้ ขับเกวียนไปทางนั้น ไมไดนอนหลับเปนเวลานาน รูสึกเหน็ดเหนื่อยออนเพลีย จึงหลับไป พอคนคอยบอกทางหลับไปแลว โคทีล่ ากเกวียนก็ไดเวียนกลับมาทางเดิม พอรุงเชาก็ถึงที่ที่พวกเขาออกเดินทางมาเมื่อวันวาน เกวียนไดเวียนกลับมาที่เดิม ตัวผมเอง-ผูบรรยาย-ก็เคยเดินทางทางเรือ และโดนพายุหนักในทะเลสาบ ทั้งคืนเลย ไมทราบวาเรือไปไหนบาง มันมืดมิดไปหมด พอสวางขึ้นก็ไดเห็นวาเรือหางจากที่ออกเดินทางนิดเดียว คนนําทางก็ตื่นขึ้นเวลารุงเชา บอกใหชาวเกวียนกลับเกวียน แตก็ไมไดประโยชนอะไรเสียแลว พอคาเกวียนเสียใจมาก เมื่อรูวาพวกตนเดินทางทั้งคืนมาหยุดอยูที่เดิม 89 ความสุขที่หาไดงาย
ก็บนกันอูไปหมดวา น้ําของพวกเราก็หมดแลว พวกเราพากันวอดวายในคราวนี้อยางแนนอน แลวก็พากันนอนอยูใตเกวียนของตนๆ พระโพธิสัตวไมยอมงอมืองอเทา เปนผูที่มีความเพียร เที่ยวเดินตรวจตราพื้นที่บริเวณนั้น ไดเห็นกอหญาแพรกกอหนึ่ง ก็เกิดความคิดขึ้นวา เมื่อมีหญาอยางนี้ นาจะมีน้ําอยูขางใตแนนอน ใหบริวารชวยกันขุดลึกลงไปถึง 60 ศอก ก็ไมพบน้ําเลย ไดเจอแตหินแผนหนึ่ง พอคาเกวียนทั้งหมดก็หมดสิ้นความพยายาม พากันนอนรอความตายอยู พระโพธิสัตวคิดวา ภายใตแผนหินนาจะมีน้ําก็ได จึงกระโดดลงไป เงี่ยหูฟง ไดยินเสียงน้ําไหล จึงกระโดดขึ้นมาแลวบอกคนใชของตนวา เมื่อเจาจะละความพยายามเสียแลว พวกเราจะพากันฉิบหายหมด เจาจงเอาฆอนเหล็กตอกแผนหินใหแตก คนใชไดทําตามคําสั่งของพระโพธิสัตว แผนหินแตกเปน 2 ซีก กันกระแสน้ําไวสองขาง เกลียวน้ําพุงขึ้นสูงเทาลําตาล พอคาทั้งหมดไดดื่มไดอาบตามประสงค นี่เปนเรื่องในอดีต พระพุทธเจาไดทรงนําเรื่องนี้มาเลา จบแลวตรัสตอไปวา คนผูไมเกียจครานทั้งหลาย ชวยกันขุดแผนดินอยูกลางทะเลทราย ไดน้ําในทะเลทรายอันเปนที่ดอนฉันใด มุนีคือผูที่มีความรู มีความสงบ ผูไมเกียจคราน ฉันนั้น เปนผูประกอบดวยกําลังแหงความเพียร จึงจะไดประสบความสงบแหงใจ พระพุทธเจาตรัสอยางนี้ ทรงประกาศอริยสัจ คือทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค เทศนตอใหภิกษุรูปนั้นไดฟง ภิกษุรูปนั้นไดรับอุปถัมภจากพระพุทธเจาแลว ประคองความเพียร เจริญวิปสสนา ปรากฏวาไดบรรลุอรหัตผล ซึ่งเปนสิ่งสูงสุดที่มนุษยตองการ พระพุทธเจาตรัสเลาใหฟงวา แมทา วสักกะจอมเทพชั้นดาวดึงส ยังไดกลาวกับสุวีระเทพบุตร ผูเปนลูกนองวา บุคคลเกียจคราน ไมใชความเพียรพยายามเลย ประสบความสุข ณ ที่ใด เจาจงไป ณ ที่นั้น แลวก็มาพาเราไปดวย คําของทาวสักกะนี้ กลาวเยาะเยยสุวีระเทพบุตร ผูเกียจคราน ไมกลาหาญ ไมทํากิจที่ควรทํา แปลความตามพระดํารัสของทาวสักกะวา ในโลกนี้จะหาที่ไหนไมไดเลย ที่คนที่จะประสบความสุข โดยการอยูอยางเกียจคราน ไรความพยายาม
90 ความสุขที่หาไดงาย
พระพุทธเจาตรัสเลาเรื่องนี้ ใหภิกษุทั้งหลายฟงแลวทรงสรุปวา ภิกษุทั้งหลาย ทาวสักกะจอมเทพชั้นดาวดึงสเสวยผลบุญของตน ครองความเปนใหญกวาเทพทั้งหลายชั้นดาวดึงส ยังสรรเสริญความเพียรพยายามถึงขนาดนี้ จะเปนความงามหานอยไม ถาพวกเธอผูบวชในธรรมวินัยนี้ หรือพุทธบริษัทก็ตาม พึงเปนผูขยันลุกขึ้น มีความเพียรพยายามบรรลุธรรมที่ยังไมไดบรรลุ เพื่อทําใหแจงธรรมที่ยังไมแจง หรือเพื่อไดบรรลุสิ่งที่ประสงค คือ คนเรานี่ประสงคสิ่งใด ก็ตองใชความเพียรพยายามพึ่งตนเอง ใชความเพียรใหมาก พระมหาชนก เรื่องพระมหาชนก ที่ทานเลาไวในคัมภีรชาดก ก็เปนตัวอยางที่ดีของผูที่มีความเพียรพยายาม คือทานถือเอาความเพียรเปนหนาที่ที่จะตองทํา แมวายอยูทามกลางมหาสมุทรไมเห็นฝงเลย เมื่อยังมีกําลังอยู ก็ตองวายตอไป คนอื่นๆก็พากันยอมตาย โดยมิไดทันพยายาม เพราะทอถอยเสียกอนวา พยายามไปก็คงไรผล มหาสมุทรกวางใหญไพศาล จะวายพนหรือ แตทานมหาชนกยังคงวายตอไป เทาที่กําลังของทานมีอยู ทานถือคติวา เปนคนควรพยายามเรื่อยไป จนกวาจะสําเร็จผลที่มุงหมาย ในตํานานเลาวา นางเมขลา เทพธิดาประจําสมุทร มาชวยนําขึ้นฝงได ตอมาไดเปนกษัตริยครองเมืองๆหนึ่ง ผมคิดอยางนี้วา ถาเราเชื่อตามนี้ทั้งหมดก็แลวไปไมเปนไร ถาเราไมเชื่อตามนี้ แตเชื่อวา ทานเลาไวเพื่อเปนตัวอยางของผูมีความเพียร ก็อาจจะถอดความไดวา มหาสมุทรนั้น เปรียบดวยสังสารวัฏ หรือเปรียบดวยทะเลแหงความหวัง หรืออะไรก็แลวแต พระมหาชนกก็คือบุคคลผูมีความเพียร การวายคือความเพียร เมขลาคือเทพธิดาแหงความสําเร็จ กลาวใหสั้นลงก็คือความสําเร็จนั่นเอง การไดครองราชยก็คือการไดบรรลุถึงฝงของความสําเร็จ เมื่อบุคคลมีความพยายามจริง ความสําเร็จก็ยอมจะปรากฏใหเห็น เหมือนเมขลาปรากฏใหพระมหาชนกเห็นและชวยใหสําเร็จ คนที่ทอถอยเสียตั้งแตยังไมไดเริ่มพยายาม ไมมีทางประสบความสําเร็จยิ่งใหญได เหมือนคนที่ยอมตายในมหาสมุทร ยังไมทันไดลองวายน้ําเลย 91 ความสุขที่หาไดงาย
คุณของความเพียรชอบ ในหมวดธรรมที่วาดวยบาทแหงความสําเร็จ เรียกวาอิทธิบาท ทานแสดงวิริยะ ความเพียรไวขอหนึ่งดวยเปนขอที่ขาดไมได คุณของความพยายามชอบอีกอยางหนึ่ง ก็คือชวยทําลายความทุกข ความวิตกหมกมุนใหหมดไป ไมมีเวลาสําหรับทุกข เพราะตองทําความเพียรพยายาม ทําหนาที่อยูตลอดเวลา จนไมมีเวลาวางสําหรับทุกข ยอรจ เบอรนารด ชอว นักแตงบทละครผูมีชื่อเสียงโดงดังชาวไอริช ไดกลาวไววา “เวลาวางทานมักจะปลอยใหความคิดมารบกวนใจทาน ทานมีความสุขดีอยูหรือ นั่นแหละคือสาเหตุแหงความทุกข” ในขณะที่สงครามโลกครัง้ ที่ 2 กําลังรุนแรงอยู วินสตัน เชอรชลิ นายกรัฐมนตรีอังกฤษ ผูมีนามอุโฆษ ตองทํางานวันละ 18 ชั่วโมง มีคนถามทานวา รูสึกหนักใจไหมในความรับผิดชอบอันยิ่งใหญนั้น ทานเชอรชิลตอบวา “ฉันมีภาระมากเลย จนฉันไมมีเวลาสําหรับทุกข” I am too busy, I have no time for worry. เพราะฉะนั้น คนที่อยูวาง ไมทําอะไรใหเปนประโยชนก็มักจะตองตกเปนทาสของความวิตกหมกมุน ทุกขรอน สวนนักทํางาน นักคนควา เวลาตองหมดไปกับการหาความรู และหาความจริงใหมๆ โรควิตกกังวลไมอาจจะกล้ํากรายมาในชีวิตของทานได เพราะไมมีเวลาพอจะคิดอะไรอยางฟุมเฟอย แมแตงานของทานก็ไมมีเวลาจะจายใหพออยูแลว ทําไมการทํางาน การทําความเพียรชอบ อยางใดอยางหนึ่งจึงสามารถจะทําลายความวิตกกังวลเสียได คําตอบก็คือ ธรรมชาติของจิตใจของคนเรา มีกฎอันแนนอนตายตัวอยูอยางหนึ่ง ก็คือวาไมอาจจะคิดอะไรไดคราวละ 2 อยาง ไมอาจมีอารมณ 2 อารมณในขณะเดียวได มันตองเกิดขึ้นทีละอยาง จิตไมอาจจะคิดสิ่ง 2 สิ่งในขณะจิตเดียว
92 ความสุขที่หาไดงาย
