มหาจัตตารีสกสูตร ภาคปฏิบัติ

Page 1

สมสุโขภิกขุ

มหาจัตตารีสกสูตร ภาคปฏิบัติ สมสุโขภิกขุ


มหาจัตตารีสกสูตร

มิ จฉัตตะ๑๐ (สาสวะ)

มิ จฉัตตะ๑๐ (อนาสวะ)

สัมมัตตะ๑๐ (สาสวะ)

สัมมัตตะ๑๐ (อนาสวะ)

มิ จฉาทิ ฐิ

มิ จฉาทิ ฐิ

สัมมาทิ ฐิ

สัมมาทิ ฐิ

มิ จฉาสังกัปปะ

มิ จฉาสังกัปปะ

สัมมาสังกัปปะ

สัมมาสังกัปปะ

มิ จฉาวาจา

มิ จฉาวาจา

สัมมาวาจา

สัมมาวาจา

มิ จฉากัมมันตะ มิ จฉากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ มิ จฉาอาชีวะ

มิ จฉาอาชีวะ

สัมมาอาชีวะ

สัมมาอาชีวะ

มิ จฉาวายามะ

มิ จฉาวายามะ

สัมมาวายามะ

สัมมาวายามะ

มิ จฉาสติ

มิ จฉาสติ

สัมมาสติ

สัมมาสติ

มิ จฉาสมาธิ

มิ จฉาสมาธิ

สัมมาสมาธิ

สัมมาสมาธิ

มิ จฉาญาณะ

มิ จฉาญาณะ

สัมมาญาณะ

สัมมาญาณะ

มิ จฉาวิ มุตติ

มิ จฉาวิ มุตติ

สัมมาวิ มุตติ

สัมมาวิ มุตติ


สมสุโขภิกขุ

คำนำ ธรรมบรรยายมหาจัต ตารีส กสู ต ร ถื อ ว่ า เป็ นธรรมอั น เอก ที่ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ใครดูแคลนค้านแย้งไม่ได้ ทาไมพระพุทธองค์จงึ ตรัส เช่นนัน้ หนังสือเล่มนี้มคี าตอบ การอ่านธรรมะเรื่องนี้ควรอ่านทาความเข้าใจ แล้วทดลองปฏิบตั ติ ามด้วยวิธรี ะลึกชอบ ซึ่งในแต่ละบทจะมีคาอธิบายวิธี ระลึกไว้พอสมควรแก่การนาไปทดลองปฏิบตั ิ การเขียนหนังสือเล่มนี้มคี วาม ประสงค์เ พื่อ แนะน าวิธีป ฏิบัติเ ป็ น ประการส าคัญ สิ่งที่จะได้ร ับคือ ผู้อ่ า น สามารถนาไปใช้ดบั ทุกข์ในชีวติ จริงได้ และนาไปต่อยอดเพื่อบรรลุมรรคผล นิพพานในอนาคตอันไกล้ ซึ่งขึ้นอยู่กบั ความเพียรพยายามของผู้ อ่านว่ามี ความตัง้ ใจเอาจริงเอาจังระดับใด ขอความเห็นแจ้งในธรรมจงบังเกิดมีแด่ผมู้ คี วามเพียรพยายามทุกๆ ท่านเทอญ เจริ ญธรรม สมสุโขภิกขุ


มหาจัตตารีสกสูตร

สารบัญ ธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกสูตร

๐๕

จิตเดิมแท้ ว่าง

๐๙

หลังให้สาระจะเกิดอะไรตามมา

๑๕

คาถามยอดฮิต

๒๘

ภาคปฏิบตั สิ มั มัตตธรรมอนาสวะ

๓๐

วิธสี งั เกตธรรมอันใดเนิ่นช้า ธรรมอันใดไม่เนิ่นช้า

๕๒


สมสุโขภิกขุ

ก่อนอื่นมารู้จกั ความว่างกันก่อน ความว่างเป็ นสิ่ งที่สร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว ปฏิกิรยิ าทุกๆปฏิกิรยิ าในธรรมชาติน้ี มีสภาวะที่เรียกว่า สภาวะ พุทธะ(สภาวะเป็ นจิ ตหนึ่ ง) ประจาอยู่ในทุกๆปฏิกิรยิ า คือว่างจากความ เป็ นสอง ของว่างเท่านัน้ จึงเรียกว่าเป็ น คติ เอกะ แปลว่าไปสูค่ วามเป็ นหนึ่ง แต่ถา้ มีสงิ่ ใดมาผสมนันจึ ่ งจะกลายเป็ น คติ ทวิ แปลว่า ไปสูค่ วามเป็ นสอง คติ ทวิ นิยม จึงหมายความว่า นิ ยมไปสู่ความเป็ นสอง ปุถุชน จะ มองสิง่ ใดๆไม่เห็นความว่างของสิง่ นัน้ จึงเรียกว่า ไม่เห็นพุทธะ คือไม่เห็น ความเป็ นหนึ่ง จะเห็นแต่ความเป็ นสอง คือความไม่ว่าง เห็นแต่สงิ่ ผสม เห็น แต่สงิ่ ทีถ่ ูกผสม ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติแท้ๆเริม่ จากหนึ่งก่อนเสมอ และคงความ เป็ นหนึ่งนัน้ ไว้ตลอดไป แต่ปุถุชนผูม้ ธี าตุเลวสามประเภท คือ อวิชชา(ธาตุ เลว) ปปั ญ จสัญ ญา(สัญ ญาเลว) สังขาร(ทิฐิเ ลว) มาดึงพุทธะให้ไหลไปสู่ ความเป็ นสองเอง ปุถุชนจึงชื่อว่าเป็ นผู้มี คติ ทวิ นิยม(นิยมไปสู่ความเป็ น สอง) แต่ศาสนาพุทธมีวธิ ี ทาให้ปุถุชน ไหลไปคืนสู่ความเป็ นหนึ่ง นัน่ คือ ต้องรูจ้ กั "สัมมัตตธรรม" ตามหลักธรรมชาติ หลักศาสนา หลักวิทยาศาสตร์ จะเห็นตรงกันว่า ความว่างเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว “จิตพุทธะก็เช่นกันเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว” แก้วมันว่างของมันอยู่แล้ว มันไม่ว่างเพราะเอาน้ ามาใส่ เอาน้ าออก เสีย มันก็ว่าง “เหมือนทีม่ นั ว่างของมันอยู่แล้ว”


มหาจัตตารีสกสูตร

จิ ตพุทธะมันว่างของมันอยู่แล้ว แต่เอาสมมุตบิ า้ งอะไรบ้างมาใส่ ให้มนั เป็ นสอง ใส่จนมันมากกว่าสองด้วยซ้า จนจิตพุทธะกลายเป็ นผู้แบก ของหนัก จิตพุทธะเลยกลายเป็ นจิตพุทโธ่ พุ ทโถ กันไปทุกย่านทุกตาบล อยากเห็นจิตพุทธะจึงไม่ตอ้ งไปสร้างจิตพุทธะ แค่อย่าแบกของหนักพาไป แค่ ทิ้ ง ของหนั ก ลงเสี ย จิต ก็จ ะว่ า ง เหมื อ นที่ ม นั ว่ า งของมัน อยู่ แ ล้ ว สัมมัตตธรรมเป็ นธรรมข้อเดียวที่บอกวิธีทาลายจิ ตสอง(คติทวิ นิยม) มาปฏิบัติธ รรมควรมาปฏิบัติเ พื่อ ท าลายจิต สอง จิต หนึ่ง หรือ จิต พุทธะจะได้ปรากฏ มิใช่มาปฏิบตั ทิ าเพื่อแสวงหาจิตสองจิตสามจิตสี่ อย่าง บางคนแสวงหาจิตตัง้ ร้อยแปดมาใส่แก้ว บางทีใส่ตุ่มแล้วแบกไปมา พระพุทธเจ้าเตือนไว้ฟังพระองค์บา้ งพระองค์ตรัสว่า "เธอนัน่ แหละเป็ นผู้แบกของหนักพาไป" พระไตรปิ ฎกทัง้ 45 เล่ม มี ธรรมมหาจัตตารีสกะ เพียงพระสูตร เดียวที่ก ล่ าวว่า สัมมาทิ ฐิมีส องแบบ มรรคมี ส องแบบ ซึ ง่ เชื อ่ ว่ า นั ก ปฏิ บตั ิ หลายคนก็ยงั ไม่ รู้ห รื อไม่เคยรู้ บางคนอาจไม่ เชื อ่ ด้ วยซ้ า แต่ สัมมาทิฐิมสี องแบบและสัมมาอื่นๆก็มสี องแบบนี่แหละคือหัวใจสาคัญ คือ เข็มทิศนาทางที่จะบ่งบอกว่าใครเดินถูกเส้นทางหรือผิดเส้นทางเลยทีเดียว และมีปรากฏเป็ นคาสอนอยู่ในพระสูตรนี้พระสูตรเดียว และที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือองค์ธรรมบทนี้ มีไว้สอนสาหรับผู้ ต้องการหลุดพ้น โดยเฉพาะ เนื้อหาธรรมะบางตอนไม่สามารถนามาสอน บุคคลธรรมดาทัวไปได้ ่ คนทีใ่ กล้หลุดพ้นเท่านัน้ จึงจะเข้าใจในสิง่ ทีพ่ ระองค์ สอน ถ้าหากนาไปสอนบุคคลธรรมดาทัวไปจะเกิ ่ ดความงุนงงสงสัยค้านแย้ง ตัง้ ข้อ กัง ขา บางทีอ าจดู ห มิ่น ดู แ คลนพระสู ต รนี้ ห รือ ผู้ ส อนหรือ แม้ แ ต่ พระพุทธเจ้าก็อาจถูกตาหนิตเิ ตียนได้ ๖


สมสุโขภิกขุ

ดังนัน้ หากใครมิได้ต้องการศึกษาธรรมะทีเ่ ป็ นความจริงทีเ่ ป็ นหัวใจ ส าคัญ อัน น าไปสู่ ก ารท าจิ ต สองให้ เ ป็ นจิ ต พุท ธะจริง ๆ ยัง ไม่ ค วรอ่ าน เพราะอาจสับสนโต้แย้ง จนคิดว่าศาสนาพุทธสอนผิดๆก็เป็ นไปได้ แต่ผหู้ วัง ความหลุดพ้นมีความสมควรศึกษาไม่ศึกษาไม่ได้ เพราะความสาคัญของ ศาสนาพุทธอยู่ในพระสูตรบทนี้เกือบทัง้ หมด เมื่อมีความตัง้ ใจทีจ่ ะหลุดพ้น จริงๆได้อ่านได้ศกึ ษาถ้าไม่เข้าใจไม่เห็นด้วย จงอย่าเพิง่ ด่วนสรุปว่าธรรมะ พระสูตรนี้ไม่มคี วามสาคัญ ถ้าไม่เข้าใจหน้าที่ของผู้หวังความหลุดพ้นต้อง พยายามกระทาทุกวิถที างให้เกิดความเข้าใจให้ได้ ประการส าคัญ ที่สุ ด จงอย่าได้ค ิดค้านแย้งพระสูต รนี้เ ป็ นอันขาด เพราะมีเ รื่อ งน่ าค้านแย้งอยู่เ ป็ นอันมาก ถ้าค้านแย้งตัง้ แต่ยงั ไม่ได้ล งมือ ปฏิบตั ติ ามจะเสียประโยชน์อย่างยิง่ เพราะทุกๆคนไม่มหี นทางใดที่จะหลุด พ้นได้ หากไม่เข้าใจและไม่ปฏิบตั ติ ามพระสูตรนี้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสไว้ใน ตอนท้ายพระสูตรว่า "ดูกรภิ กษุทงั ้ หลาย สมณะหรือพราหมณ์ พวกใดพวกหนึ ง่ พึง สาคัญทีจ่ ะติ เตียน คัดค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะนี้ ................ .......ย่อมถึงฐานะน่ าตาหนิ ในปัจจุบนั เทียว…………………………….. ดูกรภิ กษุ ทงั ้ หลาย แม้พวกอัสสะและพวกภัญญะ ชาวอุกกล ชนบท ซึ ง่ เป็ นอเหตุกวาทะ อกิ ริยวาทะ นัตถิ กวาทะ ก็ยงั สาคัญที จ่ ะ ไม่ติเตี ยน ไม่คดั ค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะ นัน่ เพราะเหตุไร เพราะกลัวถูกนิ นทา ถูกว่าร้าย และถูกก่อความ................" ฉะนัน้ จงอย่าเพิง่ ค้านแย้งใดๆในองค์ธรรมองค์น้ีจนกว่าจะทดลอง ลงมือทาตาม จะได้ไม่เป็ นผูท้ ่ี "ย่อมถึงฐานะน่ าตาหนิ " ดังที ่ พ่ ระองค์ตรัส ไว้ในพระสูตรนี้


มหาจัตตารีสกสูตร

จัตตารีสกะ ธรรมะ ๔๐ องค์ องค์ธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสว่า ธรรมอันใครค้านแย้งไม่ได้ ดูแคลน ไม่ได้ ใครค้านแย้ง ใครดูแคลน เขานันแหละจะกลั ่ บเป็ นฝ่ ายต้องอับอายเสีย เอง จาง่ายๆอย่างนี้ก่อนเป็ นลาดับแรก สัมมัตตะ ๑๐ สาสวะ คือมรรค ๑๐ แบบสาสวะ สัมมัตตะ ๑๐ อนาสวะ คือมรรค ๑๐ แบบอนาสวะ มรรคสาสวะ มรรคมีจิตสอง(คติทวินิยม) มรรคอนาสวะ มรรคมีจิตพุทธะ(จิตหนึ่ง) สาสวะแปลว่ามีอาสวะ คือมีธาตุเลวสามตัวปนเปื้ อนอยู่ อนาสวะแปลว่าไม่มีอาสวะ คือธาตุเลวสามตัวถูกกาจัดไปแล้ว การกาจัดธาตุเลวได้หมดคือ พระอรหันต์ กาจัดได้บ้างไม่ได้บ้าง หรือกาจัดบางส่วนได้แล้วคือผู้เข้ากระแสอริ ยบุคคลชัน้ ใดชัน้ หนึ่ ง

ของคู่(คติ ทวิ นิยม) คือม่านบังตาทาให้ไม่เห็นจิ ตพุทธะ(จิ ตหนึ ง่ ) แหวกม่านของคู่ได้เมือ่ ใดก็จะเห็นจิ ตพุทธะทีต่ งั ้ อยู่มานมนานแล้ว ม่านของคู่มนั บังตาเลยทาให้มองไม่เห็นเท่านัน้ เอง


สมสุโขภิกขุ

คาว่าว่างในทีน่ ้ไี ม่ใช่ไม่มอี ะไร แต่หมายถึงว่างจากการปรุงแต่ง ซ้อนทับเพิม่ เติมขึน้ มา จิตเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ (ธรรมปวัตติ) ทีเ่ กิดจากการทาปฏิกริ ยิ า ของธาตุรู้ เมื่อธาตุรผู้ สั สะสิง่ ใดเกิดเป็ นปฏิกริ ยิ าขึน้ มา การเกิดของปฏิกริ ยิ า นันแหละคื ่ อจิตเดิมแท้เกิดแล้ว ถ้าจะให้ถูกต้องจริงๆควรเรียกปฏิ กิริยาเดิ ม แท้ (ก่อนปฏิกิรยิ าเกิดเขาเรียกธรรมชาติเดิมแท้) แต่เรียกจิตในที่น้ีขอให้ เข้าใจตรงกันว่าไม่ได้หมายถึงจิตทีเ่ ป็ นตัวตน แต่หมายถึงปฏิกริ ยิ าของธาตุ รูท้ ท่ี าปฏิกริ ยิ ากับธาตุอ่นื ๆทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ เมื่อมีผสั สะปฏิกริ ยิ าต้อง เกิด การเกิดของปฏิกิรยิ าเดิมแท้น่ีแหละมันมีสภาพว่าง คือเป็ นปฏิกิริ ยา บริสุทธิอยู ์ ่ เราจึงเรียกว่ามันว่าง ซึง่ ต่างจากไม่มี ต่ อ ไปถ้า ปฏิกิริย าบริสุ ท ธิน์ ้ี เ กิด ในกลุ่ม สัง ขาร(คน)ที่มีธาตุเลว (อวิ ชชาธาตุ) ครอบงาอยู่ ธาตุเลวจะทาหน้าที่ทาให้จติ เดิมแท้ไม่ว่างทันที จิ ตบริ สุทธิ์ หรือจิ ตพุทธะจึงกลายเป็ นจิตประเภทที่สอง คือกลายเป็ น จิ ต สาวะ(จิ ตคติ ทวิ นิยม) คือมีการไหลของอวิชชาเข้ามาสร้างปฏิกริ ยิ าอย่าง ใดอย่างหนึ่งซ้อ นทับความว่า งให้ก ลายเป็ น มีส ิ่งที่ส องแทรกเข้ามา จาก ปฏิ กิ ริ ย าบริ สุ ท ธิ ค์ ื อ ปฏิ กิ ริ ย าที่ ไ ม่ มี อ าสวะ ไม่ ถู ก อะไรแทรกแซง กลายเป็ นปฏิ กิริยาที่มีอาสวะแทรกแซง คติแปลว่าไปสู่ ทวิแปลว่าสอง จิต ว่างๆจึงไหลไปสู่ความเป็ น สองคือมีอาสวะมาประกบจึงมีสภาวะเป็ นของคู่ ไปโดยปริยาย ดังนัน้ ถ้าจะพูดให้เข้าใจง่ายๆ จึงสามารถพูดได้ว่า จิ ตเดิ มแท้ว่าง ว่างจากอะไร ว่างจากอวิ ชชา(ธาตุเลว) สัญญาเลว ทิฏฐิเลว นัน่ เอง ธาตุ เลวสามตัวนี่แหละคือตัวที่ทาให้จิตไม่ว่าง เขาจึงเรียกจิตไม่ว่างว่า จิ ตสา สวะ(จิ ตมีอาสวะ) และเรียกจิตว่างว่าจิ ตอนาสวะ(จิ ตไม่มีอาสวะ) จิตอนา ๙


มหาจัตตารีสกสูตร

สวะกับจิตพุทธะจึงเป็ นสิง่ เดียวกัน (อาสวะแปลว่าไหล จิตสาสวะจึงหมายถึง มีธาตุเลวสามตัวไหลมาประกบคู่กบั จิต จิตสาสวะจึงเรียกอีกอย่างได้ว่าจิตคู่ หรือจิตสอง คือหมายถึงจิตทีม่ สี งิ ่ อืน่ ประกบคู่) การปฏิบตั ธิ รรมก็คอื การทาให้ จติ สอง (จิตคู่ จิตคติทวินิยม จิตสา สวะ) จิตที่มอี วิชชาซ้อนทับ หายไป จิตสองหรือจิตคู่หายไป ก็จะเหลือจิต หนึ่งหรือจิตพุทธะทาหน้าที่เพียงลาพัง จิตพุทธะจะทาหน้าที่อย่างกลางๆ ไม่มขี องคู่ ไม่มบี วกลบ เพราะของคู่คอื สิง่ แปลกปลอมที่อวิชชาสร้าง พอ อวิชชาหายไปจิตพุทธะที่เดิมมีอยู่แล้วก็จะปรากฏ เราจะรูว้ ่าจิตพุทธะจริงๆ เวลามันทาหน้าทีจ่ ะเป็ นยังไง เราต้องกวาดอวิชชาให้ หมดเกลี้ยงก่อนจึงจะ เข้าใจว่า ของจริงถ้าจิตพุทธะทาหน้าทีอ่ ย่างเดียวไม่มอี วิชชามายุ่ง มันจะทา หน้าที่แบบว่างๆ ว่างแบบไหน เป็ นกลาง เป็ นหนึ่งไม่มคี วามรู้สกึ เป็ นสอง เป็ นแบบไหน อยากรู้ต้องกวาดจิตสองให้เกลี้ยงให้ได้ก่อนจึงจะรู้จกั ความ ว่างจริงๆจิตพุทธะจริงๆเป็ นเช่นไร ก่ อ นจะพูด ถึง วิธีก วาดอวิช ชา ต้อ งมาท าความเข้า ใจกัน ก่ อ นว่า อวิชชามันทางานอย่างไรและมีผลอย่างไรต่อชีวติ มนุษย์บา้ ง ธรรมชาติน้ีมธี าตุหลักเรียกว่าเป็ นธาตุตงั ้ ต้นของชีวติ อยู่ ๖ ธาตุ คือ ธาตุดนิ ธาตุน้า ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุว่าง ธาตุวญ ิ ญาณ ธาตุหกชนิดนี้เดิมแท้ จะอยู่ใ นสภาพว่างๆไร้ต ัว ตนคือ ไร้ส ภาพใดๆปรากฏ(ธรรมชาติเ ดิม แท้) ต่ อ เมื่อ มีเ หตุ ปั จ จัย และสิ่ง แวดล้อ มเหมาะสมจนท าให้ธ าตุ ห กมีก ารท า ปฏิกริ ยิ าขึ้นมา ธาตุหกจึงจะแสดงคุณสมบัตขิ องแต่ละธาตุออกมา การทา ปฏิกริ ยิ าของธรรมชาติเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ว่าจะเป็ นเพราะเหตุปัจจัย ใดๆทาให้ธาตุหกทาปฏิกริ ยิ ากัน สังขารชนิดใดชนิดหนึ่งจึงเกิดขึ้นมาด้วย วิธนี ้ีเท่านัน้ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทุกชนิดจะเป็ นเช่นนี้เหมือนกันหมด ต่างกัน ที่จานวนปริมาณของธาตุแต่ละชนิดที่เข้าร่วมทาปฏิกิรยิ าอาจมีไม่เท่ากัน ปริม าณธาตุ ท่ีต่ า งกัน อาจท าให้เ กิดปฏิก ริยาที่ต่ า งกัน แต่ เ ป็ น ปฏิ กิริยา ๑๐


สมสุโขภิกขุ

เหมือนกันมีค่าเสมอกัน แต่ อวิ ชชามิ ได้ คิดแบบนั น้ เพราะความไม่ รู้ อวิช ชาธาตุ จึ ง คอยผสมโรงท าหน้ า ที่ ป ระกบคู่ กับ วิญ ญาณธาตุ ค อยท า ปฏิกริ ยิ าสร้างความรูค้ วามรูส้ กึ ความจาความคิดผิดๆ ต่อปฏิกริ ยิ าในทานอง ซ้อนทับ เมื่อเกิดปฏิกริ ยิ าแล้ววิญญาณธาตุทาหน้าทีร่ ู้ ตอนแรกยังเป็ นการรู้ เฉยๆ รูอ้ ย่างว่างๆ เป็ นกลางๆ แค่รบั รูก้ ารเกิดขึน้ ของปฏิกริ ยิ าแล้วก็จบตรง นัน้ แต่เพราะความไม่รู้ หรือ ยังไม่รู้ความจริงนี่แหละเขาเรียกอวิชชาธาตุ อวิชชาธาตุจะเป็ นตัวสร้างปฏิกริ ยิ าซ้อนปฏิกริ ยิ าขึน้ มา ตามขอบเขตอานาจ ที่มนั มี เช่นใส่เ หตุผ ลเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของปฏิกิริยาว่าเป็ น อย่างนัน้ อย่างนี้ อวิชชาจึงเป็ นตัว ตนเหตุใ นการปรุงความรู้ส ึกต่ างๆต่ อ ปฏิกริ ยิ าขึน้ มาแล้วสังการให้ ่ ธาตุขนั ธ์อ่นื ๆทาหน้าทีต่ ามทีม่ นั สังการ ่ จิตเดิม แท้จงึ มีปฏิกริ ยิ าจากธาตุเลวทับซ้อนประกบคู่ตลอดเวลา บุคคลผูม้ คี วามยัง ไม่รู้ครอบงาอยู่จะตกอยู่ในสภาวะเช่นนี้ตลอดไป จนกว่าจะมีปัญญารู้ตาม ความจริงระดับโลกุตตระ จึงจะเลิกปรุงปฏิกริ ยิ าทับซ้อน จิตคู่หรือจิตสาสวะ จึงจะหายไป เหลือแต่ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้เท่านัน้ ที่ทางานในแบบสภาพว่างๆ ทางานอย่างว่างๆเป็ นกลางๆซึ่งเป็ นคุณสมบัตทิ างธรรมชาติของปฏิกริ ยิ า เดิมแท้ ทีอ่ ธิบายมายืดยาวก็เพื่อ ค่อยๆทาให้เกิดความเข้าใจว่า จิตเดิมแท้ เป็ นสิง่ ที่มอี ยู่แล้ว วิญญาณธาตุทาปฏิกริ ยิ ากับธาตุอ่นื ๆเมื่อใด มันทางาน ทันที แต่มนั ทางานแบบไร้สภาพ ไร้การเปรียบเทียบ จึงว่างไม่ปรุงเป็ นบวก ลบ ดีเลว แต่การเปรียบเทียบเป็ นสิง่ ทีอ่ วิชชาสร้างขึน้ มาเองเพราะความไม่ รู้ จึงมีสมมุติบญ ั ญัติแสดงถึงความแตกต่าง และยิง่ มีอวิชชามาก อวิชชา พัฒนาไปเรื่อยๆ เป็ นใส่ความมีตวั ตน ใส่สงิ่ นัน้ สิง่ นี้ เป็ นล้านๆรูปแบบให้ ปฏิกริ ยิ าเดิมๆพืน้ ๆจนกลายเป็ นปฏิกริ ยิ าไม่เดิมไม่พน้ื ในทีส่ ุด ปุถุชนทีย่ งั มี อวิช ชาอยู่ ย่ อ มยัง ไม่ รู้จ ัก ความรู้เ ฉยๆความรู้ส ึก พื้น ๆธรรมดาๆ ที่ เ ป็ น ปฏิกริ ยิ าของวิญญาณธาตุตอนทาปฏิกริ ยิ ากับสิง่ ทีม่ าผัสสะครัง้ แรก แต่ถ้า ๑๑


