สมสุโขภิกขุ
เกิดทันทีดับทันที สมสุโขภิกขุ
๑
เกิดทันทีดบั ทันที
ปฏิบัติธรรมมิใช่เรื่องยาก สามารถปฏิบัติแบบง่ายๆ ด้วยวิธรี ะลึกตามความจริง ดังนี้ ระลึกตามความจริงว่า มันไร้สาระ ระลึกตามความจริงว่า มันเป็ นอดีตไม่ใช่เรา ระลึกตามความจริงว่า มันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ ระลึกตามความจริงว่า มันเกิ ดทันทีดบั ทันทีเป็ นธรรมดา ระลึกตามความจริงว่า มันจึงเป็ นอดีตที่ดบั ไปแล้วตลอดเวลา ระลึกตามความจริงว่า มันจึงเป็ นของที่ไม่มีอยูจ่ ริงไปแล้ว “ระลึกสัน้ ๆง่ายๆแค่น้ ี ชีวิตคุณก็เปลีย่ น” ทดลองนาไประลึกดูจะรูว้ ่าชีวติ มันเปลีย่ นไปได้จริงๆ สมสุโขภิกขุ
๒
สมสุโขภิกขุ
การปฏิ บตั ิ ธรรมคือการทดลองทางวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่ง นัก ปฏิ บั ติ ธ รรมจึ ง ต้ อ งท าตั ว เป็ นนั ก วิ ท ยาศาสตร์ คิ ด และท าอย่ า ง นักวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์สาคัญทีใ่ ช้ในการทดลองวิทยาศาสตร์ของทุกคน คือ “สัมมาสติอนาสวะ” เพียงแต่ต้องพัฒนาสติให้มคี ุณภาพเพิม่ ขึน้ เพื่อ ประโยชน์ในการใช้สติเป็ นอุปกรณ์ทดลองทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด การพัฒนาสติในเบื้องต้นคือพัฒนาจากสามัญสติท่ที ุกคนมีอยู่มา เป็ นสัมมาสติ สัมมาสติกม็ สี องแบบคือสัมมาสติ สาสวะกับสัมมาสติ อนา สวะ สัมมาสติ สาสวะใช้สาหรับดับทุกข์แบบโลกๆ สัมมาสติ อนา สวะใช้สาหรับดับทุกข์ชนิดละเอียดที่สมั มาสติสาสวะดับไม่ได้ อุปกรณ์ ของนักวิทยาศาสตร์ทางธรรมมีอย่างเดียว ชิ้นเดียวพอแล้วสาหรับการ เป็ นนักวิทยาศาสตร์ทางธรรมที่เลอเลิศ ขอเพียงรู้จกั สัมมาสติอนาสวะ และมีความสามารถใช้ได้แคล่วคล่องว่องไว เพียงเท่านี้กส็ ามารถค้นคว้า ทดลองธรรมะทุกๆบทที่ม ีอยู่ในธรรมชาติได้อย่างไม่เคอะเขิน จนเกิด ประโยชน์สงู สุดทีม่ นุษย์ทุกคนสมควรจะได้รบั ๓
เกิดทันทีดบั ทันที
ระบบรูปมีหลักการเดียวกับระบบอนาล็อก ระบบนามมีหลักการ เดียวกับระบบดิจติ อล ระบบรูปไม่ใช่สงิ่ ทีเ่ ป็ นปั ญหามากนัก แต่ระบบนามคือต้นเหตุของ ปั ญหาทัง้ ปวง ทุกๆปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ทีป่ ลายเส้นประสาท วิญญาณธาตุทป่ี ระจา อยู่จะผลิตกระแสประสาทเป็ นคลื่นไฟฟ้ าส่งมายังเซลล์สมอง ทีเ่ ซลล์สมอง จะมีเวทนาธาตุสญ ั ญาธาตุและสังขารธาตุประจาการทาหน้าทีอ่ ยู่ โดยจะ รับสัญญาณไฟฟ้ าจากปลายประสาทแล้วมาประมวลผลตามกลไกของ ธรรมชาติ ประมวลผลเสร็จ ก็ส ร้า งพลัง งานไฟฟ้ า ออกมาเพื่อ กระท า ปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไป ปฏิกิรยิ าที่ถูกสร้างมาใหม่ในครัง้ แรกจะมีความเป็ นกลางความ เป็ นธรรมดา แต่จะถูกทาให้คลาดเคลื่อนด้วยอิทธิพลของ ธาตุเลวสาม ธาตุ คืออวิ ชชาธาตุสญ ั ญาธาตุและสังขารธาตุ พระพุทธเจ้าเรียกว่า ธาตุ เ ลวสามตัว นี้ ท าให้ เ กิด วิป ลาส มีธ าตุ เ ลวก็ม ีวิป ลาส คือ มีค วาม คลาดเคลื่อนเบีย่ งเบนไปจากความจริง ปฏิกริ ยิ าครัง้ แรกทีเ่ กิดคือสภาพ เดิมแท้ แต่ถูกเบี่ยงเบนกลายเป็ นสภาพต่างจากเดิม ธาตุเลวทาหน้าที่ ๔
สมสุโขภิกขุ
เบีย่ งเบนความจริงนี้ เพราะมีแรงขับเคลื่อนมาจาก อนุสยั และอาสวะ ทีอ่ ยู่ ในสัญญาเลว สัญญาเลวจะทาการผสมปฏิกริ ยิ าเดิมแท้กบั ปฏิกริ ยิ าทีธ่ าตุ เลวสร้างมาผสมกัน ส่งไปให้สงั ขารปรุงแต่ทิฏฐิเลวออกมา(ทิฏฐิเลวคือ ความเห็นทีค่ ลาดเคลื่อนจากความจริง) การปฏิบตั ธิ รรมคือการทาให้สญ ั ญาธาตุรตู้ ามความจริงให้ได้ และ ต้องเป็ นความรู้ชนิดไร้สภาพ จึงจะไปลบล้างความเห็นผิดๆหรือทิฏฐิเลว ได้ จึงใช้วธิ คี ดิ ไม่ได้ ธรรมชาติกาหนดกลไกมาว่าต้องใช้สมั มาสติอนาสวะ เท่านัน้ จึงจะไปลบล้างสัญญาเลวให้กลายเป็ นสัญญาดี และใช้สญ ั ญาดีไป สร้างทิฏฐิดี ทิฏฐิดที ่ถี ูกสร้างมาใหม่จะถูกสัญญาฝ่ ายดีบนั ทึกไว้ สัญญา เลว(ปปั ญจสัญญา)กับสัญญาดี(นิปปปั ญจสัญญา)ที่อยู่ในสมองก็จะต่อสู้ ช่วงชิงการเป็ นผูน้ าในการส่งข้อมูลให้สงั ขารธาตุ ตรงนี้คอื จุดทีเ่ รียกว่ามี สติแต่ทาได้บา้ งทาไม่ได้บา้ ง เพราะมันขึน้ อยู่กบั สัญญาฝ่ ายดีมกี าลังมาก แค่ไหน นักปฏิบตั ิถือ ว่าเป็ นแค่คนเลี้ยงสัตว์ ทาหน้าที่ให้อาหาร จะให้ อาหารฝ่ ายไหนเท่านัน้ เอง ให้อาหารฝ่ ายเลวก็ให้ด้วยความคิด ว่ามีตวั กู ของกูมคี วามอยากความยึดป้ อนให้สญ ั ญาเลวสัญญาเลวก็มกี าลัง แต่ม ี ความรู้ต ามความจริง ขึ้น มาบ้างเพิ่ง เริ่ม ให้อ าหารแก่นิป ปปั ญ จสัญ ญา แรกๆจึงอาจขลุกขลัก แต่ถา้ ไม่หยุดฝึกสัมมาสติอนาสวะไปเรื่อยๆ สัญญา ดีกม็ กี าลังขึน้ มา จนสามารถชนะสัญญาเลวได้มากขึน้
