นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
2
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นินิตตยสารสะบายดี ยสารสะบายดี บุบุรรีรัมีรย์ัมย์
3
4 Editor’s คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง ไทรถเข็น
Contents
talk
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
25th July 2016
6
ฅ.ฅนบุรีรัมย์
โสภณ ซารัมย์
กับบ้านสวน Fruit & Garden
14
18
“เวลาในชีวิตของคนเรา มีไม่เท่ากัน บางคนมีมาก บางคนมีน้อย แต่ทุกคน ล้วนแล้วแต่มีเวลาที่จำ�กัด... และนับถอยหลังลง ไปอยู่ทุกวินาที” เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา ฉันได้มีโอกาส เดินทางเข้าไปยังกรุงเทพมหานคร เมืองฟ้าอมร ที่ใครหลายๆ คนใฝ่ฝัน จะเข้าไปเหยียบสักครั้ง ไม่ว่าจะไปเรียน ไปเที่ยว หรือไปทำ�งาน กรุงเทพมหานคร เมืองที่ไม่เคยหลับใหล เมืองที่รวบรวมบรรดาความสุดยอด มาไว้ ด้วยกัน เข้าเมืองหลวงคราวนี้ก็เหมือนกับพวก บ้านนอกเข้ากรุง เดินเข้าห้างไหน ก็เป็นอันต้อง หลงทิศหลงทางอยู่ตลอด เดินผ่านอะไรๆ ก็ดูจะ น่าตื่นตาตื่นใจไปหมด โดยเฉพาะเสื้อผ้า แฟชั่น การแต่งกายของผู้คน ช่างดูแตกต่างจากแฟชั่น บ้านเรานัก จะว่าไป สิ่งหนึ่งที่สังเกตเห็นได้จาก ผู้คนรอบตัวในเมืองหลวง ก็คือพวกเขาเหล่านั้น
อ่าวไทย ซีฟู้ด มหัศจรรย์เมืองแปะ
บ้แบกกล้ านจาน อง ล่องลำ�ชี
Editor’s talk
เดินป่า ศึกษาธรรมชาติ ต่างต้องใช้ชีวิตกันอย่างรีบเร่ง บางคนต้องสวม วิญญาณนักแข่ง เพือ่ ต่อสูก้ บั การจราจรสุดโหด บ้างก็สวมวิญญาณนักมวยเมื่อต้องเปิดศึกแย่ง ทรัพยากร อันมีอยู่อย่างจำ�กัด แต่ทุกคน... ต่าง ต้องสวมวิญญาณนักวิ่ง เมื่อต้องวิ่งแข่งกับเข็ม นาฬิกาที่เดินไปข้างหน้า โดยไม่รั้งรอ “ไม่มีใครบอกได้ว่า ต้องทำ�อะไร ถึง จะคุ้มที่สุด สำ�หรับการที่เราเกิดมาครั้งหนึ่ง” “แต่บางที... เราอาจมัวแต่เสียเวลา ไปกับบางสิ่งบางอย่าง โดยลืมคิดว่า เวลาที่ เรามีอยู่นั้น ย่อมต้องหมดลงไปสักวัน” ฉันเดินทางจากเมืองหลวงมา ด้วยใจ ที่สับสน คำ�ถามเกี่ยวกับการใช้ชีวิต ยังคงลอย เคว้งคว้างอยู่ในอากาศ เราจะรู้ได้อย่างไร ว่าเวลาของแต่ละ คน จะหมดลงเมื่อไหร่?
หันมองดูคนรอบๆ ข้าง ความรู้สึก แปลกๆ ที่มีส่วนผสมระหว่างความว้าเหว่กับ ความกลัว ก็ขึ้นมาจุกรวมกันอยู่ตรงคอหอย เมื่อคำ�ถามหนึ่งแวบเข้ามาในความคิด “ถ้าหากวันหนึง่ คนทีเ่ ข็มเวลาต้อง หยุดเดิน กลายเป็นคนใกล้ชิดของเราล่ะ” ฉันเพียงได้แต่หวังว่า เมื่อวัน และ เวลานั้นมาถึง ฉันจะพร้อม ฉันจะยิ้มรับ และ โอบกอดมันไว้ โดยไม่นึกเสียดายวันเวลา ที่ ผ่านมา เวลาที่ฉันได้ทุ่มเทไปให้กับคนสำ�คัญ ของฉัน คนที่ฉันรักและคนที่รักฉัน วันหนึ่ง เวลานั้น... จะเดินทางมาถึง เราทุกคน จงทำ�ใจให้พร้อมยอมรับความจริง กับความเปลี่ยนแปลง และขออย่าได้หวั่นไหว ไปกับมัน ด้วยรัก วีรวรรณ คชรัตน์ บรรณาธิการ นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
สะบายพุง
บรรณาธิการบริหาร วีรนุช คชรัตน์ บรรณาธิการ วีรวรรณ คชรัตน์ ผู้จัดการทั่วไป วรพช คชรัตน์ ที่ปรึกษา ผศ.สุธามาศ คชรัตน์ อ.วันดี เธียรสวัสดิ์กิจ ที่ปรึกษาฝ่ายต่างประเทศ ผศ.เรืองศักดิ์ อัมไพพันธ์ ที่ปรึกษาฝ่ายสุขภาพและกีฬา ผศ.พรพรรณ ค�ำเมือง ที่ปรึกษาฝ่ายภาษาไทยและวรรณคดีไทย ผศ.ดร.บุณย์เสนอ ตรีวิเศษ ที่ปรึกษาฝ่ายโบราณคดีและประวัติศาสตร์บุรีรัมย์ รศ.ดร.สมมาตร์ ผลเกิด ช่างภาพ วัฒนา จันทร์เจริญ ช่างภาพกิตติมศักดิ์ ยุรธีร์ ภูริภัทรเศรษฐ์ กราฟฟิกดีไซน์ ปรัชญา ชัดทัน พัชราภรณ์ ปัตตังเว นักเขียนประจ�ำคอลัมน์ วิภาวี สิงหวศิน, วิวัฒน์ โรจนาวรรณ ฝ่ายการตลาด วรัญญา ละขะไพ ทวีรัตน์ อ่อนซาผิว
นิตยสารสะบายดี บุรรี มั ย์ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด เค.เอส. ริชเชส 40/70 ถ. อินจันทร์ณรงค์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรรี มั ย์ 31000
http://www.sabaideeburiram.com ติดต่อลงโฆษณา 085 - 6121010, 087 - 4588547
ยกขบวนความอร่อย สด สะอาด ส่งตรงจากทะเล
26
กาลครั้งหนึ่ง
30
ภาพเก่าเล่าเรื่อง
โจอี ก ้ ว ๋ ยเตี ย ๋ วเป็ ด เส้นเหนียวนุ่ม น้ำ�ซุปหวานหอม วงเวียนน้ำ�พุ
หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ เคยมีวง เวียนน้ำ�พุ
44
ตะลุยต่างแดน
พระราชวังไดนอย นครต้องห้ามแห่งเวียดนาม
6
โสภณ ซารัมย์
ฅ.ฅนบุรีรัมย์
6
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
“
ชาวบ้าน เค้าอยู่กันแบบตามมีตามเกิดนะ ทำ�ตามแบบอย่าง รุ่นพ่อแม่ปู่ย่าตายาย เคยทำ�มาอย่างไร ก็ทำ�ตามแบบฉบับ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ใครบอกก็ไม่เชื่อ นั่งเถียงอยู่อย่างนั้นแหละ เพราะไม่เปลี่ยนวิธีคิด ก่อนที่เราจะเปลี่ยนวิธีคิดใคร เราก็ต้องทำ�เป็นตัวอย่างก่อน แล้วจึงเริ่มเปลี่ยนวิธีคิดของคนอื่น
”
โสภณ ซารัมย์
น้ำ�ตกในสวน
กับ... บ้านสวน Fruit & Garden อาณาจักรผักผลไม้ ต้นทุน และกำ�ไรของชีวิต เมื่อสัก 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา ได้มีการแชร์ภาพสวนน้ำ�แห่งหนึ่ง บนโลกโซเชียล และเป็นทีก่ ล่าวถึงอย่างมากมาย หลายคนจึงอยากรู้ว่า สวนน้ำ�แห่งนี้อยู่ที่ไหน เป็นของใคร และเปิดให้บริการอย่างไร สาเหตุ ที่มีคนให้ความสนใจมากนั้น เป็นเพราะสวนน้ำ�แห่งนี้ ดูเป็นธรรมชาติ สวยงาม และร่มรื่น ไม่เหมือนสวนน้ำ�ทั่วๆ ไป มีลักษณะเป็นน้ำ�ตกใส สะอาด ท่ามกลางบรรยากาศสวนผักผลไม้ คนที่มาที่นี่ บ้างก็มาซื้อผัก ซื้อผลไม้ บ้างก็มาเล่นน้ำ�อย่างสนุกสนาน บ้างก็เข้ามาเพื่อใช้บ้านสวน แห่งนี้เป็นแหล่งการเรียนรู้ และไม่ว่าจะด้วยเหตุใดก็ตาม วันนี้เราก็ได้ เดินทางมาที่สวนน้ำ�แห่งนี้ เพื่อหาคำ�ตอบให้กบั ทุกคำ�ถาม พร้อมทัง้ ขอ สัมภาษณ์แนวคิด แรงบันดาลใจ ต้นทุน และกำ�ไร ที่ได้จากการทำ�สวนนี้ ยิ่งเมื่อเราทราบว่าเจ้าของสวนผักผลไม้แห่งนี้ คือ “คุณโสภณ ซารัมย์” อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เรายิ่งอยากทำ�ความรู้จักกับสวน แห่งนี้ ที่ยึดแนวทางตามโครงการ “เศรษฐกิจพอเพียง” ว่าจะมีความ แตกต่างจากโครงการอื่นๆ อย่างไร ทำ�สวนอย่างไร และขอสารภาพว่า ในใจของเรา ยังคงรู้สึกเคลือบแคลงสงสัยอยู่ว่า จะเป็นไปได้อย่างไร ที่ คนระดับผู้บริหารประเทศ จะลงมาทำ�การเกษตรสวนผสม เราไปร่วม ค้นหาคำ�ตอบกันเลยดีกว่าค่ะ
ป้ายบ้านสวน Fruit & garden สวัสดีค่ะ ขออนุญาตทำ�ความรู้จักกับท่าน นะคะ สวัสดีครับ ผมโสภณ ซารัมย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม ผมเกิดวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2502 ที่ บ้านหนองเก้าข่า ตำ�บลเมืองแฝก อำ�เภอลำ�ปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ สถานที่นี้มีชื่ออย่างเป็นทางการว่าอะไร และมีที่มาอย่างไรคะ มีชื่อว่า “บ้านสวนฟรุ้ตแอนด์การ์เด้น (Fruit & Garden)” ถ้าบอกว่าบ้านสวนเฉยๆ คือบ้านของผม บ้านที่เป็นที่หลับที่นอน บ้าน ที่อยู่อาศัย ถ้าบอกว่าไปบ้านสวนนี่คือไปบ้านผมนะ แต่พอมาทำ�สวน ตรงนี้ ลูกชายก็เลยว่าเอา Fruit กับ garden คือสวนผัก และผลไม้ มา ใส่เพิ่มเป็น บ้านสวน Fruit & garden แค่นั้น
8
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
สวนเมล่อน
แตงโม ที่ปลูกในสวน
คอนเซ็ปต์ของสวนแห่งนี้คืออะไรคะ ผมขอเล่าความเดิมก่อนนะ (หัวเราะ) ผมเองเป็นลูกชาวนา ถ้าหากอยากมีอาชีพทั้งที ก็ต้องเป็นอาชีพที่ถนัด คือ อาชีพที่พ่อแม่ให้มา “อาชีพชาวนา” เพราะฉะนั้นคอนเซ็ปต์ของที่นี่ ก็คือ “การเกษตร” แล้วทำ�เป็นวิทยาทาน คือ เป็นที่ศึกษาดูงาน สวนแห่งนี้แบ่งออกเป็น 3 ขั้น ขั้นแรก ทำ�เกษตรปลอดสาร เกษตรปลอดภัย ขั้นที่สอง ผมทำ�เพื่อเป็นวิทยาทาน สำ�หรับผู้ที่ต้องการจะ เข้ามาศึกษาดูงาน และขั้นที่สาม ถ้าหากเป็นไป ได้ ผมก็อยากจะผลักดัน และสร้างเป็นเชิงท่อง เที่ยว บนเนื้อที่ 80 ไร่ ครับ ทราบมาว่านอกจากทำ�สวนนี้แล้วคุณโสภณ ยังได้ตั้งชมรมขึ้นกับชาวบ้านที่นี่ด้วย มีชื่อ ชมรมว่าอะไรคะ ตั้งขึ้นเพื่ออะไร ชื่อ “ชมรมคนทำ�ดีเพือ่ พ่อของแผ่นดิน” จุดประสงค์ข้อแรกคือ “การปฏิบตั ธิ รรม” เมือ่ ปี ที่แล้ว ผมพาชาวบ้านมาปฏิบัติธรรม ในวันเข้าพรรษา ผมเองก็ถือศีลช่วงเข้าพรรษา แต่ถือศีล เฉพาะวันพระนะ เดี๋ยวจะเป็นมุสาไป (หัวเราะ) นี่คือเรื่องการปฏิบัติธรรม ซึ่งในปีที่แล้วที่จัดขึ้น
คุณโสภณ ซารัมย์ เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับชายหาด
ผมพาพวกชาวบ้านจัดกิจกรรมทั้งหมด 9 ครั้ง ถือว่าประสบความสำ�เร็จพอสมควร จุดประสงค์ข้อที่สองผมพยายามสอน และสร้างแนวคิดให้กับชาวบ้านตามแบบฉบับ ของ “เศรษฐกิจพอเพียง” รู้ไหมที่บ้านเมืองเรา เดือดร้อนทุกวันนี้ก็เป็นเพราะว่าคนที่ไปสอนให้ คนอื่นเป็นคนดีแต่ตัวเองยังทำ�ดีไม่ได้ หากไปสอน แล้วใครจะเชือ่ ใครจะทำ�ตาม ตัวเองยังไม่พอเพียง แต่ไปสอนคนอื่น เค้าจะเชื่อเหรอ (หัวเราะ) ทุกวันนี้อย่าว่าแต่คนเลย ยังรวมไปถึง พระสงฆ์องค์เจ้า บางทีปฏิบัติไม่ได้แต่ไปสอนคน ตัวเองก็ยังทำ�ได้ไม่ดี คนเค้าก็ไม่เชื่อ เพราะเหตุนี้ ผมเลยคิดว่า ถ้าเราทำ�ตัวให้เป็นแบบอย่างให้กับ ชาวบ้าน ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ทุกคนก็จะ เอาอย่างเรา แต่ทำ�ในที่นี้คือต้องลงมือทำ�เองนะ ไม่ใช่ว่าสั่งอย่างเดียว (หัวเราะ) จุดประสงค์ข้อสุดท้าย คือ “ปลูกต้นไม้ หนึ่งแสนต้น” ถวายเนื่องในวโรกาส วันเฉลิมพระชนมายุครบ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพฯ ไหนๆ พูดแล้วก็ขอบอกข่าวดี (หัวเราะ) ตอนนี้ ป่าที่ชมรมของเราช่วยกันปลูก สมเด็จพระเทพฯ ท่านพระราชทานชื่อป่ามาให้แล้ว ชื่อ “สวนป่า เฉลิมพระเกียรติฯ” นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ เป็นล้นพ้นเลยครับ วันนี้ผมเพิ่งได้ถวายรายงาน ความก้าวหน้าเรื่องของป้ายชือ่ พระราชทาน ท่าน บอกว่าทำ�ป้ายแล้วให้นำ�ความกราบทูล รู้สึกว่า ที่นี่เป็นแห่งแรกในจังหวัดบุรีรัมย์ ที่คนธรรมดา ปลูกป่าถวายสมเด็จพระเทพฯ หนึ่งแสนต้น และ ไม่ใช่แค่ปลูก ถ่ายรูปแล้วก็เดินหนี แต่ปลูกแล้ว ช่วยกันดูแล ปีที่แล้วแบ่งที่ออกเป็น 17 แปลง ตำ�บลนี้มี 17 หมู่ ตั้งรางวัลไว้ว่า หมู่ไหนชนะก็ เอารางวัลไป 5 หมื่น เอาไปพัฒนาหมู่บ้าน ปีนี้ ตั้งไว้ 8 หมื่น โดยมีโจทย์ว่า บ้านไหนต้นไม้สวย ก็จะได้รางวัลกลับไปพัฒนาหมู่บ้าน
