ลมไหวใบไม้สงบ

Page 1

สมสุโขภิกขุ

ลมไหวใบไม้สงบ สมสุโขภิกขุ


ลมไหวใบไม้สงบ

เสวนากันก่อน ความจริงแท้มีหนึง่ เดียว หนึ่งเดียวนัน้ สงบว่างเปล่า ไม่มีความหวัน่ ไหววุ่นวาย ผู้แสวงหาความสงบ สามารถพบสิ่งที่ต้องการได้ จากหนังสือเล่มนี้ หนังสือเล่มนี้มิใช่หนังสือที่ดีที่สุด เพราะหนังสือที่ดีที่สุด ผู้เขียนไม่มีความสามารถ พอที่จะเขียนมันได้ แต่แม้มิใช่หนังสือที่ดที สี่ ดุ แต่ก็เป็นหนังสือที่มีประโยชน์ที่สุด สำหรับผู้ต้องการแสวงหาโมกขธรรม สมสุโขภิกขุ

ลมไหวใบไม้สงบ โดย สมสุโขภิกขุ จัดพิมพ์โดย สำนักป่าสวนโมกข์ไพศาลี อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ โทร. ๐๘๕-๑๙๘-๓๒๕๕ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ทุกรณี


สมสุโขภิกขุ

คำนำ ธรรมชาติ เดิ มแท้ คือความจริงที่มปี ระจาอยู่ในสังขารทุกชนิด ก่อนถูกปรุงแต่ง การปรุงแต่งทาให้เกิดการบดบังความจริงแท้ของทุก สรรพสิง่ จนวิปลาสคลาดเคลื่อนจากความจริง ซึง่ นันคื ่ อสาเหตุทท่ี าให้เกิด ทุกข์ ดังนัน้ หากผู้ใดไม่ปรารถนาพบกับความทุกข์จึงควรทาความรู้จกั ธรรมชาติเดิมแท้เหล่านี้ แล้วนามาใช้แก้ไขปั ญหาทุกๆปั ญหาในชีวติ ธรรมชาติทม่ี ปี ระจาอยู่เป็ นสามัญในสิง่ ปรุงแต่งทุกชนิดคือ ธมฺมปวตฺติ มันเป็ นปฏิ กิริยา เหตุปจฺจโย มันเป็ นไปตามเหตุปัจจัย อดีตํ มันล้วนแต่เป็ นปฏิ กิริยาในอดีต ขยฏฺเฐน มันเป็ นสิ่ งที่ดบั ไปแล้ว อภูตํ มันจึงเป็ นของที่ไม่มีอยู่จริงไปแล้ว อตจฺฉํ มันจึงเป็ นของปลอมของไม่แท้ อสารกฏฺเฐน มันจึงเป็ นสิ่ งไร้สาระไร้แก่นสาร อุปาทานํ จึงไม่ควรที่ใครจะไปยึดมั ่นถือมั ่น หัวข้อธรรมเหล่านี้ เป็ นเสมือนเพชรที่อยู่ในตม มีปรากฏอยู่ใน พระไตรปิ ฎกมานานแสนนาน แต่ ม ิได้ถู กน ามาพูดถึง กล่าวถึง ให้เ ป็ น ประโยชน์แด่ชาวโลก ทัง้ ๆที่มคี ุณค่าอันประมาณมิได้ ถึงเวลาแล้วทีโ่ ลก ควรนาเพชรเม็ดงามเหล่านี้มาเจียระไน ให้โลกได้ประจักษ์ในคุณค่า ได้ เห็นและได้ใช้ประโยชน์จากหัวข้อธรรมเหล่านี้


ลมไหวใบไม้สงบ

จึงขอเชิญท่านผูอ้ ่านทุกๆท่านมามีส่วนร่วมในการเจียระไนเพชร ในตมเม็ดนี้ดว้ ยการนาข้อธรรมทุกข้อทีป่ รากฏในหนังสือเล่มนี้ ไปฝึกฝน ให้เกิดความชานิชานาญจนเป็ นประโยชน์สูงสุด ตามสมควรแก่สติปัญญา ของทุกๆท่าน ผูท้ ล่ี งมือกระทาตาม จนบังเกิดประโยชน์สงู สุดในทางธรรม พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าคือผูท้ ่มี สี มั มาทิฐอิ นาสวะมีสมั มาญาณะอนาสวะมี สัมมาวิมุตติอนาสวะ ซึ่งเป็ นธรรมอันเป็ นเอก จึงถือได้ว่าบุคคลผูน้ ัน้ คือ สมณะในหมูส่ มณะ สงฆ์ในหมูส่ งฆ์ นักปฏิบตั ใิ นหมูน่ กั ปฏิบตั ิ ในหนังสือเล่มนี้จะอธิบายวิธนี าหัวข้อธรรมเหล่านี้มาระลึกคู่ขนาน ไปกับการกระทาภาระกิจต่างๆในระหว่างวัน ได้ทุกเวลาทุกสถานที่ทุก ปฏิกิริย า ไม่ว่ า จะยืน เดิน นอนนัง่ ทานอาหารท างานสัญ จรท่ อ งเที่ย ว ประกอบสัม มาอาชีพ พักผ่อ นหย่อ นใจ ท่ า นผู้อ่ านทุ ก ท่ านสามารถน า หัวข้อธรรมเหล่านี้ไประลึกคู่ขนานกับกิจ กรรมนัน้ ๆได้ตลอดเวลา ซึ่งจะ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวติ ของทุกๆท่านอย่างหน้ามือ เป็ น หลังมือ นัน่ คือท่านจะมีชวี ติ ทีเ่ ย็นขึน้ ปล่อยวางง่ายขึน้ ทุกข์ลดน้อยถอย ลง มีประสิทธิภาพในการทางานสูงขึน้ คุณค่าของหัวข้อธรรมเหล่านี้ยงั มี อีกมากมาย ท่านสามารถพิสูจน์ความจริงและทาให้ชวี ติ ของท่านมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีอย่างคาดไม่ถึง ด้วยตัวของท่านเอง โดยใช้ เวลาที่ไม่เนิ่นช้า ท่านก็จะกลายเป็ นผูท้ ่ีมคี วามเป็ นกลางต่อทุกสรรพสิง่ โดยอาศัยเพชรจากพระไตรปิ ฎกเหล่านี้ เจริญธรรม สมสุโขภิกขุ


สมสุโขภิกขุ

“ไร้สาระ” เป็นยาครอบจักรวาล นักปฏิบัติธรรมขาดยาตัวนี้ไม่ได้ ความสำคัญของยาตัวนี้ พระพุทธเจ้าถึงกับตรัสว่า ต้องทำทั้งกลางวันทั้งกลางคืน ผู้ที่เริ่มต้นเข้ามาปฏิบัติธรรม ควรเริ่มต้นกินยาขนานนี้ก่อน ใครไม่ฝึกก็เหมือนคนเป็นไข้ที่ไม่ยอมกินยา ทำไมจึงกล่าวว่าไร้สาระเป็นยาครอบจักรวาล เพราะพระผู้มีพระภาคตรัสว่า “สาระไม่มีในเบญจขันธ์” ในเมื่อทุกสิ่งในจักรวาลล้วนแต่เป็นเบญจขันธ์ นอกจากนิพพานแล้ว ไม่มีสิ่งใดในจักรวาลนี้ที่ไม่ใช่เบญจขันธ์ ดังนั้นความไร้สาระจึงครอบคลุมไปทั่วทั้งจักรวาล นอกจากนิพพานจึงไม่มีสิ่งใดไม่ใช่สิ่งไร้สาระ ยาไร้สาระ จึงเป็นยาครอบจักรวาลด้วยเหตุนี้ นักปฏิบัติทุกคนจึงอย่ามองข้ามความสำคัญ ที่จะละเลยไม่ฝึก"ไร้สาระ" ระลึกว่าไร้สาระได้ไร้สาระเป็น จนเลิกให้สาระได้เลิกให้สาระเป็น นักปฏิบัติจะได้ชื่อว่า ไม่เสียทีที่เป็นสาวกพระพุทธเจ้า


ลมไหวใบไม้สงบ

สารบัญ คานา

ปฐมบท

อุบายทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัส

๑๓

ปริเฉทที่ ๑ ขัน้ ตอนการรูค้ วามจริง

๒๐

ปริเฉทที่ ๒ ขัน้ ตอนการทิง้ คิดทิง้ รูแ้ ล้วอยู่กบั อุบาย

๒๖

ปริเฉทที่ ๓ ขัน้ ตอนการทิง้ ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู

๔๙

การปฏิบตั ลิ าดับสุดท้าย

๕๘

ลมไหวใบไม้สงบ

๖๑

ดาบสุดท้าย อตัมมยตา “เลิกคิดแล้วโว้ย”

๖๕

เคล็ดลับดับทุกข์จากคาสอนฮวงโป

๗๒

พุทธะคืออะไร

๗๖

พุทธะปั ญญา

๘๗

ธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกสูตร

๑๐๑

จิตเดิมแท้(จิตหนึ่ง)คือ “ความว่าง”

๑๐๕

มหาจัตตารีสกสูตรภาคปฏิบตั ิ

๑๒๖

วิธสี งั เกตธรรมอันใดเนิ่นช้า ธรรมอันใดไม่เนิ่นช้า

๑๔๙

ธรรมชาติเดิมแท้ราบเรียบเสมอกัน

๑๖๗

ห่วงโซ่ปฏิจจสมุปบาท

๑๘๒

ทางสายกลางเพื่อความสลัดหลุด

๑๙๓


สมสุโขภิกขุ

ปฐมบท คำว่าอดีตและไร้สาระ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมอย่างไร เดวิ ด อี เกิ ลแมน นักประสาทวิทยาชาวอเมริกัน และคณะ ได้ ทาการค้นคว้าวิจยั จนพบความจริงว่า ธรรมชาติของมนุษย์ไม่สามารถมี อวั ย วะใดๆรั บ รู้ ส ิ่ ง ที่ เ กิ ด ใน ปั จจุ บั น ขณะได้ เ ลย ระบบ ประสาทสัมผัสของมนุษย์ทุกๆ ประเภทจะสามารถรับ รู้ส ิ่ง ที่ เกิด ขึ้น เมื่อ เวลาผ่า นไปอย่าง น้ อ ย 0.08 วิน าที ดัง นั ้น สิ่ง ที่ มนุ ษย์คดิ ว่าเป็ นปั จจุบนั แท้ท่ี จริง ไม่ ใ ช่ ปั จ จุ บัน แต่ ม ัน เป็ น อดีต ที่ผ่ า นมาอย่ า งน้ อ ย 0.08 วิน าทีท ัง้ สิ้น นี่ คือ หลัก ความจริง ทาง วิทยาศาสตร์ทพ่ี สิ จู น์แล้ว ดังนัน้ นักปฏิบตั ทิ ุกคนต้องยึดหลักความจริงแท้ ของธรรมชาติเป็ นสิง่ สาคัญในการปฏิบตั ธิ รรม ความจริงแท้ทพ่ี สิ ูจน์ทราบ เป็ นที่เรียบร้อยแล้วถือว่าเป็ นสัมมาทิฐิท่ที รงคุณค่าอย่างยิง่ นักปฏิบตั ิ สามารถใช้ประโยชน์จากความจริงแท้เพื่อสร้างสัมมาสติอนาสวะได้อย่าง ง่ายดายและไม่มวี นั ทีค่ วามจริงแท้ใดๆในโลกจะขัด กับหลักการทางพุทธ ศาสนา คาว่าอดีตก็เช่นกันเมือ่ นักวิทยาศาสตร์ทาการทดลองแล้ว ยืนยัน แล้วว่าสิง่ ที่มนุษย์ผสั สะด้วยตาหูจมูกลิ้นกายใจ จนเกิดปฏิกริ ยิ าการรับรู้ หรือปฏิกริ ยิ าอื่นใดขึน้ มานัน้ ทีม่ นุษย์เข้าใจว่ามันเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดในปั จจุบนั แท้จริงมันไม่ใช่เป็ นการทาปฏิกริ ยิ าในปัจจุบนั หากแต่ปฏิกริ ยิ านัน้ มันเกิด ๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ขึน้ มาและจบไปแล้วเมื่อ 0.08 วินาทีท่แี ล้ว สิง่ ที่ทุกคนคิดว่าเป็ นปั จจุบนั ความจริงมันจึงเป็ นอดีตทัง้ นัน้ และการค้นคว้าทดลองยังพบว่ามนุษย์ไม่ มีอายตนะใดๆผัสสะสิง่ ที่เกิดในปั จจุบนั ได้เลย สรุปความจึงกลายเป็ นว่า ทุกสิง่ ที่เราๆท่านๆผัสสะอยู่ตลอดเวลานัน้ มันคือสิง่ ที่เป็ นอดีต ไปแล้ว ทัง้ นัน้ มันเป็ นสิง่ ที่ส้นิ ไปแล้ว(ขยัฏเฐนะ)จบไปแล้วหายไปแล้วไม่มอี ยู่ จริงๆแล้ว(อภูต) เราผัสสะของปลอมของไม่จริงของทีไ่ ม่ใช่ของแท้(อตจฺฉ) ในขณะที่ผ ัส สะ มนุ ษ ย์ผ ัส สะเงา ผัส สะแรงเฉื่ อ ยของปฏิกิริย าต่ า งๆ ปฏิกริ ยิ าต่างๆเกิดแล้วดับ ดับไป 0.08 วินาทีทแ่ี ล้ว มนุษย์ถงึ รูว้ ่าเมือ่ อดีต 0.08 วินาทีนัน้ เกิดอะไรขึน้ สิง่ ที่มนุษย์รบั รูจ้ ริงๆมันเป็ นเพียงมายาคติท่ี เกิดจากแรงเฉื่อยหรือเงาของปฏิกริ ยิ าเดิมแท้ เป็ นเหมือนภาพมายาของ สิง่ ที่อุบตั ขิ น้ึ เมื่อ 0.08 วินาทีในอดีต นักปฏิบตั ติ ้องทาความเข้าใจคาว่า อดีตตามความจริงด้วยวิธีลงลึกในรายละเอียดเช่น นี้ให้แยบคาย จะได้ เข้าใจในสิง่ ทีจ่ ะได้อ่านต่อไป ศาสนาพุทธมีหลักธรรมอยู่ข้อหนึ่งว่า "อย่าอาลัยในสิ่ งที่ ผ่าน มาแล้ว" ทุกคนอาจรูจ้ กั ธรรมะข้อนี้ นามาพูดมาสอนกันเป็ นอันมาก แต่ จะมีสกั กี่คนที่ระลึกว่า แม้แต่ลมหายใจเข้าออกมันก็คอื สิง่ ที่ผ่านไปแล้ว ผูค้ นทีก่ าลังเดินขวักไขว่มนั ก็คอื ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทผ่ี ่านไปแล้ว รวมทัง้ จะมีส ัก กี่ค นที่รู้ว่ า ค าว่ า อย่ า อาลัย ก็คือ อย่ า ไปให้ ส าระในสิ่ง ที่ผ่า น มาแล้ว ดังนัน้ การปฏิบตั ธิ รรมจะให้ได้ผลต้องนาความรูต้ ามตารามาลงมือ ทาให้ได้รบั ผล จนระลึกครัง้ ใดต้องเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาปล่อยวาง ว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ทุกครัง้ ไป ต้องปฏิบตั ใิ ห้ปฏิกริ ยิ าเช่นนี้มนั เกิดตามมา จึงจะเรียกว่าเป็ นนักปฏิ บตั ิ ในหมู่นักปฏิ บตั ิ นักปฏิบตั จิ ะทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าเช่นนี้ได้ ก็ตอ้ งเข้าใจคาว่าอดีต ให้ ถูกต้องตรงตามความจริง คือต้องถือว่าสิง่ ทีผ่ า่ นไปแล้วแม้เศษเสีย้ ววินาที ๘


สมสุโขภิกขุ

คืออดีต ยิง่ สมัยนี้มกี ารทดลองทางวิทยาศาสตร์มายืนยันยิง่ เป็ นสิง่ ทีด่ ี ยิง่ แสดงว่าสิง่ ทีเ่ ป็ นคาสอนในศาสนาพุทธไม่ใช่เรื่องจินตนาการ แต่เป็ นเรื่อง ความจริง แท้ ข องธรรมชาติ ศาสนาพุ ท ธเพีย งน าความจริง แท้ ต าม ธรรมชาติม าให้ศ าสนิ ก ชนฝึ ก ระลึก การระลึก ต้ อ งระลึก ทัง้ กลางวัน กลางคืน ระลึกทุกลมหายใจเข้าออก จะยืนเดินนอนนั ง่ ทานอาหารหั ่นผัก ล้างจานทากับข้าวจ่ายตลาดทาธุรกิจการค้าการขายเดินห้างออกกาลัง กาย ทุกเวลาทุกสถานทีท่ ุกอิรยิ าบถ สามารถระลึกว่าทุกๆสิง่ ทีเ่ ราคิดว่า มันกาลังเกิดเป็ นปัจจุบนั เลิกคิดแบบนัน้ หันมาระลึกว่ามันเป็ นอดีต ทีเ่ ห็น ก็เ ห็น อดีต คนที่เ ห็น และสิ่ง ที่เ ห็น ล้ว นแต่ เ ป็ น ปฏิกิริย าในอดีต ทัง้ นัน้ ธรรมชาติน้ลี ว้ นแต่เป็ นเหตุการณ์ในอดีต เมื่อมันเป็ นอดีตพระพุทธเจ้าจึง ตรัสว่ามันกลายเป็ นผีไปแล้ว(อภูต ัง)เพราะมัน ไม่มอี ยู่จริงแล้ว ทดลอง ระลึกว่าสิง่ นัน้ สิง่ นี้มนั เป็ นอดีตดูได้ เห็นคนสัตว์สงิ่ ของก็ระลึกว่าปฏิกริ ยิ า ที่เ ห็น มัน คือ อดีต ระลึก ซ้ า ๆท าความเข้า ใจว่ า มัน เป็ น อดีต จริง ๆ มัน หายไปแล้วจริงๆ มันผ่านไปแล้วจบไปแล้วสิ้นไปแล้ว(ขยัฏเฐนะ)จริงๆ มันจึงถือว่าเห็นของจริงไม่ได้ เห็นคือเห็นของที่ไม่มอี ยู่จริงไปเรียบร้ อย แล้ว ปฏิกริ ยิ าแรกเห็นจริงแต่ดบั ไปแล้วปฏิกริ ยิ าต่อมาปรุงว่าเป็ นนันเป็ ่ น นี่และเป็ นของจริง ปฏิกริ ยิ าที่ปรุงตามมานัน่ คือการเห็นผิดไปจากความ จริง ความจริงแท้ต้องระลึกว่ามันเป็ นอดีตไปแล้ว ทีป่ รุงว่าเห็นนันคื ่ อของ ไม่จริงของปลอมของหลอกลวง เป็ นแค่มายาคติทป่ี ฏิกริ ิยาเดิมแท้ท้งิ เงา ทิ้ ง เชื้ อ ทิ้ ง แรงเฉื่ อ ยของปฏิ กิ ริ ย าหลงเหลื อ ไว้ ใ ห้ ค าดเดาเอาเอง พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าสังขารทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็ นของหลอกลวงของไม่จริง ของไม่แท้(อตจฺฉ)ด้วยประการฉะนี้ ด้วยเหตุทว่ี ่าทุกสรรพสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ล้วนแต่เป็ นอดีต เป็ นของไม่จริง มันหายไปแล้วดับไปแล้ว เป็ นอากาศธาตุไปแล้ว หาตัวตนของสิง่ ใดๆ ๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ไม่ได้ หาเจ้าของก็ไม่ได้ เพราะถ้ามีเจ้าของมัน ต้องยังอยู่กบั เจ้าของ แต่ เพราะใครเป็ นเจ้าของไม่ได้ มันจึงหายไป ระลึกเช่น นี้เนืองๆ จนมองเห็น ว่ามันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ย่อมเห็นความไม่มสี าระไม่มแี ก่นสาร มันจึงเป็ น ของไร้ค่า มันจึงเป็ นสิง่ ไร้สาระ(อสารกัฏเฐนะ) ไม่ควรจะไปยึดถือว่ามีตวั มี ตนเป็ นของตัวของตนหรือเป็ นของเขาของใคร ใครก็เป็ นเจ้าของมันไม่ได้ มันดับไปแล้วหายไปแล้วมันจึงเป็ นอนัตตาสิง่ ทีไ่ ร้ตวั ไม่มตี น มันเป็ นแค่ กระบวนการทางธรรมชาติ(ธัมมปวัตติ)อย่างหนึ่ง เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ อย่างหนึ่งเท่านัน้ เอง การฝึ กระลึกชอบด้วยอุบายชอบคือการฝึ กระลึกอย่างนี้ ในตอน แรกๆอาจต้องชักแม่น้ าทัง้ ห้ามาใช้เป็ นเครื่องทุ่นแรง ชานาญขึน้ ก็ค่อยๆ ย่นย่อรายละเอียดปลีกย่อยให้น้อยลงๆ จนสุดท้ายเหลือแค่คาว่า อดีตกับ ไร้สาระสองคาก็พอ สุดท้าย มีแต่สติระลึกไม่ตอ้ งใช้อุบายใดๆเลย แต่นนั ่ ต้องเก่งจริงๆค่อยทาอย่างนัน้ ถ้ายังไม่เก่งยังไม่ควรทิ้งอุบาย ควรทิ้ งแต่ รายละเอียดปลีกย่อย เพื่อช่วยให้เกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาปล่อยวาง ว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ได้รวดเร็วขึน้ ยิง่ ใช้อุบายสัน้ ๆมันจะว่างเย็นได้เร็วขึน้ ในทุกครัง้ ที่ระลึก จนสามารถว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ได้ เราก็ประคองความ ว่างเย็นไว้ให้อยู่นานๆ จะทางานทาการใดๆก็ทางานด้วยความว่างเย็น ทุกคนสามารถทาได้ ถ้าหมั ่นฝึกฝนเอาจริงเอาจัง ทดลองทาทดลองฝึกดูเถิดไม่ได้ยากอย่างทีค่ ดิ แต่คุณค่าของการ ระลึกว่าอะไรๆก็เป็ นอดีตหมด อะไรๆก็ไร้สาระหมด มีประโยชน์เปลีย่ น จิต เปลี่ยนใจเปลี่ยนชีวิตชนิดที่ทุกๆคนคาดไม่ถึงว่ามันมี ประโยชน์ ถึง เพียงนี้เชียวหรือ ธรรมะบทนี้บทเดียวถ้าเอาจริงเอาจังกับมันเพียงพอแล้ว สาหรับผูต้ ้องการบรรลุธรรม ทุกๆท่านจึงไม่ควรแค่อ่านผ่านๆทดลองฝึก ระลึกตามดูสกั นิด ความมหัศจรรย์แห่งใจกาลังรอทุกคนอยู่ ๑๐


สมสุโขภิกขุ

อย่าอาลัยในสิ่ งที่ผ่านมาแล้ว(อตีตํ นานฺ วา คเมยฺนย) คาว่าผ่านมาแล้วต้องถือว่าผ่านไปแม้เศษเสี้ยววินาทีก็เป็ นอดีต ไปแล้ว พูดจบคาหนึ่งก็ผ่านไปแล้วเป็ นอดีตไปแล้ว คิดจบก็คดิ ผ่านไป แล้วเป็ นอดีตไปแล้ว เดินแต่ละก้าวก็เป็ นอดีตไปทุกๆก้าว จับสิง่ ใดก็เป็ น อดีตไปทุกๆวินาที สิง่ ที่เห็นสิง่ ที่จบั ความจริงแท้ตามกฎวิทยาศาสตร์ก็ เห็นก็สมั ผัสผ่านไปแล้วตัง้ 0.08 วินาที จึงเป็ นอดีตทัง้ นัน้ ดังนัน้ จงฝึ ก ระลึก ว่ า เป็ น อดีต ไปหมดในทุ กอิริย าบถ ทุ ก ๆความคิด ความรู้ส ึก ทุ ก ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดล้วนเป็ นอดีตทัง้ นัน้ ธรรมชาติน้ีไม่มปี ั จจุบนั มีแต่สงิ่ ทีผ่ ่าน ไปแล้ว(อตีต) หัวใจเต้นแต่ละครัง้ ก็เป็ นอดีตทุกครัง้ ไป กระพริบตาแต่ละที ก็เป็ นอดีตทุกทีไป จึงระลึกได้ตลอดเวลาในทุกเรื่องราวว่ามันเป็ นอดีตมัน คืออดีตไม่มอี ะไรไม่ใช่อดีต ต่อมาคาว่าอย่าอาลัยหมายถึงอย่าให้สาระนันเอง ่ ให้สาระสิง่ ใด เมือ่ ใดนันคื ่ อมีความอาลัยในสิง่ นัน้ ดังนัน้ จึงอย่าไปให้สาระกับสิง่ ทีผ่ า่ นไป แล้วจบไปแล้วไม่มอี ยู่จริงแล้วไม่มเี จ้าของแล้ว อดีตคือสิง่ ที่ผ่านไปอย่าง ไร้เจ้าของ ถ้าเราไปให้สาระนันคื ่ อดึงอดีตมาเป็ นของเรา อดีตผ่านไปนาน มากเรายังดึงมันมาถือว่าเป็ นของเรา นัน่ แหละเรียกว่าอาลัยในอดีต เลิก อาลัยคือเลิกให้สาระ คาด่าพอเขาด่าจบมันก็เป็ นอดีตไปแล้ว ไม่ใช่ของ ใครไม่ใช่ของคนทีอ่ ยู่ตรงหน้า มันจึงไร้สาระทีจ่ ะไปถือเอาว่าสิง่ ทีห่ ายไป สู ญ ไปไม่ ม ีอ ยู่ จ ริง กลายเป็ น ของไม่จ ริง กลายเป็ น สิ่ง ที่ไ ร้เ จ้า ของ แม้ ธรรมชาติยงั เป็ นเจ้าของอดีตไม่ได้เพราะมันว่างเปล่ามันจึงเป็ นธรรมชาติ ทีไ่ ม่มเี จ้าของ เป็ นธรรมชาติทไ่ี ร้สาระไร้แก่นสาร ๑๑


ลมไหวใบไม้สงบ

นักปฏิบตั คิ วรทาความเข้าใจให้ถ่องแท้จนเห็นจริงแล้วฝึกระลึกว่า อะไรๆก็เป็ นอดีต มันไร้สาระที่จะไปคิดถึงอดีต ไร้สาระที่จะถือเอาอดีต เป็ นตัวเป็ นตนเป็ นตัวกูเป็ นอดีตของกู อาลัย ในอดีตเรื่องใดก็รบี ระลึกไร้ สาระอย่าคิดอย่างนัน้ ทาการทางานใดก็ทาไปพร้อมๆกับมีสติระลึกว่าทุก สิง่ ที่ทาอยู่นนั ้ มันเป็ นการกระทาในอดีตทัง้ นัน้ ทาจบก็เป็ นอดีต ระลึกได้ บ่อยๆเช่นนี้มนั จะเกิ ดปิ ติ ปัสสัทธิ สมาธิ อุเบกขาสงบระงับปล่อยวาง ว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์ ทดลองฝึกดูจนให้เกิดอาการดังกล่าวนี้ขน้ึ มาให้ได้ คราวนี้มที ุกข์จะได้ใช้วธิ เี ช่นนี้ไปดับทุกข์ มีทุกข์กเ็ พราะอาลัยในสิง่ ทีผ่ า่ น มาทัง้ นัน้ หรือพูดให้เข้าใจง่ายๆก็คอื มีทุกข์เพราะให้สาระในอดีตทัง้ นัน้ ไร้สาระเป็ นจึงไร้ทุกข์เพราะไร้สาระคือการฝึกไม่อาลัยในอดีตนันเอง ่ ข้อสําคัญต้องฝึ กระลึกว่ามันเป็ นอดีตทัง้ นัน้ ให้ตลอดเวลา ระลึก มากๆระลึกบ่อยๆ มันจึงจะทาให้เก่งทาให้ได้ผล ระลึกจนปิ ตปิ ัสสัทธิสมาธิ อุเบกขาปล่อยวางว่า งเย็นไม่เป็ นทุกข์นัน่ แหละจึงจะเรียกว่ าไม่อาลัยใน อดีตของจริงเกิดขึน้ แล้ว ในการฝึกความนึกคิดของตนเอง จงปล่อยอดีตให้เป็นอดีต ถ้าเราเผลอให้ความคิดของเราที่เป็น อดีต ปัจจุบัน และอนาคต มาจับติดต่อกัน ก็หมายความว่าเราจับตัวเองใส่กรงขัง ในฝ่ายตรงข้าม ถ้าเราไม่ยอมให้ใจเราข้องติด(ให้สาระ)อยูใ่ นสิ่งใดๆ เราก็จะลุถึงความหลุดพ้นเพื่อผลอันนี้ เว่ยหลาง

๑๒


สมสุโขภิกขุ

อุบายที่พระพุทธเจ้าตรัส “สาระไม่มีในเบญจขันธ์” (พุทธพจน์) เบญจขันธ์หมายถึงทุกสิง่ ทุกอย่าง ทีเ่ กิดขึน้ มาในจักรวาลนี้ ล้วน แต่ ถือ ว่าเป็ นขัน ธ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ในเบญจขัน ธ์ มีส ิ่ง ที่ไม่ใช่การเกิด อย่างเดียวที่จดั ว่า ไม่ใช่ เบญจขันธ์ นัน่ คือ “นิ พพาน” ดัง นัน้ ทุกสิง่ ทุก อย่างนอกจากนิพพาน จึงเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มสี าระไม่มแี ก่นสารทัง้ หมดทัง้ สิน้ แต่ในชีวติ จริงของมนุ ษย์ปุถุชน สิง่ ที่ไม่มสี าระ หรือไร้สาระมีอยู่ ๒ ลักษณะคือ ๑.สิง่ ทีม่ ปี ั ญญารูแ้ จ้งจนรูส้ กึ ได้ดว้ ยตนเองว่ามันไร้สาระ ๒.สิง่ ที่ไร้สาระแต่ยงั ไม่มปี ั ญญารู้แจ้งว่ามันไร้สาระ สิง่ นี้ทุกคนมี อยู่มาก และสิง่ นี้คอื บทเรียน ที่ทุกคนผูต้ ้องการบรรลุธรรมต้องฝึกให้มนั กลายเป็ นความรูส้ กึ ว่ามันไร้สาระให้ได้ วิ ธีฝึกก็คือ ไม่ว่ามีปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ มา และทุกคนกาลังสัมผัส รับรู้ ขอให้มสี ติระลึกว่า “เราเห็นความไร้สาระของสิ ง่ นัน้ แล้วหรือยัง” ถ้ายังไม่มคี วามรู้สกึ ว่ามันไร้สาระจริงๆ ก็ฝึกจนเกิดความรู้สกึ ว่า สิง่ นัน้ มันไร้สาระจริงๆให้ได้ ต่อมาถ้ามีสงิ่ ใดทีย่ งั ไม่เห็นว่ามันไร้สาระ ยังเฉยๆ หรือยังให้สาระ ในสิง่ นัน้ อยู่ จงฝึกระลึกว่า สิง่ นัน้ แท้จริง แล้วมันเป็ นสิง่ ไร้สาระ แต่เรายัง ไม่รสู้ กึ ว่ามันไร้สาระจึงยังให้สาระมันอยู่ นัน่ คือเรามีหน้าทีต่ ้องทาให้เกิด ความรูส้ กึ ว่ามันไร้สาระให้ได้ ด้วยการฝึกระลึกชอบด้วยอุบายชอบตามที่ ได้ศึกษามา ทดลองฝึ กดู ทดลองทาดู ตัง้ ปณิธานแน่ วแน่ ว่าจะต้องเห็น ความไร้สาระของทุกสรรพสิง่ ให้ได้ ถ้ายังไม่ได้กร็ ะลึกว่า “มันไร้สาระแต่ เรายังไม่เห็นว่ามันไร้สาระ" อย่าปล่อยผ่านไปเฉยๆ ไม่ต้องไปนึกไป ๑๓


ลมไหวใบไม้สงบ

คิดเรื่อ งทาได้หรือ ไม่ได้ จงระลึกว่า “มันไร้สาระแต่ เรายังให้ สาระ" ระลึกเช่น นี้ ให้ม ากๆ อย่าไปวิต กกัง วลเรื่อ งทาได้ ทาไม่ได้ อย่าไปให้ เหตุผล หรืออย่ามีขอ้ อ้างใดๆมาสนับสนุนว่าทาไม่ได้เพราะเหตุนนั ้ เหตุน้ี ท ายัง ไม่ไ ด้ก็ไ ร้ส าระอย่ า ไปคิด มัน ท าได้ก็ไ ร้ส าระอย่ า ไปยิน ดี การมี ข้ออ้างนันแหละคื ่ อสิง่ ทีไ่ ร้สาระทีส่ ุด ทาได้กผ็ า่ นไป ทาไม่ได้กร็ ะลึกว่ามัน ไร้สาระแต่เรายังไม่เห็นความไร้สาระของมัน อย่างนี้เป็ นต้น ปกติปุถุชนมีชวี ติ เกี่ยวข้องกับสิง่ ที่ไร้สาระ แต่ไม่รู้ว่ามันไร้สาระ โดยไม่รตู้ วั กัลยาณชนต้องประเสริฐกว่าปุถุชน กัลยาณชนต้องมีสติระลึก ตลอดเวลาว่า ไม่มอี ะไรมีสาระเลย ธรรมชาติน้จี กั รวาลนี้ มีแต่ของไร้สาระ ทัง้ นัน้ เพียงแต่เรายังไม่รู้ว่ามันไร้สาระเท่านัน้ เอง ถ้าเราต้องการมีภูม ิ ธรรมที่สูงขึน้ จึงมีหน้าที่เห็นความไร้สาระของทุกสรรพสิง่ ให้ได้ เห็นทุก สิง่ เป็ นสิง่ ไร้สาระหมดทุกชนิดเมื่อใด นัน่ แหละจึงจะเรียกว่าหลุดพ้นจาก ทุ ก ข์ เพราะทุ ก ข์ทุ ก ชนิ ด ในโลก ล้ว นเกิด จากการให้ส าระในสิ่ง นัน้ ๆ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ การระลึกว่า ทุกสิง่ เป็ นอดีตก็เป็ นอุบายชัน้ ยอดอย่างหนึ่งทีป่ ุถุชน สามารถฝึ กจนมองเห็น ความไร้ส าระของสรรพสิ่งในธรรมชาติน้ีอย่าง ได้ผลในเวลาทีร่ วดเร็ว การฝึ กระลึกชอบด้วยอุบายชอบใดๆก็ตาม อาจยากลาบาก ในระยะแรกๆเท่านัน้ เมือ่ ฝึ กไปจนอยู่ตวั เราจะสามารถนามาใช้ ดับตัวกูของกูและดับทุกข์ได้ด ั ่งใจนึ ก มีทุกข์ข้ ึนมาก็ดบั ไม่มีทุกข์ก็ ทากิ จต่างๆไปตามปกติ ชีวิตจึงมีแต่ความอิ ม่ เย็นไม่เป็ นทุกข์

๑๔


สมสุโขภิกขุ

อุบายฝึ กดับทุกข์ ข้อที่ หนึ่ ง ระหว่างว่างๆพักอยู่บ้านหรือที่ทางาน ทาลายความ ทุกข์ความเครียดด้วยการระลึกง่ายๆว่า "ไร้สาระอย่าไปคิ ดมัน" ระลึก ทุกครัง้ ที่ทุกข์ ระลึกทุกครัง้ ที่ไม่สบายใจ ระลึกทุกครัง้ ที่วติ กกังวล ระลึก ทุกครัง้ ทีค่ ดิ มาก ระลึกทุกครัง้ ทีฟ่ ้ ุงซ่าน ข้อที่ สอง ฝึ กระลึกว่าเรื่องที่คดิ ที่รู้ท่ีรู้สกึ ที่กระทบไม่ว่าเล็กใหญ่ สาคัญไม่สาคัญ ไม่ว่าจะมีอะไรเกิดขึน้ ในช่วงใดๆของวัน ให้ฝึกระลึ กว่า มันคืออดีต มันคือสิง่ ที่ผ่านไปแล้ว ไม่มอี ยู่จริงๆแล้ว ไม่ใช่ของใคร มัน หายไปแล้ว สิง่ ทีเ่ กิดเก่าพอระลึกแล้วมันหายไป เกิดความรูส้ กึ ใดๆใหม่ๆ ขึ้น มา ก็ต้อ งอย่าลืมระลึกว่า มัน เป็ นสิง่ ที่ผ่านไปแล้ว เป็ น อดีตไปแล้ว ไม่ใช่ปัจจุบนั ปั จจุบนั ไม่ม ี มีแต่อดีต มีแต่สงิ่ ทีผ่ า่ นไปแล้ว เมื่อมันผ่านไป แล้วมันจึงไม่ใช่ของใคร มันกลายเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มอี ยู่จริงๆในขณะนี้ มันจึงไม่ มีตวั ตนทีแ่ ท้จริง ไม่มเี จ้าของทีแ่ ท้จริง ไม่มสี าระไม่มแี ก่นสารอะไรทัง้ นัน้ อตีตํ นานฺ วา คเมยฺนย วิธีละอาลัยในอดีต ทุกปฏิกริ ยิ าทุกอิรยิ าบถ ไม่ว่าจะเป็ น ยืนเดินนอนนัง่ ทานอาหาร หันผั ่ กทากับข้าวทาการทางานทามาค้าขายเดินทางท่องเที่ยวขึน้ รถลง เรือรู้สกึ นึกคิดดีใจเสียใจสนุ กสนานรื่นเริงวิตกกังวลคร่าเคร่งตึงเครี ยด ฟุ้งซ่านสงบระงับ ฯลฯ จงฝึกระลึกตลอดเวลาว่า “มันเป็ นอดีตไม่ใช่เรา”