เมื่อเปนอยางนี้ ขณะที่เราคิดเรื่องงาน ทํางานอยางเอาใจใสจดจออยู อารมณอยางอื่นก็ไมสามารถจะเขามาได ความทุกขความกังวล หนี้สินตางๆก็ไมมารบกวนเรา ขณะที่เราทํางานจิตใจจดจอ การทํางานดวยวิริยะอุตสาหะจึงมีอุบายที่ดี ที่จะขับไลอารมณรายออกไป หรือไลความทุกขรอนออกไปจากใจของเราเมื่อนานเขา จิตก็ไดพลังเพิ่มมากขึ้นๆ จนบุคคลผูนั้นเปนผูทุกขไมเปน ไมมีเวลาสําหรับทุกข หรือความทุกขเขามาก็สปริงออกไป เปนคนทุกขไมเปน หรือเปนคนทุกขยาก เปนสุขงาย การงานที่ไมมีโทษ คือสัมมาวายามะ หรือความเพียรชอบ จึงเปนยารักษาโรคชนิดหนึ่ง ซึ่งเรียกในภาษาทางจิตแพทยวา occupational therapy การรักษาโรคดวยวิธีทํางาน นายแพทยชาวกรีก สมัยกอนพระเยซูกําเนิดถึง 500 ป ไดเคยใชวิธีนี้รักษาคนปวย ซึ่งเปนโรคทางจิตมาแลว และแมในสมัยปจจุบันนี้ วิธีการนี้ก็เปนที่นิยมของแพทยทั่วไป ในการรักษาคนปวยที่เปนโรควิตกกังวล ตบะ คือความเพียร มีอีกคําหนึ่งที่ใชแทนคําวา ความเพียร หรือมีความหมายเทากับความเพียร คือคําวาตบะ ตบะคือความเพียร ทานแปลวาความเพียรสําหรับเผาบาป เชนมักจะพูดถึงฤาษีวาเปนผูมีตบะกลา คือมีความเพียรในการเผาบาปแรงกลา ความเพียรคือตบะ ผูใดมีมาก มีอยูอยางสม่ําเสมอก็ยอมจะทําใหทานผูนั้น มีเรี่ยวแรงกําลัง ในการทํากิจตางๆ ไดสําเร็จลุลวงไปดวยดี มีความพอใจที่จะทํากอน คือมีฉันทะแลวก็ลงมือทํา เมื่อทําไปๆก็เกิดรสในการทํา และทําไดสําเร็จ การทําสําเร็จจะเปนกําลังใจ เปนแรงบันดาลใจใหทํายิ่งขึ้นไป และทําสําเร็จมากขึ้น ความสําเร็จผลตามที่ตองการนี่เอง เปนการบรรลุถึงความสามัคคีในสิ่งที่ทํา และสามารถเอาชนะอุปสรรคตางๆ ไดดวยปญญาและความเพียร ตบะนี้จะเปนสิ่งที่ทําลายบาป หรือเผาผลาญบาปอกุศลกรรม กิเลสเมื่อเกิดขึ้นในใจแลวก็เผาใจใหเรารอน เหมือนไฟที่เกิดที่ฟน หรือหญา ก็จะเผาไมหรือหญานั้นใหรอน ตบะสามารถเผากิเลสใหวอดวายไป ธรรมดาใจเราจะถูกกิเลสเผาอยูใหรอน อาศัยตบะคือความเพียรเผากิเลสใหวอดวาย ใจของเราก็จะสงบเยือกเย็น เพราะวาสิ้นสิ่งที่เผาใจใหรอน 93 ความสุขที่หาไดงาย
ตามความเปนจริง กุศลธรรมหรือบุญกุศลทั้งปวงเปนตบะทั้งนั้น สําหรับผูที่มีความเพียรเพื่อการทํางานที่เปนหนาที่ หรือมีความเพียรเพื่อเผากิเลสก็ตาม ขอใหมีความตั้งใจใหมั่นคง บากบั่นพยายามใหเปนไปติดตอสม่ําเสมอ นี่คือความหมายที่แทของ วิริยารัมภะ เปนเหมือนเข็มทิศที่ชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ พยายามยกจิตใหอยูเหนือความเกียจคราน เหนือความชั่ว ที่เปนเหตุนําทุกขมาใหภายหลัง ทําการอยางสงบ หนักแนน เหมือนรากไมงัดภูเขา อยากลัวความไมสําเร็จ ขอใหทํา จะสําเร็จหรือไมสําเร็จเปนเรื่องที่บัณฑิตจะตองพิจารณาดวยใจเปนธรรมในภายหลัง ผูที่มีคุณสมบัติดังนี้ บานเรือนของทานก็จะเปนเหมือนปา สําหรับบําเพ็ญตบะแมจะอยูในเรือนยังครองเรือน บานเรือนก็จะเปนเสมือนปาสําหรับบําเพ็ญตบะ เพราะมีความเพียรที่จะเผาบาปอยูเสมอ สัมมาวายามะ ผมจะพูดถึงความเพียรอีกอยางหนึ่ง ที่กลาวถึงในสัมมาวายามะ ที่เปนหนึ่งในมรรคมีองค 8 ซึ่งปรากฏใน มรรควิภังคสูตร พระพุทธเจาไดทรงแสดงบทขยายสัมมาวายามะไว 4 อยาง คือ 1. สังวรปธาน เพียรระวังบาปอกุศลที่ยังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น 2. ปหานปธาน เพียรละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแลว 3. ภาวนาปธาน เพียรใหกุศลที่ยังไมเกิด ใหเกิดขึ้น 4. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแลวใหดํารง อยู และใหเจริญยิ่งๆขึ้นไป รวมความวา พระพุทธเจาทรงหนุนใหระวังไมใหความชั่วเกิดขึ้น เพียรละความชั่วที่เกิดขึ้นแลว เพียรใหความดีเกิดขึ้น เพียรรักษาความดีใหคงอยู และเจริญยิง่ ๆขึ้นไป ผมขอขยายความแตละขอเพื่อใหเขาใจยิ่งขึ้น ประการที่ 1 สังวรปธาน ขอพูดวา บาปอกุศลหรือความชั่ว ความทุจริต จะกลาวถึงสวนภายใน คือสิ่งที่ทําใจใหเศราหมอง เชนความโลภ ความโกรธ ความหลง ความริษยา ความพยาบาท เปนตน สิ่งเหลานี้ เมื่อเกิดขึ้นในใจ หรือเกิดขึ้นกับจิต ก็จะทําใหจิตเศราหมอง เสียปกติภาพของตนไป เพราะปกติภาพของจิตจะสะอาดผองแผว เรียกวาเปนประภัสสร กลาวโดยโทษที่ตามมาภายหลัง บาปอกุศลจะใหผลเปนความทุกข ความเดือดรอนแกผูกระทําเอง เปนสภาพเผาใหรอน 94 ความสุขที่หาไดงาย
นอกจากนั้น ผูรวมในการกระทํา ก็จะใหผลเปนความเศราหมองแกจิตทุกครั้ง ที่บาปอกุศลเกิดขึ้น เมื่อระลึกถึงบาปอกุศลที่ตนทําในภายหลัง จิตก็จะเศราหมองอีกทุกครั้งที่ระลึกถึง เปนความทุกขที่ยืดเยื้อเรื้อรังตลอดชีวิต ตรงกันขามกับบุญกุศล ซึ่งโดยสภาพแลว ชวยชําระดวงจิตใหผองแผว ตอมาภายหลัง เมื่อระลึกถึงกุศลกรรมครั้งใด ก็มีความสุขใจ เปนความสุขที่ยืดเยื้อไปตลอดชีวิตเหมือนกัน บาปอกุศล นอกจากจะใหความเศราหมองแกดวงจิตแลว ยังทําใหชื่อเสียงวงศสกุลเศราหมองอีกดวย คนใกลชิดเชนลูกเมียเพื่อนฝูงก็พลอยเศราหมองไปดวย วาเปนลูกเมียเพื่อนฝูงของคนบาป ใครยกยองก็พลอยเศราหมองไปถึงผูยกยอง บาปอกุศลเปนสิ่งที่ใหความเศราหมองอยางนี้ เพราะฉะนั้นพระพุทธเจาจึงทรงสอนใหระวัง อยาใหเกิดขึ้น วิธีระวังทําอยางไร วิธีปองกันบาปอกุศลที่ยังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น คนเราควรมีวิธีระวัง เหมือนเจาของบานระวังโจรไมใหเขาบาน ดวยอาวุธหรือเครื่องมือ เชน มีด พรา ในที่นี้พระพุทธเจาทรงแสดงสังวรไว 5 อยาง ปรากฏใน ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค พระไตรปฎกเลม 9 1. ปาติโมกขสังวร ระวังกีดกันบาป ดวยการดําเนินชีวิตตามหลักศีลธรรมทางศาสนา เคารพในจารีตประเพณีที่ดีงาม เคารพกฎหมายบานเมือง เชื่อฟงคําสั่งสอนของผูหลักผูใหญ ผูม ีประสบการณในเรื่องบาปบุญคุณโทษมามาก อันนี้เรียกวา ปาติโมกขสังวร 2. อินทรียสังวร ระวังกีดกันบาป ดวยความมีสติ ระวังทวารทั้ง 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิใหเกิดความกําหนัดพอใจ หรือโทมนัสเสียใจ ในเมื่อไดเห็นรูป ฟงเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกตองโผฏฐัพพะ รูอารมณ พยายามรักษาใจใหเปนกลางไวดวยสติ รูเทาทัน ไมเผลอสตินี้เรียกวาสติสังวร สํารวมดวยสติ หรืออินทรียสังวร หมายถึงการสํารวมอินทรีย 6 การสํารวมอินทรียมีความสําคัญในการปฏิบัติธรรมมาก 95 ความสุขที่หาไดงาย