มหาจัตตารีสกสูตร

รูจ้ กั วิธสี ร้างสัมมาสติดว้ ยอุบายชอบไม่นานจะรู้จกั และเข้า ถึงสภาวะรูเ้ ฉยๆ ทีเ่ ป็ นปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นของจิตเดิมแท้ได้ รูจ้ กั อาการรูเ้ ฉยๆก็จะรูจ้ กั จิตเดิมแท้ หรือจิตพุทธะในเวลาเดียวกัน คราวนี้เราก็รู้แล้วว่า จิตเดิมแท้มนั ว่าง แต่มนั ไม่ว่างเพราะอวิชชา มัน ปรุ ง ปฏิกิริย าอื่น มาซ้ อ นทับ ท าให้จิต ว่ า งกลายเป็ นจิต วุ่ น จิต หนึ่ ง กลายเป็ นจิต สอง จิตพุทธะกลายเป็ นจิต สาสวะ มาจากอวิชชาและสมุน (รวมกันเป็ นธาตุเลวสามตัว)มันเป็ นตัวชักใย หน้าที่เบื้องต้นเราต้องรู้จกั สาวไปถึงต้นตอก่อนว่า ปฏิกริ ยิ าแรกที่ อวิชชามันสร้างคืออะไร จะได้ฝึกดับทีต่ รงนัน้ ก็ต้องพึง่ ผูร้ คู้ อื พึง่ คาสอนของ พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าตรัสเช่นไร ก็น้อมนามาปฏิบตั ิ แต่ต้องพิสูจน์ คา สอนของพระองค์ก่อนด้วยการทดลองลงมือฝึกตามทันที ไม่ตอ้ งรอไปพิสูจน์ เมื่อนันเมื ่ ่อนี่ แล้วต้องนาเอาเฉพาะคาสอนทีพ่ สิ จู น์ความจริงได้มาใช้ ปฏิกริ ยิ าแรกที่ทาให้อวิชชาทาหน้าที่ต่อยอดเป็ นปฏิกริ ยิ าอื่นๆอีก เป็ นล้านๆปฏิกริ ยิ า จนซ้อนทับจิตพุทธะเสียหนาเตอะก็คอื เจตนา จงใจหรือ การให้สาระ สามตัวนี้คอื ตัวเริม่ ต้น เป็ นปฏิกริ ยิ าเริม่ ต้นทีม่ เี มื่อใด อวิชชามี อาหารอันโอชะทันที ซึ่งเราสามารถพิสูจน์ความจริงได้ ในชีวติ จริงๆ เรายืน เดินนอนนัง่ สบายๆอยู่ดๆี ใจไปนึกถึงอะไรผุดขึ้นมาไม่รู้ก่รี ้อยเรื่อง แต่พอ ไปให้ส าระกับเรื่อ งใดเรื่อ งหนึ่งขึ้นมาเท่านัน้ เอง เรื่อ งไม่เ รื่อ งก็เ ป็ นเรื่อง ขึ้นมาทันที ตอนที่เราเริม่ ให้สาระนัน่ แหละคือตอนที่ตวั กูของกู และตัวตน ของสิง่ ทีเ่ ราให้สาระ รวมทัง้ ธาตุเลว สัญญาเลว ทิฏฐิเลวจะเข้ามาผสมโรงจะ มากหรือน้อยเท่านัน้ เอง เราคิดมาตัง้ หลายร้อยเรื่อง แต่ไปให้สาระเรื่อ งนี้ เรื่องเดียว บางทีทุกข์เจียนตาย เพราะอะไรจึงเป็ นเช่นนัน้ เราจะไม่รู้ เพราะ ไม่รู้น่ีเ องจึงไม่รู้ว ิธีท่ีจะดับมัน ต่อ มามี ก ารฝึ ก ปฏิบัติธ รรมถู กวิธี รู้จกั ฝึ ก ระลึกชอบ จึงจะพอห้ามทัพความทุกข์ได้เป็ นครัง้ เป็ นคราวไป แต่ถ้ายังไม่รู้ ว่ า ที่เ ราทุ ก ข์เ พราะเมื่อ มีผ ัส สะแล้ว เราไปให้ส าระผัส สะนัน้ เข้า จึง เป็ น ๑๒


สมสุโขภิกขุ

เรื่องราวใหญ่โต เมื่อไม่รวู้ ่าทุกข์เพราะให้สาระ การแก้ไขปั ญหาชีวติ ก็ยงั ไม่ มีโอกาสแก้ท่ตี ้นตอ จิตพุทธะจึงยังไม่ปรากฏ เลยต้องแก้กนั ซ้าซากหลาย ภพหลายชาติ ด้วยเหตุน้ีน่ีแหละพระพุทธเจ้าจึงตรัสสอนสาวกผูบ้ วชใหม่ว่า "เราบอกเธอแล้ว สาระไม่มีใ นเบญจขันธ์ เธอเพียรระลึกทัง้ กลางวัน ทัง้ กลางคืน" ทีพ่ ระองค์ตรัสย้าเช่นนี้กเ็ พราะพระองค์ต้องการยุตปิ ั ญหาทีร่ ากที่ โคน สัมมัตตธรรมนี่แหละคือองค์ธรรมที่มไี ว้ฝึกยุตปิ ั ญหาแบบถอนรากถอน โคน

วิธถี อนรากถอนโคนอันดับแรกคือ ต้องรู้ว่าทุกๆปั ญหาเกิดเพราะ อวิชชาคือความไม่รหู้ รือยังไม่รู้ ในกรณีน้คี อื ยังไม่รวู้ ่าสาระไม่มใี นเบญจขันธ์ จึงไม่แ ก้ปัญ หาที่เ ลิก ให้ส าระ ไปแก้ปัญ หาด้ว ยวิธีอ่ืน จึงแก้ปัญ หาได้ไ ม่ สะเด็ด น้ า แต่ ถ้า ใครฟั ง หรือ อ่ า นค าสอนของพระพุ ท ธเจ้า ในเรื่อ งนี้ แ ล้ว ทดลองระลึกตาม รูแ้ ล้วต้องทดลองทาตาม ฝึกฝนอย่างจริงจัง มิใช่แค่รตู้ าม ตารา แต่ใจไม่ยอมรับเลยไม่น้อมนามาทาตาม ย่อมไม่มโี อกาสพบจิตพุทธะ ใครลองท าตาม อาจท าในเรื่อ งง่า ยๆก่ อ น คิด อะไรผัส สะอะไรแล้ว รู้ส ึก ผิดปกติ ให้รบี ระลึกทันทีว่าไร้สาระ ทดลองง่ายๆแบบนี้ ดูก่อน ทาแบบนี้นนั ่ คือการกวาดล้างอวิชชาทีจ่ ะเกิดในตอนนัน้ ให้เกลี้ยงไปแล้ว ใจเกลีย้ งจากตัว ๑๓


มหาจัตตารีสกสูตร

กูเป็ นอย่างไรย่อมรูส้ กึ ได้ มันว่างเย็นเป็ นอย่างไรพิสูจน์ได้ จิตว่างจากตัวกู นันแหละจิ ่ ตทีไ่ ม่มอี วิชชาสวะ(ไม่มกี ารไหลของอวิชชา) จึงกลายเป็ นจิตอนา สวะหรือจิตพุทธะแล้ว จิตสาสวะจิตสองจิตคู่หายไปแล้ว ความว่างความเย็น ที่ปรากฏนัน่ แหละคือจิตพุทธะนัน่ เอง ทาบ่อยๆจะค่อยๆเห็นความเป็ นจิต พุทธะชัดขึน้ เหมือนฝุ่นมันเกาะเครื่องลายครามหนาเตอะ ค่อยๆเช็ดมันจึง สะอาดแลเห็นลวดลายของเครื่อ งลายครามชิ้นนัน้ ๆ ต้อ งยิ่งขัดมันจึงยิ่ง เห็นชัด นี่คอื วิธสี าวถึงต้นตอว่าจะดับอวิชชาขัน้ ต้นต้องฝึ กอย่างไร ต่อๆไป ยังมีขนั ้ สองขัน้ สามจนถึงขัน้ สุดท้ายที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสก สูตร ซึง่ จะได้นามาอธิบายในลาดับต่อไป ไม่ให้สาระก็ไม่มีอวิ ชชา เลิ กให้สาระไม่เป็ น เลิ กให้สาระไม่ได้ อย่าวาดหวังเรื่องหลุดพ้น ไม่มีสิ่งใดๆมีสาระสาหรับผู้หลุดพ้น หลุดพ้นแล้วให้สาระกับสิ่ งใดๆ แม้ให้สาระกับความหลุดพ้น นัน่ แสดงว่ายังไม่หลุดพ้น ทุกคนสามารถเป็ นผูห้ ลุดพ้นระหว่างวันได้ง่ายๆ ด้วยวิธรี ะลึกว่าสาระไม่มีในเบญจขันธ์ แม้ยงั ไม่เชื่อก็จงถือว่า ท่องคาถาของพระพุทธเจ้า ดีกว่าท่องคาถาอื่นๆเป็ นหมื่นเป็ นแสน ๑๔


สมสุโขภิกขุ

ขอให้ ส ัง เกตดู จ ากเหตุ ก ารณ์ ท่ีเ กิด ขึ้น จริง ๆในชีว ิต ประจ าวัน ความรูส้ กึ ให้สาระจะเกิดขึน้ เร็วมากบางมากจนไม่รตู้ วั สติสมาธิปัญญายังไม่ แข็งแรงพอจึงรู้ไม่ทนั ต้องตามดูตามรู้ให้ทนั ในอาการต่อจากการให้สาระ แทน พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าอารมณ์เดียวกับการให้สาระคือ เจตนา ดาริ จง ใจ และครุ่นคิด ถือว่าเป็ นอารมณ์เดียวกันกับการให้สาระ แม้น้าหนักของแต่ ละอาการจะหนักเบาต่างกันอยู่บา้ ง แต่ถอื ว่าเป็ นอารมณ์ธรรมทีใ่ กล้เคียงกัน ซึ่งก็อาจสังเกตเห็นได้ยากอยู่ดี จึงควรไล่ตามอาการที่เกิดตามมาแทน นัน่ คือความรู้สกึ ว่ามี ให้สาระสิง่ ใดอาการที่ตามมาก็คอื ความรู้สกึ ว่ามีส ิ่ง นัน้ ขึ้นมาในใจ อาการของความรู้สกึ ว่ามีสงิ่ นัน้ เป็ นอาการที่น่าจะเห็นชัดเจน ขึ้น จึงสามารถตรวจพบได้ไม่ยาก ความรู้สกึ ว่ามีภาษาบาลีเรียกว่า “ภพ” แปลว่าความรูส้ กึ ว่ามีว่าเป็ น ภพเกิดจึงหมายถึงเกิดความรูส้ กึ ว่ามีหรือเป็ น สิง่ ใดๆขึน้ มา ตัวอย่างเช่นเรายืนอยู่หน้าบ้านมองเห็นรถวิง่ ผ่านไปมา จุดนัน้ จะมี ทัง้ การเห็นเฉยๆไม่ปรุงไม่รู้สกึ อะไร แม้จะเห็นแต่ ก็ไม่ปรุง นัน่ คือการเห็น พุทธะในสิง่ ที่กาลังทาปฏิกิรยิ ากันอยู่ แต่เราจะไม่รู้ตวั เพราะปั ญญายังไม่ เกิด เห็นพุทธะตาตาแต่ไม่รู้จกั คืออาการอย่างนี้ ต่อมาเกิดมีรถคันใดคัน หนึ่งที่ทาปฏิกริ ยิ ากับวิญญาณธาตุ (ธาตุรู้)แล้วเกิดอาการให้สาระกับรถคัน นัน้ ขึน้ มา ตอนให้สาระเราจะตามไม่ทนั ไม่เป็ นไร แต่ให้สาระเสร็จ ความรูส้ กึ ว่ามีรถคันนัน้ มันเด่นชัดจริงจังขึ้นมา ความมีอยู่ของรถเกิดขึน้ มาในใจทันที นี่คอื การเกิดภพ(ภาวะความมีความเป็ นรถ)เกิดตามมาจากการให้สาระ รถ คัน นัน้ จะกลายเป็ น ที่ต ัง้ ให้เ กิด การปรุ งสังขารอื่น ๆต่อ ไป เรีย กว่ า ท าให้ เกิดปฏิกริ ยิ าซ้อนทับเพิม่ ขึน้ โดยไม่รตู้ วั แต่ถ้าเรารูต้ วั และมีสติปัญญาแกร่ง กล้าพออาจหยุดปรุงไม่ยอมไปต่อ เรื่องของรถก็หยุดตรงนัน้ แต่ถ้าอวิชชา ๑๕


มหาจัตตารีสกสูตร

หนาแน่ นมาก สิง่ ที่จะไหลต่อไปก็คอื การให้เหตุผลกับมัน ในรูปแบบต่างๆ เช่นมีการเปรียบเทียบ ว่าดีไม่ดสี วยไม่สวยดีกว่ารถเราแย่ก ว่ารถเราดีก็ปรุง ต่อเป็ นอยากได้น่าจะซือ้ นี่คอื การใส่เหตุผลลงไปในสิง่ ทีเ่ ราให้สาระ แล้วเรา คิดว่ามีสงิ่ นัน้ ๆอยู่จริง สิง่ ที่เกิดตามมาหลังจากให้สาระเป็ นสมมุตเิ ป็ นของ หลอกลวง เป็ นสิง่ ทีค่ ติทวินิยมไหลอาสวะออกมาปรุงซ้อนทับขึน้ เพราะเรา ไม่รตู้ ามความเป็ นจริง ความทุกข์จงึ เกิดตามมาในทีส่ ุด แต่ถา้ มีปัญญารูต้ าม ความจริงและระลึกตามความจริงทัน เมื่อเกิดการปรุง จะปรุงถึงจุดไหนก็ ตาม สิง่ ที่ปรุงนัน้ เราสามารถระลึกได้ทุกจุดว่า มันไร้สาระ เพราะมันเป็ น ขันธ์มนั จึงเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มสี าระแก่นสารทัง้ นัน้ ใครระลึกได้ทนั ตรงจุดใดระลึก ตรงจุดนัน้ ทันที ห่วงโซ่ธาตุเลวก็จะขาดสะบัน้ ทันที ทาแรกๆอาจขาดยาก ต้องทาบ่อยๆ ห่วงโซ่อวิชชาก็จะขาดง่ายขึน้ ห่วงโซ่อวิชชาขาดสะบัน้ เมื่อใด จิตพุทธะก็จะปรากฏทันที เราก็จะรูส้ กึ ว่างเบาโปร่งโล่งอิม่ เย็นมีปิตปิ ั สสัทธิ สงบระงับ แต่ถา้ คิดต่อมันจะค่อยๆร้อนขึน้ ถ้าหยุดคิดไม่ได้ปล่อยให้ไหลไปก็ จะเกิดความทุกข์ตามมาอย่างเลีย่ งไม่ได้ เมื่อ ฝึ ก หยุ ด ให้ส าระบ่ อ ยๆมากๆ สิ่ง ที่จ ะเกิด ตามมาก็ค ือ เราจะ ค่อยๆเริม่ รูจ้ กั จิตพุทธะชัดเจนขึน้ รูจ้ กั เหตุทาให้เกิดทุกข์ใกล้เคียงถึงต้นเหตุ มากขึน้ คืออาจจะรูช้ ดั ถึงตอนเกิดการให้สาระเลยก็ได้ การฝึกดับอวิชชาใน ครัง้ ต่อๆไปก็จะทาได้ง่ายขึ้น การเลิกให้สาระก็จะทาได้เร็วขึ้น พอเลิกให้ สาระสาเร็จก็จะรูจ้ กั วิธปี ระคองจิตพุทธะให้เป็ นจิตพุทธะนานๆคือว่างนานๆ รวมถึงรูจ้ กั การทางานด้วยจิตว่างหรือด้วยจิตพุทธะอย่างไม่ยากเย็น และที่ สาคัญทีส่ ุดทุกครัง้ ทีเ่ ลิกให้สาระได้ย่อมสร้างสัมมาญาณะทีละเล็กทีละน้อย อย่ า งไม่ รู้ต ัว ซึ่ง จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการใคร่ ค รวญธรรมด้ว ยองค์ธ รรม มหาจัตตารีสกะอย่างยิง่ ด้วยเหตุน้ีพระพุทธเจ้าจึงตรัสสอนสิง่ ที่หลายคน อาจแปลกใจว่าพระองค์สอนเพือ่ อะไร คือสอนให้รจู้ กั เลิกให้สาระ มีทม่ี าทีไ่ ป ตรงที่เลิกให้สาระเก่งๆ จึงจะใช้สมั มาสติสมั มาสมาธิสมั มาญาณะแบบอนา ๑๖


สมสุโขภิกขุ

สวะเป็ น ยังไม่ต้องถึงกับเก่ง แค่ใช้ได้ใช้เป็ นก็ถอื ว่าทางแห่งความหลุดพ้น คืบใกล้เข้ามามากแล้ว เมื่อใดมีการให้สาระ มีเจตนา มีการจงใจ สิง่ ที่จะ ตามมาเป็ นอันดับแรกคือความรู้สกึ ว่ามีสงิ่ นัน้ หรือความรู้สกึ ว่าสิง่ นัน้ มีอยู่ จริง ก่ อ ภาวะความมีค วามเป็ น (ภพ)ขึ้น มา เนื่ อ งด้ว ยปุ ถุ ช นผู้มีอ วิช ชา ครอบงาอยู่ดว้ ยไม่รคู้ วามจริง จะมีปกติเป็ นผูม้ คี ติทวินิยม คือนิยมทีจ่ ะไหล ไปสู่ของคู่ ตอนนี้กจ็ ะดึงเหตุผลมาใช้เปรียบเทียบ มีการเปรียบเทียบนัน่ คือ เกิดของคู่ขน้ึ มาแล้ว เป็ นบวกหรือลบดีหรือเลวถูกหรือผิดใช่หรือไม่ใช่ ฯลฯ นักปฏิบตั ทิ เ่ี ลิกให้สาระตอนต้นๆไม่ทนั หันมาจัดการเลิกให้สาระตอนมีของคู่ คือตอนมีการเปรียบเทียบก็ได้ มีถูกมีผดิ ก็ไร้สาระอย่าไปคิดเรื่องถูกเรื่องผิด เป็ นต้น ไม่ว่าอะไรที่เป็ นของคู่เปรียบเทียบกันรีบเลิกให้สาระกับความคิด แบบนัน้ ทันที กวาดจิตสาสวะออกไป ถ้าเลิกคิดสาเร็จก็จะว่างวางสบาย ปลอดโปร่งโล่งเย็น นันแหละคื ่ อความเป็ นจิตพุทธะเริม่ ปรากฏแล้ว ทีต่ ้องฝึกเช่นนี้เป็ นอันดับแรกก็เหมือนเป็ นการสร้ างสมรรถภาพให้ สติสมาธิปัญญา เพราะภารกิจต่อไปต้องใช้ศรัทธินทรีย์ ปั ญญินทรีย์ สมาธิ นทรีย์ สตินทรีย์ และวิรยิ นิ ทรีย์ ในการปฏิบตั ิ การดับสังขารด้วยสติชอบ เป็ นการสร้างสติให้แ ข็งแรง เหมือนนักกีฬาฝึ กซ้อมเพิ่มพลัง สติแข็งแรง สมาธิและปั ญญา จะแข็งแรงตามไปด้วย เพ่งมากเพียรมากขยันมากอดทน มาก ก็ทาให้ความเพียรแก่กล้า ทุกๆองค์ธรรมทีส่ าคัญๆแก่กล้าขึน้ นันแหละ ่ เขาเรียกว่าอินทรีย์ ๕ แก่กล้าขึน้ ซึ่งจาเป็ นต้องใช้ในองค์สมั มัตตธรรมของ มหาจัตตารีสกสูตร ถ้าแข็งแรงไม่พอต้องทาให้พอจะได้มพี ลังในการจัดการ กับมิจฉัตตธรรมและสัมมัตตธรรมสาสวะ จัดการมิจฉัตตธรรมไม่ยากเท่าไร แต่จดั การสัมมัตตธรรมสาสวะยากยิง่ กว่ายาก จึงต้องบ่มเพาะอิทรีย์ ๕ อัน ประกอบด้วย ศรัทธินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปั ญญินทรีย์ วิรยิ นิ ทรีย์ ให้ มีพลังแก่กล้าที่สุ ดเท่าที่จะทาได้ การฝึ กเลิกให้ส าระต่อสรรพสิ่งรอบข้าง ๑๗


มหาจัตตารีสกสูตร

อย่างน้อยสัก ๓๐ % ขึ้นไปถือว่าอยู่ในระดับที่พอจะสู้สมั มัตตธรรมสาสวะ ไหว อะไรทาให้เกิ ดอาการเจตนา จงใจ ให้สาระ ตอบ...เพราะความไม่รู้ เมื่อมีปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ ปุถุชนผูม้ อี วิชชายังไม่รตู้ ามความจริงของ สิง่ นัน้ อนุสยั (ความเคยชิน)จะไหล(อาสวะ)ออกมาทาปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่าง หนึ่งตามความเคยชิน ซึ่งอาการไหลลาดับต้นๆก็คอื เจตนา จงใจ ให้สาระ ให้ค วามส าคัญ เสร็จ แล้ว จึง ไหลปฏิกิริย าอื่น ๆตามมาด้ว ยความเคยชิน เช่นภวาสวะก็ไหลไปสร้างความมีภพ กามาสวะก็ไหลไปสร้างของคู่ สวยขี้ เหร่ งามไม่งาม พอใจไม่พอใจ ดีไม่ดี ชอบไม่ชอบ ของคู่ของเปรียบเทียบ สัมมัตตธรรมระดับอนาสวะจัดว่าเป็ นอาสวะทัง้ นัน้ ซึ่งต่างจากระดับสาสวะ แต่ถ้าเป็ นอนาสวะอะไรเป็ นของคู่ต้องจัดการทาลายทัง้ นัน้ เพราะยังถือว่า เป็ นการไม่รตู้ ามความจริง รูต้ ามความจริงอนาสวะต้องละเอียดกว่าสาสวะ แต่มใิ ช่ไม่คดิ ไม่ปรุงอะไรไม่ทาอะไร มีเทคนิคอยู่นิดหนึ่งตรงทีเ่ มื่อรู้ ความจริงแล้วนักปฏิบตั แิ ค่ระลึกตวามจริง ติดตามต่อไปทุกๆปฏิกริ ยิ าที่เกิด ไม่มยี กเว้น รู้อะไรเห็นอะไรคิดอะไรรู้สกึ อะไรทาอะไรกินอะไร ก็มสี ติระลึก ว่าอย่าไปให้สาระอย่าไปเจตนาอย่าไปจงใจ การมีสมั มาสติคุมปฏิกริ ยิ าได้ เช่นนี้ จิตพุทธะก็จะทาหน้าที่อยู่ตลอดไป เมื่อก่อนยังไม่รู้ความจริงจิต สา สวะทาหน้าทีอ่ ยู่ แต่รตู้ ามความจริงได้เมื่อใด และระลึกตามความจริงจนไม่ มีอาสวะไหลออกมา ตอนนัน้ คือตอนทีจ่ ติ พุทธะกลับมาทาหน้าทีแ่ ล้ว เขาจึง เรียกปฏิกริ ยิ าเช่นนี้ว่าเป็ นปฏิกริ ยิ าอนาสวะ คือปฏิกริ ยิ าทีม่ กี ารทางานโดย ไม่มอี าสวะ(อนาสวะแปลว่าไม่มอี าสวะ) หรือทางานด้วยความว่างนัน่ เอง เพราะปุถุชนรู้ตามความจริงของสิง่ นัน้ เรียบร้อยแล้ว ความเคยชินเดิมใน อนุ สยั ย่อมหายไป จึงไม่มกี ารไหล(อาสวะ)อะไรออกมา ตรงจุดนี้ปฏิกิรยิ า ต่างๆจึงเป็ นไปตามธรรมชาติเดิมแท้อย่างที่ควรจะเป็ นทันที เรียกว่าจะมี ๑๘


สมสุโขภิกขุ

การทางานด้วยความว่าง ทางานด้วยจิตพุทธะ ทางานโดยไร้เจตนา ไม่มี การให้สาระไม่มตี วั ตนผู้กระทามีแต่การกระทา ผัสสะสิง่ ใดไร้เจตนาไปหมด สักว่าไปหมดไม่ให้สาระไปหมด ปฏิกริ ยิ ามีอยู่การกระทามีอยู่การคิดการ ปรุงมีอยู่ แต่จติ พุทธะจะคอยคุมให้เป็ นปฏิกริ ยิ าสักว่ าปฏิกริ ยิ าไปทุกลาดับ ขัน้ ตอน ดังนัน้ จึงอธิบายไว้ในตอนต้นๆว่า เลิกให้สาระตอนใดได้ทงั ้ นัน้ ดี ทัง้ นัน้ กาจัดธาตุเลวหมดไปได้ทงั ้ นัน้ ผูเ้ ลิกให้สาระเลิกเจตนาเลิกจงใจได้บางส่วนจนมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิก ให้ส าระอยู่ใ นกระแสเลือ ด มีปฏิกิริยาใดๆมาผัส สะก็พยายามที่จะเลิก มี ปั ญญาชอบรูว้ ่าทางหลุดพ้นรออยู่ขา้ งหน้าด้วยวิธเี ช่นนี้ เขาเรียกบุคคลผูน้ นั ้ คือผูเ้ ห็นทางเข้ากระแสนิพพาน(โสดาปฏิมรรค) ถ้าไม่ทอ้ เร่งเพียรพยายาม ต่อไป จนสามารถเลิกเมาตนเอง ความรู้สกึ เมาตัว เมาตนความรู้ส ึก หลง ตัวเองเกิด ก็เลิกให้สาระได้๑๐๐%จนความเมาตนเองหลงตนเองเกิด อีก ไม่ได้ ต่อมาก็เลิกสงสัย ไร้สาระที่จะไปสงสัยอะไร อะไรๆก็เป็ นปฏิกิริยา ธรรมชาติ จะไปสงสัยมันทาไม ความสงสัยเกิดเมื่อใดก็ไร้สาระได้ ๑๐๐% จนความสงสัยเกิดอีกไม่ได้แล้ว สุดท้ายคือเลิกงมงายได้๑๐๐% หมดสงสัย เมื่อใด กฎธรรมชาติย่อมทาให้หมดความงมงายตามไปด้วย สิง่ ใดๆเกิดย่อม มองเห็นว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเป็ นเรื่องธรรมดามันต้องเป็ นของมัน เช่นนัน้ เอง ไม่ควรสงสัยไม่ควรงมงาย จนเลิกงมงายได้ทุกชนิด ไม่มสี งิ่ ใด วิเศษกว่าสิง่ ใด มองเห็นความเสมอกันของปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ การฝึกเลิกให้ สาระเลิกจงใจเลิกเจตนาจะทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าสิ้นสงสัยสิ้นงมงายสิน้ มัวเมา ตนเองได้อย่างเด็ดขาดในเวลาไม่นาน ทาได้ถงึ ขัน้ นี้สาเร็จก็เรียกได้ว่าเป็ นผู้ แรกเข้ากระแส จากเห็นทางก่ อ นแล้ว ฝึ ก แล้ว ทาก็จะกลายเป็ นผู้แรกเข้ า กระแส(โสดาบัน) โสดาบันจึงไม่ใ ช่ก ารได้อ ะไรเป็ นอะไร ไม่ใ ช่ต าแหน่ ง ยศฐาบรรดาศักดิ ์แบบเป็ นกานันผูใ้ หญ่บา้ นสว.สส.รัฐมนตรีอย่างทีค่ นอยาก ได้ก ัน แต่ เ ป็ น แค่ ส ภาพปฏิกิริย าธรรมชาติ อ ย่ า งหนึ่ ง ที่จ ะเกิด กับ คนที่ ๑๙