๑๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ขัน้ แรกฝึกระลึกสัน้ ๆแค่น้ี ให้ผลทีไ่ ด้รบั จากการระลึกสร้างปั ญญา ขึ้นมาเอง ระยะแรกที่ฝึกอาจพบความว่างเย็น ขลุกๆขลักๆอยู่บ้าง ฝึ ก ต่อไปความสงบระงับว่างเย็นไม่เป็ นทุกข์จะง่ายขึน้ จนอยู่กบั ความว่างได้ เป็ นเวลานาน กระทังท ่ างานอย่างว่างเย็นได้ ต่อมาให้สงั เกตความรูส้ กึ ตอนทีว่ ่างให้ดๆี จะพบว่าความรูส้ กึ ว่ามี ตัวตนคนสัตว์สงิ่ ของสมมุตทิ ุกๆสมมุตจิ ะเลือนหายตามไปด้วย สติหลุด จากการระลึกเมื่อใดนันแหละ ่ ความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์จงึ จะผุดขึน้ มา ก็ต ัง้ ต้ น ระลึก กัน ใหม่ เมื่อ ระลึก ช านาญขึ้น อุ บ ายที่น ามาใช้ร ะลึก คือ ประโยคทีว่ ่า “มันเป็ นอดีต ไม่ใช่เรา” จะหดสัน้ ลง อาจจะเหลือแค่คาว่า ไม่ใช่เรา หรือแค่คาว่า อดีต เท่านัน้ ฝึ กต่อไปอีก สุดท้ายจะไม่เหลือคา อุบายใดๆให้ระลึก เหลือแค่มสี ติจบั ความว่างไม่มสี มมุตไิ ม่มบี ญ ั ญัติ เมื่อถึงระดับนี้สงิ่ หนึ่งที่จะเกิดขึน้ คือปั ญญาจะมองเห็น เวลาเกิด ความรู้ สึก ว่ า มี ต ัว กูข องกูจ ะชัด เจนมากขึ้น จนรู้ ไ ด้ ว่ า เวลาใดเกิด ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูเวลาใดว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ขัน้ ต่อไปฝึกดับตัวกู ให้เป็ น ธรรมชาติจะสอนวิธดี บั ให้เอง มันจะเลิกคิดหยุดคิดยุตกิ ารคิดเมือ่ เวลามีตวั กูของกูเกิด ซึ่งสุดท้ายการปฏิบตั ขิ องทุกๆคนจะไหลไปฝึกดับ ตัวกูของกูเป็ นหลัก การระลึกชอบด้วยอุบายชอบ ไม่ว่าจะเป็ นอุบายใดๆ เป็ นเป้ าหมายรอง แต่อาจยังมีการระลึกด้วยอุบายอยู่ แต่จะระลึกเพื่อให้ ว่างจากตัวกูไวๆพอตัวกูว่างก็จะหันมาควบคุมให้ความว่างจากตัวกูอยู่ใน ความรูส้ กึ นานๆ ณ จุดนัน้ ชีวติ จะทางานด้วยความว่าง ชีวติ เหมือนแบ่ง ออกเป็ นสองส่วน ส่วนหนึ่งคือว่างนอก ส่วนหนึ่งคือว่างใน ฝึกไปเรื่อยๆ สัก วัน จะพบเองเข้า ใจเอง และจะรู้ไ ด้ด้ว ยตนเองว่ า จะต้อ งปฏิบัติต น อย่างไรให้ชวี ิต ว่างจากตัวกูตลอดเวลา โดยสามารถประกอบภาระกิจ ต่างๆได้อย่างสมบูรณ์แบบชนิดไม่มที ต่ี ิ ๑๖


สมสุโขภิกขุ

ใจความสําคัญที่จาํ เป็ นต้องระลึกเพื่อดับทุกข์ มันเป็ นปฏิ กิริยา มันไร้สาระ มันเป็ นอดีตไม่ใช่เรา มันเป็ น ขันธ์ในอดีต ปฏิ กิริยาธรรมชาติ ในอดีต มันเป็ นของปลอมของไม่ จริง ของทีไ่ ม่มีอยู่จริง ไม่ใช่ตวั กูของกู ไม่ใช่ตวั ตนคนสัตว์ ฯลฯ สิง่ สาคัญต้องหมั ่นฝึกระลึกตลอดเวลาตัง้ แต่ต่นื นอนมิเช่นนัน้ ดับ ทุกข์ไม่ได้ ดับทุกข์ไม่เป็ น การเจริญ วิปั ส สนาอย่างง่ายๆแต่ ใช้ดบั เครียดดับ ทุกข์ดบั วิต ก กัง วลได้ อะไรๆก็อ ดีต อะไรๆก็ไร้สาระ อะไรๆก็ผ่านไปแล้ว อะไรๆก็ ไม่ได้เป็ นของเรา อะไรๆก็ไม่มอี ยู่จริงแล้ว เกิดปุ๊ บก็ดบั ปั บ๊ ไปแล้ว จึงเป็ น ของใครไม่ ไ ด้ ทุ ก ๆสิ่ง ทุ ก ๆวิน าทีทุ ก ๆลมหายใจทุ ก ๆอิริย าบถทุ ก ๆ ปฏิกริ ยิ าคืออดีต ล้วนแต่เป็ นอดีต ล้วนแต่เป็ นสิง่ ทีจ่ บไปแล้ว ผ่านไปแล้ว ไม่ได้เป็ นปั จจุบนั ไม่ได้เป็ นของใครไม่ได้มอี ยู่จริงในตอนนี้แล้ว ต้องฝึกเช่นนี้มากๆตลอดเวลาได้ยงิ่ ดี เพราะยิง่ ชานาญยิง่ ว่างเบา อิม่ เย็นมีทุกข์น้อย มีทุกข์กด็ บั ได้ดงั ใจนึก บางกรณีคาสอนในศาสนาพุทธ มีนัยยะแปลกๆอยู่บา้ งเหมือนกัน ตาราจะพูดอย่างหนึ่ง แต่เวลาปฏิบตั จิ ะ เป็ นอีกอย่างหนึ่ง ซึง่ ควรรูเ้ อาไว้บา้ งเพือ่ ป้ องกันความสับสน เช่นคาตรัสที่ว่า สาธุชนย่อมหลุดพ้นเพราะไม่ยดึ มั ่นถือมั ่น เวลา ปฏิบัติเราต้องระลึกว่า “มันไร้สาระ" ความยึดมั ่นถือมั ่นจึงจะหายไป ดังนัน้ ในทางปฏิบตั จิ งึ หมายถึง สาธุชนย่อมหลุดพ้นเพราะเห็นว่าทุก ปฏิ กิริยามันไร้สาระนัน่ เอง อย่างนี้เป็ นต้น อยากให้ทุกๆท่าน ทดลองฝึกเอาจริงเอาจังกับอุบายทีว่ ่า อะไรๆ ทีก่ าลังเกิดกับทุกคน ทุกเวลาทุกนาที อะไรเกิดหรือทาอะไรขึน้ มา ไม่ว่า จะเป็ น หั ่นผัก กวาดบ้าน ขึ้นรถลงรถ ขับรถ พูดคุยสนทนา ไม่ว่าเรื่อง ๑๗


ลมไหวใบไม้สงบ

อะไรให้ระลึกว่าสิง่ นัน้ ๆ ล้วนแต่เป็ นอดีตหรือล้วนแต่เป็ นสิง่ ไร้สาระ การ ฝึกแบบนี้เมือ่ เก่งขึน้ ย่อมทาให้ ไร้สาระเป็ น ปล่อยวางเป็ น ดับทุกข์เป็ น ดังนัน้ ธรรมะจึงไม่ได้สาํ คัญที่ “รู้”อะไรไปแล้วบ้าง แต่สาํ คัญที่ “เลิ กให้สาระ”อะไรไปแล้วบ้าง ฝึกถูกวิธกี ท็ ง้ิ อะไรต่อมิอะไรได้มากมาย ฝึกผิดวิธจี ะมีแค่ความรู้ ให้ยดึ มั ่นถือมั ่น แต่ทง้ิ อะไรไม่ได้เลย ต้อ งเข้าใจไว้ว่า นิ พพาน คือ การทิ้ง ไม่เข้าไปยึดถือ ไม่เข้าไป ผูกพัน ไม่เข้าไปให้สาระ สิง่ สาคัญที่จะทาให้ ไม่เข้าไปยึดถือผูกพัน คือ การ “ไม่ให้สาระ”และการ “ไม่อาลัยในอดีต" นันเอง ่ แต่คาจากัดความเหล่านี้เป็ นแค่เพียงตัวหนังสือ การท่องบ่นหรือ แม้แต่ทาความเข้าใจด้วยการคิด ยังไม่สามารถทาให้เกิดการไม่เข้าไป ยึดถือผูกพันไม่เข้าไปให้สาระอย่างแท้จริงได้ ในทางปฏิบตั จิ ริงๆ ต้องมี วิธที าให้เกิดการเลิกยึดถือเลิกผูกพันเลิกให้สาระ วิธนี นั ้ ก็คอื การฝึกระลึก ชอบด้วยอุบายชอบนันเอง ่ ขอให้นักดับทุกข์จงจดจาไว้ว่า ไม่ว่าจะศึกษาเรื่องใด หน้าที่ ที่ จะต้องปฏิบตั คิ อื ทาให้เกิดความรูส้ กึ ในเรื่องนัน้ ๆเป็ นจริงเป็ นจังขึน้ มา ใน กรณีน้ีจงึ หมายถึง ต้องทาให้เกิดความรูส้ กึ ไม่อาลัยในอดีตให้ได้ เมื่อไม่ อาลัยในอดีตได้ นัน่ แหละการเข้าไปยึดถือผูกพันจึงจะหายไป “การไม่ อาลัยในอดีต”หรือ“การเลิ กให้สาระ” จึงเป็ นโจทย์ทต่ี ้องปฏิบตั เิ พือ่ ให้ เกิดความรูส้ กึ เช่นนัน้ และต้องไม่ใช่ใช้วธิ ที ่องวิธคี ดิ วิธคี านึงคานวณ ทุกๆ คาตรัสมีวธิ ปี ฏิบตั จิ ริงๆแฝงอยู่ ต้องหาวิธปี ฏิบตั จิ ริงๆทีว่ ่านัน้ ให้พบ ซึง่ วิ ธีปฏิ บตั ิ ทีว่ ่านัน้ มีอยู่ ๓ ปริเฉทดังต่อไปนี้ ๑๘


สมสุโขภิกขุ

ปริเฉทที่ ๑ ขั้นตอนรู้ตามความจริง ( หน้า ๒๐ ) ปริเฉทที่ ๒ ขั้นตอนการคิดทิ้งรู้แล้วอยู่กบั อุบาย ( หน้า ๒๖ ) ปริเฉทที่ ๓ ขั้นตอนการทิ้งความรู้สึกว่ามีตัวกูของกู (หน้า ๔๙ )

กฏเหล็กที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติ คิดเพื่อสร้างอุบายชอบ อุบายชอบใช้สำหรับฝึกระลึก ฝึกระลึกเพื่อเห็นแจ้งความจริง เห็นความจริงจึงสามารถแยกแยะได้ว่า อะไรต้องเลิกคิดอะไรคิดได้ สุดท้ายฝึกเลิกคิดเพื่อหลุดพ้น ๑๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ปริเฉทที่ ๑ ขั้นตอนรูต้ ามความจริง ขัน้ แรกรู้ต ามความจริง ก่ อ น แล้ว น าความจริง ที่รู้ม าฝึ ก ระลึก ขัน้ ตอนรูต้ ามความจริงจะลึกจะตืน้ จะละเอียดหรือหยาบมีความสาคัญแต่ ไม่มากเท่าการระลึกตามความจริง นักปฏิบตั ิต้องเข้าใจประเด็นนี้ให้ดี และปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด ความหลุดพ้นจากตัวตนหรือจากทุกข์จงึ จะ บังเกิด คราวนี้ จะมาอธิ บายถึง"อะไรคือความจริง" สิง่ ที่ปุถุชนรู้และคิดว่าเป็ นความจริงนัน้ แท้ท่จี ริงไม่ได้เป็ นความ จริงเลยแม้แต่อย่างเดียว สิง่ ทีท่ ุกคนคิดว่าจริง แท้ทจ่ี ริงมันเป็ น "มายา" ไม่ใช่ความจริง ไม่ใช่ของจริง ไม่ว่าจะคิดว่าอะไรคือความจริงหลักศาสนา เราถือว่าเป็ นของหลอกลวงของไม่จริงทัง้ หมดทัง้ สิน้ ซึ่งเรื่องนี้คอื เรื่องที่ ต้องทาความเข้าใจ ถ้าใครไม่เข้าใจก็จะเป็ นผูท้ ไ่ี ม่มโี อกาสรูต้ ามความจริง เมื่อ ไม่ม ีโ อกาสรู้ต ามความจริง ก็ย่ อ มไม่ม ี โ อกาสระลึก ตามความจริง ตามมาด้วย ความจริงทีส่ าคัญอันดับต้นๆทีต่ อ้ งรูแ้ ละทาความเข้าใจคือ "ทุกๆสรรพสิ ง่ สักว่าเป็ นธาตุและกาลังเป็ นไปตามเหตุตาม ปัจจัยไม่ใช่สตั ว์ไม่ใช่สิง่ มีชีวิตไม่ใช่สิง่ ทีม่ ตี วั ตน" ๑ไม่มีอะไรไม่ใช่ธาตุที่กาํ ลังเป็ นไปตามเหตุตามปัจจัย ๒ไม่มีอะไรเป็ นสัตว์บุคคล ๓ไม่มีอะไรมีตวั มีตน เป็ นตัวเป็ นตน ทุกๆสรรพสิ่ งล้วนว่าง เปล่าจากความหมายแห่งตัวตน(สุญโญ) นี่ คือความจริ งทีต่ ้องรูต้ ้องทาความเข้าใจ จนเห็นแจ้งอย่างสนิท ใจ ว่ามันเป็ นธาตุจริงๆ มันไม่ใช่สงิ่ ทีม่ ชี วี ติ จริงๆ มันว่างเปล่าจากตัวตน ๒๐


สมสุโขภิกขุ

จริงๆ เชื่อมั ่น เห็นแจ้ง เข้าใจถ่องแท้ จึงค่อยนาความจริงเหล่านี้ไปฝึ ก ระลึกตามความจริง ในขัน้ ตอนการรูต้ ามความจริง อย่าไปคิดอะไรให้เยิน่ เย้อคิดเพือ่ ทาความเข้าใจว่ามันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆพอเห็นด้วยว่ามันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ก็นาเฉพาะหลักทฤษฎีทส่ี าคัญเฉพาะหัวข้อสัน้ ๆแต่กระชับได้ใจความเพือ่ นามาฝึกระลึก ตรงนี้สาคัญมากเพราะบางคนรูล้ กึ รูล้ ะเอียดแต่ไม่ยอมทิ้ง สิง่ ทีร่ ู้ เลยไม่รจู้ ะนาจุดใดมาระลึก รูแ้ ล้วต้องทิง้ รูจ้ งึ จะระลึกเป็ น จะขอยกตัวอย่างง่ายๆให้เข้าใจดังนี้ วิ ธีรู้ตามความจริ ง ต้อ งรู้จากต้นกาเนิดของสิ่งที่กาลังเกิดขึ้น อย่าไปคิดไปคานึงไปคานวณถึงผลทีเ่ กิดใหม่ ฝึกรูต้ ามความจริงว่าต้นตอ มันประกอบด้วยอะไรบ้างเท่านัน้ พอ เช่น จะพิจารณาว่า"คน"ความจริง คืออะไร ก็ตอ้ งวิปัสสนาว่าสิง่ ทีเ่ รียกว่าคนแท้ทจ่ี ริงนัน้ มีตน้ ตอรากเหง้ามา จากอะไร ตามหลักความจริงที่ศาสนาเราสอนไว้คอื "คน"ประกอบด้วย ธาตุหกธาตุคอื ธาตุ ดิน น้า ลม ไฟ อากาศ และวิญญาณ นี่แหละคือความ จริงที่ต้องเตรียมนาไปใช้ระลึก กล่าวคือ ความจริงแท้คนคือธาตุหกธาตุ มาประกอบกัน มาทําปฏิ กิริยากันตามเหตุตามปัจจัย เหตุปัจจัยต่างๆ ที่ทาให้ธาตุมาทาหน้าที่ร่วมกันจนเป็ นคน(สิง่ อืน่ ๆก็เป็ นปฏิกิรยิ าร่วมกัน ของธาตุต่างๆทัง้ นัน้ ) ถ้าใครเข้าใจตรงจุดนี้ดีแล้ว ก็สามารถข้ามไปทา ความเข้าใจหัวข้อปฏิบตั ขิ อ้ ต่อไปได้ ใครยังไม่เข้าใจถ่องแท้ ขออธิบาย เพิม่ เติมสัน้ ๆสักเล็กน้อยดังนี้ สิ่ งที่ เรียกว่าคน แท้จริงมิใช่คน แต่เป็ นธาตุหก หรือจะเรียกว่า ขันธ์หา้ ก็ได้ ธาตุหกขันธ์หา้ คือสิง่ เดียวกัน ล้วนแต่เป็ นต้นกาเนิดของสิง่ ที่ เรีย กว่ า คน ในตอนที่ธ าตุ ท งั ้ หกรวมตัว กัน (ทาปฏิกิริยา)ตามเหตุ ต าม ปั จจัย มันคือของว่างเปล่าไม่มชี ่อื แต่มนั คือความจริง ความจริงในทีน่ ้คี อื ๒๑


ลมไหวใบไม้สงบ

มีการทาปฏิกิริยารวมตัวกัน ของธาตุ หกธาตุ เกิดผลทาให้ม ีอ ัตลักษณ์ อย่างหนึ่งขึน้ มา แล้วต่อมามีคนเรียกธาตุหกนี้ว่า"คน" ตรงจุดนี้จงทาความเข้าใจให้ดีว่า คาว่า "คน"ที่แท้จริงเป็ นสิง่ ที่ เกิดขึน้ มาใหม่ แทนธาตุหก คนจึงมิใช่สงิ่ ทีม่ อี ยู่จริงๆเลย สมมุตทิ ุกคาจึง มิใช่เป็ นสิง่ ทีม่ อี ยู่จริง สิง่ ทีม่ อี ยู่จริงคือธาตุหกทีก่ าลังทาปฏิกริ ยิ ากัน ลอง ฝึกวิปัสสนาต่อก็ได้ ธาตุหกทาปฏิกริ ยิ าแบบนี้เราเรียกคนผู้ชาย ธาตุหก อีกเช่นกันทาปฏิกริ ยิ าอีกแบบเราเรียกคนผู้หญิ ง และธาตุหกทาปฏิกริ ยิ า ไปอีกอย่างเราเรียกสัตว์ ดังนัน้ ตรงจุดนี้ให้ฝึกทาความเข้าใจให้ได้ว่า แท้ ทีจ่ ริงแล้ว ผู้ชายความจริง คือ ธาตุ ห ก ผู้หญิ งความจริง คือ ธาตุ ห ก สัต ว์ ความจริงคือธาตุหก ผู้ชาย ผู้หญิ ง สัตว์ เป็ นมายา เป็ นของหลอกลวง เป็ นของทีค่ ดิ ขึ้นมาเอง เป็ นของว่างเปล่า เป็ นของที่ไม่ได้มอี ยู่ จริงๆ เป็ นสิง่ ที่เราคิด ขึน้ มาเองว่ามันมีว่ามันเป็ น ก่อภพหรือภวทิฏฐิ(ความมีสงิ่ นัน้ )ขึน้ มา ขัน้ ตอนต่ อ ไปขัน้ ทดลองพิสูจ น์ ค วามจริง ตรงนี้ ต้อ งมีการฝึ ก ทดลองระลึกตามความจริงว่าจะเกิดอะไรขึน้ เห็นคน ไม่ว่าจะเป็ นผู้ชาย ผู้หญิ ง หรือสัตว์ต่างๆ ทดลองระลึก ตามความจริงว่าสิง่ ที่เห็นคือ ธาตุหก หรือจะระลึกว่า ขันธ์ห้า ก็ได้ ทิ้ง ความรูส้ กึ ว่าเป็ นคนสัตว์ออกเสียให้ได้ แล้วให้ระลึกว่าความจริงสิง่ นัน้ มัน แค่ ธ าตุ ห ก หรือ ขัน ธ์ห้า ถ้าใครท าแล้ว ความรู้ส ึก ว่ามีคนสัต ว์ส ิ่ง ของ หายไป (มันจะหายไปทัง้ ความรูส้ กึ ว่ามีคนสัตว์หญิงชาย และความรูส้ กึ ว่า มันเป็ นธาตุเป็ นขันธ์กห็ ายตาม สรุปหายไปทัง้ ของจริงและอุบายทีค่ ดิ ขึ้น ใหม่) แสดงว่าระลึกได้ถูกต้อง ๒๒


สมสุโขภิกขุ

ทดลองฝึ กง่ายๆ ทาลายสมมุติ ทาลายมายาให้ได้ให้เก่งให้เป็ น แล้วบทต่อๆไปจะมีบทเจริญวิปัสสนาในข้อทีส่ องทีส่ ามเป็ นลาดับๆไป พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า สังขารทัง้ หมดทัง้ สิน้ (สังขารคือธาตุต่างๆ ทีท่ าปฏิกริ ยิ าร่วมกัน) ล้วนเป็ นของหลอกลวง มันเป็ นของหลอกลวงไม่ใช่ความจริงไม่มอี ยู่จริงไม่เป็ นแบบนัน้ จริงๆ ก็ด้วยเหตุผลในข้อนี้ คือของจริงมันแค่ธาตุมารวมตัวกัน แล้วเรา เรียกธาตุ ท่ีรวมตัวกันเป็ นชื่อต่างๆ ทัง้ ๆที่ความจริงมันคือธาตุ พอเรา เรียกมันเป็ นคน เราก็ลมื คิดว่ามันเป็ นธาตุไปเสียสิน้ พอเรียกว่าคนแล้ว คิดว่ามันเป็ นคนจริงๆ นัน่ คือเราโดนหลอกแล้ว ต่อมาเราโดนหลอกต่อ เป็ นคนเพศหญิงเพศชาย ทัง้ ๆที่จะหญิงหรือชายมันก็ธาตุมารวมตัวกัน พอมีปฏิกริ ยิ าอื่นๆเพิม่ กลายเป็ นชายหล่อชายขีเ้ หร่ หญิงสวยหญิงขีเ้ หร่ ชายอ้วนหญิงผอม สิง่ ทีป่ รุงขึน้ มาใหม่ มันคือปฏิกริ ยิ าของธาตุทงั ้ นัน้ แต่ เพราะเราลืมว่ามันเป็ นธาตุไปตัง้ แต่ตน้ สิง่ หลอกลวงทีเ่ ราสร้างขึน้ มาใหม่ เลยกลายเป็ นสิ่งที่เราคิดว่า เป็ นจริงตามนัน้ ไปจนหมดสิ้น และสุดท้าย ความเห็นผิดๆอันนี้น่ีแหละคือสิง่ ที่ทาให้เราเป็ นทุกข์ ของจริ งคือธาตุ ต่างๆ ของปลอมหรือมายา คือคําสมมุติทุกคํา ที่ เราตัง้ ขึ้นมาใหม่ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า สังขารเป็ นสิ ง่ หลอกลวง เป็ นสิ ง่ เป็ นทุกข์ ถ้า ใครรูค้ วามจริงสองประการนี้ เขาจะไม่มที ุกข์ คือ ๑ รู้ความจริงว่าของจริงเดิ มแท้มนั คือธาตุทาํ ปฏิ กิริยากัน ๒ สมมุติคือมายา ของปลอม ของไม่จริง ของหลอกลวง ทดลองฝึกระลึกดู พบอะไรเห็นอะไรก็ระลึกตามจริงว่ามันคือธาตุ กาลังทาปฏิกิรยิ า ไม่ต้องสาวไปถึงว่ ามันทาปฏิกิรยิ าอะไรอย่างไรเป็ น อะไรก็ได้ แค่ระลึกรวบลัดตัดสัน้ ว่ามันคือธาตุกาลังทาปฏิกริ ยิ ากันอยู่ ๒๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ต่อมาก็ฝึกระลึกว่าสมมุตคิ อื ของปลอม เวลาพูดเวลาคิด เรียกชื่อ นามสรรพนามกิรยิ าอะไรก็ตาม ฝึกระลึกสัน้ ๆเป็ นช่วงๆว่าสมมุตทิ เ่ี ราใช้ ไม่ใช่ความจริง เป็ นมายา เป็ นของปลอม เป็ นของหลอกลวง ไม่ใช่สงิ่ ทีม่ ี อยู่จริง ของจริงมันคือปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่างหนึ่งของธาตุตามธรรมชาติ ไม่ จ าเป็ น ต้อ งไประลึก ว่ า ปฏิ กิริย านัน้ ๆคือ อะไรก็ไ ด้ ฝึ ก ขัน้ แรกๆให้ กระชับสัน้ ๆ ฝึกเพื่อทาลายความเห็นผิดทาลายความรูส้ กึ ว่าเป็ นของจริง ออกเสีย ฝึ กเพื่อมิให้โดนธรรมชาติหลอกลวง การฝึ กก็มใิ ช่ต้องเลิกใช้ สมมุติ แต่ฝึกเพื่อให้รู้จกั สมมุตติ ามความจริงว่า ความจริงสมมุตทิ ่เี ราใช้ กันอยู่ล้วนแต่เป็ น สิง่ ที่ไม่มอี ยู่จริง สิง่ ที่มอี ยู่จริงมันคนละอย่างกับสมมุติ สมมุตจิ งึ ล้วนแต่เป็ นมายา เป็ นของปลอม เป็ นของที่ไม่มอี ยู่จริง ไม่เป็ น จริงตามทีเ่ ราเคยคิด ทําไมพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าสังขารหรือสมมุตลิ ว้ นเป็ นมายาเป็ น ของหลอกลวงทัง้ หมดทัง้ สิน้ เหตุท่เี ป็ นเช่นนี้ก็เพราะ ของจริงคือธาตุทา ปฏิกริ ยิ า ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึน้ ในธรรมชาติลว้ นแต่เป็ นปฏิกริ ยิ าของธาตุ ทัง้ นัน้ รูต้ ามความจริง คิดตามความจริง ระลึกตามความจริง ก็ต้องระลึก ว่าอะไรๆก็คอื ปฏิ กิริยาของธาตุ นี่คอื ความจริง ดังนัน้ การคิดผิดจากความจริงก็คอื ไปคิดว่าปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ เป็ นคนเป็ นสัตว์เป็ นหญิงเป็ นชาย เป็ นความรูค้ วามรูส้ กึ ความคิด นี่คอื เริม่ ไม่ใช่ความจริงแล้ว คือคิ ดไม่ตรงกับความเป็ นจริง คิดเอาเอง ตัง้ สมมุติ ขึน้ มาเอง ตัง้ ของปลอมมาแทนของจริงแล้ว แต่เท่านัน้ ยังไม่พอ เรามีการต่อเติมเสริม มายาเหล่านี้ให้แตกลูก แตกหลานเป็ นมายาซ้อนมายา คนก็เป็ นมายา คนผูช้ ายนี่เริม่ เป็ นมายา ซ้อนมายา ต่อมาเป็ นคนผูช้ ายขีเ้ หร่ ก็ของปลอมซ้อนทับของปลอมขึน้ มา อีกชัน้ เพราะความจริงผู้ชายดีเลวหล่อขี้เหร่เขาจะทาอะไรอีกเป็ น ร้อย ๒๔


สมสุโขภิกขุ

อย่ า งพัน อย่ า งล้ ว นแต่ เ ป็ น ปฏิกิริย าของธาตุ ห กทัง้ นั น้ ไม่ ม ีส ิ่ง อื่น ใด มากกว่านี้เลย ความจริงแท้จงึ มีหนึ่งเดียวคือมีปฏิ กิริยาเกิ ดขึ้น แต่ความ หลอกลวงมีไม่รกู้ แ่ี สนกีล่ า้ นอย่าง เป็ น infinity เลยก็ว่าได้ไม่มจี บมีสน้ิ ฝึกระลึกแบบนี้แล้วจะได้อะไร สิง่ แรกทีไ่ ด้คอื นิพพานน้อยๆตลอด วัน ฝึ ก ต่ อ ไปย่ อ มพบนิพ พานถาวรได้ใ นที่ สุ ด พระพุ ท ธเจ้า ตรัส ไว้ว่า "เมือ่ ใดเธอเห็นความตามจริ งด้วยปัญญาความหลุดพ้นแห่งใจย่อม มี"

ปฏิบัติธรรม อย่าให้ความสำคัญเรื่องเข้าใจไม่เข้าใจ จงให้ความสำคัญที่ความรู้สกึ ว่างจากตัวตน ไม่เข้าใจแต่ทำแล้วว่างจากตัวตน ดีกว่าเข้าใจแต่ทำแล้วมีตัวตน เข้าใจก็ไร้สาระ ไม่เข้าใจก็ไร้สาระ เข้าใจก็อดีตเข้าใจ ไม่เข้าใจก็อดีตไม่เข้าใจ เข้าใจก็แค่ระบบธรรมชาติอย่างหนึ่ง ไม่เข้าใจก็แค่ระบบธรรมชาติอย่างหนึ่ง มันเป็นอดีต ที่ไร้สาระ ไร้แก่นสาร ไม่ใช่ของจริง ไม่ใช่ของใคร เหมือนๆกัน ความอยากเป็นนั่นแหละทำให้เกิดความสงสัย สงสัยว่าที่กำลังปฏิบัติ จะทำให้เป็นอะไรตามที่อยากได้ไหม สิ้นอยากเมื่อใด จึงสิ้นสงสัยเมื่อนั้น

๒๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ปริเฉทที่ ๒ ขั้นตอนการทิ้งคิดทิ้งรูแ้ ล้วอยู่กับอุบาย หลักศาสนาพุทธกับหลักวิ ทยาศาสตร์หรือหลักคณิ ตศาสตร์ เป็ นสิง่ ที่ไม่คา้ นแย้งกัน ในการศึกษาขัน้ ต้นคือการศึกษาว่าความจริงคือ อะไร เมื่อรูแ้ ล้ว ขอให้ตระหนักว่า ความรู้และสิง่ ที่รู้ ก็ขน้ึ อยู่กบั กฎความ จริงเช่นกัน คือ ต้องถือว่าเป็ นสังขาร เป็ นปฏิกิรยิ า เป็ นระบบ เป็ นของ หลอกลวง เป็ นมายา เป็ นของสมมุติ เป็ นของไม่จริง เป็ นของไร้สาระ เป็ น สิ่ง ที่เกิดในอดีต หายไปแล้วจบไปแล้ว ไม่ใช่ของใคร ความรู้ย่อมไม่ม ี เจ้าของ อาการรู้ สิง่ ทีถ่ ูกรู้ กระบวนการรู้ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดความรู้ ไม่ว่าจะรู้ เรื่องอะไร พอรู้เกิดมันก็ดบั แต่อาจมีรคู้ รัง้ ใหม่เกิด แต่ไม่ว่าจะรูค้ รัง้ ใหม่ ครัง้ เก่า ต้องระลึกเสมอว่ามัน ไม่ใช่ของใคร เพราะความรูเ้ กิดสาเร็จมันก็ จะเป็ นอดีตไปทันที ความรู้ท่เี กิด จึงเกิดในอดีต เรารู้อดีตมิใช่ รู้ปัจจุบนั ดังนัน้ จึงต้อง อย่าไปคิดว่าความรูม้ อี ยู่จริง เป็ นของจริง เป็ นของเรา เรารู้ ความจริงแล้วเด็ดขาด การรู้มจี ริง แต่มนั เป็ นแค่ปฏิกริ ยิ า ทัง้ ผูร้ ู้และสิง่ ที่ ถูกรูผ้ ลจากการรู้ ล้วนแต่เป็ นของไม่จริง ในจุดนี้ขอให้ระลึกแบบศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ เราจึงจะทิง้ รูไ้ ด้ จะ ได้ไม่ยดึ มั ่นว่าเรารู้ หรือความรูเ้ ป็ นของเรา หรือมีรถู้ ูกรู้ผดิ รูเ้ ป็ นปฏิกริ ยิ า อย่างหนึ่ง ฉะนัน้ พอปรุงสิง่ ใดๆเพิม่ เติมขึ้นมามันจึงเป็ นของหลอกลวง ของไม่จริง หรือเป็ นสิง่ ทีม่ คี ่าเท่ากับศูนย์(สุญฺโญ) จาค่าของ 0 หรือสุญฺโญ ไว้ให้แม่นๆ จาเหมือนจาทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ จะทาให้เกิดความเข้าใจ หลักศาสนาได้ดยี งิ่ ขึน้ ศูนย์(๐)หมายความว่าไม่มคี ่า เมือ่ ไปคูณสิง่ ใด สิง่ นัน้ ย่อมเท่ากับ ๐ กฎอันนี้ทุกคนรู้จกั กันดี หลักศาสนาก็ เช่นกัน สมมุติทุกคา หรือสิง่ ที่ เรียกขานปฏิกริ ยิ า ไม่ว่าจะเรียกชื่ออะไรทีใ่ ช้ๆกันอยู่ มันมาจากความว่าง ๒๖


สมสุโขภิกขุ

เปล่ า มีค่ า เป็ น ศู น ย์ คนสัต ว์ส ิ่ง ของพระพุ ท ธเจ้า จึง ตรัส ว่ า เป็ น ของ หลอกลวง เป็ นของว่างเปล่า เป็ นของสุญโญ เมื่อสิง่ ที่มคี ่าเป็ นศูนย์ จะไป รวมกับสิ่ง ที่เป็ น ศู น ย์ ม นั จึง เป็ น จานวนอื่น ไปไม่ไ ด้ นอกจากเป็ น ศู น ย์ เหมือนกับ 0x0 = 0 ด้วยเหตุน้ีแหละพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า "นิพพานและ บัญญัติ เป็ น สุญญตา" คือเป็ นของว่างเปล่า เมือ่ บัญญัตเิ ป็ นของว่างเปล่า ไปทาปฏิกริ ยิ ากับบัญญัตเิ ดียวกันหรือบัญญัตอิ ่นื จึงมีค่าขึน้ มาไม่ได้ มัน ต้องว่างเปล่า หรือ 0 หรือ สูญโญ เหมือน 0x0 ต้องเท่ากับ 0 นันเอง ่ แต่พระองค์มไิ ด้ตรัสว่าให้เลิกใช้บญ ั ญัติ แต่พระองค์ตรัสว่าให้ใช้ บัญญัติแบบรู้ตามความจริงและระลึกตามความจริง และสุดท้ายเมื่อนา ความจริงมาใช้แล้วได้ผลเช่นใดขึน้ มา ก็ไปให้ค่ามันไม่ได้ ตรงนี้ต่างหากที่ สาคัญ ต้อ งระลึกว่ามัน ก็เป็ น ของที่ให้ค่าไม่ได้เหมือ นกัน เมื่อ มัน มีค่า เท่ากับศูนย์ทงั ้ หมด จึงต้องรูจ้ กั ระลึกว่าผลทีเ่ กิดจากการระลึก มันก็ตอ้ งมี ค่าเท่ากับศูนย์เช่นกัน นี่คอื การฝึกทิง้ รู้ คือฝึกระลึกว่า แม้ความรูก้ อ็ ย่าคิด ว่าจริง เพราะความรู้ก็มาจาก 0 ของว่างเปล่ า ของไม่จริง ของไร้สาระ ของสูญโญ ของหลอกลวง เหมือนกัน ส่วนใหญ่นักปฏิบตั จิ ะลืม กฎข้อนี้ ทาให้การปฏิบตั ไิ ม่กา้ วหน้า คือไปถือเอาว่ารูแ้ ล้ว รูจ้ ริง สิง่ ทีร่ คู้ อื ของจริง คิดเช่นนี้ระลึกเช่นนี้เป็ นความผิดพลาด ต้องระลึกเสียใหม่ว่า จะรู้อะไร เห็นอะไรรูส้ กึ อะไรมันก็เป็ นแค่สงิ่ ทีเ่ กิดในอดีตจบแล้วไม่เหลือแล้ว จึงเป็ น ของใครไม่ได้ หายไปแล้วจึงว่างเปล่าไร้สาระไร้ค่ าไร้ราคา มันหลอกลวง มันสูญโญ เกิดอะไรขึน้ มามันแค่ปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติ เป็ นกระบวนการ ทางธรรมชาติ มันมีค่าเท่ากับศูนย์ อะไรๆก็เท่ากับ 0 ทิง้ ให้ทุกสิง่ ทุกอย่าง เป็ นศูนย์ให้ได้แม้แต่ความรู้ ทดลองทิง้ ทดลองฝึกระลึกดู ใครทาถูกวิธกี จ็ ะ พบว่าแม้แต่ ความรู้ก็ยงั เป็ น ของไม่จริง ระลึกได้เช่น นี้จึง จะว่างในว่าง อย่างแท้จริง เป็ นความรูส้ กึ ว่างทีล่ ะเอียดขึน้ ลึกขึน้ ๒๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ตัวผู้รกู้ ส็ ูญโญ สิ่ งที่ร้กู ส็ ญ ู โญ ผลที่ได้กส็ ญ ู โญ สิ่ งที่คิดใหม่ระลึกใหม่ปรุงใหม่กส็ ญ ู โญ สิ่ งที่คิดเก่าระลึกเก่าปรุงเก่าก็สญ ู โญ สูญ โญ + สูญ โญ ย่ อ มเท่ า กับ สูญ โญ จะเกิ ด มี ค่ ามีต ัวมีต น ไม่ได้ ดังนัน้ ของไม่จริ งทําปฏิ กิริยากับของไม่จริ ง จึงกลายเป็ นของ จริงไปไม่ได้ ถ้าอนัตตา = 0 อัตตา = 1 ตามหลักศาสนาเราทุกสิ่ งเป็ นอนัตตาคือ = 0 หมด สิ่ งใดทําปฏิ กิริยากับสิ่ งใดนัน่ คือ 0x0 หรือ 0+0 จึงไม่มีวนั มี ผลลัพธ์เป็ น 1 คือเป็ นอัตตาไม่ได้ นอกจากจะเป็ นสุญญตา คือ 0 อาการรู้กเ็ ป็ นของไม่จริง (0) สิ่ งที่ถกู รู้กข็ องไม่จริง (0) ผลที่ ได้จากการรู้ จึงเป็ นของจริงหรือเป็ นอัตตา (1) ไปไม่ได้เช่นกัน ทดลองระลึกเมือ่ คิดว่ารูแ้ ล้วขึน้ มาว่า มันเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ า มันเป็ น เรื่องที่กลายเป็ นอดีต ไปแล้วไม่ใช่ของใคร มันเป็ นสู ญโญว่างเปล่าไม่ม ี เจ้าของ อะไรๆที่เกิดก็สกั ว่าเป็ นเรื่องธรรมดา เป็ นเรื่องธรรมชาติ ไม่ใช่ ของมีค่า อาการรู้ก็ยงั อยู่ไม่สูญหายไปไหน แต่สงิ่ ที่หายคือ “ตัวกูผ้รู ู้” และตัวตนของสิง่ ที่ถูกรู้ และอุปาทานความยึดมั ่นถือมั ่นว่า “ฉันรู้" และ ความงมงายว่า “สิ ง่ ทีร่ ้เู ป็ นของวิ เศษ"

๒๘


สมสุโขภิกขุ

คิดสาวไปถึงต้นตอ ก็เรียกว่าคิดแบบมีโยนิโสมนสิการ ระลึกสาวไปถึงต้นตอ ก็เรียกว่าระลึกแบบมีโยนิโสมนสิการ ปุจฉา..... หลักการโยนิ โสมนสิ การ เป็ นการคิดหรือระลึกครับ วิ สชั นา..... หลัก โยนิ โสมนสิ ก ารเป็ นหลัก การภาคปฏิบัติ เหมือ นเป็ น กฏเกณฑ์หรือระเบียบวิธอี นั สาคัญทีน่ กั ปฏิบตั ติ อ้ งทาตาม กล้ากล่าวได้วา่ ถ้าไม่ทาเช่นนัน้ หมดโอกาสบรรลุธรรม หลัก โยนิ โสมนสิ ก ารมีห ลายระดับ แตกต่ า งกัน เนื่ อ งจากภู ม ิ ธรรมของนักปฏิบัติ แยกโดยรวมๆคือ ระดับปุถุ ชน ระดับกัล ยาณชน ระดับอริยชน แต่ละระดับจะมีกรอบการลงมือปฏิบตั ติ ่างกัน แต่ทุกระดับมี หลักเดียวกันคือ จะปฏิบตั ธิ รรมะข้อใด ต้องรู้จกั วิธี "สาวไปถึงต้นตอ" การรูจ้ กั สาวไปถึงต้นตอของสิง่ นัน้ ๆนันแหละคื ่ อการมี “โยนิ โสมนสิ การ" ดังนัน้ การจะมีโยนิโสมนสิการหรือไม่ หัวใจจึงอยู่ท่ี รู้จกั สาวไป ถึงต้นตอ ของสิง่ นัน้ หรือไม่ บุคคลรู้พระไตรปิ ฎกจาได้หมดทัง้ ๔๕ เล่ม แต่ไม่รจู้ กั วิธสี าวไปถึงต้นตอก็เรียกว่าบุคคลผูน้ นั ้ ไม่มโี ยนิ โสมนสิการ แต่ บุคคลผูห้ นึ่ง รู้ธรรมะบทเดียวประโยคเดียว แต่รู้พร้อมทัง้ องค์ธรรมและ สาวถึงต้นตอขององค์ธรรมนัน้ ๆเป็ น บุคคลผูน้ นั ้ คือผูม้ โี ยนิโสมนสิการ