ถามวาอะไรเปนอุปนิสัยของอินทรียสังวร ตอบวา หิริโอต ตัปปะ คือความละอาย ความเกรงกลัวตอบาปอกุศล เกรงกลัวตอผลของบาปอกุศล ดังที่พระพุทธเจาตรัสไวในคัมภีร อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต พระไตรปฎกเลม 23 ตรัสไวดังนี้ เปรียบดวยตนไม เมื่อกิ่งและใบวิบัติแลว กะเทาะก็ไมถึงความบริบูรณ เมื่อกะเทาะไมบริบูรณ เปลือกก็ดี กระพี้ก็ดี แกนก็ดี ยอมไมบริบูรณ ฉันใด เมื่อหิริโอตตัปปะไมมี อินทรียสังวรก็ไมมี ฉันนั้น เมื่อ หิรโิ อตตัปปะไมมี ธรรมที่เปนเครื่องอาศัยของอินทรียสังวรก็วิบัติ เมื่ออินทรียสังวรไมมี ศีลก็ไมมี เมื่อศีลไมมี สัมมาสมาธิก็ไมมี เมื่อสัมมาสมาธิไมมี ยถาภูตญาณทัสสนะ (หมายถึงปญญา) ก็ไมมี นิพพิทาความเบื่อหนาย วิราคะ ความคลายกําหนัดก็ไมมี วิมุตติก็ไมมี วิมุตติญาณทัสสนะก็ไมมี เมื่อหิริโอตตัปปะมีอยู อินทรียสังวรก็มี เมื่ออินทรียสังวรมี ศีลก็มี เมื่อศีลมี สัมมาสมาธิก็มี อินทรียสังวรนี้ ทานเรียกวาสติสังวร เพราะตองใชสติเปนเครื่องระวัง ศีล สมาธิ ปญญาจึงเกิดขึ้นได ดวยอาศัยอินทรียสังวรเปนแดนเกิด อินทรียสังวร อาศัยหิริโอตตัปปะ กลัวตอบาป ความละอายตอบาป ความเกรงกลัวตอผลของบาป การสํารวมอินทรีย 6 เปนเครื่องมือสําคัญที่สุดในการพัฒนาจิต จิตของคนจะสูงต่ําแคไหน ก็สุดแลวแตบุคคลผูนั้น จะสํารวมอินทรียไ ดเพียงใด 3. ญาณสังวร การระวังกีดกันบาป เพื่อญาณคือความรู ไดแก การรูเทาทันเลหเหลี่ยมของบาป หรือเหยื่อของโลก ที่มีรูปแบบตางๆ ทําใหกําหนัดขัดเคือง ลุมหลงและมัวเมา ผูไมมีญาณหยั่งรูยอมจะกําหนัดเมื่อมีอารมณมายั่วยวนใหกําหนัด ขัดเคืองเมื่อมีอารมณเปนที่ตั้งแหงความขัดเคือง ลุมหลงมัวเมาในอารมณเปนที่ตั้งแหงความลุมหลงมัวเมา สวนผูที่มีญาณหยั่งรู ยอมหยั่งรูตามความเปนจริง วาสิ่งเหลานี้เปนหลุมพราง เปนมารยั่วยวนใหจิตเศราหมอง ทําใหจิตเสียปกติภาพ และตกอยูภายใตอํานาจของมัน เมื่อตกอยูภายใตอํานาจของมันแลว มันก็ใชใหทําบาปก็ทํา สรางเวรสรางกรรมตางๆ ตามอํานาจของกิเลสหรืออารมณ ที่บังคับบัญชาจิตอยู ความรูระวังตัวดังกลาวนี้ ทานเรียกวาญาณสังวร 96 ความสุขที่หาไดงาย
4. ขันติสังวร ระวังกีดกันบาปดวยความอดทน โดยเฉพาะอยางยิ่ง อดทนตออารมณที่มายั่วยวนใหโลภ ใหโกรธ ใหหลง ทานเรียกความอดทนชนิดนี้วา ตีติกขาขันติ จัดเปนตบะธรรมอยางที่พระพุทธเจา มีพระโอวาทไวใน โอวาทปาติโมกขวา ขันตี ปรมํ ตโป ตีติกขา ขันติคือความอดทนตออารมณที่มายั่วยวนใหโลภ โกรธ หลง เปนตบะอยางยิ่ง ตบะคือคุณเครื่องเผาผลาญบาปใหเหือดแหง ความอดทนนี้เปนกําลังสําคัญของนักพรตหรือนักบวช ผูปฏิญาณตนวาเปนนักพรต ถาไมมีขันติดังนี้แลว ความเปนนักพรตของตนก็มีความหมายนอย ความระวังกีดกันบาปดวยความอดทนดังกลาวมานี้ ทานเรียกวา ขันติสังวร 5. วิริยสังวร ระวังกีดกันบาปดวยความเพียร ทานเรียกวา วิริยสังวร กลาวคือ เพียรระวังบาปที่ยังไมเกิด ไมใหเกิดขึ้น เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแลวใหสิ้นไปหมดไป นี่เปนวิริยสังวร นี่คือสังวรปธานคือเพียรระวัง ระวังดวยสังวร 5 อยาง ดังที่กลาวมาแลว ประการที่ 2 ปหานปธาน เพียรละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแลว ถาเปรียบดวยวิชาการที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย การระวังปองกันบาป เปรียบเหมือนการระวังตัว ไมใหโรคเกิดขึ้นแกรางกาย ดวยการปฏิบัติตนตามหลักอนามัย เชน บริโภคอาหารแตพอประมาณ อาหารมีคุณภาพและมีปริมาณเทาที่รางกายตองการ ออกกําลังกายพอสมควร อยูกลางแจงใหรางกายถูกแดดออนตอนเชา เปลี่ยนอิริยาบถเหมาะสม แตถึงอยางไร ในชีวิตหนึ่ง บุคคลยอมตองมีโรคเกิดขึ้นบางเปนธรรมดา เราตองการบําบัดโรคดวยยาตามหมอสั่ง การพยายามละบาปที่เกิดขึ้นแลว ก็เหมือนการพยายามบําบัดโรคที่เกิดขึ้นแลว ดวยการปฏิบัติตามธรรม ที่พระพุทธเจาหรือบัณฑิต ปราชญทั้งหลายทานไดสั่งสอนไว ในการปฏิบตั ิบําบัดโรคนั้น เมื่อหมอไดตรวจคนไขแลว เห็นตามความรูอันชํานาญของตนวา คนไขเปนโรคใด แลวก็สั่งยาใหรับประทานหรือยาฉีดตามควรแกโรคนั้น พรอมดวยหามของแสลง หรือใหเวนการกระทําที่เปนเหตุใหเปนโรค 97 ความสุขที่หาไดงาย
ถาคนไขปฏิบัติตามอาการแหงโรคก็จะระงับไปโดยเร็ว แตถาคนไขปฏิบัติตนไมถูกตองตามหมอสั่ง อาจรับประทานยาใหเสียเปลา เชนคนไขเปนหวัดมีอาการไอ หมอใหยาแลว สั่งใหหยุดรับประทานน้ําแข็ง หามอาบน้ําเย็น เพราะแสลงแกโรค แตคนไขไมเชื่อฟง รับประทานยาเขาไประงับโรค แตยังคงรับประทานน้ําแข็ง อาบน้ําเย็นตอไป โรคก็กําเริบขึ้นอีก ยาเขาไประงับโรค แตของแสลงเขาไปทําใหโรคกําเริบ เมื่อเปนอยางนี้ โรคก็คงเบียดเบียนบุคคลผูนั้นตอไป ขอนี้ฉันใด ในการละบาปที่เกิดขึ้นแลว ก็อยางนั้น บุคคลที่ปฏิบัติ หวังความสุขความสงบแกตัวเอง ตองเวนสิ่งที่ควรเวน และทําตามคําแนะนําพร่ําสอนของบัณฑิต มีพระพุทธเจาเปนตน ตัวอยางเชน บาปคือความคิดในทางเบียดเบียนผูอื่นเกิดขึ้นในใจแลว บุคคลผูนั้นตองสํานึกรูวาบัดนี้บาปชนิดนี้เกิดขึ้นแกเราแลว บาปนี้มีโทษแกจิตใจ มีผลเปนความทุกขความเดือดรอน เราตองเวนการสมาคมกับบุคคลผูพอใจในการเบียดเบียน เวนการอาน การฟง หรือการดู ยั่วยุใหเราพอใจในการเบียดเบียน แลวควรเจริญเมตตากรุณาในบุคคลและสัตวตางๆ โดยนอมนึกเสมอวา เรารักสุข เกลียดทุกขฉันใด คนอื่นสัตวอื่นก็รักสุขเกลียดทุกขฉันนั้น จึงไมควรเบียดเบียนกัน แผเมตตากรุณาใหแกกัน คือมีความปรารถนาดีตอกัน ชวยเหลือเกื้อกูลกัน การทําอยางนี้ทําใหใจเราเปนสุข ทําใหหนาตาเบิกบานแจมใส ในบาปอกุศลอื่นๆ ก็ทํานองเดียวกัน เมื่อเกิดขึ้น ผูปฏิบัติตองพิจารณาใหเห็นโทษของบาปนั้น แลวก็หาธรรมะที่บัณฑิต มีพระพุทธเจาเปนตน ทรงสั่งสอนไว และนํามาปฏิบัติเพื่อละบาปนั้นเสีย ดังที่พระพุทธองคไดตรัสไววา บาปกรรมทีบ่ ุคคลทําแลว ยอมละเสียไดดวยกุศล บุคคลผูนั้นยอมทําโลกนี้ใหสวางเหมือนดวงจันทรพนจากเมฆหมอกฉันนั้น เกี่ยวกับการติดยาเสพติดใหโทษนั้น ทางจิตวิทยาบอกเราวา ผูที่เคยติดแลว พยายามละทิ้งเสียไดนั้น แสดงถึงกําลังใจที่เขมแข็งอยางยิ่ง เขมแข็งกวาผูที่ไมเคยติดยามาเลย เพราะเปนสิ่งที่ละไดโดยยาก การละบาปหรือความชั่ว ความไมดีตางๆ จึงเปนคุณสมบัติของบุคคลผูที่รักดี ผูกาวหนาในชีวิต ทั้งชีวิตสวนตัว และชีวิตที่เกี่ยวของกับสังคม ทั้งคนชั้นสูงและคนชั้นต่ํายอมเหมือนกันทั้งนั้น กลาวคือความเคยชิน ยอมสามารถกลืนมนุษยได ฉะนั้นขอใหเราคิดดูใหดี และละทิ้งความเคยชินที่ชั่วรายเสีย ยิ่งมีความรูสึกเคยชินขึ้นมากเพียงใด ขาพเจา (มหาตมะ คานธี นี่เปนวาทะของมหาตมะ คานธี) ก็ยิ่งประจักษแจงขึ้นเพียงนั้นวา เรานี่แหละคือสาเหตุแหงความทุกขและความสุขของตนเอง 98 ความสุขที่หาไดงาย