แล้วเรื่องโครงการหนึ่งไร่หนึ่งแสนล่ะคะ ทุกวันนี้ชาวบ้านภาคเกษตรส่วนใหญ่ ที่อยู่ไม่ได้ เพราะว่าส่วนใหญ่ปลูกพืชชนิดเดียว พอผลผลิตไม่มรี าคาก็ตอ้ งให้รฐั บาลมาช่วย ก็เลย คิดว่า อย่าปลูกพืชเชิงเดี่ยวเลย อยากให้หันมา ปลูกพืชแบบผสมผสาน ที่เค้าเรียกว่า “เกษตร ประณีต” การทำ�เกษตร “แบบหนึ่งไร่หนึ่งแสน” เรารับประกันว่า ปีหนึ่งได้กำ�ไรหนึ่งแสน โดยจะ มีเงินเข้ามาในครัวเรือนวันละ 200 บาท/วัน/ไร่ ทำ�นาปีหนึ่งจะได้เก็บเกี่ยวครั้งหนึ่งใช่ไหม เราก็ ปลูกมัน ปลูกอ้อย แล้วก็เพิ่มพูนไปเรื่อยๆ พืชวัน พืชเดือน และพืชหลายๆ เดือน โดยในนั้นมีทั้ง พืชใต้ดิน พืชบก พืชบนดิน มีตั้งแต่ชะอม พริก มะเขือ มะละกอ มันเทศ กล้วยหอม ส้มโอ ข้าวโพด ทุเรียน นำ�พืชหลักที่ให้ผลมาปลูกแซม เพื่อเก็บผลผลิตให้ได้เรื่อยๆ ก็ไม่ใช่ว่าการทำ�นา อย่างเดียวไม่ดีนะ ถามว่าชาวนารวยไหม... รวย แต่รวยแค่ปีละครั้งเท่านั้น การเก็บเกี่ยวผลผลิต ปีละครั้ง ทำ�ให้ชาวนามีรายได้ปีละครั้งเท่านั้น แต่อย่าลืมว่าคนเรามันต้องกินต้องอยู่ มีรายจ่าย ทุกวัน ฉะนั้นเราก็ต้องปรับทัศนคติ และเปลี่ยน ความคิดของชาวบ้าน
เมล่อน พืชรายได้สูง ที่ปลูกในสวน
10
โสภณ ซารัมย์ ฅ.ฅนบุรีรัมย์
01
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
สวนน้ำ�ตก ใส สะอาด ที่ถูกสร้างขึ้นกลางสวน ให้ผู้มาเยี่ยมชม ได้สนุกสนานเพลิดเพลิน
คุณโสภณมีแนวทางหรือวิธีใด ในการเปลี่ยน ความคิดของชาวบ้าน เอาจริงๆ ชาวบ้านเค้าอยู่กันแบบตามมี ตามเกิดนะ ทำ�ตามแบบอย่างพ่อแม่ปู่ย่าตายาย เคยทำ�มาอย่างไร ก็ทำ�ตามแบบฉบับอย่างไม่มี การเปลี่ยนแปลง ใครบอกก็ไม่เชื่อ นั่งเถียงอยู่ อย่างนั้นแหละ เพราะว่าไม่เปลี่ยนวิธีคิด แต่ก็ อย่างที่ผมบอกว่า ก่อนที่เราจะเปลี่ยนวิธีคิดใคร เราก็ต้องทำ�เป็นตัวอย่างก่อน แล้วจึงเริ่มเปลี่ยน วิธีคิดของคนอื่น อย่างแรกเราต้องเปลี่ยนวิธีคิด เรื่องการเกษตรใหม่ ปลูกพืชเชิงเดี่ยวมันล้มเหลว อย่างที่สอง เราจะต้องรู้จักปลูกพืชที่มีราคาสูง ด้วย ไม่ใช่ปลูกอันไหนไม่มีราคา ก็ยังดันทุรังปลูก ผมปลูกมะเขือพวงหรือที่ชาวบ้านเค้าเรียกกัน ว่าบักแข้ง (ภาษาอีสาน) กิโลละ 120 บาทนะ มันแกว 3 เดือนก็เก็บได้แล้ว ไร่หนึ่งก็ได้ 3,000 กว่าแล้ว ปีหนึ่งปลูกได้ 3 ครั้ง แค่เฉพาะมันแกว ก็ได้เป็นหมื่นแล้วในหนึ่งปี ไหนจะกล้วยไข่เอย มะละกอเอย นี่ๆ มะละกอในสวนผมเรียกว่า “มะละกอพันธุ์นอนเก็บ” เพราะมันเตี้ย พืชเพิ่ม มูลค่าอีกชนิดหนึ่งที่ผมปลูกก็คือ “เมล่อน” เป็น พืชอีกชนิดหนึ่งที่มีมูลค่าสูง
นอกจากผัก และผลไม้ปลอดสารพิษแล้ว มี อย่างอื่นอีกมั้ยคะ หลังจากเริ่มมีคนเข้ามาอบรม มาดูงาน ผมก็สังเกตว่ามาดูอะไร สรุปก็คือ มาถ่ายรูป กับ มาช้อป ผมก็เลยจัดให้เลย (หัวเราะ) ทำ�น้ำ�ตก เป็นที่มาที่เค้าบอกกันว่าที่นี่เป็นสวนน้ำ� แต่จริงๆ มันไม่ใช่สวนน้ำ� เราปรับภูมิทัศน์ จัดเป็นที่ถ่ายรูป คนก็เลยแห่กันมา แต่น้ำ�ที่นี่สวยนะ ข้อดีของที่นี่ อีกอย่างหนึ่งก็คือ อนุรักษ์พลังงาน ทำ�โซล่าเซลล์ (solar cell) อนุรักษ์ดินใช้ปุ๋ยอินทรีย์ อนุรักษ์ป่า เอาไว้ ต่อไปก็จะเป็นธรรมชาติ ผมชอบธรรมชาติ ผมถึงปลูกป่า ที่แห่งนี้ก็จะเป็นที่ร่มรื่นของบุรีรัมย์ พอเราปรับภูมิทัศน์นี้ เราเรียกปรับภูมิทัศน์ให้มีที่ ถ่ายรูป มีนั่นมีนี่ เราก็โยงไป ต่อไปก็จะเป็นศูนย์ เรียนรู้ ให้คนรุ่นใหม่ได้เห็นวิถีชีวิตคนอีสาน จะ เกื้อกูลชาวบ้านด้วย ไม่ใช่ทำ�แค่ตัวเอง ส่งเสริม ชาวบ้าน หมู่บ้านนี้ยังเป็นหมู่บ้านปลูกผักหวาน ปลูกหม่อน เราจะรับซื้อตัวไหมจากชาวบ้าน มา ทอที่นี่ มาสาวไหม แล้วพอผมคิดเรื่องนี้ ก็มีงาน วิจัยของหมอออกมาว่า ดักแด้ใช้เป็นส่วนผสมใน การทำ�ยาไวอากร้า... เสร็จกูแน่!่ (หัวเราะ)
นอกจากนี้ เราก็ยังรับซื้อผักปลอดสาร ส่งเสริมให้ชาวบ้านแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร งบจากรัฐบาลที่ได้มาตำ�บลละ 5 ล้าน เราเอา มาทำ�โรงแปรรูป เพราะเกษตรกรจะอยู่ได้ ต้อง รู้จักการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งตอนนี้ น้ำ�ตาลอ้อยของเรากำ�ลังดัง มีคนมาติดต่อไปขาย เป็นสินค้าโอท็อป (OTOP) กันเยอะเลย น้ำ�ตาลอ้อยนี้ บ้านเราเรียกว่าน้ำ�อ้อย ถ้าปลูกอ้อย อย่างมากก็ขายได้กำ�ไร ไม่เกินไร่ละ 2,000 บาท แต่ถ้าแปรรูปขายได้ 20,000 บาท เห็นมั้ย สินค้ามีมูลค่าเพิ่ม 10 เท่า และข้อดีของ น้ำ�ตาลอ้อยของเรา คือ ไม่ใส่สารกันบูด น้ำ�ตาลทรายขาว ที่เห็นในท้องตลาดนั้น มีการฟอกขาว น้ำ�ตาลทรายของเราก็ฟอกขาวนะ แต่ของเราเป็น แฮนด์เมด (hand made) ทำ�เองกับมือ ผ่าน อ.ย. แล้ว ไม่มีสารปนเปื้อน หากพูดถึงเชิงท่องเที่ยวล่ะคะ ในสวนแห่งนี้ มี กิจกรรมอะไรบ้าง ก็จะมีขี่เกวียนชมทุ่ง พอผมขายไอเดียนี้ ก็มีคนไปพูดกันต่อ ก่อนนี้มีนักเรียนจากโรงเรียน เทพสิรินทร์โทรศัพท์มา บอกว่าสนใจ อยากมาขี่
liBRary Cafe “เติมเต็มวันสบายๆ ด้วยร้านคาเฟ่รูปแบบใหม่ สไตล์ Chic & Chill ที่มีหนังสือให้ทุกท่าน เลือกอ่านกว่าหนึ่งพันเล่ม พร้อมดื่มด่ำ�ไปกับ กาแฟถ้วยโปรด ในมุมอ่านหนังสือที่สบายที่สุด แห่งแรกและแห่งเดียว ในจังหวัดบุรีรัมย์”
The Library Cafe' Buriram
Drink Read Chill คาเฟ่อยู่ในโครงการบุรีรัมย์ คาสเซิล หลังสนามไอโมบาย สเตเดียม ใกล้ Watsons คาเฟ่เปิดวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 10.30 - 21.00 เสาร์ - อาทิตย์ 10.00 - 21.00 น. โทร 044600844
12
โสภณ ซารัมย์
ฅ.ฅนบุรีรัมย์
21
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
เครื่องประดับสวน
เกวียน ผมก็ตกใจ เฮ้ย! ยังไม่เสร็จ (หัวเราะ) นอกจากนี้ก็มีเรื่องวิถีชีวิตของคน เป็น แนวย้อนยุค ส่งเสริมให้ชาวบ้านปลูกข้าวอินทรีย์ แล้วเราก็รับซื้อ เพื่อนำ�มาตำ�มือด้วยกระเดื่องแบบ โบราณ แล้วจะบรรจุถุงขายเป็นของที่ระลึก อะไร ประมาณนี้ ส่วนที่กำ�ลังจะต่อเติมก็เป็นหาดทราย เวลากลางคืนมีปาร์ตี้เล็กๆ มีกรุ๊ปเล็กมาจัดปาร์ตี้ จัดเลี้ยง จะเอามะพร้าวมาลงสัก 40 ต้น เป็นสวน มะพร้าว เป็นภูเขา ภาคอีสานไม่มีภูเขา ก็เลย อยากจะทำ�ภูเขาน้อยไว้ แต่ในส่วนนี้ ก็คือกำ�ลังดู อยู่นะ ในเรื่องของการท่องเที่ยว ค่อยๆ ปรับไป
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
เด็กๆ มาว่ายน้ำ�เล่นที่น้ำ�ตก
เป็นอีกสถานที่หนุ่มสาวนิยมใช้เป็นที่ถ่ายรูป
รู้สึกอย่างไรบ้างคะ ที่ได้มายืน ณ จุดๆ นี้ ด้วยสำ�นึกที่ผมเป็นลูกชาวนา การที่ได้ มาเป็นถึงรัฐมนตรีนี่ มันมีไม่กี่คนนะ ก็เลยอยาก ตอบแทนบุญคุณประชาชนจริงๆ ความสำ�นึกนั้น มันอยู่ในใจ ภรรยาผมเป็นคนเชื้อสายจีน เป็นคน ประหยัด เค้าก็บอกว่าอย่าลืมบุญคุณประชาชน เรามีวันนี้ได้ก็เพราะประชาชน ฉะนั้นอยากทำ�ให้ ที่แห่งนี้ เป็นสวนเกษตรตัวอย่าง สร้างรายได้ให้ กับชุมชน ให้ความรู้กับชาวบ้าน ทำ�เพื่อส่วนรวม ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ครับ ผู้อ่านหลายท่านที่อาจเคยได้ยินเพียง แค่ชื่อ บัดนี้คงได้รู้จักกับ “คุณโสภณ ซารัมย์”
และบ้านสวน Fruit & Garden มากขึ้นแล้วสินะ ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ต่อจากนี้ไป ใครที่กำ�ลัง มองหามุมสบายๆ เพื่อไปพักผ่อนกับครอบครัว หรือเพื่อนๆ ไม่ว่าจะเป็นน้ำ�ตก สวนผลไม้ และ กิจกรรมอื่นๆ อีกมากมาย ก็สามารถเข้าไปสัมผัส ได้ ก่อนเดินทางกลับบ้าน ก็อย่าลืมแวะอุดหนุน สินค้า และผลิตภัณฑ์ผักสดปลอดสารหรือสินค้า แปรรูป เพื่อเป็นกำ�ลังใจให้กับชาวเกษตรกรกัน บ้างนะคะ หวังว่า “ฅ.ฅนบุรีรัมย์” ฉบับนี้จะเป็น แนวทางในการสร้างสรรค์ความคิดในรูปแบบใหม่ และเป็นกำ�ลังใจ ให้กับผู้อ่านที่รักทุกท่านนะคะ สวัสดีค่ะ
15
อ่าวไทย ซีฟู้ด
41
สะบายพุง
ไทรถเข็น
ของไข่แมงดาทะเล มาคลุกเคล้ากันอย่างลงตัว กับเครื่องยำ� รส เปรี้ยวหวาน หรือจะเป็นกุ้งแช่น้ำ�ปลา กุ้งสดๆ รสหวาน ราดน้ำ� จิ้มซีฟู้ดสูตรพิเศษ จุดเด่นของร้าน อยู่ที่อาหารทุกจาน จะถูกปรุงขึ้นใหม่ ต่อเมื่อมีการสั่งอาหารเท่านั้น ไม่ปรุงทิ้งไว้ล่วงหน้า พร้อมเสิร์ฟ เมนูเด็ด รสชาติกลมกล่อม แซ่บ ถึงพริกถึงขิงทุกวัน ด้วยอาหาร ทะเลสดๆ วันต่อวัน และยังมีบริการส่งถึงบ้าน (ในเขตอำ�เภอ เมืองบุรีรัมย์) โดยมีสโลแกนของร้านที่ว่า “ไม่สด เราไม่ขาย กล้าท้าพิสูจน์” ร้านเปิดเวลา 16.30 - 24.00 น. ซึ่งแต่ละวัน ช่วงเวลา 15.00 น. ทางร้านจะโพสต์ภาพเมนูต่างๆ ที่จะขาย ในวันนั้นๆ ลงทาง เฟสบุ๊กแฟนเพจ : อ่าวไทยซีฟู้ด Delivery เพื่อเป็นการเรียกน้ำ�ย่อย และเปิดการจองโต๊ะ เพื่อสั่งอาหารไว้ ล่วงหน้า เพราะบางทีเมื่อลูกค้าจะมาพร้อมกัน อาหารจึงอาจจะ ออกจากครัวช้า ทำ�ให้เสียอารมณ์ในการรับประทาน ซึ่งบางวัน มีลูกค้าโทรมาจองจนเต็มก่อนเปิดร้านเลยทีเดียว ท่านสามารถ สั่งอาหารได้ที่หมายเลข 083 - 9661166 และ 089 - 7213336 ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ : อ่าวไทยซีฟู้ด Delivery และไลน์ ID : pu3336 โทรสั่งแล้วนั่งนิ่งๆ “อ่าวไทยซีฟู้ด Delivery” ความ อร่อยที่ไม่ต้องไปไกลถึงทะเลอีกแล้ว!!