๒๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ดังนัน้ ที่ถามว่า โยนิ โสมนสิ การคือการคิ ดหรือการระลึก จึง ตอบได้ว่า ถ้าเราคิ ดเพือ่ สาวไปถึงต้นตอของสิง่ ใดๆก็เรียกว่ามีความคิด เป็ น โยนิโสมนสิการ ซึ่ง จัดอยู่ในระดับปุถุ ชนทัวๆไป ่ ส่วนการระลึกถ้า ระลึก เพื อ่ สาวไปถึ งต้ นตอของสิ่ง ใดๆก็ถือ ว่ ามีการระลึกเป็ น โยนิ โ ส มนสิการ ตรงจุดนี้จดั อยู่ในระดับกัลยาณชน สุดท้ายเลิกคิดเลิกระลึกแต่ใช้ วิ ธีสาวไปดับที ต่ ้ นตอของปั ญหา ในทุกๆครัง้ ที่เกิดปั ญหา ระดับนี้คอื ระดับอริยชนท่านใช้ ตัวอย่างเช่นเมือ่ มีความโกรธเกิดขึน้ มา ถ้าเป็ นปุถุชน เขาย่อมใช้ วิธีคดิ หาต้นตอหาสาเหตุแล้วจัดการที่ต้นตอที่สาเหตุท่ที าให้เกิดความ โกรธ แล้วจัดการกับสาเหตุนัน้ ๆเสีย ต้นตอหรือสาเหตุท่ที าให้โกรธของ ปุถุชนก็จะเป็ นไปในลักษณะพื้นๆซึ่งทุกคนมีการกระทาเช่นนี้อยู่เป็ นอัน มาก แต่กลั ยาณชนจะสาวลงลึกถึงต้นตอหรือสาเหตุท่ที าให้โกรธลึกขึ้น ถึงต้นตอที่แท้จริงได้ละเอียดขึน้ เช่น ปุถชุ นสาวถึงต้นตอว่าเพราะเราใจ ร้อน ขาดความอดทนอดกลัน้ เวลาโกรธก็หาวิธที าให้ใจเย็น ฝึ กมีสติกด ข่มอดทนอดกลัน้ ฝึ กอย่าถือสากับบุคคลอื่น ส่วนกัลยาณชนเริม่ สาวถึง ต้นตอได้ลกึ กว่า เช่นระลึกว่าที่เราโกรธเพราะเราไปให้สาระ หรือเพราะ เรามีตวั กูของกูสงู ดังนัน้ จะดับโกรธต้องรูจ้ กั ดับทีค่ วามรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู หรือฝึกเลิกให้สาระกับสิง่ ต่างๆบ่อยๆ กัลยาณชนจะเริม่ มีการนาสติชอบ มาใช้ในการสาวไปถึงต้นตอของปั ญหา ขัน้ สุดท้ายโยนิโสมนสิการของอริ ยชน ผู้ก้าวล่วงเข้าสู่อริยชน ตัง้ แต่ระดับแรกๆจะต้องผ่านการโยนิโสมนสิการระดับกัลยาณชนมาก่อน แล้วฝึกฝนหาความชานาญมากขึน้ เขาจะค่อยๆรูจ้ กั สาวไปถึงต้นตอของ ปั ญหาได้ละเอียดยิง่ ขึ้น จึงดับปั ญหาได้รวดเร็วถูกวิธีและเป็ นสัมมาทิฐิ คือดับที่ต้นตอของปั ญหาจริงๆเรียกว่าสาวจนไม่มตี ้นตอที่ลึกกว่านี้อกี ๓๐


สมสุโขภิกขุ

แล้ว ใครสาวจนถึงจุดที่เป็ นต้นตอลึกที่สุดได้ เขาผูน้ ัน้ จึงจะเรียกว่าเป็ น อริยชนชัน้ ใดชัน้ หนึ่ง ดัง นัน้ อริยชนเมื่อสาวถึงต้น ตอที่สุ ดของที่สุดได้ ท่านจึงดับทีต่ น้ ตออันนัน้ ท่านไม่ตอ้ งมาเสียเวลาดับทีต่ น้ ตอปลีกย่อยแบบ ปุถุชนหรือกัลยาณชน ซึ่งสิง่ สาคัญท่านไม่ต้องใช้วธิ คี ดิ หรือวิธรี ะลึก แต่ ท่านจะใช้วธิ ีดบั ที่ต้นตอตรงๆเลย ทางภาษาพระเรียกว่าดับที่มจิ ฉาทิฐิ หรือดับทีค่ วามเห็นผิด เช่นดับทีค่ วามรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู ดับทีค่ วามรู้สกึ ว่ า มีสิ่ง นั ้น จริง ๆ ดับ ที่ก ารให้ ส าระ ดับ ตอนที่ส ิ่ง นั ้น ๆหรือ ความคิด ความเห็นความรูส้ กึ ผิดๆก่อตัว ท่านก็มสี ติเลิกปรุงอย่างนัน้ เรียกว่าท่าน สาวถึงต้นตอได้ลกึ ทีส่ ุดด้วยการฝึกจากการคิดมาเป็ นระลึก สุดท้ายท่าน ไม่ต้องคิดไม่ต้องระลึกแต่พอตัวกูโผล่ก็ดบั ทันที ของกูโผล่ก็ดบั ให้สาระ ขึน้ มาก็ดบั คิดว่ามีกด็ บั อริยชนต่างจากกัลยาณชนตรงทีก่ ลั ยาณชนต้อง ใช้สติระลึกอุบายใดอุบายหนึ่งขึน้ มาช่วย แต่อริยชนไม่ใช้อุบายใดๆใช้สติ ดับมิจฉาทิฐทิ ่ผี ุดขึน้ มาแค่นนั ้ ไม่ต้องคิดไม่ต้องระลึก ดับความรูส้ กึ ผิดๆ ตรงๆลงไปในทันทีทนั ใด นี่ คือผลจากการมีโยนิโสมนสิการ คือจะทาให้เราค่อยๆรู้จกั ต้น ตอของปั ญหา และรู้จกั ดับต้นตอของปั ญหา คนมีโยนิโสมนสิการลึกซึ้ง การปฏิบตั ธิ รรมจึงก้าวหน้ากว่าคนไม่มโี ยนิโสมนสิการ การฝึกสาวไปถึง ต้นตอมีลกั ษณะพิเศษคือเมือ่ ฝึกต่อเนื่อง การสาวถึงต้นตอของธรรมชาติ ต่ า งๆจะค่อ ยๆไต่ ร ะดับความลึกขึ้น เองเป็ น เงาตามตัว แม้ไ ม่รู้ธรรมะ มากมายนักก็สามารถบรรลุธรรมชัน้ สูงๆได้ ดังนัน้ แค่รู้จกั สาวไปถึงต้น ตอว่าทุกสรรพสิ่ง มัน ไม่ มสี าระ ทุกสรรพสิ่ง มัน เป็ นแค่ระบบธรรมชาติ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ กระบวนการธรรมชาติ สมมุตบิ ญ ั ญัตทิ เ่ี ราคิดเราใช้อยู่ จึงเป็ นของมายาของหลอกลวงของไม่จริง ทุกสิง่ ล้วนแต่เป็ นขันธ์ในอดีต ไม่มสี งิ่ ใดทีเ่ ราสามารถรับรูค้ วามเป็ นปั จจุบนั ได้เลย และอุบายอื่นๆทีเ่ คย ๓๑


ลมไหวใบไม้สงบ

นามาแนะนา นัน่ แหละคือการสาวถึงต้นตอของธรรมชาติ นัน่ คือการฝึกมี โยนิโสมนสิการ แค่ลองฝึกไปให้ต่อเนื่อง แรกๆก็ต้องใช้อุบาย ฝึกๆไปจะ ใช้ความรูส้ กึ แทน ไม่จาเป็ นต้องใช้อุบายหรือต้องคิดต้องนึกต้องระลึก แต่ ใช้วิธีพอมีต ัวกูก็ดบั คิดว่าจริง ก็ดบั คิดว่ามีส าระก็ดบั มีความรู้ส ึกผิด ขึน้ มาเมื่อใด เลิกคิดเลิกรู้สกึ เลิกปรุงแบบนัน้ ทันที โดยไม่ต้องใช้ความรู้ หรือใช้สงิ่ ทีร่ ่าเรียนมาเลยแม้แต่คาเดียว การทิ้งสมมุติ การทิ้งรู้ มีวธิ กี าร ทิ้งแบบนี้ จะทาได้ท้งิ ได้ ก็ต้องเริม่ จากการรู้จกั วิธสี าวให้ถงึ ต้นตอ หรือ รูจ้ กั "หลักโยนิ โสมนสิ การ" เสียก่อนนันเอง ่ แรกๆต้อ งคิด ต้อ งระลึก เรีย กว่ า ต้อ งใส่เ หตุ ผ ลในการโยนิ โ ส มนสิการ แต่เมื่อมีโยนิโสมนสิการลึกขึน้ สาวถึงต้นตอทีแ่ ท้จริงได้ละเอียด ขึน้ ก็จะรูแ้ จ้งด้วยตนเองว่า การคิด การระลึก ก็เป็ นสังขารอย่างหนึ่ง เป็ น สิง่ ไร้สาระไม่เทีย่ งไม่ใช่ของใครเป็ น มายาเป็ นของหลอกลวง เป็ นขันธ์ใน อดีตไปทุกๆวินาที จึงไม่ใช่สงิ่ ทีม่ อี ยู่จริงในขณะนี้ พอมีโยนิโสมนสิการถึง ระดับนี้ ก็จะทิ้ง รู้ เลิกคิดเลิกระลึกเลิกวิเคราะห์เลิกใส่เหตุผลประกอบ เวลาระลึกชอบ "ระลึกเพือ่ ดับปรุง" มิใช่ "ปรุงเพือ่ ระลึก" แบบก่อนๆ ซึ่งนัน่ หมายถึงกาลังเป็ นผูห้ ลุดจากสมมุติ หลุดจากรู้ เป็ นผูท้ ้งิ รูท้ ้งิ สมมุติ อย่างแท้จริง อะไรๆก็เป็ นระบบธรรมชาติ เป็ นปฏิ กิ ริยาทางธรรมชาติ เป็ นกระบวนการธรรมชาติ ดัง นั ้น ความรู้ ความรู้ ส ึ ก ความคิด ความเห็น ความว่าง ความวุ่น ก็เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทงั ้ สิน้ ทดลองฝึก ดู เมื่อมีการระลึกอุบายใดๆก็ตาม สิง่ ทีต่ ามมาก็คอื เราจะระลึกหาเหตุผล มาสนับ สนุ น อุ บ ายนัน้ ๆ ท าให้ว่ า งได้ร ะดับ หนึ่ ง แต่ ย ัง ว่ า งไม่จ ริง ตัว ความรูท้ ร่ี ะลึกถึง คานึงถึง คานวณถึง คาดคะเนถึง นันแหละท ่ าให้ว่างไม่ ๓๒


สมสุโขภิกขุ

จริง การฝึกขัน้ ต่อไปจึงควรใช้แค่อุบายโดดๆ ไม่ตอ้ งมีเหตุผลมาประกอบ ฝึกทิ้งเหตุผลก่อน ต่อมาก็ลองฝึกทิ้งอุบาย ให้เหลือแค่สติดบั ความรูส้ กึ ที่ เป็ น ความเห็น ผิด ฝึ ก ดับ ตัว กู โ ดยไม่ต้อ งใช้อุบ าย ฝึ ก ทิ้ง รู้ ทิ้ง เหตุ ผล ประกอบ ฝึ กทิ้งธรรมะทุกๆบท ต้องทดลองฝึ ก ด้วยของจริง จึงจะเข้าใจ และจะทิ้งรู้ท้งิ สมมุติท้งิ บัญญัติท้งิ เหตุผลได้ ให้เหลือแค่ม ีการปรุงที่ผดิ เมื่อ ใดก็ดบั ความรู้ส ึกที่ผิดๆนัน้ โดยไม่ต้องใช้ส ิ่ง ใดๆมาเป็ นตัวช่วย นี่ แหละคือวิธกี ารทิง้ รู้ ทิง้ สมมุติ ทิง้ เหตุผล ฝึ กระลึกชอบด้วยอุบายชอบ จนความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนหายไป พอ เกิดความรูส้ กึ ว่างจากตัวตน อย่าดีใจ อย่าภูมใิ จ อย่าสร้างความรู้ สกึ ใดๆ อย่าใส่เหตุผลใดๆ ทิ้ง ความรู้สกึ ดับความรู้สกึ ทิ้ง สงสัย ทิ้ง สมมุติ ทิ้ง บัญญัติ ทิ้งเหตุผล ทิ้งไปจนมันว่างจริงๆ ในความว่างจริงๆจะมีสติสมาธิ ปั ญญา ใช้สติคน้ หาว่าว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนจริงหรือไม่ เลิกสนใจ ธรรมะและเหตุผลอื่นๆให้สน้ิ ซาก หาเฉพาะความรู้ สกึ ว่ามีตวั ตนยังมีอยู่ หรือหมดไปแล้ว ขัน้ ตอนการทิ้งรู้ท้งิ เหตุผลต้องจบลงตรงที่ จะต้องรู้จกั ความรูส้ กึ มีตวั ตนกับว่างจากตัวตน รูใ้ ห้ได้ว่ามันต่างกันอย่างใด มีตวั ตน ก็ให้รู้ว่าตอนนี้ยงั มีตวั ตนอยู่ ว่างจากตัวตนก็ให้รู้ว่าตอนนี้ว่างจากตัวตน อยู่ ขัน้ ตอนที่สามจะเหลือแค่การฝึ กดับความรู้สกึ ว่ามีตวั ตนอย่างเดียว และขัน้ ตอนสุดท้ายนัน้ จะไม่มกี ารใช้อุบายใดๆเหตุผลใดๆมาประกอบใน การดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูเลย ทุกสิ่งไม่ว่าดีหรือเลว สวยงามหรือน่าเกลียด ควรจัดเป็น “ของว่าง” อย่างเดียวกัน เว่ยหลาง ๓๓


ลมไหวใบไม้สงบ

วิ ธีทิ้งรู้ในแง่ขนั ้ ตอนการปฏิ บตั ิ จริ ง ขอยกตัว อย่ า งการเจริญ สติปั ฏ ฐานสี่ หมวดเวทนาให้ศึก ษา รายละเอียด เมื่อเกิดเวทนาชนิดใดชนิดหนึ่งขึน้ มา และเราต้องการดับเวทนา นัน้ ในระดับโลกุตตระต้องเริม่ ทีม่ สี ติจบั ทีอ่ าการเวทนาเป็ นลาดับแรก ลาดับต่อมา ก็ระลึกถึงอุบายชอบตามที่ตนเองถนัด เช่นระลึกว่า เวทนาเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ หรือเวทนาเป็ นระบบธรรมชาติอย่างหนึ่ง หรือเวทนาเป็ นกระบวนการธรรมชาติเท่านัน้ เอง มีสติระลึกชอบในอุบาย ชอบแทนทีเ่ วทนาทีเ่ กิด ซึง่ ผลลัพธ์ทต่ี ามมาก็คอื ความรูส้ กึ ในเวทนาชนิด นัน้ ๆมันจะหายไป เช่นจับที่อาการปวด อาการเจ็บ พอมีสติระลึกชอบ อุบายชอบถ้าทาถูกวิธี ความรูส้ กึ ว่าปวดจะหายไป ถ้ า ใครท าแล้ว เวทนาไม่ห าย ตรงจุ ด นี้ เ ราจึง ต้อ งมีเ หตุ ผ ลมา อธิบายเพิ่ม เติม เพื่อ เป็ น ตัวช่วยให้ปั ญ ญาเกิด เวทนาจะได้ล ดลงและ หายไป เช่นระลึกว่า มันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ มันยังปวดอยู่กร็ ะลึกต่อ ว่า มันจึงไม่ใช่ของใคร ความรูส้ กึ ว่าปวดเป็ นของสมมุติ ของไม่จริง จริงๆ มัน เป็ น แค่ป ฏิกิริยาอย่ างหนึ่ง เราไปคิดขึ้น มาเองว่าความรู้ส ึกอย่างนี้ เรียกว่าปวด แล้วไปถือเอาว่าความปวดเป็ นสิง่ ทีม่ จี ริง ความปวดเป็ นของ จริง ทัง้ ๆทีค่ วามจริงมันแค่ระบบประสาท ระบบธรรมชาติอย่างหนึ่งไม่ใช่ ปวดจริง เป็ นกระบวนการทางสัมผัสและการรับรูข้ องประสาทในธรรมชาติ เป็ นการทาหน้าที่ของธาตุของขันธ์ และขันธ์ท่ที าหน้าที่ก็ทาหน้าที่เสร็จ สิ้นไปแล้วจบไปแล้วหายไปแล้ว เป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีต ไม่มอี ยู่แล้ว ความ ปวดจริงๆจึงมิได้ปวดอยู่จริงๆในขณะนี้ ขันธ์ในอดีตมันปวดไม่ใช่เราปวด

๓๔


สมสุโขภิกขุ

ไปยึดถือเอาว่ามีอยู่จริง ในขณะนี้มนั จึงรู้สกึ ไปเองว่าความปวดนัน้ เป็ น ของเรา ขอยกตัวอย่างพอสังเขปให้เห็นย่อๆตามนี้ จะสังเกตเห็นว่า การ ดึงความรู้มาใช้เป็ นตัวช่วย เพื่อทาให้การดับเวทนานัน้ มันก็เป็ นสมมุติ เป็ นมายา เป็ นของไม่จริง ของจริงทีเ่ กิดจริงๆมันแค่ปฏิกริ ยิ าอย่างหนึ่งที่ สติแ ละปั ญ ญาสร้างประกอบขึ้น มาใหม่ แต่ เ พราะความไม่รู้ พอสร้ าง เหตุผลมาช่วยหนุ นอุบายชอบ ให้มปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ นักปฏิบตั สิ ่วน ใหญ่ จะสร้างความเคยชินทีจ่ ะยึดติดความรู้ มีปฏิกริ ยิ าขึน้ มาใหม่ ว่าต้อง ใช้ความรู้ ทีเ่ ป็ นเหตุเป็ นผลประกอบเสมอๆ เรียกว่าติดคิดติดรูต้ ดิ ปรุง จึง ทาให้ปฏิบตั เิ ท่าไร ก็ไม่พบความว่างทีแ่ ท้จริงสักที จึงใช้ได้แต่อย่าให้มาก นัก ฝึ กแรกๆใช้พอหอมปากหอมคอ แล้วหัน มาเลิกใช้อุบายใช้ส ติดบั ความรูส้ กึ ว่าเป็ นเวทนาของเราตรงๆโดยไม่ตอ้ งใช้อุบายใดๆ ด้วยเหตุน้นี ่ี แหละ"ฮวงโป"ท่านจึงสอนศิษย์ของท่านว่า "พอให้เหตุผลกับธรรมชาติ เมือ่ ใด ความเป็นพุทธะจะหายไปทันที" ทุกคนทดลองฝึกดูได้ จะพบความแตกต่างระหว่างพยายามเลิก ปรุงเหตุผลกับพยายามปรุงเหตุผล ผลทีไ่ ด้จะต่างกันมาก แบบหนึ่งจะว่าง เย็นเป็ นนิพพาน แบบหนึ่งจะหนักๆตึง ๆ บางทีปวดหัว เลิกให้สาระกับ เหตุผลเสีย อาการต่างๆเหล่านี้จะหายไป การมีสติเลิกให้สาระ ใช้เก่งๆก็ ให้เหลือเป็ น มีสติก็เลิกให้สาระได้ทนั ทีโดยไม่ต้องปรุงหรือไม่ต้องไปให้ เหตุผลใดๆกับปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทุกชนิ ด ไม่ว่าจะเป็ นกาย เวทนา จิต ธรรม ดังนัน้ ฝึกมีสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบแล้ว ถ้าจะใช้เหตุผลมาช่วย สนับสนุนให้พบความว่างเร็วขึน้ ให้ใช้เพียงช่วงสัน้ ๆ อย่าไปใช้ทุกครัง้ ที่ ฝึ ก เวลาใดใช้แค่อุบายชอบแล้วมันว่าง มันสักว่าได้ มันเลิกคิดเลิกปรุง เลิกให้สาระได้กท็ ง้ิ ความรูไ้ ปเสีย ให้เหลือแค่อุบายสัน้ ๆตามทีถ่ นัดเท่านัน้ ๓๕


ลมไหวใบไม้สงบ

แต่ อุ บ ายก็ย ัง เป็ น มายาเป็ น สมมุ ติ ท่ีใช้แ ทนปฏิกิริยาชนิดใดชนิดหนึ่ง แรกๆก็ใช้อุบายประกอบได้ แต่ต่อๆไปก็ตอ้ งทิง้ อุบายอีกเช่นกัน ขัน้ ตอน การทิ้ งอุบาย หรือทิ้ งรู้ หรือทิ้ งเหตุผล อาจไม่สามารถ อธิบายเป็ นคาพูดได้ว่าทาอย่างใดทาเมื่อใด นักปฏิบัติต้องฝึ กฝนด้วย ตนเองทดลองฝึ กแค่มสี ติไม่ต้องมีอุบาย ความรู้สกึ ว่ามีตวั ตน มีเวทนา เป็ นของเรา ความรูส้ กึ ว่าเวทนาสักว่าเวทนา คือไม่รไู้ ม่ชต้ี ่อเวทนาทีเ่ กิด โดยแค่ใช้สติอย่างเดียวก็ดบั ความรูส้ กึ เดิมๆทีเ่ คยมีต่อเวทนาสาเร็จ หรือ เกิดเวทนาแล้วไม่รู้สกึ ว่าเวทนาเป็ นของเราได้ แต่ถ้ายังทาในขัน้ นี้ไม่ได้ ถึง ค่ อ ยใช้เ หตุ ผ ลหรือ อุบายสัน้ ๆมาประกอบ ส่ว นฐานอื่น ๆก็ส ามารถ ทดลองปรับวิธกี ารเช่นนี้ไปใช้ตามความเหมาะสม แต่ทางทีถ่ ูกทีค่ วร ควร ฝึกกับเวทนาก่อนเป็ นการดีทส่ี ุด จัดการกับเวทนาให้เก่งให้ชานาญ ต่อไป ไม่ว่ า จะเอาสติไ ปจับสิ่ง ใดๆไม่ต้อ งใช้อุบ ายใช้ความรู้ใช้เหตุ ผลใดๆก็ สามารถดับสังขารได้ทุกๆฐานทุกๆชนิด

ปฏิบัติธรรม มันมีวิธกี ้าวหน้าของมันเอง ขอเพียงอย่าปฏิบัติเพราะอยากได้อะไร ปฏิบัติธรรมไม่ต่างกับการฝึกถีบจักรยาน ไม่มีใครสามารถสอนกันได้ นอกจากฝึกเองทำเอง ปฏิบัติธรรมด้วยความอยาก ไม่ว่าอยากชนิดใดคือการปฏิบัติด้วยอวิชชา ขณะปฏิบัติก็เต็มไปด้วยอัตตาตัวกูของกู ผลตามมาคือวิจิกจิ ฉา(ความสงสัย)เต็มตะกร้า

๓๖


สมสุโขภิกขุ

ทิ้ งรู้ ทิ้ งสมมุติ ทิ้ งเหตุผล ทิ้ งธรรมอันเนิ่ นช้า คือการทิ้ งเรือ เมื่อต้องการขึน้ ฝั ง่ ต้องรู้จกั วิธสี ละเรือ มิใช่ข้ึนฝั ง่ แล้วยังหวงแหนห่วงหา อาลัย แบกเรือเดินไปเดินมาบนฝั ง่ แบบนัน้ เป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ การทิ้ง เรือ มิใช่ป ล่อ ยให้เกิดจากอิทธิฤ ทธิป์ าฏิหาริย์ใดๆมาช่วยทิ้ง ธรรมะใน ศาสนาพุทธเหมือนการฝึกกีฬา ต้องฝึ กต้องบากบั ่นต้องขยันหมั ่นทา จึง จะสาเร็จตามความมุ่งหมาย การทิ้งเรือ หรือทิ้งรู้ ทิ้งสมมุติ ทิ้งเหตุผล ทิ้ง ธรรมอันเนิ่นช้า ก็เช่นเดียวกัน ธรรมะเหมือนเรือเมือ่ ถึงเวลาก็ต้องทิ้ ง ธรรมะมีไว้ท้ ิ งมิใช่มีไว้แบก มันไร้สาระจริงๆ มันเป็ นอดีตจริงๆ มันเป็ นปฏิ กิริยาจริงๆ ระลึกตามความจริงสามอย่างนี้ ก่อน ทิ้ งธรรมะเยิ่ นเย้อทิ้ งธรรมะเนิ่ นช้า มาระลึกสัน้ ๆแบบนี้ นัน่ คือการทิ้ งเรือลําแรก(ธรรมะ) แล้วมันจึงจะเกิ ดความรู้สึก...... มันไม่มกี จู ริงๆ มันว่างจริงๆ มันไม่มีอยูแ่ ล้วจริงๆ มันไม่ใช่ของใครจริงๆ ......ติ ดตามมา เป็ นเงาตามตัว ถึงเวลานัน้ ก็ถึงเวลาทิ้ งเรือลําที่สอง(อุบาย) ด้วยวิ ธี ระลึกตรงๆไม่ต้องลงอุบาย มีแต่สมั มาสติ ที่ไร้อบุ าย ๓๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ของฝากสําหรับฝึ ก ได้อธิบายแนะนาขัน้ ตอนการฝึก พอเป็ นสังเขป ๒ ขัน้ ตอน จึงขอ ยกมาสรุปเป็ นการทบทวนสิง่ ทีอ่ ธิบายมาก่อนหน้านี้ ได้แก่ ๑.ขัน้ ตอนแรก ฝึ กรู้ต ามความจริ ง แล้ว น าความจริง มาฝึ ก ระลึกตามความจริง ข้อสาคัญ ความจริงทีจ่ ะศึกษาเรียนรูแ้ ละนามาใช้เป็ น อุบายในการระลึกต้องเป็ นความจริงชนิดสาวให้ถึงต้นตอ ต้องเข้าใจว่า อะไรคือต้นตอของความจริง อะไรคือเหตุผลประกอบเพื่อทาความเข้าใจ ตัวอย่างความจริงแท้ทส่ี ามารถนามาเป็ นอุบายระลึกเช่น สาระไม่มใี นเบญจขันธ์ สิ ง่ ทีเ่ กิ ดในธรรมชาติ น้ ี ทุกๆวินาที ล้วนแต่กลายเป็ นขันธ์ในอดีตทัง้ นัน้ เพราะของจริงคือปฏิ กิริยาทางธรรมชาติ ทงั ้ นัน้ การทาหน้ าทีข่ องธาตุของขันธ์ในอดีต มันดับไปแล้วเป็ นอดีตไปแล้วอาการรู้จึงเข้าไปรู้ รู้แล้วก็จบก็เป็ นอดีต มันจึงเป็ นของใครไม่ได้ สมมุติทกุ คาล้วนเป็ นมายา เป็ นของไม่จริง มันเป็ นระบบธรรมชาติ กระบวนการธรรมชาติ มันจึงไม่ใช่สิง่ ทีม่ ีตวั ตน ตัวตนตัวกูแท้จริงจึงไม่มี คนสัตว์สิง่ ของจริงๆจึงไม่มตี วั ตน สมมุติทกุ คาจึงไม่มตี วั ตนแท้ๆของมัน ฯลฯ การรูห้ รือทาความเข้าใจในความจริงเหล่านี้ คือการรูต้ ามจริง เมือ่ รู้ตามจริงเวลาฝึ กมิใช่นาความจริงมาคิดต้องนาความจริงที่รู้มาฝึ กระลึก แรกๆอาจระลึกยาวๆเต็มตามเนื้อหาความรู้ แล้วค่อยๆลัดสัน้ เพื่อไม่ให้ ๓๘


สมสุโขภิกขุ

เกิดความเนิ่นช้า ยิง่ ระลึกความจริงได้สนั ้ เท่าใดยิง่ ดี ฝึกจนคล่องดีจงึ เริม่ ฝึกบททีส่ องต่อไป ๒.ขัน้ ตอนที่ สอง ฝึ กทิ้ งรู้ จะเห็นได้ว่า ความรู้ในข้อแรก แม้จะ เป็ นความจริง ซึ่งใครทีฝ่ ึกจะพบว่ามันเป็ นตามนัน้ จริงๆ คือมันไม่มสี าระ จริงๆ มันไม่ใช่ของใครจริงๆ มันเป็ นระบบจริง ๆ มันเป็ นปฏิกริ ยิ าจริงๆ มันเป็ นกระบวนการธรรมชาติจริงๆ มันเป็ นมายาเป็ นของไม่จริงเป็ นของ หลอกลวงจริงๆ มันไม่ใช่ตวั ตนไม่มตี วั ตนไม่ใช่คนสัตว์ไม่ใช่ชวี ติ จริงๆ ระลึกถูกต้องจะพบความรูส้ กึ เช่นนี้ ใครมีความสามารถทาได้ถงึ ขัน้ นี้ ต้อง รู้จกั ฝึ กเลิกใช้อุบาย ใช้วธิ ีสร้างสติดบั มิจฉาทิฐิ หรือความคิดความเห็น ผิดๆทีเ่ กิดขึน้ เรียกว่ามีสติชอบ แต่อุบายชอบได้แก่ความรูต้ ามความจริง ไม่จาเป็ น อย่าใช้ จนกระทังสามารถดั ่ บความเห็น ผิดได้โดยไม่ต้อ งใช้ อุบาย ไม่ตอ้ งอ้างหลักทฤษฎีใดๆความรูใ้ ดๆความเห็นใดๆ เพราะความรู้ ความคิดความเห็นอุบายต่างๆมันก็ยงั ถือว่าเป็ นสังขาร เป็ นสิง่ ปรุงแต่ง ยังเป็ นมายา เป็ นของไม่จริง ของจริงทีแ่ ท้ ต้องทิ้งรูท้ ้งิ มิจฉาทิฐทิ ้งิ สังขาร การปรุงแต่ง จึงจะพบความรูส้ กึ จริงๆของสภาวธรรมนัน้ ๆ เช่นไม่ต้องใช้ อุบายแต่พอให้สาระสิง่ ใดก็หยุดคิดให้ได้ทนั ที โดยไม่ต้องคิดต้องระลึก ต้องปรุงว่าไร้สาระ แค่มสี ติดบั ความเห็นที่เป็ นมิจฉาทิฐิว่าสิง่ ใดมีสาระ ออกเสีย ถ้าใครทาได้ ไม่ต้อ งมีอุบายแค่มสี ติก็เลิกให้สาระได้แล้ว นัน่ แหละคือการฝึกทิ้งรูท้ ้งิ บัญญัตทิ ้งิ สมมุตนิ นั ่ เอง หรือมีความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ขึน้ มาก็มสี ติดบั ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูได้โดยไม่ตอ้ งใช้อบุ ายใดๆ เห็นว่าจริงก็ เลิกคิดได้ เห็นว่าสิง่ ใดมีเจ้าของหรือตนเองเป็ นเจ้าของสิง่ ใดหรือสิง่ ใดมี ตัวมีตนหรือสิง่ ใดเป็ นของจริง ก็สามารถมีสติดบั ความคิดนัน้ ๆได้ ตรงจุด นี้ใครที่สามารถมีสติดบั สังขารต่างๆเหล่านี้ได้โดยไม่ต้องใช้ สงั ขารดับ สังขาร แต่ใช่สติ เพียวๆดับสังขารที่เป็ นมิจฉาทิฐไิ ด้สงิ่ ที่จะเกิดตามมา ๓๙


ลมไหวใบไม้สงบ

คือความว่าง ว่างจากสังขารการปรุงแต่ง ว่างจากการให้สาระ ว่างจากการ คิดว่าจริง ว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีคนสัตว์สงิ่ ของ พยายามฝึกให้พบความ ว่างจากการปรุงแต่งทุกชนิดให้มากๆ แต่ อ ย่าว่างแบบสมถะ ว่างแบบ สมถะคือไม่มมี จิ ฉาทิฐหิ รือความเห็นผิดให้ฝึกทาลาย คืออยู่ ๆก็ทาสติให้ ว่ า งขึ้น มาเฉยๆ แบบนั ้น เป็ นสมถะ ว่ า งแบบวิปั ส สนาต้ อ งว่ า งจาก มิจฉาทิฐิ มีมจิ ฉาทิฐใิ ห้สติฝึกดับ ต้องระวังในข้อนี้ให้ดๆี ต่อมาเมื่อฝึ กสติดบั ความเห็นผิด หรือความเห็นที่คลาดเคลื่อน จากความจริงได้สาเร็จจะพบความว่าง เมื่อพบความว่าง ให้ทดลองมีสติ เพ่งในความว่าง เพ่งหาความรูส้ กึ ว่าทีว่ ่าว่างนัน้ มันว่างแบบยังมีตวั กูหรือ ว่างโดยไม่มตี วั กูของกู ตรงจุดนี้ค่อยๆทาไปฝึกไป เพือ่ จะได้เป็ นบาทฐาน ในการฝึ กขัน้ ตอนที่สามต่อไป ซึ่งขัน้ ตอนที่สามคือขัน้ ตอนฝึกสติทาลาย ความรู้ สึก ว่ า มีต ั ว กู อ ย่ า งเดี ย ว ขัน้ ตอนที่ ส ามนี้ จ ะไม่ ต้ อ งฝึ ก อะไ ร นอกเหนือจากการฝึกเวลามีตวั กูผุดมาก็สร้างสติดบั ให้ได้ดบั ให้เป็ นดับให้ เก่ง ซึง่ เป็ นขัน้ สุดท้ายทีจ่ ะทาให้สน้ิ สุดทุกข์ได้ในทีส่ ุด

เห็นปฏิกริ ิยา(ธรรมปวัตติ)ทุกชนิดเป็นอดีต(อตีตํ) ย่อมเห็น ความไร้สาระ(อสารกัฏเฐนะ) ความว่างจากตัวตน(อนัตตา) ความไม่มีอยูจ่ ริง(อภูตํ) ความเป็นของปลอม(อตจฺฉํ) ความสิ้นไปไม่เหลือเศษ(ขยัฏเฐนะ)

๔๐


สมสุโขภิกขุ

ถ้าพูดว่าไม่มีตนตั้งแต่เดี๋ยวนี้ ก็คงจะรู้สึกว่าไม่จริง ได้แต่พูดตามเขาไป หรืออย่างดีที่สุดก็พูดไป เพราะเคารพพระพุทธเจ้า ที่ท่านตรัสว่า ไม่มีตวั ตน ก็ว่าไปก่อน แต่ในใจนั้นก็รสู้ ึกว่า มีตัวตนอยู่เสมอ ดูๆเป็นเรื่องน่าหัวก็ได้ น่าสงสารก็ได้ เป็นคนแล้ว ก็มาสอนกันถึงเรื่อง ให้รู้ว่าไม่ใช่คน มันยากที่จะเข้าใจ แก่คนทีห่ ลง ในความเป็นคน

๔๑


ลมไหวใบไม้สงบ

อตัมมยตา พอแล้วโว้ย กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย ปุจฉา..... วลี ที่ หลวงปู่พุทธทาส ให้ไว้ “กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย” คือ ไม่ เอาอะไรกับ อะไรทัง้ สิ้น กับ ขัน ธ์ 5 โดยเฉพาะอารมณ์ ความรู้ส ึกทิฏ ฐิ ความคิดความเห็นหยาบกลางละเอียดประณีตที่ผุดเกิดขึน้ ยังไม่ได้ค้น ที่มาของอุบายนี้ ขอเมตตาหลวงพ่ออธิบายเลยเพราะกาลังทดลองดับ ทุกข์แล้ววลีน้ี โดนใจ กราบนมัส การมาด้ว ยความเคารพยิ่ง เคยพบหลวงพ่อ ที่ส วน โมกข์ไพศาลีเมื่อสี่ห้าปี ท่ีแล้ว เจ้าค่ะ ตอนนัน้ โง่มากดื้อมากสงสัยมาก ไม่ได้ประโยชน์ จาได้แต่ว่าหลวงพ่อเป็ นพระที่มเี มตตามาก ติดตามทาง เฟสอยู่ขอบพระคุณเจ้าค่ะ วิ สชั นา..... "กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย" เป็ นความรูส้ กึ ทีจ่ ะเกิดขึน้ เองหลังจาก รู้ต ามความจริง ในระดับที่เห็นแจ้งอย่างแท้จริง เช่น รู้ต ามความจริงว่า สรรพสิง่ มันเป็ นของไร้สาระของไม่จริงของหลอกลวงเป็ นอดีตทัง้ นัน้ จึงไม่ มีใครเป็ นเจ้าของ จึงไม่มตี วั ตนคนสัตว์ทท่ี าไม่มตี วั ตนคนสัตว์ทถ่ี ูกทา ทุก สิง่ ที่เกิดมันดับไปแล้วหายไปแล้ว เป็ นอากาศธาตุไ ปแล้ว ใครปฏิบตั มิ า ถูกทางระลึกได้อย่างถูกทาง ยิง่ ฝึ กยิง่ ทายิง่ ระลึกยิง่ เห็นชัดเห็นแจ้ง จน จังหวะใดจังหวะหนึ่งมันจะเห็นแจ้งจนเกิดความไม่ตอ้ งการไม่อยากได้ ไม่ อยากเวียนว่ายตายเกิดมาพบกับความเหลวไหลไร้สาระในสังสารวัฏอีก แล้วนันแหละมั ่ นจึงจะรูส้ กึ “กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย" ขึน้ มาโดยอัตโนมัติ กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ยต้องให้มนั เกิดเอง แต่การระลึกตามความจริงคือ สิ ่ง ที ต่ ้ อ งฝึ กต้ อ งท าต้ อ งสร้ า ง เช่น ฝึ กเลิกให้ส าระไปเรื่อ ยๆ จะรู้ส ึก ๔๒