ผมมีความรูสึกวา ตามความเปนจริงแลว มนุษยเราทุกคนยอมจะตองเคยทําความชั่ว หรือสิ่งที่เปนบาปมาบางไมมากก็นอย ก็เปนธรรมดาของสามัญชน แตคนที่รูวาสิ่งนั้นเปนความชั่วหรือความผิด และพยายามกลับตัว เลิกการกระทําอยางนั้นเสีย จัดเปนบุคคลที่นานับถือไมใชนอยเลย การพยายามละความชั่วหรือความเคยชินที่ชั่วราย ถือวาเปนภารกิจที่สําคัญของมนุษยที่ดี พระพุทธเจาทานเคยตรัสสอนพุทธศาสนิกชนวา ถาบาปอกุศลเปนสิ่งที่ละไมได ละแลวเปนไปเพื่อทุกข พระองคก็ไมทรงสอนใหละ แตเพราะเหตุที่วา บาปอกุศลเปนสิ่งที่ละได เมื่อละแลวก็เปนไปเพื่อประโยชนและความสุข พระองคจึงตรัสสอนใหละบาปอกุศลนั้นเสีย ในพระสูตรหนึ่งเรียกวา กรณียสูตร แปลวาสูตรที่วาดวยสิ่งที่ควรทําและไมควรทํา พระพุทธเจาตรัสกับพระอานนทวา ทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจ เปนอกรณียกิจ คือสิ่งที่ไมควรทํา สวนสุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจ เปนกรณียกิจ คือสิ่งที่ควรทํา ทรงแสดงโทษของทุจริต 5 ประการ และคุณของสุจริต 5 ประการ โทษของทุจริต 5 ประการ คือ 1. ตนเองติเตียนตนเองได 2. ผูรูใครครวญแลวติเตียน 3. ชื่อเสียงทางเสียยอมจะฟุงขจรไป 4. หลงทํากาลกิริยา คือ หลงตาย 5. เมื่อตายแลว ไปสูทุคติวินิบาตนรก สวนคุณของสุจริต 5 ประการ คือ 1. ตนเองติเตียนตนเองไมได 2. ผูรูใครครวญแลวสรรเสริญ 3. ชื่อเสียงในทางดียอมฟุงขจรไป 4. ไมหลงตาย 5. เมื่อตายแลว ไปสูสุคติโลกสวรรค
99 ความสุขที่หาไดงาย
เพราะฉะนั้น จึงควรเวนอกุศล ควรเวนทุจริต สั่งสมแตกุศลสุจริต การที่จะเปนเชนนั้นได ก็ตองอาศัยคุณสมบัติคือความพยายามชอบ ความเพียรชอบ และพยายามละอกุศลที่เกิดขึ้นแลว และพยายามที่จะใหกุศลที่ยังไมเกิดไดเกิดขึ้น นี่คือปหานปธาน เพียรในการละบาปอกุศล ประการที่ 3 ภาวนาปธาน คือเพียรใหกุศลที่ยังไมเกิดไดเกิดขึ้น ขอนี้หมายถึงเพียรทําความดี เริ่มตนตองใหกุศลจิตเกิดขึ้นบอยๆ เมื่อกุศลจิตเกิดขึ้นแลว ในเรื่องใดก็อยารีรอ ใหรีบทําความดีเรื่องนั้นทันที เพราะวาถารีรอ กุศลจิตก็จะเสื่อมไป อกุศลจิตเกิดขึ้นมาแทนที่ ตามที่พระพุทธเจาไดตรัสสอนไววา ควรรีบขวนขวายทําความดี หามจิตเสียจากบาป ถาทําความดีชาๆ ใจก็ยอมจะหันไปยินดีในบาป และตรัสไวอีกวา ถาจะทําความดี ใหทําความดีนั้นบอยๆ พึงทําความพอใจในบุญ หรือความดีนั้น เพราะการสั่งสมบุญเปนทางแหงความสุข กุศลจิตที่เกิดแลว ยอมจะทิ้งรองรอยของมันไวทุกครั้ง อกุศลจิตก็เหมือนกัน เพราะฉะนั้นผูฉลาดก็ควรจะละอกุศลจิต ใหโอกาสแกกุศลจิต เมื่อกุศลจิตเกิดบอยๆ และทําความดีบอยๆ ก็ยอมจะกลายเปนความเคยชินในทางดี ความเคยชินในทางดีนี้เมื่อมากเขาก็จะกลายเปนอุปนิสัย หรือ Charactor หรืออัตลักษณ คือลักษณะเฉพาะตัวของคน บุคคลเรามีอุปนิสัยอยางไร อนาคตของเขาก็จะเปนอยางนั้น ดวยเหตุนี้ ผูที่สรางความเคยชินในทางเลว อุปนิสัยเลว อนาคตจึงเลว ผูที่สรางความเคยชินที่ดี อุปนิสัยดี อนาคตก็สดใสรุงเรือง ไมมีใครสามารถใหใครรุง เรืองไดเทากับตัวของตัวเอง ทําใหกับตัวเอง ไมมีใครทําใหใครเสื่อมไดเทากับตัวของตัวเองทําใหกับตัวเอง เมื่อตนทําลายตัวเองเสียแลว ก็หาสิ่งปองกันไดยาก เมื่อผูอื่นคิดทําลาย ตัวเราเองยังคิดปองกันได ญาติพี่นองเพื่อนฝูง ทางบานเมือง ยังชวยอารักขาได ปองกันได แตเมื่อตัวเองทําลายตัวเอง ดวยการกระทําของตนเองแลว ใครจะปองกันได เพราะวาไมมีใครจะมาอยูกับเราไดตลอดเวลา คนที่อยูกับตัวเรามากที่สุดก็คือตัวเราเอง เพราะฉะนั้น อนาคตของคน จะมืดมนหรือสดใส ก็อยูที่ตนของตน สั่งสมอาสวะหรือสั่งสมบารมี สั่งสมสวนชั่วเรียกวา อาสวะ สั่งสมสวนดีเรียกวาบารมี ผูฉลาดจึงควรพยายามที่จะใหกุศลที่ยังไมเกิดไดเกิดขึ้น จะไดเปนการเพิ่มพูนบารมีใหยิ่งๆขึ้นไป 100 ความสุขที่หาไดงาย
ประการที่ 4 อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแลว ไมใหเสื่อม และรักษาไวใหยิ่งๆขึ้นไป ขอนี้หมายถึงการเพียรรักษาความดีที่เราทําใหเกิดขึ้น และใหดํารงอยู และใหเจริญยิ่งๆขึ้นไป เปรียบไปก็เหมือนคนที่มุงสะสมทรัพยภายนอก ตองอุดรูรั่วของทรัพยเสียกอน อุดรูรั่วของทรัพยที่ไมใหเกิดประโยชนเชนอบายมุข การพนันเปนตนเสียกอน แลวใชความหมั่นเพียรในการหาทรัพย เมื่อไดมาแลวก็แบงเปนสวนๆ บริโภคใชสอยบาง สงเคราะหญาติพี่นองบาง ทําบุญบาง เก็บไวสรางอนาคตบาง สะสมไวเพื่อบําบัดทุกขที่เกิดขึ้นเปนครั้งคราวบาง เชนคราวปวยไข เปนตน ผูที่มุงสะสมทรัพย ก็จะเห็นการเสื่อมทรัพย ทํานองเดียวกับความสิ้นไปของยาหยอดตา คือสิ้นไปทีละนอยก็หมดสิ้นได เมื่อไมหามาเพิ่ม ก็เห็นการสั่งสมทรัพยทีละนอย เหมือนการสั่งสมมูลดินของตัวปลวก ทีละนอยก็ไดมากเปนกองใหญ การสั่งสมบุญกุศลหรือความดี ก็ทํานองเดียวกัน ตองปดรูรั่วคือ ทางเสื่อมของความดีเสียกอน สิ่งใดทําใหคุณธรรมเสื่อม ก็ควรจะเวนสิ่งนั้น ไมดูหมิ่นความชั่วหรือบาปกรรมวานอยนิด เพราะมันอาจจะพอกพูนมากขึ้นไดตามวันเวลาที่ลวงไป เหมือนกับคนที่เปนหนี้ เดือนละนิดเดือนละหนอยเดือนละรอย สิบเดือนก็เปนพัน ตรงกันขาม การสั่งสมเงินเดือนละรอย สิบเดือนก็เปนพัน เปนหมื่น เปนแสน ไดมากหรือเสียมาก ก็ไปจากไดนอยหรือเสียนอยมากอน ขอนี้ก็ควรระวังกันอยางยิ่งเลยทีเดียว การสั่งสมบุญทีละนอย กับการสั่งสมบาปทีละนอย ก็ทํานองเดียวกัน การสั่งสมบาปขาดทุนเปนหนี้ สวนการสั่งสมบุญเปนกําไรเปนเจาหนี้ ผูมีปญญารูจักคิด ก็จะมองไดทันทีวา สั่งสมบุญดีกวาสั่งสมบาป พอกพูนบุญดีกวาพอกพูนบาป ในดานทรัพยสินกลาวกันวา แสวงหาทรัพยสินหรือการทําใหทรัพยสินเกิดขึ้น งายกวาการรักษาทรัพยสิน สวนการทําใหทรัพยสินเสื่อมไปนั้น ถามีความตั้งใจแลว ก็สามารถจะทําใหกองทรัพยมหึมาเสื่อมสิ้นไปไดในวันเดียว ในทํานองเดียวกัน การสรางคุณงามความดีงายกวาการรักษาความดี สวนการทําลายคุณความดี ถามีความตั้งใจกันแลวก็สามารถจะทําลายคุณความดีที่สั่งสมมา ดวยความยากลําบากเปนเวลานานๆ เปนสิบๆป 101 ความสุขที่หาไดงาย