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
กระพงทอดน้ำ�ปลา
อ่าวไทย ซีฟู้ด
ยกขบวนความอร่อย สด สะอาด ส่งตรงจากทะเล บรรยากาศภายในร้าน
เสียงคลื่นซัดสาด ลมทะเลโชยปะทะกับ ใบหน้า ทอดกายเอนตัวลงบนเก้าอี้ชายหาดอย่าง ช้าๆ แล้วบรรจงสั่งอาหารมารับประทานริมทะเล อ๊ะ...! เผลอตัวอินไปนิด นึกว่าร้านอาหารที่กำ�ลัง มานั่งรับประทานอยู่ในวันนี้ เป็นร้านอาหารริม ชายทะเลเสียอีก อาจเพราะเราอยู่นอกตัวเมือง บุรีรัมย์แบบไม่ใกล้ไม่ไกล หรืออาจเป็นเพราะว่า เมนูอาหาร รสชาติอาหาร หรือจะเป็นความสด และสะอาดของบรรดาวัตถุดิบจากทะเล ที่ทำ�ให้ นึกถึงภาพบรรยากาศ ประหนึ่งว่าตัวเองนั้นเป็น
Ouch - Thai Seafood นางเงือกกำ�ลังดำ�ผุดดำ�ว่ายอยู่ในทะเลก็ไม่ปาน วันนี้เราจะพาทุกท่านมาอิ่มแปล้ สะบายพุงกันที่ ร้าน “อ่าวไทยซีฟู้ด” จะสด สะอาด และแซ่บ ขนาดไหน ต้องมาลอง “อ่าวไทยซีฟู้ด” เพียงเห็นชื่อ ก็บอก ได้ทันทีว่า เป็นร้านอาหารที่เน้นวัตถุดิบสดๆ ที่ ส่งตรงจากทะเล โดย คุณปุ๊ - วรรณี มาลาไธสง เจ้าของร้าน เดิมทีคุณปุ๊เอง เป็นพนักงานบริษัท คนหนึ่ง ที่ชอบทานอาหารทะเลเป็นพิเศษ แต่ คุณปุ๊บอกว่า ไปรับประทานที่ร้านไหนก็ไม่อร่อย
เพราะวัตถุดิบบางชนิดไม่สด เมื่อก่อนถึงกับต้อง ลางาน เพื่อเดินทางไปทานอาหารทะเลอร่อยๆ ที่ชายทะเลเลยทีเดียว หลังจากนั้นมีคนแนะนำ� ให้เปิดร้านปิ้งย่างอาหารทะเล นั่นจึงเป็นจุดเริ่ม ต้นของร้านนี้ เมนูที่ไม่ควรพลาด ได้แก่ กุ้งและปูเผา หอยเชลล์ผัดฉ่า กระพงทอดน้ำ�ปลา ต้มส้มปลาสีกุน ปูเนื้อไข่ผัดผงกะหรี่ กุ้งราดซอสมะขาม รวมถึงเมนูที่ไม่สามารถหารับประทานได้ทั่วไป อาทิ ยำ�ไข่แมงดาทะเล ที่นำ�รสชาติความมัน
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
กุ้งและปูเผา
กุ้งแช่น้ำ�ปลา
Delicious, fresh, clean & directly delivered from the sea
In the past, a lot of Isan people in the Northeast got goiter and there was medical report supported that because they didn’t get enough Iodine from the seafood. Buriram is also a province in the northeast, quite far from the seas so all the seafood sold within the province are not fresh as they should be. Moreover, the price of the seafood is expensive. But for those who love seafood, they still try to find good places where they can eat good dishes of seafood. Luckily, transportation is very much better than before so the seafood can be transported to Buriram within a day or less. This makes the seafood still fresh as it is at the seashore. Fortunately, there is a new restaurant recently opens to serve seafood. Ouch Thai Seafood is its name. Ouch Thai Seafood Restaurant is situated on the bypass road between Buriram Rajabhat University and Buriram
Agriculture and Technology. It is on the left side near Tesaban 3 School. Ouch Thai Seafood belongs to Khun Pu - Wannee Malathaisong. She is the one who loves eating seafood and that is the reason why she runs this business. The highlight menus here are Spicy Stir Fried Scallop with Basil, Fried Snapper, Sweet and Sour Soup Caranx, Crab Curry, Shrimp with Tamarind Sauce, Horseshoe Crab’s Egg Salad, and Shrimp in fish sauce. The restaurant runs on the slogan “We sell only fresh food”. The restaurant is open to serve its customers daily from 4.30 -12 p.m. Home delivery is also provided. At 3.00 p.m. every day, all the menus available are posted. Those who can’t come to the restaurant can order via the tel. no. 083 - 9661166, 089 - 7213336 or facebook page : Ouch Thai Seafood Delivery, or send your message to Line ID : pu3336 Hope you enjoy your meals.
ยำ�ไข่แมงดาทะเล
ชุดทะเลเผา
ชื่อร้าน : อ่าวไทย ซีฟู้ด เปิด : 16.30 - 24.00 น. โทร : 083 - 9661166 / 089 - 7213336 Line ID : pu3336 อื่นๆ : มีบริการจัดส่งถึงที่ (ภายในอำ�เภอเมือง)
61
ไทรถเข็น
มหัศจรรย์เมืองแปะ
Siam Kid D School สยามคิดดี โรงเรียนดี ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ให้ลูกๆ ของคุณ
“สยามคิดดี” เป็นโรงเรียน ในจังหวัด บุรีรัมย์ ที่มีการสอนในรูปแบบ British Early Years Foundation Stage คือ หลักสูตรช่วงชั้น ปฐมวัยแบบบริตชิ ซึง่ ประสบความสำ�เร็จอย่างยิง่ ในการส่งเสริมให้เด็กนักเรียน ได้มีพัฒนาการที่ เหมาะสม ในทุกๆ ด้าน โดยนักเรียนทุกคนจะได้ เรียนรู้ผ่านการทำ�กิจกรรมต่างๆ และสนุกสนาน ภายใต้สง่ิ แวดล้อม ทีใ่ ส่ใจในการออกแบบมาเป็น อย่างดี มีความปลอดภัยและเหมาะสมในการเรียน
15
หมู่บา้ นทอ่ งเที่ยวไหม “บา้ นสนวนนอก” นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
สยามคิดดี
มีการทำ�กิจกรรมทีเ่ พลิดเพลิน น่าสนใจ สนุกสนาน และน่าตื่นเต้น เรามีความตั้งใจให้นักเรียนได้ ซึมซับภาษาอังกฤษ เราจึงสอนวิชาหลัก ต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นภาษาอังกฤษ ผ่านทาง การเรียน และการทำ�กิจกรรมต่างๆ โดย คุณครูเจ้าของภาษา รวมถึงวิชาภาษาไทย ทั้งใน ด้านการพูด อ่าน และเขียน จึงทำ�ให้นักเรียน ได้รับความรู้ และความเข้าใจ ก่อนเรียนจบชั้น อนุบาล3 นอกจากนี้เรายังคัดเลือกกิจกรรมเพื่อ ส่งเสริมทักษะการเคลื่อนไหวร่างกาย อาทิ การ ยก และการจับสิ่งของ ทักษะทางด้านความคิด สร้างสรรค์ ความมั่นใจในตัวเอง และการทำ�งาน ร่วมกับผู้อื่น เช่น วาดภาพ ระบายสี การสร้าง งานศิลปะ ดนตรี และงานฝีมือต่างๆ อีกทั้งยังมี
การทำ�กิจกรรม ที่ส่งเสริมความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย และการช่วยเหลือตนเอง ให้ เหมาะสมกับอายุ เพือ่ ส่งเสริมให้เด็กสามารถ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาด้วยตัวเอง ค้นหา และค้นพบความสวยงามของโลกใบนี้ บน เส้นทางที่พวกเขาสนใจ และเติบโตขึ้นเป็น ผู้ใหญ่อย่างมีคุณภาพ
บ้านจาน
81
19
มหัศจรรย์เมืองแปะ
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
ลำ�น้ำ�ชี ที่กั้นระหว่างจังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์
บ้ า นจาน แบกกล้อง ล่องลำ�ชี เดินป่า ศึกษาธรรมชาติ
Ban Jaan : Bush Walk Trekking and Enjoying Nature เมือ่ ปลายเดือนทีแ่ ล้ว ได้ตดิ ต่อกับรุน่ น้อง คนหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่ที่อำ�เภอกระสัง ชื่อน้องนนท์ “ศิริอนนท์ ปรึกกระโทก” น้องกำ�ลังศึกษาอยู่ใน สำ�นักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ หลักสูตรวิศวกรรมธรณี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี น้องนนท์ชวนเชิญ ให้สะบายดี บุรีรัมย์ ยกกองออกไปเก็บภาพความสวยงามของธรรมชาติ นนท์บอกว่า “พี่ครับ ช่วงนี้ ฝนตกชุก ไปเก็บเห็ดเก็บผักป่ากันมั้ย ผมจะพาไป ล่องเรือ เดินป่า เก็บภาพธรรมชาติสวยๆ กันครับ สนใจมั้ย...” น้องพูดยังไม่ทันจบประโยค ฉันก็สวน กลับไปว่า “ตกลงว่า เจอกันวันอาทิตย์หน้าเจ็ด โมงเช้า” รับปากออกไปแล้ว ในใจกลับรู้สึกกังวล เล็กๆ ถึงอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น ปัญหาของการเดิน ทางในช่วงนี้ก็คือ ตลอด 4 - 5 วันที่ผ่านมา ฝนตก อึ่งอ่าง และกบแดง ที่ชาวบ้านจับมาประกอบอาหาร และนำ�ไปขาย ทุกเช้า บางวันก็ตกๆ หยุดๆ หลายรอบ
ในที่สุด วันนัดหมายก็มาถึง ฝนเทลงมา ตั้งแต่เช้ามืด และดูไม่มีทีท่าว่าจะซาลงเลย ปัญหา ที่กลัวว่ามันจะเกิดขึ้น ก็มาเยือนจริงๆ เปล่าเลย... ฉันไม่ได้กลัว ที่ต้องไปเดินบุกป่าฝ่าดงในพื้นโคลน เฉอะแฉะ ซึ่งอาจจะรวมถึงบรรดาสัตว์เล็กสัตว์น้อย ประเภทตัวหนอน บุ้ง เขียดตะปาด ไส้เดือน กิ้งกือ ออกมาวิ่งเล่นในป่าให้เราขนลุกขนพองเล่น แต่กลัว ว่า จะเก็บภาพความงดงามตามธรรมชาติ ภายใต้ ท้องฟ้าที่มืดครึ้มแบบนี้ได้อย่างไรเท่านั้นเอง ทีมของเราในครั้งนี้รวมแล้วมีถึง 11 คน มี ทั้งคนที่ต้องไปทำ�งานจริงๆ และคนที่ขอติดตามไป เพื่อร่วมผจญภัยใช้ชีวิตในป่ากันแบบลุยๆ ดูเหมือน ประเภทหลังน่าจะมีจำ�นวนมากกว่าเสียด้วยซ้ำ� เรา เดินทางกันด้วยรถเก๋ง 2 คัน และรถกระบะอีกคัน แววตาท่าทางของแต่ละคน ดูกระตือรือร้นที่จะได้ ออกเดินทาง ไม่มีทีท่าวิตกกังวลกับเม็ดฝน ที่ยังคง ทิง้ ตัวลงมาอย่างไม่ขาดสาย และแล้ว... การเดินทาง ของเราก็เริ่มต้นขึ้นท่ามกลางสายฝนพรำ� ลำ�แสงแรกของวันสาดส่องลงมา เมือ่ เวลา ประมาณแปดโมงเช้า ยิ่งเวลาผ่านไป ดวงอาทิตย์ก็ สาดแสงแรงกล้าขึ้นทุกทีๆ ขับรถไล่สายฝนให้ซาลง เรื่อยๆ จนในที่สุดฝนก็ขาดเม็ดไปพร้อมๆ กับความ วิตกกังวลที่ปลาสนาการไปพร้อมๆ กับเม็ดฝน เรา เดินทางมาถึงจุดนัดพบ ณ เทศบาลตำ�บลหนองเต็ง อำ�เภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อมาขนเรือขึ้นรถ เมื่อจัดการเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็ออกเดินทางกัน ต่อไปยัง “ป่าชุมชนบ้านจาน” ป่าชุมชนบ้านจาน อยูใ่ นเขตอำ�เภอกระสัง มีอาณาเขตติดกับฝั่งลำ�น้ำ�ชี ซึ่งเป็นเขตกั้นระหว่าง จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ ในอดีต ผืนป่า แห่งนี้ เป็นป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืช และสัตว์ นานาชนิด ผู้คนที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้อาศัยประโยชน์ จากป่านี้นานัปการ ทั้งเป็นแหล่งอาหาร แหล่งหา ของป่านำ�ไปขายสร้างรายได้ให้กับครอบครัว อีกทั้ง ยังเป็นแหล่งไม้ที่สามารถนำ�มาปลูกสร้างบ้านเรือน ได้อีกด้วย การที่ป่าชุมชนบ้านจานอยู่ติดกับลำ�น้ำ�ชี ยิ่งทำ�ให้ป่าแห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ และมีความ หลากหลายทางชีวภาพมากยิ่งขึ้น ต่อมา ได้มีการทำ�สัมปทานก่อสร้างทางรถไฟสายจังหวัดนครราชสีมา - จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งทางรถไฟสายนี้จะต้องตัดผ่านพื้นที่ป่าแห่งนี้ จึง มีการตัดต้นไม้ในป่านี้เป็นจำ�นวนมาก นำ�ไปใช้เป็น ไม้หมอนรองรับรางรถไฟ บ้างก็นำ�ไปเป็นเชื้อเพลิง ในการขับเคลื่อนรถจักรไอน้ำ� และด้วยว่า ป่าแห่งนี้ เป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ ใครก็สามารถเข้าไปใช้ ประโยชน์ได้ จึงมีการหักร้างถางพง ตัดไม้ทำ�ลายป่า