สมสุโขภิกขุ

“พอแล้วโว้ย ของไร้สาระทัง้ นัน้ โว้ย กูไม่เอากับสิ ง่ ไร้สาระแล้วโว้ย" อย่างนี้เป็ นต้น อุบายทีเ่ ป็ นความจริงทุกๆอุบายล้วนทาให้เกิดความรูส้ กึ สลัดออก หรือ “กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย" ทุกอุบาย เช่นมันเป็ นอดีต ฝึกไปเรื่อยๆ จะเกิดความรูส้ กึ มันเป็ นอดีตแล้วจะไปสนใจใยดีกบั มันทาไม กูพอแล้วไม่ เอาแล้ว เป็ นต้น ข้อสังเกตคืออย่าไปคิดหรือระลึกหรือสร้างความรูส้ กึ หรือท่องกูไม่ เอากับมึงแล้วโว้ยโดยตรง ต้องสร้างปั ญญาก่อนว่าสิง่ นัน้ มันไม่ควรทีจ่ ะ ไปสนใจไปยึดไปให้สาระ หรือจะไม่เอาสิง่ นัน้ เพราะอะไร ถ้าไม่รวู้ ่ามันมี โทษอย่างไรแล้วไปบอกไม่เอากับมัน มันจะกลายเป็ นไม่เอาปลอมๆ ไม่ เอาไปงัน้ ๆ แท้จริงมันยังยึดยังอยากอยู่ ปากไม่เอาแต่ใจไม่รบั รู้ยงั เอา เหมือนเดิม ใครจะลองฝึ ก กูไ ม่ เ อากับ มึ ง แล้ ว โว้ ย ด้ว ยอุ บ ายง่ า ยๆที่สุ ด ทดลองฝึกระลึกว่า “ไร้สาระ" กับทุกสิง่ ทีเ่ ราพบ โดยเฉพาะธรรมะเนิ่นช้า ต้องท่องโน่ นจานี่ไม่หวาดไม่ไหวนัน่ แหละคือสิง่ แรกที่ต้องกูไม่เอากับ ธรรมะเนิ ่นช้าแล้วโว้ย ธรรมะเนิ ่นช้ามันไร้สาระโว้ย นักปฏิบตั ทิ ่ไี ม่ ก้าวหน้า ปฏิบตั มิ าห้าปี สบิ ปี ยส่ี บิ ปี สามสิบปี ทีไ่ ม่ไปไหนสักที ไม่ใช่อะไร เลยนอกจากไม่ทง้ิ ธรรมะทีเ่ นิ่นช้าเหล่านัน้

๔๓


ลมไหวใบไม้สงบ

บทฝึ กทดสอบเพื่อพิ สจู น์ความจริง ทดลองระลึกว่า มันไร้สาระ ระลึกสัน้ ๆแค่น้ี ผลทีไ่ ด้มนั ก็กลายเป็ น “กูไม่เอากับมึง(ของไร้สาระ)แล้วโว้ย" ทันทีใช่หรือไม่ ทดลองระลึกว่า มันเป็ นมายาของไม่จริงของหลอกลวง ระลึกสัน้ ๆ แค่น้ี ผลทีไ่ ด้มนั ก็กลายเป็ น “กูไม่เอากับมึง(ของไม่จริง)แล้วโว้ย"ทันที ใช่หรือไม่ ทดลองระลึกว่า มัน เป็ นอดีต ไปแล้วจบไปแล้วไม่มอี ยู่แล้วเป็ น อากาศธาตุไปแล้วเป็ นขันธ์ในอดีตทุกๆวินาที ระลึกสัน้ ๆแค่น้ี ผลทีไ่ ด้มนั ก็กลายเป็ น “กูไม่เอากับมึง(อดีต)แล้วโว้ย" ทันทีใช่หรือไม่ ทดลองระลึก ว่ า มัน เป็ น ปฏิกิริย าไม่ใ ช่ ต ัว ตนคนสัต ว์ มัน เป็ น ปฏิกิริยาทางเคมี ทางชีวะ ทางกลศาสตร์ มัน เป็ น ปฏิกิริยาทางระบบ ประสาทระบบสมองระบบกล้า มเนื้อ มัน เป็ น แค่ ป ฏิกิริย าแค่ ระบบแค่ กระบวนการธรรมชาติ จึงไม่ใช่ตวั ตนคนสัตว์สงิ่ ของ ระลึกสัน้ ๆแค่น้ี ผลที่ ได้มนั ก็กลายเป็ น “กูไม่เอากับมึง(สิ ง่ ไม่ใช่คนสัตว์)แล้วโว้ย" ทันทีใช่ หรือไม่ ยังมีอุบายง่ายๆสัน้ ๆแต่ถ้าตัง้ ใจทาให้จริงๆให้ต่อเนื่อง ไม่ต้องไป งัด ต ารับ ต ารามากมายมาช่ ว ย ก็ ท าให้ ทุ ก คนสามารถเข้ า ใจค าว่ า “อตัมมยตา" หรือแปลเป็ นไทยว่า “พอแล้วกูไม่เอาแล้วโว้ย"ได้อย่าง ทะลุปรุโปร่ง ในเวลาไม่นาน บางทีอาจชัวลั ่ ดมือเดียวก็พบความรูส้ กึ ทีว่ ่า “พอแล้ ว โว้ ย กูไ ม่ ก ับ มึ ง อี ก แล้ ว โว้ ย ” แต่ จู่ๆ เราจะไปคิด ไปท่ อ งไป ภาวนาไประลึกว่า “กูไม่เอากับมึงแล้วโว้ย" ย่อมไม่ได้ เพราะอย่างแรก เลยเราต้องมีเป้ าหมายหรือฐานให้จบั เสียก่อนว่า “เราจะไม่เอาอะไร" และเท่านัน้ ยังไม่พอต้องรูจ้ กั สาวไปถึงต้นตอว่า ทีจ่ ะไม่เอาหรือไม่ตอ้ งการ ๔๔


สมสุโขภิกขุ

สิง่ นัน้ เพราะอะไร พอได้สงิ่ ที่จะไม่เอาและไม่เอาเพราะอะไร เราจึงค่อย เริม่ ฝึกระลึก สิง่ ทีจ่ ะนามาระลึกมิใช่ระลึกว่ากูไม่เอากับมึงอย่างทีเ่ ข้าใจกัน ต้องมีสติระลึกอุบายชอบอุบายใดๆก็แล้วแต่ ทีร่ ะลึกแล้วทาให้ความรู้สกึ “พอแล้วกูไม่เอาแล้ว” เกิดขึน้ มา ตัว อย่ า งเช่ น พระพุ ท ธเจ้า ตรัส ว่ า “สาระไม่ มี ใ นเบญจขันธ์” อุบายนี้ใช้ได้ครอบจักรวาล เมื่อเราต้องการจะไม่เอาแล้วโว้ยสิง่ ใดก็ตาม จึงต้องเห็นความไร้สาระของสิง่ นัน้ ให้ได้ เห็นความไร้สาระด้วยการระลึก ว่ามัน ไร้สาระๆๆๆ บ่อยๆ จนเกิดความรู้สกึ ถึงความไร้สาระของสิง่ นัน้ ต้องทดลองทาจริงๆดู ระลึกว่ามันไร้สาระนี่คอื ระลึกตามความจริง เพราะ สรรพสิง่ มองให้ดีมนั เป็ นสิง่ ไร้สาระทัง้ นัน้ เมื่อระลึกจนเห็นความไร้สาระ มันจึงเกิดความรู้สกึ เลิกให้สาระสิง่ นัน้ ตามมา จนรู้สกึ เห็นแจ้งว่าสิง่ นัน้ ๆ มันเป็ นสิง่ ไร้สาระสุดๆเหลือที่จะกล่าว ความรู้สกึ “พอแล้วกูไม่เอากับ มึงแล้วโว้ย" มันจึงจะเกิดตามมา ถ้าใครไปท่องไปคิดว่ากูไม่เอากับมึง แล้วโว้ย โดยไม่เห็นว่าสิง่ นัน้ มันไร้สาระ ย่อมเป็ นได้แค่สมถะ เป็ นแค่เอา คาว่ากูไม่เอาแล้วโว้ยมาบริกรรม เป็ นเรื่องยากทีจ่ ะทาให้เกิดความเบื่อ หน่ ายจางคลายสลัดหลุดจากสิง่ นัน้ ๆ ต้องรู้ตามจริงให้ได้ก่อนว่า จะไม่ เอา ไม่เอาเพราะอะไร พอรูค้ วามจริงว่า เพราะไม่มีสาระ เพราะเป็ น ขันธ์ในอดีต เพราะมันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ ไม่ใช่มีตวั ตนอยู่จริง เป็ นมายา เป็ นของปลอม เป็ นของหลอกลวง ฯลฯ อุบายต่ างๆมี มากมายที่จะนามาระลึกเพื่อให้เกิดความรู้สกึ “พอแล้ว กูไม่เอากับมึง แล้ว" จึงจะเกิด และจึงจะได้ประโยชน์อย่างแท้จริงสาหรับการปฏิบตั ติ าม ธรรมะข้อนี้

๔๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ต้องฆ่า “ความรู้สึกว่ามีตวั กูของกู” ให้สิ้นซาก เกิ ดแล้วโตแล้วตายแล้วเกิด แล้วโตแล้วตายแล้วเกิด ไร้สาระสิน้ ดี พอแล้ว ไม่เอาแล้ว ไม่เกิดไม่ตายอีกแล้ว กูไม่เอากะมึงแล้วโว้ย ของจริ ง ตามชื่อ ที่เ รีย กมัน ไม่ ม ี มีแ ต่ ป ฏิกิริย า อะไรๆก็ เ ป็ น ปฏิกริ ยิ าทัง้ นัน้ ปฏิกริ ยิ าในอดีต ขันธ์ในอดีต ไม่มจี ริงตามสมมุตเิ ลย เป็ น มายาเป็ นของไม่จริงเป็ นของหลอกลวงทัง้ นัน้ จะไปยึดว่ามันมีจริงๆทาไม พอแล้ว ไม่เอาแล้ว ของไม่มอี ยู่จริงไม่ใช่ของจริงจะไปเป็ นเจ้าของมัน ทาไม พอแล้ว “กูไม่เอากะมึงแล้วโว้ย” ตัวกูของกูมนั มีทไ่ี หน พอแล้วไม่ เอาแล้ว เลิกคิดว่ามีกูได้แล้ว เลิกมีกูเสียทีโว้ย ไม่ใช่ตวั กูของกูโว้ย มันมี แต่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ กระแสธรรมชาติ กระบวนการธรรมชาติไม่ใช่มีตวั กูของกู “พอแล้วไม่เอาแล้ว ไม่มีตวั กูของกูอยู่ที่ไหนแล้วโว้ย” ความจริงของธรรมชาติ คือ มันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ ทงั ้ นัน้ มันเป็ นอดีตทัง้ นัน้ มันไม่ใช่ของเราของเขาของใครทัง้ นัน้ มันไม่มีอยู่จริงอย่างทีค่ ิ ดทัง้ นัน้ มันไม่มีแก่นสารทัง้ นัน้ มันไร้สาระทัง้ นัน้ เป็ นมายาเป็ นของหลอกลวงทัง้ นัน้ มันเป็ นกระบวนการทางธรรมชาติ ทงั ้ นัน้ มันเป็ นธาตุมนั เป็ นขันธ์ทงั ้ นัน้ ฯลฯ ๔๖


สมสุโขภิกขุ

วิ ธีทิ้งสมมุติอย่างรวดเร็วและง่ายๆคือ ฝึ กระลึกทัง้ วันทัง้ คืนตลอดเวลาว่า ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ อะไรเกิด ขึน้ มาก็ระลึกว่า "ปฏิ กิริยาธรรมชาติ " ต้องทาไว้ในใจจนเห็นแจ้งตามจริ งให้ได้ว่า มันเป็ นปฏิ กิริยา ธรรมชาติ จ ริ ง ๆ ที ส่ มมุ ติ ว่ า มัน เป็ นนั น่ เป็ นนี ่ม นั ไม่ ใ ช่ ค วามจริ ง ธรรมชาติ น้ ี แท้จริงมันมีแต่ปฏิ กิริยาธรรมชาติ ใครไม่ ส ามารถยอมรับ ว่ า ทุ ก สิ่ง ที่ เ กิ ด ล้ ว นแต่ เ ป็ นปฏิกิ ริย า ธรรมชาติทงั ้ นัน้ นัน่ คือผูน้ นั ้ มีอวิชชาแรงกล้ามาก จึงอาจต้องใช้วปิ ั สสนา ญาณให้มากๆ ลองใคร่ครวญดูท่ีเห็นว่าเป็ นคนสัตว์หรือสมมุติใดๆนัน้ ความจริงมันเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่างหนึ่งใช่หรือไม่ มีอะไรที่ไม่ใช่ ปฏิกริ ยิ าบ้าง ไม่มเี ลย แต่ ถ้าถามว่ามีอะไรที่เป็ นคนบ้าง ที่ว่า เป็ น คน มัน คือ คนจริงๆ หรือว่ามันแค่เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ต้องทาความเข้าใจจนรูต้ ามจริงให้ได้ ว่าคนหามีไม่ท่มี คี อื ปฏิกริ ยิ าหลายๆอย่างรวมหน่ วยกันอยู่ สัตว์ก็ไม่มมี ี แต่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ นาม รูป ความดีความเลว ความว่าง ความวุ่น การ ปล่อยวาง วิปัสสนา สมาธิ การเพ่ง การระลึก การภาวนา ร้อยคาร้อย ความหมายทัง้ ทางโลกทางธรรม ที่มนุ ษย์คดิ ว่ามีอยู่จริงๆ เป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ที่แท้มนั คือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเท่านัน้ เอง ใช่หรือไม่ สมมุตจิ งึ เป็ น ของหลอกลวง ไม่ใช่ของจริง เพราะอะไรๆล้วนแต่เป็ นปฏิกริ ิยาธรรมชาติ รูต้ ามจริง ระลึกตามจริง คือระลึกว่า "ปฏิ กิริยาธรรมชาติ " ลองทาทัง้ วัน ทัง้ คืนดู ก็จะรูเ้ องว่าการระลึกตามจริงมีประโยชน์หรือไม่มปี ระโยชน์ หมายเหตุ อุ บ ายอื่น ๆก็เ ช่ น กัน น ามาฝึ กระลึกเพื่อ ทิ้ง สมมุ ติได้ ทัง้ นัน้ เช่นระลึกว่ามันเป็ นอดีตทัง้ นัน้ มันเป็ นของไร้สาระทัง้ นัน้ ต้องทา ๔๗


ลมไหวใบไม้สงบ

จึงจะรูด้ ว้ ยตนเองว่าวิธที ง้ิ สมมุตทิ ง้ิ อย่างไร ทิง้ สมมุตแิ ล้วเกิดอะไรขึน้ แต่ อย่าทาเป็ นแค่เด็กเล่นขายของคือทาแค่ครัง้ สองครัง้ แล้วเลิกทา หันไป ปฏิบตั เิ รื่องไร้สาระเรื่องธรรมอันเนิ่นช้าต่อไป ทาแบบนัน้ มันยากทีจ่ ะก้าว ไปข้างหน้า การนาเอาสมมุตมิ าฝึกปฏิบตั ยิ งิ่ มากยิง่ เนิ่นช้า ต้องฝึกทิ้ง ให้ เหลือใช้เหตุผลน้อยเท่าน้อย ใช้รนู้ ้อยเท่าน้อย ใช้อุบายน้อยเท่าน้อย จน สุดท้ายไม่ตอ้ งใช้อะไรเลย ปฏิ บ ตั ิ ธ รรมถูก วิ ธีไ ม่ ใช่ อ ยู่ที ต่ ้ อ งรู้ม ากๆ แต่ อ ยู่ที ต่ ้ องทิ้ ง มากๆต่ างหาก ถ้าใครตัง้ แต่ ฝึกมาไม่เคยฝึ กทิ้ งอะไรเลยสัก อย่าง นัน่ เสียเวลามานานโขเหลือเกิ นแล้ว เปลีย่ นวิ ถีปฏิ บตั ิ เสียใหม่ยงั ไม่ สายเกิ นแก้สาหรับผู้กล้าทีจ่ ะเปลีย่ น

ปฎิบัติธรรมไม่ใช่เรื่องยาก จงฝึกทำให้การปฏิบัตธิ รรมเป็นเรื่องง่าย ที่สามารถฝึกได้ในทุกๆวินาที การปฏิบัตธิ รรมคือการฝึกดับทุกข์ การปฏิบัตใิ ดไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ นั่นเป็นแค่การศึกษาธรรม ไม่ใช่ปฏิบัติธรรม การฝึกสติมิใช่เพื่อดับทุกข์ นั่นเป็นการศึกษาเรื่องสติ การฝึกสมาธิมิใช่เพื่อดับทุกข์ นั่นเป็นการศึกษาเรื่องสมาธิ การใคร่ครวญธรรมมิใช่เพื่อดับทุกข์ นัน่ เป็นการศึกษาธรรมะ มันเป็นแค่การศึกษามิใช่การปฏิบัติธรรม

๔๘


สมสุโขภิกขุ

ปริเฉทที่ ๓ ขั้นตอนทิง้ ความรู้สึกว่ามีตัวกูของกู เมื่อ ผ่านการฝึ กทิ้ง รู้ ทิ้ง อุบาย ทิ้ง ตรรกะ ทิ้ง เหตุ ผล ทิ้ง สมมุติ เรียบร้อยแล้ว สิง่ ที่จะเกิดตามมาเมื่อถึงเวลาก็คอื จะสามารถแยกแยะ ความรูส้ กึ เวลามีตวั กูกบั ความรูส้ กึ เวลาไม่มตี วั กูได้สาเร็จ ขัน้ ต่อไปจึงเหลือเพียงด่านเดียว คือด่านทาลายความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูออกเสียทุกเมื่อ ซึ่งเป็ นด่านสุดท้ายของการปฏิบตั ิ ทาลายความรูส้ กึ ว่า มีตวั กูของกูสาเร็จก็ไม่มกี จิ ใดๆทีจ่ ะต้องทาอีกแล้ว แต่สาหรับใคร ทีย่ งั ทิง้ ได้บา้ งไม่ได้บา้ ง ก็สามารถฝึกทิง้ ความรูส้ กึ ว่ า มีต ัว กู ข องกู ไ ปพร้ อ มๆกับ ทิ้ง สิ่ง อื่น ๆก็ ไ ด้ ขอเพีย งต้ อ งแยกแยะ ความรู้สกึ เวลามีตวั กูกบั ความรูส้ กึ เวลาว่างจากตัวกูให้ได้เสียก่อน จึงจะ ฝึกขัน้ ที่ ๓ ได้ ขอให้สงั เกตการฝึ กขัน้ สุ ดท้ายนี้ จะต้อ งไม่ม ี การคิด การระลึก การใช้สมมุติ การใช้อุบาย การใช้ตรรกะ การใช้เหตุผลใดๆมาร่วมด้วยจึง จะเรียกว่าเป็ นการปฏิบตั ใิ นขัน้ ที่ ๓ แบบสมบูรณ์ ใครทีย่ งั ต้องใช้วธิ รี ะลึก อุบายหรือต้องอธิบายเหตุผลประกอบ อาจใช้ได้บ้างในตอนต้นๆแต่ไม่ ควรใช้พร่าเพรื่อ ไม่จาเป็ นอย่าไปใช้ ให้ใช้วิธี เลิกคิด เลิกปรุง หยุดคิด หยุดปรุง หรือ หยุดสัง ขาร ดับสัง ขาร ดับการปรุง ด้วยวิธียุ ติทุกสิ่งทุก อย่าง ไม่เอากับสิง่ ใดๆ ไม่ว่าจะเป็ นธรรมะหรืออธรรม ก็ไม่เอา ไม่ใช้ ถ้า ยังใช้วธิ ปี รุงสิง่ ใดอยู่ ต้องระลึกทันทีว่าอย่าทาอย่างนัน้ วิธีเลิกคิดเลิกปรุงหรือวิธีดบั สังขาร อาจอธิบายยาก ขออธิบาย สัน้ ๆคือ เมื่อเกิดความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูขน้ึ มาเมื่อใด ให้ ทาอย่างไรก็ได้ ดับความรู้สกึ แบบนัน้ ลงไปเสีย ใช้สติ...ใช่ มีสติ...ใช่ แต่มสี ติใช้สติ เพื่อ เลิกคิด เลิกรู้สกึ เวลามีตวั กูผุดขึน้ มาเท่านัน้ โดยไม่ต้องไปเกีย่ วข้องกับ ๔๙


ลมไหวใบไม้สงบ

การปรุงสิง่ อื่นๆ แต่ปรุงแล้วไม่มีความรู้สึกว่ามีตวั กูของกูแฝงอยู่ ถ้า ปรุงแบบนัน้ ก็ปล่อยไป ปรุงต่อไปตามปกติ แต่พอมีความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูผุด ขึ้น มา ต้อ งมีสติหยุด ปรุง ทันที คือ ดับความรู้ส ึกว่ามีต ัวกูทนั ที การดับ เฉพาะความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูจงึ เป็ นเรื่องยากพอสมควร บางคนอาจทาไม่ได้ เพราะไม่รจู้ กั ความรู้สกึ เวลามีตวั กูว่ามันเป็ นอย่างไร จึงต้องฝึก ปริเฉทที่ ๑ ปริเฉทที่ ๒ ให้มากๆจนสามารถแยกแยะความรูส้ กึ เวลามีตวั กูกบั เวลา ไม่ม ีต ัวกูได้สาเร็จ อย่าเพิ่ง ใจร้อ น แต่ ก็อ ย่า เฉื่ อ ยชา ต้อ งพยายามหา ความรูส้ กึ สองอย่างนี้ให้พบให้จงได้ ขัน้ ตอนที่ ๓ ต้องเลิกฝึกเลิกปฏิบตั อิ ย่างอื่น ใครจะก้าวมาถึงขัน้ นี้ได้ ต้องเห็นความไร้สาระ ของสิง่ ต่างๆมากมายก่ายกองพอสมควร ถ้า ใครยังให้สาระกับการปฏิบตั ขิ ห้ี มูราขีห้ มาแห้งอยู่ ย่อมเป็ นการยาก ทีจ่ ะ ทาใจฝึกทิ้งตัวกูอย่างเดียวได้ ปั ญหาของนักปฏิบตั สิ ว่ นใหญ่จงึ อยู่ตรงจุด นี้ คือไปสนใจ ไปให้สาระกับสมมุตบิ ญ ั ญัติ โดยลืมนึกไปว่า สมมุตบิ ญ ั ญัติ คือของปลอม ของไม่จริง ไม่ทาไว้ในใจว่าสมมุติบญ ั ญัติกค็ ือปฏิ กิริยา ธรรมชาติ อย่างหนึ ง่ ไม่เข้าใจว่าสมมุติแม้แตกต่างกันเป็ นแสนเป็ น ล้านคา แต่ วิธีฝึกรู้ตามความจริ งมีหนึ ง่ เดียว คือสมมุติทงั ้ แสนทัง้ ล้านคา ต้องระลึกตามจริ งว่ามันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ เหมือนกัน เสมอกันทัง้ นัน้ เท่านัน้ ยังไม่พอ สมมุติบญ ั ญัติทงั ้ ล้านคาล้วนแต่เป็ นปฏิ กิริยา ธรรมชาติ ทีเ่ ป็ นอดีตไปแล้วทัง้ นัน้ ทุกๆสมมุตบิ ญ ั ญัตทิ ่คี ดิ ขึน้ มานัน่ คือขันธ์ทอ่ี ยู่อาศัยในอดีต ทุกๆวินาทีของทุกคนกลายเป็ นขันธ์ทอ่ี ยู่อาศัย ในอดีตทัง้ หมดทัง้ สิน้ ด้วยเหตุน้ที ุกคนจึงต้องเห็นแจ้งให้ได้ว่า เมือ่ มันเป็ น อดีตไปแล้วมันเป็ นอากาศธาตุไปแล้ว มันจึงไม่มตี วั ตนของสิง่ นัน้ เหลืออยู่ แล้ว การคิดว่ามีตวั ตน หรือคิดว่าเป็ นขันธ์ของเรา เป็ นเรื่องของเรา เป็ น ๕๐


สมสุโขภิกขุ

เรื่องทีเ่ ราทา หรือคิดว่าเรื่องเหล่านัน้ คือความจริงคือของจริง ใครคิดแบบ นัน้ ต้องฝึกมีสติหยุดคิดแบบนัน้ ดับความเห็นผิดแบบนัน้ เสีย คือเห็นเป็ นปั จจุบนั ก็ผดิ เห็นว่าเป็ นตัวเป็ นตนก็ผดิ เห็นว่ามีสาระ ก็ผดิ เห็นว่าเป็ นของเราของเขาก็ผดิ เห็นว่าจริงก็ผดิ เห็นว่าได้ว่าเป็ นว่ารู้ ว่าเข้าใจว่าสงสัยว่าถูกว่าผิดว่าบวกว่าลบก็ผดิ เช่นกัน ซึ่ง ล้วนแต่ตอ้ งฝึก ดับทัง้ นัน้ ฝึกดับความเห็นผิด ดับสังขารทีเ่ จือด้วยอวิชชา หรือดับสัญญา เลวทิฏฐิเลวเพราะธาตุเลว ดับเพื่อเป็ นการฝึ กทิ้งรู้ ทิ้งอุบาย ทิ้งเหตุผล นันเอง ่ จงจาไว้ว่าขัน้ แรกๆอาจระลึกอุบายต่างๆตามที่อธิบายมาได้บา้ ง แต่อย่าให้มาก นาอุบายมาเป็ นไม้ขดี จุดไฟ พอฝึกไปสักพักต้องทิ้งอุบาย เหลือแต่ฝึกมีสติท่ไี ม่อาศัยอุบาย ดับความเห็นผิดๆให้ได้ ตรงจุดนี้ใคร หยุดคิดได้เก่งๆ เวลามาฝึกดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูจะทาได้งา่ ยขึน้ ทดลองฝึ กตามลาดับที่แนะนาดู ผิดถูกก็อย่าไปสงสัยอย่าไปให้ สาระ เดีย๋ วธรรมชาติเขาคลาทางได้เอง เพราะใครมาถึงขัน้ นี้ได้ เรียกว่า เกือบจะไม่มถี ูกผิด ไม่มตี วั ตนคนปฏิบตั แิ ล้ว มันมีแต่ก ารกระทาเกิดขึน้ แต่ผกู้ ระทาไม่ม ี เพราะถ้ารูส้ กึ มีตวั ตนผูก้ ระทาเมือ่ ใดธรรมชาติเขาต้องดับ ตัวตนผูก้ ระทาทันทีโดยอัตโนมัติ ธรรมชาติมนั เป็ นของมันเช่นนัน้ เอง

๕๑


ลมไหวใบไม้สงบ

รู้ตามความจริง สองความหมาย ปัญญาแปลว่ารู้ตามความจริ ง ซึ่งนักปฏิบตั ติ ้องทาความเข้าใจ ให้ละเอียดทุกแง่ทุกมุม โดยเฉพาะปั ญญาจริงๆมีอยู่สองแบบคือ แบบแรก รู้ต ามความจริง จากการคิดหรือระลึก เรียกว่ารู้ต าม ความจริงด้วยการปรุงแต่ง ไม่ว่าจะใช้วธิ ปี รุงแต่งแบบใด ถ้าการปรุงแต่ง นัน้ ทาให้เกิดปั ญญาเรียกว่า รูต้ ามความจริงด้วยวิธปี รุงแต่งสังขาร ปั ญญา แบบนี้ไม่ใช่ปัญญาโลกุตตระ ไม่ใช่ปัญญาทีจ่ ะทาให้หลุดพ้น จาไว้งา่ ยๆมี การคิดการปรุงการกระทาปฏิกริ ยิ าใดๆแล้วทาให้เกิดความรู้ แม้จะรูต้ าม ความจริงก็ยงั ไม่ใช่ปัญญาเพือ่ ความหลุดพ้น แบบที่ สอง ปั ญ ญาที่จะทาให้หลุดพ้น เป็ น การรู้ตามความจริง จากการเลิกคิด เรียกตามภาษาพระเรียกว่ารูด้ ว้ ยวิธดี บั สังขาร คือเลิกคิด เลิกปรุงเลิกระลึก จึงเกิดปั ญญาชนิดนี้ ซึ่งหลายคนอาจงุนงงสงสัยว่าไม่ คิดไม่ป รุง จะเกิดปั ญ ญาได้อ ย่างไร จงเก็บความสงสัยไว้ก่อ น แล้วมา ทดลองฝึกดับสังขาร ดับคิด ดับปรุงดู แล้วพิจารณาให้ดๆี ว่าสามารถสร้าง ปั ญญาแบบนี้ขน้ึ มาได้จริงไหม ปั ญ ญาแบบแรกทุ ก คนรู้จ ัก และใช้กัน อยู่เ กือ บตลอดเวลา แต่ ปั ญญาแบบทีส่ องมีความสาคัญมากกว่า แต่น้อยคนนักที่จะรู้จกั บางคน อาจไม่เชื่อว่ามีจริงหรือคิดว่าเป็ นไปไม่ได้เสียด้วยซ้า ใครไม่เชื่อจึงไม่คดิ จะทดลองฝึกเลยหมดโอกาสรับรูถ้ งึ ความมีอยู่จริงของปั ญญาประเภทนี้ มาดูปัญญาประเภทแรกที่ทุกคนรู้จกั กันดีก่อน คือ ปั ญญาที เ่ กิ ด จากการปรุงแต่ง การปรุงชนิดทีส่ าคัญก็คอื การคิด จะคิดคานึงคานวณ ธรรมะเรื่องใดแล้วเกิดความรูค้ วามเข้าใจในองค์ธรรมนัน้ ๆ โดยทัวไปเขา ่ เรียกว่าเกิดปั ญญา และหลายคนเข้าใจผิดคิดว่าปั ญญาชนิดนี้คอื ปั ญญา ๕๒


สมสุโขภิกขุ

ทีจ่ ะทาให้หลุดพ้น แต่ความจริง ปั ญญาทีเ่ กิดจากการคิดไม่สามารถทาให้ หลุดพ้นได้ แต่ปัญญาประเภทนี้ก็มปี ระโยชน์ พระพุทธเจ้าจึงจัดให้ศึกษา เรียนรู้เพือ่ จะได้ร้จู กั มิจฉาทิ ฐิ เพราะเมือ่ รูจ้ กั มิจฉาทิฐแิ ล้ว พอมิจฉาทิฐิ เกิด จะได้ใช้สมั มาสติดบั มิจฉาทิฐนิ นั ้ ๆเสีย นั ก ปฏิบัติต้ อ งท าความเข้า ใจให้ดีๆ จึง ขอยกตัว อย่ า งปั ญ ญา ประเภทนี้มาสักหนึ่งตัวอย่าง เช่น พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า โลกว่างเปล่า จากตัวตน ธรรมชาติ น้ ี ไม่มีสิง่ ใดมีตวั ตน ไม่มีสิง่ ใดเป็ นของตน ที่ คิดว่ามีตวั ตนหรือมีตวั กูคอื คิดผิด คิดว่าสิง่ ใดเป็ นของตนก็คดิ ผิด เพราะ สิ่ง ที่คิด ว่ า เป็ น ตัว ตนคนสัต ว์นัน้ แท้ท่ีจ ริง มัน เป็ น เพีย งปฏิกิริย าทาง ธรรมชาติ ที่ไ ม่ ใ ช่ ต ัว ตน เป็ น ปฏิกิริย าถี่ยิบ ที่เ กิด จากธาตุ ต่ า งๆ ท า ปฏิกิรยิ ากันอย่างต่อเนื่องไม่ขาดสาย จึงไม่ใช่ตวั ตน ไม่ใช่ตวั กู ตัวใคร ใครระลึกได้เช่นนี้จะเห็น หรือเข้าถึงความรู้สกึ ว่ามีตวั กูมนั หายไป มันมี ความรู้สึก ว่ า งจากตัว ตนจริง ๆ คือ คิด ตามปรุ ง ตามระลึก ตาม จนเกิด ความรูข้ น้ึ มาว่า มันไม่มตี วั ตนมันไม่ใช่ตวั ตน แต่มนั เป็ นกระแสธรรมชาติ เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ เป็ นขันธ์ในอดีตไม่ใช่ตวั เราตัวเขาตัวใคร อย่างนี้ เป็ นต้น เดิมเลยไม่มคี วามรู้เรื่องนี้ พอมาปฏิบตั ธิ รรม และทดลองระลึก ชอบ จนเกิดความรู้สกึ ว่างจากตัวตนขึน้ มาจริงๆ จึงเกิดปั ญญาเข้าใจว่า มันไม่ใช่ตวั เราของเราจริงๆ มันเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าต่างๆจริงๆ ปั ญญาแบบนี้ คือปั ญญาทีเ่ กิดจากการปรุง หรือปั ญญาทีม่ ขี น้ึ เพราะสังขารอย่างใดอย่าง หนึ่ง แต่ปัญญาประเภทนี้ หาใช่ปัญญาที่จะทาให้หลุดพ้นได้ไม่ เพราะ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ จะหลุดพ้นได้ ต้องรู้จกั สังขาร รู้เหตุเกิ ดสังขาร และรู้วิธีดบั สังขาร จนสุดท้ายดับสังขารได้ ดับสังขารเป็ น ชนิ ดไม่มี เศษเหลือ นัน่ แหละจึงจะถึงความหลุดพ้นได้ แม้ความรู้ชนิดนี้จะรู้ลกึ รู้ ๕๓


ลมไหวใบไม้สงบ

จริง คือ รู้ส ิ่ง ที่เ กิด เกิด เพราะ ปฏิกิริย า จึง ไม่ม ีต ัว ตนไม่ใ ช่ ตัวตนยึดถือเป็ นตัวตนไม่ได้ รู้ แจ้งเห็นจริง เข้าใจถ่องแท้จาก การฝึ ก ระลึก ชอบด้ ว ยอุ บ าย ชอบอุบายใดๆก็ตาม แต่มนั ก็ ยังเป็ นความรูท้ เ่ี กิดจากสังขาร ความคิด อยู่ดี หาใช่ ค วามรู้ท่ี เกิดจากการดับสังขารหรือดับ ความคิดไม่ ด้วยเหตุน้ี จึงต้อง ศึกษาลึกขึน้ ไปอีกหนึ่งขัน้ คือ ศึกษาว่าปั ญญาที่เกิดจากการ ดับสังขาร หรือดับความคิด หน้าตามันเป็ นอย่างไร ปั ญ ญาประเภทแรก เป็ นปั ญ ญาที่ ต้ อ งปรุ ง แต่ ง ขึ้น มาจาก ความคิดความรูส้ กึ หรือการระลึกก็ตาม มิใช่ไม่มปี ระโยชน์ มันมีประโยชน์ มาก ชนิดทีข่ าดไม่ได้ เพราะปั ญญาชนิดนี้ ทาให้เกิดปั ญญารูจ้ กั ว่าอะไร คือมิ จฉาทิ ฐิ อะไรคือสัมมาทิ ฐิ จึงต้องรูต้ ามความจริงให้ถูกตรง แล้วรู้ อย่างชนิดรวบรัดจนนามาใช้งานได้ ที่ว่าใช้งานได้หมายถึงนามาใช้งาน ด้วยการระลึก จนเกิดปั ญญารูช้ ดั ว่าอะไรคือสัมมาทิฐิ อะไรคือมิจฉาทิฐิ นันเอง ่ ขัน้ ตอนต่อมาพอรูจ้ กั สัมมาทิฐแิ ละมิจฉาทิฐอิ ย่างถูกตรงแล้ว การ ปฏิบัติข นั ้ ต่ อ ไปก็คือ เพ่ ง ดู เ ฉพาะเวลามิจ ฉาทิฐิเ กิด เท่ า นั น้ ต้ อ งทิ้ง สัมมาทิฐไิ ปเลย ให้ฝึกเพ่งดูเฉพาะเวลามิจฉาทิฐเิ กิดแล้วก็ฝึกดับมิจฉาทิฐิ ๕๔


สมสุโขภิกขุ

ให้ได้ ให้เป็ น ให้เก่ง การฝึกแบบนี้ ถือว่าเป็ นแบบฝึกหัดเบือ้ งต้นของการ ฝึก เพราะเป็ นการฝึกดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูนนเอง ั่ เพราะความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูน่ีแหละคือมิจฉาทิฐติ วั สาคัญที่จะต้องฝึ กดับ ให้ได้ให้เป็ น และสุดท้ายการฝึกดับมิจฉาทิฐติ วั นี้ตวั เดียวเพียงพอแล้วทีจ่ ะหลุดพ้นจาก กองทุกข์ ตัวอย่างมีปัญญาแบบแรกทาให้รจู้ กั มิจฉาทิฐิ เช่น เราฝึกระลึก ชอบจนเกิดความรูต้ ามจริงว่า ทุกปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิด มันคืออดีตทัง้ นัน้ มันคือ ของไร้ส าระทัง้ นัน้ มัน ไม่ใ ช่ ข องเราของเขาของใครสัก อย่ า ง มัน เป็ น ปฏิกิรยิ า เป็ นกระบวนธรรม เป็ นมายาเป็ นของปลอมของไม่จริงทัง้ นัน้ พอเรารูต้ ามความจริงจากการระลึกแล้วระลึกอีก ต่อมาเราก็ไม่ต้องระลึก หันมาฝึกเวลาเกิดความเห็นผิด ก็ใช้สติดบั ความรูส้ กึ ผิดๆเสีย เช่นพอให้ สาระก็มสี ติเลิกให้สาระ คิดว่ามันมีอยู่จริงขึน้ มาก็เลิกคิด คิดว่าเป็ นของ จริงของเราของเขาก็มสี ติเลิกคิดอย่างนี้เป็ นต้น นี่คอื ประโยชน์ของปั ญญา ทีเ่ กิดจากการคิด ทาให้เรารูว้ ่าความคิดประเภทใดบ้างเป็ นมิจฉาทิฐิ จะได้ ฝึ กละมิจฉาทิฐนิ นั ้ ๆ ใครยังฝึ กละมิจฉาทิฐแิ บบไร้อุบายไม่คล่อง แรกๆก็ อาจปรุงอุบายช่วยได้ แต่ต้องพยายามหันมาฝึกละมิจฉาทิฐิ โดยไร้อุบาย ให้ได้ และพร้อมๆกันนัน้ ก็พยายามทาความรู้จกั มิจฉาทิฐติ วั สาคัญคือ มิจฉาทิฐิท่ชี ่อื อหังการ มมังการ หรือแปลเป็ นไทยว่า ตัวกูของกู ทา ความรูจ้ กั และฝึกกาจัดมันให้ได้ แรกๆอาจฝึกดับด้วยการปรุงสังขาร คือ ปรุงสติชอบอุบายชอบ มาช่วยดับไปก่อนพอเก่งขึน้ ต้องฝึ กดับมิจฉาทิฐิ ทุกตัวโดยไม่ตอ้ งใช้อุบายให้ได้ ทีต่ ้องดับมิจฉาทิฐติ วั สาคัญโดยไม่ตอ้ งใช้อุบายใดๆก็เพราะ ปกติ คนเราย่อมต้องดาเนินชีวติ ตามหน้าที่ของแต่ละคน ในการดาเนินชีวติ จาเป็ นที่ต้องมีการปรุงแต่งปฏิกริ ยิ าต่างๆนานาเพื่อให้ชวี ติ อยู่รอดอย่าง ๕๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ไม่เ ป็ น ทุ ก ข์ และธรรมชาติน้ี มิใ ช่ ม นุ ษ ย์จ ะมีม ิจ ฉาทิฐิท่ีช่ือ ตัว กูของกู ตลอดเวลา มันมีเป็ นพักๆเป็ นระยะๆ มากบ้างน้อยบ้าง การฝึกดับสังขาร ความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกู จึงดับเฉพาะครัง้ เฉพาะคราว แต่เมื่อดับได้ครา ใด อาจต้องรูจ้ กั วิธปี ระคองสภาวะว่างจากตัวกูให้คงอยู่นานๆ ดังนัน้ ตอน ดับ ความรู้ สึก ว่ า มีต ัว กู ข องกู ไ ด้ แ ต่ ล ะครัง้ ถ้ า หากมีก ารใช้ อุ บ ายมา ประกอบ จะท าให้ไ ปคิด ไปปรุ ง ไปท าสิ่ง อื่น ๆ ในชีวิต จริง ๆไม่ไ ด้เลย เพราะสังขารความคิดจะคิดอะไรทีเดียวซ้อนกันไม่ได้ แต่คดิ ได้ทลี ะเรื่อง เรื่องนี้จบจึงคิดเรื่องอื่นต่อได้ เมื่อมีตวั กูผุดขึน้ มา ตัวกูจะทาปฏิกริ ยิ ากับ ความคิดอื่นๆทาให้เกิดความเห็นผิดๆเต็มไปหมด เราจึงต้องดับเฉพาะ ความรู้สกึ ว่ามีตวั กูเท่านัน้ ความรู้สกึ ความคิดความเห็นและสังขารอื่นๆ สภาวะอื่น ๆที่กาลัง ดาเนินอยู่ เราจะต้อ งปล่อยให้เป็ นไปตามเหตุตาม ปั จจัย ไม่ไปแตะต้อง การฝึกดับตัวกูของกู จึงไม่สามารถใช้ความคิดใดๆ เพิ่ม เติม ขึ้น มาอีก ได้ ต้ อ งใช้ วิธีด ับ ที่ค วามรู้ ส ึก ว่ า มีต ัว กู เ ท่ า นั น้ พอ ความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกูดบั สิง่ ที่ทาที่คดิ ที่ปรุงที่ก่อปฏิกริ ยิ าอย่างอื่น ก็ สามารถดาเนินต่อไป กลายเป็ น การกระทามีอยู่ แต่ (ตัวกู)ผูก้ ระทาไม่ม ี และทาเสร็จก็ไม่มคี วามรูส้ กึ ว่ามีตวั กูหรือใครเป็ นผูร้ บั ผลจากการกระทา เรียกว่าว่างทัง้ ผูท้ าและผูร้ บั ผล ต้องทดลองฝึกดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูหรือ มิจฉาทิฐอิ ่นื ๆประกอบการศึกษาด้วย ฝึ กเลิกใช้อุบาย มาใช้วธิ เี ลิกคิดดู จะเข้าใจในสิง่ ทีอ่ ธิบายมากยิง่ ขึน้ สังขารคือปฏิ กิริยาธรรมชาติ เกิดหรือ ถู กสร้างตามเหตุตาม ปั จจัย ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดตามเหตุปัจจัยขัน้ ต้น ถือเป็ นปฏิกริ ยิ าทีบ่ ริสุทธิ ์ ไม่ม ี บวกลบ มีแต่การกระทาเท่านัน้ ที่เกิดขึ้น แต่ปฏิกริ ยิ าที่ปรุงตามมาจาก ความเคยชิน นัน่ คือปฏิกริ ยิ าที่เป็ นมายา เป็ นของปลอมเป็ นของเก๊เป็ น ของหลอกลวงเป็ นของไม่จริง ๕๖