๕
เกิดทันทีดบั ทันที
แต่ สิ่ ง ที่ น่ า กั ง วลพอสมควรก็ คื อ สั ญ ญาดี จ ะรั บ ข้ อ มู ล จาก สัมมาสติอนาสวะเท่านัน้ สภาวธรรมอื่นๆไม่สามารถเชื่อมต่อกับสัญญาดี ได้เลย สัญญาดีจงึ เป็ นรองสัญญาเลวอย่างมาก เพราะสัญญาเลวรับข้อมูล จากสภาวธรรมได้มากมายหลายชนิด เพราะธาตุเลวสามตัวนัน่ แหละคือ ต้ น เหตุ ข องปั ญ หามัน สามารถปรุ ง ทิ ฏ ฐิ เ ลวได้ สุ ด จะพรรณนา แต่ นิปปปั ญจสัญญาเปิ ดประตูรบั ข้อมูลใหม่จากสัมมาสติอนาสวะเท่านัน้ นัก ปฏิบตั ิ 99.99% จึงปฏิบตั ธิ รรมเนิ่นช้า เพราะไม่เข้าใจในจุดนี้ ปล่อยให้ การปฏิบตั อิ ยู่ในการควบคุมดูแลและชักใยจากธาตุเลวสามตัว จึงไม่รจู้ กั ธรรมอันเลวในความเป็ นธรรมอันเลว ธรรมอันดีในความเป็ นธรรมอันดี ใครต้องการหลุดพ้นจากทุกข์จริงๆ จึงต้องเข้าใจกลไกธรรมชาติ ให้ถูกตรง จะได้ปฏิบตั ติ นต่อสภาวธรรมทัง้ หลายอย่างไม่วปิ ลาส เรียกว่า ต้องมีสมั มาทิฐชิ นิดพิเศษคือรูจ้ กั มิจฉาทิฐใิ นความเป็ นมิจฉาทิฐิ นับตัง้ แต่ เริม่ การปฏิบตั ิ รูจ้ กั ทางดีทางเลว ธรรมดีธรรมเลว และวิธปี ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ิ เลวด้วย อย่าไปเข้าใจว่ าปฏิบตั ธิ รรมแบบไหนก็ดที งั ้ นัน้ ความเห็นแบบ นัน้ หลักศาสนาถือว่าเป็ นมิจฉาทิฐิ วิ ธีทาลายสัญญาเลว ไม่ม ีวิธีอ่ืน นอกจากต้องระลึกชอบด้วย อุ บ ายที่เ ป็ น ความจริง แท้เ ท่ า นัน้ สติท่ีร ะลึก ความจริง แท้จ ะมีพ ลัง ไป ปรับเปลี่ยนสัญญาเลวให้กลายเป็ นสัญญาดีเอง การที่จะรู้ว่าสติท่เี ราฝึ ก ระลึกมีกาลัง เพียงพอที่จะทะลุทะลวงเข้าไปในสัญญาเลวได้หรือไม่ให้ สังเกตจากปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สัมโพชฌงค์เจริญนันคื ่ อ สัญญาเลวจะค่อยๆพินาศ โดยเราจะไม่รู้ตวั เพราะตอนอุเบกขามันไม่ม ี ตัวเราไปแล้ว มันจึงไม่ใช่อุเบกขาของเรา อุเบกขาเป็ นปฏิกริ ยิ าอย่างหนึ่ง ไม่ ม ีใ ครเป็ นเจ้ า ของ แต่ อุ เ บกขาจะเป็ นฐานให้ ส ัม มาญาณะเจริญ สัมมาญาณะเจริญมันจะไปเปลีย่ นแปลงข้อมูลในสัญญาเลวเอง ๖
สมสุโขภิกขุ
ด้วยเหตุน้ีถ้าระลึกชอบด้วยอุบายที่ตรงตามความจริง ระลึกจบ ปล่อยวางว่างเย็นได้ มันเหมือนไม่มอี ะไรเกิดขึน้ นอกจากเย็นอกเย็นใจ ดู ไม่เ หมือ นว่ าเกิดความรู้อ ะไร นัน่ เพราะสัม มาญาณะเป็ นองค์ธรรมไร้ สภาพ มันเกิดตอนไหนมากน้อ ยเท่าใดจะไม่มใี ครรู้ จะรู้ก็ต่อเมื่อมันทา หน้าที่ชะล้างอนุ สยั อาสวะออกไปได้แล้วเราจะรู้ว่ามันเย็น แต่จะไม่รู้ว่า เพราะอะไรมันถึงเย็น ความเย็นทีเ่ กิดทุกๆครัง้ มีปัญญาชอบอนาสวะเกิด ทุกๆครัง้ เย็นนานปั ญญาชอบยิง่ เกิดสะสมมากขึน้ นักปฏิบตั ิท่ีฝึกสติชอบระลึกชอบด้วยอุบายรู้ตามความจริง จึง อย่าไปกังวลว่าเราไม่เกิดความรูอ้ ะไรเลย เพราะตอนเกิดความรูม้ นั ไม่ม ี เรา จึงไม่มตี วั ตนความรูต้ วั ตนผูไ้ ด้รบั ความรู้ มันมีแต่ตวั ตนของอนุสยั อา สวะค่อยๆหายไป เจ้าสองตัวนี้มนั เป็ นของร้อนพอมันถูกสัมมาญาณะขับ ออกไปมันเลยเย็น สัมมาญาณะเข้ามาแทนที่ธาตุเลวสามตัวมากเท่าใด เรายิง่ เย็นมากเท่านัน้ สัมมาญาณะเกิดเพราะสัมมาสติอนาสวะ จึงอย่า เป็ นห่วงว่าฝึกแล้วไม่เห็นรูอ้ ะไร เพราะความรูต้ ามความจริงมันไม่มสี ภาพ ใดๆมาบ่งบอกว่า เกิดความรู้ข้นึ มาแล้ว มันต่างกับสัมมาญาณะสาสวะ แบบนัน้ มันมีสภาพปรากฏให้ตวั กูเป็ นผูร้ ู้ผเู้ ห็นผูเ้ ป็ นผูไ้ ด้ จึงรูส้ กึ ว่ารูว้ ่าได้ ว่าเป็ น ทัง้ ๆที่ความจริงมันเป็ น มายาคติทงั ้ นัน้ ของจริงจะไร้สภาพ แต่ม ี อยู่ เพือ่ รอคนทีไ่ ร้ตวั ไม่มตี นไปดึงมันออกมาดับธาตุเลวสามตัวให้สน้ิ ซาก อวิชชาหรือธาตุเลวแปลว่ายังไม่รู้ เพราะยังไม่รจู้ งึ คิดว่ามีสาระ จึง คิดว่าเป็ นปั จจุบนั จึงคิดว่าอดีตกับปั จจุบนั คือเราคนเดียวเป็ นผูท้ า จึงคิด ว่าจริง จึงคิดว่ามีตวั กู จึงอยากจึงยึด จึงคิดว่ามีของกู จึงคิดว่าทุกๆสิง่ ที่ ผัสสะมีอยู่จริง ต่อเมื่อมีวชิ ชา รูต้ ามความจริงในเรื่องใดๆ อวิชชาในเรื่องนัน้ ๆก็ จะหายไป พอไม่มอี วิชชาในเรื่องใด สัญญาเลวในเรื่องนัน้ ก็ไม่ม ี ทิฏฐิเลว ๗
เกิดทันทีดบั ทันที