เพื่อนำ�ไปขายอย่างเป็นล่ำ�เป็นสัน โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ผู้คนต่างพากันเข้ามาจับจอง เป็น เจ้าของที่ดิน ทำ�ให้ในช่วงระยะ 10 ปี ป่าไม้ เริ่มเสื่อมโทรม พื้นที่ป่าเหลือเพียง 1,600 ไร่ เท่านั้น ในปี พ.ศ. 2535 ได้มีแกนนำ�ชุมชน นำ�โดย นายพร้อม ผลบุญ ผู้ใหญ่บ้านร่วมกับ กลุ่มเครือข่ายอนุรักษ์ป่าลำ�น้ำ�ชี มีความตั้งใจ และตั้งปฏิญาณแน่วแน่ เพื่ออนุรักษ์ป่าแห่งนี้ ไว้ให้กับลูกหลาน ทุกคนจึงร่วมมือกันต่อสู้กับ อุปสรรคนานัปการ ริเริ่มอนุรักษ์ป่าบ้านจาน อย่างจริงจัง แก้ปญั หาการออกเอกสารสิทธิท์ บั พื้นที่ป่าสาธารณะ จนสามารถเรียกคืนพื้นที่ กลับมาได้สำ�เร็จ ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 มีการ ก่อตั้งกลุ่ม “อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมป่าชุมชนริมฝั่งชีด้วยจิตอาสา
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
เริม่ ต้นจากสมาชิกเพียง 25 คน มาร่วมประชุม แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการและร่ า งกฎข้ อ บั ง คั บ “ห้ามตัดไม้ทำ�ลายป่า ห้ามจับสัตว์ป่า ห้าม เผาป่า” นอกจากนี้ก็ยังมีจัดเวรยามรักษาป่า ในหน้าแล้ง จัดหากล้าไม้มาปลูก การรวมกลุ่ม ในขณะนั้นเป็นแบบหลวมๆ ใครว่างก็ไป ใคร ไม่สะดวกก็ไม่ว่ากัน แม้ในช่วงแรกจะยังมีการ
กึ้งกือพันธุ์ที่พบได้ในป่า
ทีมงานการลังเตรียมขนเรือลงไปในลำ�ชี
พระพุทธ
พรานบูรณ์กำ�ลังเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับลำ�ชี
บ้านจาน
02
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
มหัศจรรย์เมืองแปะ
21
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
ลักลอบตัดไม้อยู่บ้าง แต่เมื่อนานเข้าก็เริ่มเห็นผล สภาพพื้นที่ป่ามี การฟื้นตัว ความเขียวขจีในพื้นที่มีมากขึ้น พืชที่สามารถนำ�ไปใช้เป็น อาหารก็กลับมามีให้เห็น ผลจากการมุ่งมั่นอนุรักษ์มายาวนานส่งผล ให้ได้รับพระราชทานธงพิทักษ์ป่า ช้างเชือกที่ 1 และเชือกที่ 2 จาก สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ อีกทั้งยังได้รับรางวัล ลูกโลกสีเขียวจากองค์กรเอกชนระดับประเทศอีกด้วย เราจอดรถไว้หน้าทางเข้าป่าบ้านจาน แล้วเดินเท้าเข้าไป ด้านใน ฝนที่ตกต่อเนื่องมาร่วมสัปดาห์ ทำ�ให้ถนนหนทางชื้นแฉะ จนไม่สามารถนำ�รถเก๋งเข้าได้ มีเพียงรถกระบะที่ขนเครื่องยนต์เรือ และอุปกรณ์ของกล้องเท่านั้นที่ลุยเข้าไปได้ เราเดินเข้าไปในป่า เป็น ระยะทางกว่า 500 เมตร ก็มาถึงจุดล่องเรือชมความงามสองฝั่งชี ระหว่างรอทีมงานจัดการเครื่องเรือ “พรานบูรณ์” หรือ พี่สมบูรณ์ ทาวงค์ ไกด์นำ�ทางในทริปนี้ ได้เล่าให้เราฟังว่า บริเวณที่เรายืนอยู่ เป็นเขตของจังหวัดบุรีรัมย์ ส่วนอีกฟากหนึ่ง อยู่ในเขตของจังหวัด สุรินทร์ ในป่าแห่งนี้ มีพืชพันธุ์สมุนไพรที่สามารถนำ�ไปปรุงเป็นยา สำ�หรับรักษาโรคต่างๆ ได้อยู่หลากหลายชนิด และยังมีผักที่สามารถ นำ�ไปประกอบอาหารได้อีกมากมาย อาทิ ผักหวานป่า หมากเหลี่ยม หมากผีผ่วน หมากโคยลิง ผักตูบหมูบ สมอไทย ลูกหว้า หมากก้วย น้อย หมากหาดข่า มันเทียน มันแซง มะค่าแต้หนาม จำ�พวกเห็ด ได้แก่ เห็ดระโงกเหลือง เห็ดเผาะ เห็ดน้ำ�ผึ้ง เห็ดตะไค เห็ดขมยูคา เห็ดหน้าแหล่ เห็ดตับเต่า เห็ดแป้ง และเห็ดโคน ของป่าเหล่านีห้ ากนำ�ไปขายจะได้ราคาดี แต่ชาวบ้านแถบนี้ เลือกที่จะไปหาของป่ากันเป็นกลุ่ม เมื่อเก็บได้ ก็นำ�มาแบ่งกัน เพื่อ นำ�ไปประกอบอาหารบ้านใครบ้านมัน ยิ่งในช่วงน้ำ�หลาก ชาวบ้าน จะเอามอง (ข่าย) หรือแหมาจับปลา และนอกจากนี้ ในลำ�ชียังมี สาหร่ายชนิดหนึ่ง ที่ชาวบ้านนิยมนำ�ไปรับประทานอย่างแพร่หลาย เรียกว่า “เทา” เทา เป็นสาหร่ายชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ใน ห้วย หนอง คลอง บึง แต่ต้องเลือกให้เป็น โดยต้องเลือกเทา ที่อยู่ ในบริเวณที่น้ำ�ไหล เพราะถ้าหากเก็บเทามาจากบริเวณน้ำ�นิ่งไม่ไหล หรือในสระน้ำ�ที่มีวัวควายลงเล่นเป็นประจำ� เราอาจจะได้ของแถม ติดมา อาจเป็นลูกปลิงตัวเล็กๆ ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อร่างกายมาก เทาสามารถนำ�ไปปรุงอาหารได้หลากหลายชนิด แต่ที่เห็นว่าถูกปาก และเป็นที่นิยมก็คือ “ลาบเทา” วิธีการทำ�ก็เหมือนกับทำ�ลาบทั่วไป ใส่สมุนไพร พริก หัวหอม กระเทียม น้ำ�ปลา มะนาว ที่จะขาดไม่ได้ ก็คือ ข้าวคั่วหอมๆ คลุกให้เข้ากัน ปรุงรสให้เข้มข้น จากนั้นก็ใส่เทา ที่ต้ม และล้างจนสะอาดแล้ว ลงไปคนให้ทั่วก็ เป็นอันว่าเสร็จสรรพ รสชาติคล้ายๆ กับการทำ�ลาบสาหร่ายนั่นเอง เมื่อการจัดเตรียมเครื่องยนต์เรือเสร็จสรรพ ใบพัดเรือ เริ่มทำ�งาน ความเบิกบานก็เริ่มขึ้นทันที พวกเราทั้งหมดรวมถึง พลขับจากเทศบาลหนองเต็ง น้องนนท์ และพรานบูรณ์ ก็ออกเดิน ทาง ศาลาหลังเก่าซึ่งเป็นที่เก็บ ทับหลังหลายแผ่นของวัดโพธิ์ย้อย
ปะคำ�
22
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
23
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
พรานบูรณ์ หรือ พี่สมบูรณ์ ทาวงค์
บริเวณที่จอดเรือก่อนการเดินทาง
บรรยากาศลำ�น้ำ�ชี ในยามที่เราหยุดเรือ เพื่อชมความสวยงาม
น้องเมย์ และ น้องเบนซ์ พิธีกรภาคสนาม
ดอกไม้ ที่พบในป่า ระหว่างการเดินทาง
สายลมเย็นพัดมากระทบผิวหน้า สายน้ำ� ไหลเย็นที่กระเซ็นมาถูกตัว ต้นไม้ใหญ่น้อย ต่างขึ้น เรียงรายกันอยูข่ า้ งฝัง่ ลำ�ชี ระกิง่ ก้านลงมาแตะผิวน�ำ้ จนเราสามารถเอื้อมมือไปสัมผัสได้ เสียง จ๋อม จ๋อม ที่ดังมาเป็นระยะๆ สร้างความสงสัยให้พวกเรา จน พรานบูรณ์ต้องอรรถาธิบายว่า เป็นเสียงปลาชะโด ซึ่งมีอยู่เยอะ พวกที่เตรียมเบ็ดมาตกปลา ได้ยินก็ ดีใจ บอกว่าจะพากันมาลงเบ็ดสู้กับปลาชะโดสักตั้ง ถ้าโชคดีก็จะได้นำ�ไปทำ�อาหารกินกันให้เอร็ดอร่อย ไปเลย เรือแล่นออกไปได้สกั พัก ใบพัดเรือก็พนั เข้า กับมอง ที่ชาวบ้านเอามาลงไว้ดักปลา น้องนนท์รีบ กระโดดลงน้ำ� ทำ�ให้รู้ว่าบริเวณนี้น้ำ�ลึกไม่น้อยกว่า เมตรครึ่งอย่างแน่นอน เพราะน้องนนท์สูงราว 180 เซนติเมตร แต่ระดับน้ำ�สูงขึ้นมาจนเกือบถึงไหล่ ใน ระหว่างที่รอให้ทีมงานปลดมองออกจากใบพัดเรือ เสียงรอบข้างก็เริ่มเงียบลง พวกเราจึงได้เริ่มซึมซับ และดื่มด่ำ�กับความสวยงามของธรรมชาติ โดยการ หลับตาฟังเสียงใบไม้ที่หวิวไหวไปตามสายลม เสียง ต้นไม้เสียดสีกนั ดังเอีย๊ ดอ๊าดเป็นจังหวะ ราวกับเสียง ดนตรีจากธรรมชาติ เสียงนกร้อง แมลง น้ำ�หยด... และในที่สุดก็... เสียงเครื่องยนต์ที่เริ่มทำ�งานอีกครั้ง
เราใช้เวลาล่องเรืออยู่นานกว่า 20 นาที ก็ มาถึงจุดที่น้ำ�ตื้น และต้องเดินเท้าต่อ น้องนนท์ มี ทางเลือกให้เราสองทาง คือ เดินเท้าเข้าไปชมน้ำ�ตก สายเล็กๆ ที่เกิดจากพืชน้ำ� เศษใบไม้ และก้อนหิน มากมาย ที่แบ่งชั้นกันจนเกิดเป็นความสวยงาม ซึ่ง ตั้งอยู่เบื้องหน้าห่างไปประมาณ 40 เมตร อีกทาง สำ�หรับคนทีก่ ลัวเปียก ก็จะต้องนัง่ เรือถอยไปอีกราว 10 เมตร เพื่อหาทางขึ้นฝั่ง พวกเรา 6 คน เลือกที่ จะเดินหน้ากันต่อ ฝ่าดงพืชน้ำ�ที่มีหนาม ตะไคร่น้ำ� ลื่นๆ และหิน ที่ต้องเดินต่อไปด้วยความระมัดระวัง ในการเดิน เพื่อไปให้ถึงจุดที่ธรรมชาติได้สรรค์สร้าง ความสวยงามให้เกิดขึ้น ในที่สุด เราก็เหลือผู้รอดชีวิตกลับมา โดย ไม่หกล้มเปียกปอนไปทั้งตัวเพียง 4 คน เดินกลับไป สมทบกับพวกทีน่ ง่ั รอบนอยูฝ่ ง่ั เพือ่ เตรียมตัวเดินป่า กันต่อ จากนี้ไป จะเป็นการเดินป่าของจริงกันแล้ว ในฉบับหน้า มาดูกันต่อ ว่าเราจะเก็บเห็ด ได้กช่ี นิด จะได้พบกับสัตว์ป่ากี่ตัว จากนั้นเราจะพา ท่านไปดู “ก้ามปูยักษ์” และไปยืน “เกาะรั้วสะพาน รถไฟ” กัน จะสนุกสนาน สวยงาม และน่าตื่นเต้น แค่ไหน อย่าลืมติดตามกันให้ได้นะคะ สำ�หรับวันนี้ สวัสดีค่ะ
We kicked off early and drove ahead though it rained heavily. Our destination is Ban Jaan vil age, Krasang district, about 32 kilometres from Buriram. What we have planned to do there for this trip were trekking, picking mushrooms and other kinds of vegetables in a community forest. Our navigators for this trip are Non-Sirianon Preukkrathok and Hunter Boon - Somoon Thawong. Ban Jaan Community Forest is located near the She River (ลำ�น้ำ�ชี) which is the border between Buriram and Surin provinces. In the past, Ban Jaan Community Forest was abundant with plenty of species. It was a great source of food for the people living around. Later when the railroad between Nakorn Rachsima and Ubol Rachathanee was constructed, a lot of trees were cut down and sold to make sleepers of the railway and
2424
ปะคำ� มหัศจรรย์ มืองแปะ บ้าเนจาน มหัศจรรย์เมืองแปะ
42
4 สวนน้ำ�หรรษา ท้าลมร้อนในบุรีรัมย์
นิตยสารสะบายดีบุรีรัมย์
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
ว่าง ใบตาลที่ทับถม และถูกแสงแดดส่อง เผยให้เห็นสีทองอ่อนๆ อร่ามไปทั่วบริเวณ
fuel for steam locomotive. A lot of trees as well as plenty of species were destroyed. A lot of people opened up the forest area, and captured it. Ten years after, only 1,600 rais of land remained. In 1992, there was a big effort to protect this piece of forest, led by Mr. Proam Pholboon, the headman of the vil age together with the conservation group, totally 25 people. They started from setting up a committee and wrote a regulation of “No Deforestation, No Hunting, No Wood Burning”. At the beginning of the conservation project, a variety of problems and obstacles were to solve. Their dedication and sacrifice turned to complete success. They could save this land and turned it to be the abundant forest for younger generation. Everyone in the vil age can get natural food from it throughout the year. Because of the vil agers’ harmony and cooperation, this community forest got 2 flags of elephants from Queen Sirikit. In addition, the Green Globe Award from a private section was also given to those who run this project. (To be continued..)