สมสุโขภิกขุ

เช่นสมมุติช่อื ปฏิกริ ยิ านัน้ เรียกว่า “ปวด” คาว่าปวดนี้คอื มายา เท่านัน้ ไม่พอ อวิชชาธาตุมาทาปฏิกริ ยิ าเพิม่ เติมตามความเคยชินว่า"กู ปวด" กูปวดก็เป็ นมายาเป็ นของปลอม ถ้าเรามีสติระลึกทัน ทดลองระลึก ดูได้ว่า “มันคือปฏิกริ ยิ า” ไม่ใช่ความปวด ไม่ใช่กูปวด อย่างนี้เป็ นต้น หรือ มีสติระลึกว่า ความปวดมันเป็ นปฏิกริ ยิ า ที่เกิดและดับกลายเป็ นอดีตไป แล้วจึงไม่ใช่ของใคร ถ้าเป็ นของใครมันดับสูญไปไม่ได้ จึงเป็ นปฏิกริ ยิ าใน อดีตทีไ่ ม่มเี จ้าของ ความจริงจึงเป็ นขันธ์ในอดีตปวด ไม่ใช่กูปวด ขัน้ ตอน นี้เรียกว่ามีสติชอบดึงอุบายชอบมาใช้ ผลที่ได้รบั ก็คอื จะเกิด ความรู้สกึ ชนิดใหม่ขน้ึ มา กลายเป็ นปวดสักว่าปวด ความรูส้ กึ ชนิดใหม่น้ี คือสภาวะ ว่ า งจากตัว ตนผู้ป วด มัน กลายเป็ น มีป ฏิกิริยาใหม่เ กิด ขึ้น แต่ เ จ้าของ ปฏิกริ ยิ าไม่ม ี ตัวตนของปฏิกริ ยิ าก็ไม่ม ี ความรู้สกึ ว่างจากตัวตนผูก้ ระทาเช่นนี้ น่ีแหละ ที่นักปฏิบตั ติ ้อง ฉลาดในการศึกษาทาความเข้าใจ และฉลาดในการนามาใช้ โดยเมื่อมี ปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ มาในภายภาคหน้า แทนทีเ่ ราจะระลึกชอบ แล้วปรุง อุบายใดอุบายหนึ่งมาจัดการกับปฏิกริ ยิ าทีอ่ วิชชาสร้าง ซึง่ เป็ นสมมุตเิ ป็ น มายาเป็ นของปลอม เราก็ไม่ตอ้ งใช้อุบาย ไม่ตอ้ งใช้ความคิด แต่ใช้วธิ เี ลิก คิดเพือ่ ไม่ปล่อยให้อวิชชามันเข้ามาทาปฏิกริ ยิ าซ้อนตามทีม่ นั เคยชิน เช่น พอปวดปุ๊ บอวิชชามาสมทบเป็ นกูปวดปั บ๊ เราก็มสี ติหยุดปรุงหรือหยุ ด ความรูส้ กึ ว่ากูปวดให้ทนั ไม่ปล่อยให้อวิชชาสร้างตัวกู ผปู้ วด โดยการดับ สังขารทีอ่ วิชชามันเตรียมก่อในทันที ถ้าทาเช่นนี้ได้ มันจะมีประโยชน์คอื ปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์ มันยังทาหน้าทีต่ ่อไปได้โดยปราศจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ของกู จึงไม่มที ุกข์ใดๆเกิดขึน้ ตลอดระยะเวลาทีเ่ ราคุมไม่ให้อวิชชาสร้าง ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูขน้ึ มา แม้ปฏิกริ ยิ าปวดมิได้หายไปแต่ไม่มตี วั กูผู้ ปวดความปวดจึงเป็ นปวดสักว่าปวดไปโดยปริยาย ๕๗


ลมไหวใบไม้สงบ

การปฏิบัติลำดับสุดท้าย ขอให้สงั เกตว่า เมื่อทาตามขัน้ ตอนทีอ่ ธิบายมาแล้ว สักระยะหนึ่ง ปฏิกิริย าในขัน ธ์ท งั ้ ห้า ของทุ ก คน จะแยกให้เ ห็น เด่ น ชัด ว่ ามีป ฏิกิริยา แบ่งเป็ นสองส่วน ส่วนหนึง่ มีสติเป็ นตัวคุมไม่ให้ความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกูผุดขึ้นมา เหตุทไี ่ ม่มปี ฏิกิรยิ าจากอวิชชาแทรกแซง จึงเหมือนไม่มคี วามรู้สกึ ใดๆ เรียกว่าว่างเป็นอากาศธาตุอยู่ภายใน อีกส่วนหนึง่ เป็ นปฏิกริ ยิ าบริสุทธิม์ ขี นั ธ์ทไี ่ ม่มอี วิชชาเจือทาหน้าที ่ ปกติตามเหตุตามปั จจัยแบบว่างจากความรู้สกึ ว่ามีตวั กู แม้จะมีเรือ่ งราว เหตุการณ์ต่างๆดาเนินอยู่ตลอดเวลา เหมือนปฏิกริ ยิ าด้านนอกพัดไหวแต่ ข้างในสงบ ส่วนแรกภายในจึงเสมือนใบไม้ทห่ี ยุดนิ่งส่วนทีส่ องภายนอกจึง เสมือนสายลมทีเ่ คลือ่ นไหว มี “อวิ ชชา” ด้านนอกไหวด้านในก็ไหว หมด “อวิ ชชา” ด้านนอกไหวด้านในไม่ไหว การสร้างสติ ชอบคอยคุมไม่ให้ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูผุดขึน้ มา นี้ ก็เพื่อให้สติชอบทาหน้าทีแ่ ทนปฏิกริ ยิ าเดิมทีเ่ คยมีอวิชชา(ธาตุเลว)ทา หน้าทีอ่ ยู่ แต่เป็ นสติทฝ่ี ึกมาดีแล้วจนหยุดการทางานของอวิชชาได้สาเร็จ จึงทาให้ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดจากขันธ์เป็ นปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์ปราศจากทุกข์ อะไร จะเกิดก็เกิดจากปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์ทีไ่ ม่มอี วิชชา(ธาตุเลว)มาสร้างตัวกูของกู แทรกแซงการทางานของขันธ์ ขันธ์เคยทางานอย่างไรก็ทาอย่างนัน้ แต่ อวิชชาตัวกูของกูหยุดทางาน แต่ปฏิกริ ยิ าด้านในเท่ านัน้ ทีเ่ ปลีย่ นไป คือ

๕๘


สมสุโขภิกขุ

ตอนมี “อวิชชา” ด้านนอกไหวด้านในก็ไหว แต่พอ “อวิชชา” หายไปด้าน นอกไหวด้านในไม่ไหวตาม ชีวติ ณ จุดนี้กจ็ ะเหมือนแบ่งภาคออกเป็ นสองภาค ภาคหนึ่งมีสติ ทาหน้าที่ดบั ธาตุเลวและขวางกัน้ ธาตุเลวไม่ให้ทางาน จึงเป็ นขันธ์ท่วี ่าง จากความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกู ผลตามมาคือว่างจากการให้สาระต่อสรรพ สิง่ ว่างจากการเห็นผิดด้วยประการทัง้ ปวง สภาวะทีว่ ่างอยู่ภายในนี้มใิ ช่ สิง่ ทีไ่ ด้รบั คุณวิเศษใดๆเพิม่ ขึน้ มา หากแต่เป็ นว่างเพราะปฏิกริ ยิ าเลวทัง้ สามทีเ่ ดิมมันทาหน้าทีอ่ ยู่มนั หยุดทาหน้าทีแ่ ละหายไป มันจึงว่างจากธาตุ เลวไม่ใช่ได้ธรรมอันเอกอุอะไรเพิม่ เติมขึน้ มาอย่างทีห่ ลายคนเข้าใจ ส่วน อีกภาคหนึ่งจะมีขนั ธ์บริสุทธิ ์(ขันธ์ท่ไี ม่มอี วิชชาเจือ) ทาหน้าทีข่ องมันทา ปฏิกิรยิ าต่างๆตามเหตุปัจจัย อยู่อย่างนัน้ จงทาความเข้าใจให้ดีว่า แต่ ก่อนที่เราจะมีสติดบั ธาตุเลวออกเสียได้ เราไม่รู้ว่ามันทางานแบบนี้เป็ น ปกติของมันอยู่แล้ว ที่ไม่รู้เพราะอวิชชาสร้างตัวกูของกูมาทาปฏิ กิรยิ า หลอกๆซ้อนทับให้ขนั ธ์เห็นผิดเข้าใจผิด พออวิชชาหายไป สิง่ ปลอมๆ หายไป ความเห็นผิดเข้าใจผิดจะหายตามไปด้วย ทีเ่ หลือจึงกลายเป็ นของ จริง เป็ นธรรมชาติเดิมแท้ทเ่ี หนือ ทุกข์เหนือสุข มีแต่ความเป็ นธรรมชาติ เป็ นธรรมดามีแต่ความเสมอกันของทุกๆสรรพสิง่ โดยมีความว่างจากตัว กูของกูยนื พืน้ เป็ นทางสายกลางทีแ่ ท้จริง ทดลองฝึกแยกสติเป็ นสองส่วน ซีกหนึ่งคอยคุมอวิชชาไม่ให้สร้าง ปฏิกิริย าใดๆ มัน จะรู้ส ึก ว่ า งซีก หนึ่ ง อีก ซีก หนึ่ ง ปล่ อ ยให้ ข ัน ธ์ ห้า ท า ปฏิกริ ยิ าต่างๆตามเหตุตามปั จจัย ซึ่งถึง จุดนี้จะรู้แจ้งเห็นจริง ว่ามันเป็ น การกระทาโดยไม่มผี กู้ ระทา ซีกหนึ่งว่างซีกหนึ่งทางาน รูปเวทนาสัญญา สังขารวิญญาณก็ทาหน้าที่เฉกเช่นขันธ์ตามปกติ ไม่มอี ะไรแตกต่างจาก เดิม ทีต่ ่างจากเดิมจนรูส้ กึ ได้กค็ อื ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู ความรูส้ กึ ว่ามี ๕๙


ลมไหวใบไม้สงบ

สาระความรู้สึกว่าของจริง (และอีกหลายๆความรู้ส ึก ที่แต่ เ ดิม ธาตุ เ ลว สัญ ญาเลวทิฏฐิเลวเป็ นผู้สร้าง)จะหายไป ความรู้สกึ แย่ๆแบบเดิมๆจะ หายไป เหลือไว้แต่ปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์ของธาตุของขันธ์ท่ไี ม่ทาให้ทุกข์เกิด เท่านัน้ ทาหน้าทีอ่ ยู่ ก่อนฝึกแยกสติ เดิมจะมีความรูส้ กึ สองส่วน คือปฏิกริ ยิ าของขันธ์ ห้าทาหน้าที่ต่างๆอยู่ตามเหตุตามปั จจัย และมีการให้สาระในขันธ์หา้ อยู่ ด้วยอวิชชา ปฏิกริ ยิ าต่างๆทีเ่ กิดจึงเป็ นปฏิกริ ยิ าของกูเป็ นสิง่ ทีม่ สี าระและ เป็ นสิง่ เป็ นทุกข์ไปโดยปริยาย หลัง การฝึกพอดับอวิชชาได้ ปฏิกริ ยิ าของ ขันธ์ทงั ้ ห้ายังคงทาหน้าที่ต่างๆตามเหตุปัจจัยเหมือนเดิม แต่ เพราะไม่ม ี อวิชชาจึงไม่มกี ารให้สาระในขันธ์หา้ อีกต่อไป ปฏิกริ ยิ าใดๆทีเ่ กิดต่อไปนี้ จึงเป็ นสักว่าไปหมด และเป็ นสิง่ ไม่เป็ นทุกข์ หาตัวกูให้พบ แล้วคุมกําเนิ ดตัวกูด้วยสัมมาสติ ให้ได้ หาทางทาให้ว่างจากตัวกูของกู แล้วทดลองกับของจริง ด้วยการ ยืนเดินนอนนัง่ โดยขันธ์ซกี หนึ่งว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูอย่างเด็ดขาด ขัน ธ์ซีก หนึ่ ง ท างานของขัน ธ์ไ ป มีป ฏิกิริย าใดๆเกิด ขึ้น ก็ไ ม่ม ีธ าตุ เลว สัญ ญาเลวทิฏ ฐิเ ลวมารับ สมอ้า งว่ า เป็ น การกระท าของกู รวมทัง้ การ กระทาต่างๆที่ขนั ธ์ในอดีตทาไว้ ก็อย่า ให้ตวั กูผุดขึน้ มารับสมอ้างว่าเป็ น การกระทาของกูเด็ดขาด ชีวิตก็จะมีแต่การกระทา ตัวผู้กระทาหามีไม่ ต้องไม่มีตวั กูหรือตัวเราทัง้ ในอดีตปัจจุบนั และอนาคต เกิ ดความรู้สึกว่ามีเราหรือมีกฆู ่ามันทันที เพราะเราไม่มีจึงไม่มีอะไรหรือใครไปรู้สึกว่า เกิ ดแก่เจ็บตายเป็ นของเราของเขาหรือของใคร ๖๐


สมสุโขภิกขุ

ลมไหวใบไม้สงบ เมื่อ ใดก็ต ามที่ส ามารถถอนความรู้ส ึกว่ า มีต ัว กู ของกูอ อกจาก ปฏิกิรยิ าทุกๆปฏิกิรยิ าที่เกิดขึ้น ได้สาเร็จ สภาวธรรมในขณะนัน้ จะเกิด สภาพสองสภาพ คือ ลัก ษณะแรกเป็ น ปฏิกิริย าธรรมชาติแ ท้ๆ ซึ่ง เกิด จากการท า ปฏิกริ ยิ าของธาตุต่างๆทาปฏิกริ ยิ าซึ่งกันและกัน เกี่ยวข้องกัน เกี่ ยวพัน กัน ทาให้เกิดสิง่ ปรุงแต่งชนิดใดชนิดหนึ่งขึน้ มา เราจะเรียกว่าเกิดสังขาร ก็ได้ ปฏิกริ ยิ าส่วนนี้คอื ส่วนทีข่ บั เคลื่อนให้สงั ขารร่างกายและสังขารจิตใจ ดารงชีวติ ต่อไปได้ ลักษณะที่สอง ปกติสงั ขารส่วนนี้หากไม่มกี ารถอนความ รูส้ กึ ว่า มีตวั กูของกูออกเสียจะถูกครอบงาด้วยอวิชชา อวิชชาคือ สิง่ ทีส่ ร้างความรู้สกึ ว่าสังขารนี้มตี วั มีตนหรือเป็ นของ ตน ความรู้สกึ ว่ามีตวั มีตนหรือเป็ นของตน ถือว่าเป็ นปฏิกริ ยิ าชนิดหนึง่ แต่ เ ป็ น ปฏิกิริย าที่อ วิช ชาสร้า งขึ้น มาจากความไม่รู้ คือ ไม่รู้ว่ามัน เป็ น ปฏิกิริย าไม่ใ ช่ ม ีต ัว ตนไม่ใ ช่ เ ป็ น ของตน ความไม่ รู้เ ช่ น นี้ คือ ตัว ท าให้ ปฏิกริ ยิ าทัง้ หลายทัง้ ปวงผิดเพีย้ นไปจากความจริง พอนักปฏิบตั มิ คี วามรู้ และพบวิธถี อนความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนออกเสีย ปฏิกริ ยิ าทีผ่ ดิ ๆชนิดนี้จงึ ถูก กาจัดไป แต่ปฏิกริ ยิ าทีถ่ ูกต้องตรงตามธรรมชาติทเ่ี ป็ นจริง ยังสามารถทา ปฏิกริ ยิ าอยู่ นันคื ่ อปฏิกริ ยิ าทีเ่ ป็ นธรรมชาติแท้ๆยังมีการทาหน้าทีข่ องมัน อยู่เหมือนเดิม จึง เป็ นเสมือนมีการเคลื่อนไหวเป็ นกระบวนธรรม เป็ น กระแสธรรมชาติทดแทนต่อเนื่อง เป็ นไปตามเหตุ ตามปั จจัย ปฏิกิรยิ า ชนิดนี้จะทางานอย่างต่อเนื่องไปจนกว่าจะสิ้นเหตุปัจจัย เปรียบคล้าย

๖๑


ลมไหวใบไม้สงบ

กระแสลมที่พดั ไหวขับเคลื่อนผลักดันให้สงั ขารร่างกายและสังขารจิตใจ ดารงสภาวะอยู่อย่างทีม่ นั ควรจะเป็ น ดัง นั ้น กล่ า วโดยสรุ ป เมื่อ ปฏิกิ ริย าผิด ๆภายในถู ก ก าจัด ไป กลายเป็ นความว่าง ปฏิกริ ยิ าถูก ๆที่อยู่ภายนอกยังคงมีการทาปฏิกริ ยิ า ตามเหตุ ต ามปั จ จัย ต่ อ ไป มิไ ด้ถู ก ก าจัด ตามปฏิกิริย าผิด ๆ และต่ อ ให้ ปฏิกริ ยิ าภายนอกจะวิกฤติรุนแรงขนาดไหน ก็ไม่สามารถทาปฏิกริ ยิ าใดๆ ให้ความว่างภายในหวั ่นไหวได้ ปฏิกริ ยิ าภายนอกจึงเปรียบเหมือนลมที่ พัดซัดส่าย ส่วนความว่างภายในเปรียบเหมือนใบไม้ท่ี สงบนิ่งไม่ไหวติง ต่อสิง่ ใดๆทีม่ ากระทบ สภาวธรรมแบบแรกนี้ เปรียบเสมือนใบไม้ทห่ี ยุดนิ่งอยู่ท่ามกลาง ลมที่พดั ไหว ต่อให้ลมพัดไหวเป็ นพายุแรงกล้าปานใด จะไม่ก่อปฏิกริ ยิ า ใดๆจากแรงที่ถู ก กระท าได้เ ลย เพราะมีส ัม มาสติค อยคุ ม ไม่ ใ ห้เ กิด ความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกู หรือคอยคุมมิให้เกิดการปรุงแต่งมิจฉาทิฐชิ นิด ใดๆขึ้น มาได้ เช่ น ปรุ ง ว่ ามีส าระ เป็ นของจริง เป็ น ตัว ตน ฯลฯ ผู้ท่ีเ ข้า กระแสธรรมชาติชนิดนี้ระดับต้นๆอาจมีสมั มาสติคุมไม่ให้เกิดความรูส้ กึ หวัน่ ไหวชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว แต่ เ มื่อ เข้า กระแสธรรมชาติร ะดับ สู ง ขึ้น ก็ สามารถคุมสัมมาสติสมั มาสมาธิและสัมมาปั ญญา ให้ว่างจากอวิชชา ว่าง จากสัญญาเลว ว่างจากทิฏฐิเลว ว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์หรือ ว่ า งจากมีต ัว กู ข องกู ให้ ด ารงสภาวะว่ า งเช่ น นั ้น อยู่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตลอดเวลา ยิง่ ชานาญมาก ยิง่ ว่างมาก ยิง่ นิ่งมาก ยิง่ สงบมาก ไม่ต่าง อะไรกับใบไม้ทไ่ี ม่ยอมไหวติงต่อกระแสลมภายนอก นักปฏิบตั ทิ พ่ี บสภาพแน่วนิ่งภายในทีไ่ ร้ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู หรือไร้ความเห็นผิดๆ แต่ปฏิกริ ยิ าต่างๆภายนอกที่เคยเป็ นเช่นไรก็เป็ น เช่นนัน้ อยู่ แต่มคี วามแตกต่างจากเดิมคือ แต่เดิมปฏิกริ ยิ าจากภายนอก ๖๒


สมสุโขภิกขุ

เกิดขึ้นเมื่อใด ปฏิกิรยิ าจากภายในจะเข้าไปให้สาระจึง หวั ่นไหวตามไป ด้วยมากบ้างน้อยบ้างทุกครัง้ ไป นัน่ เพราะยังไม่มสี มั มาสติสมั มาปั ญญา รูจ้ กั วิธกี าจัดตัวกูของกูให้หมดไป ต่อมาเมือ่ มีสมั มาสติสมั มาปั ญญา ย่อม รู้ว่ า จะต้อ งท าอย่ า งไรจึง จะก าจัด ธาตุ เ ลวสัญ ญาเลวทิฏ ฐิเ ลว ที่ส ร้า ง ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู ให้สน้ิ ไปได้เสียที สัมมาปั ญญาทีจ่ ะจัดการตัวกู ของกูน้ี มิใช่ปัญญาทีม่ สี ภาพ แต่เป็ นปั ญญาทีไ่ ร้สภาพ นักปฏิบตั ิ จงึ ต้อง ระวังให้ดี ฝึกแค่มสี มั มาสติ ให้ตงั ้ มั ่นจะมีสมั มาสมาธิตามมา มีสมั มาสมาธิ แล้วใช้สมาธิเป็ นฐานรากให้สมั มาสติมกี าลัง พอที่จะดึงสัมมาปั ญญามา ดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูและความรูส้ กึ ว่ามีสาระในขันธ์หา้ ให้ได้ ขอให้สงั เกตขัน้ ตอนตรงจุดนี้ ขณะทีต่ วั กูผุดขึน้ มา ต้องมีสมั มาสติ เพือ่ จะจัดการดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูออกเสีย สตินนั ้ จะว่างจะไร้สภาพ เป็ น แค่ความตัง้ ใจว่าจะจัดการความรูส้ กึ ว่ามีกู ความตัง้ ใจจะกลายเป็ นความ ตัง้ มั ่น ถ้าตัง้ ใจแต่ไม่ตงั ้ มั ่นเพียงพอ จะเกิดปั ญญามาดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ไ ม่ ส าเร็ จ สติ ต้ อ งพอเหมาะจึ ง จะสร้ า งสัม มาสมาธิ ท่ี พ อเหมาะ สัมมาสมาธิพอเหมาะจึงจะเป็ นฐานทีต่ งั ้ ให้ปัญญาทางานได้ ปั ญญาในขัน้ นี้ต้องไม่มกี ารปรุงแต่งใดๆ ไม่ใช่อุบาย ไม่ใช่ความคิด แต่เป็ นปั ญญาที่ไร้ สภาพ สติเพียงพอสมาธิเพียงพอปั ญญาจะเพียงพอเอง ที่ม าที่ไปของ ปั ญญาไร้สภาพเกิดจากความคิดรวบยอดที่ทุกคนฝึ กสติชอบอุบายชอบ มาตัง้ แต่ต้น เมื่อถึงเวลาอุบายชอบจะบีบอัดควบแน่ นกลายเป็ นสัมมา ปั ญญาทีไ่ ร้สภาพเอง และปั ญญาทีไ่ ร้สภาพนี้จะคงสภาพคอยคุมไม่ให้ตวั กูและทิฏฐิเลวอื่นๆผุดขึน้ มาตลอดไปจนกว่าสัมมาสมาธิจะคลายตัว สัม มาสมาธิต ัง้ มัน่ นานสัม มาปั ญ ญาก็ ค งอยู่ น าน สภาวธรรม ประเภทนี้ ก็จ ะว่ า งเย็น สงบอยู่ ท่ า มกลางกระแสปฏิกิริย าธรรมชาติที ่ หวันไหวอยู ่ ่ภายนอกเป็นเวลานานดุจเงาตามตัว ๖๓


ลมไหวใบไม้สงบ

จุดนี้ถ้ายังไม่ใช่ผูห้ ลุดพ้น ที่สมบูรณ์ สมาธิย่อมมีโอกาสคลายตัว ปั ญญาก็จะสลายตัวหายไป จึงต้องเริม่ ต้นทีม่ สี ติตงั ้ ใจดับทิฏฐิเลวคือตัวกู ของกูอกี ครัง้ ซึ่งการฝึกฝนก็จะซ้าๆวนไปวนมาอยู่อย่างนี้จนกว่าจะหลุด พ้นอย่างสมบูรณ์ หลุดพ้นสมบูรณ์จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อ ฝึ กแล้วฝึ กอีกจนสัมมาสติ สัมมาสมาธิเต็มรอบ พอสมาธิเต็มรอบไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน ปั ญญาก็ จะเต็มรอบตามมา ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู หรือสัญญาเลวทิฏฐิเลวก็จะ ดับหายไปอย่างไม่มเี ศษเหลือ ณ เวลานัน้ ณ จุดนัน้ สภาวธรรมภายในก็ จะว่างจากตัวตนโดยสมบูรณ์ ไม่มอี ะไรมาทาให้หวั ่นไหวหรือหลุดไปสร้าง ตัวกูของกูขน้ึ มาใหม่ได้ จึงอุปมาอุปมัยเสมือน แม้ลมจะพัดไหวปานใดแต่ใบพุทธะใบนี้ สงบตลอดกาล ความสงสัยมี ๓ ลักษณะ สงสัยในธรรม สงสัยในทาง สงสัยในอุบาย ธรรมอันใด ทางอันใด อุบายอันใด ดับทุกข์ไม่ได้ ไม่ต้องไปสงสัยว่าดีไม่ดี ใช่ไม่ใช่ ถูกไม่ถูก ไร้สาระอย่าเสียเวลาไปสงสัยมัน ทิ้งไปเลย เพราะมันดับทุกข์ไม่ได้ วิธีสิ้นสงสัย ธรรมใดฝึกแล้วยังมีตัวตนอยู่นั่นไม่ใช่ ธรรมใดฝึกแล้วรู้สึกว่างจากตัวตนนั่นใช่ ธรรมใดฝึกแล้วดับทุกข์ไม่ได้นั่นไม่ใช่ ธรรมใดฝึกแล้วดับทุกข์ได้นั่นใช่

อย่าไปเสียเวลาฝึกธรรมที่ไม่เกี่ยวกับการดับทุกข์ เพราะมันเป็นธรรมไร้สาระ ไร้ค่า ไม่มีประโยชน์

๖๔


สมสุโขภิกขุ

ดาบสุดท้าย อตัมมยตา เลิกคิดแล้วโว้ย สร้างสัมมาสติ ให้ตงั ้ มั ่น สัมมาสมาธิ ให้ตงั ้ มั ่น สัมมาปั ญญา จะเกิ ดตามมาเอง สติไม่ซดั ส่าย สมาธิสงบระงับเป็ นหนึ่งเดียว ความรู้สกึ ว่ามีตวั กู ของกู ผุดขึน้ มาคราใดก็ระลึกว่าพอแล้วไม่เอาแล้ว กับความคิดความรูส้ กึ ใดๆทีเ่ ป็ นความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูเจือปนอยู่ เลิ กคิ ดทันที เลิ กสงสัยทันที เลิ กให้สาระทันที เลิ กคานึ งคานวณทันที เลิ กรู้สึกว่าจริงว่ามีว่าได้ว่าเป็ นทันที ยุตบิ ทบาทการทาหน้าทีข่ องอวิชชา ธาตุเลว สัญญาเลว ทิฏฐิเลว แต่ปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติอ่นื ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับอวิชชา จงปล่อยให้ธาตุ ขัน ธ์ทางานของเขาไป โดยไม่ให้ค่าไม่ให้ราคาไม่ให้ความสาคัญไม่ให้ สาระ ปฏิกริ ยิ าอื่นๆจะเกิดสักว่าเกิด แต่อย่าไปปรุงว่าเป็ นของเราของเขา หรือของใคร หรือปรุงว่าจริงว่าแท้ สัมมาสติควบคุมความว่างจากตัวกูของ กูอยู่ภายในส่วนภายนอกปฏิกริ ยิ าอื่นๆยังมีอยู่ แต่ตวั ตนผูก้ ระทาหามีไม่ ปฏิกิรยิ าสักว่าปฏิกริ ยิ า มันล้วนเป็ นแค่สมมุตแิ ค่มายาแค่ของปลอมแค่ ขันธ์ในอดีต อะไรจะดับจะปรุงมันเป็ นธรรมชาติของมันเช่นนัน้ เอง ไม่ม ี สาระไม่ใช่ของจริงหรือของกูหรือของเขาหรือของใคร ทาไว้ในใจเช่นนี้ ตลอดเวลาเลิกคิดว่ามีตวั กูอยู่จริงๆอย่างเดียว เพียงพอแล้วสาหรับดาบ สุดท้ายทีจ่ ะต้องฝึกต้องปฏิบตั ิ

๖๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ปฏิ บตั ิ ธรรมด้วยการคิ ด ทาให้เครียด บีบอัด กดดัน ปฏิ บตั ิ ธรรมด้วยการระลึก ไม่มเี ครียด ไม่มบี บี อัดกดดัน มีแต่ ความโปร่ง โล่ง เย็น ว่าง เบา สบาย ไม่เชื่อลองระลึกคาว่า"ไร้สาระ" หรืออุบายชอบคาใดก็ได้จะเห็นได้ชดั เจนเลย สัมผัสอะไรไร้สาระให้หมด จะพบแต่ความว่างเย็นเบาสบายหายเครียดหายกดดันหายทุกข์หายโศก ทีเ่ ป็ นเช่นนี้เพราะการระลึกคือใช้ความจริงเพือ่ ทาให้เห็นแจ้งความจริง ความจริงทาให้เย็นไม่ร้อน แต่ถ้าเป็ นคิ ด คือการนาของปลอมมา ปรุง จะมีแต่ความร้อน เพราะไม่รตู้ วั ว่าเอาของปลอมมาปฏิบตั ิ จึงอึดอัด ขัดเคือง เครียด ปวดหัว ว้าวุ่นใจ เพราะของปลอมทาให้ร้อน หน้ าที่นักปฏิ บตั ิ คือต้องทาความรูค้ วามเข้าใจในสองประเด็นนี้อย่างไม่มขี อ้ สงสัย หรือข้อกังขา คือหนึ่งรูค้ วามจริงว่า “มันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ " สองคือ รู้ความจริงว่า สมมุติบญ ั ญัติเป็ นมายา เป็ น ของปลอม เป็ นของหลอกลวง เป็ นของไม่จริง และต้องรูล้ กึ ไปอีกว่าทุกๆปฏิกริ ยิ าที่เกิดขึ้นนัน้ ความจริงมันเกิด ตามเหตุตามปั จจัยใครเป็ นเจ้าของไม่ได้ และไม่มตี วั ตนโดดๆ มันต้อง เป็ นปฏิกริ ยิ าร่วมกันของธาตุตา่ งๆ ในปริมาณต่างๆกัน จึงจะเกิดปฏิกริ ยิ า ชนิดหนึ่งๆได้ เมื่อเกิดปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่างหนึ่งขึน้ มา มันต้องเกิดโดย สมบูรณ์และดับไปโดยสมบูรณ์เรียบร้อยแล้วเท่านัน้ วิญญาณธาตุจึงจะ สามารถรับรูป้ ฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ วิญญาณธาตุไม่สามารถรับรูป้ ฏิกริ ยิ าก่อน

๖๖


สมสุโขภิกขุ

เกิดหรือขณะเกิดได้ ต้องดับไปแล้วอย่างน้อย 0.08 วินาที วิญญาณจึงจะ รูว้ ่ามีปฏิกริ ยิ าอะไรทีเ่ กิดขึน้ ความจริงประการต่อมาก็คอื เมื่อวิญญาณธาตุรู้ว่าเกิด ปฏิกริ ยิ า ใดๆ ถ้าวิญญาณธาตุนนั ้ เป็ นวิญญาณทีถ่ ูกอวิชชาห่อหุม้ อยู่ จะไม่ มที างรู้ ตามความจริง คือจะไม่รู้ว่าสิง่ ที่เกิดเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างหนึ่ง เท่านัน้ และเพราะไม่รู้ความจริงเช่นนี้น่ีเองทาให้วญ ิ ญาณธาตุท่เี จือด้วย อวิชชาเห็นผิดเพีย้ นไปจากความจริง คือไม่เห็นไม่คดิ ไม่รสู้ กึ ว่าสิง่ นัน้ เป็ น ปฏิกริ ยิ า แต่กลับไปคิดไปรูส้ กึ ไปจดจาไปสาคัญหมายว่าสิง่ นัน้ เป็ นสิง่ ใด สิง่ หนึ่งตามสมมุติ แล้วยึดถือเอาว่าสมมุตคิ อื ความจริง ยึดถือเอาว่ามีสงิ่ นัน้ สิง่ นี้อยู่จริงๆเป็ นสิง่ นัน้ สิง่ นี้จริงๆตามคาทีเ่ รียกขาน ตัวอย่างเช่ น ธาตุ ดิน น้ า ลมไฟและวิญ ญาณธาตุ ท าปฏิกิริยา อย่างสลับซับซ้อนเป็ นสังขารที่มชี วี ติ ขึน้ มา มองแบบรู้ ตามความจริงมัน คือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเท่านัน้ เอง แต่วญ ิ ญาณธาตุทเ่ี จือด้วยอวิชชาไปตัง้ สมมุตชิ ่อื เรียกว่า คน สัตว์ หมู หมา กาไก่ ผูช้ าย ผูห้ ญิง ฯลฯ ของจริง หรือความจริงคือเป็ นปฏิกริ ยิ าของธาตุต่างๆ ของปลอมคือสมมุติบญ ั ญัติ ที่ตงั ้ ขึ้นมาเพื่อเรียก แต่วญ ิ ญาณที่ถูกอวิชชาครอบงามิได้คดิ ว่ามันเป็ น ปฏิกิริยา กลับปั กใจเชื่อว่าสิ่งนัน้ คือคนสัต ว์หมูหมากาไก่ ผู้ชายผู้หญิง ฯลฯ นี่คอื ตัวอย่างการไม่รตู้ ามความจริง และการไม่รตู้ ามความจริงนี่เอง คือต้นเหตุของความทุกข์ทุกชนิดในธรรมชาติ เห็นผิ ดเขาเรียกทิ ฏฐิ เลว สําคัญหมายผิ ดเขาเรียกสัญญาเลว สองสิง่ นี้คอื ต้นตอของความทุกข์ และมีสาเหตุมาจากวิญญาณธาตุท่ถี ูกครอบงาด้วยธาตุเลวหรืออวิ ชชา ธาตุนัน่ เอง และสิง่ ที่น่าอัศจรรย์ใจอย่างยิง่ ก็คอื การไม่รู้ตามความจริง คือ ไม่รู้ว่าความจริง คือ ปฏิกิริยาธรรมชาติ และไม่รู้ความจริง ว่าสมมุ ติ บัญญัตเิ ป็ นของปลอม สองสิง่ นี้คอื ต้นเหตุแห่งทุกข์ ถ้าไม่อยากทุกข์ หรือ ๖๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ต้องการกาจัดทุกข์ นักปฏิบตั ไิ ม่ตอ้ งทาอะไรมาก ไม่ต้องรูอ้ ะไรมาก แค่รู้ ว่าทุกสิง่ (นอกจากนิพพาน)คือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติคอื ความจริง รูว้ ่าสมมุติ คือของปลอมคือความจริง รู้ว่าที่คดิ ว่าจริง คิดว่ามันเป็ นของกู คิดว่ามัน เป็ นปั จจุบนั คือความเข้าใจผิด คือความเท็จ ความหลอกลวง รูต้ ามความ จริงเหล่านี้ แล้วนาความรูข้ อ้ นี้ไปฝึกระลึกตามความจริง อย่างอะไรจริงก็ ระลึก ตามจริ งว่ามันจริ ง อะไรปลอมก็ระลึกตามจริ งว่ามันปลอม ระลึกตามจริงเช่นนัน้ รูต้ ามความจริงและระลึกตามความจริงสองอย่างนี้ เท่านัน้ ทุกข์ขนั ้ ต้นก็สามารถดับได้อย่างไม่ยากเย็น (ทดลองระลึกดูจริงๆ จะเข้าใจง่ายขึน้ ) ต่อมาถ้าต้องการดับทุกข์ชนิดละเอียด ทุกข์ประเภทนี้ได้แก่ ทุกข์ ทีเ่ กิดเพราะความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูมนั ผุดขึน้ มา ทุกข์แบบนี้จะเกิดทันที ทีม่ คี วามรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูผุดความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูทาให้ทุกข์ พระพุทธเจ้า จึง เน้ น ย้ าให้สาวกพึง ถอนความรู้ส ึก ว่า มีต ัว กู อ อกเสียทุ กเมื่อ นี่คือ สิ่ง สุดท้ายของการปฏิบตั ธิ รรม การจะมาถึงจุดนี้ได้จาเป็ นทีจ่ ะต้องฝึกระลึก ตามความจริงให้เก่งเสียก่อน เพราะระลึกตามความจริงเก่งเมือ่ ใดเมือ่ นัน้ นันแหละจึ ่ งจะรูจ้ กั ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูมนั เป็ นอย่างไร ความรูส้ กึ ว่ามี ตัวกูเป็ นความรูส้ กึ ทีล่ ะเอียดอ่อน เกิดตามเหตุตามปั จจัย มิใช่เกิดให้เห็น ง่ายๆหรือเกิดตลอดเวลา จึงต้องมีปัญญาระดับหนึ่ง ถึงจะรูจ้ กั ความรูส้ กึ เช่นนี้ ซึ่งก็น่าอัศจรรย์ใจอีกเช่นกัน ที่ถ้าใครรูจ้ กั ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู เมื่อใดจะรูจ้ กั วิธจี ดั การดับความรูส้ กึ ที่เหมือนเป็ นเชื้อร้ายตัวนี้ไ ด้เอง จึง ไม่ตอ้ งกังวลว่าจะดับอย่างไร ระลึกตามความจริงให้เก่ง แล้วฝึกทิง้ ความรู้ ฝึกทิ้งอุบาย คือฝึกดับทุกข์โดยไม่ใช้อุบายให้ได้ให้เก่ง ย่อมพบความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูเองว่ามันเป็ นความรู้สกึ แบบไหน และรู้ต่อ ไปถึงว่าจะดับ มันได้ดว้ ยวิธใี ด รูแ้ ม้กระทังว่ ่ าทาไมต้องดับ เพราะใครก็ตามถ้าลองได้พบ ๖๘