ก็ย่อมไม่มตี ามไปด้วย การปรุงความเห็นผิดก็ไม่เกิด ทุกข์จึงเกิดไม่ได้ เพราะเหตุน้ี ดังนัน้ การระลึกชอบด้วยอุบายรู้ตามความจริง คือปฏิกริ ยิ าทีส่ ติ สร้างขึ้นมาเพื่อไปทาลายธาตุเลวทีเดียวสามตัวเลย ธาตุเลวสามตัวถูก ทาลายในเรื่องใด ปฏิกริ ยิ าครัง้ ต่อๆไปในเรื่องนัน้ ก็จะมีความถูกตรงเป็ น สัมมาทิฐิ และจะมีสมั มาญาณะ(ธาตุด)ี หรือญาณความรูท้ ถ่ี ูกตรงคอยสร้าง สัญญาดีทิฏฐิดีแทนที่จะให้ธาตุเลวสร้าง ชีวติ ก็จะดาเนินไปเหมือนเดิม แต่ไม่เหมือนเดิมตรงที่จะไม่มที ุกข์ เพราะมีความเป็ นอยู่ชอบคือความ เป็ นอยู่ทไ่ี ม่ถูกครอบงาด้วยธาตุเลวทัง้ สาม นักปฏิบตั ทิ ่พี อระลึกชอบด้วยอุ บายชอบจนเย็นได้เป็ นครัง้ คราว จะเริม่ เข้าใจกลไกของธรรมชาติบ้างแล้ว คือชีวติ เหมือนไม่ได้อะไร แต่ก็ ได้ แต่สงิ่ ที่ได้มองไม่เห็นว่าได้อะไร ปฏิบตั ถิ ูกทางจะต้องเป็ นเช่นนี้ จะรู้ แค่มกี ารเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีมากๆ แต่ไม่รู้ว่ามันเปลี่ยนได้ยงั ไง จึง ขอให้ป ฏิบัติซ้ า ๆในสิ่ง ที่ท าแล้ว เปลี่ย นแปลงในทางที่ดีข้นึ เพราะวัน ข้างหน้าเมื่อถึงจุดจุดหนึ่งจะเข้าใจจนเห็นแจ้งเองว่าอะไรเป็ นอะไร สิง่ ที่ ไม่รู้จะได้รู้สงิ่ ที่รู้ไม่ได้ก็จะได้รู้ว่าทาไมจึงรู้ไม่ได้ ศาสนาพุทธไม่มคี วาม ลึกลับ มีแต่ความลึกล้ากับความลึกซึง้ เมือ่ ถึงเวลาทุกอย่างจะกระจ่างเอง
๘
สมสุโขภิกขุ
ธรรมะบทแรกของศาสนาพุทธ มีชื่อว่า "ธรรมจักขุ" ใจความส าคัญ คือ สิ่ง ที่เ กิด เป็ น ธรรมดาย่ อ มดับ ไปทัน ทีเ ป็ น ธรรมดา ใครเห็นแจ้งธรรมะบทนี้คอื ผู้มดี วงตาเห็นธรรมจะกลายเป็ นผู้ แรกเข้ากระแส(โสดาบัน)ทันที เคล็ดลับสาคัญอยู่ท่ี ต้องฝึกมีสติระลึกอุบายชอบว่า สิง่ ทีเ่ กิดเป็ น เรื่องธรรมดา และเมื่อเกิดทันทีย่อมดับไปทันทีไม่มคี า้ งคาคงสภาพเป็ น ตัวตนอยู่ได้เลย หลายคนไม่สามารถเห็นการเกิดดับก็เพราะไม่เพ่งดูแล้วระลึก ตามว่ามันดับไปทันทีเป็ นธรรมดา เห็นการเกิดแล้วคิดเอาเองว่ามันคง สภาพอยู่ เ ป็ น ระยะเวลาหนึ่ ง มัน จึง ดับ ใครคิด เช่ น นั น้ คือ ผู้ม ีธ าตุ เ ลว (อวิชชา)สัญญาเลวและทิฏฐิเลวครอบงาอยู่ จึงทาให้เห็นผิดไปจากความ จริง เห็นผิดจากความจริงเรื่องใดย่อมเป็ นทุกข์เพราะเรื่องนัน้ ธรรมชาติน้ีไม่มตี วั ตนสิง่ ใดค้างคาอยู่ได้ มีแต่เกิดทันทีดบั ทันที เป็ นธรรมดา ซึ่งจะเห็นเช่นนัน้ ได้ต้องระลึกชอบให้เป็ น ฝึกเพ่งมองดูสงิ่ ที่ เกิดเช่นอาการรูอ้ าการรูส้ กึ อาการนึกคิด เพ่งให้จริงๆจังๆมองให้เห็นให้ได้ ๙
เกิดทันทีดบั ทันที
ว่ามันเกิดแล้วดับไปทันทีจริงๆ ถ้า ไม่เพ่งดูจะไม่เห็นการดับ ไม่เห็นการ ดับย่อมเข้ากระแสนิพพานไม่ได้ ความคิดความรูส้ กึ การรับรู้ มันเกิดปุ๊ บก็ ดับปั บ๊ เป็ นของชัวคราวไปทุ ่ กๆสิง่ ทุกๆอย่าง ฝึกมองจากของจริง กับสิง่ ที่ทาปฏิกิรยิ ากับตาหูจมูกลิ้นกายใจ มันกระทบปุ๊ บก็ดบั ปั บ๊ ดับแล้วมัน กระทบใหม่จึง เกิด ใหม่ มัน เป็ น กฏธรรมชาติม นั เป็ น นิย ามแห่ ง ความ ถู กต้อ ง ใครเห็น ว่ามัน เกิดทัน ทีแล้วดับทัน ทีได้เขาเรียกว่า ผู้ก้าวเข้าสู่ นิยามแห่งความถูกต้อง(สัมมัตตนิยาม) แต่ถ้าใครมองไม่เห็นว่ามันดับ ในทันทีเขาเรียกว่า ผูก้ า้ วล่วงเข้าสูค่ วามไม่ถูกต้อง(มิจฉัตตนิยาม) ผู้ก้าวล่วงเข้าสู่ความถูกต้องคือผู้แรกเข้ากระแส(โสดาบัน ) วัน อาสาฬหบูชา เมื่อสองพันกว่าปี พระพุทธเจ้าแสดงธรรมบทนี้เป็ นครัง้ แรก เป็ นธรรมบทแรกของศาสนาพุทธในสมัยนี้ ผลคือทาให้อญ ั ญาโกณทัญญะ มีดวงตาเห็นธรรมหรือเป็ นผู้แรกเข้ากระแส(โสดาบัน)องค์แรกในศาสนา พุทธสมัยนี้ หลายคนยังไม่เข้าใจธรรมะบทนี้ จึงใช้วธิ ีนาไปท่องไปจาไปคิด ไม่ได้ทดลองฝึ กระลึก บางคนก็อยากระลึกแต่ระลึกไม่เป็ นจึงใช้คดิ แทน นัน่ ย่อมไม่ได้ผล จึงต้องรูจ้ กั ระลึก ชอบให้ได้ให้เป็ น แล้วนาวิธรี ะลึกชอบ มาระลึกในทุกๆปฏิกริ ิยาที่เกิดขึน้ กับตาหูจมูกลิ้นกายใจ ว่ามันเกิดทันที แล้วดับทันทีใช่หรือไม่ มันจะเกิดกี่ครัง้ ต่อเนื่องรวดเร็วขนาดไหน มันก็ เกิดปุ๊ บดับปั บ๊ ทันที อย่าไปคิดเอาเองว่ามันไม่ได้ดบั ทันที ธรรมชาติน้ถี า้ มี สิง่ ใดคงสภาพได้นัน่ หมายถึงมันมีตวั มีตนสิง่ นัน้ ขึน้ มาแล้ว การคิดผิดๆ เช่นนัน้ ก็เพราะอวิชชา(ธาตุเลว)สัญญาเลวมันเคยชินที่จะคิดเช่นนัน้ จึง ไหลความรู้สึกว่ามีต ัวมีต นของสิ่งที่ม าผัสสะทุกอย่างไป เลิกคิดว่ามัน ไม่ได้ดบั ทันทีไปเสียเพราะมันเป็ นมิจฉาทิฐิ หันมาเพ่งดูมนั ดับหรือดูมนั หายไป แค่กระพริบตามันเกิดแล้วมันก็หายไป ลมหายใจเกิดแล้ วมันก็ ๑๐