ใหเสื่อมสิ้นในวันเดียวก็ได เพราะฉะนั้นผูที่จะรักษาความดีใหมั่นคง ตองประกอบดวยคุณสมบัติคือเปนผูไมประมาท ไมวางใจวาเรื่องรายจะไมบังเกิดขึ้น ความบกพรองยอมจะเกิดขึ้นแกผูไมประมาท ดังที่พระพุทธเจาตรัสสอนไววา ปมาโท รักขโต มลัง ความประมาทเปนมลทินของผูรักษา ลองคิดดูนะครับวา ไมวาเราจะรักษาอะไร ไมวาจะเปนการรักษาวัว ควาย ชาง มา ทรัพยสมบัติอยางอื่น ตลอดจนการรักษาคุณความดี ที่จัดเปนอริยทรัพย เมื่อผูคุมครองรักษานั้นประมาท ก็จะเปดโอกาสใหความเสื่อมเสียหายบังเกิดขึ้นแกสิ่งที่ตนรักษานั้น ไดมีตัวอยางใหดูอยูถมเถไป เชนคนเลี้ยงโค เมื่อประมาทนอนหลับเสีย โคหาย คนเฝาบานประมาท ไปเที่ยวเตรเสีย โจรเขาบานขนเอาทรัพยไปหมด คนรักษาคุณความดี ประมาทวาความชั่วเล็กนอยไมเปนไร อาศัยความชั่วเล็กนอยนั้น ความชั่วใหญๆก็จะคอยๆแทรกซึมเขามา ทําใหเสียหายใหญหลวงได เปรียบไปก็เหมือนเรือมีรูรั่วเล็กนอย เจาของเรือไมรีบอุดเสียปลอยใหน้ําเขาไมวิดออก เจาของเรือนอนใจและนอนหลับเสียดวย ในที่สุดเรือก็จมลงทั้งลํา สรุปวา ความประมาทเปนมลทินของผูรักษา ความไมประมาทก็เปนทางปลอดภัยของผูรักษา กลาวคือผูรักษาคุณความดีนะครับ การที่จะรักษาคุณความดีใหดํารงอยูและก็เจริญยิ่งๆขึ้นไปนั้นก็ขอใหดูตัวอยางมารดา บิดา ผูที่คุมครองรักษาบุตรธิดา บํารุงใหเติบใหญดวยการปองกันสิ่งที่ไมสมควร นอมนําสิ่งที่สมควรเขาไปให เมื่อนานเขาบุตรธิดาก็เจริญเติบใหญพึ่งตัวเองได ไมตองรอการอุดหนุนของมารดา บิดา กลับจะเปนที่พึ่งของมารดาบิดาเสียอีก ขอนี้ฉันใด คนเราทําความดีก็ฉันนั้น เมื่อนานเขาจนอยูตัว ความดีก็เจริญพอกพูนเต็มที่ ความดีก็จะกลับมาเปนที่พึ่งของบุคคลผูนั้นขอพึ่งความดีได แลวก็พึ่งตนเองไดมีความเปนสุขสบาย อยูเปนสุขสบายเหมือนคนที่ปลูกตนไมไว เริ่มแรกทีเดียวตนไมก็ตองพึ่งเขา เขาตองรดน้ําพรวนดิน กําจัดศัตรูพืช ศัตรูของตนไม ใหปุย พอตนไมใหญเจริญเติบโตเต็มที่แลวก็เริ่มจะกลับเปนที่พึ่งของบุคคลผูนั้น ใหดอกใหผลและรมเงายั่งยืนไปนานปจนแกตาย หรือผูเปนเจาของอาจจะตายไปกอนก็ได ดอกผลและรมเงาของตนไมยังใหความสุขแกลูกหลานหรือผูรับมรดกของผูนั้นตอไปอีก
102 ความสุขที่หาไดงาย
ทานผูฟงจะเห็นวาความดีเปนสิ่งนาทํา นาถนอม นาปลูกฝงใหแกตัวและคนอื่น ทําใหมีความนิยมชมชอบ ความดีเปนสิ่งที่หวานใจ นึกถึงแลวใหรื่นรมยมีความสุขไมจืดจาง ผูใหญตองอบรมเด็กใหเปนคนรักความดี หนีความชั่ว กลัวความผิด คิดทําประโยชนตนและก็ชาติบานเมือง ชีวิตที่มีประโยชนจึงจะเปนชีวิตที่สมบูรณ การเปลี่ยนแนวคิดของร็อคกี้ เฟลเลอร คนเราจะมั่งมีศรีสุขสักเทาไหรก็ตาม ถารูสึกตนวาความมั่งมีของตนไมเปนประโยชนแกใครก็หามีความสุขแทจริงไม คือไมมีความสุขที่แทจริง คนทั้งหลายอื่นก็ไมสรรเสริญ ตรงกันขามไปที่ไหนก็จะพบแตคนเกลียดชัง แตพอเขาเปลี่ยนแนวคิดใหม ใชความมั่งคั่งของเขาใหเปนประโยชนแกคนอื่น ความสุขอันแทจริงก็จะเกิดขึ้นแกเขา คนทั้งหลายอื่นก็จะมองดูเขาดวยความนิยมรักใคร มีตัวอยางที่จะแสดงใหเห็นอยางชัดเจนในเรื่องที่กลาวมานี้คือ เรื่องราวของมหาเศรษฐี ร็อคกี้ เฟลเลอร มหาเศรษฐีชาวอเมริกัน เปนตัวอยาง ยอหนดี ร็อคกี้ เฟลเลอร ผูเปนบิดามีเงินถึงหนึ่งลานเหรียญเมื่ออายุเพียง 34 ป แลวก็เมื่ออายุ 43 ป ไดเปนผูตั้งบริษัทผูกขาดในการคาน้ํามันที่ยิ่งใหญที่สุดในโลก คือบริษัทน้ํามัน สแตนดารด ออยส (Standard oil) แตพออายุ 53 ปสุขภาพของเขาเสื่อมโทรมลงมาก เพราะวามีนิสัยชอบทุกขรอน เครงเครียด ผูเขียนประวัติของทาน ร็อคกี้ เฟลเลอร คนหนึ่งไดกลาววา เมื่ออายุ 53 ป รูปรางหนาตาของเขาเหมือนมัมมี่ เมื่ออายุได 53 ป เปนโรค เครื่องยอยอาหารพิการอยางรุนแรงจนผมรวง ขนตาและอื่นๆ ก็รวง ขนคิ้วยังเหลืออยูเพียงหยอมแหยม แพทยบอกวาที่เขาหัวลานเชนนี้สืบเนื่องมาจากประสาทออนกําลัง เขาสะดุงกลัวมาก จนเขาตองสวมฝาครอบผาบางๆปดศีรษะอยูตลอดเวลา ตอมาเขาซื้อผมปลอมชนิดสีเงินมาสวม ราคาชุดละ 500 เหรียญ และก็สวมผมปลอมตอมาจนตลอดชีวิต เดิมทีเดียว ร็อคกี้ เฟลเลอร เปนผูที่มีอนามัยดี แข็งแรงปราดเปรียว ครั้นเมื่ออายุ 53 ป ไหลของเขาตก เดินกระยองกระแยง ทั้งนี้ก็สืบเนื่องมาจากทํางานหักโหมหนัก วิตกทุกขรอนไมรูจัก สิ้นสุด โมโหโทโสดุวาไมเวนแตละวัน กลางคืนนอนไมหลับ ขาดการบริหารรางกาย และพักผอนหยอนใจ ดูเถิด มหาเศรษฐีแทๆ ทําไมจึงกลายเปนผูไรความสุขไปได แมวาขณะนั้นเขาจะเปนมหาเศรษฐีที่ร่ํารวยที่สุดในโลก แตเขาก็ดํารงชีวิตอยูดวยอาหารที่คนยากจนไมอยากจะแตะตอง รายไดของเขาเวลานั้นตกสัปดาหละหนึ่งลานเหรียญ แตคาอาหารประจําวันของเขาทุกมื้อตกสัปดาหละสองเหรียญเทานั้นเอง 103 ความสุขที่หาไดงาย
ตอนที่ทานยังไมไดเปลี่ยนพฤติกรรมของทาน ทานตองการใหคนทั้งหลายรักทาน แตก็ปรากฏวามีคนชอบทานเพียงไมกี่คน คนสวนมากก็เกลียดชังไมตองการเกี่ยวของกับทาน ไมวาในทางธุรกิจหรือทางใดๆ แมแตนองชายของทานเองก็เกลียดจนถึงกับพาลูกๆ ออกจากบานประจําตระกูล ซึ่งทานร็อคกี้ เฟลเลอรสรางขึ้น นองชายของทานพูดวา ไมยอมใหสายเลือดของฉัน อาศัยในแผนดินที่เปนของยอหนดี ร็อคกี้ เฟลเลอร เกี่ยวกับเรื่องการตองการความรัก เปนเรื่องที่คนทุกคนตองการ แตก็มีนอยคนที่จะมีความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับเรื่องความรัก ก็ตองการจะเรียนรูเรื่องของความรักใหแจมกระจางในใจ คนสวนมากจึงรูแตความรัก พอใจที่จะรัก ไมรูวาควรจะปฏิบัติอยางไรตอคนที่ตนรักใหถูกตองเหมาะสม ความรักที่แทจริง ตองการความเสียสละอยูมาก มีความสุขใจที่ไดเสียสละ ความเสียสละนี่เปนสัญลักษณอยางหนึ่งของความรักที่แทจริง และเปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่ง เปนนิมิตหมายวา ความรักของเขาเปนความรักที่เสียสละ เปนความรักที่ไมเห็นแกตัว ความเปนที่รักของคนอื่นก็เปนที่ตองการของคนทุกคน เราจะรูสึกอบอุนและเปนสุข เมื่อแนใจวาไดอยูใกลกับคนที่รกั หรืออยูทามกลางกลุมคนที่รักเรา หรือคนที่เรารัก พรอมที่จะใหอภัยในความบกพรองผิดพลาด พรอมที่จะสนับสนุนสวนที่ดีเดนของเรา ไมมีความริษยา ในโลกของเรานี้ จะหาคนที่ยินดีกับความสําเร็จของเราจริงๆ คอนขางยาก เมื่อบอกวายินดีกับเรา ก็มักจะมีความริษยาแฝงเรนเขามาดวย ตรงกันขาม เมื่อเขาบอกวาเสียใจดวยในความวิบัติของเรานั้น ก็มักจะมีแววของความปติปราโมทยฉาบฉายออกมาเชนเดียวกัน ในโลกนี้ จะหาคนที่รักเรา เคารพเราจริงๆแสนจะยาก สวนมากก็เปนความรักปลอม เคารพเพราะไดประโยชน หมายถึงวาเปนความเห็นแกตัว ที่แฝงเรนเขามาในรูปของความรัก จะเห็นไดจากการที่เมื่อไมสมใจหวัง ก็มักจะเกลียดชังและคิดทําลาย สิ่งที่ตนเคยบอกวารักนั้นเสีย ในลักษณะนี้ ความรักจึงกลายเปนเพียงการตอสูชนิดหนึ่งบนเวทีชีวิต ซึ่งมุงเอาแพชนะกัน ปราบฝายหนึ่งใหแพราบคาบไป ตนก็เปนสุขอยูในฐานะผูชนะ ฝายแพก็พยายามแกแคน เพื่อจะแกอิสรภาพคืนมา จึงตอสูชิงชัยกันอยูตลอดชีวิต ความรักอยางนี้ไมมีความเขาใจ มีความเสียสละ ในที่สุดก็พายแพทั้งคู คือครองใจกันไมได 104 ความสุขที่หาไดงาย