มหาจัตตารีสกสูตร

สามารถเลิกเมาตนเองเลิกสงสัยเลิกงมงายจนกลับมาเมาตนเองมาสงสัยมา งมงายอีกไม่ได้ ใครทาได้ถึงระดับนี้ย่อมเป็ นผู้เ ข้าสู่กระแสนิพพานอย่ าง ชนิดหนีกไ็ ม่ได้ ไม่อยากทาก็ไม่ได้ เลิกทาก็ไม่ได้ ธรรมชาติมนั ไหลของมัน ไปเอง ไม่ใช่มเี จตนาทีจ่ ะทาเพือ่ จะได้มนั ไหลของมันไปเอง ถึงจุดนี้เมื่อชีวติ ด าเนิ น ต่ อ ไป การไหลก็มีต่ อ ไป เขาจึง เรีย กว่ า เป็ นผู้แ รกเข้ า กระแส (โสดาบัน) คือจะเป็ นผูท้ ม่ี กี ารปฏิบตั ถิ ้าพูดเป็ นสานวนไทยๆก็คอื เข้ากระดูก ดาหรือเข้ากระแสเลือดแล้ว ไม่ทาไม่ได้มนั ไหลไปเกิดปฏิกริ ยิ าของมันขึ้นมา เอง เห็น สิ่ง ใดพบสิ่ง ใดมัน ก็ ไ ร้ ส าระไร้ เ จตนาไร้ แ รงจู ง ใจของมัน เอง ธรรมชาติปฏิบตั เิ ช่นนี้นานๆเข้ามันก็ทาให้ราคะเบาบางโดยอัตโนมัติ โทสะ เบาบางโดยอัตโนมัติ ความเบาบางถึงระดับหนึ่งคนผู้น้ีหรือสังขารกลุ่มนี้ก็ จะกลับมาเกิดได้แ ค่ค รัง้ เดียว และจะหลุดพ้นไม่ต้อ งมาเกิดอีก เขาเรียก ปฏิกริ ยิ าตรงนี้ว่าสกิทาคามี แปลว่าผูถ้ งึ การเกิดอีกครัง้ เดียว มันเหมือนพอ ปฏิบัติถู ก ทางสิ่ง แรกที่เ ห็น คือ บัน ไดและเห็น นิ พ พานอยู่ท่ีป ลายสุ ดของ บันได นักปฏิบตั กิ เ็ ดินตามบันไดไปเรื่อยๆ จะรูช้ ่อื หรือไม่รูช้ ่อื ว่าบันไดแต่ละ ขัน้ ชื่ออะไรไม่สาคัญ ไปให้ความสาคัญกับชื่อขัน้ บันไดเสียอีกจะตกบันได ทันที ไม่รู้ช่อื ขัน้ บันไดแต่เราก้าวข้ามบันไดทีล ะขัน้ ความรู้สกึ ว่าได้อะไร ย่อมไม่มี ปฏิบตั ถิ ูกทางต้องรูส้ กึ อย่างนี้ ให้ทุกสิง่ มันคลายตัวของมันไปเอง ให้มนั หายไปเอง ไม่ต้องสนใจว่าก้าวได้ก่ขี นั ้ แล้ว ยังมีบนั ไดให้ก้าวต้องก้าว ต่อไป โดยใช้สติแบบเดิมอุบายแบบเดิม อุบายทีต่ รงจริตใช้แล้วได้ผลเร็วก็ ใช้อุบายนัน้ ไป ธรรมะหลายเล่มเกวียนไม่สาคัญเท่าอุบายตัวเดียว บันไดที่ ก้าวข้ามทีละขัน้ มันเกิดปฏิกริ ยิ าอะไรก็ไปให้สาระมันไม่ได้ ให้สาระเมื่อใด ตกบันไดทันที เรื่องหยุดทาหยุดปฏิบตั สิ าหรับผูเ้ ข้ากระแสเรื่องนี้หมดห่วง ไปได้ เพราะผู้เข้ากระแสสาเร็จ เรื่องพักเรื่องพอเรื่องยอเรื่องหยุดไม่มแี ล้ว เพียงแต่จะรุดหน้าเร็วช้าแค่ไหนเท่านัน้ เอง ก้าวบันไดไปเรื่อยๆ ก็ลดละไป เรื่อ ยๆก็จ ะเข้า กระแสไปเรื่อ ยๆ จากสกิท าคามีเ ดี๋ย วเดีย วก็เ ข้า กระแส ๒๐


สมสุโขภิกขุ

อนาคามีซ่งึ หมายความว่าผู้ไม่ต้องเกิดอีก สกิทาคามีคอื มาเกิดอีกหนึ่งหน แต่อนาคามีไม่ต้องมาเกิดแต่กย็ งั ไม่ปรินิพพานนัน่ หมายถึงว่าอนาคามีเมื่อ ร่ า งกายดับ รู ป ธาตุ ท่ีท าปฏิกิริย าเป็ นกายเสื่อ มสถาพจนใช้ ก ารไม่ ไ ด้ อนาคามีทง้ิ แค่รูปธาตุนามธาตุทท่ี าปฏิกริ ยิ ากันยังอยู่ ปฏิกริ ยิ าของนามธาตุ เดิม ๆอยู่ค รบ ที่อ ยู่ใ นสภาพไม่ ต้อ งอาศัย อิง แอบแนบอยู่กับ รูป ต่ า งกับ โสดาบันและสกิทาคามี สองกลุ่มนัน้ ดับทัง้ รูปทัง้ นามแล้วไปสร้างปฏิกริ ยิ า เป็ นรูปใหม่นามใหม่ แต่สถานภาพการเป็ นผู้เข้ากระแสกับผูก้ ลับมาเกิดอีก ครัง้ เดียวคงอยู่โสดาบันทีเ่ กิดใหม่จงึ มีสทิ ธิเกิดได้ไม่เกิน๗ครัง้ สกิทาคามีไม่ เกิน๑ครัง้ ไม่ต้องปฏิบตั ใิ ดๆเลยปฏิกริ ยิ าธรรมชาติต้องไหลไปปรินิพพาน จนได้ มันเป็ นกฏธรรมชาติ เพราะการทาปฏิกริ ยิ าของอริยบุคคลมันเป็ นไป อย่างอัตโนมัติ เห็นสิง่ ไร้สาระจะไปให้สาระเป็ นไปไม่ได้ ไม่ปฏิบตั กิ เ็ หมือน ปฏิบตั ิ ขอบเขตชีวติ จึงถูกกาหนดไว้แล้วว่าไม่เกิน กว่านัน้ แต่เร็วกว่าได้ แต่ อนาคามีแปลว่าไม่ต้องเกิดอีกนัน่ คือไม่ใช่ตาย อนาคามีชาติน้ีท่านมิได้ตาย แต่ท่านมีแค่จิตที่เข้ากระแสอนาคามีเท่านัน้ ที่ยงั อยู่ และรอปรินิพพานใน สมัยคือในชาติน้ี เพียงแต่มนั อาจผิดปกติวสิ ยั ทีป่ ุถุชนจะคิดว่ามันมีวสิ ยั แบบ นี้อยู่ จึงขอนามาชี้แจงให้ทราบเพื่อประดับความรู้ มิได้คา้ นแย้งกับใคร ผูท้ ่ี อธิบายว่าไปเกิดเสียอีก มีความเข้าใจคลาดเคลื่อน อนาคามี ไม่เรียกว่าไป เกิดอีก ท่านแค่ยา้ ยบ้าน ตอนย้ายบ้านท่านทิ้งเฟอร์นิเจอร์ทท่ี ่านไม่ให้สาระ แล้ว ไว้บนโลก ท่านไปดื่มด่ า รสนิพ พานบนชัน้ สุ ทธาวาส รอจนท่านเบื่ อ เมื่อใดท่านก็ท้งิ รสนิพพานของท่านเอง เขาจึงเรียกปรินิพพานในสมัยคือใน ชาติท่ที ่านยังมีชวี ติ อยู่น่ีแหละ แต่อนาคามีเป็ นอริยบุคคลที่พิเศษ คือชาติ เดียวเป็ นทัง้ คนและพรหม โสดาบันสกิทาคามี ต้องตายจากคนก่อนจึงไป อุ บัติใ หม่ เ ป็ น คนหรือ เทวดาก็ต ามถือ ว่ า เป็ นคนละชาติค นละส มัย แต่ อนาคามีเป็ นอรหันต์ในสมัยเดียวกัน เป็ นอนาคามีตอนเป็ นคนแล้วไปเป็ น อรหันต์ตอนเป็ นพรหม ๒๑


มหาจัตตารีสกสูตร

ผู้เ ข้า กระแสอนาคามีค ือ ผู้เ ข้า กระแสนิ พ พานอย่ า งแท้ จ ริง แต่ ปฏิกริ ยิ าว่ากูเข้ากระแสนิพพาน นิพพานของกู ยังมีอยู่ และต้องการเสวย วิมุตติสุขในฐานะมีตวั กูผเู้ สวยวิมุตติสุข ด้วยคิดว่าจุใจเมื่อใดค่อยเข้ากระแส อรหันต์ มีพระสูตรยืนยันว่า อนาคามียงั มีอุปาทานเหลืออยู่ จึงยังไม่เป็ น อรหันต์ เหลือแค่ยดึ มันถื ่ อมัน(อุ ่ ปาทาน)ในการเสวยวิมุตติสุขเท่านัน้ เอง ส่วนพระอรหันต์เสวยวิมุตติสุขในฐานะพระอรหันต์ เสวยวิมุตติสุข แบบไม่มใี ครเป็ นผู้เ สวย ต่างกันแค่ตรงนี้ อนาคามีจึงใช้ปฏิกิรยิ าของธาตุ ขันธ์เดิมๆนัน่ แหละเสวยวิมุตติสุข ไม่ต้องมีการอุบตั ใิ หม่ หรือทาปฏิกริ ยิ า เป็ นนามธรรมชุดใหม่เหมือนสกิทาคามี ผู้เข้ากระแสสกิทาคามีต้องสร้าง ปฏิกริ ยิ าใหม่ยกชุด แล้วไปเข้ากระแสอรหันต์ในชาติหน้า อนาคามีชาติน้ี แต่ในสังขารทีเ่ ป็ นอรูป คือขาดรูปกาย กลุ่มสังขารทีท่ าเช่นนี้ได้มเี ฉพาะกลุ่ม สังขารทีเ่ ข้ากระแสอนาคามีเท่านัน้ จึงทาได้ สกิทาคามีและโสดาบันทาไม่ได้ ส่ว นพระอรหัน ต์ท่ า นคือ กลุ่ ม สัง ขารที่ไ ม่ ต้อ งมาเกิด อีก ไม่ ว่ า จะเกิด ใน รูปแบบใดๆ เกิดใหม่อกี ไม่ได้แล้ว นัน่ คือคุณสมบัตขิ องพระอรหันต์ ทีบ่ อก ว่าพระอรหันต์สามารถเลือกทีจ่ ะเกิดหรือปรินิพพานได้นนั ่ มโนเอาเอง ไม่ใช่ ความจริง ขัดหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ไร้สาระไร้ประโยชน์ ท่ีจะ เชื่อหรือคิดแบบนัน้ พระอรหันต์ท่านเกิดอีกไม่ได้ มีสงิ่ ทีเ่ กิดอีกไม่ได้สองอย่างคือขณะที่ ยังมีชวี ติ เกิดความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกูพระอรหันต์รู้สกึ แบบนัน้ อีกไม่ได้ ใน ระหว่างชีวติ ท่านจึงไร้เจตนาในสิง่ ใดๆ เลิกให้สาระในสิง่ ใด เกิดปฏิกิรยิ า ใดๆมาผัสสะท่านสักว่าในทุกๆสิง่ ปฏิกิรยิ าที่คู่กบั สังขารของพระอรหันต์ ในขณะมีชวี ติ อยู่คอื วิมุตติสุข แต่ท่านก็มไิ ด้ถอื ว่ามีใครเสวยวิมุตติสุข ถือเอา ทุกสิง่ เป็ นธรรมปวัตติ คือเป็ นปฏิกิรยิ าธรรมชาติทงั ้ หมด การกระทามีอยู่ เหมือนบุคคลธรรมดาทัวไปกระท ่ า แต่การกระทาทัง้ หมดเป็ นเรื่องของเหตุ ปั จจัยเป็ นเรื่องของธรรมชาติ เป็ นเหมือนทุกสิง่ ทุกอย่างคือระบบธรรมชาติท่ี ๒๒


สมสุโขภิกขุ

จะต้องเกิดปฏิกริ ยิ าเช่นนัน้ ตามธรรมดาของมัน เช่นจะมีชวี ติ ต้องหายใจ นี่ คือกลไกธรรมชาติ พระอรหันต์ท่านทาสิง่ ใดกลายเป็ นธรรมปว้ต ติหมดเช่น พบปฏิกริ ยิ าเช่นนี้ต้องทาเช่นนี้ ทาเพราะกลไกของธรรมชาติท่ที ่านต้องทา มิได้ทาเพราะมีปฏิกริ ยิ าอื่นใดมากระตุ้น มีธรรรมดาธรรมชาติเป็ นเหตุปัจจัย ให้เกิดปฏิกริ ยิ าต่างๆตลอดเวลา ผูเ้ ป็ นอรหันต์จงึ ไม่มกี ารทาอะไรผิด เพราะ ทุกสิง่ ทุกอย่างมันกลายเป็ นการกระทาของปฏิกริ ยิ าธรรมชาติลว้ นๆ เนื้อตัว พระอรหันต์คอื พุทธะ คือกระแสธรรมชาติอย่างหนึ่ง ไม่ใช่คนสัตว์อกี ต่อไป ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทเ่ี กิดในธรรมชาติทุกอย่างเกิดอย่างไร มีกฏอย่างไร ผล อย่างไร สังขารพระอรหันต์กอ็ าศัยกฎเกณฑ์เช่นนัน้ ในการดารงชีพจนกว่า จะเสื่อ มสภาพและไม่ ส ามารถท าปฏิกิริย าใดๆต่ อ ไปก็ห ยุ ด ท าปฏิกิริย า เหมือนธรรมชาติทวๆไปย่ ั่ อมเป็ นเช่นนัน้ พระอรหันต์ไม่ใช่วตั ถุวเิ ศษ เป็ นแค่กลุ่มสังขารที่ไม่สามารถมีอะไร มาชัก ใยให้ ก ระท าการใดๆได้ ด้ ว ยวิธีใ ดๆได้ แต่ เ ป็ นกลุ่ ม สัง ขารที่ จ ะ เกิดปฏิกริ ยิ าใดๆกับกลุ่มสังขารกลุ่มนี้ ต้องขึ้นตรงกับกฎธรรมชาติล้ว นๆ ไม่ได้ทาเพราะคติทวินิยม คือมีการกระตุน้ ให้ทาด้วยของคู่ เช่นดีเลวบวกลบ แต่ ป ฏิกิริย าจะเกิด ต้ อ งเกิด เพราะกฎธรรมชาติเ ป็ น เช่ น นี้ จึง ถือ ว่ า พระ อรหันต์คอื สรีระยนต์ท่ีปฏิกิริยาทุก ชนิด จะเกิดกับสรีระยนต์ องค์น้ีเ ป็ นไป ตามกฎธรรมชาติลว้ นๆ เป็ นจิตพุทธะล้วนๆเป็ นจิตเดิมแท้ธรรมชาติเดิมแท้ ล้วนๆทีส่ ร้างปฏิกริ ยิ าต่างๆขับเคลื่อนสังขารของท่าน อนาคามียงั ไม่ต้องการเป็ นเช่นนี้ ยังต้องการมีตวั ตนผูร้ บั รูแ้ ละเสวย ธรรมชาติแปลกใหม่ทต่ี นค้นพบและเข้ากระแส เลยขอหยุดก้าวต่อไปจะด้วย เจตนาหรือด้วยพลังปั ญญินทรียย์ งั ไม่แรงกล้าพอก็ตาม แต่จะช้าจะเร็วท่าน ก็ถงึ จุดอิม่ ตัว สลัดวิมุตติสุขได้อย่างไม่มเี ศษเหลือจนได้สกั วัน และในชาติน้ี อย่างแน่นอนแต่ในสถานะพรหมมิใช่มนุษย์ ถ้าสลัดได้ในขณะเป็ นคนท่านก็ ๒๓


มหาจัตตารีสกสูตร

เป็ นพระอรหันต์ในชาติทเ่ี ป็ นคน ถ้าไปสลัดได้ในขณะทีเ่ ป็ นพรหมท่านก็เป็ น พระอรหันต์ในสถานะพรหม ได้กล่าวถึงอริยบุคคลครบสีป่ ระเภทแล้ว จึงอยากเชิญชวนให้ทุกคน มีความพากเพียรพยายามตัง้ ใจเอาจริงเอาจังกับการปฏิบตั ิ เพื่อเข้ากระแส นิพพานให้ได้ จะเข้ากระแสลาดับใดดีทงั ้ นัน้ เพราะขอแค่เข้ากระแสได้ หลัก ธรรมชาติมอี ยู่ว่าจะเหมือนมีธรรมยานพาผูเ้ ข้ากระแสมุ่งสูว่ มิ ุตติสุขได้เองไม่ ว่ า จะต้อ งการหรือ ไม่ ต้อ งการธรรมชาติจ ะไหลพาธาตุ ข นั ธ์ท่ีเ ข้า กระแส เดินทางไปสูจ่ ุดนัน้ เองจะเร็วจะช้าต้องถึงแน่นอน อย่ าดึ ง ค่ าของอริ ย บุ ค คลให้ ตกตา่ ผิ ด ความจริ ง ด้ วยการยก ย่องเกิ นความจริ ง ปั จจุบนั มีการยกย่องอริยบุคคลว่าเป็ นคนพิเศษไม่ใช่คนธรรมดา แบบเราๆท่านๆแล้ว การกระทาเช่นนัน้ กลับทาลายศาสนาทางอ้อม ทาให้ สังคมมองอริยบุคคลผิดเพี้ยนไปจากความจริง เพราะอริยบุคคลยิง่ สูงยิ่ง ธรรมดามิใช่ยงิ่ วิเศษ สังคมปั จจุบนั มองความเป็ นอริยบุคคลในแง่ลบ ในแง่ผดิ ปกติ ในแง่ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ใช่มอี ยู่เป็ นสามัญในโลก บางทีมองเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ไม่มอี ยู่ จริง เพราะการใส่สตี ไี ข่ให้อริยบุคคลจนเกินวิสยั ทีจ่ ะเป็ นจริงได้นนั ่ เอง ลองใคร่ครวญดู ถ้าบุตรหลานของทุกคนบอกว่าโตขึ้นอยากเป็ น หมอ อยากเป็ นทหาร อยากเป็ นตารวจ อยากเป็ นครู เราจะมองว่าลูกหลาน ของเราเป็ นคนปกติเป็ นคนธรรมดา แต่ถ้าลูกหลานใครสักคนบอกโตขึน้ หนู อยากเป็ นโสดาบันอยากเป็ นอรหันต์ พ่อแม่ป่ ูย่าตายายจะต้องตกอกตกใจ กันทัง้ บ้าน ไปบอกใครก็ตามคนทีไ่ ด้ยนิ จะต้องคิดในแง่ลบทันที ว่าเด็กคนนี้ บ้าหรือเปล่าเพี้ยนหรือเปล่า นี่คอื สังคมไทยกาลังเป็ นเช่นนี้แล้ว เหตุทเ่ี ป็ น เช่นนี้กเ็ พราะไม่รคู้ วามจริงเรื่องอริยบุคคล รูม้ าผิดๆ ทีร่ ผู้ ดิ ๆก็มาจากการใส่ ๒๔


สมสุโขภิกขุ

สีตีไ ข่ ย กย่ อ งอริย บุ ค คลอย่ า งเกิ น ความจริง เลยท าให้ ก ารอยากเป็ น อริยบุคคลซึ่งเป็ นสิง่ ทีด่ กี ลายเป็ นเรื่องเลวร้าย ไม่ใช่เลวร้ายธรรมดาเลวร้าย สุดๆ ถึงขนาดถ้าใครไปพูดเข้าจะกลายเป็ นคนเพี้ยนคนบ้าไปเลย หลวงพ่อประยุทธเคยเขียนหนังสือไว้ท่านบอกว่าสังคมควรตื่นรูค้ วร สร้างความเข้าใจในเรื่องนี้ ให้สงั คมเห็นว่าเป็ นเรือ่ งปกติ ธรรมดาของผู้ นั บถือศาสนาพุท ธ ที จ่ ะต้ องมีเป้ าหมายหลัก ของการเป็ นชาวพุท ธ ด้ ว ยวิ ธี ป ฏิ บัติ ธรรมอย่ า งน้ อยให้ เ ข้ า กระแสโสดาบัน ให้ ไ ด้ เพื่อ ประโยชน์แก่ตนเองแก่ครอบครัวแก่ศาสนา และสุดท้ายประโยชน์ย่อมตกถึง สังคมโดยรวมและประเทศชาติใ นที่สุ ด ชาวพุทธจึงต้อ งรู้จกั ตื่นรู้และท า ความเข้าใจสถานะความเป็ นอริยบุคคลที่ถูกตรง ทาความรู้ทวถึ ั ่ งให้ได้ว่า เป็ นเรื่องปกติเป็ นเรื่องธรรมดาเป็ นเรื่องที่ทุกคนสามารถวาดหวังได้ ไม่ใช่ เป็ นเรื่องเหนือจริงผิดธรรมชาติเกินทีจ่ ะวาดหวังได้ ถ้าชาวพุทธร่วมแรงร่วม ใจกัน ท าได้ สัง คมชาวพุ ท ธจะเป็ น ที่ย กย่ อ งต่อ ชาวโลกอย่ า งยิ่ง ใหญ่ สุ ด ประมาณ ขอเขียนฝากไว้เป็ นข้อคิด มิได้วาดหวังต้องการให้สงั คมต้องเป็ น ถึงขนาดนี้ ขอเพียงเริม่ ทีต่ วั เราคนเดียวก่อนถ้าทาได้ศาสนาพุทธย่อมไม่ถงึ กาลอวสานในเวลาอันใกล้น้อี ย่างแน่นอน อย่าเปิ ดโอกาสให้จิตสองสร้างของคู่ ตัวอย่างเช่น คาว่า "แรกเข้ากระแส" กับคาว่า "โสดาบัน" คือ ปฏิกิริย าอย่ า งเดีย วกัน อาการเดีย วกัน เป็ นองค์ ธ รรมชนิ ด เดี ย วกัน ความหมายเดียวกัน แต่ทดลองใช้หรือทดลองคิดถึงระลึกถึง จะเห็นความ แตกต่างอยู่ในคาสองคานี้ เช่นพอใช้คาว่า "เป็ นโสดาบัน" กับ "เป็ นผู้แรก เข้ากระแส" เป็ นโสดาบันมันดูเท่กว่าโก้กว่าวิเศษกว่า ดูไม่ธรรมดา เป็ นคน พิเศษเกิดขึน้ มาในความรูส้ กึ ทันทีพร้อมไปในตัวขณะทีค่ ดิ ถึงคาว่าโสดาบัน เหตุทเ่ี ป็ นเช่นนี้กเ็ พราะสัญญาเลวมันเคยชิน(อนุสยั )กับการไหล(อาสวะ)ไป สร้ า งของคู่ ใ ห้ ค าๆนี้ จึง ใส่ ค วามดีก ว่ า เหนื อ กว่ า ไม่ ป กติก ว่ า ซ้ อ นทับ ๒๕


มหาจัตตารีสกสูตร

ความรู้ส ึก ว่า โสดาบันคือ ปฏิกิริย าธรรมชาติอ ย่ างหนึ่ ง ไปเสีย ทาให้เ กิด มิจฉาทิฐกิ เิ ลสตัณหาอุปาทานภพชาติตามมาโดยไม่รู้ตวั อาการเช่นนี้เป็ น เหตุการณ์ปกติของผูม้ จี ติ สองทีจ่ อ้ งแต่จะไหลไปสร้างการเปรียบเทียบ การ สร้างการเปรียบเทียบคือการสร้างความรู้สกึ บวกลบ กรณีคาว่าโสดาบันก็ สร้างความไม่ธรรมดาขึ้นมาเปรียบเทียบถ้าใช้ คาอื่นมันธรรมดาไม่ใช้ดกี ว่า ใช้คาว่าโสดาบันแล้วมันดูไม่ธรรมดาอย่างนี้เป็ นต้น คราวนี้ล องมาเปรีย บเทียบกับ การใช้ค าธรรมดาๆเช่ นพูด ว่ า นัก ปฏิบตั คิ นนี้เป็ นผูแ้ รกเข้ากระแสแล้ว กับพูดว่า นักปฏิบตั คิ นนี้เป็ นโสดาบัน แล้ว ผูพ้ ูดย่อมรูไ้ ด้ถงึ ความแตกต่างว่า คาว่าเป็ นโสดาบันมันดูอลังการดูภูมิ ฐานดูดกี ว่า คาว่าเป็ นผูแ้ รกเข้ากระแสมันดูพน้ื ๆ ดูจดื ๆดูเป็ นปกติไม่เห็นว่า จะวิเ ศษอะไร นี่ค ือ ตัว อย่างชัน้ ของภาษาที่จิต สองชอบสร้าง ใครไปหลง มายาคติท่จี ิตสองสร้างย่อมปฏิบตั คิ ลาดเคลื่อนจากความเป็ นจริงอย่างไม่ รูต้ วั และยิง่ ใช้มายาคติทจ่ี ติ สองสร้างบ่อยๆยิง่ ห่างไกลจากพุทธะจากความ เป็ นธรรมดาไปสู่การแสวงหาแต่ความไม่ธรรมดาโดยไม่รู้ตวั มาปฏิบตั ธิ รรม เลยกลายเป็ นมาปฏิบัติเ พื่อ ความไม่ธ รรมดามิได้มาปฏิบัติเ พื่อ ทาตนให้ กลายเป็ นคนธรรมดา นักปฏิบตั ิธรรมที่ต้อ งการเป็ นอริยบุคคลจริงๆไม่ ใช่เรื่อ งเสียหาย ไม่ใช่เรื่องที่ต้องปกปิ ด เพียงด่านแรกที่ต้องทาก็คอื ทาให้อริยบุคคลคือคน ธรรมดาของธรรมดาที่ใ ครสร้า งปฏิกิริย าที่ถู ก วิธีก็ส ามารถเข้า กระแส อริยบุคคลได้ทุกคน เมื่อต้องการพบความเป็ นธรรมดาภาษาทีใ่ ช้จงึ ต้องฝึ ก มาใช้ภาษาที่ไม่เปิ ดโอกาสให้จติ สองมาสร้ างของคู่ซ้อนทับ เช่นคาว่าเป็ น โสดาบันพอใช้คานี้จติ สองยิม้ เลยสร้างความรูส้ กึ ไม่ธรรมดาให้เกิดในใจลึก ๆ ว่าโสดาบันมันดีมนั ของวิเศษต้องทาให้ได้ เป็ นโสดาบันแล้วคนจะได้นับหน้า ถือตาจะได้เหนือกว่าคนอื่นๆ ลองใช้คานี้ดู ความรู้สกึ เหนือธรรมดาชนิดนี้ ๒๖