สมสุโขภิกขุ
หายไปเป็ นระยะๆแล้วเกิดใหม่หายไปใหม่เป็ นระยะๆ เลิกคิดผิดหลงผิด ว่ามันเกิดขึน้ แล้วตัง้ อยู่แน่นิ่งเป็ นตัวเป็ นตน ไม่ได้คดิ ว่ามันเป็ นธาตุเสริม ธาตุขนั ธ์เสริมขันธ์ปฏิกริ ยิ าเสริมปฏิกริ ยิ าสังขารเสริมสังขารไหลแทนที่ ต่อเนื่องไม่รู้ว่าจะหยุดปรุงหรือไหลเมื่อใด ไม่ เห็นว่ามันเกิดปุ๊ บดับปั บ๊ ก็ ย่อ มไม่เห็น การสิ้น ไปตลอดเวลาของปฏิกิริยาทุกชนิด(ขยัฏเฐนะ) ไม่ เห็นขยัฏเฐนะก็ย่อมไม่เห็นการดับไปสิ้นไป ก็ย่อมไม่เห็นความไม่เที่ยง ถ้าสืบสาวราวเรื่องต่อไปอีกก็ย่อมไม่เห็นอนัตตาแต่กลับเห็นความมีตวั ตน ตัวกูของกูแทน ย่อมหมดโอกาสเข้ากะแสนิพพาน ดังนัน้ ทุกๆท่านจึงสามารถทดลองพิสูจน์สงิ่ ที่อธิบายมาแล้วนี้ได้ ด้วยวิธรี ะลึกง่ายๆว่าอะไรๆก็ “ดับไปแล้ว” เกิดปุ๊ บมันก็ดบั ปั บ๊ ทัง้ นัน้ ไม่ ว่ารูปหรือนาม มองให้เห็นว่ามันเกิดปุ๊ บดับปั บ๊ ให้ได้สกั อย่างสองอย่างก็จะ เริ่ม เข้าใจและเข้ากระแสนิพพานชัว่ คราวส าเร็จแล้ว ฝึ กต่ อ ไปยิ่ง เห็น ชัดเจนขึน้ แต่ขอ้ สาคัญต้องใช้การระลึกเท่านัน้ อย่าไปใช้การคิดเด็ดขาด
๑๑
เกิดทันทีดบั ทันที
วิ ธีฝึกง่ายๆ ฝึกตอนนี้เลย คือมีสติระลึกตามดูความคิดความรูส้ กึ ผัสสะทุกๆผัสสะทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ มันดับปุ๊ บระลึกปั บ๊ ว่า "ดับไป แล้ว " ระลึก ซ้ า ๆเช่ น นี้ส ติจ ับ เฉพาะตอนมัน ดับ เท่ า นัน้ จะเห็น ได้ด้วย ตนเองว่าพอมีสติพอระลึกจบ มันจะว่างเย็นให้รู้สกึ ได้ กายจะตึงเป็ นปิ ติ ลมหายใจจะสงบระงับแผ่วเบาลง สติจะตัง้ มั ่นกลายเป็ นสมาธิอ่อนๆ พอ ไปทาอะไรต่อแม้แต่นงั ่ อยู่กบั ที่มนั ก็จะปล่อยวางว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ นัน่ คือเริม่ รู้จกั ความจริงว่า “สิง่ ใดเกิดขึ้นเป็ นธรรมดาย่อมดับไปทันทีเป็ น ธรรมดา” ใครทาได้นนแหละธรรมจั ั่ กขุเกิดขึน้ แล้ว การเกิดของนามจะทาปฏิกริ ยิ าแว๊บเดีย วหายแบบนี้ แต่ก่อนดับ สะเก็ดปฏิกริ ยิ าจะไปกระตุ้นให้ขนั ธ์ถดั ไปทาหน้าที่สร้างปฏิกริ ยิ าใหม่ให้ เกิด จึง กลายเป็ นตัวหนึ่งดับตัวต่ อไปเกิดแล้วดับทันที ก่อ นดับสะเก็ด ปฏิกริ ยิ าก็ไปกระตุน้ ธาตุขนั ธ์ถดั ไปให้ผุดขึน้ มาทาหน้าทีแ่ ทนมัน ตัวใหม่ ดับก็ทาให้ตวั ใหม่กว่าเกิด วนเป็ นวัฏจักรเช่นนี้ตลอดไป การระลึกว่า "มัน ดับไปแล้ว" จะเป็ นการตัดห่วงโซ่วฏั จักรให้ขาด มันเลยปล่อยวางว่างเย็น ทีว่ ่างเย็นนัน้ อย่าไปคิดว่าจิตมันว่างเย็น เพราะความจริงจิตมันไม่มอี ยูจ่ ริง แต่ ม นั คือสัมมาสมาธิอนาสวะแบบอ่อนๆบวกกับสัมมาญาณะอนาสวะ ๑๒
สมสุโขภิกขุ
แบบอ่อนๆ ซึ่งเป็ นตัวสร้างพลังความสามารถดับสังขารดับทุกข์ได้ จึงทา ให้เกิดอาการปล่อยวางว่างเย็นเป็ นนิพพาน อุบายชอบคือธรรมชาติจริงแท้ทุกชนิด เช่นมันเป็ นธาตุ มันเป็ น ขันธ์ มันเป็ นปฏิกริ ยิ า มันดับไปแล้ว มันไร้สาระ มันไม่มอี ยู่จริงแล้ว มัน เป็ นอดีต มันเป็ นกระแสธรรมชาติ มันเป็ นระบบธรรมชาติ ฯลฯ ความจริง แท้ทุกชนิดนามาเป็ นอุบายชอบได้หมด วิธสี งั เกตว่าอุบายที่นามาใช้มนั เป็ นความจริงแท้หรือไม่ดูได้จาก ถ้าเป็ นความจริงแท้ทถ่ี ูกต้องพอระลึกชอบมันต้องว่าง ต้องว่างจริงๆ ถ้ารู้สึก บวกลบชอบใจดีใจภูมิใจ สงสัยว่าความว่างนัน้ คือ อะไรชื่ออะไรเราเป็ นอะไรเราได้อะไร มีความรู้สึกมีคานึ งคานวณมี ตรรกะมีเหตุผลมีต่อยอดแตกลูกแตกหลานออกไป แบบนัน้ ไม่ใช่ อุบายชอบ อุบายชอบระลึกแล้วต้องมีปิตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาปล่อยวางว่าง เย็นไม่เป็ นทุกข์ ต้องแบบนี้จงึ จะว่างจริง ความว่างจะคงอยู่ตราบที่สมั มาสมาธิยงั มีกาลัง สมาธิจะเป็ นตัว คุมปั ญญา สมาธิหายไปปั ญญาก็จะหายไปตาม ปั ญญาหรือความว่างนี้ ถ้าเกิดความรูส้ กึ ใดๆเกีย่ วกับปั ญญาหรือเกีย่ วกับความว่าง ต้องกาจัดให้ กลายเป็ นความว่างจริงๆ ต่ อ มาฝึ ก ช านาญขึ้น สิ่ง ที่จ ะเกิด ตามมาก็คือ เกิด ความว่ า งอยู่ ภายใน มีปฏิกริ ยิ าต่างๆไม่ว่าจะเป็ นนามธรรมหรือรูปธรรมก็ตามมันทา ปฏิกริ ยิ าของมันอยู่ภายนอกความว่าง จะรูส้ กึ มีสมาธิหล่อเลี้ยงความว่าง อยู่ แล้วมีปฏิกริ ยิ าทุกชนิดที่ผุดขึน้ มามันลอยๆอยู่ภายนอก ถ้าทาได้ถงึ ตรงจุดนี้ ให้มสี ติระลึกว่าความว่างนัน้ คือปั ญญา อย่าไปใส่เหตุผลใดๆให้ ความว่าง อย่าไปคิดเรื่อ งจิต ว่างจิต ปภัส สร ความว่างนัน่ แหละคือ จิต ๑๓