ชื่อ : บ้านจาน อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ โทร : 0878786581 (น้องนนท์) อื่นๆ : สามารถติดต่อเข้าไปจัดกิจกรรมได้
26
โจอี้ก๋วยเตี๋ยวเป็ด กาลครั้งหนึ่ง
62
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
เป็ดพะโล้
ข้าวหน้าเป็ด
ก๋วยเตี๋ยวเป็ด
ติ่มซำ�เห็ดหอม
ขนมจีบ
พี่โจอี้และพนักงาน
โจอี้ก๋วยเตี๋ยวเป็ด
Joey’s duck noodle เส้นเหนียวนุ่ม น้ำ�ซุปเป็ดพะโล้ หวานหอม กลมกล่อมทุกคำ� กาลครั้งหนึ่งฉบับนี้ ขอพาท่านผู้อ่าน ออกเดินทางตามหาร้านอร่อยอีกครั้ง วันนี้ เรา มาไกลถึงอำ�เภอประโคนชัย ต้องขอบอกเลยว่า ที่นี่เป็นก๋วยเตี๋ยวร้านประจำ�ของใครหลายคน ตั้งแต่ชาวอำ�เภอประโคนชัยซึ่งเป็นคนในพื้นที่ เอง ไปจนถึงนักแสดง นักร้อง นักเขียน และ นักท่องเที่ยวที่ต่างดั้นด้นเดินทางเข้ามาชื่นชม ความสวยงามของ “ปราสาทพนมรุ้ง” อุทยาน ประวัตศิ าสตร์อนั เลือ่ งชือ่ ของจังหวัดบุรรี มั ย์ การเดินทางก็ไม่ยุ่งยาก เพียงขับรถ ผ่านสี่แยกไฟแดงใหญ่ หน้าอำ�เภอประโคนชัย มุ่งสู่ถนนเส้นหลักที่ตัดผ่าน ตัวอำ�เภอ บนถนน บ้านกรวด - ละหานทราย ซึ่งถนนเส้นนี้ จะมี ร้านขายสินค้า OTOP ชื่อดังตั้งอยู่ตลอด แนวถนน อาทิ กุ้งจ่อม กระยาสารท ปลาร้า ทองม้วน หมูหยอง กุนเชียง น้ำ�พริก และขนม อีกมากมายหลากหลายชนิด ที่เป็นของดีของดัง สินค้าพื้นเมืองของจังหวัดบุรีรัมย์
เมื่อเราขับรถมาถึงสี่แยกไฟแดงเล็กๆ ชื่อ “แยกพนมรุ้ง” จุดเด่นอยู่ที่ด้านซ้ายมีร้าน “ตุ้ม - ตั้มกระยาสารท” ถึงแยกนี้ ให้เลี้ยวขวา แล้วขับรถต่อไปบนถนนสายหลัก อีกประมาณ 1 กิโลเมตร เราก็จะพบกับร้านก๋วยเตีย๋ วชือ่ ดัง ของย่านนี้ “โจ้อี้ก๋วยเตี๋ยวเป็ด” เจ้าของร้าน พี่แป๊ก - ราตร ี กรวยสวัสดิ์ ได้ทำ�ก๋วยเตี๋ยวเป็ดชามโตออกมาให้เราพิสูจน์ ความอร่อย ที่ถือว่าเป็นสูตรเด็ดเคล็ดลับมากว่า 50 ปี กันถึงโต๊ะ และเล่าให้ฟังว่า สูตรนี้เป็นสูตร ของคุณพ่อของพีแ่ ป๊ก ท่านเปิดร้านขายก๋วยเตีย๋ ว มาหลายสิบปี ก่อนส่งต่อมรดกความอร่อยให้กับ พี่แป๊กเป็นรุ่นที่ 2 ก๋วยเตีย๋ วเป็ดชามนี้ ทีเด็ดอยู่ที่ “น้ำ�ซุป เข้มข้น” ไม่หวงเครื่องปรุง เนือ้ เป็ดทีน่ มุ่ และ ไม่มกี ลิน่ คาว อร่อยจนท่าน “ธงชัย ลืออดุลย์” อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ถ้าหากผ่านมา เมื่อใดเป็นต้องแวะมาจัดสักชามสองชามเป็นแน่
ยังมีคุณอ้อน - เกวลิน คอตแลนต์ อดีตนักแสดง คุณเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ กวีซีไรต์ นักประพันธ์ เจ้าของผลงานเขียนหลายชิ้น พร้อมด้วยบรรดา ผู้จัดทำ�สื่อหนังสือ และโทรทัศน์รายการต่างๆ แวะเวียนมาชิมอยู่บ่อยๆ ส่วนนักดนตรีเพื่อชีวิต นั้น นอกจากจะแวะมาชิมแล้ว ยังเข้ามาช่วยกัน ร้องเพลงสร้างบรรยากาศความครื้นเครงให้เรา ได้ฟังอีกด้วย ยิ่งถ้าวันไหนมีงานประเพณีขึ้นเขา พนมรุ้งด้วยล่ะก็... แทบไม่มีพื้นที่เหลือให้ชาว บุรีรัมย์อย่างเราๆ ได้ไปนั่งอย่างแน่นอน ก๋วยเตี๋ยวเป็ด ก็ต้องว่ากันด้วยเนื้อเป็ด ที่มีความนุ่ม น้ำ�ซุปพะโล้หวาน หอม รสชาติ กลมกล่อม ไม่ว่าจะเส้นเล็ก เส้นบะหมี่เหลือง เส้นหมี่ เส้นใหญ่ ก็เลือกสั่งได้ตามความชอบ แต่หากว่าใครอยากรับประทานเมนูข้าวก็ต้อง นี่เลย ข้าวหน้าเป็ด เนื้อเป็ดนุ่มๆ โปะลงบน ข้าวสวยร้อนๆ ราดน้ำ�จิ้มที่มีรสเปรี้ยวนำ� หากไม่ รับประทานสัตว์ปีก ก็ยังมีข้าวหน้าหมูกรอบ ที่
กรอบ มัน รับประทานแล้วเหมือนได้ขึ้นสวรรค์ แต่ถ้าหากยังไม่อิ่ม ยังมีติ่มซำ�คำ�โตวางเรียงราย ในตู้อุ่นพร้อมเสิร์ฟถึงโต๊ะ ดับร้อนกันด้วยน้ำ�ชา และน้ำ�ใบเตย หอม หวาน เย็นชื่นใจ เป็นการ สมนาคุณให้กับลูกค้าแบบฟรีๆ อีกด้วย นอกจากเมนูอร่อยที่พร้อมเสิร์ฟทุกวัน ตั้งแต่ช่วงเวลา 07.00 - 16.00 น. แล้ว บริการ ที่รวดเร็ว และเป็นกันเอง ก็ถือเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่ง ที่ทำ�ให้ลูกค้าหลายท่าน กลายมาเป็นขาประจำ� ของร้าน พ่วงต่อท้ายด้วยความสนุกสนานของ พี่โจอี้ - สมพงษ์ กรวยสวัสดิ์ หนุ่มมาดเซอร์ นักดนตรีเพื่อชีวิต เจ้าของร้านอีกท่าน (สามีของ พี่แป๊ก) ที่ชื่นชอบความเป็นเพื่อชีวิต จนนำ�มา เป็นสไตล์ในการตกแต่งร้าน กระโหลกเขาควาย รูปภาพของเหล่านักดนตรีเพื่อชีวิตหลายท่าน สัตว์สตาฟท์ รากไม้ทำ�เป็นเฟอร์นิเจอร์สวยงาม ส่วนจะอร่อยเข้มข้น กลมกล่อม และมีความเป็น เพื่อชีวิตอย่างไรต้องตามไปชิมกันให้ได้นะคะ โทร 089 - 2840471 สำ�หรับฉบับนี้ต้องขอลา ไปก่อนนะคะ สวัสดีค่ะ
บรรยากาศบริเวณร้าน
Soft and Sticky Noodle, Sweet Soup, Nice Smell & Delicious About one kilometer from Prakhonchai district, on the way to Phanomrung Sanctuary Park, there is a noodle shop situated on the left side of the street. Its name is Joey’s Duck Noodles. Joey’s Duck Noodles belongs to Khun Pak - Ratree and Khun Joey - Sompong Gruaysawat who run this business after his father with the special recipe of more than 50 years. The highlight of Joey’s duck noodles is thick soup and duck meat which is very soft and has very nice smell. This attracts all the people who pass this way to stop and have a taste. Later, not only these people, but also their friends and relatives come to try and certainly, they are very satisfied with all the menus here.
Out of the duck noodles, other menus are also available such as rice topped with duck meat for those who like to eat rice and crispy pork with rice for those who are allergic to poultry. In addition, Tim sum is also provided as well as tea and pandan juice. The customers who regularly come here range from Buriram ex-governor Mr. Thongchai Leuadul. Gewalin Cottland, a superstar, Mr. Nawarat Pongpaiboon the S.E.A. writer, singers and film stars. Joey’s Duck Noodles is open daily from 7 a.m. - 4 p.m. For more information, contact 089 - 2840471. Hope you can have a chance to try it and love it.
28
ฝักบัวอินทร์ - คำ� สโมสร กาลครั้งหนึ่ง
82
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
Art Gallery: Souvenir: Art workshop
Watercolor FOR KIDS
เปนที่รวมการจัดแสดงงานสีน้ำ งานศิลปะ โปสการด ของที่ระลึก งานออกแบบดีไซนแปลกๆที่หายากจากนักออกแบบ สินคาทองถิ่นที่คัดสรรแลว หนังสือภาพสวยๆ อุปกรณงานศิลปะ
ความถนัดทางสถาปตย
พบกับหลักสูตร คอรสสีน้ำสำหรับเด็ก (Watercolor for kids) การทำความคุนเคยกับสีน้ำ การควบคุมมือในการลงสีน้ำงายๆ การเรียนรูลักษณะเดนของสัตวตางๆ ดอกไม คน สนุกๆกับภาพสีไหล การลงสี Animal colourful, Easy Composition ความถนัดทางสถาปตย เนนการรับรูและการมองอยางมีจินตนาการ, การจัดองคประกอบและทฤษฎีทางศิลปะและสถาปตยกรรม, การฝกทักษะการวาดภาพและกระบวนการออกแบบ
"มาลองเขียนสีน้ำ แลวคุณจะรักสีน้ำ "
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ สีน้ำอะเตอลิเยร ในโครงการ Buriram Castle
Facebook; Srinam Artelier Tel 086-245-8552(พี่น้ำ), 062-325-8552(อ.พร)
Watercolor And Sketching
03
หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ เคยมีวงเวียนน้ำ�พุ ภาพเก่าเล่าเรื่อง
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
31
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ เคยมี วงเวียนน้ำ�พุ ถ้าไปยืนกินลูกชิ้นทอดบริเวณ หลังสถานีรถไฟบุรีรัมย์ เราก็จะมองเห็น “วงเวียนหอนาฬิกา” ตั้งตระหง่านอยู่ กลางสี่แยก ที่ถนนรมย์บุรีกับถนนนิวาศ มาบรรจบกัน เฉพาะตัวหอนาฬิกานี้ สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. ไหน ยังไม่พบหลักฐานชัดเจน ทราบเพียงว่า หอนาฬิกาหลังนี้ สร้างขึ้น คร่อม “วงเวียนน้ำ�พุ” ซึ่งมีมาก่อนแล้ว จึงได้สร้างหอนาฬิกาคร่อมวงเวียนอีกที แต่ที่จำ�ได้แน่นอน ก็คือ สร้างขึ้นในสมัย “นายสุรินทร์ ชัชวาลวงศ์” เป็นนายกเทศมนตรีเมืองบุรีรัมย์ เพียงแต่ไม่ทราบ ปี พ.ศ. ที่แน่นอน คาดว่าคงจะอยู่ในช่วง ปี พ.ศ. 2524 – 2529 หรือไม่เช่นนั้นก็ ช่วงปี พ.ศ . 2529 - 2534 เนื่องจากพบประวัติการสร้าง วงเวียนน้ำ�พุ และพอดีกับช่วงที่เพิ่งได้รับ ภาพถ่ายมุมใหม่ๆ ของวงเวียน จึงขอนำ� เรื่องราวของวงเวียนน้ำ�พุ มาเล่าสู่กันฟัง สำ�หรับข้อมูลเรื่องการก่อสร้างวงเวียน “หนังสือเผยแพร่กิจการจังหวัดบุรีรัมย์ เล่ม 3 ปี พ.ศ. 2504” ได้บันทึกไว้ว่า
วงเวียนน้ำ�พุ ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2505 โดยมี กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร ประธานองคมนตรี (ในขณะนั้น) เสด็จฯ มาเป็น ประธานในพิธีเปิดวงเวียนน้ำ�พุ หนังสือเล่มดังกล่าวยังบอกอีก ว่า “วงเวียนน้ำ�พุ” ดำ�เนินการสร้างโดย เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ใช้เวลาในการสร้าง 30 วัน ด้วยเงินงบประมาณ 9 หมื่นบาท หลังจากนั้นมา ทุกๆ คืน ทาง สำ�นักงานเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ก็จะเปิด น้ำ�พุในวงเวียน อีกทั้งยังเปิดดวงไฟ ที่มี ทั้งหมด 38 ดวง ส่องไปยังน้ำ�พุที่กำ�ลังพุ่ง ขึ้น สร้างความตื่นตาตื่นใจให้เด็กๆ ใน ยุคนั้นเป็นอย่างยิ่ง แต่การเปิดน้ำ�พุ และไฟแสงสี ทำ�ได้ไม่นานก็เลิกทำ�โดยไม่ทราบเหตุผล น้ำ�ที่อยู่ในอ่าง ครั้งหนึ่ง... เคยเห็นคนถีบ สามล้อ ตักมาล้างรถอยู่เป็นประจำ� เมื่อเร็วๆ นี้มีคนพูดให้เข้าหูว่า “ไม่อยากเห็นนาฬิกาตาย แต่อยากเห็น น้ำ�พุเต้นมากกว่า”
ภาพนี้ และภาพด้านบนซ้ายสุด เป็นภาพพิธีเปิดวงเวียนน้ำ�พุเมื่อวันที่ 5 มกราคม 2505 โดยมีประธานองคมนตรีเป็นประธานในพิธี (ภาพจากหนังสือเผยแพร่กิจกรรมจังหวัดบุรีรัมย์ เล่ม 3 ปี พ.ศ. 2504
จุดที่จะก่อสร้างเป็นวงเวียนน้ำ�พุ ถ่ายขึ้นในปี พ.ศ. 2496 (เจ้าของภาพ ปั๊มเชลล์บุรีรัมย์)
ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2523 (เจ้าของภาพ วืวัฒน์ โรจนาวรรณ) ภาพนี้ถ่ายเมื่อวันที่ 28 ม.ค. พ.ศ. 2505 หลังจากทำ�พิธีเปิด 23 วัน ทิวสนที่เห็นในภาพ คือ ทิวสนบริเวณหน้าสถานี รถไฟบุรีรัมย์ (เจ้าของภาพ คุณปราณี โรจนสินวิไล)
ภาพนี้ถ่ายขึ้่นขณะที่กำ�ลังสร้างหอนาฬิกาคร่อมวงเวียนน้ำ�พุ ยังไม่ทราบปีที่ถ่าย (เจ้าของภาพ หจก.กิจมงคลก่อสร้าง)