สมสุโขภิกขุ

อดทีจ่ ะเกิดแทรกขึ้นมาไม่ไเด้ นัน่ เพราะธาตุเลวสามตัวมันเคยชินที่จะไหล ไปสร้างของคู่ให้ทุกๆปฏิกริ ยิ าทีผ่ มู้ อี วิชชาผัสสะ แต่ ถ้ า นั ก ปฏิบัติฝึ ก มาใช้ ภ าษาธรรมดา ภาษาที่จิต สองไม่ ไ ด้ ครอบงา เช่นแทนที่จะตัง้ เป้ าว่าจะเป็ นโสดาบันกลับเลิกใช้สมมุตคิ านัน้ หัน มาใช้ค าธรรมดาๆสมมุ ติแ ทน เป็ น สมมุ ติเ หมือ นกัน แต่ จิต สองมีอ านาจ แทรกแซงต่างกัน เช่นใช้คาว่าเราจะต้องเป็ น ผู้แรกเข้ากระแสให้ได้ แทน เป็ น โสดาบัน ให้ไ ด้ ใช้ค าว่ า “เป็ นผู้ก ลับ มาเกิ ด อี ก ครัง้ เดี ย ว” แทน สกิ ท าคามี เป็ นผู้ไ ม่ต้อ งเกิดแทนอนาคามี ลองระลึกดูจะเห็นว่าชัน้ ของ ภาษาแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชดั พวกหนึ่งมีความเป็ นธรรมดา พวกหนึ่งมี ความไม่ ธ รรมดาดูมีช ัน้ ภาษาดีก ว่ า เหนื อ กว่ า ถ้า เราชอบใช้ภ าษาที่ไ ม่ ธรรมดาจุดนี้แหละคืออาหารอันโอชะของจิต สาสวะ ยิง่ ใช้ก็ยงิ่ ทาให้จติ สา สวะมีกาลัง ปฏิบตั ิไปปฏิกิรยิ าใดเกิดขึ้นจิตสองก็จะใส่ความรู้สกึ ไม่ธ รรม ให้กบั ปฏิกริ ยิ าที่ได้รบั ตลอดสายของการปฏิบตั ิ หลายคนเป็ นเช่น นี้ วิธแี ก้ คือฝึกหันมาใช้อะไรๆทีธ่ รรมดาให้หมด ใช้อะไรทีด่ ูแล้วธรรมดาแทนที่คาที่ ใช้แล้วดูไม่ธรรมดาทุกๆครัง้ ที่คดิ ทีร่ ะลึกที่พูดทีเ่ ขียน อย่าเปิ ดโอกาสให้จติ สองมามีบทบาทสร้า งปฏิกิริยาคู่ขนานกับ ความธรรมดา กาจัดความไม่ ธรรมดาให้สน้ิ รากสิน้ โคน เราจะได้ปฏิบตั ธิ รรมด้วยจิตพุทธะมิใช่ปฏิบตั ดิ ว้ ย จิตสาสวะอย่างก่อนๆ จิตพุทธะคือจิตทีไ่ หลไปสู่ความเป็ นธรรมดา นัน่ คือไหลไปหาความ จริง แต่ จิต สาสวะไหลไปสู่ค วามไม่ ธ รรมดา นัน่ คือ ไหลไปหามายาของ หลอกลวง จงเริม่ ฝึกเลิกคบกับจิตสองจิตสาสวะเสียตัง้ แต่เริม่ ปฏิบตั ิ มิฉะนัน้ อาจสายเกินกาล

๒๗


มหาจัตตารีสกสูตร

คือ สงสัย กัน ว่ า เลิก ให้ส าระหมดทุ ก อย่ า งแล้ว จะอยู่ อ ย่ า งไรจะ ทางานอย่างไรจะกินจะใช้อย่างไรจะประกอบอาชีพอย่างไรจะหาเงินหาทอง อย่างไร นัน่ คือจิตสองสร้างของคู่มามีอทิ ธิพลครอบงาโดยไม่รตู้ วั ของคู่ทว่ี ่า ก็คอื ความรู้สกึ ที่ว่า ต้องมีสาระจึงทา ไม่มสี าระต้องไม่ทา นี่คอื ความเป็ น ของคู่ทป่ี ุถุชนมีอยู่กบั ชีวติ โดยเกือบไม่รตู้ วั ว่ามันเป็ นมายาคติ มันเป็ นสิง่ ที่ สร้างขึ้นมาเองแล้วยึดถือขึ้นมาเองว่าเป็ นสิง่ ถูกต้อง ถ้าไม่ทาเช่นนี้มนั ไม่ ถู ก ต้ อ ง ดัง นั ้น พอมาให้ ฝึ ก เลิก ให้ ส าระก็ ดึ ง ความรู้ ส ึก เป็ นคู่ ท่ีมีอ ยู่ ม า เปรียบเทียบมาสรุปทันทีว่าทาแบบนัน้ ไม่ไ ด้มนั ผิดมันไม่ถูกต้อ งขืน ท ามี ปั ญหาแน่ ต้องทดลองทาดูจงึ จะรูว้ ่า ธรรมชาติจริงๆมิใช่สงิ่ เป็ นคู่ แต่เป็ นสิง่ หนึ่งที่เป็ นกลางว่างจากความเป็ นคู่ ว่างจากถูกผิด จะทาปฏิกริ ยิ าใดๆทา ตามเหตุปัจจัย แม้ส ิ่งนัน้ ไร้ส าระไม่มีส าระแต่ถ้ามีเ หตุปั จ จัยให้ทาสิ่ง นั ้ น ธรรมชาติน้ีเขาสามารถทาได้ ทาอย่างว่างๆทาอย่างไม่มบี วกลบ ทาไปตาม เหตุปัจจัย ผูท้ ้งิ ของคู่ได้กจ็ ะมีจติ พุทธะและเหตุปัจจัยเป็ น ปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นให้ เกิดปฏิกริ ยิ าอื่นๆตามมา ไม่ได้ทาสิง่ ใดเพราะมันมีสาระหรือไม่มสี าระ แต่ ทาเพราะมีเ หตุ ปั จจัย มีก ฎธรรมชาติว่า มีเ หตุปั จ จั ยเช่ น นี้ต้อ งมีปฏิกิริย า เช่นนี้ตามมา แล้วมีสมั มาสติสมั มาปั ญญาคอยควบคุมปฏิกริ ยิ าทุกๆอย่างที่ เกิดเหมือนรางรถไฟทีข่ นานกันไป รางข้างหนึ ง่ เหมือนลมทีไ่ หว รางข้างหนึ ง่ เหมือนใบไม้ทีส่ งบ รางหนึ่งมีการทาปฏิกริ ยิ าของมันไปตามกฎธรรมชาติตามเหตุตาม ปั จจัยเพื่อหาเงินหาทองเลี้ยงชีวติ เลี้ยงครอบครัว เพื่อประกอบสัมมาอาชีพ เพื่อรักษาธาตุขนั ธ์ให้ดารงอัตภาพอย่างไม่เป็ นทุกข์ การกระทาทุกอย่างมี ๒๘


สมสุโขภิกขุ

อยู่ แต่มรี างคู่ขนานอีกรางสร้างปฏิกิ ริยาคอยคุมไม่ให้เกิดความรู้ส ึกว่ ามี ผูก้ ระทา รางสติสมาธิปัญญาทีส่ มบูรณ์จะทาปฏิกริ ยิ าคู่ขนานไปตลอดเวลา ท าให้ก ารท ากิจ ใดๆของผู้ห ลุ ด พ้น จากการครอบง าของจิต สองสามารถ ดาเนินชีวติ และสัมมาอาชีพต่อไปอย่าง มีแต่การกระทาตัวตนผู้กระทาไม่ มี ตัวตนของสิง่ ทีถ่ ูกกระทาก็ไม่มี ตัวตนผลทีไ่ ด้รบั จากการกระทาก็ไม่มี มี แต่ก ารกระทาตัว ตนผู้ก ระท าหามีไ ม่ ทุก คนลองคิดดูว่าสังขารที่อ ยู่ด้ว ย ปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติเช่นนี้จะสมบูรณ์แบบขนาดไหน ลองฝึกจริงๆจังๆจน ทาให้ช่วงชีวติ หนึ่งสามารถมีชวี ติ ในลักษณะนี้ ให้ได้ จะเป็ นนาทีเป็ นชัวโมง ่ เป็ นวันก็วเิ ศษสุดจนเหนือคาบรรยาย อยากรู้ว่าสิง่ ที่ศาสนาพุทธสอนเป็ น จริงได้ไหม ต้องลงมือพิสูจน์ ด้วยการทาให้มนั ปรากฏขึ้นจริงๆสักครัง้ สอง ครัง้ ก็จะไม่มวี นั ลืมเลือน ขอเพียงครัง้ เดียวแค่ชวครู ั ่ ่ชวยามก็ ั่ ยงั ดี ทาได้จะ รูส้ กึ ทันทีว่าไม่เสียทีทเ่ี กิดเป็ นมนุษย์พบพุทธศาสนา แล้วสามารถทาคาสอน ทีม่ ใี นพุทธศาสนาให้เป็ นจริงได้ อย่าใช้แค่อ่าน ท่อง จา คิด แล้วรูส้ กึ ว่าดีว่า ถูก คิดแบบนัน้ จิตคติทวินิยมมันคิดมันหลอกให้หลงว่าดีทงั ้ ๆทีไ่ ม่เคยทาได้ จริงสักครัง้ รูว้ ่าดีโดยไม่เคยพบของจริงไม่ใช่สงิ่ ทีจ่ ติ พุทธะมีเด็ดขาด ถึงตอนนี้ทุกๆท่านมีความรู้พ้นื ฐานเพียงพอที่จะเข้าสู่ภาคปฏิบัติ สัมมัตตธรรมอนาสวะแล้ว แต่มขี อ้ เสนอแนะอีกประการหนึ่งคือศาสนาพุทธ ควรปฏิบัติก ับ สถานการณ์ จ ริง ไม่ ค วรปฏิบัติด้ ว ยวิธีค ิด ด้ ว ยวิธี ส ร้ า ง สถานะการณ์จาลอง เพราะทาแบบนัน้ จะไม่ได้ประโยชน์ สิง่ ที่ได้จะไม่ใช่ ปั ญญาจะกลายเป็ นฟุ้งในธรรม มันเป็ นอุทธัจจะกุกกุจจะ เป็ นกิเลสอย่าง หนึ่ง เป็ นนิวรณ์ไม่ใช่ปัญญา อุทธัจจะกุกกุจจะทาให้เกิดความคิดฟุ้งซ่าน มากกว่าทีจ่ ะเกิดปั ญญา สถานะการณ์จริงทีท่ าให้ฝึกปฏิบตั ธิ รรมในแต่ละวัน มีเพียงพอแล้วที่จะนามาเป็ นอุปกรณ์ฝึกปฏิบตั ธิ รรม โลกรอบตัวเป็ นวัตถุ ทดลองเครื่องมือทดลองห้องทดลองอย่างเยีย่ มยอด ไม่จาเป็ นต้องไปปรุงไป คิดไปจินตนาการจาลองเรื่องราวใดๆมาฝึกปฏิบตั ธิ รรม ๒๙


มหาจัตตารีสกสูตร

สิง่ ที่จาเป็ นต้องทราบอันดับแรกเลยต้องรู้ว่าธรรมชาติน้ีมสี มั มัต ต ธรรมอยู่สองชนิด สัมมัตตธรรมอย่างแรกเรียกว่าสัมมัตตธรรมสาสวะ ได้แก่ มรรคมีองค์๘นัน่ เอง ทุกคนรูจ้ กั ดี สัมมัตตธรรมอย่างทีส่ องทุกคนอาจยังไม่ เคยได้ยนิ ไม่เคยรู้จกั จึง ควรมาทาความเข้าใจสัมมัตตธรรมประเภทนี้กนั เป็ นการเฉพาะเจาะจงเสียก่อน สัมมัตตธรรมอนาสวะหมายถึง นิยามแห่งความถูกต้องแบบไม่เจือ ด้วยอาสวะมี ๑๐ อย่าง ส่วนสัมมัตตธรรมแบบสาสวะหมายถึง นิยามแห่งความถูกต้องแบบ เจือด้วยอาสวะมี ๑๐ อย่าง สองประเภทนี้ต่างกันที่แบบหนึ่งเจือด้วยอาสวะ แบบหนึ่งไม่ มอี า สวะเจือ แบบเจือ ด้ว ยอาสวะเป็ นความถู ก ต้อ งสาหรับชาวโลก สาหรับผู้ ต้องการสุขโศกปนเศร้าคละเคล้ากันไป มิใช่ผปู้ รารถนาความเหนือสุขเหนือ ทุ ก ข์ ผู้ต้ อ งการเหนื อ สุ ข เหนื อ ทุ ก ข์ต้ อ งศึก ษานิ ย ามแห่ ง ความถู ก ต้ อ ง ประเภทไม่เจืออาสวะ สิง่ จาเป็ นที่ต้องทราบอันดับสองคือ มรรคมีสองแบบ องค์ธรรมทัง้ แปดในมรรคจึงมีส องแบบด้ว ยเช่นกัน ที่ส าคัญ คือ มรรคแบบสาสวะจะมี สัมมาทิฐิอย่างหนึ่งเป็ นแม่ทพั แต่มรรคอนาสวะแม้มสี มั มาทิฐิเ ป็ นแม่ทพั เหมือ นกัน แต่ ค วามหมายของสัม มาทิ ฐิ ใ นมรรคอนาสวะต่ า งกับ สัมมาทิ ฐิในมรรคสาสวะอย่างลิ บลับ เรียกได้ว่าเหมือนอยู่คนละขัว้ เลย ซึง่ จะขออธิบายเรื่องนี้ให้อ่านเป็ นลาดับแรก มรรคมีสองแบบ สัมมาทิ ฐิมีสองแบบ สัมมาอื่นๆก็มีส องแบบ สองแบบนี้แตกต่างกันอย่างไร

๓๐


สมสุโขภิกขุ

อย่างแรกเลย มรรคแบบแรกพระองค์เรียกการแสดงมรรคครัง้ แรก ว่าเป็ นธรรมจักขุ หมายถึงธรรมเพือ่ ให้มดี วงตาเห็นธรรม นันคื ่ อปฐมเทศนา ทีม่ ขี น้ึ ครัง้ แรกของพุทธศาสนาในยุคนี้ เจตนาทีแ่ สดงพระองค์ระบุไว้ชดั เจน ว่าเป็ นไปให้ผฟู้ ั งมีดวงตาเห็นธรรม(ธรรมจักขุ) คือครัง้ แรกแสดงเพือ่ ให้เป็ น อริยบุคคลชัน้ ต้น ต่างจากแบบทีส่ องทีแ่ สดงเพือ่ บรรลุธรรมหรือเพือ่ หลุดพ้น อย่างที ส่ อง ต่อมามีการแสดงธรรมที่เป็ นทางไปสู่ความเป็ นพระ อรหันต์ องค์ธรรมชื่อเดียวกัน สัมมามีเหมือนกัน แปดอย่างเหมือนกัน(ดู แผนภูมปิ ระกอบ) แต่พอแสดงธรรมเพื่อความเป็ นอรหันต์เพิม่ สัมมามาอีก สองอย่างคือมีสมั มาญาณะกับสัมมาวิมุตติเพิม่ เข้ามา (ดูแผนภูมปิ ระกอบ) มิ จฉัตตะ๑๐ (สาสวะ)

มิ จฉัตตะ๑๐ (อนาสวะ)

สัมมัตตะ๑๐ (สาสวะ)

สัมมัตตะ๑๐ (อนาสวะ)

มิ จฉาทิ ฐิ

มิ จฉาทิ ฐิ

สัมมาทิ ฐิ

สัมมาทิ ฐิ

มิ จฉาสังกัปปะ

มิ จฉาสังกัปปะ

สัมมาสังกัปปะ

สัมมาสังกัปปะ

มิ จฉาวาจา

มิ จฉาวาจา

สัมมาวาจา

สัมมาวาจา

มิ จฉากัมมันตะ มิ จฉากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ มิ จฉาอาชีวะ

มิ จฉาอาชีวะ

สัมมาอาชีวะ

สัมมาอาชีวะ

มิ จฉาวายามะ

มิ จฉาวายามะ

สัมมาวายามะ

สัมมาวายามะ

มิ จฉาสติ

มิ จฉาสติ

สัมมาสติ

สัมมาสติ

มิ จฉาสมาธิ

มิ จฉาสมาธิ

สัมมาสมาธิ

สัมมาสมาธิ

มิ จฉาญาณะ

มิ จฉาญาณะ

สัมมาญาณะ

สัมมาญาณะ

มิ จฉาวิ มุตติ

มิ จฉาวิ มุตติ

สัมมาวิ มุตติ

สัมมาวิ มุตติ

๓๑


มหาจัตตารีสกสูตร

แต่แม้จะมีช่อื สัมมาเหมือนกันเป๊ ะ แต่เนื้อหาธรรมะทีจ่ ะนาไปปฏิบตั ิ ของสัมมาสองประเภทต่างกัน พระองค์แสดงความแตกต่างเปรียบเทียบให้ เห็นเป็ นตัวอย่าง แม้ไม่ครบทุกสัมมา แต่ผู้ปฏิบตั กิ ็ทราบแนวทางว่าสัมมา อื่น ๆที่พ ระองค์ไ ม่ ไ ด้ส อนจะต้อ งท าตามหลัก เกณฑ์เ ดีย วกัน กับ สัม มาที่ พระองค์สอน คือละไว้ในฐานทีเ่ ข้าใจว่าสัมมาอื่นๆก็ใช้หลักการเดียวกัน ดังนัน้ ผู้ท่ีศึก ษามรรคแบบที่ส อนกันแพร่หลายในปั จจุบัน ต้อ งรู้ ตามความจริงว่ามรรคชนิดนี้เป็ นมรรคเพื่อมีดวงตาเห็นธรรมเท่านัน้ มิใช่ มรรคเพื่อความหลุดพ้น พระพุทธเจ้าตรัสไว้เองเลยว่าถ้าต้องการหลุดพ้น สัมมาแต่ละสัมมามีความหมายและการปฏิบตั ติ ่างกัน ชนิดทีส่ มั มาสาสวะจะ มีหลักปฏิบตั ทิ ต่ี รงข้ามกันกับสัมมาอนาสวะทุกอย่าง ตัวอย่าง เช่นสัมมาทิฐสิ าสวะข้อหนึ่งบอกบุญมีบาปมี ใครคิดเช่นนี้ ถือว่ามีสมั มาทิฐิสาสวะ คือคิดว่ามีไม่ผดิ แต่ถ้าเป็ นสัมมาทิฐิอนาสวะต้อง เลิกคิดว่าบุญมี เลิกคิดว่าบาปมี เลิกคิดว่ามีทงั ้ คู่ ใครไปคิดว่าบุญมีผดิ บาป มีกผ็ ดิ วิธปี ฏิบตั กิ ค็ อื เมื่อเกิดความคิดว่าบุญมีอยู่จริงก็มสี ติเลิกคิดเลิกเข้าไป ยึดถือยึดติดเลิกให้สาระเลิกให้ค่าเลิกให้ความสาคัญ พอพูดถึงบุญก็จะเป็ น สักว่าบุญ หลายท่านอาจเริม่ สงสัยว่าสอนผิดหรือเปล่า แบบนี้เองสัมมัตต ธรรมอนาสวะจึงเป็ นเรื่องค่อนข้างสอนยาก เพราะผู้อ่านต้องไปทดลองฝึก ตาม ทดลองฝึ ก จริง ๆระลึก จริง ๆจึง จะเกิด ความเข้า ใจ ว่ า ถ้ า ท าตามที่ พระองค์ตรัสสอนจะสามารถอยู่เหนือ บุญได้จริงๆ ถ้าไม่ทาแบบนี้ก็จะให้ สาระในบุญในบาปทาให้มบี ุญเป็ นตัวถ่วงความก้าวหน้าในการปฏิบตั ิ แต่กอ็ าจมีปัญหาถามต่อว่า ถ้าเช่นนัน้ ก็ไม่ต้องมีการทาบุญกันเลย ใช่ไหม ซึ่งต้องปฏิบตั ดิ ้วยตนเองอีกเช่นกันจึงจะรู้ว่า ผู้เหนือบุญจริง ๆแล้ว ท่านจะเป็ นผู้ทาบุญ มากกว่าผู้ทาบุญ เพราะอยากได้บุญ เสียอีก เพราะผู้ เหนือบุญจะถือว่าการทาบุญเป็ นหน้าที่ ไม่ใช่ทาบุญเพราะอยากได้บุญหรือ อยากได้สงิ่ นัน้ สิง่ นี้หรือแม้แต่อยากได้บุญแบบผู้ยงั ไม่เหนือบุญ ความรู้สกึ ๓๒


สมสุโขภิกขุ

ของผู้เหนือบุญหรือเหนือโลกแล้วจะทาสิง่ ใดท่านทาเพราะมีหน้าที่ต้องทา เหมือนเป็ นคนมีหน้าทีต่ อ้ งหายใจ ไม่หายใจไม่ได้ เช่นเดียวกันผูเ้ หนือบุญมี หน้าทีต่ ้องทาบุญการทาบุญคือหน้าที่ ไม่ทาหน้าทีไ่ ม่ได้ ไม่ทาหน้าทีก่ ไ็ ม่ใช่ ผูเ้ หนือบุญ และเมื่อทาบุญเพราะเป็ นหน้าทีเ่ ท่านัน้ ผูเ้ หนือบุญจะไม่ให้สาระ ในบุ ญ ที่ท า ผู้เ หนื อ บุ ญ จะท าบุ ญ สัก ว่ า ท า ท าด้ว ยความว่ า ง ด้ว ยเหตุ น้ี พระพุทธเจ้าจึงต้องบัญญัตวิ นิ ัยไว้ขอ้ หนึ่งว่า ห้ามภิกษุเดินบิณฑบาตผ่าน หน้าบ้านผูเ้ หนือบุญนอกจากจะได้รบั นิมนต์ให้มารับบาตร เพราะผูเ้ หนือบุญ ในสมัยนัน้ บางท่านยากจน แต่พอพระบิณฑบาตผ่านหน้าบ้านท่านถือว่า ท่านมีหน้าที่ต้องใส่บาตร บางท่านมีข้าวแค่ จานเดียวกับข้าวแค่ถ้วยเดียว ท่านก็ยอมอดข้าวมื้อนัน้ เพื่อนามาใส่บาตร พระพุทธเจ้าตระหนักถึงความ เดือดร้อนจึงบัญญัตเิ ป็ นวินัยห้ามภิกษุบณ ิ ฑบาตผ่านหน้าบ้านอริยบุคคลที่ ไม่ได้นิมนต์ไว้ วินยั ข้อนี้ยงั มีอยู่จนถึงปั จจุบนั นี้ ใครทีย่ งั ไม่ใช่ผเู้ หนือบุญแท้จริง จึงย่อมไม่เข้าใจในความรูส้ กึ จริงๆ อาจอ่านแล้วทาความเข้าใจพอเข้าใจได้ ซึ่งอาจเชื่อเลยหรือไม่เชื่อหรือเชื่อ ครึง่ ไม่เชื่อครึง่ แตกต่างกันไป อ่านหรือฟั งธรรมะอนาสวะแล้วเข้าใจเลย เป็ น เรื่องยากต้องมีการลงมือทาควบคู่ไปด้วยจึงจะเกิดความรู้ อ่านไปฝึกไปจะมี ประโยชน์มาก จะเข้าใจง่ายขึ้น ถ้าแค่ใช้คดิ อย่างเดียวอาจไม่เข้าใจจนบาง คนมีอคติในคาสอนที่มใี นธรรมะบทนี้ไปเลยก็มี ผู้อ่านจึงควรมีใจเปิ ดกว้าง อย่าเพิง่ ด่วนสรุปอะไรง่ายๆ หากมีความกังขาสงสัย ใคร่ครวญให้ดๆี ก่อน ตัดสินว่าถูกผิดใช่ไม่ใช่ ในธรรมมหาจัตตารีสกะ มีทงั ้ สอนให้รอู้ ะไรและสอนให้ทาอะไร สอน ให้รอู้ ะไรไม่สาคัญเท่าสอนให้ทาอะไร เพราะรูอ้ ะไรถ้าไม่ทาอะไรจะไม่รอู้ ะไร เลย แม้ท่องได้ทงั ้ พระสูตร แต่ถ้าทาตามล าดับขัน้ ตอนจะค่อยๆรู้ต ามไป ตลอดการปฏิบตั ิ ธรรมะพระสูตรนี้ถอื ว่าสาคัญเพราะเป็ นพระสูตรทีร่ วบรวม สิง่ ที่นักปฏิบตั ิผู้หวังมรรคผลนิพพานจะต้องทาตามแนวทางในพระสูตรนี้ ๓๓


มหาจัตตารีสกสูตร

เรียกว่าพระสูตรต่างๆในพระไตรปิ ฎกทุกเล่ม หลอมรวมอยู่ในพระสูตรนี้ พระสูตรเดียวก็ว่าได้ ซึง่ จะขอเรียงลาดับข้อปฏิบตั ทิ พ่ี ระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพระสูตรนี้แยก ย่อๆทีละข้อดังนี้ ๑ รู้จกั มิ จฉาทิ ฐิ ๒ รู้จกั สัมมาทิ ฐิ ๓ ละมิ จฉาทิ ฐิ ๔ บรรลุสมั มาทิ ฐิ ๕ ละสัมมาทิ ฐิสาสวะ ๖ บรรลุสมั มาทิ ฐิอนาสวะ(หลุดพ้น) สิ่ง ที่ต้ อ งท าและวิธีท าที่มีอ ยู่ ใ นพระสู ต รนี้ ใช้ป ฏิบัติไ ด้ต ัง้ แต่ ผู้ แรกเริม่ ปฏิบตั ิ จนถึงผู้เข้าสู้ช่วงสุดท้ายการปฏิบตั ิ ซึ่งจะได้แนะนาวิธีฝึก ตัง้ แต่ขอ้ ที่ ๑ เป็ นต้นไป “ภิ ก ษุ รู้ จ ัก มิ จ ฉาทิ ฐิ ว่ า มิ จ ฉาทิ ฐิ รู้ จ ัก สัม มาทิ ฐิ ว่ า สัม มาทิ ฐิ ความรู้ของเธอนัน้ เป็ นสัมมาทิ ฐิ” (พุทธพจน์) ข้อ ๑ รู้จกั มิ จฉาทิ ฐิว่าเป็ นมิ จฉาทิ ฐิ ข้อ ๒ รู้จกั สัมมาทิ ฐิว่าเป็ นสัมมาทิ ฐิ ข้อ สัง เกตตรงจุ ด นี้ ค ือ ต้ อ งมีปั ญ ญาพอที่ จ ะแยกแยะได้ ว่ า ถ้ า ความเห็นใดเป็ นสัมมาทิฐิ แล้วเราเห็นตรงข้ามความเห็นนัน้ นัน่ คือมิจฉาทิฐิ หรือมีความรู้สกึ กลางๆเฉยๆมิได้ระลึกหรือรู้สกึ ตามสัมมาทิฐิ ก็ถอื ว่าเรามี มิจฉาทิฐใิ นขณะนัน้ การฝึกขัน้ สูงต้องระวังการวางเฉยไม่ระลึกตามสัมมาทิฐิ ให้มากๆเพราะจะมีผลอย่างมากต่อการปฏิบตั ิ ๓๔