เกิดทันทีดบั ทันที
ปภัสสรแล้ว แต่ไประลึกว่ามันเป็ นจิตปภัสสรไม่ได้ ระลึกว่ามันเป็ นอะไร มันจะไม่เป็ น ไม่ระลึกมันจึงจะเป็ น ซึ่งถ้าขจัดปฏิกริ ยิ าต่างๆทีม่ ารบกวน ความว่างข้างในจนว่างบริสุทธิ ์จริงๆ ให้ระลึกว่า ความว่างนัน่ คือปั ญญา ความว่างไปรับรู้อะไรก็ระลึกว่า "ปั ญญา" มันรับรู้ ปั ญญามันคิด ปั ญญา มันปรุง ยิง่ มีสมาธิมากปั ญญายิง่ แหลมคม ปั ญญาทีแ่ หลมคมมันจะค่อยๆ กระจายรัศมีความว่างออกไปครอบงาปฏิกิรยิ าข้างนอกจนปั ญญารู้สกึ ขึน้ มาเองว่าข้างนอกก็เป็ นสิง่ ว่างเปล่าเหมือนข้างใน แม้ขา้ งนอกจะมีการ ปรุงไม่ว่าปรุงความคิดความรูส้ กึ ใดๆก็ตามแต่การปรุงในขณะทีม่ ปี ั ญญา ว่างๆครอบงาอยู่มนั จะไม่รู้สกึ แบบเดิม ณ ตอนนี้การประกอบกิจกรรม ต่างๆย่อมทาได้ตามปกติ แต่เป็ นการทางานด้วยความว่าง สังเกตเวลา ฝึ กถ้าถึงตอนนี้จะเข้าใจเอง แต่ห้ามไปเร่งรัดคิด จะทาให้มนั เกิดมันจะไม่ เกิด เราต้องระลึกอุบายชอบจนมันว่าง ว่างแล้วมีอะไรผุดขึน้ มาใช้ความ ว่างคุมสิง่ ที่ผุดพร้อมๆกับระลึกว่า "ปัญญา" มันทางานแล้ว ปั ญญามัน ทาหน้าที่อยู่ ระลึกแค่อย่างนี้เป็ นต้น หลังจากนัน้ ให้ระลึกว่าสิง่ ทีอ่ ยู่นอก ความว่ า งทัง้ หมดไม่ว่ าจะเป็ น ปฏิกิริยาใดๆจงระลึกว่ า มัน เป็ น "อดีต " ระลึกสัน้ ๆว่า "อดีต" พอ ความรู้สกึ ตอนนัน้ มันจะมีความว่างอยู่ภายใน แล้วรู้สกึ เหมือนมี อะไรไปควบคุมปฏิกริ ยิ าภายนอก ทุกคนจะรู้สกึ ได้ อย่าไปคิดว่าจิตว่าง จิตดูจติ เห็น ต้องระลึกสัน้ ๆว่า สิ่ งที่ดคู ือปัญญา สิ่ งที่ถกู ดูคืออดีต แล้วก็ ทางานต่างๆต่อไป พอสมาธิคลายตัวก็มสี ติระลึกชอบด้วยอุบายชอบใหม่ พอว่างใหม่ก็ระลึกว่าปั ญญามันเห็นมันรู้มนั รู้สกึ มันคิดมันปรุง มันผัสสะ กับปฏิกริ ยิ าภายนอกที่มนั ก็ว่างเหมือนภายใน ต่างกันตรงที่ ภายในว่าง แบบไร้ปฏิกริ ยิ าใดๆ แต่ภายนอกยังมีปฏิกริ ยิ าอยู่แต่มนั มีอยู่แบบว่างๆ มันเลยกลายเป็ นว่างทัง้ นอกทัง้ ใน แต่ไม่ใช่ว่างแบบสมถะ เพราะมันว่างก็ ๑๔
สมสุโขภิกขุ
จริง มันมีสมาธิกจ็ ริง แต่มนั ทางานได้ ว่างแบบสมถะจะทาอะไรไม่ได้เลย ต้องนิ่งต้องนัง่ แต่สมาธิแบบวิปัสสนาซึ่งเป็ นสัมมาสมาธิแบบอนาสวะ สามารถทากิจต่างๆได้ตามปกติแต่ทาแบบว่างๆ ใครเคยอ่านตารามาบ้าง แล้วแต่ไม่รวู้ ่าทางานด้วยความว่างเป็ นเช่นไรก็จะรูไ้ ด้เองในตอนนี้ ต่ อ มาเมื่อ ท าเก่ ง มากขึ้น สติจ ะเริ่ม สมบู ร ณ์ สมาธิก็ส มบู ร ณ์ ปั ญญาหรือความว่างก็สมบูรณ์ มันจะทิ้งอุบายชอบไปเองตามกลไกของ ธรรมชาติ คราวนี้พอมีปัญหาใดๆเกิดขึน้ แค่มสี ติ สติกจ็ ะไปดึงปั ญญามา จัดการปั ญหาต่างๆเอง แต่อย่าไปใจร้อนต้องทนได้รอได้ เมื่อถึงเวลาการ ปฏิบัติจะไหลไปสู่จุดนัน้ เอง นักปฏิบัติฝึ กได้ส ร้างได้แค่ส มั มาสติด้วย อุบายชอบเท่านัน้ สิง่ ต่างๆตามที่กล่าวมานี้มนั จะเกิดเองต้องรอให้มนั ค่ อ ยๆเกิ ด เองที ล ะอย่ า งสองอย่ า ง ระหว่ า งที่ ม ั น ยั ง ไม่ เ กิ ด ต้ อ ง ขยัน หมั ่นเพีย ร ระลึก ชอบด้ว ยอุ บ ายชอบ ว่ า ปั ญ ญามัน คิด ปฏิกิริยา ทีส่ ปาร์คกันอยู่รอบรัศมีความว่างก็ระลึกว่ามันเป็ นอดีต ระลึกสองอุบายนี้ ก็พอแล้วทีจ่ ะทาให้เกิดความว่างทัง้ นอกทัง้ ใน ว่างคือปัญญา วุ่นคืออดีต ไม่ใช่ตัวกู ไม่ใช่ของกู ไม่ใช่ของจริง เป็นเพียงปฏิกิริยาธรรมชาติ เกิดทันทีดับทันทีเป็นธรรมดา ไร้สาระไร้แก่นสาร ๑๕
เกิดทันทีดบั ทันที
ปัญญากับอดีต เมื่อ ฝึ ก สัม มาสติอ นาสวะ(ระลึกชอบด้ว ยอุบ ายชอบ) ตรงตาม มาตรฐานของกฏธรรมชาติ สิง่ ทีจ่ ะเกิดตามมาคือ ภายในคือ สัมมาญาณะ ปั ญญาแบบว่างๆ ภายนอกคือ ทุกๆสรรพสิง่ ทีป่ ั ญญาว่างๆจะมองว่ามันคือ "อดีต" ทัง้ นัน้ ไม่ว่ารูปหรือนาม สิง่ ดังกล่าวนี้จะค่อยๆเกิดขึน้ เองตามกฏธรรมชาติเมื่อมีสมั มาสติ ตรงตามมาตรฐาน แต่นักปฏิบตั สิ ามารถช่วยทาให้ไม่เนิ่นช้าด้วยวิธรี ะลึก ตามความจริง เช่นพอมีสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบจนเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิ สมาธิอุเบกขา ภายในจะว่าง ขอให้ระลึกว่าความว่างนัน้ คือ "ปั ญญา" พอ มีผสั สะใดๆเกิดขึน้ ให้ระลึกว่าสิง่ ทีม่ าผัสสะคือ "อดีต" ระลึกแค่สองอย่าง อย่างแรก สติจบั ทีค่ วามว่างแล้วระลึกว่า "ปั ญญา" อย่างทีส่ อง สติจบั ทีผ่ สั สะแล้วระลึกว่า "อดีต" มีสติระลึกอุบายชอบที่ถูกต้องตรงตามความจริง ย่อมทาให้เกิด ปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาตามมา ความว่างก็จะเกิดตามมา ความว่างจะ อยู่นานหรือไม่ขน้ึ อยู่กบั กาลังสัมมาสมาธิ (ฌานอนาสวะ) สัมมาสมาธิม ี ก าลัง มาก ความว่ า งก็ ด ารงอยู่ น านมากตามไปด้ ว ย ความว่ า งมี ๑๖