สมสุโขภิกขุ

ความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูผุดขึน้ มาแล้วก็จะเห็นทุกข์เห็นธรรมแบบทีต่ ารา ว่าไว้ จึงไม่คดิ จะดับไม่คดิ จะกาจัดเป็ นไปไม่ได้เลย ธรรมชาติมนั มีกฎมี กลไกของมันขอเพียงแค่ฝึกระลึกตามความจริงเมื่อถึงระดับหนึ่ง จะต้อง ก้าวล่วงเข้าสู่กระแสความดับทุกข์ จึงตัง้ หน้าตัง้ ตาดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ของกูอ ย่างเดียวโดยอัตโนมัติ จนทิ้ง การปฏิบัติอย่างอื่น หมดสิ้นเหลือ เพียงสิง่ เดียวที่ต้องรีบทา นัน่ คือ "ถอนความรู้สึกว่ามีตวั ตนออกเสีย ทุกเมือ่ " ตรงตามทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ทุกประการ กระสุนนัดเดียวได้นกยกฝูง สาหรับนักปฏิบัติท่ียงั ไม่ส ามารถพบความรู้ส ึก ว่ามีต ัวกู ข องกู โปรดทดลองฝึกฝนตามคาแนะนาต่อไปนี้ ในขณะทีอ่ ยู่ว่างๆหรือขณะทีก่ าลังทาหน้าทีก่ ารงานใดๆอยู่กต็ าม อุ บ ายนี้ ส ามารถน ามาประยุ ก ต์ ฝึ ก ฝนตนเองได้ ทุ ก เวลาและทุ ก สถานการณ์ ขัน้ ตอนการฝึ ก เริ่ม ที่ส ัม มาสติร ะลึก ชอบก่ อ น คือ ฝึ ก ระลึก ว่ า ตนเองและสิง่ รอบข้าง สิง่ ที่สมั ผัส สิง่ ที่รู้สกึ สิง่ ที่ผสั สะด้วยตาหูจมูก ลิ้น กายใจ หรือความนึกคิด ในขณะนัน้ ไม่ว่าสิง่ นัน้ จะเป็ นอะไร ให้ระลึก เพียงสัน้ ๆว่าสิง่ นัน้ มันเป็ น “ปฏิ กิริยาธรรมชาติ ” ระลึกสัน้ ๆประโยคนี้ประโยคเดียวอย่าให้มากหรือน้อยไปกว่านี้ ทิ้งสมมุตบิ ญ ั ญัตอิ อกให้หมดอย่านามาคิดคานึงคานวณ มีปฏิกริ ยิ าใดๆ เกิดขึน้ มาก็ระลึกแทนทีด่ ว้ ยอุบาย“มันเป็ นปฏิ กิริยาธรรมชาติ ”ทันที สิง่ ทีจ่ ะรูส้ กึ ตามมาคือ ภายในจะมีสติสมาธิปัญญา สงบว่างเย็น ภายนอกจะ มีปฏิกริ ยิ าต่างๆเกิดดับหมุนเวียนตามปกติ แต่จะไม่มกี ารปรุงว่าปฏิกริ ยิ า เหล่านัน้ คืออะไร ดังนัน้ ปฏิกริ ยิ าทัง้ ภายในภายนอกในขณะทีม่ สี ัมมาสติ ๖๙


ลมไหวใบไม้สงบ

อยู่จงึ ว่างเปล่าจากความหมายแห่งตัวตน ว่างจากสมมุตบิ ญ ั ญัติ ระลึกจน รู้สกึ ว่าธรรมชาติน้ีทงั ้ หมดกลมกลืนกลายเป็ นสิง่ เดียว นัน่ คือกลายเป็ น “ปฏิ กิริยาธรรมชาติ ” เพียงอย่างเดียวเสมอกันหมดทัง้ รูปทัง้ นาม ปฏิบัติต ามอุบายนี้ซ้าๆบ่อ ยๆ ว่างก็ฝึก ทางานก็ฝึก มีโอกาส อานวยเมือ่ ใดรีบฝึกทันที การฝึกระลึกชอบด้วยอุบายชอบอุบายนี้ ไม่นาน จะเกิดสัมมาปั ญญา รู้แจ้งเห็นจริงว่า ว่างจากตัวตนของจริงเป็ นเช่นไร ว่างจากสมมุตขิ องจริงเป็ นเช่นไร ว่างจากสังขารการปรุงแต่งของจริงเป็ น เช่นไร สักว่าของจริงเป็ นเช่นไร สุดท้ายก็จะเกิดปั ญญาแยกแยะได้เองว่า ความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนเป็ นอย่างไร เกิดแล้วรูส้ กึ อย่างไร และรูแ้ ม้กระทังว่ ่ า จะสามารถดับความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนมีตวั กูของกูดว้ ยวิธใี ด ซึง่ ท้ายทีส่ ุดแล้ว ก็จะทิ้งอุบายชอบหัวข้อ ที่ว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ เหลือแต่การฝึ ก ดับความรู้สกึ ว่ามีตวั ตนออกเสียโดยไม่ต้องพึง่ อุบายใดๆ ซึ่งการปฏิบตั ิ ของทุกคนจะไหลไปสู่จุดนัน้ โดยอัตโนมัติ ขอเพียงตัง้ ต้นให้ถูกวิธี ความ หลุดพ้นจากเงามืดของตัวกูของกูจะสูญหายไปเอง อุบายธรรมเพื่อความสิ้ นสุดทุกข์ พึง พิจารณาให้เห็นความจริงของสรรพสิ่งว่าเป็ นของว่างเปล่า ด้วยการระลึกเนืองๆว่า อนาคตคือความมืดมิด อดีตคืออากาศธาตุ ปัจจุบนั คือความว่างเปล่า ไม่มสี งิ่ ใดเป็ นตัวเป็ นตนเป็ นของเราของเขาของใคร ทุกๆสรรพ สิง่ เป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ เป็ นเพียงกลุ่มพลังงาน เป็ นแค่กลุ่มปฏิกริ ยิ า ของ รูป รส กลิน่ เสียง วัตถุ ประจุไฟฟ้ า ฯลฯ ๗๐


สมสุโขภิกขุ

ไม่ใช่ตวั ตน ไม่มตี วั ตน ไม่เป็ นตัวตน จึงไม่มเี จ้าของ ใครๆก็เป็ น เจ้า ของพลังงานทางธรรมชาติไม่ได้ มนุ ษย์เป็ นแค่กลุ่มสัง ขารที่ทาให้ เกิดปฏิกริ ยิ าได้ แต่เป็ นเจ้าของไม่ได้ ปฏิกิรยิ าต่างๆเป็ นแค่ของชัวคราว ่ เกิดแล้วหายไปตลอดเวลา ไม่มคี งที่คงทน มีแต่ระบบเกิดมาดับไป แล้ว เกิดใหม่ถ่ียิบ ไม่ม ีช่วงหนึ่ง ช่วงใดที่ยืน โรงจนมีส ิ่ง ใดๆเป็ น เจ้าของได้ มนุ ษย์ไม่มคี วามสามารถรับรู้ตอนมันเกิด รับรู้ได้แค่ตอนมันดับไปแล้ว ดัง นั ้น สิ่ง ที่ม นุ ษ ย์ ร ับ รู้ทุ ก ๆชนิ ด คือ รับ รู้ ส ิ่ง ที่ด ับ ไปแล้ว ผ่ า นไปแล้ว หายไปแล้ว หรือรับรูก้ ารทาปฏิกริ ยิ าของมันทีผ่ า่ นไปแล้ว ด้วยเหตุน้ผี ทู้ ห่ี วังบรรลุธรรม ต้องตามรูต้ ามความจริงทีว่ ่า มนุษย์ ไม่มสี ทิ ธิรบั รู้ความจริงขณะเกิด จึงพึงระลึกเนืองๆว่า เมื่อรับรู้สงิ่ ใด คือ รับรูส้ งิ่ ทีด่ บั ไปแล้ว เป็ นอดีตไปแล้ว เป็ นขันธ์ทอ่ี ยู่อาศัยในอดีตทุกๆวินาที ทุกๆสิง่ ทุกๆสัมผัส ทุกๆอารมณ์ รู้ความจริงคือรู้ว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีต เป็ นขันธ์ในอดีต เป็ น สัง ขารในอดีต เป็ น รูป ในอดีต เป็ น นามในอดีต ไม่ม ีส ิทธิรบั รู้ส ิ่ง ที่เป็ น ปั จจุบนั ได้เลย และการปฏิบตั ไิ ม่ตอ้ งทาอะไร ไม่ต้องเปลีย่ นอะไร ไม่ตอ้ ง คิดขยายความใดๆ แค่ระลึกตามความจริงว่า มันมีแต่ปฏิกริ ยิ าในอดีต ไม่ใ ช่ ปั จ จุ บัน เมื่อ มัน เป็ น อดีต มัน จึง เป็ น สิ่ง ที่ผ่า นไปแล้ ว ดับ ไปแล้ว หายไปแล้ว ในตอนที่สมั ผัส ในตอนที่รบั รู้ มันจึงกลายเป็ น สิง่ ที่มนุ ษย์ รับรูเ้ ป็ นของว่างเปล่าทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็ นอากาศธาตุไปแล้วทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็ นของไม่มอี ยู่จริงไปแล้วทัง้ หมดทัง้ สิน้ ด้วยเหตุน้ีนีแ่ หละผูใ้ ดต้องการ บรรลุธรรมจึงต้องพึงระลึกตามความจริงเนืองๆว่า อนาคตคือความมืดมิด อดีตคืออากาศธาตุ ปัจจุบนั คือความว่างเปล่า ๗๑


ลมไหวใบไม้สงบ

เคล็ดลับดับทุกข์ จาก คำสอนฮวงโป คําสอนฮวงโป พระพุ ท ธเจ้ า ทัง้ ปวง และสัต ว์ โ ลกทัง้ สิ้น ไม่ ไ ด้ เ ป็ น อะไรเลย นอกจากเป็ นเพียง จิต หนึง่ (One mind) นอกจากจิตหนึง่ นี้แล้ว มิได้ม ี อะไรตัง้ อยู่เลย. จิตหนึง่ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีป่ ราศจากการตัง้ ต้นนี้ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจถูกทาลายไปได้เลย. มันไม่ใช่เป็นของมีสเี ขียวหรือสีเหลืองและ ไม่มที งั ้ รูป ไม่มที งั ้ การปรากฏ. มันไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิง่ ทัง้ ทีม่ กี าร ตัง้ อยู่. มันไม่อาจจะถูกลงความเห็นว่า เป็ นของใหม่หรือของเก่า. มันไม่ไช่ ของยาว ของสัน้ ของใหญ่ ของเล็ก. ทัง้ นี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือ การวัด เหนือการตัง้ ชือ่ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบ ทัง้ หมดทัง้ สิ้น. จิ ตหนึ ง่ นี้ เป็ นสิ ง่ ที เ่ ธอเห็นตาตาเธออยู่แท้ๆ แต่จงลองไป ใช้เหตุผล (ว่ามันเป็ นอะไร เป็ นต้น) กับมันเข้าดูซิ, เธอจักหล่นไปสู่ ความผิ ด พลาดทันที สิ ่ง นี้ เป็ นเหมือ นกับ ความว่ า งอันปราศจาก ขอบเขตทุกๆด้าน ซึง่ ไม่อาจหยังหรื ่ อวัดได้. จิตหนึง่ นี้เท่านัน้ เป็ นพุทธะ. ไม่มคี วามแตกต่างระหว่างพุทธะกับ สัตว์โลกทัง้ หลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทัง้ หลาย ไปยึดมั ่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุ นัน้ จึง ได้แ สวงหา พุ ท ธภาวะจากภายนอก. การ แสวงหาของสัตว์เหล่านัน้ นัน่ เอง ทาให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ. การทา เช่นนัน้ เท่ากับการใช้สงิ ่ ซึง่ เป็ น พุทธะ ให้เทีย่ วแสวงหา พุทธะ และการใช้ จิตให้เทีย่ วจับฉวย จิต. แม้เขาเหล่านัน้ จะได้พยายามจนสุดความสามารถ ของเขาอยู่ตงั ้ กัปป์ หนึง่ เต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถลุถงึ มันได้เลย. เขาไม่รวู้ า่ ๗๒


สมสุโขภิกขุ

ถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวาย เพราะการแสวงหาเสียเท่านัน้ , พุทธะ ก็จะปรากฏตรงหน้าเขา, เพราะว่า จิต นี้กค็ อื พุทธะ นัน่ เองและพุทธะก็คอื สิง่ มีชวี ติ ทัง้ หลายทัง้ ปวง นัน่ เอง. สิง่ ๆนี้ เมือ่ ปรากฏอยู่ทีส่ ามัญสัต ว์จ ะเป็ น สิง่ เล็กน้ อ ยก็หาไม่ , และเมือ่ ปรากฏอยู่ทพี ่ ระพุทธเจ้าทัง้ หลายจะเป็นสิง่ ใหญ่หลวง ก็หาไม่.

ฮวงโปชี้ไว้ว่า "สัตว์โลกทัง้ หลาย ไปยึดมั ่นต่อรูปธรรมต่างๆเสีย และเพราะ เหตุนัน้ จึงได้แสวงหา พุทธภาวะจากภายนอก. การแสวงหาของสัตว์ เหล่านัน้ นัน่ เอง ทาให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ. การทาเช่นนัน้ เท่ากับ การใช้สงิ่ ซึง่ เป็ น พุทธะ ให้เทีย่ วแสวงหา พุทธะ และการใช้จิตให้เทีย่ ว จับฉวย จิ ต" นัน่ คือการแสวงหาพุทธะ จะไปยึดมั ่นต่อ รูปธรรมใดๆไม่ได้เลย และจะไปหาพุทธะจากภายนอกก็ไม่ได้ เพราะการทาเช่นนัน้ ก็คอื การเอา พุทธะไปหาพุทธะ จะหาความหมายแห่งพุทธะต้องเริม่ จากข้างใน ต้อง เข้าใจความจริงแท้ของข้างในด้วยว่ามันคืออะไร บางคนไปคิดว่าการคิด คานึงคานวณคือการมองข้างใน พวกเขาลืมไปว่า แค่คดิ แค่ปรุ งสิง่ ใดๆ ขึ้น มาสักสิ่งเดียว สิ่ง ๆนัน้ กลายเป็ นรูปธรรมที่อยู่ข้ างนอกพุทธะภาวะ เรียบร้อ ยแล้ว ตรงจุดนี้ต้องทาความเข้าใจให้ดีๆ และตระหนักรู้ในทุก อิรยิ าบถว่า ยิง่ ปรุงยิง่ คิดยิง่ มีตรรกะ นัน่ ยิง่ ห่างไกลจากพุทธะ ฮวงโปจึง แนะนาสั ่งสอนไว้ตอนหนึ่งว่า ๗๓


ลมไหวใบไม้สงบ

"จงลองไปใช้ เหตุผล (ว่ ามันเป็ นอะไร เป็ นต้ น) กับ มันเข้า ดูซิ, เธอจักหล่นไปสู่ความผิดพลาดทันที" เพราะเหตุ ใดฮวงโปจึง กล่าวเช่น นี้ ท่านมีคาตอบอยู่ในคาสอน ตอนหนึ่งของท่านทีว่ ่า "เขาไม่รู้ว่า ถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิ ดปรุงแต่ง และ หมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหาเสียเท่านัน้ , พุทธะ ก็ จะปรากฏตรงหน้ าเขา" นัน่ คือคาตอบที่ว่า พุทธะอยู่ท่หี ยุดคิดหยุดปรุง ใครหยุดคิดหยุด ปรุงได้สาเร็จจึงจะรูว้ ่า หลังหยุดคิดหยุดปรุงสภาวะตอนนัน้ ความรูส้ กึ ตอน นัน้ มันเป็ นเช่นไร มีผหู้ ยุดคิดหยุดปรุงได้เท่านัน้ จึงจะรู้ จึงจะตอบได้ และ มันไม่มสี ภาพใดๆไม่มสี มมุตบิ ญ ั ญัตใิ ดๆจะมาบอกเล่าหรืออธิบายความ ไม่มสี ภาพได้ ถ้าบอกเล่าได้แสดงว่าสิง่ นัน้ มีภาวะหรือมีสภาพ สิ่ งนัน้ จึง ไม่ใช่พุทธะ คาสอนฮวงโปตรงจุดนี้ตรงกับทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ทว่ี ่า ต้อง รู้วิธีด ับ สัง ขาร แล้ว ดับ สัง ขาร ความดับ สัง ขารจึง จะปรากฏ ความดับ สังขารนันแหละคื ่ อพุทธะ พุทธะเป็ นสิง่ ที่ไม่สามารถอธิบายด้วยคาพูดใดๆได้ แต่อายตนะ นัน้ มีอยู่ ไม่เข้าถึงด้วยการมาการไป ด้วยการคิดการปรุงใดๆ การคิดการ ปรุงนัน้ คือการปลุกสิง่ ที่เรียกว่า"จิ ต" ให้ทาหน้าที่ เมื่อจิตเกิดขึน้ หรือทา หน้าที่ขน้ึ มา ความเป็ นพุทธะย่อมหายไปในทันที ต้องทาให้สงิ่ ทีเ่ รียกว่า "จิ ต" หยุดการปรุงต่อ (แต่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติมไิ ด้หยุดทางานเพราะหยุด แค่ความรูส้ กึ ว่าเป็ นจิต) และหยุดอาการของจิต(เจตสิก)นับตัง้ แต่เวทนา สัญญาสังขารนัน่ แหละคือเจตสิกซึง่ ถือว่าเป็ นรูปธรรมภายนอก หลายคน ไม่เข้าใจตรงจุดนี้ จึงมีการปฏิบตั โิ ดยใช้รูปธรรมภายนอกเข้ามามีสว่ นใน ทุกๆขัน้ ตอนของการปฏิบัติ คือมีการคิดคานึงคานวณด้วยคิดว่ามันเป็ น ๗๔


สมสุโขภิกขุ

การมองข้างในจากข้างใน ทัง้ ๆที่แท้จริงแล้ว นับตัง้ แต่คดิ ว่ามันคืออะไร ชื่ออะไรเรียกขานว่าอะไร ปฏิกิรยิ าในตอนนัน้ เป็ นปฏิกิรยิ านอกพุทธะ ทัง้ หมดทัง้ สิน้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสให้รจู้ กั สังขารคือรูว้ ่าสังขารเป็ นมายาเป็ นของ หลอกลวง เป็ นเรื่องภายนอกไม่ใช่เรื่องภายใน เรื่องภายในจริงๆ พระองค์ จึงตรัสว่าต้องรู้จกั วิธดี บั สังขาร และรู้จกั ความดับสังขารให้ได้ ความดับ สังขารนัน่ แหละจึงจะเรียกว่าเป็ นรูปธรรมภายใน พระองค์ถงึ ขนาด ตรัสว่า รูว้ ธิ ดี บั สังขารและความดับสังขารเท่านัน้ จึงจะได้ช่อื ว่าเป็ น สมณะ ในหมูส่ มณะ ฮวงโปคือคนผูห้ นึ่งทีเ่ ข้าใจคาตรัสของพระพุทธเจ้าอย่างถ่อง แท้ จึงสอนสานุศษิ ย์ต่อๆมาว่า "หยุดความคิ ดปรุงแต่งเสียพุทธะก็จะ ปรากฏต่อหน้ า" ใครต้องการให้พุทธะปรากฏต่อหน้า ก็ต้องทาตามคา สอนของฮวงโป และนั น่ เป็ น การท าตามค าตรัส ของพระพุ ท ธเจ้า ทุ ก ประการ

"จิตหนึ่ง นี้ เป็นสิ่งที่เธอเห็นตำตาเธออยู่แท้ๆ" "จงลองไปใช้เหตุผล(ว่ามันเป็นอะไรเป็นต้น)กับมันเข้าดูซิ เธอจักหล่นไปสูค่ วามผิดพลาดทันที" "เขาไม่รู้ว่า ถ้าเขาเองเพียงแต่ หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหาเสียเท่านั้น พุทธะก็จะปรากฏตรงหน้าเขา" ฮวงโป

๗๕


ลมไหวใบไม้สงบ

พุทธะคืออะไร พุทธะคือเห็นไม่ผดิ เห็นแจ้งตามความจริงของทุกสรรพสิง่ อย่าง ถาวรตลอดกาลนันคื ่ อการกลายเป็ นพุทธะ พุทธะมีอยู่ในทุกสิง่ ก็คอื ทุกสิง่ มีความจริงแท้กากับอยู่ (คือทุกสิง่ เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ) แต่ปุถุชนไม่ เห็นพุทธะของสิง่ ต่างๆเพราะถูกความเห็นผิดครอบงาอยู่ คือไม่เห็นว่ามัน เป็ นปฏิกริ ยิ าไปเห็นว่ามันเป็ นคนสัตว์เป็ นต้น ขจัดความเห็นผิดเช่นนี้ออก เสียได้ ก็จะเห็นพุทธะของทุกสรรพสิง่ ได้เอง ฉะนัน้ ถ้าถามว่าพุทธะคือ อะไรจึงเป็ นคาถามทีไ่ ม่สามารถอธิบายความเป็ นพุทธะได้ดว้ ยคาพูด แต่ ถ้าถามว่าจะเห็นพุทธะได้อย่างไรและปุถุชนจะกลายเป็ นพุทธะได้อย่างไร คาถามนี้ต่างหากทีม่ คี าตอบ ฮวงโปกล่าวไว้ว่า "จิ ตหนึ่ ง นี้ เป็ นสิ่ งที่เธอเห็นตําตาเธออยู่แท้ๆ" นันคื ่ อจิตหนึ่งหรือพุทธะนี้ย่อมมีอยู่ในบ้านเรือนรถฬาตูเ้ ย็นพัดลม คนสัต ว์สิ่ง ของหมูห มากาไก่ ใ ส้เ ดือ นแมลงสาบ แต่ ปุ ถุ ช นถู ก ธาตุ เ ลว สัญญาเลวทิฏฐิเลวครอบงาอยู่จงึ ไม่เห็นพุทธะหรือความจริงของสรรพสิง่ ต่างๆ เห็นสิง่ ใดใส่เหตุผลลงไปในสิง่ นัน้ ตามแต่ธาตุเลวทิฏฐิเลวจะบัญชา อาการแบบนี้น่แี หละเรียกว่าพุทธะคือสิง่ ทีเ่ ห็นอยู่กบั ตาแต่กไ็ ม่เห็นเพราะ ถูกมายาต่างๆความเห็นผิดต่างๆปรุงแต่งให้เห็นเป็ นอื่น พุทธะคือความจริงของทุกสรรพสิ่ ง จิ ตหนึ่ งคือจิ ตที่เห็นพุทธะ เมือ่ เห็นพุทธะ จิตทีเ่ ห็นพุทธะจะไม่ม ี คุณสมบัตแิ บบเดิม จึงขอเรียกจิตทีม่ คี ุณสมบัตติ ่างจากเดิมเป็ นคาพิเศษ ให้งา่ ยต่อการทาความเข้าใจว่า"จิ ตหนึ่ ง" ๗๖


สมสุโขภิกขุ

จิต ประเภทสองคือ จิต ที่ไม่เห็น ความจริง ของพุทธะ(จิ ต คติ ทวิ นิ ยม) เพือ่ ง่ายต่อความเข้าใจต่อไปจะขอเรียกจิตประเภทนี้ว่า"จิ ตคู่" พุท ธะหรื อ จิ ต หนึ่ ง คือ สิ่ง ที่เ ห็น อยู่ ต าตา แต่ ค นก็ไ ม่ เ ห็น คน กลับไปเห็นสิง่ ที่จิตคู่ปรุงขึน้ มา นี่คอื ความจริงของธรรมชาติประเด็นแรก ทีต่ อ้ งมาทาความเข้าใจกันให้แจ่มแจ้งเสียก่อน อะไรคือสิ่ งที่เห็นตําตา ไม่ว่าจะเห็นด้วยตานอกหรือตาใน สิง่ ที่ เห็นคือปฏิกิรยิ าธรรมชาติอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าธรรมชาติหยุดนิ่งไม่ม ี ปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ ย่อมไม่มกี ารเห็นสิง่ ใดๆ คาว่าเห็นในที่น้ี หมายถึง ปฏิกริ ยิ าทุกชนิดที่ทาให้มสี ภาพรับรูเ้ กิดขึน้ (เช่นตาเห็นรูปใจเห็นอาการ ของนามธรรม) อะไรคื อ เห็น พุท ธะอยู่ตํา ตา หมายถึง สิ่ง ที่เ ห็น นัน่ แหละคือ พุทธะ เห็นอะไรก็ตามผัสสะอะไรก็ตามสิง่ ทีเ่ ห็นทีผ่ สั สะนันแหละสิ ่ ง่ นัน้ คือ พุทธะ หรือคือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่เราไม่คดิ ว่ามัน เป็ นพุทธะกลับไปคิดว่ามันเป็ นคนเป็ นสัตว์ มันเลยเห็นเป็ นคนเป็ นสัตว์ ไม่เห็นเป็ นพุทธะ นี่คอื ประเด็นสาคัญทีท่ าให้คนไม่รจู้ กั พุทธะแม้จะเห็น พุทธะอยู่ตาตา เพราะคนจะไม่มใี ครเคยคิดว่า ตากาลังเห็นปฏิกริ ยิ าชนิด หนึ่ง หรือ ใจกาลังผัสสะปฏิกริ ยิ าชนิดหนึ่ง เหตุน้นี ่เี องทีท่ าให้คนเห็นพุทธะแต่ไม่รคู้ วามเป็ นพุทธะของสิง่ นัน้ จนมองไม่เห็นพุทธะเลยตลอดชีวติ ของการเป็ นปุถุชน และเป็ นเช่นนี้มา หลายกัปป์ ต่อไปถ้าไม่เห็นพุทธะสักทีฮวงโปถึงกับสอนไว้ว่าจะเป็ นเช่นนี้ ไปอีกหลายกัปป์ ก็เพราะปุถุชนยังไม่มคี วามรู้เรื่องพุทธะ หรือมีอวิชชา เรื่องพุทธะนันเอง ่ ปฏิ กิริยาธรรมชาติ คือความจริง ทีม่ อี ยู่จริง มีให้เห็นทัง้ ตานอก ตาในตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็ น ปฏิ กิริยาของอะไรทําปฏิ กิริยากับอะไร ๗๗


ลมไหวใบไม้สงบ

เกิ ดเป็ นปฏิ กิริยาอะไร เกิดทับซ้อนกันสลับซับซ้อนแค่ไหน มันล้วนแต่ เป็ น ปฏิกิริยาเหมือนกันหมด เกิดมาจากธาตุไม่เกินหกธาตุเหมือนกัน เกิดแล้วกลายเป็ นสังขารปรุงแต่งเหมือนกัน ไม่ว่าลักษณะของปฏิกริ ยิ าจะ ออกมาในรูป ใด ทุ ก ๆปฏิกิริย าต่ า งคือ ปฏิกิริย าเสมอกัน มีค วามเป็ น ปฏิกิริย าเท่ า เทีย มกัน สิ่ง ปรุ ง แต่ ง ทัง้ มวลที่ท ัง้ ตานอกตาในเห็น คือ ปฏิกริ ยิ าทัง้ นัน้ ไม่มสี งิ่ ใดไม่ใช่ปฏิกริ ยิ า ไม่มคี วามเป็ นปฏิกริ ยิ ามากน้อย ต่างกัน ไม่มแี ยกปฏิกิรยิ าดีเลว ปฏิกิรยิ าครัง้ แรกที่อุบตั ขิ น้ึ เป็ นสมดุลย ธรรม คือมีค่าเสมอกันสมดุลกันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเหมือนๆกันมีศกั ดิ ์ เท่าเทียมกันในทุกๆปฏิกริ ยิ า ก่อนจะอ่านเรื่องราวในบทต่อไป ขอให้ทาความเข้าใจในเรื่องนี้ให้ ถ่องแท้ก่อน อ่านทบทวนให้เข้าใจแจ่มแจ้งจนเกิดความเห็นตรงตามความ จริงขึน้ มาจริงๆ คือเห็นให้ได้อย่างไม่งอ่ นแง่นคลอนแคลนเลยว่า มันเป็ น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติจริงๆ มันมีแต่ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติจริงๆ ไม่มสี งิ่ ใดไม่ใช่ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเลย คํา ว่ า จิ ต หนึ่ ง มิไ ด้ห มายถึง จิต ที่โ ลกๆใช้กัน อยู่ แต่ ห มายถึง ความจริง ของธรรมชาติ ที่ม ีอ ยู่เ ป็ น สามัญ ลักษณะของปฏิกิริย าทุกๆ ปฏิ กิ ริย า คือ เมื่อ มีป ฏิกิริย าใดๆเกิด ขึ้น มา ปฏิ กิ ริย านั ้น ๆจะต้ อ งมี ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่ง ลักษณะเฉพาะนัน้ ๆคือความจริงของธรรมชาติ คือกฎของธรรมชาติ มีอยู่อย่างไร้สภาพ แต่สามารถเข้าถึงได้ดว้ ยปั ญญา ทีป่ ระกอบด้วยสัมมาญาณะ ส่วนจิ ตคู่นัน้ หมายถึงจิตแบบที่โลกๆใช้อ้างถึงกล่าวถึงกันอยู่ ที่ม าของจิต คู่คือ เนื่อ งจากปุถุชนคือพวกคติทวินิยมซึ่ง เป็ นคุณสมบัติ สามัญลักษณะของปุถุชน ถ้าอธิบายให้เข้าใจง่ายๆคือปุถุชนเป็ นพวกมี จิ ตสองชัน้ (ดูภาพประกอบการทาความเข้าใจ) คติ ทวิ นิยมแปลว่านิ ยม ๗๘


สมสุโขภิกขุ

ไปสู่สิง่ ซ้ อนทับ หรือชอบไหลไปหาสิ ง่ ที เ่ ป็ นสองเสมอ เหตุ ท่ีเป็ น เช่นนี้กเ็ พราะปุถชุ นมีธาตุเลวสัญญาเลวทิ ฏฐิ เลวครอบงาชักใยอยู่ สาม ตัวนี้คอื ภาวะอันเป็ นพิ ษครอบงาจิตไว้ตลอดเวลา จิตปุถุชนจึงเสมือน เป็ นจิตสองชัน้ ด้วยอาการอย่างนี้ คือมีจติ พุทธะอยู่ด้านล่าง จิตพุทธะจะ ทาหน้าที่เมื่อเกิดปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ทาหน้าที่อย่างเป็ นกลาง ไม่มบี วก ลบ แต่เนื่องด้วยจิตสองชัน้ นี้ ถูกปิ ด ทับด้วยภาวะอันเป็ นพิษของธาตุเลว สามตัว เวลามีผสั สะมากระทบทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าใดๆ ทัง้ ๆที่จติ หนึ่งก็ม ี อยู่ในปุถุชน แต่จิต คู่ท่ปี นเปื้ อนด้วยภาวะอันเป็ นพิ ษจะทาหน้าที่ทุกๆ อย่ า งแทนจิต หนึ่ง ต่ อ เนื่อ งจากจิต หนึ่ง แย่ ง หน้ าที่ จิต หนึ่ง มาทาแทน ทัง้ หมด จิตหนึ่งนัน้ เป็ นธรรมชาติบริสุทธิ ์ ตรงไปตรงมา แต่จิต คู่(คติทวิ นิยม) เป็ นธรรมชาติปนเปื้ อนภาวะอันเป็ นพิษ มีความเห็นผิดมีความเห็น ไม่ตรงตามความจริง ขีต้ ู่ ยึดเอาสิง่ ทีไ่ ม่มมี าคิดว่ามี ไม่ใช่ของตนมาคิดว่า เป็ นของตนเป็ นต้น จึงก่อปั ญหาก่อทุกข์ไม่รู้จบ นี่คอื ปั ญหาทีป่ ุถุชนต้อง แก้ คือต้องจัดการด้วยวิธใี ดก็ได้ ให้ภาวะอันเป็ นพิษ ของจิตคู่อนั ตรธาน หายไปให้ได้ จิตคู่หายไปเมื่อใด จิตหนึ่งย่อมทาหน้าที่ของเขาตามปกติ จิตคู่ทาหน้าทีเ่ ขาเรียกจิ ตสาสวะ(จิ ตมีภาวะอันเป็ นพิ ษ) ถ้าทาลายจิตคู่ ให้ ห ายไปจากปุ ถุ ช นได้ ปุ ถ ชนก็ จ ะมีจิ ต หนึ่ ง หรือ จิ ต อนาสวะ(จิต ปราศจากภาวะอันเป็ นพิษ)ทาหน้าที่เพียงชัน้ เดียวจิตชัน้ สองที่ เคยปิ ด ซ้อนทับก็จะหายไป หมดโอกาสทาหน้าที่ ดังนัน้ ต้องเข้าใจเป็ นเบือ้ งต้นในจุดนี้ให้ดกี ่อน คือการปฏิบตั ธิ รรม นัน้ หมายถึงการหาวิธกี าจัดภาวะอันเป็ นพิ ษ เมื่อกาจัดเสร็จมิใช่ได้อะไร ขึน้ มาใหม่ มิใช่ได้สภาพพิเศษใดๆหรือคุณวิเศษใดๆ เพราะจิตหนึ่งเป็ น สิง่ ทีม่ อี ยู่เต็มตาอยู่แล้วไม่มสี งิ่ ใดเพิม่ มีแต่ภาวะอันเป็ นพิษที่ซ้อนทับถูก ๗๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ชาระล้างไป เมื่อจิตหนึ่ง ไม่มสี งิ่ ซ้อนทับจิตหนึ่งก็ทางานอย่างเป็ นอิสระ แต่สภาวะจิตหนึ่งทาหน้าที่โดยไม่มจี ิตคู่น่ีแหละเป็ นสภาวะที่ใครไม่เคย เข้าถึง จะไม่รู้ว่ามัน เป็ น อย่างไร การปฏิบัติน้ีไม่ม ีได้อะไร มีแต่ สลัดสิง่ ปนเปื้ อน อาจสลัด ที่ล ะเล็ก ทีล ะน้ อ ยหรือ สลัด ครัง้ เดีย วหมดเกลี้ย งก็ แล้วแต่ พอสลัดจิต คู่หลุดก็จะเหลือจิตเดี่ยวๆ คือจิตหนึ่ง ย่อมหลุดพ้น เป็ นอิสระจากการถูกครอบงาของเชือ้ เลวสามตัว กลายเป็ นผูม้ จี ติ ชัน้ เดียว คือมีจติ พุทธะชัน้ เดียว จิตเลวชัน้ บนหายไปหมดเกลีย้ งนัน่ เอง ความรูส้ กึ ของผูเ้ ป็ นอิสระนันอาจต่ ่ างจากทีเ่ คยรูส้ กึ แต่ไม่ใช่ได้อะไร เป็ นอะไร ต้อง เข้าใจจุดนี้ให้ดๆี การปฏิบตั จิ ะได้ไม่ถูกครอบงาด้วยความต้องการทะยาน อยากซึ่งนัน่ จะเป็ นตัวบั ่นทอนความสาเร็จให้เนิ่นช้า แต่ ก็ม ิใช่จะไม่ได้ อะไรเลย สิ่ง ที่ได้คือ จะได้ความไร้ทุกข์ต ลอดกาลเป็ น รางวัล ซึ่ง หัวใจ ศาสนาพุทธคือสิง่ นี้ ขัน้ ตอนกําจัดจิ ตคู่ จิตคู่น้แี ม้จะถูกเจือด้วยธาตุเลวสามตัว แต่ยงั โชคดีของมนุษยชาติ ที่ธรรมชาติมไิ ด้ใจร้ายกับเรา เพราะสัญญาเลวเป็ นธาตุทส่ี ามารถพัฒนา ไปสู่ความถูกต้องได้ ถ้ามีการจัดการที่ถูกวิธี คือการป้ อนข้อมูลทีถ่ ูกตรง ให้ส ัญ ญาเลว สัญ ญาเลวจะค่อ ยๆท าลายข้อ มูลผิดๆให้เ อง สัญ ญาได้ ข้อมูลตรงตามความจริงเรื่องอะไร สัญญาเลวจะป้ อนข้อมูลไปปรับเปลีย่ น ทิฏฐิเลวให้มคี วามเห็นถูกตรงตามมาเอง ทิฏฐิเลวมีความเห็นถูกตรงใน เรื่อ งใด จากทิฏ ฐิเ ลวเรื่อ งนัน้ ก็ก ลายเป็ น ทิฏ ฐิดีเ รื่อ งนัน้ ตามมาทัน ที พอทิฏฐิดเี กิดกับเรื่องใดอวิชชาธาตุธาตุเลวทีม่ คี วามไม่รจู้ ริงในเรื่องนัน้ จะ กลายเป็ นรูจ้ ริงในเรื่องนัน้ ๆขึน้ มา รูไ้ ม่จริงหายไปตอนนี้ รูจ้ ริงปรากฏขณะ ใด จิตพุทธะคือจิตที่รู้ตรงตามความจริงก็จะปรากฏ (ความจริงจิตพุทธะ ๘๐