สมสุโขภิกขุ

และสังเกตดูตรงคาว่า สัมมาทิฐใิ นพระสูตรนี้หมายถึงไม่ใช่แค่รจู้ กั สัมมาทิฐกิ เ็ ป็ นผูม้ สี มั มาทิฐแิ ล้ว จะเป็ นผูม้ สี มั มาทิฐใิ นพระสูตรนี้ได้ต้องรู้ทงั ้ อะไรเป็ น มิจ ฉาทิฐิ และรู้ท งั ้ อะไรเป็ น สัม มาทิฐิ ต้อ งรู้ท งั ้ สองอย่ า งจึง จะ เรียกว่าเป็ นผูม้ สี มั มาทิฐิ ข้อที่ ๓ ละมิ จฉาทิ ฐิ เมื่อรู้ว่าอะไรเป็ นมิจฉาทิฐิ หน้าที่ของนักปฏิบตั ิท่สี าคัญคือต้องละ มิจฉาทิฐใิ ห้ได้ให้เป็ น ซึ่งจะเป็ นคาสอนทีต่ ่างจากพระสูตรอื่นๆ ถ้าไม่ลงมือ ทาจะไม่เข้าใจและไม่สงั เกตเห็นความแตกต่างต้องลงมือทาจริงๆด้วยจึงจะรู้ ค่ารูป้ ระโยชน์ นันคื ่ อรูม้ จิ ฉาทิฐิ รูส้ มั มาทิฐิ แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งทาคือละมิจฉาทิฐิ จง จาข้อปฏิบตั ขิ อ้ นี้ไว้ให้ดๆี หมายถึงจาให้ได้ว่าพระสูตรนี้ให้ละมิจฉาทิฐกิ ่อน ทาอย่างอื่น และถ้าจะแย้มให้ทราบสักนิดหนึ่งก็ได้ว่า พระสูตรนี้ ทัง้ พระสูตร จะมีแต่การปฏิบตั ทิ ล่ี ะมิจฉาทิฐติ ลอดการปฏิบตั ิ มีสงิ่ ต้องทาอย่างเดียวเลย คือละมิจฉาทิฐิ จากมิจฉาทิฐพิ ้นื ๆไปจนมิจฉาทิฐอิ นาสวะ ละไปจนกว่าจะ บรรลุธรรมจึงค่อยเลิกละ "ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ก็สมั มาทิฐเิ ป็นไฉน ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย เรากล่าวสัมมาทิฐเิ ป็ น ๒ อย่าง คือ สัมมาทิฐทิ ยี ่ งั เป็นสาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขนั ธ์ อย่าง ๑ สัมมาทิฐขิ องพระอริยะ ที ่ เป็นอนาสวะ เป็นโลกุตระ เป็นองค์มรรค อย่าง ๑" ข้อ ๔ บรรลุสมั มาทิ ฐิ ข้อนี้ขอให้นักปฏิบตั ทิ าใจยอมรับว่าการปฏิบตั แิ บบสาสวะ กับการ ปฏิบตั อิ นาสวะ มันต่างกันสิ้นเชิง แบบสาสวะสัมมาทิฐเิ ป็ นสิง่ ที่ต้องศึกษา ฝึกฝน แต่สมั มาทิ ฐิอนาสวะกลับต่างกันเพราะมันเป็ นเพียงผลรับทีจ่ ะ ได้รบั เมือ่ ละมิ จฉาทิ ฐิสาสวะได้ในแต่ละครัง้ แต่ละอย่าง สัมมาทิ ฐิอนา สวะไม่ใช่สิง่ ทีต่ ้องฝึ กต้องหาต้องทา แต่เป็ นสิ ง่ ทีจ่ ะได้รบั เมือ่ ทาถูกวิ ธี เรียกได้ว่าตลอดระยะทางการปฏิบตั ขิ องสัมมัตตธรรม ๑๐ สัมมาทิฐมิ ใี ห้เห็น ๓๕


มหาจัตตารีสกสูตร

ตลอดสาย แต่ไม่ใช่สงิ่ ทีต่ อ้ งสร้างต้องฝึกหรือต้องทาสิง่ ใดๆกับสัมมาทิฐอิ นา สวะ หากแต่ต้องทาลายมิจฉาทิฐิสาสวะจึงจะได้มา ฉะนัน้ ขอให้เตรียมตัว เตรียมใจเปิ ดใจให้กว้าง ทุกขัน้ ตอนที่ต้องทาสามารถพิสูจน์ ความจริงแท้ ด้วยตัวกระบวนการฝึกและผลลัพธ์ตลอดเวลา เพียงแต่ต้องมีปัญญาอยู่ บา้ ง และความงมงายความยึดมันถื ่ อมันเบาบาง ่ ย่อมเข้าใจขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ต่อไปอย่างไม่ยาก ข้อสังเกต นักปฏิบตั โิ ดยทัวไปต้ ่ องยอมรับความจริงข้อหนึ่งว่าเรา มัก จะพู ด ถึง ระลึก ถึง ฝึ ก ดู ฝึ ก เพ่ ง ฝึ ก ให้ ค วามสนใจหรือ ท าไว้ ใ นใจ กับ "สัมมาทิฐ"ิ ตลอดมา เราลืมนึกถึงมิจฉาทิฐิ หรือนึกถึงก็น้อยมาก นี่คอื ความ จริงที่ส่วนใหญ่เป็ นเช่นนัน้ คราวนี้เรามาเปลี่ยนวิธคี ดิ มุมมองใหม่ๆดูบ้าง ถ้าต้องการมรรคผลนิพพาน ก็คอื อย่าไปคิดถึงสัมมาทิฐิ(เพราะมันจะมาเอง ได้เอง) แต่จงมีสติเพ่งมองมิจฉาทิฐอิ ย่าให้มนั เกิด อะไรไม่ใช่มจิ ฉาทิฐสิ งิ่ นัน้ ไม่ใช่ศตั รู และก็อย่าไปมัวคิดแต่ความรูเ้ รื่องสัมมาทิฐิ ทีม่ ปี ั ญหาการปฏิบตั ิ ไม่ก้าวหน้านัน้ ล้วนแต่เพราะแบกสัมมาทิฐติ ลอดเวลา จนสภาวะธรรมใดๆ ผุดขึน้ มาไม่ได้ ฟั งธรรมะบทใดไม่ได้ อ่านธรรมะบทใดไม่ได้ สัมมาทิฐทิ แ่ี บก มามันต้องรีบไหลรีบเสนอหน้าออกมาซ้อนทับสภาวธรรมทุกๆเรื่องทีป่ ฏิบตั ิ จนจิตพุทธะหล่นแล้วหล่นอีกหมดโอกาสพบจิตพุทธะกับเขาสักที ๕ ละมิ จฉาทิ ฐิ ข้อ ๕ เข้า สู่ ก ารปฏิบัติจ ริง ๆจัง ๆเสีย ที นั น่ คือ การลงมือ ฝึ ก ละ มิจฉาทิฐอิ นาสวะหรือสัมมาทิฐสิ าสวะ สองตัวนี้คอื สิง่ เดียวกัน จะเรียกอะไร ก็ได้ และการปฏิบตั ริ ะดับสูงนี่มสี งิ่ เดียวที่ต้องดับ จึงมีสงิ่ เดียวทีต่ ้องฝึกดับ นั้ นคื ่ อมิจฉาทิฐอิ นาสวะตัวนี้น่แี หละ หรือถ้าจะพูดไปมันก็คอื จิตสาสวะ จิตที่ ถูกคติทวินิยมครอบงาอยู่นัน่ เอง จิตที่เป็ นของคู่ มีวธิ เี ดียวที่จดั การได้ นัน่ คือสัมมัตตธรรม ทีอ่ ธิบายเรื่องจิตหนึ่งจิตสองมาทัง้ หมดนี้ก็เพื่อให้เข้าใจจะ ได้สามารถฝึกละมิจฉาทิฐอิ นาสวะได้ง่ายขึน้ ๓๖


สมสุโขภิกขุ

แต่ทน่ี ่าแปลกอยู่อย่างคือมิจฉาทิฐอิ นาสวะนี่คอื สัมมาทิฐสิ าสวะ จึงอย่าเพิง่ ไปคิดปรุงแต่งก่อความฉงนสงสัยอะไรมาก ควรค่อยๆฝึ กจนแยกจิตพุทธะ ออกจากจิตสาสวะได้ แยกจิตเป็ นสองส่วนได้ก่อนค่อยไปอ่านเรื่องสัมมาทิฐิ สาสวะ จะได้ไม่งง บทต่อไปเราจะฝึ กแยกจิตพุทธะออกจากจิตสองหรือจิต สาสวะ เพื่อจะได้เข้าใจคาตรัสของพระพุทธเจ้าเรื่องสัมมาทิฐสิ าสวะ จะได้ ไม่คา้ นแย้งพระพุทธเจ้า "ดูกรภิ กษุทงั ้ หลาย สัมมาทิ ฐิทีย่ งั เป็ นสาสวะ เป็ นส่วนแห่งบุญ ให้ผลแก่ขนั ธ์ เป็ นไฉน คือ ความเห็นดังนี้ ว่า ทานทีใ่ ห้แล้ว มีผล ยัญ ทีบ่ ูชาแล้ว มีผล สังเวยทีบ่ วงสรวงแล้ว มีผล ผลวิ บากของกรรมทีท่ าดี ทาชัวแล้ ่ วมีอยู่ โลกนี้ มี โลกหน้ ามี มารดามี บิ ดามี สัตว์ทีเ่ ป็ นอุปปา ติ กะมี สมณพราหมณ์ ทงั ้ หลาย ผู้ดาเนิ นชอบ ปฏิ บตั ิ ชอบ ซึง่ ประกาศ โลกนี้ โลกหน้ าให้ แ จ่ ม แจ้ ง เพราะรู้ ยิ ่ง ด้ ว ยตนเอง ในโลก มี อ ยู่ นี้ สัมมาทิ ฐิทีย่ งั เป็ นสาสวะ เป็ นส่วนแห่งบุญ ให้ผลแก่ขนั ธ์ ฯ" อาตมาขอละไว้ใ นฐานที่เ ข้าใจ ว่าในพระสูต รนี้กล่ าวว่า "มี" สิ่ง ต่างๆมากมาย จะไม่พูดถึงว่าพระองค์ต รัส ว่ามีอ ะไรบ้าง แต่จะขอกล่ าว อธิบายว่า เมื่อคิดว่ามีรู้สกึ ว่ามีดาริว่ามีจงใจว่ามี เ จตนาว่ามี นัน่ แหละคือ ความเห็นอันเป็ นมิจฉาทิฐอิ นาสวะเกิดแล้ว นี่คอื จุดทีน่ ักปฏิบตั สิ ่วนใหญ่ไม่ คิด แต่ล ะวันเราเห็นผิด โดยเจตนา แต่เ ราไม่ได้ฉุ กใจคิด เราจะคอยคิด แต่สมั มมาทิฐดิ ้วยรู้สกึ ว่าจาเป็ น และคิดว่าเราจะหลุดพ้นด้วยสัมมาทิฐิ แต่ ไม่ผดิ ถ้าจะบอกว่าเราต้องหลุด พ้นด้วยสัมมาทิฐิ แต่สมั มาทิฐชิ นิดทีจ่ ะทาให้ หลุดพ้นมันต้องปรากฏขึ้นให้เห็นเต็มตาจากการชะล้างมิจฉาทิฐิอนาสวะ โดยเฉพาะสิง่ ทีป่ รากฏในพระสูตรบทนี้ ความรูส้ กึ ว่ามีในสิง่ ทีพ่ ระสูตรยกมา หายเกลี้ยงไปหมดนัน่ แหละ สัมมาทิฐอิ นาสวะจึงจะสมบูรณ์ สัมมาทิฐอิ นา ๓๗


มหาจัตตารีสกสูตร

สวะสมบูรณ์สมั มาญาณะอนาสวะก็สมบูรณ์ตามไปด้วย สัมมาญาณะอนา สวะสมบูรณ์สมั มาวิมุตติอนาสวะก็สมบูรณ์ ด้ว ยเหตุ น้ี มหาจัต ตารีส กะจริง ๆแล้ว พระสูต รนี้ มีเ ป้ า หมายให้ ปฏิบตั ปิ ระการเดียวคือ เลิ กคิ ดว่ามี ตามสมมุตทิ ่ยี กมาให้ได้ อาจมีคนไม่ เชื่อจึงไม่กล้าทา เขาย่อมน่าถูกตาหนิจากพระพุทธเจ้าแน่นอน ใครมีศรัทธา มีปัญญาคิดว่าเป็ นสิง่ ที่ต้องทา และถ้าทาสาเร็จ อินทรีย์ ๕ ของผู้นัน้ ย่อม สมบูรณ์ สัมมาทิฐอิ นาสวะของคนผูน้ ัน้ จึงจะสมบูรณ์ได้ นี่คอื เหตุผลว่าต้อง ท าเช่ น นี้ ท าไม บทต่ อ ไปค่ อ ยมาว่ า กัน ต่ อ ว่ า แล้ว ต้อ งท ายัง ไง อัน เป็ น บทสรุปของการปฏิบตั ิ ซึ่งเป็ นบทปฏิบตั บิ ทสุดท้ายของนักปฏิบตั ธรรมทุก คน ข้อ ๖ บรรลุสมั มาทิ ฐิ "ดูกรภิ กษุ ทงั ้ หลาย ก็สมั มาทิ ฐิข องพระอริ ยะที เ่ ป็ นอนาสวะ เป็ นโลกุตระ เป็ นองค์มรรค เป็ นไฉน ดู ก รภิ กษุ ท ั ้ง หลายปั ญญาปั ญญิ นทรี ย์ ปั ญญาพละธั ม ม วิ จยสัมโพชฌงค์ ความเห็นชอบ องค์แห่ งมรรค ของภิ กษุผ้มู ีจิตไกล ข้าศึก มีจิตหาอาสวะมิ ได้ พรังพร้ ่ อมด้วยอริ ยมรรค เจริ ญอริ ยมรรค อยู่น้ ี แล สัมมาทิ ฐิของพระอริ ยะที เ่ ป็ นอนาสวะ เป็ นโลกุตระ เป็ นองค์ มรรค ฯ ภิ ก ษุ นั ้น ย่ อ มพยายามเพื อ่ ละมิ จ ฉาทิ ฐิ เพื อ่ บรรลุ ส ัม มาทิ ฐิ ความพยายามของเธอนัน้ เป็ นสัมมาวายามะ ฯ ภิ กษุนัน้ มีสติ ละมิ จฉาทิ ฐิได้ มีสติ บรรลุสมั มาทิ ฐิอยู่ สติ ของ เธอนัน้ เป็ นสัมมาสติ ฯ ด้วยอาการนี้ ธรรม ๓ ประการนี้ คือ สัมมาทิ ฐิ สัมมาวายามะ สัมมาสติ ย่อมห้อมล้อม เป็ นไปตามสัมมาทิ ฐิของภิ กษุนัน้ " ๓๘


สมสุโขภิกขุ

สิ่ง ที่ย กมาอ้า งนี้ ย ัง ไม่ ใ ช่ บ ทปฏิบัติ เป็ น เพีย งหัว ข้อ ธรรมแสดง เหตุผลว่าทาไมต้องปฏิบตั ิ และจะต้องใช้อะไรเป็ นอาวุธสาคัญในการปฏิบตั ิ นันคื ่ อ พระองค์ตรัสว่า ๑ พยายามเพือ่ ละมิจฉาทิฐิ ๒ มีสติ ละมิจฉาทิฐไิ ด้ ๓ มีสติ บรรลุสมั มาทิฐอิ ยู่ นี่คอื อาวุธที่เราจะต้องใช้เพื่อบรรลุสมั มาวิมุตติอนาสวะ อย่าคิดว่า เป็ นเรื่องยากเด็ดขาด ไม่ยากอย่างที่คดิ แต่อาจต้องใช้เวลาทัง้ ชีวติ ทาสิง่ เดียวกันซ้าๆซากๆ มีสมั มาวายามะแรงกล้าพอทีจ่ ะทาเช่นนัน้ กันหรือเปล่า ที่เขี ย นบรรยายมาทัง้ หมดยัง ไม่ ใช่ สิ ง่ ที ส่ าคัญ ถึ ง ขนาดต้ อ ง ท่องต้องจา แค่ร้แู ล้วบีบอัดบดคัน้ ความรู้ให้ กลายเป็ นอุบายชอบถือ ว่ามีความสาคัญเป็ นทีส่ ุดของทีส่ ุด เขียนเพื่อให้รทู้ ม่ี าทีไ่ ปว่าทาไมต้อง ทาทาเพื่ออะไร ประเด็นสาคัญคือสิง่ ทีจ่ ะเขียนต่อไปนี้ ต้องพยายามอ่านให้ เข้าใจ แล้วทาตามทุกขัน้ ตอน จะอธิบายพร้อมตัวอย่างให้ใช้ระลึกทีละขัน้ ที ละขัน้ ต้อ งลงมือ ทาจริงๆ และทาเป็ นระยะเวลานานมากๆ ผลจะค่ อ ยๆ ปรากฏให้ทราบเอง มิจฉาทิฐติ วั แรกคือความรู้สกึ ว่ามีคนสัตว์สงิ่ ของ ความรู้สกึ ว่ามีว่า เป็ นคือมิจฉาทิฐทิ งั ้ นัน้ แต่ถา้ คิดหรือระลึกว่าไม่มกี เ็ ป็ นมิจฉาทิฐอิ กี ดังนัน้ ขัน้ ตอนที่ ๑ จงมีสติระลึกว่า "มันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ" (ถ้าใคร เคยฝึกมาบ้างอาจระลึกแค่"ปฏิกริ ยิ า"สัน้ ๆเท่านัน้ ก็ได้) ขัน้ ตอนที่ ๒ หลังจากระลึกว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ า ขอให้สงั เกตว่า ถ้า มีการระลึกถูกต้อง คือระลึกได้ระลึกเป็ น ความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์จะต้อง หายไป กลายเป็ นความรูส้ กึ ว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีคนสัตว์สงิ่ ของ ต่อมา จง ระลึกเพิม่ จากข้อ ๑ เป็ นมีสติระลึกว่า "มันเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีต" การทีเ่ ราไม่ ๓๙


มหาจัตตารีสกสูตร

คิดว่ามันเป็ นอดีต นัน่ คือความเห็นผิด นัน่ คือสิง่ ที่ทาให้รู้ส ึกว่ามี ไม่ว่ามี อะไรมันทรงตัวอยู่เพราะความไม่รวู้ ่ามันเป็ นอดีต ถ้าระลึกถูกต้อง สติจะแยกปฏิกิรยิ าธรรมชาติเป็ นสองส่วน ส่วน แรกว่าง ส่วนทีส่ องก็ว่าง แต่ส่วนทีส่ องว่างแบบมีการทาไว้ในใจ ว่างแบบรู้ ว่ามันเป็ นอะไรแต่กว็ ่าง เป็ นปฏิกริ ยิ าใหม่ เป็ นสภาวธรรมใหม่ ทีเ่ ลิกคิดว่ามี ว่าเป็ นว่ารูว้ ่าได้ในสิง่ นัน้ ๆ คือทาให้สงิ่ ทีเ่ รากาหนดว่ามันเป็ นปฏิ กิริยาในอดีตนัน้ มันว่างเลิก คิดว่ามันเป็ นอะไร แต่มนั ไม่ได้หายไปจากความรูส้ กึ มันจะดาเนินกิจกรรม ทุกๆกิจกรรมที่กาลังทาอยู่ได้ตามปกติ แต่ไม่มคี วามรู้สกึ ใดๆต่อกิจกรรม นัน้ ๆ ทดลองระลึก กับกิจกรรมง่ายๆดูก่ อ น เช่นตอนทานข้าว ตอนเดิน ระลึกไปพร้อมๆกันว่า ปฏิกิรยิ าในอดีต หรือตอนนั ง่ อ่านธรรมะอยู่น่ีก็ได้ ระลึกว่าทุกสิง่ นี่คอื ปฏิกริ ยิ าในอดีต ระลึกแบบเข้มข้น ให้เห็นว่ามันเป็ นอดีต ไปแล้วจริงๆ น้อมใจตามความจริง เพราะมันเป็ นความจริง ระลึกตามความ จริง มันคืออดีต ระลึกจนตัวเราหาย สิง่ รอบตัวเราหาย ทุกๆสิง่ หายหมด แล้วมีสภาวธรรมใดๆเกิดขึน้ ต่อมา เห็นแจ้งด้วยตนเอง มันว่างอย่างไรรูด้ ว้ ย ตนเองดีกว่า จิตพุทธะมันต้องว่าง แต่วสิ งั ขารที่จติ พุทธะจับมันว่างแบบที่ พระพุทธเจ้าเรียกคือ ไม่มกี ารทาไว้ในใจแต่กม็ กี ารทาไว้ในใจ แรกๆอาจปรุงความรู้ทบ่ี บี อัดมาแล้วเข้าช่วยว่า สิง่ ทีก่ าลังเดินกาลัง ทานมันคือปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึ้นในอดีตมันจบไปวินาทีทแ่ี ล้ว มันไม่มสี งิ่ นัน้ อยู่ อีกแล้ว มันไม่ใช่ของใครแล้ว ทีเ่ ดินจึงไม่ใช่ใครเดิน มันเดินอยู่ในอดีต ขันธ์ ในอดีตเดิน ปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ นัน้ ทุกนาที ทุกวินาที ทุกชัวโมง ่ ทุกสถานที่ ทุกๆสัมผัส ล้วนแต่เป็ น ปฏิกริ ยิ าในอดีต ถ้าทาถูกต้อง จะต้องมีปฏิกริ ยิ าแยกเป็ นสองส่วน ส่วนหนึ่งว่าง ส่วน ที่สองเป็ นสมมุตบิ ญ ั ญัตแิ ต่เป็ นสมมุตบิ ญ ั ญัตทิ ่วี ่างเหมือนกัน ตรงนี้สาคัญ ถ้าไม่เกิดเช่นนี้จงพยายามทาให้เกิด คือต้องมีจติ พุทธะ คือ ความว่างลอยๆ ๔๐


สมสุโขภิกขุ

อยู่ในธรรมชาติ กับ คาพูดคาสมมุตคิ าเรียกขาน เช่นพ่อแม่พ่นี ้องคนสัตว์ หมู ห มากาไก่ แต่ แ ม้ จ ะมี ก ารท าไว้ ใ นใจว่ า สิ ่ง นั ้น ชื อ่ นั ้น ชื อ่ นี้ แต่ ความรู้สึกว่าสิ ง่ นัน้ มีรปู ร่างลักษณะอย่างไร หรือความรู้สึกใดๆต่อสิ ง่ นั น้ ก็ไม่มี มันจะว่างเหมือนกัน เหตุท่ีเ ป็ นเช่นนี้ เพราะเมื่อ ระลึก ตาม ความจริงจะเกิดสัมมาทิฐริ ตู้ ามความจริง รูต้ ามความจริงเมื่อใด มันต้องทิ้ง มิจฉาทิฐิ คือความรูส้ กึ ว่ามีทง้ิ ไปทันที แต่สมมุตจิ ะไม่ถูกทิง้ สมมุตยิ งั อยู่ แต่ อยู่อย่างมีจิตพุทธะเป็ นผู้เห็นตามความจริง คือเห็นสักว่าเห็นไม่ปรุงว่ ามี อะไร ต้อ งทาด้ว ยตนเองจึงจะรู้จ ัก อาการเหล่ า นี้ จะรู้จกั ความว่ างทัง้ จิต พุทธะและสิง่ ที่จติ พุทธะจับ แต่ทางานต่อไปได้เดินต่อไปได้ทานข้าวต่อไป ได้ แต่ทาได้แบบว่างๆมีแต่สมั มาทิฐิอย่างเดียว มิจฉาทิฐหิ รือจิตสาสวะต้อง ไม่มายุ่ง ถ้าจิตสาสวะมายุ่งมันจะรู้สกึ ว่า มีคนสัตว์สงิ่ ของกลับมา นัน่ คือจิต สาสวะทางาน ถ้าจิตพุทธะทางานจะเป็ นอีกแบบ ต้องลองทาดู ด้วยตนเอง คือทาให้ความรูส้ กึ ว่ามีหายไปเลยทัง้ ตัวเราทัง้ สมมุติ แต่กย็ งั ผัสสะ สิง่ นัน้ อยู่ แต่ไม่ปรุงว่ามันเป็ นอะไรแต่รู้ว่ามันเป็ นอะไร ซึ่งจะทาเช่นนี้ได้ ต้องระลึกตามความจริงอย่างจริงๆจังๆ ว่าสิง่ ต่างๆในธรรมชาติน้ไี ม่ว่าสิง่ ใด มันเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็ นสิง่ ทีอ่ ธิบายยากสุดๆหวังว่าคงมีคนเข้าใจและมีคนทาได้ ถ้าใคร เข้าใจทาได้จริงๆว่างจริงๆเห็นจิต พุ ทธะจริงๆ เห็นสังขารที่ไม่ใ ช่สงั ขาร จริงๆ คือสังขารที่ว่างจากตัวตนคนสัตว์ เห็นว่ามันเป็ นแค่ความว่างอย่าง หนึ่ง ต่อ ไปก็ฝึ ก ให้ว่างแบบนี้อ ย่าหยุด พอหลุ ดก็ดึงจิต พุทธะมาว่าง ไป ทางานทาการก็ทาด้วยจิตพุทธะ จิตจะแยกเป็ นสองส่วนเหมือนรถไฟสอง รางไปตลอดชีวติ รางหนึ ่งว่างรางหนึ ่ง มีปฏิ กิริยาที ไ่ ม่ปรุงก็ว่างไปอีก แบบหนึ ง่ ว่างแบบไม่มที าไว้ในใจแต่ก็ทาไว้ในใจ ความทุกข์ย่อมเกิดยาก ขึ้นมากแล้ว ตอนนี้ จึง รอวันสิ้นสุ ดทุก ข์อ ย่างถาวรเท่านัน้ เอง นี่ค ือ ความ อัศจรรย์ของธรรมหาจัตตารีสกะ รางรถไฟสองรางทีค่ วรเดิ น ๔๑