สมสุโขภิกขุ
ความสามารถทางานได้ เราเรียกตอนความว่างทาหน้าที่ว่า ปั ญ ญาทา หน้ าที่ หน้ าที่ของความว่างคือแผ่รงั สีความว่างครอบง าปฏิกิริยาทุกๆ ปฏิกริ ยิ าทีม่ ากระทบ ใครทาได้ถงึ จุดนี้จะเข้าใจคาตรัสของพระพุทธเจ้าที่ ตรัสว่า “เธอจงมองโลกเป็ นของว่างเปล่า” การจะเห็น โลกเป็ นของว่ า งเปล่ า เร็ ว หรือ ช้ า จึง อยู่ ท่ีก ารฝึ ก สัมมาสติมใิ ช่ฝึกสมาธิ สัมมาสติกบั อุบายชอบจะเป็ นตัวหลักในการพบ โลกเป็ น ของว่ า งเปล่ า สัม มาสติท่ีถู ก ตรงตามมาตรฐานจะท าให้เ กิด ปิ ติปั สสัท ธิสมาธิอุเบกขาเสมอๆ สมาธิจ ากสัม มาสติจ ะเป็ น ดังแท่ ่ น ที่ มัน่ คงแข็ง แรงให้ เ ครื่อ งจัก รสัม มาปั ญ ญาตัง้ อยู่ ไ ด้ สมาธิ ไ ม่ ม ัน่ คง เครื่องจักรทีช่ ่อื สัมมาปั ญญาก็ทางานไม่ได้ สัมมาปั ญญาก็ไม่สามารถแผ่ รังสีความว่างไปครอบงาผัสสะที่มากระทบได้ ชีวติ ก็จะไม่ว่าง แต่สมาธิ แข็ง แรงเหมือ นแท่ น ภู ผ าหิน พอวางเครื่อ งจัก รย่ อ มเกิด ความมัน่ คง แข็งแรงไม่มคี วามหวั ่นไหวใดๆ เครื่องจักรสัมมาปั ญญาย่อมทางานเต็ม ประสิทธิภาพ ผัสสะใดๆผุดขึน้ มาสัมมาปั ญญาก็ดบั อวิชชาอนุสยั อาสวะที่ เคยครอบงาผัสสะนัน้ ๆให้หายไป จนไม่สามารถมาครอบงาผัสสะใดๆได้ อีกเลย ความรูส้ กึ ต่อผัสสะจึงมีการเปลีย่ นแปลงไป จากเดิมผัสสะสิง่ ใดมัน จะมีค วามร้อ นก็ก ลายเป็ น ผัส สะสิ่ง ใดจะมีแ ต่ ค วามเย็น นัน่ คือ สัม มา ปั ญญาทาหน้าที่แผ่ร ังสีเย็นมากาจัดรังสีร้อนจากธาตุเลวสามตัวสาเร็จ เมือ่ กาจัดธาตุเลวได้ ปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติทุกอย่างก็ดาเนินไปตามปกติ อย่ า งว่ า งๆอย่ า งเย็น ๆ ตรงจุ ด นี้ จะมีส ภาวธรรมสามอย่ า งท าหน้ า ที่ ร่วมกันประคองความว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ให้คงสภาพอยู่นานๆคือ ๑สัมมาสติ คอยระวังขวางกัน้ ธาตุเลวสามตัวไม่ให้ผุดมาผสมโรง เวลามีผสั สะ ๑๗
เกิดทันทีดบั ทันที
๒ สัม มาสมาธิ เป็ น เหมือ นแท่ น วางเครื่อ งจัก ร ท าหน้ า ที่ช่ วย สั ม มาปั ญญาที่ เ ปรี ย บเหมื อ นเป็ นเครื่ อ งจั ก รให้ ท าหน้ า ที่ ไ ด้ เ ต็ ม ประสิทธิภาพ ๓ ความว่ า งหรือ สัม มาปั ญ ญา ท าหน้ า ที่แ ผ่ ร ัง สีค วามว่ า งไป ทาลายอวิชชา ธาตุเลว สัญญาเลว ทิฏฐิเลว ไม่ให้ผุดขึน้ มาครอบงาชีวติ อีกต่อไป สภาวธรรม ๓ ชนิดนี้ทางานร่วมกันอย่างสมดุล ความว่างเย็นไม่ เป็ นทุกข์ก็จะมีตลอดไป เขาเรียกสภาวธรรมกลุ่มนี้ว่า "สัมปชัญญะอนา สวะ" มีสมั ปชัญญะจึงหมายถึงมีการทางานร่วมกันเป็ นทีม ช่วยเหลือซึ่ง กัน และกัน ที่จะไม่ยอมให้อ วิชชาหรือ ตัวกูของกูผุดขึ้น มาได้ ต่ างจาก สัมปชัญญะสาสวะตรงที่ สัมปชัญญะสาสวะมีตวั กูของกู สัมปชัญญะอนา สวะจะไม่มตี วั กูของกู นักปฏิบตั ิท่เี ก่งๆจะพบเองเห็นเองในภายหน้าว่า ฝึ กๆไปพอมี สัมมาสติอนาสวะปุ๊ บ สัมปชัญญะจะเกิดตามทันที ในสัมปชัญญะจะมีทงั ้ สัมมาสติสมั มาสมาธิสมั มาปัญญา แบบไร้สภาพ ทางานร่วมกัน มันจึงว่าง เย็น ต้อ งไม่ม ีความรู้สกึ ใดๆเจือปนอยู่ในความว่าง นัน่ จึง จะเรียกว่ามี สัม ปชัญญะอนาสวะ คือ มีสมั มาสมาธิสมั มาปั ญญาแบบว่างๆเย็นๆอยู่ ภายในและมีสมั มาสติเป็ นเหมือนนายประตูระวังภัยจากธาตุเลวสามตัว อยู่ ด่ า นหน้ า แท่ น สมาธิ แ ข็ง แรงเครื่อ งจัก รปั ญ ญาก็ ท างานได้ เ ต็ ม ประสิทธิภาพ สติเป็ นด่านหน้าธาตุเลวสามตัวผุดเมือ่ ใดก็กระตุน้ ให้สมั มา ปั ญญาแผ่รงั สีความว่างทาลายความวุ่นได้ทนั ที ตอนปฏิบตั ิแรกๆอาจ ขลุ ก ขลัก อยู่ บ้ า งแต่ ยิ่ง ฝึ ก ยิ่ง ท า สติ ส มาธิ ปั ญ ญาจะเข้ า รู ป เข้ า รอย กลายเป็ นสติสมั ปชัญญะทีท่ รงประสิทธิภาพได้ในสักวัน ๑๘
สมสุโขภิกขุ