สมสุโขภิกขุ

ทาหน้าทีอ่ ยู่แล้ว แต่มกี ารแปลงสารตอนผ่านสัญญาเลว เมือ่ ปฏิกริ ยิ าใดๆ ที่ไ ม่ถู ก แปลงสาร ปฏิกิริย านัน้ จะเป็ น ไปตามความจริง ทุ ก ๆอย่ า ง จึง เรียกว่าจิตพุทธะคือจิตที่ไม่ได้ถูกแปลงสาร จึง ทางานได้อย่างเป็ นอิสระ เมือ่ จิตพุทธะทาหน้าที่ ความทุกข์กจ็ ะไม่มวี นั กลับมากล้ากลายอีกต่อไป) นี่คอื ขัน้ ตอนและหลักการปฏิบตั ทิ จ่ี ะต้องลงมือทาให้เป็ นรูปธรรม ต่อไป ซึง่ วิธแี ปลงสัญญาเลวเป็ นสัญญาดีในขัน้ ต้นก็ตอ้ งพึง่ สัมมาสติระลึก ชอบกับอุบายชอบ มาเป็ นตัวช่วยสร้างบรรทัดฐานความจาและความคิด ของสัญญาเลวทิฏฐิเลวให้อยู่กบั ร่องกับรอย ส่วนธาตุเลวนัน้ ไม่ต้องไปยุ่ง กับเขา เพราะสัญญาเลวกลายเป็ นสัญญาดีเมือ่ ใด ทิฏฐิเลวก็จะกลายเป็ น ทิฏฐิด(ี สัมมาทิฐ)ิ เมือ่ นัน้ อวิชชาเรื่องนัน้ ก็จะหายไปทันที พออวิชชาเรื่อง นั น้ ไม่ ม ีแ ล้ว หายไปแล้ว จิต พุ ท ธะเฉพาะเรื่อ งก็จ ะกระจ่ า งแจ้ง ขึ้ น มา เหมือ นการปั ดฝุ่นที่เกาะเครื่อ งลายครามออกจนหมดไป เราย่อ มเห็น ลวดลายอันวิจิต รของลายครามทันที ลวดลายอันวิจิตรของเครื่องลาย ครามมีอยู่แต่เดิม แต่เรามองไม่เห็นเพราะฝุ่นเกาะ พอปั ดฝุ่นจึงเห็น จึง มิใช่มลี วดลายใดๆเกิดมาใหม่ เป็ นลวดลายเดิมๆที่ปรากฏ จิตพุทธะก็ เช่นกัน มิได้มอี ะไรเกิดใหม่เพียงแต่ภาวะอันเป็ นพิษจากอวิชชา พอถูกชะ ล้างจนหมดเกลี้ยง ทุกคนจึง มองเห็น ลวดลายอันงดงามของจิต พุทธะ ขึน้ มาเอง ต่อไปก็คงต้องพูดถึง ขัน้ ตอนการลงมือกาจัดจิต คู่หรือจิตเลวกัน จริงๆเสียที ซึง่ ฮวงโปได้กล่าวไว้ในคาสอนตอนหนึ่งว่า……

๘๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ภาคลงมือปฏิ บตั ิ ตามคําสอนฮวงโป ฮวงโปชี้แนะไว้ว่า ขอเพียงหยุดความคิดปรุงแต่งก็จะพบจิตหนึ่งหรือจิตพุทธะ การ หยุ ด ตวามคิด ปรุ ง แต่ ง มีห ลากหลายวิธี แต่ ใ นการฝึ ก ตอนนี้ อ ยากให้ ทดลองฝึกหยุดความคิดปรุงแต่งตามทีฮ่ วงโปสอน นันคื ่ อฮวงโปสอนไว้วา่ "อย่าไปให้เหตุผลกับมัน" นัน่ คืออย่าไปให้เหตุผลว่ามันคืออะไร ทุกคนสามารถทดลองฝึก ตามได้ในขณะนี้เลย มีสติจบั ที่สงิ่ ใดก็ได้ จะเป็ นรูป เวทนา อาการต่างๆ ความรูส้ กึ ต่างๆสัญญาต่างๆความคิดต่างๆ ผัสสะใดๆเกิดขึน้ มาก็ใช้ผสั สะ นัน้ ๆนัน่ แหละเป็ นฐานสาหรับให้สติจบั จงใช้สติจบั ก่อนทีจ่ ะให้เหตุผลว่า มันคืออะไรหรือมันเป็ นอะไร ตาเห็นรูปหูได้ยนิ เสียงก็จงใช้สติเพ่งไปที่ ผัสสะนัน้ ๆ นามธรรมผุดขึน้ มาก็ใช้สติจบั แล้วอย่าไปปรุงเหตุผลขึน้ มา คือ อย่าปรุงว่ามันเป็ นอะไร ทดลองทาดูจริงๆจะพบด้วยตนเองว่ามีปฏิกริ ยิ า ต่างๆผุดขึน้ มาเป็ นระยะๆ อาจหยุดให้เหตุผลว่ามันเป็ นอะไรทันบ้างไม่ได้ บ้าง ต้องฝึกบ่อยๆ ฝึกหลายๆครัง้ ครัง้ ละนานๆ แล้วคอยเพ่งติดตามดูผล ทีจ่ ะได้รบั สิ่ง ที่จะเห็น แจ้ง ในเวลาต่ อ มาถ้าทาได้ถู กต้อ งก็คือ เมื่อ กาหนด เจตนาในใจว่ า จะไม่ใ ห้เ หตุ ผ ลว่ า มัน เป็ น อะไร เวลามีส ิ่ง ใดผุ ด ขึ้น มา ความรูส้ กึ ว่าสิง่ นัน้ คืออะไรเป็ นอะไรจะต้องหายไป ใครทาแล้วสิง่ ต่างๆที่ ผัสสะหายไป แสดงว่าเริม่ หยุดคิดหยุดปรุงแต่งเป็ นแล้ว นัน่ คือรู้จกั วิธดี บั สังขารตามที่พระพุทธเจ้าสอนแล้ว การดับไปของปฏิกิรยิ าธรรมชาติท่ี ควรจะต้องมีการปรุงว่ามันเป็ นอะไร แต่ไม่มกี ารปรุงเกิดขึ้นมา นันคื ่ อ

๘๒


สมสุโขภิกขุ

“การดับสังขารด้วยวิ ธีกาหนดเจตนาในใจว่าจะไม่ให้เหตุผล ว่ามันเป็ นอะไร” ต่อมาจงใช้สติตรวจตราความรูส้ กึ ทีด่ ารงอยู่ในขณะทีไ่ ม่มกี ารปรุง เหตุผลว่ามันคืออะไรมันเป็ นอะไร ว่ามีความรู้สกึ เช่นใด ถ้าสภาวะของ ความรู้สกึ มีลกั ษณะเหมือนไม่รสู้ กึ อะไรไม่รบั รู้อะไร มีแต่ความว่างเปล่า อาจว่างชัวขณะหรื ่ ออาจว่างระยะเวลาที่นานพอสมควร ซึ่งความว่างที่ รูส้ กึ รับรูไ้ ด้นนั ้ ในระยะแรกๆมันจะว่างแล้วมีผสั สะอื่นๆแทรกเข้ามา ให้สติ ทาหน้าทีอ่ ย่าไปให้เหตุผลว่ามันเป็ นอะไรอีก มันอาจเกิดปฏิกริ ยิ าว่างแล้ว ปรุงปรุงแล้วกาหนดอุบายของฮวงโปใหม่ มนั ก็ว่างใหม่ ระยะแรกๆย่อม เป็ น เช่น นี้ จึง ต้อ งฝึ ก บ่อ ยๆทาบ่ อ ยๆเพื่ อ ให้ความรู้ส ึกว่ า งหรือ อาจไร้ ความรูส้ กึ ทุกชนิดดารงอยู่นานทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทาได้ ใครฝึกทาให้ไร้ความรูส้ กึ ได้นานๆ ขัน้ ต่อไป ใช้สติเพ่งจับทีค่ วาม ว่าง เพ่งนิ่งอยู่กบั ความว่าง เพื่อค้นหาความรูส้ กึ มีตวั กูของกูว่ามันมีซ่อน อยู่ในความว่างหรือไม่ถา้ พบความรูส้ กึ ว่างจากตัวกูของกูเมือ่ ใด นันแหละ ่ คือการเห็นจิตพุทธะแล้ว จิตพุทธะจะต้องปราศจากความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูทา ปฏิกิริยาร่วมอยู่ด้วยไม่ว่ากับสิ่ง ใด ความรู้ส ึกว่ามีต ัวกูของกูยงั อยู่นัน่ แสดงว่าจิตคู่ยงั ไม่หายไป ฝึ กต่อไปจนกว่าจะรูจ้ กั ความรูส้ กึ ว่างจากตัวกู จริงๆ ซึ่งเมื่อตัวกูว่ างตัวกูหายไป ของกู ก็จะว่างจะหายไปตามไปด้วย เวลาฝึกควรฝึกในขณะลืมตา เพราะบางครัง้ ตอนทีม่ คี วามรูส้ กึ ว่างอยู่ จะ ได้ทดสอบกราดมองๆไปรอบๆตัว เมื่อเห็นอะไรพบอะไรจะได้พสิ ูจน์ว่า เราสามารถเห็นสิง่ ต่างๆรอบตัวแต่ไม่ใส่เหตุผลลงไปว่ามันเป็ นอะไรได้ หรือไม่ ถ้าเห็นสิง่ ใดแล้วไม่ปรุงเหตุผลว่ามันเป็ นอะไรหรือมันคืออะไรได้ สาเร็จ นัน่ คือสิง่ ทีเ่ รียกว่า เห็นสักว่าเห็นของจริง หรือลองเปลีย่ นมามีสติ จับทีค่ วามรูส้ กึ ของเวทนา สามารถหยุดปรุงหยุดความรูส้ กึ จากเวทนาเช่น ๘๓


ลมไหวใบไม้สงบ

อาการคันอาการเจ็บอาการปวด มันเป็ นสัก ว่าคันสักว่าเจ็บสักว่าปวดได้ หรือไม่ ทดลองฝึกกับอาการเวทนาชนิดอ่อนๆดูก่อน แต่มขี ้อควรระวังอย่าฝึ กหยุดคิดหยุดปรุงแบบเป็ นสมถะ คือถ้า เป็ นสมถะจะหยุดการรับรูน้ ิ่งสงบระงับจนไม่สามารถทากิจกรรมตามปกติ ได้แบบนัน้ ไม่ถูกต้อง การฝึ กดับสังขารการปรุงแต่งแบบวิปัสสนาจะต้อง สามารถทาสิง่ ต่างๆได้ตามปกติ ทาได้แม้ไม่ปรุงว่ากาลังทาอะไร มันจะ เป็ นลักษณะกระทาสักว่ากระทา แล้วตรวจตราดูต่อด้วยว่า มีความรูส้ กึ ว่า มีตวั กูหรือมีความรู้สกึ ว่าเป็ นการกระทาของกูแฝงอยู่หรือไม่ ถ้าแน่ใจว่า ไม่มคี วามรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูแฝงอยู่ นันคื ่ อเวลานัน้ จิตเป็ นพุทธะแล้ว จิต เห็นความเป็ นพุทธะของสิง่ รอบข้างแล้ว ถ้าใครทาได้ถูกต้องจงอย่าแปลกใจที่ไม่เห็นมันเกิด ความรู้เรื่อง พุทธะตรงไหน กาลเวลาจะมีคาตอบให้ทุกคน เพราะจิตพุทธะจริงๆ ต้อง ไม่มคี วามรู้สกึ ใดๆจึงชื่อว่าจิตพุทธะ ถ้ายังมีความรู้สกึ ใดๆแล้วไปคิดว่า พบจิตพุทธะแล้วนัน่ ต่างหากทีไ่ ม่ใช่จติ พุทธะ จิตพุทธะจริงๆจึงไม่ใช่การ ได้ก ารเป็ น ไม่ ใ ช่ ก ารเกิด การอุ บัติ ดัง นั น้ การไม่ ม ีอ ะไรเกิด ขึ้น มีแ ต่ ความรู้สกึ เดิม ๆความเห็นเดิมๆมันหายไป แต่ความสามารถทางานได้ ยังคงอยู่ การให้สาระหรือรูส้ กึ ว่าสิง่ ใดมีสาระมีค่าก็ หายไป แต่กไ็ ม่ใช่เกิด ความรู้สกึ ว่ามันไม่มสี าระ มันหายไปทัง้ สองด้าน ความรู้สกึ ว่าจริงก็จะ หายไป แต่ ก็ไม่ม ีความรู้ส ึกว่าไม่จริง เกิดขึ้น มาจิต พุทธะคือ ความรู้ส ึก ลักษณะไม่ปรุงทัง้ สองขัว้ คือความรูส้ กึ เดิมเช่นให้สาระ คิดว่าจริง คิดว่ามี คิดว่าได้ว่าเป็ นว่าเห็นว่าพบอะไร มันจะไม่มคี วามรู้สกึ แบบนัน้ แต่ไม่ม ี ความรูส้ กึ แบบนัน้ นันแหละคื ่ อการดับสังขารชนิดหนึ่ง คือดับความเห็นผิด แต่ ไม่จาเป็ น ที่เ มื่อดับความเห็นผิดแล้วเราจะต้องมาปรุงความเห็นถูก ขึน้ มาซ้อนทับ ความเห็นผิดดับไปแล้วเราก็เป็ นบุคคลทีไ่ ม่เห็นผิด การไม่ ๘๔


สมสุโขภิกขุ

เห็นผิดอีกแล้วนันแหละคื ่ อการเห็นถูกอย่างแท้จริง แต่ถา้ ดับความเห็นผิด ได้แล้วไปคิดหรือไประลึกความเห็นถูกตามมา นัน่ กลับกลายเป็ นไปสร้าง เหตุผลให้กบั จิตพุทธะ จิตพุทธะก็จะเลือนหายไปกับสายลมทันที จึงต้อง ระวังให้ดๆี ดับแล้วให้มนั ดับไปเลยไม่ต้องไปให้เหตุผลใดๆกับความรูส้ กึ ทีว่ ่างจากความเห็นผิดเด็ดขาด บุคคลผู้เข้าถึงวิถีทางแห่ง ความไม่ต้องคิด จึงรู้แจ้งในสรรพสิ่ง และได้ดื่มรสที่พระพุทธเจ้า ทุกพระองค์ได้ดื่มมาแล้ว และย่อมบรรลุ “ความเป็นพระพุทธเจ้า” ในกาลข้างหน้าต่อไป เว่ยหลาง "อย่าไปให้เหตุผลกับมัน" ง่ายๆ สั้นๆ นี่คือคำสอนของ"ฮวงโป"

มันว่างจนไม่รู้สึกว่า รู้อะไรเห็นอะไรได้อะไรมีอะไร นั่นแหละคือจิตหนึ่ง

ไปเกิดความรู้สึกได้อะไรรู้อะไรเห็นอะไรเป็นอะไรมีอะไร นั่นคือการใส่เหตุผลให้กับความว่าง นั่นคือการทำลายจิตหนึ่งโดยไม่รู้ตัว “จิตพุทธะจะไม่ทำปฏิกิริยาใดๆ ทั้งขั้วบวกขั้วลบ” ฝึกจิตหนึ่งแค่ครึ่งทาง ชีวิตก็จะเย็นเพราะความทุกข์เกิดได้ยาก

๘๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ศาสนาพุทธมิได้สอนให้ไม่ต้องทาอะไรหรือทาอะไรก็ไม่ได้ แต่ ศาสนาพุทธสอนเพื่อให้ทาอะไรๆได้ทุกๆอย่าง อย่างที่เคยทา แต่ทาได้ อย่างไม่เป็ นทุกข์ ควรฝึกจนมันว่างลึกไปถึงก้นก้านสมอง ผัสสะอะไรๆก็ สักว่าไปหมดไม่ให้สาระไปหมด ไร้ตวั ไม่มตี นไปหมด เป็ นอดีตไปหมด เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติไปหมด การเห็นปฏิกริ ยิ ามีค่าไม่เท่ากัน คือการ มองไม่เห็นความเป็ นพุทธะ เพราะพุทธะคือความเสมอกัน ปฏิกริ ยิ าทุก ปฏิกิรยิ าความจริงแล้วมีค่าเสมอกันเป็ นกฎธรรมชาติ ที่ไม่มวี นั เป็ นอื่น แต่ปุถุชนเห็นความไม่เสมอกัน เช่นเห็นเป็ นดีบ้างไม่ดบี ้าง เห็นเป็ นคน สัตว์สงิ่ ของ มีชวี ติ ไม่มชี วี ติ เห็นเป็ นน่าพอใจไม่น่าพอใจ เห็นเป็ นถูกผิด เห็นของฉันของเธอ ฯลฯ การเห็นปฏิกริ ยิ าไม่เท่ากันไม่เสมอกันนันเพราะ ่ การใส่ เ หตุ ผ ลลงไปในปฏิกิริย าที่ม าผัส สะโดยมีปั จ จัย ภายนอกมามี อิทธิพล ปั จจัยภายนอกที่มผี ลอย่างยิง่ ต่อการเห็นผิดเพี้ยนไปจากความ จริง ก็คอื “อวิ ชชา” อวิ ชชาแปลง่ายๆหมายความว่าเพราะไม่รู้ ความจริ ง คื อ ไม่ รู้ ค วามจริ งว่ า สิ ่ง ปรุ ง แต่ ง เกิ ดจากปฏิ กิ ริ ย า ธรรมชาติ ทีเ่ ป็ นไปตามเหตุปัจจัย ผูป้ รารถนาความหลุดพ้นต้องเปลีย่ น ความคิดความเห็นของตนทีต่ อ้ งการปฏิบตั ธิ รรมเพราะอยากได้อะไร เป็ น ปฏิบตั ธิ รรมเพราะต้องการกาจัดขยะหยากไย่ทป่ี ิ ดบังจิตพุทธะออกไปเสีย ให้ได้ กาจัดขยะหยากไย่จนสะอาดหมดจด จิ ตพุทธะก็จะปรากฏต่อ หน้ า จิ ตพุทธะเป็ นสิ ง่ ที ม่ ีอยู่แล้วเป็ นธรรมชาติ เดิ มแท้ แต่ขณะนี้ถูก ปิ ดบังด้วยขยะหยากไย่ กาจัดขยะหยากไย่ออกก็ไม่ใช่ได้สงิ่ ใดเพิม่ เป็ น เพียงแต่จิตพุทธะที่ถูกปิ ดบังซ่ อนเร้นอยู่ ไม่ถูกปิ ดบังซ่อนเร้นอีกต่อไป จิ ตพุทธะคืออะไรเป็ นเช่นไรกาจัดขยะหยากไย่ออกหมดจดจะทราบ เองด้วยพุทธะปัญญา ๘๖


สมสุโขภิกขุ

พุทธะปัญญา จิตหนึ่งเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติท่มี อี ยู่ในสังขารทุกชนิด ปกติจะมี สภาพเป็ นกลางตรงตามความจริง เห็นความจริงก็คือเห็นจิ ตหนึ ง่ เห็น จิ ตหนึ ง่ ย่อมเห็นความจริง แต่เพราะธาตุเลวความไม่รู(้ อวิชชา) สัญญาเลวความสาคัญหมาย ผิดที่เกิดเพราะความไม่รู้ จึงเกิดทิฏฐิเลวหรือมิจฉาทิฏฐิ หรือความเห็น ผิด ๆมาท าปฏิกิริย าผิด ๆซ้ อ นทับ จิต หนึ่ ง เอาไว้ มีก ารเปลี่ย นแปลง ปฏิกริ ยิ าทีค่ วามจริงเป็ นอีกอย่างให้เป็ นอย่างอื่นทีไ่ ม่ตรงความจริง ทาให้ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติกลายเป็ นภาวะอันเป็ นพิษขึน้ มา ภาวะอันเป็ นพิษทีส่ ง่ ผลอย่างใหญ่หลวงต่อปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ คือ การไม่ เ ห็ น ความเสมอกัน ของปฏิกิ ริย าธรรมชาติ จึ ง น ามาซึ่ง การ เปรียบเทียบ อันเป็ นต้นเหตุให้เกิดภาวะความเป็ นของคู่ขน้ึ มา เป็ นบวก ลบ ดีเลว ถูกผิด จริงไม่จริง ฯลฯ ความรู้สกึ ว่าเป็ นของคู่น้ี หลักศาสนา พุทธตามทีพ่ ระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในพระบาลีว่า ความจริงแท้มหี นึ่งเดียว ของคู่ไม่ใช่ความจริง ความจริงมีหนึ่งเดียวเหมือนบัวดอกเดียว ไม่มสี อง ไม่มแี ยกแยะ ไม่มเี ปรียบเทียบ ต้องเห็นความเสมอกันของทุกสรรพ สิ ง่ ให้ได้(พระนาลกะเถระหลุดพ้นด้วยอุบายข้อนี้) แต่ เพราะอวิชชาที่ม ีอิทธิพลต่ อ วิถีคิดของปุถุชน ปุถุ ชนทุกคน กลับเห็นผิดต่อปฏิกริ ยิ าธรรมชาติโดยใส่ความเป็ นของคู่ให้ปฏิกริ ยิ าทุก ชนิด แล้วเห็นผิดยึดถือผิดๆว่าของคู่คอื ความจริงทีม่ อี ยู่ในธรรมชาติ ด้วย เหตุน้ีปฏิกริ ยิ าธรรมชาติท่ีความจริงเป็ นหนึ่งหรือเป็ นจิตหนึ่งทัง้ หมด เลย กลับกลายเป็ นจิตคู่หรือจิตทีน่ ิยมใส่เหตุผลถูกผิดให้กบั ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ตลอดเวลา ๘๗


ลมไหวใบไม้สงบ

นักปฏิบตั ทิ ่านใดทีย่ ดึ ถือถูกผิด ใช่ไม่ใช่ ดีเลว บวกลบตลอดเวลา นันแหละท่ ่ านคือบุคคลประเภทคติทวินิยมหรือผูน้ ิยมมีจติ คูน่ นเอง ั ่ ถ้าใคร เป็ นเช่นนี้ จงหมั ่นมองทุกอย่างให้เสมอกันด้วยอุบายใดๆก็ได้ เช่นเป็ น ปฏิกริ ยิ าทัง้ นัน้ ไม่มอี ะไรไม่ใช่ปฏิกริ ยิ า ระลึกให้เห็นว่าเป็ นปฏิกริ ยิ าเสมอ กัน เป็ นธาตุเสมอกัน เป็ นขันธ์เสมอกัน ไร้สาระเสมอกัน เป็ นอดีตเสมอ กัน ทุกสิง่ เสมอกัน ทีไ่ ม่เสมอกันเพราะจิต คู่ไปใส่เหตุผลต่างๆนานาๆจน ทาให้ความเสมอกันของทุกสรรพสิง่ หายไป จึงอย่าปล่อยให้ชวี ติ ถูกภาวะ อันเป็ นพิษจากจิตคู่ครอบงาชีวติ ต่อไปอีกเลย ต่ อ มาเมื่อมีการศึกษาจนเกิดความเห็นที่ถู กตรงตามความจริง และมีการปฏิบตั ทิ ่ถี ูกตรงตามความเป็ นจริง จนเห็นความเป็ นหนึ่งเดียว ของปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ เห็นด้วยปั ญญาที่ผ่านการฝึ กฝนอย่างถูกวิธี เขา เรียกว่าเห็นความเป็ นพุทธะในปฏิกิรยิ าธรรมชาติ บุคคลประเภทนี้คอื บุคคลผู้เห็นจิตหนึ่ง ปั ญญาที่เห็นจิตหนึ่งเขาเรียก"พุทธะปั ญญา" ผู้ม ี พุทธะปั ญญาจึงหมายถึงผูเ้ ห็นความเสมอกันของปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ จึง ไม่มกี ารเปรียบเทียบถูกผิดดีเลวบวกลบดาขาวกับปฏิกริ ยิ าใดๆเลย ชีวติ ของผู้เ ห็น จิต หนึ่ ง จึง สงบเย็น เป็ น สุ ข มีนิ พ พานน้ อ ยๆเป็ น วิห ารธรรม ตลอดเวลา ชีวิต จึ ง ไม่ ถู ก แทรกแซงโดยจิ ต คู่ หรือ ถ้ า ยัง ไม่ ห ลุ ด พ้น โดย สมบูรณ์ก็มพี ุทธะปั ญญาจัดการกับจิต คู่ได้ ต่างกันเพียงผูห้ ลุดพ้นมีการ จัดการกับจิตคู่ได้โดยอัตโนมัติ แต่ผูม้ พี ุทธะปั ญญาแล้วแต่ยงั ไม่หลุดพ้น จะจัดการจิตคู่ตอ้ งใช้เจตนาเป็ นแรงส่ง คติ ท วิ นิ ยมหรื อ จิ ต คู่ มี ก ารเปรี ย บเที ย บ บวกลบ ไม่ เ ห็น ความเสมอกัน จิ ต พุทธะหรือจิ ต หนึ ่ง เห็นความเสมอกันของทุก สรรพสิ ง่ โดยไร้ข้อกังขา จิ ตหนึ ่งของผู้หลุดพ้นเห็นความเสมอกัน ๘๘


สมสุโขภิกขุ

โดยไม่ต้องมีเจตนา จิ ตหนึ ง่ ของอริ ยะชนชัน้ ต้นชัน้ กลางต้องอาศัย เจตนาดึงพุทธะปัญญามาช่วย พุ ท ธะปั ญ ญาจะท าหน้ า ที่ ป้ อ งกัน ไม่ใ ห้จิต คู่เ ข้า มาแทรกแซง ปฏิกิริยาธรรมชาติ ถ้าภาวะอัน เป็ น พิษของจิต คู่มกี าลังมากจนเข้ามา แทรกแซงได้ พุทธะปั ญญาก็จะทาหน้าทีก่ าจัดอิทธิพลของธาตุเลวทัง้ สาม ไม่ให้เติบใหญ่ พอดับปฏิกริ ยิ าของธาตุเลวได้ พุทธะปั ญญาก็จะควบคุม เฝ้ าระวังให้การทาหน้าทีข่ องจิตหนึ่งเป็ นไปตามเหตุปัจจัยให้ถูกต้องอย่าง ที่ควรจะเป็ น จิตหนึ่งที่ปลอดภาวะอันเป็ นพิษจึงมีรงั สีความสงบอิม่ เย็น ครอบคลุมมชีวติ แทนรังสีรอ้ นจากจิตคู่ท่เี คยครอบคลุมจิตหนึ่งอยู่ ความ สงบเย็น แท้จริง มิใช่ม นั เกิดขึ้น มาใหม่ แต่ ความจริง มัน เหมือ นเกิด ขึ้น เพราะรังสีความร้อนจากอวิชชาหายไป ความร้อนหายจิตหนึ่งที่ร้อนก็ กลายเป็ นปกติ ความเป็ นปกตินัน่ แหละทาให้รู้ สกึ เหมือนว่าเกิดสภาวะ ใหม่คอื เย็นขึน้ มา นักปฏิบตั ทิ เ่ี ห็นพุทธะภาวะจริงๆต้องไม่หลงติดกับดัก ไม่ว่าจะเกิดสิง่ ใดๆต้องตระหนักเสมอๆว่ามันแค่เป็ นปฏิกิรยิ าธรรมชาติ เห็นตามความจริงว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติกค็ อื เห็นความเป็ นพุทธะ ของสรรพสิง่ ในธรรมชาตินนเอง ั ่ เห็นพุทธะประคองพุทธะเอาไว้ ชีวติ ตอน นัน้ ก็เป็ นชีวติ พุทธะ คือชีวติ ที่ไม่เป็ นทุกข์ แต่ ถ้ายังไม่หลุดพ้นอาจมีการ เผลอสติปล่อยให้ภาวะอันเป็ นพิษกลับมาแทรกแซงชีวติ ชีวิ ตก็จะหล่น จากความเป็ นจิตพุทธะ ต้องมาสร้างพุทธะปั ญญากันใหม่ ผูย้ งั ไม่หลุดพ้น ก็จะดาเนินชีวติ อยู่ระหว่างจิต หนึ่งกับจิตสองไปจนกว่าจะหลุดพ้น นัน่ คือ จิตสองหมดโอกาสเข้ามาแทรกแซงชีวติ ได้ จิ ตหนึ่งกับพุทธะปั ญญาจะ สมัง คีกลายเป็ นสิ่งเดียวกัน ถึง จุดนัน้ การควบคุม ป้ องกันและประคอง ความเป็ นพุทธะก็จะเป็ นไปโดยอัตโนมัตไิ ม่ตอ้ งอาศัยเจตนาช่วยแบบตอน เข้ากระแสอริยะบุคคลชัน้ ต้นอีกแล้ว ๘๙


ลมไหวใบไม้สงบ

จิ ตหนึ่ งหรือธรรมชาติ เดิ มแท้ ไม่สามารถอธิบายลักษณะด้วย ค าพูด ใดๆ จึง ต้อ งบอกด้ว ยอุ บ ายวิธีป ฏิบัติเ พื่อ ท าจิต หนึ่ ง ให้ป รากฏ อุบายวิธที าจิตหนึ่งให้ปรากฏมีหลากหลายวิธี นักปฏิบตั สิ ามารถรับรูก้ าร ปรากฏของจิตหนึ่งได้ดว้ ยสัญชาตญาณ เพราะวินาทีทจ่ี ติ หนึ่งปรากฏครัง้ แรก มัน จะมีอ าการแตกต่างที่เห็นชัด ปรากฏให้ทราบ เป็ น ความรู้สกึ แปลกใหม่น่าทึ่งน่าตกใจ ไม่เคยพบเห็นมาก่อน ทุกคนจึงสามารถจดจา วันเวลาที่จิตหนึ่งปรากฏครัง้ แรกไม่ลมื เลือน สิบปี ย่สี บิ ปี ผ่านไปก็ยงั จา การปรากฏของจิตหนึ่งครัง้ แรกได้อยู่ และเมือ่ ฝึกบ่อยๆทาบ่อยๆจะค่อยๆ สามารถใช้ประโยชน์จากจิตหนึ่งในการดับทุกข์ในชีวติ จริงได้ ขึน้ อยู่กบั ฝี ม ือ ในการนาจิต หนึ่ งมาประยุกต์ใช้ จิต หนึ่ง ชื่อ บ่ง บอกอยู่แล้วว่าเป็ น เอกะ ถ้าสิ ง่ ใดเป็ นคู่แบบนัน้ คือคติ ทวิ นิยมหรือจิ ตคู่ ซึ่งมีหลักการอยู่ ว่าจิ ตหนึ ง่ จะปรากฏต่อเมือ่ จิ ตคู่หายไป ด้วยวิธใี ดอุบายใดก็ตามแต่ม ี คาสอนของฮวงโปที่ตรงกับคาตรัสของพระพุทธเจ้าอีกหนึ่งอุบายคือ วิธี เลิกคิดสุดโต่งทัง้ สองด้าน วิธนี ้ีพระพุทธเจ้าตรัสสอนท่านกัจจานะ ฮวงโป ก็นามาใช้สอนสานุศษิ ย์เช่นกัน วิธเิ ลิกคิดสุดโต่งทัง้ สองด้านคือ เลิกคิดว่า มี และเลิกคิดว่าไม่ม ี คิดว่ามีคอื การใส่เหตุผลลงไปในปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ คิดว่าไม่มกี เ็ ช่นกันเป็ นการใส่เหตุผลลงไปในปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ทุกคนจึง สามารถนามาฝึกฝนตนเองได้ เมือ่ เกิดความคิดว่าสิง่ ใดมีกเ็ ลิกคิดหยุดคิด ทันที และต้องไม่ปรุงว่าไม่มดี ว้ ย หรือเมือ่ คิดว่าสิง่ ใดไม่มกี ห็ ยุดคิดเช่นนัน้ และอย่าปรุงว่ามีตามมาด้วย ใช้วธิ หี ยุดคิดทัง้ สองด้านให้เด็ดขาดไปเลย ความคิ ดว่ามีหรือไม่มีคือความคิ ดแบบคติ ทวิ นิยม ซึง่ ปุถุชนทัวไปจะ ่ คิดแบบนัน้ เสมอๆ แต่ถ้าเลิกคิดว่าอะไรมี และเลิกคิดว่าอะไรไม่ม ี มีกไ็ ม่ คิ ดไม่มีกไ็ ม่คิด พอเลิ กคิ ดเช่นนี้ ย่อมพบความรู้สึกว่างสงบไม่ยดึ โยง กับสิ ง่ ใดๆเลยนัน่ คือการพบความเสมอกัน พบความเป็ นกลาง พบ ๙๐


สมสุโขภิกขุ

ธรรมชาติ เดิ มแท้ซึง่ เป็ นเอกะ ความว่างทีพ่ บนัน่ แหละคือธรรมชาติเดิม แท้หรือจิตเดิมแท้หรือจิตพุทธะ ว่างจากคติ ทวิ นิยมคือว่างจากความ เป็ นสองคือว่างจากมีและไม่มี หรือว่างจากถูกผิ ด ว่างจากขาวดา เรียกว่าว่างจากสอง มันจึงกลายเป็ นเห็นธรรมชาติ เป็ นหนึ ง่ เดียว ทาลายความเห็นสุดโต่งทัง้ สองเสีย จึงหมายถึงการทาลายจิตคู่นนเอง ั่ จิต คู่ถูกทาลาย คติทวินิยมถูกทาลาย "จิ ตหนึ่ ง"จึงปรากฏ แต่อย่าตกใจอย่าแปลกใจหากทาแล้วไม่รสู้ กึ ว่าพบอะไรเลย จงฝึ ก ต่อไป ทาต่อไป รู้สกึ ว่ามีอะไรก็ทาให้ความรู้สกึ ว่ามีมนั หายไปให้เกลี้ยง รูส้ กึ ว่าไม่มอี ะไรก็ทาให้ความรูส้ กึ ว่าไม่มมี นั หายเกลี้ยง ทาแล้วทาอีก ทา บ่อยๆ สักวันจะเข้าใจเองว่า ความไร้สภาพ ความว่างจากความรูส้ กึ ใดๆ นัน่ แหละคือธรรมชาติเดิมแท้ จะเข้าใจเองว่าธรรมชาติเ ดิมแท้มนั เป็ น เช่นนี้ จิตหนึ่งมันเป็ นเช่นนี้ ด้วยการทีม่ นั ไร้สภาพใดๆ มันจึงเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ สามารถอธิบายด้วยคาพูดใดๆได้นอกจากลงมือทา

ขอให้สงั เกตคําว่า "ลองไปใช้เหตุผลว่ามันเป็ นอะไรเข้าสิ " ๙๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ความเป็ นพุท ธะจะหายไปเพราะอะไร ทัง้ ๆที่เ หตุ ผ ลก็คือ ความรู้อย่างหนึ่ง ตรงจุดนี้ขอให้ทุกคนทาความเข้าใจให้กระจ่างชัดเจน จึงจะทาให้สามารถทิ้งรูท้ ้งิ สมมุตไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ คือต้องเห็นโทษ ของการติดรูต้ ดิ สมมุตใิ ห้ได้ก่อน ความรู้หรือเหตุผล ถึงยังไงมันก็ถือว่าเป็ นสังขาร เป็ นสิง่ ปรุง แต่ง ยังเป็ นมายา เป็ นของลวงตา ไม่ใช่ของจริง เมื่อเรานามาใช้เรายังมี ความรูไ้ ม่พอเลยคิดผิดไปจากความจริง คือส่วนใหญ่จะเห็นว่ามันเป็ นของ จริง เป็ นความรูข้ องเรา เป็ นปั ญญา เป็ นสิง่ วิเศษ เป็ นของมีสาระ เรียกว่า ย่อมมีอวิชชาประกอบอยู่ จึงทาให้เหตุผลทีว่ ่าดีนนั ้ กลายเป็ นผลไม้พษิ ไป โดยไม่รตู้ วั แต่ถ้าเรานามาใช้อย่างไม่ให้สาระไม่ถอื เอาว่าจริง ไม่รู้สกึ ว่ามัน เป็ นตัวตนเป็ นของวิเศษหรือเป็ นของเรา หรือเป็ นของจริงของแท้ ก็นามา ใช้ได้ เป็ นการใช้สกั ว่าใช้ แต่ถา้ ยังเป็ นปุถชุ นอยู่ จะไม่สามารถนามาใช้สกั ว่าใช้หรือรู้สกั ว่ารู้รบั ทราบสักว่ารับทราบได้ เราจึงต้องมาฝึกทิ้งรู้เพื่อให้ เกิดสิง่ ๆหนึ่ง สิง่ นัน้ คือ ความรูส้ กึ ว่างจากตัวตนของทุกสรรพสิง่ การทิง้ รู้ ทิ้งอุบาย ทิ้งสมมุติ ทิ้งเหตุผลนี่แหละคือช่องทางทีจ่ ะทาให้เกิดความรูส้ กึ "สักว่า" ทีส่ มบูรณ์แบบทีส่ ุด สมบูรณ์แบบชนิดที่ ท่านพาหิยะเคยใช้ รู้สึก สักว่ารู้สึก นันที ่ เดียว

ของคู่(คติทวินิยม) คือม่านบังตาทำให้ไม่เห็นจิตพุทธะ(จิตหนึ่ง) แหวกม่านของคู่ได้เมือ่ ใดก็จะเห็นจิตพุทธะที่ตั้งอยู่มานมนานแล้ว ม่านของคู่มันบังตาเลยทำให้มองไม่เห็นเท่านัน้ เอง

๙๒


สมสุโขภิกขุ

วิ ธีพิสจู น์ทราบหาความแตกต่างระหว่างจิ ตหนึ่ งกับจิ ตสอง ธรรมดาปุถุชนคือผู้นิยมคติทวินิยม จึงมองสิง่ ใดด้วยความเป็ น สอง ทัง้ ๆที่ธรรมชาติตามที่เป็ นจริงคือมีแต่ความเป็ นหนึ่ง สิง่ ที่เป็ นสอง พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็ นของไม่จริง เป็ นมายา เป็ นของหลอกลวง ซึ่งมีอยู่ ในพระสูตรหลายพระสูตร ธรรมชาติเมื่อมีปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ วิญญาณรับรูใ้ นปฏิกริ ยิ านัน้ ตรงนี้เรียกว่าวิญญาณไปทาปฏิกริ ยิ ากับปฏิกริ ยิ าอื่น หรือสิง่ อื่น ต่อมาถ้า วิญญาณมีการใส่เหตุผลลงไปว่าปฏิกริ ยิ านี้มสี มมุตชิ ่อื ว่าอะไร ทันทีท่ใี ส่ สมมุติให้กบั ปฏิกิรยิ าใดคติทวินิยมเกิดแล้ว เช่นเห็นปฏิกริ ยิ าชนิดหนึ่ง แล้วปรุงสมมุตติ ามความเคยชินตามสัญญาเดิมระบุว่าสิง่ ที่ทาปฏิกริ ยิ า ทางตาอยู่นนั ้ คือรถ ความรู้สกึ ว่าสิง่ นัน้ คือรถก็ผุดขึน้ มา แต่เท่านัน้ ยังไม่ พอ ถ้าวิญญาณ,เวทนา,สัญญา,สังขาร,เจือด้วยอวิชชา อวิชชาจะสร้าง ทิฏฐิเลวขึน้ มาทันทีว่า มันเป็ นรถจริงๆ ความรูส้ กึ ว่ารถคือของจริงจะเกิด ตามมา และอาจมีป รุ ง เป็ นสวยไม่ ส วยยี่ห้ อ สีข องเราของเขา นี่ คือ กระบวนการทาหน้าทีข่ องจิตคู่ทางานสมบูรณ์แล้ว แต่หลักศาสนาพุทธมีกฎความจริงทีส่ าคัญอยู่ขอ้ หนึ่งว่า ของคู่คอื ของไม่จริง อะไรก็ตามทีม่ กี ารทาปฏิกริ ยิ าร่วมกันตัง้ แต่สองขึน้ ไปคือเป็ น ของไม่จริง เป็ นมายา เป็ นของหลอกลวง แต่จติ คู่เป็ นจิตทีอ่ วิชชาครอบงา จึงไม่รู้ความจริงไม่คดิ ตามความจริงไม่ระลึกตามความจริง แต่ไประลึก ตามธาตุเลวสัญญาเลวทิฏฐิเลว จึงมีความเห็นผิดว่าปฏิกริ ยิ าชนิดนัน้ คือ รถ และรถก็เป็ นของจริง รถมีอยู่จริง อาจใส่เหตุผลเพิม่ ลงไปอีกหลายๆ อย่างตามแต่ธาตุเลวจะบัญชาการ การเห็นผิดเพีย้ นจากความจริงนี่แหละ ทาให้เกิดความยึดความอยากเรียกว่าก่อปฏิกริ ยิ าอื่นตามมาจนมากกว่า ๙๓