ภาพเก่าเล่าเรื่อง วิวัฒน์ โรจนาวรรณ/ โครงการตามหาเมืองแป๊ะ/ www.facebook/”Wiwat Rojanawan”
ภาพเก่าเล่าเรื่อง วิวัฒน์ โรจนาวรรณ/ โครงการตามหาเมืองแป๊ะ/www.facebook/”Wiwat Rojanawan”
Buriram Update ไทรถเข็น
23
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
ขอแสดงความยินดีกบั ผศ.ดร.บุณย์เสนอ ตรีวเิ ศษ ทีป่ รึกษาฝ่ายภาษาไทยและวรรณคดีไทย ในโอกาสทีท่ า่ นสำ�เร็จการศึกษาปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด) สาขาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ยามาฮ่า พร้อมลัดฟ้าพา บุรรี มั ย์ อะคาเดมี ทำ�ศึกอิวาตะ U12 อินเตอร์เนชัน่ แนล ล่าสุดเมือ่ วันที่ 21 ก.ค. 59 คุณพรนภา เกตุไพบูลย์ทรัพย์ ผูจ้ ดั การ อาวุโส แผนกกิจกรรมสนับสนุน บริษทั ไทยยามาฮ่ามอเตอร์ จำ�กัด พร้อมด้วย นายปรรณ สุขแสวง ผูฝ้ กึ สอน และนักเตะบุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด อะคาเดมี รุน่ อายุไม่ เกิน 12 ปี ร่วมกันถ่ายภาพยืนยันความพร้อมก่อนลุยศึกฟุตบอล “อิวาตะ ยู-12 อินเตอร์เนชัน่ แนล ฟุตบอล คัพ 2016” ณ เมืองอิวาตะ ประเทศญีป่ นุ่ ระหว่าง วันที่ 30 ก.ค. - 2 ส.ค.59 สำ�หรับโปรแกรมการแข่งขันของ บุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด อะคาเดมี วันที่ 30 ก.ค.59 พบ “เจ้าภาพ” จูบโิ ล่ อิวาตะ เวลา 16.30 น., วันที่ 31 ก.ค.59 พบ อูราวะ เรด ไดมอนส์ เวลา 09.00 น., พบ โยโกฮาม่า เอฟ มารินอส เวลา 18.00 น. และวันที่ 1 ส.ค.59 พบ นูมาซึ เวลา 10.00 น., พบ หางโจว (จีน) เวลา 17.00 น., วันที่ 2 ส.ค.59 คูช่ งิ อันดับที่ 3 เวลา 09.30 น. และคูช่ งิ ชนะ เลิศ เวลา 11.00 น. โดย นายทัดเทพ พิทกั ษ์พลู สิน ผูจ้ ดั การทีม บุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด กล่าว ว่า “ต้องขอขอบคุณ บริษทั ไทยยามาฮ่ามอเตอร์ จำ�กัด ทีเ่ ห็นความสำ�คัญของ ฟุตบอลระดับเยาวชน และต้องขอบคุณทีเ่ ปิดโอกาสให้กบั บุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด อะ คาเดมี ได้มเี วทีระดับนานาชาติ เพือ่ ใช้ในการวัดระดับ และพัฒนาฝีเท้า เพือ่ เป็นการยกระดับทีมเยาวชนของไทยในอนาคต การแข่งขันครัง้ นี้ ถือเป็นก้าว สำ�คัญของเด็กไทย ทีจ่ ะได้พบกับทีมเยาวชนของประเทศทีม่ ฟี ตุ บอลลีกแข็งแกร่ง ทีส่ ดุ และมีการฝึกสอนทีเ่ ป็นมืออาชีพ และมีระเบียบแบบแผนทีส่ ดุ ซึง่ เชือ่ ว่าเด็ก ไทยของเราจะได้สง่ิ ดีๆ ในแง่ของฟุตบอลกลับมาพัฒนาตัวเองแน่นอน”
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
บุรรี มั ย์จดั งานแห่เทียนพรรษา ยิง่ ใหญ่ตระการตา เทศบาลเมืองบุรรี มั ย์ ร่วมกับส่วนราชการ ชุมชน วัด และโรงเรียน จัดงานประเพณีแห่ เทียนพรรษาอย่างยิง่ ใหญ่ เพือ่ อนุรกั ษ์สบื สานขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของ ไทย โดยมีการจัดแสดงต้นเทียนพรรษาของชุมชนต่าง ๆ ทีเ่ ข้าร่วมประกวดทัง้ 8 ชุมชน ณ บริเวณ ถนนรมย์บรุ ี หน้าสำ�นักงานเทศบาลเมืองบุรรี มั ย์ ตัง้ แต่ชว่ งเย็นของวันที่ 19 กรกฎาคม 2559 (วัน อาสาฬหบูชา) มีการจัดงานออกร้านขายของ การละเล่นย้อนยุค และกิจกรรมสร้างเสริมจินตนาการ สำ�หรับเด็ก เช่นการระบายสีตกุ๊ ตาปูนพลาสเตอร์ และการระบายสีในเฟรมผ้าใบ อีกทัง้ ยังมีการแสดง มหรสพสมโภช (ลิเก) ให้ผทู้ ส่ี นใจได้ชมกันฟรีๆ อีกด้วย ต่อมาวันที่ 20 กรกฎาคม 2559 ซึง่ เป็นวันเข้าพรรษา นายวิทยา จันทร์ฉลอง รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นประธานเปิดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา ทีท่ างเทศบาลเมืองบุรรี มั ย์ ร่วม กับส่วนราชการ ชุมชน วัด และโรงเรียน จัดขึน้ เพือ่ เป็นการสืบสานงานบุญทางพุทธศาสนา การ อนุรกั ษ์วฒั นธรรม ประเพณีทอ้ งถิน่ แสดงถึงวิถชี วี ติ ของชุมชน การมีสว่ นร่วมของชุมชน ความ สามัคคีของคนในชุมชน โดยมีขบวนต้นเทียนพรรษาประเภทแกะสลัก จากชุมชน และคุม้ วัด ส่ง ขบวนต้นเทียนทีแ่ กะสลักตกแต่งอย่างสวยงามเข้าร่วมประกวดในงานประเพณีแห่เทียน ในครัง้ นี้ คุม้ วัด ประกอบด้วย วัดกลาง (พระอารามหลวง), วัดหนองไผ่นอ้ ย, วัดธรรมธีราราม, วัดอิสาณ, วัดหนองตราดน้อย, วัดสว่างอารมณ์, วัดทักษิณาวาส และวัดอินทรวนาราม ส่วนใหญ่ได้มกี ารแกะ สลักต้นเทียนเป็นตัวละครในวรรณคดี และพุทธประวัติ ซึง่ ขบวนเทียนได้แห่ไปตามถนนสายต่างๆ ในเขตเทศบาล เริม่ จากหน้าสำ�นักงานเทศบาลเมืองบุรรี มั ย์ ถนนรมย์บรุ ี เลีย้ วขวาถนนนิวาศ (หอ นาฬิกา) เลีย้ วขวาเข้าถนนสุนทรเทพ เลีย้ วขวาไปตามถนนจิระ ถึงสีแ่ ยกสวนรมย์บรุ ี เลีย้ วขวาถนน รมย์บรุ ี บริเวณถนนคนเดินเซราะกราววอล์คกิง้ สตรีท นอกจากนี้ ภายในงานยังได้มกี ารประกวด ขบวนฟ้อนรำ�ของคุม้ วัด โรงเรียน การแสดงศิลปวัฒนธรรมพืน้ บ้าน ขบวนรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา ขบวนรณรงค์ 7 สิงหา ประชามติ ร่วมใจ ประชาธิปไตยมัน่ คง คนบุรรี มั ย์ ครอบครัวเดียวกัน สาย เลือดเดียวกัน ลูกหลานรัชกาลที่ 1 ให้ผทู้ ม่ี าร่วมงานและนักท่องเทีย่ วได้ชมอีกด้วย อีกงานประเพณีแห่เทียนพรรษาในจังหวัดบุรรี มั ย์ท่ี “ไม่พดู ถึงไม่ได้เด็ดขาด” ก็คอื งาน ประเพณีแห่เทียนพรรษาประโคนชัย ซึง่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรรี มั ย์ ร่วมกับ อำ�เภอประโคน ชัย เทศบาลตำ�บลประโคนชัย และ องค์การบริหารส่วนตำ�บลประโคนชัยจัดขึน้ และได้รบั การจัด อันดับของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ยกให้งานแห่เทียนพรรษาอำ�เภอประโคนชัยยิง่ ใหญ่เป็น อันดับ3ของประเทศ รองจากงานแห่เทียนเข้าพรรษาทีอ่ �ำ เภอเมือง จ.อุบลราชธานี และงานแห่เทียน เข้าพรรษาที่ อำ�เภอเมือง จ.นครราชสีมา มีจดุ เด่นทีค่ วามประณีต สวยงามตระการตาของเทียนพรรษา และความยิง่ ใหญ่อลังการ ของแต่ละ่ ขบวนแห่ ทีม่ าจากฝีมอื และความร่วมมือร่วมใจของคนในอำ�เภอประโคนชัย ซึง่ ในปีนไ้ี ด้จดั หัวข้อการประกวดชือ่ “มหัศจรรย์เทียนพรรษา ล้�ำ ค่าอัตลักษณ์ประโคนชัย” โดยมีผไู้ ด้รบั รางวัลดังนี้ รางวัลที่ 1 ได้แก่ วัดแจ้ง รางวัลที่ 2 ได้แก่ วัดกลาง รางวัลที่ 3 ได้แก่ วัดชัยมงคล
ขอขอบคุณภาพจาก : ยุรธีร์ ภูรภิ ทั รเศรษฐ์
35
43
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
BURIRAM’S BEST BUYS นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์ นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
ตึกแถวบ้านหนองโพรง 2 ห้องนอน 2 ห้องน้�ำ 1 ห้องครัว พร้อมพืน้ ทีซ่ กั ล้าง ทีจ่ อดรถ แถมฟรี ปัม๊ น้�ำ และถังน้�ำ ใกล้หา้ งสรรพสินค้าต่างๆ ทางสัญจรหลายทาง โทร คุณสุชาดา 088 - 8038231
ขาย
บ้านพร้อมอยู่ ใกล้สนามช้าง 3 ห้องนอน 2 ห้องน้�ำ 1 ห้องครัว พร้อมเฟอร์นเิ จอร์ ห้องรับแขก ใกล้สนามช้าง อินเตอร์เนชัน่ แนล เซอร์กติ โทร คุณมยุรี ประดับวิทย์ 098 - 0146882 คุณก้อง 086 879 9931
สนใจลงโฆษณาขาย/เช่า บ้าน ที่ดิน ห้องพัก โรงแรม อพาร์ทเมนต์ คอนโด โทร. 087 4588547 คุณโจ้ 085 6121010 คุณก้อย
จูดี้
ขาย
63
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
“แกะเทียนพรรษา” วัดโคน อ.ประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์
Photo by : ยุรธีร์ ภูรภิ ทั รเศรษฐ์
83
12ราศี
ไทรถเข็น
เปิดดวง
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2559
- ประสบการณ์การตรวจดวงตั้งแต่อายุ 16 ปี
- ปัจจุบันอยู่สังกัดของเว็บไซต์ ญาณเทพ (www.yantep.com) - ปี 2558 ติดอันดับ 57 หมอดูระดับพระกาฬ ในนิตยสารแพรว (fortune) - รับจองคิวตรวจดวงทุกวันทาง
ราศีพฤษภ (15 พฤษภาคม – 14 มิถุนายน)
ราศีเมษ (14 เมษายน – 14 พฤษภาคม)
การงาน เดือนนี้จะสร้างความน่ารำ�คาญใจให้กับ คุณ ไม่เหมาะที่จะเปลี่ยนงานใดๆ การเงิน ในระยะนี้ การเงินหมดไปกับเรือ่ งหยุมหยิม และการจ่ายหนี้สิน ความรัก คนโสดมีโอกาสได้เจอใครใหม่ๆ ส่วนใคร ที่มีอยู่อยู่แล้ว ให้ระวังเรื่องรักสามเส้า
การงาน เดือนนี้งานหนัก งานเครียด พยายาม อย่ามีปากเสียงหรือขัดใจเจ้านาย จะทำ�งานร่วมกัน ลำ�บาก การเงิน มีเรื่องให้เสียเงินโดยใช่เหตุ ประหยัดไว้ จะดี ความรัก ทัง้ คนมีคู่ และคนโสด ช่วงนีจ้ ะดูเหงาใจ ถึงแม้มีใครอยู่ในใจ แต่ก็ยังเหงาอยู่ อดทนกับ ความเหงาซักพักหรือหาอะไรน่ารักๆ ทำ�ร่วมกัน ก็จะดีขึ้น
ราศีกรกฎ (17 กรกฎาคม – 16 สิงหาคม)
การงาน จะได้รบั โอกาสใหม่ๆ ทางด้านการทำ�งาน ในเร็วๆ นี้ ใครทีเ่ พิง่ เปลีย่ นงาน หรือตกงาน จะได้รบั ภาวะแรงกดดันหนักหน่อยจากรอบข้าง ขอเพียง อย่าเป้าหมาย ค้นหาตนเอง และเดินหน้าสู้ต่อไป สุขภาพถือว่าดีไม่มีปัญหา ความรัก มีโอกาสถูก คนรักนอกใจ พูดคุยกันให้มาก อย่าให้ความเครียด และงานมาทำ�ให้รักจางลง คนโสดจะสนุกกับชีวิต โสดของคุณ การงาน มีเกณฑ์คิดจะเปลี่ยนงานใหม่ จะมีเพื่อน ร่วมงาน คอยพึ่งพาอาศัยคุณอยู่ งานจะเยอะ เพราะผู้ใหญ่ให้งาน เป็นอีกเดือนที่ต้องแบ่งเวลา เคลียร์งานให้ทัน การเงิน ระวังจะหมดไปกับการเข้าสังคม สังสรรค์ รายจ่ายยาวเป็นหางว่าว ทำ�ให้คณุ หงุดหงิดได้งา่ ยๆ ความรัก ระวังการพูดจาใส่อารมณ์กบั คนรัก อาจเกิด ปัญหายากจะแก้ไข คนโสดอาจจะมีคนมาแอบชอบ
ราศีมังกร ( 15 มกราคม – 12 กุมภาพันธ์)
การงาน เป็นเดือนที่เหมาะกับการวางแผน ต่อยอดธุรกิจ มีแนวโน้มว่าจะดีขึ้นเป็นลำ�ดับ การเงิน อาจจะมีเรื่องใช้จ่ายภายในบ้านมากขึ้น ความรัก ระยะนี้หมั่นดูแลใจกัน ถามไถ่กัน มีเกณฑ์ ห่างเหินกัน คนโสดมีโอกาสถูกมอง หรือได้รับความ สนใจมากขึ้น
ราศีกันย์ (17 กันยายน – 17 ตุลาคม)
การงาน เป็นเดือนที่เหมาะกับการเริ่มต้น ทำ�อะไรใหม่ๆ งานใหม่ ย้ายที่อยู่ หรือเปลี่ยนตัว เอง ยกเว้นเรื่องการลงทุนในธุรกิจขนาดกลางขึ้นไป ให้ขยับไปหลังจากเดือนนีจ้ ะดีกว่า การเงิน เก็บเงิน ไม่ค่อยอยู่ ความรัก ระวังพากันเสียเงินไปกับเรื่อง ไร้สาระ คนโสด ในระยะนี้จะได้รับความสนใจจาก คนรอบข้างมากขึ้น หากกำ�ลังคบหาดูใจกับใครมี โอกาสสมหวังสูง ราศีธนู (16 ธันวาคม - 14 มกราคม)
ราศีพิจิก (17 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม)
การงาน ระวังถูกตำ�หนิ หรือเกิดความผิดพลาด รอบคอบอย่าประมาท คุณอาจท้อถอยกับงานได้ ง่ายๆ หากใครกำ�ลังเรียน ระวังเกรดตก ขยัน ตัง้ ใจ และมีสติจะช่วยให้ดขี นึ้ ใครทีม่ คี นรัก หรือกำ�ลังคุย คุณอาจได้พบกับคนใหม่ หรือความรักใหม่ ใคร ไม่อยากนอกใจ ระวังอย่าให้ความหวังใครเด็ดขาด คนโสดสนุกกับการอยู่คนเดียว เหมาะกับการหา เวลาพักผ่อน หรือท่องเที่ยว