เกิดทันทีดับทันทีเป็นธรรมดา วัน อาสาฬหบู ช าคือ วัน ที่พ ระอัญ ญาโกณฑัญ ญะมีด วงตาเห็น ธรรม คือ สามารถเห็น แจ้ง ได้ว่า “สิ่ งใดเกิ ดเป็ นธรรมดาย่อมดับ ไป ธรรมดา” ในการปฏิบตั ิจริงเพื่อความเห็นแจ้ง ต้องฝึ กมีสติระลึกชอบ ด้วยอุบายชอบว่า "รูปเกิ ดทันทีดบั ทันที" ผูจ้ ะมีดวงตามเห็นธรรมต้อง เห็นให้ได้ว่า รูปมันเกิดทันทีแล้วดับทันที เพ่งพิสูจน์ให้เห็นมันเกิดทันที ดับทันทีให้ได้ ทุกๆคนก็จะเป็ นผูม้ ดี วงตาเห็นธรรมแบบพระอัญญาโกณ ฑัญญะ ทุกคนมาฝึ กทาตามธรรมะบทแรกที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้กบั ปั ญจ วัคคียก์ นั เถิด จะได้เป็ นผูม้ ดี วงตามเห็นธรรมใน "วันดวงตาเห็นธรรม" นามธรรมก็เช่นกัน เกิดทันทีดบั ทันทีเช่นกัน ฝึกควบคู่ไปกับการ เพ่งรูป มีสติจบั ทีค่ วามคิดหรือนามธรรมทุกชนิด แล้วระลึกตามความจริง ว่า นามทัง้ หลายเกิดทันทีดบั ทันที มองให้เห็นความดับไปทันทีให้ได้ เหตุ ทีป่ ุถุชนไม่เห็นว่ามันเกิดทันทีดบั ทันทีเพราะยังไม่มดี วงตาเห็นธรรม เห็น ว่ารูปหรือนามเกิดทันทีดบั ทันทีเมือ่ ใดมีดวงตาเห็นธรรมเมือ่ นัน้ มีอวิชชา ย่อมเห็นว่ามันเกิดแล้วตัง้ อยู่อย่างนัน้ ไม่ดบั ในทันที เพราะมันมีเหตุปัจจัย ทาให้มกี ารเกิดสืบต่อที่รวดเร็ว เลยไม่รู้ว่าที่จริงเราเห็นสิง่ ที่เกิดดับอยู่ ๑๙
เกิดทันทีดบั ทันที
ตลอดเวลามิได้เห็นสิง่ ใดสิง่ หนึ่งนอนเนื่องประจาทีเ่ ลยสักอย่างเดียว มันดู เหมือนนอนเนื่องไม่ได้เกิดดับเพราะขาดการระลึกตามความจริงว่า "รูปเกิ ดทันทีดบั ทันที" "นามเกิ ดทันทีดบั ทันที" รูปคือธาตุสท่ี าปฏิกริ ยิ ากัน เกิดเป็ นกระแสธรรมชาติ เหมือนการ กระทบกัน ของหิน ภู เขาไฟ ทาให้เกิดประกายไฟ แล้วก็ดบั จะให้เกิด ประกายไฟต้องกระทบกันใหม่ ถ้ากระทบกันถีๆ่ ไฟก็จะเกิดต่อเนื่องดุจไฟ พะเนียง กฎธรรมขาติมนั เป็ นเช่นนี้ มันเกิดทันทีดบั ทันที สิง่ ที่เกิดมิใช่ม ี ธาตุอะไรเกิดใหม่มนั เกิดแค่ประจุไฟฟ้ าหรือคลื่นไฟฟ้ า แล้วดับไปทันที แต่ธาตุทงั ้ สีม่ ไิ ด้เกิดดับ ตรงนี้จาไว้ให้ดๆี ธาตุทงั ้ สีจ่ ะเป็ นฝ่ ายรูปหรือฝ่ าย นามก็ตามมิได้เกิด ดับ แต่สงิ่ ที่เกิดดับคือการกระทบกัน การสปาร์คกัน ธาตุฝ่ายรูปสปาร์คกันเกิดเป็ นอนุ ภาค ธาตุฝ่ายนามสปาร์ คกันเกิดเป็ น คลื่นประจุไฟฟ้ า ธาตุสท่ี งั ้ สองฝ่ ายยังคงสภาพเดิม รอเหตุปัจจัยให้สปาร์ค กันใหม่ ถ้าเหตุปัจจัยที่จะทาให้สปาร์คยังอยู่มนั จึงมีการสปาร์คต่อเนื่อง จนดูเ หมือ นมันตัง้ อยู่ แต่ความจริงไม่ม ีอะไรตัง้ อยู่ มีแต่ ส ปาร์คแล้วดับ แต่สปาร์คใหม่ต่อเนื่องเร็วมากจนอวิชชา(ธาตุเลว)สัญญาเลวทิฏฐิเลวคิด ว่ามันตัง้ อยู่ มันไม่ได้ตงั ้ อยู่มนั จึงไม่มตี วั ตนไม่มสี าระแก่นสารไม่มเี จ้าของ เกิดแล้วดับ มันจึงล้วนแต่ดบั กลายเป็ นอดีตไปแล้วทัง้ นัน้ โยนิโสมนสิการ สาวให้ถงึ ต้นตอเช่นนี้ แล้วฝึ กระลึกว่ามันเกิดทันทีดบั ทันที ฝึ กจนระลึก ขัน้ มาเมื่อใดเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาปล่อยวางว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ นัน่ แหละคือความเห็นแจ้งตามความจริงเกิดแล้ว เป็ นผู้เริม่ เข้ากระแสผูม้ ี ดวงตาเห็ น ธรรมแล้ ว ทดลองฝึ ก อย่ า งเอาจริ ง เอาจัง ย่ อ มไม่ เ กิ น ความสามารถของทุกๆคนได้เลย ๒๐
สมสุโขภิกขุ
จงฝึกมีสติระลึกตามความจริงว่า กายและใจความจริงคือปฏิกริ ยิ า ของธาตุแปด ธาตุแปดสปาร์คกัน ทาปฏิกริ ยิ ากันจึง เกิดอนุภาคเป็ นกาย เกิดประจุไฟฟ้ าเป็ นใจ กายกับใจเป็ นผล แม้ตน้ เหตุเกิดเพราะธาตุทงั ้ แปด แสดงความสามารถตามคุณสมบัติของมันออกมา แต่ธาตุทงั ้ แปดจะไม่ม ี การเปลีย่ นแปลงใดๆเพราะธาตุคอื ความสามารถทางานได้ มันทางานได้ หากมีเหตุปัจจัยมากระตุ้นให้มนั สปาร์คกัน หรือเชื่อมต่อกัน (อายตนะ) มันจึงเกิดสังขารขึน้ มาหนึ่งอนุ ภาค ปริมาณธาตุเยอะรวมกันเป็ นขันธ์ก็ เกิดอนุ ภาคมากตามไปด้วย ธาตุจริงๆมันว่าง แต่มนั มีคุณสมบัตทิ างาน ได้ตามแต่ละธาตุ พอมาสปาร์คกันธาตุแต่ละธาตุแสดงคุณสมบัตอิ อกมา จนเกิดเป็ นรูปเป็ นนาม รูปนามจึงไม่ใช่ตวั ธาตุ(จาตรงนี้ไว้ให้ดๆี ) แต่มนั เป็ นผลจากการสปาร์ค มันจึงเป็ นตัวตนไม่ได้ ไม่มเี จ้าของ เกิดแล้วดับ เป็ นอดีตตลอดเวลา ดับแล้วดับเลย เกิดใหม่กส็ งั ขารใหม่ไม่ใช่สงั ขารเดิม ธาตุกเ็ ป็ นคุณสมบัตขิ องธรรมชาติทไ่ี ม่ใช่ตวั ตน จึงไม่มใี หม่เก่า เป็ นสิง่ ที่ นอนเนื่องสงบนิ่งอยู่ในธรรมชาติ มีเหตุไปกระตุน้ มัน ความว่างมันก็แสดง คุณสมบัติออกมา คาว่าคุณสมบัตคิ อื สิง่ ที่ถือเป็ นตัวตนไม่ได้ ดัง นัน้ ทุก สรรพสิง่ จึงล้วนแต่เป็ นของว่างเปล่า ๑.ธาตุว่างเปล่าโดยธรรมชาติ ๒.สังขารว่างเปล่าเพราะเกิ ดแล้วดับทันที กฎธรรมชาติสองข้อนี้ต้องทาความเข้าใจให้ดีๆแล้วนาไประลึก เนืองๆก็จะเข้าใจว่า “โลกเป็ นของว่างเปล่า ” หมายถึงอะไร และของจริง มันมีสภาวะอย่างไร การฝึ กสัมมาสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบ ถ้าฝึ กต่อเนื่องจนเป็ น กิจวัตร สิง่ ทีจ่ ะเกิดตามมาก็คอื สัมมาญาณะอนาสวะ สัมมาญาณะอนาสวะ เป็ นธาตุฝ่ายนิโรธธาตุคอื ธาตุฝ่ายดับ มีคุณสมบัติ ใช้ดบั สังขารแต่ไม่ดบั ๒๑