ทําไมบางคนจึงสามารถครองใจคนอื่นไดเปนอันมาก มีคนหอมลอมรุมกันรัก โดยปกติคนประเภทนี้ จะมีความรักโดยไมเห็นแกตัว คือหลั่งความรักใหโดยไมหวังวาตัวจะไดอะไรจากผูอื่น มีจิตใจเผื่อแผโอบออมอารี หวั่นใจตอความทุกขรอนของผูอื่น วางเฉยไดเมื่อถึงกาลที่ควรจะวางเฉย ดีใจจริงๆ ตอความสุข ความสําเร็จของผูอื่น พูดจาออนหวานใหกําลังใจ บําเพ็ญประโยชนให ไมใชคอยฉกฉวยประโยชน วางตนเสมอตนเสมอปลาย ไมใช 3 วันดี 4 วันราย วางตนเหมาะสมแกฐานะ คุณสมบัติเหลานี้ ลวนเปนปยกรณธรรม คือหลักที่ทําใหเปนที่รักของผูอื่น ทั้งผูที่อยูใกลและอยูไกล สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นเพราะมีเหตุปจจัย เมื่อจะดับก็เพราะเหตุดับไป ความรักเปนสิ่งหนึ่งในโลก ยอมจะอยูในลักษณะนี้เชนเดียวกัน ถาตองการความรักที่มั่นคง ตองการใหเปนที่รักของผูอื่น ก็ตองกระทําอยางมีหลัก จึงจะประสบผลสําเร็จได ยอหนดี ร็อคกี้ เฟลเลอร ในระยะแรกๆ ตองการความรักจากผูอื่นก็จริง ทานไมมีศิลปะในการที่จะทําใหผูอื่นรัก เพราะฉะนั้นแมแตเสมียนพนักงาน ก็ไมชอบทาน หวาดกลัวไปตามๆกัน เพราะทานร็อคกี้ เฟลเลอร เปนคนขี้ระแวง เปนคนที่ไววางใจมนุษยดวยกันนอยที่สุด ปรากฏวาในบริเวณบอน้ํามันตางๆ ในรัฐเพนซิลวาเนีย ร็อค กี้ เฟลเลอร เปนคนที่ถูกเกลียดชังมากที่สุดในโลก คูแขงขันของทานซึ่งถูกทําลายยอยยับไปแลว ดวยวิธีการตางๆ ตางเคียดแคนชิงชังและอยากจะแขวนคอทานเปนที่สุด จดหมายแชงชักหักกระดูก รวมทั้งขูเข็ญเอาชีวิตไหลมาสูสํานักงานของทาน นับไมถวน ทานตองการองครักษจํานวนหนึ่งเพื่อปองกันชีวิต ลงทายทานก็ไดประจักษความจริงวา ทานหนีความเปนมนุษยไปไมพน ไมสามารถทนทานตอความเกลียดชังของคนหมูมากที่อยูรอบตัวได และไมสามารถจะทนตอความทุกขรอน ซึ่งมีอยูประจําได ผลก็คือสุขภาพเสื่อมโทรมลงเรื่อยๆ ตองเผชิญกับศัตรูใหมคือความเจ็บปวย อาการของทานคือนอนไมหลับ เครื่องยอยอาหารพิการ สุมอยูดวยความทุกขรอนกระสับกระสาย แพทยไดบอกความจริงกับทานวาขอใหเลือกเอาอยางหนึ่ง คือธุรกิจการเงินหรือชีวิต จะตองตัดสินใจเลือกอยางรวดเร็วดวย ถาทานเลือกเอาชีวิตไวขอใหเลิกงานธุรกิจทุกอยางอยางเด็ดขาด มิฉะนั้นจะตองตายอยางแนนอน ทานเลือกเอาชีวิต 105 ความสุขที่หาไดงาย
แพทยไดวางกฎ 3 ขอ ใหปฏิบัติอยางเครงครัดคือ อยาวิตกทุกขรอนในสิ่งหนึ่งสิ่งใดทุกๆกรณี ขอสองพักผอนดวยการออกกําลังกายขนาดเบากลางแจง ขอสามระวังเรื่องอาหารประจําวัน อยากินเมื่อไมหิว ทานปฏิบัติตามกฎเหลานี้ ผลก็คือรอดตาย ทานหยุดงานดานธุรกิจ แตหันมาสนใจเรื่องของเพื่อนบาน และเลนกีฬาในรมเล็กๆนอยๆ ระหวางที่ทานทรมานจากโรคนอนไมหลับ ทานไดมีเวลาเหลือเฟอในการที่จะคํานึงถึงสิ่งตางๆ ทานไดเริ่มคิดถึงผูอื่น เลิกคิดถึงเรื่องการกอบโกยเงินทอง แตทานกลับคิดวาจะตองใชเงินสักเทาไหร จึงจะสามารถสรางความสุขใหปวงมนุษยในโลกได ดวยเหตุผลดังกลาว ทานเริ่มบริจาคเงินจํานวนลานๆ เพื่อสาธารณกุศล วิทยาลัยเล็กๆแหงหนึ่ง บนฝงทะเลสาบมิชิแกน กําลังจะถูกธนาคารยึด แตไดกลายเปนมหาวิทยาลัยแหงชิคาโก เพราะการชวยเหลือของทาน โดยการบริจาคเงินหลายลานเหรียญ ทานบริจาคเงินชวยเหลือการศึกษาของชาวนิโกร บริจาคเงินหลายลานเหรียญในการปราบพยาธิปากขอ จนหมดไปจากภาคใตของสหรัฐอเมริกา ทานไดตั้งมูลนิธิอันยิ่งใหญ เพื่อประโยชนแกโลกนั่นคือ ร็อคกี้ เฟลเลอร มูลนิธิ ซึ่งมีวัตถุประสงคที่จะตอสูกับโรคภัยไขเจ็บเพื่อความสุขสวัสดีของปวงมนุษยทั่วโลก ไมเคยปรากฏมากอนเลยในประวัติศาสตร วาจะมีองคการใด ไดบําเพ็ญประโยชนแกเพื่อนมนุษยกวางขวางใหญโตไพศาล เหมือนกับร็อคกี้ เฟลเลอรมูลนิธิ เปนสิ่งแปลกและใหมของโลก ใหทุนการศึกษาไวคนควาสิ่งตางๆ มากมาย รวมทั้งในวงการแพทยดวย ตองขอบคุณทานในเรื่องยาหลายชนิด เชน เพนนิซลิ ิน ยาในการรักษาเยื่อหุมสมองอักเสบ ทานรวมมือบริจาคในการทําลายโรคมาลาเรีย วัณโรค ไขหวัดใหญ โรคคอตีบ โรคอื่นๆอีกมากซึ่งระบาดอยูทั่วโลก สําหรับทานร็อคกี้ เฟลเลอร เองไดรับผลจากการปฏิบัติเชนนั้นของทานอยางดีจริง คือไดรับสันติสุขทางใจอยางลนเหลือ ไดรับการยกยองนับถือไปทั่วโลก ยอหนดี ร็อคกี้ เฟลเลอร ผูซึ่งกําลังจะตายเมื่ออายุ 53 ป แตทานกลับมีอายุยืนถึง 98 ป นาอัศจรรยอยางยิ่ง นี่ก็เพราะวาทานไดเปลี่ยนวิถีชีวิตของทานจากการเห็นแกตัว เห็นแกไดเอารัดเอาเปรียบ มาเปนผูเสียสละ มาเปนผูบําเพ็ญประโยชนเพื่อความสุขของมนุษยดวยกัน 106 ความสุขที่หาไดงาย
ตัวของทานเองก็กลายเปนคนที่มีความสงบสุข มีจิตใจที่สงบเยือกเย็น ทานเปลี่ยนคนที่เกลียดชังใหรกั ใคร เพราะวาไดเปลี่ยนแปลงแนวคิด และการกระทําของทานกอน รวมความวา เราเปลี่ยนแปลงตัวเองกอน ทําตัวของเราใหเปนประโยชนแกคนทั้งหลาย ทําความดีและเพิ่มพูนความดีอยูเรื่อยๆ ความสําเร็จในชีวิตอยางแทจริงของคนทั้งหลาย เชนทานร็อคกี้ เฟลเลอร เปนตน อยูตรงนี้เอง เรื่องของทานร็อคกี้ เฟลเลอรนี้ ผมไดเก็บความจากหนังสือ How to Stop Worring and Start Living ซึ่งเขียนโดยทานเดล คาเนกี ฉบับแปลเปนภาษาไทยชื่อวา วิธีชนะทุกขและสรางสุข โดยอาษา ขอจิตเมตต ผมขอขอบพระคุณผูแตงคือเดล คาเนกี และอาษา ขอจิตเมตต ที่ไดใหมรดกที่มีคาอยางยิ่งสําหรับมนุษยไวในวงวรรณกรรมไวในโอกาสนี้ดวย คนลวงทุกขไดดวยความเพียร ผมย้ําใหเห็นถึงความเพียรพยายามที่จะละนิสัยไมดี ละความชั่ว และเพิ่มพูนความดีใหมากขึ้น ทําใหชีวิตของบุคคลผูนั้นมีคุณคามากขึ้น มีความสุขมากขึ้น จากการที่เกือบจะตายเมื่ออายุ 53 ปมาทําใหเปนคนอายุยืน และมีความสงบสุข อายุยืนอยูถึง 98 ป เกือบรอยป วิริยารัมภะ หรือความเพียร เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่ง คือความเพียรที่จะประกอบคุณธรรมความดี นอกจากนี้ทางพุทธศาสนาไดมีพระพุทธภาษิตและพุทธศาสนสุภาษิตมากมาย ที่แสดงถึงคุณคาของความเพียร ยกตัวอยางขอหนึ่งที่วา วิริเย น ทุกขมจฺเจติ บุคคลจะลวงทุกขไดเพราะความเพียร ความทุกขอะไรบาง ที่เราจะลวงพนไดดวยความเพียร 1. ความทุกขจากความยากจน หรือเพราะความเกียจคราน หลายคนยากจนเพราะความเกียจคราน ฝกใฝอบายมุข ทําใหชีวิตตกต่ํา แตพอรูสึกตัว เปลี่ยนวิถีชีวิตเสียใหม กลับหาทรัพยไดมั่งมีขึ้น พระพุทธภาษิตที่วา ปฏิรูปการี ทุรวา อุฏฐากา วินนเตธนํ แปลวาผูมีความเพียร ขยันลุกขึ้น มีธุระอยูเสมอ ไมอยูวาง ทําการงานใหเหมาะสม ยอมจะหาทรัพยได 107 ความสุขที่หาไดงาย