ราศีกุมภ์ (13 กุมภาพันธ์ – 14 มีนาคม)
การงาน เกณฑ์จะได้ย้ายงานสูง ใคร กำ�ลังมองหางาน จะได้พบโอกาสในไม่ชา้ การเงิน ระมัดระวังรายจ่าย จงมีสติทกุ ครัง้ ทีเ่ ดินทาง ความรัก ระยะนี้ต้องการพัฒนาไปอีกขั้นสำ�หรับใครที่กำ�ลัง คุยๆ อยู่ การวางอนาคตให้ความรักเป็นสิง่ จำ�เป็น ต่อคุณ และคนรัก พยายามหาเวลาดูแลกันให้มาก ขึน้ จะดี คนโสดจะรูส้ กึ เหงาเป็นพิเศษ
ราศีมิถุน (15 มิถุนายน – 16 กรกฎาคม)
การงาน/เงิน เดือนนีม้ เี รือ่ งจุกจิกๆ มากวนใจ ไม่ ขาดสาย ทั้งเรื่องเงิน งาน เพื่อนร่วมงาน และ ชีวิตส่วนตัว ระวังอย่ามีเรื่องขุ่นข้องหมองใจกับ คนในบ้าน จะมีงานยากมาให้คุณต้องฝ่าฟัน ความรัก ให้ระวังความไม่เชื่อใจ หรือช่างระแวง จะเป็นเหตุให้ทะเลาะเบาะแว้ง อย่าคิดมากจะดีเอง
ราศีสิงห์ (17 สิงหาคม – 16 กันยายน)
การงาน เจ้านายเห็นผลงาน อนาคตอันใกล้ คุณ จะได้รับข่าวดีจากความมานะของคุณ การเงิน มีโอกาสได้เงินมาแบบฟลุคๆ ระวังเรื่อง สุขภาพโดยเฉพาะอาการปวดกล้ามเนื้อ ความรัก เรียบง่ายไม่มปี ญั หาหนักคาใจ เป็นเดือน ที่เหมาะแก่การหาทริปท่องเที่ยว พักผ่อน ทำ�บุญ
ราศีตุลย์ (18 ตุลาคม – 16 พฤศจิกายน)
092 294 3269
การงาน เป็นเดือนที่คุณจะเริ่มวางแผน ทำ�อะไรหลายๆ อย่าง ผุดขึ้นมามากมาย คิดให้ช้า ให้รอบคอบ จะช่วยคัดสรรงานที่ดีให้คุณ การเงิน เป็นช่วงเวลาที่ยังไม่เหมาะจะเริ่มลงทุนใดๆ ความรัก ต่างคนต่างยุ่ง อาจห่างกันซักพัก คนโสด มีความสุขกับชีวิตส่วนตัว และเพื่อนฝูง คนมีคู่ระวัง มีปากเสียงกันเพราะความเข้าใจผิด
ราศีมีน (15 มีนาคม – 13 เมษายน)
การงาน ระยะนี้พลังใจในการทำ�งานหดหาย ภายนอกอาจดูร่าเริง แต่ภายในยังดูเศร้าหมอง ควร หาเวลาผ่อนคลายเติมความสดชื่นให้ชีวิต การเงิน คนรอบตัวจะพาคุณใช้เงินมากขึ้น หรือคุณเองที่พา คนรอบตัวจ่ายเยอะ ระมัดระวังการจ่ายง่าย เข้ายาก ความรัก มีโอกาสตกหลุมรักใครได้งา่ ย ระวังรักซ้อน เจอคนมีเจ้าของ
39 นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์ นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
04
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
ประเพณีแซนการ์
ประเพณีแซนการ์ ตำ�นานเมืองบุรีรัมย์
41
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
ความรัก ประเพณี และพิธีกรรม
ขึ้นชื่อว่า “ประเพณี” ย่อมต้องมีอิทธิพล และส่งผลต่อ ความเป็นอยู่ ความรู้สึกนึกคิด ตลอดจนความเชื่อของผู้คนที่อาศัย อยูใ่ นบริเวณทีอ่ ทิ ธิพลของประเพณีนนั้ ครอบคลุมถึง อาทิ ประเพณี ลงแขกเกี่ยวข้าว ส่งผลต่อความรักใคร่ สมัครสมานสามัคคีกัน ของ ผู้คนในชุมชน ทำ�ให้ชาวบ้านในละแวกเดียวกันมาช่วยกันเกี่ยวข้าว ประเพณีแห่นางแมว ประเพณีบายศรีสู่ขวัญ ประเพณีฟ้อนผีปู่ย่า และอื่นๆ อีกมากมาย ก็เช่นเดียวกัน ในแต่ละประเพณีนั้น ก็จะมี ความเชื่อแฝงอยู่ นอกจากนี้ยังมีอีกประเพณีที่พวกเราอยากนำ�มา กล่าวถึง ชื่อว่าประเพณี “แซนการ์” หรือประเพณี “แต่งงาน” ซึ่ง เป็นพิธีที่สืบทอดกันมาในหมู่คนไทยเชื้อสายเขมร เมือ่ ความรักสุกงอมเต็มที่ คนสองคนตกลงยินยอมพร้อมใจ ที่จะใช้ชีวิตร่วมกัน ดูแล และสร้างครอบครัวด้วยกัน การวางแผน “แต่งงาน” ก็จะเริ่มขึ้น การแต่งงานนั้น ในแต่ละพื้นที่ก็มีระเบียบ แบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณีแตกต่างกันออกไป เช่น ประเพณี ไทย จะมีการสู่ขอ หมั้นหมายแล้วจึงแต่งงาน ในสมัยก่อนนั้น การ สูข่ อ จะต้องทำ�ล่วงหน้าก่อนวันแต่งงาน แต่ในปัจจุบนั หลายๆ พืน้ ที่ จัดให้มีการสู่ขอในช่วงเช้าแล้วจัดพิธีรดน้ำ�สังข์ และจัดเลี้ยงอาหาร ในช่วงเย็นเพือ่ ให้สะดวก เรียบง่าย เจ้าภาพไม่เหนือ่ ยมาก และช่วย ประหยัดงบประมาณในการแต่งงานอีกด้วย เมือ่ ไม่นานมานี้ ได้มโี อกาสไปร่วมงานแต่งงานของรุน่ น้อง ได้เห็นพิธีแซนการ์ของชาวไทยเชื้อสายเขมร ซึ่งจะมีการกำ�หนดวัน จัดงาน 2 - 3 วัน แบ่งเป็นวันรวมญาติพี่น้องหรือวันสุกดิบ วันแต่ง และวันส่งตัว รุ่นน้องเล่าให้ฟังว่า ก่อนที่จะมีการแต่งงาน ก็จะต้อง มีการหมัน้ หมาย ภาษาเขมรเรียกว่า “ซูร”์ แปลว่า “หมัน้ ” โดยจะ มีผู้ใหญ่จากฝ่ายชาย ไปทาบทามคุยกับผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิง และ ส่งเฒ่าแกไปทำ�การ “ซูร์” โดยมีเหล้า 1 ขวด หมากพลู 1 พาน เทียน 1 คู่ และให้ทางฝ่ายหญิงเรียกค่าสินสอดตามแต่พอใจ หาก ตกลงกันได้เป็นที่เรียบร้อยก็จะหาฤกษ ์และนัดวันแต่งงาน เมือ่ ถึง “วันไงแซน” หรือ “วันแต่งงาน” ทางฝ่ายบ้านเจ้าสาว จะมีอาจารย์ท�ำ พิธจี ดั เตรียม “บายแสร็ย” หรือ “บายศรี” พร้อมด้วย ดอกไม้ เทียน ข้าวต้มมัด กล้วย ผลไม้ ขนมหวาน ด้ายผูกข้อมือ ในปะรำ�พิธี จะมีเสาตรงกลางซึ่งตกแต่งด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย และ ดอกไม้ เอาไว้ใช้สำ�หรับการเซ่นสรวงเทพ มี “ปะต็วล” (แปลว่า คำ�้ ยัน หรือไม้ค้ำ�ยัน การค้ำ�ยัน เมื่อได้เซ่นสังเวยแล้ว ถือว่าเทวดาจะ คุ้มครอง เป็นคติของชาวเขมร หรือก็คือศาลพระภูมิเขมรนั่นเอง) มาแขวนไว้ทหี่ วั เสา ด้านหน้าของปะต็วล จะวางฟูกไว้ส�ำ หรับกราบ และวางพานผ้าไหม เงิน หมากพลู กรวย ดอกไม้ ขันข้าวขวัญ
(ข้าวสุกปั้น) ไข่ต้ม มีกรวยใบตองคว่ำ�ไว้ ขันน้ำ�มนต์ เป็นต้น วาง ไว้รอบๆ ปะต็วล เมื่อได้เวลาฤกษ์งามยามดี ก็จะมีการแห่ขันหมาก มีวงมโหรีนำ�หน้าขบวน พานบายศรี เครื่องเซ่นผีบรรพบุรุษ ตามด้วย บริวาร ถาดขนม สินสอด ขันหมาก เข้าสู่ปะรำ�พิธี ญาติผู้ใหญ่ทาง ฝ่ายหญิง จะมารับเครือ่ งเซ่นไหว้เหล่านัน้ และจะมอบ “เฮ็บ” และ “ท็อง” จากฝ่ายชาย คือ มอบพานหมากพลูให้พ่อแม่เจ้าสาวกิน เป็นการยอมรับ จากนั้นบ่าวสาวก็จะกราบอาจารย์ที่มาทำ�พิธีให้ แล้ววางมือคว่ำ�ลงบนเต้าปูนเหนือหมอน เจ้าบ่าวจะต้องวางมือทับ บนหลังมือเจ้าสาว หลังจากนั้นก็จะมีการเซ่นผี โดยอาจารย์จะเป็น ผูท้ �ำ พิธจี ดุ เทียน เชิญผีบรรพบุรษุ มารับเครือ่ งเซ่น ผูเ้ ฒ่าจะมารินน�้ำ รินเหล้าใส่เครื่องเซ่นแล้วยกออกไป ในที่สุดก็ถึงพิธีส่งตัวเจ้าสาว เจ้าสาวจะหาบน้ำ� เจ้าบ่าว จะแบกฟืน อยู่ต้นขบวน ส่วนทางหางขบวนก็จะช่วยกันแบกฟูก หมอน และผ้าไหว้ แห่ไปบ้านเจ้าบ่าว มอบหมากพลูขอทางผ่าน ฝ่ายเจ้าบ่าวจะรับน้ำ� และฟืนไป เจ้าบ่าวเกี่ยวก้อยเจ้าสาวขึ้นเรือน ญาติฝา่ ยชายจะนำ�น�้ำ ขมิน้ มาล้างเท้าให้บา่ วสาว แล้วให้เหยียบบน กระเฌอทีใ่ ส่ขา้ วเปลือก เหล้า ผ้าขาว และขวาน เป็นสัญลักษณ์แห่ง ความรุ่งเรือง ตามความเชื่อของชาวเขมร พอขึน้ เรือน ผูใ้ หญ่ฝา่ ยชายจะนำ�น�้ำ ขมิน้ และหม้อข้าวเก่า มาให้เจ้าสาวล้างก้นหม้อ แสดงความพร้อมใจจะเป็นแม่ศรีเรือน แล้วคู่บ่าวสาวก็จะมอบฟูกหมอนให้พ่อแม่เจ้าบ่าว นำ�น้ำ�ที่เจ้าสาว หาบมานั้น มาอาบให้พ่อแม่ฝ่ายชาย แล้วมอบผ้าสมมา (ผ้าขาวไว้ สำ�หรับพาดบ่า) มาผลัดเปลี่ยนนุ่งห่มใหม่ ไหว้ และมอบผ้าสมมา ให้ญาติเจ้าบ่าว ซึ่งพิธีตรงนี้แหละที่หลายๆ คนจะอิจฉา เพราะจะ ได้รับเงินของขวัญตอบแทนจนคุ้ม จากนั้นเจ้าสาวก็จะไหว้เจ้าบ่าว ด้วยโสร่ง เสื้อขาวคอกลม สไบสองผืน เจ้าบ่าวจะมอบของขวัญ ให้ เมื่อเปลี่ยนเสื้อผ้าเสร็จ เจ้าสาวจัดขนม ผลไม้ น้ำ� เหล้า ให้กิน เป็นอันว่าเสร็จพิธีส่งตัว นอกจากนี้ก็จะมีการเสี่ยงทาย โดยให้คู่ บ่าวสาวตักข้าวป้อนกัน ใครตักข้าวก่อน แสดงว่าเป็นคนรูจ้ กั อดออม ใครตักกับข้าวก่อนแสดงว่าฟุ่มเฟือย ในปัจจุบัน เราไม่ค่อยได้เห็นการแต่งงานตามประเพณี แซนการ์มากนัก อันอาจเนื่องมาจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ความเชื่อ และยึดถือในประเพณีเก่าๆ เริม่ เลือนหาย ผูค้ นในยุคสมัยนี้ ต้องการ ความสะดวก รวดเร็ว เรียบง่าย และที่สำ�คัญประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ ก็ยงั คงมีอกี หลายหมูบ่ า้ น หลายชุมชน โดยเฉพาะชุมชนทีม่ คี นไทย เชื้อสายเขมรที่ยังคงสืบทอดประเพณีนี้มาจนถึงปัจจุบัน
“Saen Ga” is a Khmer word meaning “wedding ceremony” which is always done among the ThaiKhmer people. When a man and a woman really fall in love with each other, they, then decide to get married. The wedding ceremony varies from place to place. In the Thai-Khmer community, the wedding ceremony is different from other places since most of them still stick to their ancient ways of life and tradition. The ceremony takes place in 3 days : relatives gathering day (จูนจำ�แน็ย), wedding day (ไงแซน) and the sending day. Before the marriage will take place, there must be an engage ceremony (ซูร์). The parents of the man including his cousins will visit the woman’s parents and have an agreement for the wedding ceremony. If he woman’s parents agree to let them married, then they will ask for dowry (สินสอดทองหมั้น). If the two parties agree with all the things, they will prepare the wedding ceremony. On the Ngai Saen day (wedding day), the parade of the bridegroom and his friends and relatives come to the bride’s house with an orchestra (วงมโหรี) at the beginning of the parade. When everyone is in the house, there is a ceremony to pay respect to the ancestral spirits. The sending day is the day that the bride goes to live at the groom’s house. The bride carries water and the groom carries the firewood whereas the others help carrying pillows, mattress and clothes for the groom’s parents and relatives. After the couple pays respect and give the pillows, mattress and clothes to the groom’s parents and relatives, they are given back quite a lot of money. After that the bride and the groom exchanges their presents. The last thing they have to do is feeding each other. Nowadays, we rarely see such ceremony because most of the couples want to save time, money and avoid difficulties. However, in some ThaiKhmer communities where traditions are still strong, you may have a chance to see it.