มหาจัตตารีสกสูตร

ถ้าจิตพุทธะพบความเป็ นพุทธะของสรรพสิง่ สิง่ ต่างๆทีพ่ ระผูม้ พี ระ ภาคตรัสไว้ว่า “มี” ในพระสูตรนี้ จะกลายเป็ นของว่างเปล่า "ทานที ใ่ ห้ แล้ว มีผล ยัญที บ่ ูช าแล้ว มีผล สัง เวยที บ่ วงสรวง แล้ว มีผล ผลวิ บากของกรรมทีท่ าดี ทาชัวแล้ ่ วมีอยู่ โลกนี้ มี โลกหน้ า มี มารดามี บิ ดามี สัตว์ทีเ่ ป็ นอุปปาติ กะมี สมณพราหมณ์ ทงั ้ หลาย ผู้ ดาเนิ นชอบ ปฏิ บตั ิ ชอบ ซึง่ ประกาศโลกนี้ โลกหน้ าให้แจ่มแจ้ง เพราะรู้ ยิ ง่ ด้วยตนเอง ในโลก มีอยู่" คาว่าว่างเปล่าคือว่างจากทัง้ ความมีและความไม่มี จิตพุทธะปรากฏ จะต้องมีอาการว่างจากมีและไม่มี ตัวจิตพุทธะก็ว่าง มีสมั มาญาณะเป็ นตัว ควบคุมปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอยู่ มีญาณรูต้ ามความจริงอยู่ภายในว่าสิง่ ทีก่ าลัง ทาปฏิกริ ยิ าทัง้ มวลนี้คอื ปฏิกริ ยิ าในอดีต จึงไม่ใช่ของทีบ่ อกได้ว่าจริงไม่จริง มีไม่มี มันเป็ นสิง่ ทีห่ ายไปแล้ว ไม่มอี ยู่แล้ว ไม่มขี องจริงๆอยู่แล้ว จิตพุทธะ ก็จะรูส้ กึ ได้แค่แรงเฉื่อยของทุกๆปฏิกริ ยิ า มันจึงว่างจากความรูส้ กึ ว่าสิง่ นัน้ มีตวั มีตนอยู่จริงๆในขณะทีผ่ สั สะ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าขันธ์เป็ นเหมือนเงา รูต้ ามความจริงคือบรรลุสมั มาทิฐอิ นาสวะ นาความจริงมาระลึกตาม ความจริงคือสัมมาสติอนาสวะ ผลทีไ่ ด้คอื ๑.สัมมาสมาธิอนาสวะคือตัวช่วย ให้จิตพุทธะคงสภาพ ๒.สัมมาญาณะอนาสวะคือตัวเห็นแจ้งความจริง ๓. สัมมาวิมุตติอนาสวะคือหลุดพ้นจากความเห็นผิด(อวิชชา สัญญาเลว ทิฏฐิ เลวดับจึงหลุดพ้นเป็ นอิสระไม่ถูกธาตุเลวสามตัวครอบงา) จะรู้จกั ปฏิกริ ยิ า ทัง้ สามข้อ นี้ ทนั ทีท่ีทาถู ก ต้อ ง สัมมาญาณะคือ สติท่ีดึงปั ญ ญา(ญาณะ)มา หยุดคิดหยุดปรุง เลิกคิดสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ความจริงทันที แต่กจ็ ะไม่มกี ารปรุงเพราะ ปั ญญาทีแ่ ท้จริงก็จะไม่ปรุงความจริง เพราะความจริ งปรุงไม่ได้ ความจริ ง คือเลิ กปรุงความไม่จริ ง ความไม่จริ งหายไป ว่างจากความไม่จริ ง นัน่ จึงจะเรียกว่าความจริ งปรากฏ นัน่ จึงจะเรียกสัมมาญาณะ มันจึงต้อง ๔๒


สมสุโขภิกขุ

ว่างเพราะไม่มกี ารปรุงความจริงอีกต่อไปทาแค่ละมิจฉาทิฐหิ รือละความไม่ จริงเท่านัน้ ปั ญญาอนาสวะใช้ ว ิ ธี ค ิด วิ ธี ป รุ ง สร้ า งขึ้ น ไม่ ไ ด้ ต้ อ งใช้ ว ิธี ด ับ ความเห็นผิดเท่านัน้ คือหยุดปรุงความเห็นผิด แล้วไม่ต้องปรุงความเห็นถูก จึงจะเรียกว่าปั ญญาอนาสวะการฝึ กระลึกว่า ปฏิ กิริยาในอดีตที่ยกมาเป็ น ตัวอย่าง ถ้าทาถูกวิธี จะพบความว่าง คือจะพบปั ญญาอนาสวะ คือพบความ จริงว่าอาการว่างจากตัวตนคนสัตว์ หรือคาสอนทีว่ ่า โลกเป็ นของว่างเปล่า เป็ นอย่างไร ปั ญญาอนาสวะจะรูค้ วามจริงจากการพบของจริงเท่านัน้ หรือเช่นคาตรัสทีว่ ่า คิดว่ามีกว็ ปิ ลาส คิดว่าไม่มกี ว็ ปิ ลาส นันคื ่ อต้อง เลิกคิด เมื่อคิดว่ามีข้นึ มาถ้าเราไปคิดว่าไม่มแี สดงว่าเราปรุง ผิดหลักการ สร้างปั ญญาแบบอนาสวะ ต้องใช้วธิ ีพอคิดว่ามี เช่นโลกมี เราก็มสี ติ หยุด ความคิดว่ามีทนั ที จนความรู้สกึ ว่ามีโลกมันหายไป ตอนนัน้ ก็จะเกิดความ ว่าง ความว่างนันคื ่ อมันว่างจากความมีโลก เพราะสติเพิง่ ดึงปั ญญามาขับไล่ ความเห็นผิดว่าโลกมีอยู่จริงออกไป ความเห็นผิดหายนันแหละคื ่ อความเห็น ถู ก ที่แ ท้จริงเกิด การปรุงความเห็น ถู ก จึง ไม่ใ ช่ค วามเห็น ถู ก ความเห็น ถูกต้องเกิ ดจากหยุดปรุงความเห็นผิดเสมอๆ ดังนัน้ การฝึกระลึกว่ามันเป็ นปฏิ กิริยาในอดีต ฝึกต่อเนื่องจนเห็น ทุ ก อย่ า งเป็ นอดีต ไปหมด นั น่ คือ จะเห็น ทุ ก อย่ า งว่ า งไปหมด นั น่ คื อ ความเห็นถูกต้ องที่สุดที่ มนุษย์คนหนึ่ งๆควรได้พบ ถ้าพบจงประคอง ความรูส้ กึ ว่างๆอันนัน้ ไว้ ซึง่ บอกไม่ถูกว่ามันเป็ นเช่นไรต้องฝึกทากันเอาเอง ถ้าเราประคองให้ว่างเช่นนัน้ ตลอดเวลา สิง่ ใดๆที่ผ่านเข้าในตอนทีส่ ติสมาธิ ปั ญญายังเต็มรอบหรือยังว่างอยู่ ไม่ว่าอะไรก็จะกลายเป็ นว่างหมด จะคิดถึง ลูกถึงภรรยาถึงมิตรถึงศัตรู ถงึ สัตว์เลี้ยง ลองระลึกถึงคิดถึงดู มันจะต้องไม่ ปรุงสิง่ ใดๆเพิม่ เติม มันจะแค่รู้เฉยๆ แต่กม็ ใิ ช่ไม่รบั รูอ้ ะไรเลย มันมีการทา ๔๓


มหาจัตตารีสกสูตร

ไว้ในใจอยู่ไม่ใช่คดิ มันต่างจากคิด ตรงนี้พระพุทธเจ้าเรียกไม่ทาไว้ในใจแต่ก็ มีการทาไว้ในใจ ใครทีไ่ ม่เข้าใจก็จะบอกว่าทุกคนต้องคิด ซึ่งเป็ นความเห็น ผิด มีคนบางคนไม่ต้องคิด แต่เขาจะทาสิง่ ที่เรียกว่า “ไม่ทาไว้ในใจแต่กม็ ี การทาไว้ในใจ” อาการแบบนี้ต่างจากคิดและไม่ใ ช่คดิ คนที่ฝึกระลึกว่า “ปฏิ กิริยาในอดี ต ” ตามค าแนะนาที่ผ่ านมาจะพบความไม่ต้อ งคิด แต่ ก็ เหมือนจะมีความคิดอยู่อย่างบอกไม่ถูกแบบนี้ อาการนี้ท่านจะพบได้หาก ระลึก อุบายในอดีต ได้ถู ก วิธี ทดลองทาดู รู้ด้ว ยตนเองดีกว่าอ่านที่ เ ขีย น อธิบาย เพราะมันอธิบายยาก ทาเองน่าจะเข้าใจง่ายกว่ากันเยอะ ถ้าเปรียบการปฏิ บตั ิ เหมือนรถไฟรางคู่ รางข้างหนึ ง่ คือจิ ตพุทธะว่างๆ รางข้ างหนึ ่ง มันมี แ ต่ ปฏิ กิ ริย าต่ างๆของเรื อ่ งที ต่ อนนี้ ถื อ ว่ า เป็ นอดีตไปแล้ว แต่มนั ก็เป็ นปฏิ กิริยาว่างๆ มันว่างทัง้ คู่ ไม่มกี ารปรุงทัง้ คู่ แต่กม็ ปี ั ญญารับรูว้ ่ากาลังทาอะไร แต่ ไม่ปรุงเป็ นบวกลบตัวกูของกู มีแต่ว่างทัง้ นอกทัง้ ใน มีแต่อาการรู้ ในอาการ ของปฏิกริ ยิ าต่างๆทีเ่ ป็ นอดีตไปแล้ว มีแต่ การรูก้ ว็ ่าง อดีต(สิง่ ทีร่ )ู้ ก็ว่าง แต่ ก็แจ่มใสไม่ทุกข์ไม่เบลอ รู้กจิ ทุกอย่างที่กาลังทาด้ วยปั ญญา แต่ควบคุมไม่ ปรุงสังขารทีเ่ ป็ นมิจฉาทิฐดิ ว้ ยสัมมาสติและสัมมาสมาธิ ต้องทาให้เกิดจริงๆอย่าแค่คานึงคานวณ ระลึกสัน้ ๆว่า ทุกๆสิง่ ที่ กาลังเกิดกับเราคือ "ปฏิ กิริยาในอดี ต"ทัง้ นัน้ ระลึกแค่ น้ีแต่ให้หนักแน่ น จริงๆจังๆ ย่อมพบความว่างอย่างแท้จริงได้อย่างแน่นอน มิ จ ฉาทิ ฐิ ส าสวะ ต้ อ งมีค วามเห็น ผิด เกิด ขึ้น จึง จะเรีย กว่ า เกิด มิจฉาทิฐสิ าสวะแล้ว แต่ มิ จฉาทิ ฐิอนาสวะ ต่างกัน เพราะถ้ามีตวั ตนไม่ว่างจากตัวตนก็ถอื ว่ามีมจิ ฉาทิฐอิ นาสวะแล้ว ๔๔


สมสุโขภิกขุ

ความรู้สกึ ว่ามี ไม่ว่ามีอะไร หรือความรู้สกึ ว่าไม่มี ไม่ว่าไม่มอี ะไร ล้วนแต่ก่อความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์ให้กบั สิง่ นัน้ แล้ว มีตวั ตนคนสัตว์ของ สิง่ ทีถ่ ูกสัมผัสย่อมมีตวั ตนคนสัตว์ของผูท้ ส่ี มั ผัสด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุน้แี หละ การคิดว่ามีทุกชนิดตามทีพ่ ระพุทธเจ้ายกมาเป็ นตัวอย่าง(ในมหาจัตตารีสก สูตร) เป็ นสิง่ ที่ต้องเลิกคิดว่ามีแต่กไ็ ม่ใช่คดิ ว่าไม่มี ต้องเลิกคิดทัง้ คู่ วิธเี ลิก คิดไม่จาเป็ นต้องไปฝึ กเลิกคิดตรงๆ แต่ต้องฝึ ก ระลึกว่า “ปฏิกริ ยิ าในอดีต ทัง้ นัน้ ” ฝึกไปเรื่อยๆเดีย๋ วความรูส้ กึ ว่ามีและไม่มใี นโลกมันหายไปเอง ความเห็นถูก สัมมาทิฐิ อุบายชอบ เป็ นเพียงแค่ไม้ขดี ไฟ จุดไฟติด แล้วต้องทิง้ ไม่ทง้ิ มือจะโดนไฟลวก การระลึกว่า ปฏิ กิริยาในอดีต ทดลองระลึกตอนเดินก่อนก็ได้ง่ายดี สติจบั ทีก่ ารเดินแล้วระลึกว่ามันเป็ นอดีตไปแล้ว ระลึกสัน้ ๆแค่ครัง้ หรือสอง ครัง้ แต่ให้สติมนี ้าหนัก จริงจังหนักแน่น ระลึกจนเกิดปฏิกริ ยิ าทางกาย เช่น เกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสงบระงับ ต้องมีสงิ่ เปลี่ยนแปลงทางกายก่อน แล้วใจจะว่าง ตามมา แล้วความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนเดินหรือมีตวั เราเดินก็จะหายตามไป ทดลองทากับเรื่องราวอื่นๆก็จะเป็ นลักษณะนี้ คือต้องทิ้งอุบาย สติ จะว่างจากอุบาย เมื่อทิ้งอุบายอย่างอื่นๆก็จะถูกทิ้งตามไปด้วย ทิ้งหมดก็จะ เหลือจิตพุทธะคือความว่างๆอยู่ซกี หนึ่งของสมอง อีกซีกเป็ นปฏิกริ ยิ าต่างๆ ที่ทาปฏิกิริยากันตามเรื่อ งราวของมัน แต่จะมีค วามรู้ส ึกว่าสิ่งที่กาลัง ท า ปฏิกริ ยิ าต่างๆอยู่นัน้ มันก็ว่าง จิตพุทธะก็ว่าง ปฏิกริ ยิ าอดีตก็ว่าง ต่างคน ต่างว่าง แบบนี้จงึ ถูกต้อง ทัง้ นี้ทจ่ี ะว่างได้กเ็ พราะ เมื่อใช้อุบายจุดชนวนแล้ว ต้องรีบทิง้ อุบายอย่าโอ้เอ้ชกั ช้าเด็ดขาด

๔๕


มหาจัตตารีสกสูตร

นี่คอื คาตรัส ของพระพุ ทธเจ้าเพื่อ ยืนยันว่าผู้มีปัญญาย่อ มท าลาย ความรู้ส ึก ว่ามีแ ละไม่มีใ นโลกออกเสียได้ ค าว่ามีปัญ ญาในทางอนาสวะ หมายถึงสามารถรูต้ ามความจริงแล้วระลึกตามความจริงได้นนเอง ั่ การระลึก ตามความจริงถ้าถูกวิธี ความรู้สกึ ว่ามีและไม่มมี นั จึงหายไปกลายเป็ นว่าง จาก “มีและไม่มี” ดังนัน้ การฝึกระลึกว่า “ปฏิกริ ยิ าในอดีต” นี่คอื รูค้ วามจริง ถึงต้นตอ นี่คอื สัมมาทิฐอิ นาสวะ เป็ นความจริงเดิมแท้ ไม่ใช่ความจริงจาก จิตสาสวะ เมื่อฝึกระลึก ชอบได้ในระดับหนึ่งจึงเกิดสัมมาญาณะอนาสวะคือ เกิดความเห็นแจ้งในความจริงเข้า สักวันจนได้ สัมมาญาณะอนาสวะเกิด เมื่อใดความรูส้ กึ ว่ามีและไม่มี มัน จะหายไป เหลือแต่ความว่างจากมีและไม่ มี ความว่างแบบนี้น่ีแหละคือความหลุดพ้นชัวคราว(สั ่ มมาวิมุตติอนาสวะ) ทุกคนสามารถพบความหลุดพ้นชัวคราวได้ ่ ทุกคนถ้าพยายามฝึกฝนตนเอง อย่างถูกวิธี นันคื ่ อฝึกเลิกคิดโดยการระลึกชอบด้วยอุบายชอบ

๔๖


สมสุโขภิกขุ

ข้อสังเกต คนบางคนระลึกไม่เป็ น ไม่สามารถระลึกชอบได้ ได้แค่คดิ ขอให้สงั เกตความแตกต่างระหว่างระลึกกับคิด คือถ้าคิดมันจะไม่ว่าง ไม่ สงบ ไม่เกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาหรือความว่าง คิดจะได้แค่ความรู้สกึ ว่า รู้ แต่จะไม่มอี ะไรระงับหายไป คิดจะรูเ้ รื่องนัน้ เรื่องนี้มกี ารคิดมีการปรุงมีการ ต่อยอดจะไม่พบความสงบความระงับความว่าง แต่ถ้าระลึก มันจะหายไป หมดทัง้ อุบาย ทัง้ ความรู้ ทัง้ ความรู้สึกว่ามีตวั ผูร้ ะลึกตัวสิง่ ทีถ่ ูกระลึก โลก ทัง้ ใบจักรวาลทัง้ จักรวาลจะหายไปกับผลของการระลึกทีถ่ กู ต้อง แต่ มิใช่หายไปแบบสมถะ หายไปแบบทางานได้ตามปกติ แต่ไม่รสู้ กึ ว่ามีสงิ่ ใดๆ ในธรรมชาติให้ยดึ ให้ถอื ว่ามี หรือความรูส้ กึ ว่ามีสงิ่ ใดๆหายไปชัวขณะ ่ การระลึก ชอบเป็ นสิ่ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้า ทรงค้ น พบ พู ด ตรงๆมิไ ด้ ต้องการเทียบเคียงกับใครก็คอื มีสอนเฉพาะในศาสนาพุทธเท่านัน้ ส่วนใหญ่ มีแต่สอนคิด ไม่มลี ทั ธิใดศาสนาใดรูจ้ กั และสอนเรื่องการระลึกชอบ เพราะเหตุท่วี ่าสัมมาสติเ ท่านัน้ จึงจะทาให้พบความหลุ ดพ้น ใคร ระลึกไม่เป็ นจึงต้องพยายามสุดความสามารถที่จะระลึกชอบให้ได้ใ ห้เ ป็ น อย่าไปคิดมันมากนักไม่นานก็จะระลึกเป็ น ถ้ามัวแต่คดิ ไม่ยอมเลิกคิดก็คง ยากทีจ่ ะระลึกชอบได้ระลึกชอบเป็ น จิตพุทธะคือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างหนึ่ง ที่เกิดขณะที่รู้ตามความ จริง ไม่มปี ฏิกริ ยิ าอื่นๆทีไ่ ม่ใช่ความจริงมาซ้อนทับปลอมปน การระลึกตามความจริงด้วยอุบายทีเ่ ป็ นความจริง คือปฏิกริ ยิ าอย่าง หนึ่งที่ส ติส ร้างขึ้นมาเพื่อ ทาให้ปฏิกิริยาปลอมๆที่อวิชชาธาตุสร้างขึ้นมา หายไป ธรรมชาติของอวิชชาจะหายไปเมื่อมีการระลึกตามความจริง ดังนัน้ การมีสมั มาสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบจึงเป็ นวิธเี ดียวที่จะทาลายอวิชชา อวิชชาแปลว่ายังไม่รู้ พอมีสติระลึกความจริง อาการยังไม่รู้ความจริ ง จึง หายไปกลายเป็ น อาการรู้ค วามจริ ง แล้ ว เกิด ขึ้น มา รู้ค วามจริง แล้ว จิต แปลกปลอมจะหายไป เหลือจิตเดิมแท้ทค่ี วามจริงมันควรทาหน้าทีน่ ้ีมานาน ๔๗


มหาจัตตารีสกสูตร

แล้ว แต่อวิชชามาแย่งหน้าที่มนั ทา เมื่ออวิชชาจากไม่รู้มากลายเป็ นรู้ จิตที่ ตอนนี้กลายเป็ นจิตรูแ้ ล้วก็คอื จิตพุทธะนัน่ เองจะทาหน้าทีต่ ามกฎธรรมชาติ ซึ่งการทาหน้าที่จะไม่มคี วามรู้สกึ แบบจิตสาสวะหรือ จิตมีอวิชชา ต่างกัน อย่างไรต้องใช้วธิ รี ะลึกชอบด้วยอุบายชอบขับอวิชชาออกไปก่อนจึงจะรู้จกั จากของจริง ความจริงทุกชนิดทีจ่ ะนามาใช้ระลึกต้องเป็ นความจริงแท้ๆทีป่ ฏิเสธ ไม่ ไ ด้ ไม่ ใ ช่ ค วามจริง ชนิ ด ที่ค ิด เอาเอง ก่ อ นจะน ามาใช้ต้ อ งตรวจสอบ เบื้อ งต้น ด้ว ยปั ญ ญาก่ อ นว่า มัน จริง แท้แ น่ น อนไม่ มีเ ป็ น อื่น จริง ไหม เช่น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ สิง่ ต่างๆทีส่ ติจบั เพือ่ ระลึกมันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ มัน เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติจริงไหม มันเป็ นอดีตไปแล้วจริงไหม มันเป็ นของไร้ สาระจริงไหม มันเป็ นของไม่จริงจริงไหม คนมีปัญญาจะเข้าใจตามจริง แต่ คนขาดปั ญญาอาจมองไม่เห็นไม่เข้าใจ อาจยอมรับไม่ได้ จึงยังคิดว่าเป็ นคน เป็ นกายเป็ นจิตเป็ นชีวติ เป็ นสิง่ นัน้ สิง่ นี้ มองไม่เห็นความจริง ดังนัน้ ขอให้สงั เกตอยู่อย่างหนึ่งคือ ถ้าสิง่ ใดเป็ นความจริง สิง่ นัน้ จะ สามารถใช้ ก ับ สิ่ง ปรุ ง แต่ ง ทุ ก ชนิ ด ทัว่ ทัง้ จัก รวาลได้ เ หมือ นๆกัน ไม่ มี ข้อยกเว้น เช่นการระลึกว่าปฏิกิรยิ าธรรมชาติ จะเป็ นคนเป็ นหินเป็ นกาย เป็ นจิตเป็ นรูปเป็ นนามเป็ นหมูหมากาไก่ใช้คาว่า ปฏิกิรยิ าธรรมชาติระลึก แทนได้ทุกคา ถ้าทาได้แบบนี้ได้แสดงว่าคาที่มาใช้เป็ นความจริงที่ถูกต้อง แต่ถ้าเอามาใช้แล้วใช้ได้ไม่ทุกคา แสดงว่าคาๆนัน้ จิตสาสวะหรือจิตคติทวิ นิยมสร้างขึน้ มาใหม่ซ้อนทับความจริงอยู่ ไม่ว่าจะคิดอะไรระลึกอะไร ถ้าไม่ สามารถเป็ นหนึ่งได้ สิง่ นันย่ ่ อมไม่ใช่พุทธะ พุทธะต้องเป็ นหนึ่งไม่มสี อง ดังนัน้ คาว่าปฏิกริ ยิ ามีความเป็ นหนึ่งจึงใช้กบั อะไรก็ได้ เช่นเดียวกับ ค าว่ า อดีต ค าว่ า ไร้ส าระ ค าว่ า ว่ า ง ค าว่ า ของปลอมของไม่ จ ริง ฯลฯ ก็ สามารถใช้แทนทีก่ บั ทุกสิง่ ในโลกได้ทงั ้ นัน้ ใช้คาว่าทุกสิง่ คืออดีตได้เสมอกัน นัน่ คืออดีตเป็ นพุทธะอย่างหนึ่ง เห็นว่าทุกสิง่ คืออดีตจึงหมายถึงเห็นพุทธะ ๔๘


สมสุโขภิกขุ

ของสรรพสิง่ ใครมองไม่เห็นว่าเป็ นอดีตมองไม่ออกไม่เข้าใจนัน่ คือผู้ยงั ไม่ เห็นพุทธะ แต่ถ้าใครเข้าใจแล้วว่าใช่ สิง่ ที่เห็นความจริงมันเป็ นอดีตจริงๆ อะไรๆมันเป็ นอดีตไปหมดจริงๆ เห็นแจ้ง แบบนี้นัน่ คือเห็นพุทธะแล้ว เห็น พุทธะเมื่อใด ต้องระลึกตามพุทธะที่เห็น เพื่อกาจัดจิตสาสวะให้เกลี้ยงไป อุบายชอบมีมากมาย ได้แนะนาวิธเี ห็นความจริงเห็นความเป็ นหนึ่ง อุปมา เหมือนดอกบัวดอกเดียวของธรรมชาติไว้แล้ว ต้องนามาฝึ กใช้ดู ทุกคนจะ หลุ ดพ้นจากทุก ข์ไ ด้เ พราะระลึก ชอบด้ว ยอุ บ ายชอบจนจิต กลายเป็ น จิต พุทธะตลอดกาล ฝึกพบความเย็นของจิตพุทธะ ด้วยอุบายง่ายๆที่ยกมาให้ ฝึ กก่อน ด้วยความขยันหมันเพี ่ ยรฝึ กฝนอย่างจริงจังไม่ท้อถอยความหลุด พ้นแห่งใจย่อมมีแด่ทุกๆคน เมื่อระลึกตามความจริงจนเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขา ธรรมชาติ จะแยกเป็ น สองส่ว น ส่ว นหนึ่ ง ว่ า งมีส มาธิก ับ ปั ญ ญาท าหน้ า ที่ คอยคุ ม ปฏิกริ ยิ าทีจ่ ะเกิดขึน้ ต่อไปในขณะทีย่ งั ว่างอยู่ ให้ว่างจากตัวตนตามไปด้วย ใช้อุบายใดระลึก ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดตามมาก็จะถูกครอบงาด้วยอุบายนัน้ ๆด้วย จึงทาให้เห็นความเป็ นพุทธะหรือเห็นความเสมอกันของทุกสรรพสิง่ เช่นว่าง เหมือนกัน ไร้สาระเหมือนกัน ของไม่จริงเหมือนกัน ไม่มเี จ้าของเหมือนกัน เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเหมือนกัน เป็ นอดีตเหมือนกัน เป็ นกระแสธรรมชาติ เหมือ นกัน เป็ น ธาตุ เ หมือ นกัน เป็ น สัง ขารเหมือ นกัน ไม่ ใ ช่ ต ัว กู ข องกู เหมือนกัน นี่คอื สิง่ ที่จะเกิดขึ้นเมื่อระลึกชอบได้ถูกต้องจนเกิดปิ ติปัส สัทธิ สมาธิอุเ บกขา ความรู้ส ึก เสมอกันเช่นนี้ย่อ มเกิดขึ้นมาได้เ อง ความรู้ส ึก เหล่านี้เกิดก็จะว่างอยู่ตลอดเวลา ความรูส้ กึ เหล่านี้ดบั เมื่อใด ความว่างก็จะ ดับตาม ก็ตอ้ งมาสร้างสติชอบระลึกชอบจนเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขากัน ใหม่ มีส ัม มาสติ ร ะลึ ก ชอบด้ ว ยอุ บ ายชอบจนเกิ ด ปิ ติ ปั ส สัท ธิ ส มาธิ อุเบกขาแล้วจบลงตรงทีส่ งบระงับว่างเย็นเป็ นจิตพุทธะ ตรงนี้เราสามารถฝึก ๔๙