มีพระพุทธศาสนสุภาษิตอีกตอนหนึ่งวา กาลาคตฺจ นหาเปติ อตฺถํ แปลวาคนขยันยอมไมทําประโยชนที่มาถึงเขาแลวใหเสื่อม เมื่อทํากิจโดยเบื่อหนาย ประโยชนยอมไมสําเร็จโดยชอบ แตเมื่อทํากิจโดยไมเบื่อหนาย ประโยชนยอมจะสําเร็จโดยชอบ พึงไดประโยชนใดประการใด บุคคลก็พึงบากบั่นในที่นั้นโดยประการนั้น มีคนยากจนไมนอยในบานเมืองของเรา กลายเปนคนมั่งมีเพราะความขยัน การงานเหมาะสม 2. ความทุกขจากความเจ็บปวย บางคนเกียจคราน เอาแตนั่งๆนอนๆ จนปวยทั้งทางกายและทางจิต คิดฟุงซานไปตางๆ ทําใหมีความเครียด รางกายเจ็บปวย สืบเนื่องมาจากความปวยทางจิตกอน ซึ่งทานเรียกวา Scychoplatic illness ซึ่งหมายถึง Suffering from mental dicease คือความเจ็บไขไดปวยที่สืบเนื่องมาจากความวิตกกังวล ความทุกขที่สืบเนื่องมาจากโรคทางจิต และทําใหตื่นเตนงาย ตกใจงาย กระวนกระวายไมมีความสุข ไมสงบ ถาเขาใชความเพียรไปในทางหนึ่งทางใดใหสม่ําเสมอ เปนระบบ ก็จะหายจากความเจ็บปวยนี้ได หรือทําใหบรรเทาลงได สวนความปวยทางกายจริงๆ โดยไมเกี่ยวของกับจิตเลย ก็มีความเพียร ความบากบั่นมั่นคงในการรักษาตัวเอง ดูแลตัวเองใหดี ประกอบดวยความรู ความเขาใจในเรื่องอาหารและยา เวนของแสลงแกโรค หรือโภคอาศัยแตสิ่งที่เปนสัปปายะ คือสิ่งที่เหมาะกับตัว อาจไมตองไปหาหมอเลยก็ได หรือหาแตนอยที่สุด คนปวยตองมีกําลังใจในการควบคุมตัวเอง ดูแลตัวเอง ความทุกขจากความเจ็บปวยเชนนี้ ก็ลวงพนไดดวยความเพียรเหมือนกัน 3. ความทุกขในอบายภูมิ และความทุกขในสังสารวัฏ ความทุกขในอบายภูมิ คือการตองเกิดในนรก เปรต อสุรกาย หรือสัตวเดรัจฉาน มีบาปเปนแดนเกิด ผูใดเพียรพยายามในการเวนบาป เพียรในการบําเพ็ญบุญกุศล ผูนั้นก็จะพนจากความทุกขในอบายภูมิ ถาถึงขั้นกาวเขาสูอริยภูมิ ตั้งแตโสดาปตติผลขึ้นไป อบายภูมิ 4 ก็เปนอันปดสนิท ถาเพียรพยายามตอไปจนถึงอรหัตผลแลว ในสังสารวัฏอันยืดเยื้อยาวนาน ก็เปนอันสิ้นสุดลง
108 ความสุขที่หาไดงาย
นี่เปนเรื่องอานิสงสของความเพียร เพราะฉะนั้นเราก็ควรจะคุยกันในเรื่องความเพียรในการที่จะละความชั่ว ประพฤติความดี ความเพียรในการทําดีใหสม่ําเสมอ ความเพียรในการรักษาความดีใหคงอยู และใหเจริญยิ่งๆขึ้นไป วิริยารัมภกถา กถาที่ชักชวนกันใหมีความเพียรในกถาวัตถุ 10 เปนขอที่ 5 ก็ขอจบเพียงเทานี้ครับ
109 ความสุขที่หาไดงาย
110 ความสุขที่หาไดงาย
วิมุตติกถา และ วิมุตติญาณทัสสนะกถา
111 ความสุขที่หาไดงาย
สารบัญ วิมุตติกถา และวิมุตติญาณทัสสนะกถา วิมุตติกถาและวิมุตติญาณทัสสนะกถา วิมุติ มี 5 อยาง คือ 1. ตทังควิมุตติ 2. วิกขัมภน 3. สมุจเฉทวิมุตติ 4. ปฏิปตสัทธิวิมุตติ 5. นิพาน วิมุตตายตนะ
112 ความสุขที่หาไดงาย
113 114 114 115 115 115 116 117
วิมุตติกถา และวิมุตติญาณทัสสนะกถา วันนี้เปนวันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน 2541 พอดีตรงกับวันลอยกระทง พระจันทรเต็มดวงสวยเชียว เสียงพลุดังเต็มไปหมด เรื่องที่จะคุยกับทานผูฟงวันนี้ ก็เปนเรื่องวิมุตติกถา กับ วิมุตติญาณทัสสนะกถา ในกถาวัตถุ 10 ก็พูดรวมกันไปเลยนะครับ วิมุตติกถา กถาที่วาดวยความหลุดพน วิมุตติญาณทัสสนะกถา ก็แปลวา กถาที่วาดวยความรูเห็นในการหลุดพนนั้น ความหลุดพนที่ใชคําวาวิมุตตินี้ ใชคําอื่นแทนไดหลายคํา ที่เปนไวพจนเชน ปหานะ, นิโรธ, โวสสัคคะ, รวมทั้งนิพพานดวย ทางพุทธศาสนาถือวาวิมุตติเปนแกนแทของพุทธศาสนาตามนัย มหาสาโรปมสูตร ทีพ่ ระพุทธเจาตรัสถึง แกนของพระพุทธศาสนาคือวิมุตติ ปญญานั้นเปนกระพี้ สมาธิเปนเปลือก ศีลเปนสะเก็ด ถามีลาภสักการะที่เปนผลพลอยไดก็เปนกิ่งใบ เปรียบพุทธศาสนาเหมือนตนไมทั้งตน วิมุตติคือความหลุดพนเปนแกนของตนไม แกนของพรหมจรรย แกนของพระธรรมวินัย มีบางแหงที่ตรัสถึงความอัศจรรยของวินัย 8 ประการ ซึ่งเปรียบดวยมหาสมุทร อยางในพระไตรปฎกเลม 25 ตรัสถึงความอัศจรรยของพระธรรมวินัย 8 ประการ ซึ่งเปรียบดวยมหาสมุทร มหาสมุทรมีรสเดียวคือรสเค็ม น้ําที่ไหลไปจากที่ตางๆ เมื่อลงไปสูมหาสมุทรแลว ก็เปลี่ยนเปนรสเค็มทั้งหมดเลย ธรรมวินัยนีก้ ็เหมือนกัน มีรสเดียวคือวิมุตติรส คือการหลุดพน นี่จะเห็นวาทานใหความสําคัญแกความหลุดพนจากกิเลสไมใชนอย เมื่อพูดถึงวิมุตติ โดยทั่วไปกลาวถึง 3 อยางก็มี 5 อยางก็มีดังนี้ 1. ตทังควิมุตติ แปลวาหลุดพนดวยองคนั้นๆ แปลวาเอา คุณธรรมมาถายถอน หรือมาเอาชนะกิเลส เชน เอาเมตตา มาชนะความโกรธ ละความโกรธไดดวยเมตตา ละความเบียดเบียนไดดวยความกรุณา อยางนี้ก็หลุดพนไปชั่วคราว 113 ความสุขที่หาไดงาย
แตวาความโกรธเกิดขึ้นไดอีก ความคิดเบียดเบียนเกิดขึ้นไดอีก ก็เปนความหลุดพนของปุถุชน ปุถุชนเราอยูไดดวยการหลุดพนอันนี้ คือวาหลุดพนกันเปนคราวๆ ไมไดเด็ดขาด บางคราวก็แบบที่ชาวบานวา เอาธรรมะมาขมเอาไว สุดขีดแลว ก็เอาเมตตาความเห็นอกเห็นใจ การใหอภัยมาชวยเอาไว ความโกรธก็คอยๆดับไป คอยๆระงับไป ถึงเราจะไมเอาอะไรมาดับ มันก็คอยๆดับไปเอง เพราะมันเปนสังขารธรรม เปนสังขารมันไมเที่ยง เกิดขึ้น ตั้งอยู แลวก็ดับไป นี่ก็เปนวิมุตติของปุถุชน ทําใหเราไมเปนบากันไป ไมเปนโรคประสาทกันไป ก็ดวยวิมตุ ติขอนี้ เวลานี้ก็ฆาตัวตายกันเยอะมีขาวทุกวัน ถาเขาใจเรื่องนี้ ผมคิดวาจะบรรเทาไดบาง อยางนอยก็ชะลอการคิดที่จะฆาตัวตายเอาไวกอน ใหเกียรติแกความเปลี่ยนแปลง ในทีส่ ุด มันตองเปลี่ยนแปลงไป ไมมีอะไรอยูยั่งยืน ความทุกขความสุขผานไปผานมา ชีวิตเราก็ตองผานสุขผานทุกขไป เหมือนตนไม มันเติบโตได แข็งแรงได เพราะมันผานหนารอน หนาฝน หนาหนาว ถามันมีอยูหนาเดียวตนไมอยูไมได ถามีหนาฝนหนาเดียว ฝนตกเอาๆไมมีหยุด รากเนาหมด ถามีหนารอนอยางเดียวตนไมก็แหงตายหมด อยูไมได หนาหนาวก็แหงเหมือนกัน ฝนไมตก แตไมรอนเทาไหร บางคราวตนไมมันจะผลัดใบ มันสลัดเอาสวนที่ไมจําเปนออก เวลานั้นมันขาดแคลนอาหารไมสามารถจะเลี้ยงตนไมไดหมดทั้งตน มันก็ตองสละสวนที่จําเปนตองสละไปกอน ตองเอาลําตนไม พออาหารสมบูรณขึ้นมา ก็เกิดใบใหมเปนใบออนแลวก็สวยใหม คนเราก็ทํานองนั้น บางทีก็จําเปน ถึงคราวคับขันคราวจําเปนคราวลําบาก ก็จะตองสละอะไรบางอยางจะเอาไวหมดไมได ไมอยางนั้นเรารักษาลําตนไวไมได ตามพุทธภาษิตทางศาสนาที่วา สละทรัพยเพื่อรักษาอวัยวะ สละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต เพื่อเห็นแกความถูกตอง เห็นแกธรรม เห็นแกความดี สละไดทุกอยาง ทั้งทรัพยทั้งอวัยวะทั้งชีวิต อันนี้คือ ตทังควิมุตติ หรือ ตทังคปหาน ตทังคนิโรธ 114 ความสุขที่หาไดงาย