เกิดทันทีดบั ทันที
ปฏิกิริย าเดิม แท้ ปฏิกิริย าตัง้ ต้ น ที่เ ป็ น กลางจะยัง ท างานต่ อ ไป แต่ ปฏิกริ ยิ าทีอ่ าสวะไหลออกมาซ้อนทับจะถูกดับไป นิโรธธาตุจะเกิดเอง ไป สร้างขึน้ โดยตรงไม่ได้ ต้องฝึกสติไปเรื่อยๆมันจะค่อยๆเกิดเอง เมือ่ ปฏิบตั ไิ ปถึงระดับหนึ่ง สัมมาสติจะไม่ตอ้ งใช้อุบาย(อุบายเป็ น สังขารชนิดหนึ่งเหมือนกัน) สติอนาสวะจะทิง้ อุบายเองแล้วดึงนิโรธธาตุ ออกมาแก้ไขปัญหา ซึง่ นักปฏิบตั จิ ะค่อยๆรูจ้ กั และเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง อย่างเช่นปฏิกริ ยิ าซ้อนทับจากอาสวะเกิดทาให้เราทุกข์ บางครัง้ เราต้อง อาศัยทัง้ มีสติและอุบาย แต่ฝึกๆไปบางเรือ่ งไม่ตอ้ งใช้อบุ ายใช้แค่สติกด็ บั ปฏิกริ ยิ าซ้อนทับนัน้ ๆได้เลย ฝึกระลึกว่าไร้สาระ ฝึกระลึกว่าทุกสิง่ ไม่จริงเข้าไว้ ฝึกระลึกว่าทุก สิง่ คืออดีต ฝึกระลึกว่าทุกสิง่ ล้วนแต่เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ สักวันนิโรธ ธาตุ ธาตุแห่งความดับก็จะเกิดขึน้ เอง และจะสามารถใช้สติทฝ่ี ึกดีแล้วนัน่ แหละดึงความว่างชนิดนี้มาดับสังขารทีเ่ ป็ นปฏิกริ ยิ าซ้อนทับให้สลายตัว ไป เหลือไว้แต่ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้ทเ่ี ป็ นกลางไม่มพี ษิ มีภยั ไม่มบี วกลบยินดี ยินร้าย มีแต่ความอิม่ เย็นไม่เป็ นทุกข์เท่านัน้ ทีท่ าหน้าทีข่ บั เคลื่อนชีวติ ชีวติ แบบนี้คอื ชีวติ ทีเ่ หนือสุขเหนือทุกข์ เป็ นชีวติ ทีม่ นุษย์ทุกคนสมควร ได้รบั จะได้ไม่เสียทีทเ่ี ป็ นมนุษย์พบพุทธศาสนา
๒๒
สมสุโขภิกขุ
ธาตุที่มีอานุภาพดับสังขาร ทุ ก ครัง้ ที่ด ับ ทุ ก ข์ไ ด้จึง มีนิ โ รธธาตุ ทุ ก ครัง้ เก็บ สะสมไว้ค รัง้ ละ หน่วยสองหน่วยจนสามารถนาความว่างนัน้ ออกมาใช้ทาหน้าทีไ่ ด้ แม้นิโรธธาตุจะไม่มสี ภาพ แต่ก็สามารถดึงออกมาใช้งานได้ดว้ ย สติอนาสวะ สติอนาสวะคืออายตนะที่สามารถเชื่อมต่อปฏิกริ ยิ ามีสภาพ กับปฏิกริ ยิ าไร้สภาพได้ จะทาหน้าที่ดงึ ความว่างอย่างนิโรธธาตุออกมา ดับความไม่ว่างอย่างสังขารซ้อนทับทีอ่ วิชชาสร้างได้ เมื่อ นิโรธธาตุ ม ีกาลัง มากพอ สติจึง จะดึง มาใช้ง านได้ สติท่ีดึง นิโรธธาตุออกมาทาหน้าทีด่ บั สังขารหรือดับทุกข์จ๋ งึ เป็ นสติทไ่ี ม่จาเป็ นต้อง ใช้อุบาย ใครที่สามารถมีสติดบั สังขารซ้อนทับได้โดยไม่ต้องใช้อุบายนัน่ แหละคือระบบการทางานของนิโรธธาตุเริม่ ทาหน้าทีแ่ ล้ว เพราะอุบายชอบถึงอย่างไรก็เป็ นสังขารชนิดหนึ่ง แต่ถา้ นิโรธธาตุ สมบูรณ์เมือ่ ใด สติจะเลิกใช้งานอุบายชอบไปเอง สติอนาสวะทีส่ มบูรณ์จะ ดึงนิโรธธาตุมาใช้งานอย่างเดียวไม่เรียกใช้อุบายชอบที่เป็ นสังขารมาใช้ งานอีกแล้ว ทาให้มปี ระสิทธิภาพในการดับสังขารดับทุกข์ท่รี วดเร็ว จน สุดท้ายกลายเป็ นอัตโนมัติ มีสมั มาสติมสี มั มาสมาธิมนี ิโรธธาตุหล่อเลี้ยง ชีวติ ตลอดเวลา นัน่ คือมีสมั มาวิมุตติอ ันสมบูรณ์ นัน่ คือการบรรลุธรรม เป็ นพระอรหันต์ขณ ี าสพอันไม่กาเริบ ใครทาได้เป็ นครัง้ คราวก็เรียกว่า เป็ นผูห้ ลุดพ้นชัวคราว ่
๒๓
/๘๖“ไร้สาระ”เป็นยาครอบจักรวาล
นักปฏิบัติธรรมขาดยาตัวนี้ไม่ได้ ความสำคัญของยาตัวนี้ พระพุทธเจ้าถึงกับตรัสว่า ต้องทำทัง้ กลางวันทั้งกลางคืน ผู้ที่เริ่มต้นเข้ามาปฏิบัติธรรม ควรเริ่มต้นกินยาขนานนีก้ ่อน ใครไม่ฝึกก็เหมือนคนเป็นไข้ที่ไม่ยอมกินยา ทำไมจึงกล่าวว่าไร้สาระเป็นยาครอบจักรวาล เพราะพระผู้มีพระภาคตรัสว่า “สาระไม่มีเบญจขันธ์” ในเมื่อทุกสิ่งในจักรวาลล้วนแต่เป็นเบญจขันธ์ นอกจากนิพพานแล้ว ไม่มีสิ่งใดในจักรวาลนี้ที่ไม่ใช่เบญจขันธ์ ดังนั้นความไร้สาระจึงครอบคลุมไปทั่วทั้งจักรวาล นอกจากนิพพานจึงไม่มีสิ่งใดไม่ใช่สิ่งไร้สาระ ยาไร้สาระ จึงเป็นยาครอบจักรวาลด้วยเหตุนี้ นักปฏิบัตทิ ุกคนจึงอย่ามองข้ามความสำคัญ ที่จะละเลยไม่ฝึก"ไร้สาระ" ระลึกว่าไร้สาระได้ไร้สาระเป็น จนเลิกให้สาระได้เลิกให้สาระเป็น นักปฏิบัตจิ ะได้ชื่อว่า ไม่เสียทีทเี่ ป็นสาวกพระพุทธเจ้า