มหาจัตตารีสกสูตร

ต่อยอดเป็ นดับสังขารที่จะเกิดใหม่ จะมาจากผัสสะที่มากระทบหรือสัญญา เวทนาปรุงขึ้นมาใหม่ก็ตาม ให้ลองฝึ กระลึกรู้เฉยๆให้มนั จบแค่สมมุติ แล้ว ไม่มกี ารปรุงต่อ อะไรมากระทบก็รเู้ ฉยๆว่าสิ่งนัน้ คือหมูหมากาไก่ชายหญิง ชื่อนัน้ ชื่อนี้ แล้วหยุดไม่ปรุงต่อ เรียกว่าจิตพุทธะสิง่ ที่ไปจับไปรูก้ ว็ ่าง สมมุติ ที่ถูกจับถูกรู้ ก็ปรุงแค่ช่อื แล้วก็ว่างไม่ปรุงต่อเพิม่ เติม มันจึงกลายเป็ นมีช่อื ว่างๆให้ถูกรู้ ต้องทาให้รสู้ กึ ว่าว่างทัง้ คู่ให้ได้ นัน่ คือความหมายของการฝึ ก ในขัน้ ตอนนี้ สัมมาญาณะอนาสวะที่เกิดสืบต่อจากอุเบกขาสามารถฝึ กทา เช่นนี้ได้ เราก็จะเริม่ ทาการงานชนิดทาโดยไม่มผี ู้ทาได้ เพราะการหยุดไม่ ปรุงตัวตนหรือรูปลักษณ์ของสิง่ ใดๆย่อมทาให้ว่างจากตัวตนของนักปฏิบตั ิ เองด้วยและตัวตนของสิง่ อื่นๆด้วย ทดลองฝึกดูได้ พอมีตวั ตนของหมูหมา กาไก่ในความรู้สกึ ขึ้นมา ตัวกูของกูก็มตี าม จิตพุทธะก็หายไปทันที แต่ถ้า ระลึกแค่ช่อื แค่สมมุติ แต่ไม่ปรุงรูปร่างตัวตนสิง่ นัน้ เราก็ยงั รับทราบว่าเรา กาลังเกีย่ วข้องกับสิง่ ใดอยู่ แต่การเกีย่ วข้องมันอยู่ในสภาวะสักว่าตลอดเวลา จะหายสักว่าก็เมื่อสติสมาธิแ ละปั ญญาหลุดจากความว่างนัน่ แหละก็ต้องมา ทาให้ว่างด้วยสติชอบอนาสวะกัน ใหม่อกี ครัง้ ธรรมชาติจริงๆในภายภาค หน้า ชีวติ เราจะต้องอยู่กบั การปรุงสักว่าปรุงไม่ต่อยอดไปปรุงต่อ ใช้แค่คา สมมุติ คาสมมุตจิ ะมีแต่ความรู้สกึ ว่าหมายถึงอะไร แต่รูปร่างรูปลักษณ์มนั ว่างไม่มกี ารไหลไปต่อว่า สมมุตชิ ่อื นัน้ ชื่อนี้ ประเภทนัน้ ประเภทนี้ มีเบื้อง หน้าเบือ้ งหลังเบือ้ งลึกเบือ้ งตืน้ อะไรกับเรากับใครหรือกับสิง่ ใดๆบ้าง จะไม่มี อาการแบบนัน้ ใครทีพ่ อระลึกหรือพูดคาสมมุตคิ าใดแล้วไม่หยุดแค่รู้ มีการ ไหลไปปรุงต่อถึงเรื่องอื่นๆต้องฝึ กหยุดไหลไปปรุงต่อให้ได้ให้เป็ น เพราะ การไหลไปปรุงต่อนัน่ แหละคือการไหลของอาสวะ(คาว่ามีอาสวะคือ มีการ ไหลไปปรุงต่อได้) อันเป็ น ตัว ทาให้เกิดทุก ข์ใ นอนาคต ฝึ กจัดการเสียแต่ ตอนนี้ภายหน้าพบเจอจะได้สามารถจัดการได้ทนั ท่วงที ๕๐


สมสุโขภิกขุ

ขอย้าเตือนว่าปฏิบตั ธิ รรมตามหลักพุทธศาสนาคือต้องรู้ความจริง ระลึกตามความจริง สิง่ ใดความจริงเป็ นเช่นไรต้องรูแ้ ละระลึกตามนัน้ สิง่ ใด เป็ นของปลอมของไม่จริงก็รตู้ ามความจริงว่าเป็ นของปลอมของไม่จริง เวลา ระลึกก็ระลึกตามจริงว่าของปลอมของไม่จริง ดังนัน้ ธรรมชาติน้ีจงึ มีให้ระลึก อยู่ส องอย่ า งเท่ า นัน้ คือ ของจริ ง ระลึก ตามที่ม ัน เป็ น จริง ๆแต่แ ยกระลึก ตามแต่ละอาการหรือลักษณะ เช่น ปฏิกริ ยิ า อดีต ดับไปแล้ว หายไปแล้ว ไม่มอี ยู่จริงแล้ว ไร้สาระ ไร้แก่นสาร ส่วนของปลอมก็ระลึกเหมารวมหมด ว่าของปลอมของไม่จริงทัง้ นัน้ ไม่ต้องแยกระลึกเป็ นอย่างๆ ของปลอมมีเป็ น ล้านๆค าสมมุติระลึก อย่ างเดียวกันหมด เวลาระลึกต้อ งระลึกจนมัน ว่ า ง ระลึกจนสมมุตมิ นั หายไป สมมุตหิ ายมันจะต้องมีปิตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขา แล้วก็ว่างเย็น เสมอๆ เพื่อเป็ นเครื่องมือวัดผลการปฏิบตั ิว่าระลึกถึง จุ ดที่ ถูกต้องแล้ว

๕๑


มหาจัตตารีสกสูตร

ธรรมอันไม่เนิ่ นช้า คือธรรมะทีม่ ปี ฏิบตั แิ ค่สองแบบ คือ ๑.ปฏิ บตั ิ เพือ่ ละมิ จฉาทิ ฐิตรงๆ ๒.ปฏิ บตั ิ เพือ่ เห็นทุกสรรพสิ ง่ เป็ นธรรมอันเดียวกันหรือเสมอ กันตรงๆ ธรรมอันไม่เนิ่นช้ามีฝึกปฏิบตั แิ ค่สองเรื่องนี้เท่านัน้ ไม่จาเป็ นต้องไป ฝึกหรือไปสนใจฝึกธรรมอันอื่นก็ได้ ฝึกแค่สองหัวข้อนี้ครอบคลุมธรรมอันไม่ เนิ่นช้าทัง้ หมด ธรรมอัน เนิ่ นช้ า มี ห ลายรู ป แบบน ามาจาระไนเก้ า ปี สิ บ ปี ก็ ยกตัวอย่างได้ไม่หมด ถ้าจะสรุปง่ายๆก็คอื ธรรมอันใดที่ลงมือปฏิบตั ิแล้ว มิไ ด้ เ ป็ นไปเพื่อ เห็ น ทุ ก สรรพสิ่ง เสมอกั น เห็ น มีค่ า มากน้ อ ยกว่ า กั น เปรียบเทียบกัน ถูกผิดดีกว่าเลวกว่า ช้ากว่าเร็วกว่า มีคุณมากกว่าน้อยกว่า ลึกกว่าตื้นกว่า ละเอียดกว่าหยาบกว่า ง่ายกว่ายากกว่า ฯลฯ ธรรมอันนัน้ ย่อมเป็ นธรรมเนิ่นช้า หรือธรรมอันใดที่ลงมือฝึ กปฏิบตั แิ ล้วมิได้เกี่ยวข้อง ใดๆกับการละมิจฉาทิฐเิ ลย แต่เป็ นการปฏิบตั เิ พือ่ รูเ้ พือ่ มีเพือ่ ได้เพือ่ เป็ นเพื่อ เห็น เพือ่ อะไรก็ตามทีม่ ใิ ช่เพือ่ ละมิจฉาทิฐิ ธรรมอันนัน้ ย่อมเป็ นธรรมเนิ่นช้า “ภิ กษุใดประกอบด้วยธรรมเครื่องเนิ่ นช้า ยิ นดีในธรรมเครื่อง เนิ่ นช้า ภิ กษุนัน้ ย่อมพลาดนิ พพาน” (สารีปตุ ตเถรคาถา) สัมมัตตธรรมอนาสวะในมหาจัตตารีส กสูต ร คือข้อธรรมอัน ไม่ เนิ่นช้า เพราะประการแรก พระองค์ตรัสให้ ละมิ จฉาทิ ฐิ ประการทีส่ องตรัส ให้ บรรลุสมั มาทิ ฐิอนาสวะ สัมมาทิฐอิ นาสวะคือเห็นทุกๆอย่างเสมอกัน คือการว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีและไม่มี ใครฝึกแบบนี้คอื การฝึกเห็นทุกสรรพ ๕๒


สมสุโขภิกขุ

สิง่ เสมอกัน วิธจี ะเห็นเสมอกันคือต้องละความรูส้ กึ ทีเ่ ป็ นมิจฉาทิฐิ ความรูส้ กึ ว่ามี ไม่ว่ามีอะไร ในพระสูตรนี้ ให้ฝึกละทันที ละก็จะว่าง แต่พระองค์กต็ รัส ว่า มิใช่ไปรู้สกึ ว่าไม่มี รู้สึกว่าไม่มีกว็ ิ ปลาสรู้สึกว่ามีกว็ ิ ปลาส จึงต้องละ มิจฉาทิฐคิ ู่น้ีให้ได้ ใครมีสติ ละมิ จฉาทิ ฐิค่นู ้ ี ได้สาเร็จ ก็จะพบความเท่ า เทียมกัน ความเสมอกัน หรือความเป็ นพุทธะของทุกสรรพสิ ง่ นัน่ คือ พบนิ พพานนัน่ เอง พบบ่อยๆสักวันก็หลุดพ้น หลุดพ้นได้โดยแค่ เลิ กคิ ด ว่ามีเมือ่ คิ ดว่ามี เลิ กคิ ดว่าไม่มีเมือ่ คิ ดว่าไม่มี เลิกคิดสุดโต่งทัง้ สองด้าน โดยการละหรือเลิก หรือหยุดคิด แล้วไม่ต้องไปปรุงธรรมะใดๆบทใดๆหรือ ไปปรุงความสงสัยความกังขาความใจร้อนใจเร็วความอยากได้อยากรูอ้ ยาก เห็นอยากเป็ นสิ่งใดๆหรือ อะไรขึ้นมา การปฏิบัติ จะไม่เ นิ่นช้า อยู่ท่ีต รงนี้ เพราะเกือบจะไม่ มกี ารปรุงธรรมะบทใดๆเลย แค่มสี ติกบั ปั ญญารู้ว่าอะไร เป็ นมิจฉาทิฐิ พอมีมจิ ฉาทิฐกิ ล็ ะให้ได้ ละได้กป็ ระคองสติสมาธิปัญญาอยู่กบั ความเสมอกันของทุกสรรพสิง่ ซึง่ จะพบทันทีทล่ี ะมิจฉาทิฐไิ ด้ ธรรมเนิ่ นช้ า จะเห็นทุก อย่างไม่เ สมอกัน จะปฏิบัติโดยเห็น ทุ ก อย่างไม่เสมอกัน ธรรมไม่เนิ่ นช้ า จะเห็นทุก อย่างเสมอกัน จะปฏิบัติเ พื่อ เห็น ทุ ก อย่างเสมอกัน เห็นอย่างไรคือเห็นเสมอกัน เช่นเห็นเป็ นธาตุเสมอกันหมด เห็นเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอกัน หมด เห็นว่าไร้สาระเสมอกันหมด เห็นว่าเป็ นอดีตเสมอกันหมด เห็นเป็ น ของไม่จริงเป็ นของปลอมเป็ นมายาเสมอกันหมด ฯลฯ ปฏิบตั แิ บบนี้ ถ้ามีปิ ติปัสสัทธิสมาธิอุเบกขา อารมณ์สมาธิ อารมณ์ฌาน อารมณ์วปิ ั สสนาญาณ ต้องระวังต้องระลึกเมื่อเวลาเกิดปฏิกริ ยิ าใดๆแปลกๆขึน้ มาว่า มันเป็ นสิง่ ไร้ สาระเสมอกันหมด เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอกัน หมดเหมือนกัน อย่าไป ใส่เหตุผลว่ามันไม่เสมอกันกับสิง่ อื่นๆ ๕๓


มหาจัตตารีสกสูตร

ส่ว นการปฏิบัติแ บบเห็นแต่ ค วามไม่เสมอกัน คือ ปฏิบัติแบบมี กายหยาบกายละเอียดมีจติ หยาบจิตละเอียดมีดมี เี ลวมีประณีตมีบวกมีลบ มี ลาดับชัน้ ขัน้ ตอนเหลื่อมล้าต่าสูง มีอะไรต่อมิอะไรทีส่ ร้างความรูส้ กึ แยกแยะ เปรียบเทียบ ความรูส้ กึ แบบนี้ดูเหมือนจะดี แต่จริงๆแล้วไม่ดี เสียเวลาต้อง ฝึกจนกว่าเกิดความเห็นแจ้งขึน้ มาเองจะชาติไหนไม่รู้ ว่า ทีแ่ ท้มนั ไม่มอี ะไร สูงต่ าบนล่างเหนือกว่าต่ ากว่า มันคือสิง่ เสมอกันทัง้ นัน้ การเห็นความไม่ เสมอกันนัน่ คือ เหตุแ ห่ งทุก ข์ เหตุแ ห่ งการเวียนว่ายตายเกิด หยุดความ แตกต่าง หยุดการใส่เหตุผลว่าเหลื่อมล้าเสีย คือหยุดทุกข์ หยุดวัฏสงสาร ฝึ ก แบบไม่ เ สมอกัน มัน เนิ่ น ช้า ตรงนี้ ตรงที่ส ัก วัน จะเลิก ให้ส าระกับ การ เปรียบเทียบเหลื่อมล้าต่าสูงขึ้นมาด้วยตนเอง แต่ฝึกเห็นความเสมอกันแต่ แรกเลย จึงลัดสัน้ ไม่เสียเวลา และแม้ยงั ไม่บรรลุธรรมก็สามารถใช้วธิ กี าร ฝึกแบบนี้มาดับทุกข์จริงๆในระหว่างวันได้ตลอดเวลา แบบเนิ่นช้าคือการปรุงว่ามี แล้วปรุงต่อว่ามันแตกต่างกัน แล้วปรุง เหตุผลแยกแยะอีกนานัปประการว่ามีสงิ่ นัน้ ดีกว่าสิง่ นี้ จะสร้างความรูส้ กึ ว่า มีสงิ่ หนึ่งสิง่ ใดอยู่จริงๆตลอดเวลา และมีสงิ่ ใดเหนือกว่าสิง่ ใดตลอดเวลา แต่ ตรงข้า มกับ การรู้ต ามความจริง จะมีแ ต่ ส ร้า งความว่ า งให้กับ สมมุ ติอ ยู่ ตลอดเวลา สร้า งความรู้ส ึก ว่ า ไม่ มีต ัว ตนของสิ่ง ต่า งๆตลอดเวลา สร้า ง ความรู้สกึ สักว่าตลอดเวลา จึงสร้างยาดับทุกข์เก็บตุนไว้ใช้งานเวลามีทุกข์ และเก็บตุนไว้เป็ นเสบียงกรังเพือ่ สาเร็จมรรคผลนิพพานตลอดเวลา แต่แบบ เนิ่ น ช้า ดูเ หมือ นสร้า งความรู้ แต่ ห ารู้ไ ม่ ว่ า ความรู้จ ากสมมุ ติเ ป็ น ความรู้ ปลอมๆ แต่ยงั มีอวิชชาอยู่เลยไม่รู้จกั ความรู้ใดจริงแท้ความรู้ใดปลอมปน ข้อคิดง่ายๆสาหรับผูท้ ย่ี งั แยกแยะไม่เป็ นก็คอื สมมุติทุกคาของปลอมทุก คา ไม่มสี มมุตคิ าใดเป็ นของแท้จริงตามคาสมมุตอิ ยู่ในธรรมชาติน้เี ลยแม้แต่ สิง่ เดียว เมื่อสมมุตคิ อื ของปลอม การนาคาสมมุติมาใคร่ครวญ คือการนา ของปลอมมาใคร่ครวญของปลอมจึงย่อมได้แต่ของปลอม ส่วนธรรมไม่เนิ่น ๕๔


สมสุโขภิกขุ

ช้าใคร่ครวญอย่างเดียวคือมันเป็ นของปลอมของไม่จริงของไร้สาระ ระลึกจบ ก็จะว่างสงบระงับ แต่ถ้าไปสร้างความรูส้ กึ ว่าสมมุตคิ อื ของจริง นาสมมุตมิ า ให้เหตุผล ก็คอื ดึงคาสมมุตมิ าซ้อนสมมุติ ใคร่ครวญแล้วใคร่ครวญอีกก็จะมี แต่เ พิ่มค าสมมุติ เพิ่มของปลอม เพิ่มของไร้ส าระ เพิ่มปฏิกิริยาซ้อ นทับ ปฏิกริ ยิ า อันเป็ นการเพิม่ อวิชชา(ธาตุเลว) สัญญาเลว ทิฏฐิเลว มาใช้ในการ ปฏิบตั ิ การปฏิบตั แิ บบเนิ่นช้ามันจึงมีแต่วธิ เี พิม่ ธาตุเลวสามตัวอย่างไม่รจู้ บ

ตัวอย่างอุบายฝึ กปฏิ บตั ิ ธรรมอันไม่เนิ่ นช้า เว่ยหลางกล่าวว่า อย่าเผลอปล่อยให้ อดีตปั จจุบนั อนาคตมันรวมตัว เป็ นเนื้อเดียวกันจนกลายเป็ นห่วงโซ่แห่งกาลเวลา ซึ่งปุถุชนไม่รตู้ ามความ จริง ข้อ นี้ ย่ อ มไม่ รู้ว่ า พวกเขามีค วามรู้ส ึก เช่ น นั น้ อยู่ ทุ ก คนมีค วามคิด ตลอดเวลาไม่ว่าเป็ นอดีตปั จจุบนั แม้อนาคต ว่าเป็ นสิง่ ที่ตนเองทาไปแล้ว กาลังทาหรือจะทา จึงเป็ นห่วงโซ่คล้องคอติดตามตนเองไปตลอดกาลเกือบ ไม่มคี วามรูส้ กึ ว่า กาลเวลาเป็ นของปลอม ธรรมชาติน้ีมแี ต่สงิ่ ทีผ่ ่านไปแล้ว ทัง้ นัน้ มีแต่สงิ่ ที่ไม่ใช่ของเราแล้วทัง้ นัน้ และไม่มสี งิ่ ใดที่มใี ครกาลังทาหรือ ๕๕


มหาจัตตารีสกสูตร

จะทา ปุถุชนจะคิดเสมอว่าสิง่ ทีเ่ ป็ นอดีตก็เป็ นเรื่องของตัวเรา สิง่ ทีก่ าลั งทา อยู่ในปั จจุบนั ก็เป็ นเรื่องของตัวเรา สิง่ ที่ยงั ไม่ได้ทาแต่คดิ จะทาก็เป็ นเรื่อง ของเรา ทัง้ ๆทีจ่ ริงๆแล้ว แม้กระทังลมหายใจที ่ เ่ ราคิดว่าเรากาลังหายใจนัน้ ความจริงแค่เราหายใจเข้ายังไม่ทนั หายใจออกมันก็เป็ นอดีตไปแล้ว ตอน หายใจเข้าก็ไม่มใี ครทาหายใจออกก็ไม่มใี ครทา วินาทีทห่ี ายใจเข้าจบลงมัน ก็เป็ นอดีตมันหายใจเข้า พอหายใจออกอดีตมันหายใจออก หายใจเข้าจบไป แล้ว ปฏิกิริย าในอดีต ต่ า งหากมัน หายใจ หายใจออกก็ ป ฏิกิริย าในอดีต ต่ า งหากมัน หายใจออก มัน จึง ถือ เป็ น ปั จ จุ บัน ไม่ ไ ด้เ ลย ขัน้ ต้น นี้ ล องใช้ ปั ญ ญาใคร่ ค รวญดู ว่ า จริง หรือ ไม่ ใครมีปั ญ ญาย่ อ มมองออกว่ า มัน เป็ น เช่นนัน้ จริงๆ ดังนัน้ การยึดโยงสิ่งที่ผ่ านไปแล้ว ว่าเป็ นปั จจุบันจึงเป็ นมิจฉาทิฐิ ย่อมทาให้มตี วั มีตนผู้เป็ นเจ้าของห่วงโซ่กาลเวลา เลยเกิดความยึดมันถื ่ อ มันอั ่ นนาไปสู่ความทุกข์และการเวียนว่ายตายเกิดไม่รู้จบ วิธฝี ึ กตัดห่วงโซ่ กาลเวลาทาได้ไม่ยาก เพียงแค่ฝึกระลึกว่าอะไรๆล้วนแต่เ ป็ นอดีต ระลึก สัน้ ๆเพียงแค่น้ี ทดลองระลึกตอนเดินว่าอดีตมันเดิน ตอนกินก็อดีตมันกิน ทุกๆปฏิกริ ยิ าล้วนแต่ปฏิกริ ยิ าของขันธ์ในอดีตมันกระทา ไม่ใช่เราไม่ใช่เขา ไม่ ใ ช่ ใ ครเป็ น ปฏิกิริย าในอดีต ที่ไ ม่ มีต ัว ตนคนสัต ว์เ ป็ น เจ้า ของปฏิกิริยา ธรรมชาติเหล่านี้เลย ต้องฝึ กระลึกจนมันเกิดความว่างจากความรู้สกึ ว่ามี ตัวตนคนสัตว์ ให้ตวั ตนคนสัตว์หายไปจากความรู้สกึ ให้ได้ นัน่ แหละจึงจะ เห็นพุทธะ เห็นความว่างอย่างแท้จริง ฝึกแล้วฝึกอีกจนมันว่างจริงๆ ว่างจน สัมผัสได้ว่าจิตพุทธะมันว่างแบบนี้ คราวนี้เวลามีทุกข์ขน้ึ มาจะได้มสี ติระลึก แค่ว่ามันเป็ นอดีต ปฏิกริ ยิ าใดๆทีเ่ กิดขึน้ แล้วทาให้ทุกข์นนั ้ เป็ นเพราะเราคิด ว่ามันเป็ นปั จจุบนั ไปดึงอดีตมากักขังตนเองไปหาโซ่มาคล้องคอตนเอง ต้อง มองเห็นตามจริงแบบที่เว่ยหลางกล่าวให้ได้ว่า อดีตก็คอื อดีตไม่ใช่ปัจจุบนั มองเห็นอดีตเป็ นอดีตได้อย่างแท้จ ริงเมื่อใด ทาชานาญมากๆทุกข์ก็จะเกิด ๕๖


สมสุโขภิกขุ

ไม่ได้อกี เลย ทดลองฝึ กกันดู อาจลาบากบ้างตอนเริม่ ฝึ กเพราะมันไม่ยอม รู้ส ึก ว่าเป็ นอดีต มันรู้ส ึก ว่าเป็ นปั จจุบันอยู่ต ลอดเวลา ต้อ งพากเพียรสัก เล็กน้อยในระยะแรก แต่ทาได้สกั ครัง้ สองครัง้ พบความว่างของจิตพุทธะสัก หนสองหนอะไรๆก็จะง่ายขึน้ ข้อสังเกตหากทาถูกต้องจะพบสิง่ ทีเ่ ว่ยหลางก ล่าวไว้คอื ไม่ว่าอะไรๆมันจะดูว่างไปหมด มันสามารถทาได้ถงึ ขนาดนัน้ ลอง ฝึกทากันดู แต่หา้ มไปคิดว่าอดีตมันว่าง ต้องระลึกแค่ว่ามันเป็ นอดีต ไปแล้ว ระลึกจนเกิดความว่างขึ้นมาเอง ถ้าไปคิดว่าอดีตมันว่างหรือคิดว่าอะไรมัน ว่างแบบนัน้ มันศาสนา "คิด" ไม่ใช่ศาสนา "พุทธะ" ศาสนาพุทธะต้องทาแค่มี สติร ะลึก แล้ว ความว่ า งแท้ๆ มัน จะต้อ งเกิด ตามมานัน่ แหละจึง จะเป็ นจิต พุทธะแท้ๆ ความไม่ข้องติ ดของเว่ยหลางคืออะไร คือการไม่ให้สาระนัน่ เอง ทดลองไปฝึกไร้สาระดู มันจะเกิดอาการไม่ขอ้ งติดขึ้นมาเอง และมันจะเกิด อาการเห็นความว่างเสมอกันของสรรพสิง่ ไปพร้อมๆกันด้วย ความว่างที่ เกิดนัน้ นัน่ แหละคือจิตพุทธะของจริง แต่ต้องให้มนั ว่างจริงๆนะ ถ้ายังว่าง แบบเว้าๆแหว่งก็พยายามเข้าเดีย๋ วมันว่างจริงๆเองแหละ ความจริงปรุงไม่ได้ จะเห็นความจริงคือเลิกปรุงความไม่จริง ด้วย สัมมาสติอนาสวะ จนความไม่จริงหายไป ว่างจากความไม่จริง นัน่ จึงจะ เรี ย กว่ า ความจริ ง แท้ ป รากฏ นั น่ จึ ง จะเรี ย กสั ม มาญาณะอนาสวะ สัมมาญาณะอนาสวะจึงว่าง แต่เป็ นความว่างทีม่ พี ลัง ใช้ประโยชน์ได้ ใช้ดบั ทุกข์ได้ ใช้ดบั สังขารได้ ใช้ดบั วัฏสงสารได้ สัมมาญาณะอนาสวะเป็ นศัตรูค่อู าฆาตกับอวิชชาธาตุเลวทีเ่ ป็ นพลัง ด้านมืด อวิชชามีส ถานะภาพที่ว่ างเหมือ นกับญาณะแต่เ ป็ น ปรปั ก ษ์ กัน มีญาณะก็ไม่มอี วิชชา มีอวิชชาก็ไม่มญ ี าณะ