2. วิกขัมภน แปลวาขมไว ความหมายจริงๆ ทานหมายถึงขมกิเลสไวไดดวยอํานาจของฌาน ดวยกําลังฌาน อยางผูที่ไดฌานก็ขมกิเลสไวได มีอาการเหมือนหนึ่งคนไมมีกิเลส กิเลสยังมีอยู แตมันไมออกมาอาละวาด ยังมีอยูสงบอยู ที่ทานเปรียบเหมือนเอาหินมาทับหญา แตหญายังอยูยังไมตาย รื้อหินออกเมื่อไหรหญาก็ขึ้นเมื่อนั้น อาจจะขึ้นสวยกวาเดิม นี่เปนการละหรือขมกิเลสของผูที่ไดฌาน ฌานลาภีบุคคล บางทานก็มีอาการเหมือนหนึ่งวาเปนผูไมมีกิเลส แตเพียงแตขมไวยังไมเด็ดขาด ฉะนั้น เรื่องราวตางๆในชาดก จะพบวาฤาษีชีไพรไดฌาน พอตอมาก็ฌานเสื่อม เพราะพบกับอารมณที่ทําใหฌานเสื่อม แลวก็กลายเปนคนธรรมดา ยังละกิเลสไมได พระบางรูปก็ทํานองนั้น คือทานไดเพียงฌาน ยังละกิเลสไมได แตชาวบานไมเขาใจ คิดวาทานละไดแลว ก็ตั้งใหทานเปนพระอริยะ และมีพระอริยะที่ชาวบานตั้งเยอะแยะไปหมด เราก็ไมรูวาทานเปนหรือไมเปน ทานนั่นแหละรู หรือผูที่สูงกวาทานจึงจะรู 3. สมุจเฉทวิมุตติ หลุดพนโดยเด็ดขาดดวยการตัดขาด อันนี้เปนความหลุดพนของอริยบุคคล อยางเชนพระโสดาบัน พระโสดาบันตัดกิเลสได 3 อยาง กิเลสขอใดตัดไดแลว ก็เปนอันตัดขาดไปเลย ไมเกิดขึ้นอีก พระโสดาบันตัดได 3 อยาง และก็มีอะไรอีก ไมสามารถจะนํามาคุยในที่นี้ได ถานํามาในที่นี้ ก็จะตองยืดออกไปอีกเยอะเลย พระอริยบุคคล 4 จําพวก จะละกิเลสไดไมเทากัน แตวาทานละไดขาด ก็สลายไป เปนพระโสดาบันแลวสบายไป 7 ชาติ ไมเกิดในอบาย มีคติที่ดีตลอด มีแตสุคติอยางเดียว ไมมีทุคติตลอดเวลา 7 ชาติที่เวียนวายตายเกิดอยู เปนมนุษยบาง ในสวรรคบา ง ไมเกิดในชาติที่ 8 นี่ก็เปนการตัดกิเลสไดเด็ดขาดเปนขอๆ 4. ปฏิปตสัทธิวิมุตติ แปลตามตัวแปลวา หลุดพนดวยการสงบระงับ อันนี้ทานหมายถึงในขณะของอริยผล สมุจเฉทวิมุตติ เปนขณะของอริยมรรค อริยมรรคไปตัดกิเลส ปฏิปตสัทธิวิมุตติ ขณะของอริยผล แปลตามตัววาหลุดพนดวยการสงบระงับ ความหมายคือขณะของอริยผล
115 ความสุขที่หาไดงาย
5. นิพพาน ซึ่งเปนนิสสรณวิมุตติ แปลตามตัววา หลุดพนดวยการสลัดออก ความหมายก็คือนิพพาน เพราะฉะนั้น 3 ขอหลังนี้ สมุจเฉทวิมุตติ เปน ขณะของอริยมรรค ปฏิปตสัทธิ เปน ขณะของอริยผล นิสสรณะ ก็คือ นิพพาน เปรียบใหดูงายก็เหมือนคนปวย คนกินยาเขาไปตัดโรค ในขณะที่ยากําลังทํางานอยูที่จะตัดโรค นัน่ คือ สมุจเฉท เมื่อโรคระงับไปก็เปนปฏิปตสัทธิ แลวก็สบายไปตลอดไมเกิดโรคขึ้นอีก ก็เปนนิพพาน หรือขณะที่เรากินขาว เราหิว ความหิวเปรียบเหมือนโรค เราก็กินอาหารเขาไป ในขณะที่กินอาหารอยู นั่นคืออริยมรรค ทํางานอยูเพื่อจะบําบัด เขาไปตัดความหิว คอยๆตัดความหิวทีละนอยๆจนอิ่ม พออิ่มแลว ความหิวก็สงบระงับ นั่นคือปฏิปตสัทธิ แลวก็สบายไป คือนิพพาน นิสสรณะ แตเราอิ่มแลวหิวอีก ถาไมหิวอีกมันก็สบายไปตลอด ทีนี้กิเลสของทาน เมื่อตัดตัวใดแลวก็ตัดขาดไปเลย ไมเกิดขึ้นอีก แตเราไมไดเปนอยางนั้น ความหิวมันเกิดขึ้นอีก บางคนก็ตองกินบอยๆ หลายครั้ง นี่เรื่องของวิมุตติ ทีนี้ผูหลุดพน วิมุตโตหมายถึงผูหลุดพน วิมุตติคือความหลุดพน ทานแบงเปน 3 จําพวกดวยกัน 1. เจโตวิมุตติ แปลวาหลุดพนดวยกําลังใจ หรือเอาความหมาย ก็คือ หลุดพนดวยกําลังสมาธิ ไดฌาน ระงับกิเลส หลุดพนจากกิเลสไดชั่วคราว ตลอดเวลาที่ฌานยังอยู เปนฌานลาภีอยู ก็ไดเปนเจโตวิมุตติ หลุดพนดวยอํานาจของสมาธิ อํานาจของฌาน 2. ปญญาวิมุตติ ผูที่เปนปญญาวิมุตติหลุดพนดวยอํานาจของปญญา นี่คือทานที่เดินตามสายของวิปสสนา คือเจริญวิปสสนาลวน แตถึงจะเจริญวิปสสนา สมาธิก็เกิดขึ้นเหมือน กัน เรียกวาวิปสสนาสมาธิ ไมไดแปลวาวิปสสนาและสมาธิ แปลวาสมาธิที่ไดจากการเจริญวิปสสนา ผูเจริญทางสายนี้เรียกวา วิปสสนาญานิก มีวิปสสนาเปนญาณ ถาหลุดพนจากกิเลส ตัดกิเลสไดก็เปนปญญาวิมุตติ แตทานเหลานี้ไมไดฌาน และไมมฤี ทธิ์ไมมีเดช 116 ความสุขที่หาไดงาย
ไมไดอภิญญา เรียกวาพระสุขวิปสสโก เปนพระอริยประเภทสุขวิปสสก แปลวาสุขแหงๆ ไมมีฤทธิ์ไมมีเดช แตวาหมดกิเลสเหมือนกัน พวกที่ 3 เรียกวา อุภโตภาควิมุตติ แปลวาหลุดพนทั้งสองโดยสวนทั้งสอง คือทานไดฌานมากอน ไดสมาธิไดฌานมากอน และตอมาก็มาเจริญวิปสสนา หลุดพนจากกิเลส เพราะวาทานได 2 คือไดทั้งฌาน ไดทั้งปญญา หลุดพนจากกิเลสดวยอํานาจของปญญา มีรายละเอียดในพระไตรปฎก ผมไมไดเอามาอางในที่นี้ เพราะวาดูแลวก็ยากเกินไปสําหรับจะพูดทางวิทยุ ตามแนวพระพุทธพจนมีหลายแหง ผมไดบันทึกเปนหนังสือเอาไว วิมุตตายตนะ ผมจะพูดถึงวิมุตตายตนะ แปลวาบอเกิดของวิมุตติ ทานกลาวเอาไว 5 อยาง ในวิมุตตายตนสูตร 1. ฟงธรรม ผูที่ตั้งใจฟงธรรม สนใจในธรรมก็หลุดพนได เปนพระอรหันตได เพียงแตตั้งใจฟงอยางเดียว 2. คิดไตรตรองใครครวญธรรม บางทานใครครวญธรรมแลวก็ไดปติปราโมทย แตกฉาน ขบธรรมะแตก ก็ไดบรรลุกม็ ี 3. แสดงธรรม แสดงไปๆ ไดปติปราโมทยจากการแสดงธรรม เพราะรูสึกวาเรื่องนี้เราก็มี เรื่องนี้เราก็มี ก็เกิดปติปราโมทยขึ้น ก็บรรลุธรรมในขณะแสดงธรรม ตัวอยางคือพระนาคเสน ไดแสดงธรรมใหอุบาสิกาฟง อุบาสิกาไดบรรลุ ทานก็ไดบรรลุดว ย เปนเรื่องประหลาด เวลาแสดงธรรม ใจมันเปนสมาธิกวาปกติ ถาเผื่อไดพูดถึงคุณสมบัติที่ผูแสดงมี บําเพ็ญอยู กระทําอยู ปติปราโมทยมนั ก็เกิดขึ้นมา อันนี้เปนสิ่งหลอเลี้ยงใหเขามีกําลังใจในการทํางานแสดงธรรมตอไป 4. สาธยายธรรม คือสวดรองทองบน บางทานสวดอิติปโส ภควา สํารวมใจใหดี เวลาไมสบายใจใหสวดมนต จําอะไรไดใหเอามาสวดใหหมดเลย ประมาณ 10-20 นาที บางทีหัวเราะออกเลย หรือจําไดนอยสวดกลับไปกลับมาก็ได เวลาที่ไมสบาย อยางนี้ก็ไดบรรลุธรรมเหมือนกัน 5. เจริญสมถวิปสสนา ซึ่งคนทํากันอยู ตองทําไปดวยกัน ทําสมถะบาง ทําวิปสสนาบาง สลับกันไป ถาทําสมถะอยางเดียวก็เพียงแตระงับไวไดเทานั้น นี่คือ วิมุตตายตนะ บอเกิดของวิมุตติ 5 อยาง เพราะฉะนั้น ก็ขอใหรูวาคนสามารถบรรลุธรรมดวยวิธีตางๆ
117 ความสุขที่หาไดงาย
วิมุตติญาณทัสสนะ ความรูเห็นในความหลุดพน ก็คือเมื่อไดหลุดพนแลว ก็มีญาณทัสสนะ มีความรูเห็นในความหลุดพน มีในพระสูตรบางสูตรที่กลาวถึงวา บางทานหมดกิเลสแตไมรูวาหมดกิเลสเพราะไมมีญาณทัสสนะ เพราะฉะนั้นเมื่อหมดแลวตองมีญาณทัสสนะดวย เหมือนคนที่หายโรค ตองรูวาตัวหายโรคแลว จะไดเลิกกินยา ขอจบเรื่องกถาวัตถุลงไวเพียงเทานี้นะครับ ขอความสุขสวัสดี ขอความเจริญรุงเรืองในธรรม และในสิ่งที่ทานทั้งหลายปรารถนา ประสบผลที่ดีในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการ สวัสดีครับ ขอเชิญฟงการบรรยายธรรมโดยอาจารย วศิน อินทสระ ที่วัดบวรนิเวศวิหาร บางลําภู ทุกเชาวันอาทิตย เวลา 10.15 น. เวนวันอาทิตยตนเดือน
118 ความสุขที่หาไดงาย