ขอขอบคุณผู้ให้ข้อมูล นางสาวปิยะพร มนต์แก้ว พนักงานบัญชี หจก.เค.เอส. ริชเชส
42
เทาวรรษา
อักษราร่าไทรถเข็ ยรำ� น คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
24
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
เทาวรรษา รอวรรษาเนิ่นแล้ว หวังพิรุณพร่างพราย รันทดมิหดหาย ทุกหย่อมหญ้าสะอื้น
รอหาย สู่พื้น โลกเหือด แห้งเฮย จ่อมน้ำ�ตานอง
ครรลองภิกขุนั้น ไตรมาสถือเคร่งครัด ฝนฝึกเพื่อปล่อยตัด ไยสยบโลกอุดอู้
ประจำ�วัด อยู่รู้ ปลดโซ่ ตรวนแฮ ห่างสิ้นวิญญาณ
เทศกาลงานแห่ต้น บวชระบำ�จำ�จอง เครื่องเสียงใหญ่เข้าครอง พลุตะไลพลิกฟื้น
เทียนทอง ครึกครื้น คนคลั่ง บุญเอย ศาสน์หรุ้งเรืองเลย
มือเอยถือสากสู้ ศีลซ่อนสารงำ�ใจ ของฝากแห่งเมรัย สาปแช่งใครใครแล้ว
สิ่งใด ปากแจ้ว ก่นแช่ง ชักเอย ดั่งนี้ฤๅศาสนา
ฤดีวรรษแหว่งหวิ้น เกินกาล พึงแก่กู้สถานการณ์ คลี่คลุ้ม วาทกรรมแห่งบนบาน โพ้นพุทธ ไกลนา วอนสัจจะโอบคุ้ม กลับฟื้นคืนเมือง
วสุพล ลือนาม บุณย์เสนอ ตรีวิเศษ ประพันธ์
4444
พระราชวั งไดนอย เว้ เมืองมรดกโลก ตะลุ ตะลุยต่ยต่าางแดน งแดน
44
เวียดนาม
ตะลุยต่างแดน
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
พระราชวังไดนอย
45
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
นครต้องห้ามแห่งเวียดนาม
Imperial Enclosure
สายฝนยังคงโปรยปรายลงมาอย่างไม่ ขาดสาย ไม่ถึงกับทำ�ให้ร่างกายเปียกปอน แต่ก็ ทำ�ให้รู้สึกหนาวกาย เนื่องจากอากาศที่อยู่ราวๆ 22 – 23 องศาเซลเซียส พวกเราเดินทางออกจาก “วัดเทียนมู่” มุ่งหน้าตรงไปยัง “นครจักพรรดิ์” อันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวต่อไป รถบัส... ขับเลียบ แม่น้ำ�หอมไปอีกไม่นาน พวกเราก็มาถึงจุดหมาย “พระราชวังไดนอย” ที่คนไทยเรียกว่า “นครจักพรรดิ์” หรือ “พระราชวังต้องห้าม” ถูก สร้างขึ้นในช่วง พ.ศ. 2348 สมัยกษัตริย์ยาลอง แห่งราชวงศ์เหงียน ซึ่งมีเนื้อที่กว่า 52 ตร.กม. ริมฝัง่ แม่น�ำ้ หอม มีการสร้างโดยยึดเอาแบบอย่าง
และคติความเชื่อมาจาก “พระราชวังกู้กง” หรือ “พระราชวังต้องห้าม” ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ที่ว่า “จักรพรรดิเปรียบเสมือนบุตรแห่งสวรรค์” ดังนั้น พระราชวังจึงเป็นสถานที่ต้องห้ามสำ�หรับ สามัญชน ไม่สามารถล่วงล้ำ�เข้าไป และผู้ใดที่มา ถวายตัวเพื่อรับใช้จักพรรดิ์ในพระราชวังแล้ว ไม่ สามารถออกไปนอกเขตนครต้องห้ามได้อีกเลย เมื่อผ่านกำ�แพงชั้นนอก ที่มีความยาว ถึง 9.95 กิโลเมตร เข้าไปแล้ว เราจะพบปืนใหญ่ 4 กระบอก ซึ่งหมายถึงฤดูกาลทั้ง 4 คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูใบไม้ผลิ และฤดูใบไม้ร่วง (ฤดูหนาว) หากเข้าอีกฝั่งของกำ�แพง ก็จะพบกับปืนใหญ่อีก
4 กระบอก แสดงถึงธาตุทั้ง 4 ที่จำ�เป็นสำ�หรับ มนุษย์ ได้แก่ ดิน น้ำ� ลม ไฟ ปืนใหญ่เหล่านี้เป็น ของจริง แต่ก็ไม่เคยถูกใช้งานเลย เพียงแต่ถูกนำ� มาตั้งโชว์ไว้เพื่อแสดงแสนยานุภาพเท่านั้น เมือ่ เดินต่อเข้าไปยังกำ�แพงชัน้ ที่ 2 ซึง่ มี ความยาว 2.45 กิโลเมตร เราจะพบกับสะพาน หินเพื่อข้ามบ่อน้ำ�ไปยังประตูทางเข้าพระราชวัง ไกด์ชี้ให้พวกเราดูตัวหนังสือบนฝั่งประตูทางเข้า เขียนว่า “โงมน” แปลว่า ประตูใหญ่ เดินต่อไปอีกไม่นานนักเราจะพบกับ ตำ�หนักขนาดใหญ่ ซึ่งมีความสวยงามมาก ชื่อว่า “ตำ�หนักไทฮวา” ตำ�หนักนี้ สร้างขึ้นพร้อมกับ
พระราชวัง ลักษณะเป็นท้องพระโรงขนาดใหญ่ ประดับประดาอย่างสวยงาม ใช้สำ�หรับเป็นห้อง ที่กษัตริย์จะเสด็จประทับ เมื่อมีการเข้าเฝ้า หรือ เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก อีกด้วย ไกด์เล่าว่า ในสมัยที่ก่อสร้างพระราชวัง เสร็จใหม่ๆ ทุกอย่างทำ�ขึน้ จากทองคำ�แท้ทง้ั หมด รวมถึงตัวหนังสือคำ�ว่า “โงมน” ที่อยู่บนประตู ด้านหน้าด้วย แต่เมื่อฝรั่งเศสเข้ามาปกครอง จึง ถูกถอดออก และนำ�ทองทิพย์มาใช้แทน พระตำ�หนักไทฮวา มีความสำ�คัญทาง ประวัติศาสตร์ของเวียดนาม เพราะเป็นสถานที่ ที่กษัตริย์บ๋าวด่าย เป็นกษัตริย์องค์สุดท้าย แห่ง
ราชวงศ์เหวียง ได้ทรงประกาศสละราชบัลลังก์ ของพระองค์ ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2488 จึงเป็นวันสิ้นสุดการปกครองระบอบกษัตริย์ของ ประเทศเวียดนาม และเปลี่ยนมาปกครองระบบ ประธานาธิบดีจนถึงปัจจุบันนี้ หลังจากที่ชมความงามในพระตำ�หนัก ไกด์ก็พาพวกเราไปดูแผนผังของพระราชวัง และ ปล่อยให้พวกเราไปถ่ายรูปชมความงามโดยรอบ กันต่ออีกเป็นเวลาครึ่งชั่วโมง จากนั้น พวกเราก็ เดินอ้อมออกไปยังประตูฝั่งขวาของพระราชวัง กะระยะทางเดินกลับไปที่รถบัสน่าจะไม่ต่ำ�กว่า 3 กิโลเมตร และสิ่งแรกที่พบเมื่อมาถึงรถ ก็คือ
บรรดาคุณลุง คุณป้า กำ�ลังยืนต่อรองราคาสินค้า ที่ระลึก ทั้งเสื้อ ผ้า พัด กระเป๋า รองเท้า กันอย่าง สนุกสนาน ชนิดที่ไม่กลัวว่าเงินจะหมดไปจาก กระเป๋า นอกจากเหน็ดเหนื่อย ที่ใช้ร่างกายใน การเดินชมพระราชวังต้องห้ามแล้ว ยังเมื่อยล้า จากการโพสต์ท่าสวยๆ คู่กับสถานที่สำ�คัญ และ สวยงามภายในพระราชวังอีกด้วย เมือ่ ถึงรถก็ขอ เอนกาย หลับตาลงสักหน่อย ไกด์บอกว่าสถานี หน้า พวกเราจะต้องเดินลากขาขึ้นเขาลูกเล็กๆ กันอีกรอบ จะเป็นที่ไหน อย่าลืมติดตามกันต่อ ในฉบับหน้านะคะ สวัสดีค่ะ
สำ�นักงานจัดหางานจังหวัดบุรีรัมย์
ลแหน่ ้ม ลุก นงยืนงานว่าง ไทรถเข็ ตำ � 64จังหวัดบุรีรัมย์ ประจำ�เดือน กรกฎาคม 2559 40 อักษราร่ายรำ� คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
สำ�นักงานจัดหางาน จังหวัดบุรีรัมย์
นิตยสารสะบายดี บุรีรัมย์
เว็บไซต์ : www.doe.go.th/buriram
บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ 1. พนักงานช่วยขาย (20 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 18+ (ม.3+) สนใจติดต่อ 499 ม.4 ถ.บุรีรัมย์-นางรอง ต.อิสาณ อ.เมือง จ. บุรีรัมย์ โทร. 044 - 690755 ต่อ 1850 บมจ. เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ๊ป (สาขาบุรีรัมย์) 1. ผู้จัดการ และผู้ช่วยผู้จัดการ (2 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 28-35 (ป.ตรี) 2. หัวหน้าแผนก (3 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 25-30 (ป.ตรี) 3. พนักงานบริการลูกค้า (10 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 18-25 (ม.6+) 4. พนักงานประจำ�ห้องฉาย (1 อัตรา) ช (อายุ) 25-30 (ปวส.-ป.ตรี) รับสมัครพร้อมสัมภาษณ์ทันที วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2559 เวลา 09.30 - 16.30 น. ณ โรงแรมพนมพิมาน ชั้น 2 ห้องพิมานทอง บมจ. บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ 1. แผนกครัวร้อน (Delica) (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 18+ (ม.3+) 2. ช่างซ่อมบำ�รุง (1 อัตรา) ช (อายุ) 18+ (ม.3+) 3. พนักงานคนพิการ (2 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 18+ (ม.3+) สนใจติดต่อ 150 ม.7 ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 110131 - 4 ต่อ 2121 คุณสุพรทิพย์ สมใจ ผู้จัดการสาขา บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น 1. เจ้าหน้าที่ตัวแทนขาย (10 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 22+ (ป.ตรี) สนใจติดต่อ 311 ถ.จิระ ชั้น 2 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 086 - 4124245 คุณภิญญาพัชญ์ อาภรณ์พงษ์ จนท.บุคคล บจก. โตโยต้าบุรีรัมย์ 1. พนักงานขาย (10 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 21+ (ปวส.+) สนใจติดต่อ 140 ม.10 ถ.บุรีรัมย์-นางรอง ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 690101 - 2 คุณวุฒินันท์ แสนแก้ว พนักงานบุคคล ร้านสยามยนต์บุรีรัมย์ 1. พนักงานขาย (1 อัตรา) ญ (อายุ) 18-35 (ม.3+) สนใจติดต่อ 20/1-2 ถ.สมรรถการ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 611481 คุณวรเศรษฐ์ ศักดิ์ศิรินุกูล ผู้จัดการร้าน บจก. สระบุรีเทคนิคคอนกรีต 1. แม่บ้าน (1 อัตรา) ญ (อายุ) 35+ (ไม่จำ�กัดวุฒิ) 2. เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (1 อัตรา) ช (อายุ) 35+ (ไม่จำ�กัดวุฒิ) สนใจติดต่อ 333 ม.16 ถ.บุรีรัมย์ - ประโคนชัย ต.เสม็ด อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 613301 - 2 คุณภัสรา นิสัยรัมย์ พนักงานบุคคล
บจก. สุขสง่าแอนด์นพ ดิสทริบิวเตอร์ 1. พนักงานขาย (5 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 21-35 (ม.3+) 2. พนักงานขับรถส่งสินค้า (5 อัตรา) ช (อายุ) 18-35 (ม.3+) 3. ลูกมือช่าง (2 อัตรา) ช (อายุ) 18-35 (ม.3+) สนใจติดต่อ 150 ม.3 ต.ชุมเห็ด อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 086 - 2632221 คุณปุริมส์ นพคุณ ผู้ช่วยผู้จัดการ บ. บุรีรัมย์ยูไนเต็ดสปอร์ตโฮเต็ล 1. ผู้จัดการแผนกซ่อมบำ�รุง (1 อัตรา) ช (อายุ) 35+ (ป.ตรี) 2. ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกซ่อมบำ�รุง (1 อัตรา) ช (อายุ) 35+ (ป.ตรี) 3. หัวหน้าฝ่ายบัญชีและการเงิน (1 อัตรา) ญ (อายุ) 35+ (ป.ตรี) 4. หัวหน้ารอบห้องอาหารและจัดเลี้ยง (1 อัตรา) ช (อายุ) 30+ (ป.ตรี) 5. หัวหน้ารอบห้องอาหารและจัดเลี้ยง (1 อัตรา) ญ (อายุ) 30+ (ป.ตรี) 6. พนักงานเสิร์ฟห้องอาหรและจัดเลี้ยง (2 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 25+ (ป.ตรี) 7. หน.เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (1 อัตรา) ช (อายุ) 35+ (ม.6+) สนใจติดต่อ 444 ม.15 ถ.บุรีรัมย์-ประโคนชัย ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 111444 คุณพนมพร วิภาดา ผู้จัดการแผนกทรัพยากรบุคคล บจก. เพ ลา เพลิน บูติค รีสอร์ท 1. พนักงานแผนกต้อนรับ (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 25-35 (ป.ตรี) 2. พนักงานต้อนรับ (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 22 (ป.ตรี) 3. พนักงานอาหารและเครื่องดื่ม (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 25-35 (ปวช. ขึ้นไป) 4. พนักงานขาย (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 25 (ป.ตรี) 5. เจ้าหน้าที่สันทนาการ (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 27 (ป.ตรี) 6. เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ (1 อัตรา) ญ (อายุ) 22 (ไม่จำ�กัดวุฒิ) 7. ช่างไฟฟ้า/ประปา (1 อัตรา) ช (อายุ) 25-35 (ไม่จำ�กัดวุฒิ) 8. เจ้าหน้าบัญชี/การเงิน (1 อัตรา) ญ (อายุ) 22 (ไม่จำ�กัดวุฒิ) 9. เจ้าหน้าประสานงานขาย (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 22 (ไม่จำ�กัดวุฒิ) สนใจติดต่อ 252 ม.7 ต.หนองขมาร อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ โทร. 061 - 9481510 คุณจุฑาสรณ์ ทาละลัย ผู้จัดการฝ่ายบุคคล บจก. นอร์ทอีสรับเบอร์ 1. ผู้จัดการฝ่ายบัญชี (2 อัตรา) ญ (อายุ) 36+ (ปวส. ขึ้นไป) 2. เจ้าหน้าที่บัญชีต้นทุน (1 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 30+ (ป.ตรี) 3. พนักงานฝ่ายผลิต (15 อัตรา) ช/ญ (อายุ) 18+ (ป.ตรี) สนใจติดต่อ 398 ม.4 ต.โคกม้า อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ โทร. 044 - 666928 - 9, 044 - 605066 คุณมะลิวัลย์ บุญรอด
84
ไทรถเข็น
คอลัมน์กาลครั้งหนึ่ง
The Royal