๕๗


มหาจัตตารีสกสูตร

คาตรัสของพระพุทธเจ้าทีต่ รัสว่า"เป็ นพระอรหันต์เพราะรู้ชอบ" ค าว่า รู้ช อบในที่น้ี มิใ ช่ห มายถึง สัม มาทิฐิเ ท่ า นัน้ แต่รู้ชอบในที่น้ี หมายถึงรูช้ อบในสัมมัตตธรรม๑๐อนาสวะ สัมมัตตธรรม ๑๐ ก็มีสองแบบ คือ แบบสาสวะ รู้ชอบแบบโลกๆ แบบอนาสวะ รู้ชอบแบบพระอริ ยบุคคล รู้ชอบแบบสัมมัต ตธรรม ๑๐ ได้แ ก่ มรรค ๘ + สัมมาญาณะ + สัมมาวิ มุตติ รวมเป็ น สัมมา ๑๐ องค์ เรียกว่าต้อ งมี สัมมา ๑๐ อย่าง มากกว่ามรรค ๘ ทีม่ สี มั มาแค่ ๘ สัมมา และสัมมา ๑๐ อย่างนี้ ก็มี ๒ แบบ คือแบบ สัมมาสาสวะ ๑๐ สัมมา แบบนี้ยงั ต้องไปเกิด กับแบบสัมมาอนา สวะ ๑๐ สัมมา แบบนี้ไม่ต้องไปเกิด คือเป็ นสัมมา ๑๐ ประการของพระ อรหันต์ ความต่างกันของสัมมาสองแบบต่างกันตรงที่ สัมมาสาสวะยังไม่ เห็นความเสมอกันของธรรมทัง้ ปวง สัมมาอนาสวะเกิดทันทีท่ีเห็นความ เสมอกันของธรรมทัง้ ปวง การเห็นความเสมอกันของธรรมทัง้ ปวง คือการเห็นพุทธะใน ธรรมทัง้ ปวง จิ ต พุ ท ธะหรื อ จิ ต อนาสวะคื อ ปฏิ กิ ริ ย าของจิ ต เมื อ่ เกีย่ วข้องกับรูปธรรมนามธรรมใดๆก็ตามจะมีแต่ความเสมอกัน การเพ่งพิจารณาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเห็นความเสมอกันของรูป และนาม จนเห็นธรรมชาติทุกรูปแบบมีความเสมอกันเท่าเทียมกัน ไม่มสี งิ่ ใดต่างกัน จะโดยอุบายใดๆก็ตาม นัน่ แหละคือ การปฏิ บตั ิ ธรรมแบบไม่ เนิ ่ น ช้ า เพราะจะไม่ เ สีย เวลามาแบ่ ง แยกธรรมแล้ ว พิจ ารณาจนเกิด ความรูส้ กึ ว่าเป็ นปฏิกริ ยิ าเหมือนกัน ไร้สาระเหมือนกัน เป็ นมายาเหมือนกัน เป็ นขันธ์ในอดีตเหมือนกันภายหลัง อาจเสียเวลามาก กว่าจะเกิดความรูส้ กึ เช่นนี้ขน้ึ มาด้วยตนเอง ๕๘


สมสุโขภิกขุ

แต่ ถ้า ฝึ ก ระลึก ว่ า มัน เสมอกัน นับ แต่เ ริ่ม ปฏิบัติ ย่ อ มเป็ น การลัด ขัน้ ตอนที่จะเห็นความเสมอกันด้วยตนเองภายหลัง เช่นผู้เพ่งขันธ์ห้า ลอง คิดดูจะเพ่งดูขนั ธ์พจิ ารณาขันธ์ทงั ้ ห้าทีละขันธ์สองขันธ์ เป็ นเวลานานสัก เท่าใดจึงจะเห็นว่าขันธ์ไม่ว่าขันธ์อะไรล้วนแต่ไม่มสี าระไม่มแี ก่นสารเสมอ กัน เป็ น ขัน ธ์ ใ นอดีต เสมอกัน เป็ น ของมายาของไม่ จ ริง เสมอกัน เป็ น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอกัน เป็ นอนัตตาไม่ใช่สงิ่ ที่มตี วั ตนเป็ นตัวตนเสมอ กัน เป็ นมายาเป็ นของปลอมของไม่จริงเสมอกัน ถ้าไม่มกี ารระลึกอุบายชอบ เสียแต่แรกๆ ย่อมเป็ นการยากจริงๆทีจ่ ะเห็นพุทธะความเป็ นธรรมชาติเสมอ กันของขันธ์ทุกๆขันธ์ ส่วนมากจะปฏิบตั ธิ รรมชนิดฝึกเห็นความไม่เสมอกัน ฝึ กสร้างความไม่เสมอกันอยู่ตลอดเวลา การทาเช่นนัน้ นัน่ คือ การยิ นดี ใน ธรรมอันเนิ ่นช้ า ยินดีกบั สมมุตซิ ่งึ เป็ นมายาคติ หรือเป็ นคติทวินิยม(นิยม ไหลไปสร้างความเป็ นของคู่) ยิง่ ฝึ กจึงยิง่ ห่างไกลความเป็ นพุทธะ หรือยิง่ ฝึ กยิง่ ห่างไกล สัมมัตตธรรมอนาสวะ ยิง่ ฝึ กยิง่ เห็นดอกบัวหลายดอก มิใช่ ฝึ กเพื่อเห็นดอกบัวดอกเดียวหรือเห็นบัวทุกดอกล้วนเป็ นบัวเสมอกัน เห็น ทัง้ รูปทัง้ นามล้วนเป็ นปฏิกริ ยิ าเหมือนกัน ไร้สาระเหมือนกัน เป็ นของไม่จริง เหมือ นกัน ไม่ใ ช่ต ัว กู ของกู เ หมือ นกัน ไม่มีอ ะไรแตกต่างจากอะไร เป็ น เสมือนธรรมชาติน้คี อื ดอกบัวดอกเดียวกัน ไม่มแี ตกไม่มแี ยกเป็ นสองสามสี่ ธรรมอันไม่เนิ่ นช้าจากพระไตรปิ ฎก บทเพ่งภาวนาของเถระเจ้าในสมัยพุทธกาล ท่านผูป้ ระเสริฐเหล่านี้ ล้วนแต่ตงั ้ จิตอธิษฐานว่า เมือ่ ไรหนอจึง จะเห็นความเสมอกันของรูป นามและขันธ์ทงั ้ หลาย ท่านทัง้ หลายมิได้มใี ครตัง้ จิตจะได้จะเป็ นหรือ จะ เห็น อะไรมีค่ามากกว่าอะไร แม้แต่องค์เดียว เชิญศึกษาได้จากพระสูตรที่ มีในพระไตรปิ ฎกบทนี้

๕๙


มหาจัตตารีสกสูตร

"เมื อ่ ไรหนอเราจึ ง จัก พิ จ ารณาเห็น สภาพภายใน กล่ า วคื อ เบญจขันธ์และรูปธรรมเหล่าอืน่ ที ย่ งั ไม่รู้ทวถึ ั ่ ง และสภาพภายนอก คือ ต้ นไม้ กอหญ้ า และลดาชาติ ว่าเป็ นสภาพเสมอกัน ความตรึ ก เช่นนี้ ของเราจักสาเร็จได้เมือ่ ไรหนอ" ทีม่ าพระไตรปิฎก(ฉบับมหาจุฬา) ๒๖/๕๑๙/๑๑๐๔

สะพานเชื่อมธรรมยาน (โดยใช้สมั มาทิฐิ "สาระไม่มใี นเบญจขันธ์" เป็ นสารถีนาทาง) เพราะให้สาระจึงงมงาย เพราะให้สาระจึงสงสัย เพราะให้สาระจึงเมาตนเองหลงตนเอง เลิกให้สาระย่อมเลิกงมงาย เลิกให้สาระย่อมเลิกสงสัย เลิกให้สาระย่อมเลิกเมาตนเองหลงตนเอง เลิกให้สาระย่อมเป็ นผูแ้ รกเข้ากระแส ผูแ้ รกเข้ากระแสคือผูไ้ หลไปตาม กระแสแห่งนิพพานดุจมีธรรมยาน พาเคลื่อนทีไ่ ปโดยไม่มวี นั หลงทาง ๖๐


สมสุโขภิกขุ

ข้อแตกต่างระหว่างธรรมะเนิ่ นช้า(สัมมาทิ ฐิสาสวะ)กับธรรมะ ไม่เนิ่ นช้า(สัมมาทิ ฐิอนาสวะ) ขอยกโศลกอันเลื่องชื่อมาให้ใคร่ครวญเป็ นตัวอย่าง โศลกธรรมทีก่ ล่าวว่า "ไม่มกี ระจกฝุ่นจะเกาะอะไร" ผูอ้ ่านย่อมทราบ กันดีอยู่แล้วว่ากระจกในทีน่ ้ีหมายถึง "จิ ต" ไม่มกี ระจกก็คอื ไม่มจี ติ ฝุ่นอัน หมายถึงกิเลสตัณหาอุปาทานย่อมไม่มที เ่ี กาะ ถือว่าเป็ นสัมมาทิฐิ เป็ น ธรรมะระดับโลกุตตรธรรมด้วย แต่ยงั เป็ นสัมมาทิฐสิ าสวะอยู่ เพราะเป็ น เพียงธรรมะทีไ่ ม่ได้บ่งบอกวิธที า คือไม่ได้บอกว่าวิธที าให้ไม่มกี ระจกจะต้อง ทาอย่างไร นักปฏิบตั สิ ว่ นมากมักไปติดยึดกับธรรมะประเภทนี้ เมื่ออ่านแล้ว รูส้ กึ เข้าใจแจ่มแจ้งก็คดิ ว่าตนเองมีธรรมะเข้าใจธรรมะรูธ้ รรมะก็นาความ เข้าใจทีย่ งั ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์นนั ้ มาขยายความต่อ มาคิดมาปรุงมาคานึง คานวณมาวิเคราะห์ แม้จะเจาะลึกแค่ไหน สิง่ ทีไ่ ด้กไ็ ด้เพียงสัมมาทิฐสิ าสวะ เพราะไม่รจู้ กั คาว่าสัมมาทิฐสิ าสวะต่างจากสัมมาทิฐอิ นาสวะอย่างไร ไม่รวู้ ่า ธรรมะเนิ่นช้าต่างจากธรรมะไม่เนิ่นช้าอย่างไรนัน่ เอง จึงศึกษาธรรมะแค่ คาตอบ ในโศลกบทนี้ คาว่าไม่มกี ระจกฝุ่นจะเกาะอะไร เป็ นเพียงคาตอบที่ ต้องปฏิบตั จิ งึ จะพบตัวธรรมะแท้ๆ เป็ นเหมือนผลของการปฏิบตั ไิ ม่ใช่วธิ ี ปฏิบตั ิ ดังนัน้ นักปฏิบตั อิ ย่าไปติดหล่มธรรมะประเภทผลของการปฏิบตั ิ แล้วนามาคิดมาคาดคะเนมาสนอกสนใจอย่างจริงจัง นามาโต้เถียงแสดงภูมิ ความรู้ นามาแก้ไขดัดแปลงใส่ความคิดความเห็นอวดโอ่ถงึ ความสามารถว่า ตีธรรมะเหล่านี้แตกฉาน นันคื ่ อการยินดีในธรรมอันเนิ่นช้า เป็ นสิง่ ถ่วง ความก้าวหน้าในการปฏิบตั โิ ดยรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ แล้วถ้าเป็ นเช่นนัน้ จะต้องทาอย่างไร จึงจะเรียกว่าเป็ นการปฏิบตั ิ อันไม่เนิ่นช้า หรือจะทาอย่างไรจึงจะแปลงสัมมาทิฐสิ าสวะให้เป็ นสัมมาทิฐอิ นาสวะได้ สิง่ แรกคือต้องรูจ้ กั แยกแยะให้ได้ว่าธรรมะอันใดเป็ นธรรมะ ๖๑


มหาจัตตารีสกสูตร

แสดงผลของการปฏิบตั ิ ธรรมะอันใดเป็ นการแสดงวิธปี ฏิบตั ิ อย่าไปยินดีใน ธรรมะประเภทบอกแค่ผลไม่บอกวิธปี ฏิบตั เิ พราะไม่มปี ระโยชน์ใดๆ ต้อง รูจ้ กั ธรรมะทีบ่ อกถึงวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ ให้ได้ผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็ นสัมมาทิฐิ เหมือนกัน แต่เป็ นสัมมาทิฐติ ่างระดับกัน ตรงจุดนี้ตอ้ งใช้ปัญญาให้มากๆ ต้องฝึกถามตนเองบ่อยๆเมื่ออ่านธรรมะว่า เขาให้ทาอะไร ธรรมะอนาสวะจะ มีคาตอบเสมอว่าต้องทาอย่างนัน้ อย่างนี้ แต่ธรรมะสาสวะจะไม่มคี าตอบ ต้องหาคาตอบเอง หรือหาวิธปี ฏิบตั เิ อง เมื่อจะต้องหาวิธปี ฏิบตั เิ อง ในเมื่อ นักปฏิบตั ยิ งั เป็ นปุถุชน ยังมีจติ ชอบไหลไปสูข่ องคู่อยู่ เรื่องการหาวิธปี ฏิบตั ิ ทีถ่ ูกตรงจึงหายาก นักปฏิบตั ติ อ้ งอย่าหลงตนเองคิดหาวิธปี ฏิบตั เิ อง เพราะ ถูกจิตสาสวะหลอกเอาง่ายมาก คิดวิธเี องด้วยจิตสาสวะทาอะไรออกมาผล เป็ นอย่างไรจิตสาสวะมันบอกถูกหมดใช่หมด แล้วจิตสาสวะมันหลอกต่อว่า ได้นนได้ ั ่ น่เี ป็ นนัน่ เป็ นนี่ถูกแล้วชอบแล้ว ใครไม่ทาแบบนี้ไม่ถูกไม่ใช่ จิตสา สวะมันคิดมันปรุงมันหลอกนักปฏิบตั ทิ ม่ี วั เมาตนเองอยู่ให้เตลิดเปิ ดเปิ งมา นักต่อนักแล้ว ทางทีด่ ที ถ่ี ูกทีค่ วร ควรแสวงหาธรรมะทีถ่ ูกตรงและเป็ น ธรรมะอนาสวะทีบ่ ่งบอกวิธที าให้ทดลองทาตามได้เลยไม่ตอ้ งคิดเอง เพราะ การลงมือทาตามธรรมะอนาสวะได้ผลเป็ นอย่างไรทุกคนทราบด้วยตนเองว่า เป็ นไปตามความต้องการหรือไม่ ธรรมะอนาสวะมีปัญหาอยู่อย่างเดียวไป ฝึกทาด้วยวิธคี ดิ ตามไม่ได้ ต้องลงมือระลึกตามเท่านัน้ จึงต้องรูจ้ กั แยกแยะ ว่าคิดกับระลึกต่างกันอย่างไร ตรงนี้เป็ นหัวใจสาคัญ คราวนี้มาดูตวั อย่างโศลกทีย่ กมา โศลกบอกว่า ไม่มกี ระจกฝุ่นจะ เกาะอะไร ไม่ใช่วธิ ที า และไม่ได้บอกวิธที า จึงอย่าไปเสียเวลาคิดวิธที า ขึน้ มาเอง ศาสนาพุทธมีคาสอนทีเ่ ป็ นวิธที าเยอะแยะ หาความรูท้ ถ่ี ูกตรง อุบายทีถ่ ูกตรงมาทดลองฝึกระลึกดู เพือ่ ทาให้ไม่มกี ระจกหรือไม่มจี ติ ให้ได้ ซึง่ ถ้าต้องการจะเลิกคิดว่ามีจติ จริงๆ เพราะตามโศลกบอกแล้วไม่มจี ติ กิเลส ก็ไม่มที เ่ี กาะ กิเลสหมดทุกข์กห็ มด ทุกข์หมดก็เป็ นอริยบุคคลชัน้ ใดชัน้ หนึ่ง ๖๒


สมสุโขภิกขุ

หรือทาครัง้ เดียวอาจเป็ นอรหันต์ได้เลย สัมมาทิฐอิ นาสวะจงใช้ของ พระพุทธเจ้ามาฝึกระลึกเป็ นดีทส่ี ุด อย่าไปใช้ของครูบาอาจารย์หรือคิดขึน้ เองจะเนิ่นช้าจะเสียเวลาและจะโดนจิตสาสวะหลอกเอาง่ายๆ ตัวอย่างนี้มคี าตอบง่ายๆสัน้ ๆ ถ้าต้องการทุบกระจก หรือต้องการ เลิกคิดว่ามีจติ พระพุทธเจ้าตรัสไว้เรียบร้อยแล้วว่า จิตคือขันธ์สข่ี นั ธ์ เป็ น ของว่างเปล่าเป็ นของหลอกลวงเป็ นของชัวคราวเป็ ่ นของไร้สาระ พระองค์ ตรัสยืนยันไว้เลยว่า สาระไม่มใี นขันธ์ทงั ้ หลาย จิตก็คอื ขันธ์สข่ี นั ธ์ ดังนัน้ จิต จึงไร้สาระเหมือนขันธ์อ่นื ๆ เมื่ออยากจะทุบกระจกอยากเลิกคิดว่ามีจติ ไม่ ต้องการให้ฝ่ นุ กิเลสตัณหาอุปาทานภพชาติมาเกาะจะได้หมดทุกข์หมดโศก หมดเกิดหมดตายเสียที หรือจะได้บรรลุธรรมแบบโศลกเขาว่าไว้ ก็แค่ฝึก ระลึกว่า “ไร้สาระอย่าไปคิ ดมัน” ระลึกจริงๆจังๆลองดูสวิ ่ากิเลสทัง้ หลาย แหล่ไม่มที เ่ี กาะจริงๆไหม ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูจติ กูมนั หายไปไหม ทุกข์มนั หายไปไหม ก็ลองทาดู ซึ่งถ้าใครลงมือทาลงปฏิบตั ลิ งมือระลึกจริงๆจังๆจะ พบด้วยตนเองว่าจิตหายไปได้จริงๆ ความรูส้ กึ ว่ากูมจี ติ จิตของกูหายไปได้ จริงๆ ฝุ่นกิเลสไม่มที เ่ี กาะจริงๆ ระลึกว่าไร้สาระแล้วทุกข์หายไปจริงตัวตน คนสัตว์หายไปจริงๆ กระจกไม่มจี ริงๆ ฝุ่นไม่มที เ่ี กาะจริงๆ คาสอนที่สอนว่า "ไร้สาระอย่าไปคิดมัน" คาสอนแบบนี้ต่างหากที่ เรียกว่าสัมมาทิฐิอนาสวะ คือสอนให้รู้ว่าต้องทาอะไร แต่คาสอนแบบนี้มี น้อยพูดถึงกันน้อยเพราะสอนให้ทาจริงๆจังๆ ส่วนใหญ่จติ สาสวะจะชอบคิด ไม่ชอบทา จึงมักปฏิเสธคาสอนเหล่านี้ ให้ความสนใจแต่คาสอนสัมมาทิฐสิ า สวะมากกว่า และเมื่อ ยินดีในสัมมาทิฐิสาสวะสิง่ ที่ทุกคนจะได้ตามมาก็คอื เป็ นผูย้ นิ ดีในธรรมเนิ่นช้าไปโดยปริยาย แต่ถา้ ใครยินดีในธรรมอันไม่เนิ่นช้า ต้องใส่ใจและสนใจเฉพาะธรรมะประเภทสอนให้ทา อ่านจบรู้เลยว่าจะต้อง ทาอะไร เช่นธรรมะทีส่ อนให้ฝึกระลึกว่า “ไร้สาระอย่าไปคิดมัน” อ่านจบรูท้ นั ทีว่าต้องทาอะไร เมื่อรูว้ ่าต้องทาอะไรแล้วใครลงมือทาถึงจะทราบว่าธรรมะ ๖๓


มหาจัตตารีสกสูตร

บทนี้มปี ระโยชน์หรือไม่มปี ระโยชน์ ต้องลงมือทาจึงจะเห็นแจ้งด้วยตนเอง ซึ่งธรรมสาสวะหรือธรรมะเนิ่นช้าจะไม่สามารถทาให้เกิดความเห็นแจ้งได้ เพราะส่วนมากเมื่ออ่านจบก็ไม่รวู้ ่าจะให้ทาอะไร และอาจคิดไม่ถงึ ด้วยซ้าว่า จะต้องทาไปทาไม เลยอ่านแล้วจาแล้วคิดจบเรื่องนี้ไปอ่านเรื่องอื่นๆต่อ สิง่ ที่ เพิม่ พูนจริงๆจึงเป็ นการเพิม่ คติทวินิยมต่อไปเรื่อยๆ อย่างชนิดมองหนทาง สิน้ วัฏสงสารสิน้ การเวียนว่ายตายเกิดไม่พบ ด้ ว ยเหตุ น้ี ถึง เวลาหรือ ยัง ที่ ท่ า นนั ก ปฏิ บัติธ รรมทัง้ หลายควร ปรับเปลีย่ นแนวทางศึกษาธรรมะจากธรรมะเนิ่นช้าทีบ่ อกแค่ผลมิได้บอกวิธี ทา มาสนใจธรรมะอันไม่เนิ่นช้าทีบ่ อกวิธที าอย่างชัดเจนซึง่ เมื่ออ่านจบแล้วรู้ แจ่มแจ้งว่าจะต้องทาอะไรเพื่ออะไร เพื่อประโยชน์แก่ตวั ท่านเอง และเพื่อ ประโยชน์แก่พุทธศาสนาโดยอ้อม ทีจ่ ะได้เพิม่ ผูเ้ ห็นแจ้งในสัจจธรรมมากขึน้ กว่าทีเ่ ป็ นอยู่ในปั จจุบนั เจริ ญธรรม สมสุโขภิกขุ

๖๔


สมสุโขภิกขุ

รัฐธรรมนูญของนักปฏิบัติ (กฎสูงสุดของนักปฏิบตั )ิ คือ รู้จกั สังขาร รู้จกั เหตุเกิ ดสังขาร รู้จกั ความดับสังขาร รู้จกั วิ ธีดบั สังขาร ใครทาได้เช่นนี้จงึ จะได้ช่อื ว่า เป็ นนักปฏิ บตั ิ ในหมู่นักปฏิ บตั ิ ควรรูย้ งิ่ ว่า ความเกิดขึน้ เป็ นสังขาร ความไม่เกิดขึน้ เป็ นนิพพาน ความเป็ นไปเป็ นสังขาร ความไม่เป็ นไปเป็ นนิพพาน เครื่องหมายเป็ นสังขาร ความไม่มเี ครื่องหมายเป็ นนิพพาน ความประมวลมาเป็ นสังขาร ความไม่ประมวลมาเป็ นนิพพาน ความสืบต่อเป็ นสังขาร ความไม่สบื ต่อเป็ นนิพพาน ความไปเป็ นสังขาร ความไม่ไปเป็ นนิพพาน ความบังเกิดเป็ นสังขาร ความไม่บงั เกิดเป็ นนิพพาน ความอุบตั เิ ป็ นสังขาร ความไม่อุบตั เิ ป็ นนิพพาน ความเกิดเป็ นสังขาร ความไม่เกิดเป็ นนิพพาน ๓๑/๑๑/๒๙

๖๕


มหาจัตตารีสกสูตร

"ดูกรจิ ต เราได้ปฏิ บตั ิ ตามถ้อยคาของท่ านในภพทัง้ ปวงแล้ว เราไม่ได้มีความขุ่นเคืองต่ อท่ านหลายชาติ มาแล้วเพราะความที่ ท่าน มี ค วามกตัญ ญู จึ ง ปรากฏมี อัต ภาพนี้ ขึ้ น อี ก ท่ า นท าให้ เ ราต้ อ ง ท่องเทีย่ วไปในกองทุกข์มาช้านานแล้ว ดูก รจิ ต ท่ า นท าเราให้ เ ป็ นพราหมณ์ ก็มี เป็ นพระราชามหา กษัตริ ย์ก็มี เพราะอานาจแห่ งท่ านบางคราวเราเป็ นแพทย์ เป็ นศูทร เป็ นเทพเจ้าก็มี เพราะอานาจแห่งท่านเพราะเหตุแห่งท่าน มีท่านเป็ น มู ล เหตุ เราเป็ นอสู ร บางคราวเป็ นสัต ว์ น รก บางคราวเป็ นสัต ว์ ดิ รจั ฉาน บางคราวเป็ นเปรต ท่ านได้ ประทุ ษ ร้ ายเรามาบ่ อ ยๆ มิ ใช่ หรือ บัดนี้ เราจักไม่ให้ ท่ านท าเหมือนกาลก่ อนอี กละ แม้เพียงครู่ เดี ย ว ท่ า นได้ ล่ อ ลวงเราเหมื อ นกับ คนบ้ า ได้ ท าความผิ ด ให้ แ ก่ เ รา มาแล้วมิ ใช่หรือ จิ ตนี้ แต่ ก่อ นเคยเที่ ย วจาริ กไปในอารมณ์ ต่ างๆตามความ ประสงค์ ตามความใคร่ ตามความสบาย วันนี้ เราจักข่มจิ ตนัน้ ไว้โดย อุบายอันชอบดังนายหัตถาจารย์ข่มช้างตัวตกมันไว้ด้วยขอฉะนัน้ พระศาสดาของเราได้ท รงตัง้ โลกนี้ โดยความเป็ นของไม่เที ย่ ง ไม่ยงยื ั ่ นไม่เป็ นแก่นสาร ดูกรจิ ต ท่านจงพาเราบ่ายหน้ าไปในศาสนาของพระชิ นสีห์ จง พาเราข้ามจากห้วงใหญ่ที่ข้ามได้แสนยาก ดูกรจิ ต เรือนคืออัตภาพของท่ านนี้ ไม่เป็ นเหมือนกาลก่ อน เสียแล้ว เพราะเราจักไม่เป็ นไปตามอานาจของท่านอีกต่อไป" ตาลปุฏเถรคาถา ๒๖/๓๖๓/๓๙๙ (บาลีสยามรัฐ) ๖๖


สมสุโขภิกขุ

๖๗


มหาจัตตารีสกสูตร

ถ้วยที่ว่างเปล่า ย่อมควรค่าแก่การรองรับอมตธรรม

๖๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.