ลมไหวใบไม้สงบ

สอง หลายเท่านัก สุดท้ายคือเป็ นต้นเหตุทาให้เกิดทุกข์ ความทุกข์จึง เกิ ดจากการเห็นไม่ตรงตามความจริงของจิ ตคู่(จิ ตคติ ทวิ นิยม)นี เ่ อง ดัง นั ้น ทุ ก คนจึง สามารถรู้ จ ัก อาการของจิต คู่ จิต ที่นิ ย มแตก ปฏิกริ ยิ าจากหนึ่งให้เป็ นสอง ไม่ว่าจะเพิม่ อะไรขึน้ มาถือว่านัน่ คือทาจิต หนึ่งให้เป็ นจิตคู่แล้ว แต่จิตหนึ่งไม่ใช่ของคู่ ปุถุชนย่อมไม่รู้จกั เพราะมีปฏิกริ ยิ าใดๆ เกิดขึ้นต้องเพิม่ ปฏิกริ ยิ าอะไรสักอย่างใส่ลงไปให้จิตหนึ่งเป็ น จิตคู่ให้ได้ คนเราจึงทุกข์อยู่ร่าไปจึงเวียนว่ายตายเกิดอยู่ร่าไป แต่ศาสนาพุทธก็มวี ธิ รี ตู้ ามความจริงระลึกตามความจริงเพือ่ ทาให้ จิตคู่หายไป จิตคู่หายไปจิตหนึ่งจึงปรากฏ ด้วยวิธีง่ายๆ คือระลึกตาม ความจริง ในกรณีตวั อย่างทีย่ กมานี้ ขอให้นักปฏิบตั จิ งทดลองระลึกตาม ความจริงดังที่อธิบายมาแล้ว ว่าของคู่คอื ของไม่จริง ของปลอม ดังนัน้ ที่ เราคิดว่ามันเป็ นรถ แท้จริงมันไม่ใช่รถ คาว่า “รถ” คือของปลอม ความคิด ว่ามันเป็ น “รถ” ความคิดแบบนัน้ คือของปลอม ไม่ใช่ “รถ” เป็ นของ ปลอม แต่ “ความคิ ด” ต่างหากเป็ นของปลอม ทุกๆความคิดเลย ไม่ ว่าเราจะคิดว่าสิง่ ใดๆมันเช่นนัน้ เช่นนี้ นันคื ่ อความคิดของจิตคู่ซง่ึ ล้วนเป็ น ของปลอมหมด สมมุตบิ ญ ั ญัตทิ ุกคาจึงเป็ นของปลอมหมด หลักศาสนาที่ กล่าวว่าสังขารแม้ทงั ้ หมดล้วนเป็ นมายาเป็ นของปลอมคือความหมายนี้ ปฏิกริ ยิ าทีก่ ่อรูปร่างจนกลายเป็ นสิง่ ๆหนึ่งนัน้ มีอยู่จริง ปฏิกริ ยิ ามีจริงแต่ สมมุตไิ ม่ว่าจะสมมุตวิ ่ามันเป็ นอะไรล้วนเป็ นของปลอมหมด หวังว่าคงพอ เข้าใจความหมายของคาว่าของปลอม ดังนัน้ เมื่อรูค้ วามจริงว่าคาสมมุตวิ ่ารถเป็ นของปลอมเราก็ฝึกเลิก คิดว่ามันเป็ นรถ วิธแี รกๆก็ฝึก ระลึกสัน้ ๆแต่ระลึกตามความจริงคือระลึก ว่า"ของปลอม" ทดลองนาไประลึกกับทุกสิง่ ได้เลย คิดว่าสิง่ นัน้ เป็ นอะไร ๙๔


สมสุโขภิกขุ

ก็ระลึกว่า "ของปลอม" ทาไว้ในใจตลอดเวลาก็ยงั ได้ กราดสายตาไป รอบตัวแล้วระลึกว่าสิง่ ทีเ่ ห็นนัน้ นันน่ ่ ะล้วนแต่เป็ นของปลอม ไม่ใช่อย่างที่ เราเคยคิด อย่าปล่อยให้จิต คู่ทาหน้ าที่คิดออกมาว่าเป็ นอะไร เรียกว่า ป้ องกันทีต่ น้ เหตุ เพราะถ้าปล่อยให้จติ คู่ปรุงว่ามันเป็ นสิง่ นัน้ สิง่ นี้จติ พุทธะ จะหายไป แต่พอระลึกว่า "ของปลอม" จิตคู่จะหายไปจิตพุทธะจะปรากฏ ทดลองทาทดลองระลึกดู ทาจริงๆอย่าทาเล่นๆ และระลึกจริงๆอย่าแค่คดิ ถ้ า ระลึก จริง ๆจะพบความแตกต่ า ง คือ ตอนที่ จิต คู่ป รุ ง ว่ า มัน เป็ น รถ ความรู้สกึ ว่ามันเป็ นรถจริงๆจะปรากฏ แต่พอระลึกว่าเป็ น "ของปลอม" จิตพุทธะจะปรากฏ คือทุกอย่างจะว่างหมด จิ ตหนึ ง่ คือความว่างอย่าง นั น้ พอสติหลุดคิดว่ามันเป็ นรถหรือมองคนมองอะไรก็ได้ ความว่างก็ หายไป แต่พอระลึกตามจริงคือทาลายจิตคู่ทาลายธาตุเลว ด้วยความจริง ก็จะพบความจริง คือพบด้วยตนเองว่าธรรมชาติเดิมแท้ จิ ตเดิ มแท้ มัน ว่างอย่างนี้ นี เ่ อง และรูด้ ว้ ยตนเองโดยไม่ต้องมีคาอธิบายว่ามันต่างจาก จิตทีถ่ ูกคติทวินิยมครอบงาอย่างไร หลังจากนัน้ จะรักจะชอบจิตหนึ่งหรือ จิตคู่ ของจริงหรือของปลอมก็เลือกกันเอาเอง พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าสังขารทัง้ หมดล้วนแต่เป็ นของไม่จริง ของคู่ ทัง้ หมดเป็ นของไม่จริง สมมุตทิ ุกคาเป็ นของไม่จริง เพราะความจริงมีหนึ่ง เดียว คือทุกสิง่ ล้วนเป็ นของว่างเปล่า ใครมีปัญญาทดลองระลึกดูได้ ว่า อะไรๆก็ของปลอม กวาดสายตาพบอะไรทดลองระลึกว่า "ของปลอม" ซึ่งทันทีท่รี ะลึกก็จะพบจิตหนึ่งพบความจริงแท้ ความจริงแท้หรือจิตเดิม แท้เป็ นเช่นไรพบแล้วรูส้ กึ อย่างไร เมือ่ ถึงเวลานัน้ จะทราบด้วยตนเอง ฝึ กทางานด้วย"จิ ตหนึ่ ง"สักวันละหนึ่งถึงสองชัวโมง ่ ด้วยการ ระลึกว่า"ของปลอม" สัน้ ๆแค่น้ีพอ ได้บา้ งหลุดบ้างช่างมัน ขอเพียงอย่า เลิกทา ไม่นานก็เก่งเอง สุดท้ายชีวติ ก็จะพบแต่ความเย็น ๙๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ระลึกว่า"ของปลอม" คือจิ ตหนึ ง่ ระลึกว่า"ของจริง" คือจิ ตคู่ จิ ตหนึ ง่ ก็ เย็น จิ ตคู่ก็ ร้อน ถ้าจะถามว่าจิตเดิมแท้ไม่คดิ ไม่ปรุงจะสื่อสารกับโลกแบบไหน ก็ ต้องตอบว่า การปรุงเพื่อสื่อสารกับโลกก็มเี หมือนปกติ แต่จติ เดิมแท้คดิ และปรุงโดยมีการทาไว้ในใจด้วยสติสมาธิปัญญาทีไ่ ร้สภาพกากับ ว่าสิง่ ที่ ปรุงเป็ นของปลอมของไร้สาระเป็ นขันธ์ในอดีตไม่ใช่ตวั กูไม่ใช่ของกูไม่ใช่ สิง่ ทีม่ ตี วั ตนไม่ใช่แม้สิง่ ทีม่ ีชีวิต สัมมาปั ญญาทีไ่ ร้สภาพจะมีการทาไว้ใน ใจแตกต่ างจากการคิด เป็ น การทาไว้ในใจเหมือ นไม่ม ีก ารทาไว้ใ นใจ เพราะมันไร้สภาพ ซึ่งธรรมดาจิตคู่(จิตคติทวินิยม)ก็มกี ารทาไว้ในใจอยู่ แต่พวกจิตคู่จะไม่รู้ตวั เพราะมันไร้สภาพ เช่นเมื่อปรุงแต่งคาสมมุตใิ ดๆ ขึน้ มาจิตคู่จะทาไว้ในใจกากับว่าสิง่ ที่คดิ ที่พูดคือเป็ นของจริง เป็ นของกู เป็ นของมีสาระ เป็ นของปั จจุบนั เป็ นความถูกต้องฯลฯ ความรูส้ กึ เหล่านี้ ไร้สภาพแต่จะร่วมทาปฏิกริ ยิ าคู่ไปกับปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอ่นื ๆ ด้วยเหตุท่ี มันไร้สภาพปุถุชนจึงไม่รู้จกั หรือไม่รู้ด้วยซ้าว่าความรู้สกึ ว่ ามีตวั กูของกู ความรู้สึกว่าจริงหรือความรู้สกึ อื่นมันกาลังเกิดขึ้นอยู่กบั ตน จนบางที ปุถุชนส่วนใหญ่หลงผิดคิดว่าตนเองไม่มคี วามรูส้ กึ แบบนัน้ แบบนี้แล้วทัง้ ๆ ทีค่ วามจริงแต่ละคนมีความรูส้ กึ ประเภทนี้เต็มไปหมด ตัวอย่างเช่นเราพูดคาว่ารถ ทุกคนจะคิดว่ามันไม่มปี ฏิกริ ยิ าใดๆ เกิดพร้อมกับคาพูดที่พูด แต่ความจริงมันมีความรู้สกึ ว่าจริง ว่ารถเป็ น ของจริง เป็ นของกู เป็ นของหวง ความรู้สกึ คู่เกิดตามมาเกือบทุกๆคา สมมุ ติโ ดยปุ ถุ ช นจะไม่รู้ต ัว เพราะของคู่ท่ีเ กิด ตามมานัน้ มัน ไร้ส ภาพ ดัง นั ้น การคิ ด การปรุง ไม่ ว่ า จะเป็ นของจิ ต หนึ ่ง หรื อ จิ ต คู่ต่ า งก็มี เหมือนๆกัน และมีการทาไว้ในใจกากับเหมือนๆกัน แต่ จติ คู่มกี ารทาไว้ ๙๖


สมสุโขภิกขุ

ในใจแบบผิดๆเพราะอิทธิพลของภาวะอันเป็ นพิษจากธาตุเลวทาให้เกิด ความคิดความรูส้ กึ ทีเ่ ป็ นมิจฉาทิฐติ ลอดเวลา ส่วนจิตหนึ่งมีการทาไว้ในใจกากับด้วยปั ญญาชอบจึงมีแต่ความ จริงของธรรมชาติ กากับความคิดความรู้สกึ ให้เป็ นสัมมาทิฐติ ลอดเวลา แต่อาจมีความสงสัยตามมาอีกว่า ถ้ารูส้ กึ ว่าไร้สาระ เป็ นมายา เป็ นของไม่ จริง เวลาพูดเวลาคิดมันจะไม่ผดิ ปกติหรือ คาตอบข้อนี้อาจยากที่จะทา ความเข้าใจ แต่การกระทาโดยไม่ให้สาระ การกระทาโดยไม่รสู้ กึ ว่ามีใคร เป็ นผูก้ ระทา การประกอบสัมมาอาชีพทัง้ ๆที่ไม่มคี วามอยากไม่มตี วั ตน หรือรูส้ กึ ตลอดเวลาว่าสิง่ ทีท่ าเป็ นของปลอมของไม่จริงนัน้ ไม่มผี ลต่อการ กระทาการใดๆทัง้ สิน้ เพราะถ้ามีเหตุมปี ั จจัยที่ต้องทา สัมมาปั ญญาก็จะ สร้างปฏิกริ ยิ าให้เกิดการกระทาเรื่องนัน้ ๆขึน้ มาทันที แม้ทาไปทัง้ ๆทีไ่ ม่ ถือว่าเป็ นสาระ ไม่ถอื ว่ามันของจริง สัมมาปั ญญาเห็นว่าควรทาอะไรอย่าง ใดแค่ไหนทาแล้วจะทาไว้ในใจอย่างใด สัมมาปั ญญาก็ปรุงการกระทาที่ ชอบนัน้ ๆตามปกติ โดยอาศัยมรรคแปดอนาสวะเป็ นบรรทัดฐานในการ กระทา ซึ่งถ้าฝึ กทางานด้วยจิตหนึ่งไปเรื่อยๆจะเข้าใจได้ด้วยตนเองว่า แม้ไม่ให้สาระไม่ถอื เอาว่าจริงไม่ยดึ ไม่อยาก ไม่มตี วั ผูท้ าไม่มตี วั สิง่ ทีท่ าไม่ มีตวั ผลของการกระทา แต่การกระทาก็ยงั เกิดขึน้ ได้ ไม่ใช่หยุดการกระทา หรือไม่ทาอะไรเลยไม่ปรุงอะไรเลย การกระทานัน้ มีอยู่แต่ผู้กระทาไม่ม ี เท่านัน้ เอง ทุ ก ครัง้ ที่ ม ีส ัม มาสติจ ะมีส ัม มาญาณะหรือ สัม มาปั ญ ญาเป็ น ปฏิกริ ยิ าร่วมด้วยเสมอ แต่สมั มาปั ญญามันไร้สภาพ ผูม้ สี มั มาสติจะไม่ม ี โอกาสรับรูถ้ งึ ความมีอยู่ของสัมมาปั ญญาเด็ดขาด แต่มนั ก็มอี ยู่เก็บสะสม ไว้และพอกพูนขึน้ เรื่อยๆ ปั ญญาทีม่ สี ภาพเสียอีกเป็ นปั ญญาไร้สาระ อย่า ไปมีป ฏิกิริย าว่ า เป็ น ความจริง มัน เป็ น แค่ ปั ญ ญาประเภทคติท วินิยม ๙๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ปั ญ ญาอั น เป็ นสองปั ญญาแบบนี้ เ กิ ด เมื่อ ใดใคร่ ค รวญดู ไ ด้ มัน จะ เกิดปฏิกิรยิ าซ้อนตามมาด้วยความรู้ส ึกว่าเป็ นของจริง รู้จริง วิเศษจริง เป็ นความรูข้ องกูปัญญาของกู กูเป็ นเจ้าของปั ญญา นี่คอื ปั ญญาทีธ่ าตุเลว สัญ ญาเลวทิฏ ฐิเลวมัน ทาปฏิกิริยาซ้อ นปฏิกิริยา จนความจริง หายไป เหลือแต่ของปลอมเหลือแต่มายาคติ ไปหลงเชื่อก็ตดิ กับการปฏิบตั กิ ็ไม่ ก้าวหน้า แถมยังสร้างโลภะ รูแ้ ล้วอยากรูต้ ่อ มันก็แค่รขู้ องปลอม รูม้ ายา คติอ่นื ๆ รู้แบบไม่รู้ว่ามันไม่ใช่ของจริง พระพุทธเจ้าตรัสว่าทุกสิง่ ไม่จริง ขอให้รู้ไว้ว่ามัน ไม่จริง ทัง้ หมด สัม มาปั ญญาคือ รู้ต ามความจริง นัน่ คือ สัม มาปั ญ ญาจะรู้อยู่ภ ายในอย่างไร้ส ภาพว่าปฏิกิรยิ าถ้ามีซ้อนสองขึ้น เมื่อใด ล้วนไม่ใช่ของจริงทัง้ นัน้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าความจริงย่อมไม่ม ี สอง ความจริงที่สองไม่ม ี จงมีความละเอียดในการปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิธรรม จริงๆไม่ยาก มีเรื่องให้ทาน้อยเรื่อง แต่ทห่ี ลงผิดคิดว่ายากก็เพราะไปฝึ ก ไปสนใจไปให้ความสาคัญกับเรื่องทีไ่ ม่เป็ นเรื่อง ทิ้งเรื่องทีเ่ ป็ นเรื่องเสียไม่ ยอมนามาปฏิบตั ิ แต่ไปสนใจแต่เรื่องที่ไม่เป็ นเรื่องแล้วนามาปฏิบตั แิ ทน การปฏิบตั จิ งึ เหมือนวนอยู่ในเขาวงกต อ่านแล้วตีความพระสูตรทีส่ อนว่า สังขารแม้ทงั ้ หมดมันล้วนเป็ นของชัวคราว ่ ตัง้ อยู่ไม่ได้นาน(เป็ นอดีตไป ตลอดเวลา) เป็ นของหลอกลวง(ของปลอม ของไม่จริง )เป็ นของไร้สาระ คาว่าแม้ทงั ้ หมดคือไม่ยกเว้นสิง่ ใดเลย ถ้าสิง่ ใดมีปฏิกริ ยิ าของสิง่ ต่างๆ ตัง้ แต่สอง มันต้องไร้สาระ ไม่ใช่ของจริง ไม่ใช่ปัจจุบนั เพราะปฏิกริ ยิ ามัน เกิดแว็บเดียวก็หาย มันเลยเกิดแล้วเป็ นอดีตทันที ไร้ตวั ตนจริงๆทันที เป็ นของปลอมทันที แต่ท่เี ราไม่เห็นมันเป็ นเช่นนัน้ เพราะเราถูกครอบงา ด้วยธาตุเลวสามตัว ดังนัน้ การมีสมั มาสติจะทาให้ความจริงถูกเปิ ดเผยทีละอย่างสอง อย่าง สัม มาปั ญญารู้ตามความจริงชนิดจริงแท้จึงค่อยๆเกิด พอสัมมา ๙๘


สมสุโขภิกขุ

ปั ญญาสมบูรณ์ ก็ไม่ต้องมาคอยระลึก สติก็จะสมบูรณ์ไปพร้อมๆกัน ถึง เวลานัน้ แค่มสี ติ ปั ญญาจะมาพร้อม สมาธิกม็ าพร้อม ไม่ต้องระลึกไม่ตอ้ ง เจตนา ธาตุเลวสามตัวก็หมดโอกาสทาหน้าที่ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดหลังจากนัน้ ก็ไร้สภาพไม่ใช่สงั ขารแต่เป็ นวิสงั ขารไปหมดสิ้น ปฏิกิรยิ าต่างๆที่เกิด เพราะสัมมาปั ญญาสร้างจะไม่มปี ฏิกริ ยิ าใดๆทาให้เกิดทุกข์ได้เลย จึงเป็ น การหลุดพ้นจริงๆ เขาเรียกภาษาบาลีว่าสัมมาวิมุตติอนาสวะ ผลที่เกิดจากการมีสมั มาปั ญญา แม้สมั มาปั ญญาจะไร้สภาพ แต่ มันทางานได้ ผู้ฝึกถูกทางสร้างสัมมาสติถูกต้อง สัมมาปั ญญาย่อมเกิด ตามมาและจะคอยทาปฏิกริ ยิ าร่วมโดยไม่รตู้ วั ผลจะทาให้ชวี ติ เย็นขึน้ ถ้า มีปัญญาแบบจิตคติทวินิยม ชีวติ ไม่เย็น แถมรุ่มร้อนเสียอีก หงุดหงิดง่าย ไฟลุ ก บ่ อ ย ชอบเพ่ง โทษจับ ผิด ค้า นแย้ง ยกตนข่ม ผู้อ่ืน อวดรู้เ อาชนะ คะคาน ปั ญญาจากจิ ตคู่จะเป็ นเช่นนัน้ แต่ปัญญาไร้สภาพทีเ่ ป็ นปฏิกริ ยิ า จากจิ ตหนึ่ ง จะสงบสุขุมโปร่งเย็นเป็ นประโยชน์ต่อชีวติ ต่อครอบครัวต่อ สังคม เย็นขนาดคนรอบข้างสัมผัสได้ การปฏิบตั ถิ ูกทางจะเย็นไม่ใช่รอ้ น บทสรุปแห่งการปฏิ บตั ิ ธรรมชาติ มีปฏิ กิริยา ๒ ประเภท ประเภทแรก ปฏิ กิ ริ ย าฝ่ ายอธรรม มี ความรู้สึ ก ว่ า มี ต ัว กู (อัตตา) เป็ นแม่ทพั ประเภทที่สอง ปฏิ กิริยาฝ่ ายธรรมะ มี จิ ตพุทธะ เป็ นแม่ทพั สิ่ งแรกที่ต้องฝึ ก ฝึ กใช้สมมุติโดยไม่มตี วั กูของกู ปฏิ กิริยาฝ่ ายธรรมะ มีสติระลึกตรงๆว่า “ปฏิกิรยิ าธรรมชาติ” สามารถระลึกได้ตลอดเวลา อุบายนี้ครอบคลุมได้หมดทัง้ ธรรมชาติ ๙๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ปฏิ กิริยาฝ่ ายอธรรม อันได้แก่สมมุตบิ ญ ั ญัตทิ ุกชนิด มีสติระลึก พร้อมในทุกๆครัง้ ที่ใช้สมมุติ โดยระลึกว่า ของปลอม ปฏิกิรยิ าในอดีต ขันธ์ในอดีต ไร้สาระ ไม่มสี าระแก่นสาร ของไม่จริง ไม่มอี ยู่จริง คาสมมุติ ไม่มตี วั ตนอยู่จริง ไม่มเี จ้าของ ไม่ใช่ตวั กู ไม่ใช่ของกู ไม่ใช่ตวั ใคร ไม่ใช่ ของใคร ข้อควรระวัง ก่อนใช้อุบายควรเพ่งไว้ในใจจนเห็นแจ้งเห็นจริง ตามอุบายนัน้ ๆจึงค่อยนามาใช้ การฝึ กระลึกเช่นนี้พร้อมๆไปกับการใช้ สมมุติ ย่อมสามารถใช้คาสมมุตไิ ด้ทุกคาโดยไม่เป็ นทุกข์ หลังจากนัน้ ต้อง ฝึกเลิกคิดว่ามีตวั กูของกูเป็ นด่านต่อไป ภารกิ จสําคัญ ที่ปฏิกิรยิ าฝ่ ายธรรมะต้องทาคือ ฆ่ าอัตตาตัวกู ของกู(เพียงตัวเดียว)ให้สาเร็จ อาวุธทีใ่ ช้ฆ่าไม่สามารถใช้ “ความคิ ด” ใดๆเป็ นอาวุธทาลายล้างความรู้ สกึ ว่ามีตวั กูได้ ต้องใช้ “ความไม่ต้อง คิ ด" เท่านัน้ ในการฆ่าอัตตาตัวกูของกู แต่ก็ต้องพึ่งความคิดที่ถูกตรง ตามความจริงเป็ นตัวช่วยในการเริม่ หาทางที่ถูกตรง พบทางที่ถูกตรง ต้องทิ้งความคิดความรู้และอุบายชอบทุกชนิดที่เป็ นสังขารการปรุงแต่ง อาวุธสาคัญลาดับสุดท้ายที่จาเป็ นต้องใช้จะเหลือเพียง “การเลิ กคิ ด” เท่านัน้ แรกๆปฏิบตั ิ เมื่อต้องใช้การเลิกคิด เพื่อหยุดความรูส้ กึ ว่ามีตวั กู ของกู อาจส่งผลทาให้ปฏิกริ ยิ าอื่นๆทีไ่ ม่เกีย่ วกับตัวกูของกูต้องหยุดการ ทางานตามไปด้วย อย่าตกใจ ถ้าฝึ กฝนต่อไปจะเกิดสัมมาปั ญญาพบวิธี หยุดความรู้สึก ว่ามีต ัวกูโดยสามารถคิดเรื่อ งอื่น ๆได้ ฝึ กต่ อ ๆไปจะยิ่ง สามารถคิด โดยไม่ ม ีต ัว กู ผู้คิด เมื่อ ถึง วาระนัน้ ก็จ ะคิด หรือ ประกอบ กิจ กรรมต่ า งๆได้เ หมือ นปกติ ต่ า งกั น เพีย งชีวิต จะมีแ ต่ ป ฏิกิริย าฝ่ าย ธรรมะล้วนๆในการขับเคลื่อนชีวติ ซึ่ง ถือว่าเป็ นการสิ้นสุดภารกิจของ มนุ ษย์ทุกคนที่ควรไปถึงจุดนัน้ เพื่อที่จะได้เป็ นผูท้ ่มี ชี ่อื ว่า “ไม่เสี ยที ที ่ เกิ ดมาเป็ นมนุษย์พบพุทธศาสนา” ๑๐๐


สมสุโขภิกขุ

ธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกสูตร ก่อนอื่นมารู้จกั ความว่างกันก่อน ความว่างเป็ นสิ่ งที่สร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว ปฏิกริ ยิ าทุกๆปฏิกริ ยิ าในธรรมชาติน้ี มีสภาวะทีเ่ รียกว่า สภาวะ พุทธะ(สภาวะเป็ นจิ ตหนึ่ ง) ประจาอยู่ในทุกๆปฏิกริ ยิ า คือว่างจากความ เป็ นสอง ของว่างเท่านัน้ จึงเรียกว่าเป็ น คติ เอกะ แปลว่าไปสู่ความเป็ น หนึ่ง แต่ถ้ามีสงิ่ ใดมาผสมนัน่ จึงจะกลายเป็ น คติ ทวิ แปลว่า ไปสู่ความ เป็ นสอง คติ ทวิ นิยม จึงหมายความว่า นิ ยมไปสู่ความเป็ นสอง ปุถุชน จะมองสิง่ ใดๆไม่เห็นความว่างของสิง่ นัน้ จึงเรียกว่า ไม่เห็นพุทธะ คือไม่ เห็นความเป็ นหนึ่ง จะเห็นแต่ความเป็ นสอง คือ ความไม่ว่าง เห็นแต่สงิ่ ผสม เห็นแต่สงิ่ ทีถ่ ูกผสม ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติแท้ๆเริม่ จากหนึ่งก่อนเสมอ และคงความเป็ นหนึ่งนัน้ ไว้ตลอดไป แต่ปุถุชนผู้ม ีธาตุเลวสามประเภท คือ อวิชชา(ธาตุเลว) ปปั ญจสัญญา(สัญญาเลว) สังขาร(ทิฐิเลว) มาดึง พุทธะให้ไหลไปสู่ความเป็ นสองเอง ปุถุชนจึง ชื่อว่าเป็ นผูม้ ี คติ ทวิ นิยม (นิยมไปสูค่ วามเป็ นสอง) แต่ศาสนาพุทธมีวธิ ี ทาให้ปุถุชน ไหลคืนไปสู่ความเป็ นหนึ่ง นัน่ คือต้องรูจ้ กั "สัมมัตตธรรม" ตามหลักธรรมชาติ หลักศาสนา หลักวิทยาศาสตร์ จะเห็นตรงกัน ว่า ความว่างเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว “จิตพุทธะก็เช่นกันเป็ นสิง่ ทีส่ ร้างไม่ได้ เพราะมันมีอยู่แล้ว” ๑๐๑


ลมไหวใบไม้สงบ

แก้วมันว่างของมันอยู่แล้ว มันไม่ว่างเพราะเอาน้ ามาใส่ เอาน้ า ออกเสีย มันก็ว่าง “เหมือนทีม่ นั ว่างของมันอยู่แล้ว” จิ ตพุทธะมันว่างของมันอยู่แล้ว แต่เอาสมมุตบิ ้างอะไรบ้างมา ใส่ให้มนั เป็ นสอง ใส่จนมันมากกว่าสองด้วยซ้า จนจิตพุทธะกลายเป็ นผู้ แบกของหนัก จิตพุทธะเลยกลายเป็ นจิตพุทโธ่ พุ ทโถ กันไปทุกย่านทุก ตาบล อยากเห็นจิตพุทธะจึงไม่ต้องไปสร้างจิตพุทธะ แค่อย่าแบกของ หนักพาไป แค่ทิ้งของหนักลงเสีย จิตก็จะว่าง เหมือนที่ มนั ว่างของ มันอยู่แล้ว สัมมัตตธรรมเป็ นธรรมข้อเดียวทีบ่ อกวิธที าลายจิ ตสอง(คติทวิ นิยม) มาปฏิบตั ธิ รรมควรมาปฏิบตั เิ พื่อทาลายจิตสอง จิตหนึ่ง หรือจิต พุทธะจะได้ปรากฏ มิใช่มาปฏิบตั ทิ าเพือ่ แสวงหาจิตสองจิตสามจิตสี่ อย่าง บางคนแสวงหาจิตตัง้ ร้อยแปดมาใส่แก้ว บางทีใส่ตุ่มแล้วแบกไปมา พระพุทธเจ้าเตือนไว้ฟังพระองค์บา้ งพระองค์ตรัสว่า "เธอนัน่ แหละเป็ นผู้แบกของหนักพาไป" พระไตรปิ ฎกทัง้ 45 เล่ม มี ธรรมมหาจัตตารีสกะ เพียงพระ สูตรเดียวที่กล่าวว่า สัมมาทิ ฐิมีสองแบบ มรรคมีสองแบบ ซึง่ เชือ่ ว่า นักปฏิ บตั ิ หลายคนก็ยงั ไม่ร้หู รือไม่เคยรู้ บางคนอาจไม่เชือ่ ด้วยซ้ า แต่สมั มาทิฐมิ สี องแบบและสัมมาอื่นๆก็มสี องแบบนี่แหละคือหัวใจสาคัญ คือเข็มทิศนาทางที่จะบ่งบอกว่าใครเดินถูกเส้นทางหรือผิดเส้นทางเลย ทีเดียว และมีปรากฏเป็ นคาสอนอยู่ในพระสูตรนี้พระสูตรเดียว และทีส่ าคัญอีกประการหนึ่งคือองค์ธรรมบทนี้ มีไว้สอนสาหรับผู้ ต้องการหลุดพ้นโดยเฉพาะ เนื้อหาธรรมะบางตอนไม่สามารถนามาสอน บุ ค คลธรรมดาทัว่ ไปได้ คนที่ใ กล้ห ลุ ด พ้น เท่ า นัน้ จึง จะเข้า ใจในสิ่ง ที่ ๑๐๒


สมสุโขภิกขุ

พระองค์สอน ถ้าหากนาไปสอนบุคคลธรรมดาทัวไปจะเกิ ่ ดความงุนงง สงสัยค้านแย้งตัง้ ข้อกังขา บางทีอาจดูหมิน่ ดูแคลนพระสูตรนี้หรือผูส้ อน หรือแม้แต่พระพุทธเจ้าก็อาจถูกตาหนิตเิ ตียนได้ ดัง นัน้ หากใครมิได้ต้องการศึกษาธรรมะที่เป็ นความจริงที่เป็ น หัวใจสาคัญอันนาไปสู่การทาจิ ตสองให้เป็ นจิ ตพุทธะจริงๆ ยังไม่ควร อ่าน เพราะอาจสับสนโต้แย้ง จนคิดว่าศาสนาพุทธสอนผิดๆก็เป็ นไปได้ แต่ ผู้ ห วั ง ความหลุ ด พ้ น สมควรต้ อ งศึ ก ษาไม่ ศึ ก ษาไม่ ไ ด้ เพราะ ความสาคัญของศาสนาพุทธอยู่ในพระสูตรบทนี้เกือบทัง้ หมด เมื่อมีความ ตัง้ ใจทีจ่ ะหลุดพ้นจริงๆได้อ่านได้ศกึ ษาถ้าไม่เข้าใจไม่เห็นด้วย จงอย่าเพิง่ ด่วนสรุปว่าธรรมะพระสูตรนี้ไม่มคี วามสาคัญ ถ้าไม่เข้าใจหน้าทีข่ องผูห้ วัง ความหลุดพ้นต้องพยายามกระทาทุกวิถที างให้เกิดความเข้าใจให้ได้ ประการสาคัญที่สุด จงอย่าได้คดิ ค้านแย้งพระสูตรนี้เป็ นอันขาด เพราะมีเรื่องน่ าค้านแย้งอยู่เป็ นอันมาก ถ้าค้านแย้งตัง้ แต่ยงั ไม่ได้ลงมือ ปฏิบตั ิตามจะเสียประโยชน์ อย่างยิง่ เพราะทุกๆคนไม่มหี นทางใดที่จะ หลุดพ้นได้ หากไม่เข้าใจและไม่ปฏิบตั ติ ามพระสูตรนี้ พระพุทธเจ้าจึงตรัส ไว้ในตอนท้ายพระสูตรว่า "ดูก รภิ ก ษุ ทงั ้ หลาย สมณะหรือพราหมณ์ พวกใดพวกหนึ ่ง พึงสาคัญทีจ่ ะติ เตียน คัดค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะนี้ ......... ย่อมถึงฐานะน่ าตาหนิ ในปัจจุบนั เทียว ……………… ดูกรภิ กษุทงั ้ หลาย แม้พวกอัสสะและพวกภัญญะ ชาวอุกกล ชนบท ซึง่ เป็ นอเหตุกวาทะ อกิ ริยวาทะ นัตถิกวาทะ ก็ยงั สาคัญทีจ่ ะ ไม่ติเตียน ไม่คดั ค้านธรรมบรรยายมหาจัตตารีสกะ นัน่ เพราะเหตุ ไร เพราะกลัวถูกนิ นทา ถูกว่าร้าย และถูกก่อความ................" ๑๐๓


ลมไหวใบไม้สงบ

จัตตารีสกะ ธรรมะ ๔๐ องค์ องค์ธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัส ว่า ธรรมอัน ใครค้านแย้ง ไม่ได้ ดู แคลนไม่ได้ ใครค้านแย้ง ใครดูแคลน เขานันแหละจะกลั ่ บเป็ นฝ่ ายต้องอับ อายเสียเอง จําง่ายๆอย่างนี้ก่อนเป็ นลาดับแรก สัมมัตตะ ๑๐ สาสวะ คือมรรค ๑๐ แบบสาสวะ สัมมัตตะ ๑๐ อนาสวะ คือมรรค ๑๐ แบบอนาสวะ มรรคสาสวะ มรรคมีจิตสอง(คติทวินิยม) มรรคอนาสวะ มรรคมีจิตพุทธะ(จิตหนึ่ง) สาสวะแปลว่ามีอาสวะ คือมีธาตุเลวสามตัวปนเปื้ อนอยู่ อนาสวะแปลว่าไม่มีอาสวะ คือธาตุเลวสามตัวถูกกาจัดไปแล้ว การกาจัดธาตุเลวได้หมดคือพระอรหันต์ กาจัดได้บา้ งไม่ได้บา้ ง หรือกาจัดบางส่วนได้แล้วคือผู้เข้ากระแสอริยบุคคลชัน้ ใดชัน้ หนึ่ ง

จงจำไว้ธรรมะที่จะใช้ดับทุกข์ได้ ยิ่งสั้นยิ่งดี ที่ยาวๆเป็นเหตุเป็นผลมีไว้เพื่อรู้ รู้แล้วต้องทิ้ง ให้เหลือแต่อุบายสั้นๆ ธรรมะที่เป็นหลักการเหตุผลยาวๆ ใช้ไม่ได้สำหรับการดับทุกข์ ใช้ไปมีแต่เพิ่มทุกข์ดับทุกข์ไม่ได้ อุบายยิ่งสั้นเท่านั้นจึงจะดับทุกข์ได้สะอาดหมดจด ทดลองพิสูจน์ทราบด้วยการลงมือฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง

๑๐๔


สมสุโขภิกขุ

จิตเดิมแท้(จิตหนึ่ง)คือ “ความว่าง” คาว่าว่างในทีน่ ้ีไม่ใช่ไม่มอี ะไร แต่หมายถึงว่างจากการปรุงแต่ง ซ้อนทับเพิม่ เติมขึน้ มา จิต เป็ นปฏิ กิ ริ ย าธรรมชาติ ( ธรรมปวัต ติ) ที่เ กิด จากการท า ปฏิกริ ยิ าของธาตุรู้ เมื่อธาตุรู้ผสั สะสิง่ ใดเกิดเป็ นปฏิกริ ยิ าขึน้ มา การเกิด ของปฏิกิรยิ านัน่ แหละคือจิตเดิมแท้เกิดแล้ว ถ้าจะให้ถูกต้องจริงๆควร เรียกปฏิ กิริยาเดิ มแท้(ก่อนปฏิกริ ยิ าเกิดเขาเรียกธรรมชาติเดิมแท้) แต่ เรียกจิต ในที่น้ีขอให้เข้าใจตรงกัน ว่ าไม่ได้หมายถึงจิตที่เป็ น ตัวตน แต่ หมายถึงปฏิกิรยิ าของธาตุรู้ท่ที าปฏิกิรยิ ากับธาตุอ่นื ๆทางตาหูจมูกลิ้น กายใจ เมื่อมีผสั สะปฏิกริ ยิ าต้องเกิด การเกิดของปฏิกิรยิ าเดิมแท้น่แี หละ มันมีสภาพว่าง คือเป็ นปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์อยู่ เราจึงเรียกว่ามันว่าง ซึ่งต่าง จากไม่ม ี ต่อไปถ้าปฏิกิรยิ าบริสุทธิ ์นี้เกิดในกลุ่มสังขาร(คน)ที่มธี าตุเลว (อวิ ชชาธาตุ) ครอบง าอยู่ ธาตุ เลวจะทาหน้าที่ทาให้จิตเดิมแท้ไม่ว่าง ทัน ที จิ ต บริ สุ ท ธิ์ หรื อ จิ ต พุท ธะจึ ง กลายเป็ นจิ ต ประเภทที่ ส อง คือ กลายเป็ น จิ ตสาสวะ(จิ ตคติ ทวิ นิยม) คือ มีการไหลของอวิชชาเข้ามา สร้างปฏิกริ ยิ าอย่างใดอย่างหนึ่งซ้อนทับความว่างให้กลายเป็ นมีสงิ่ ทีส่ อง แทรกเข้ามา จากปฏิกริ ยิ าบริสุทธิ ์คือ ปฏิ กิริยาที่ไม่มีอาสวะ ไม่ถูกอะไร แทรกแซง กลายเป็ น ปฏิ กิริยาที่มีอาสวะแทรกแซง คติแปลว่าไปสู่ ทวิ แปลว่าสอง จิตว่างๆจึงไหลไปสู่ความเป็ นสองคือมีอาสวะมาประกบจึงมี สภาวะเป็ นของคู่ไปโดยปริยาย ดัง นัน้ ถ้าจะพูดให้เข้าใจง่ายๆ จึง สามารถพูดได้ว่า จิ ตเดิ มแท้ ว่าง ว่างจากอะไร ว่างจากอวิ ชชา(ธาตุเลว) สัญญาเลว ทิฏฐิเลว นัน่ เอง ๑๐๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ธาตุเลวสามตัวนี่แหละคือตัวทีท่ าให้จติ ไม่ว่าง เขาจึงเรียกจิตไม่ว่างว่า จิ ต สาสวะ(จิ ตมีอาสวะ) และเรียกจิตว่างว่าจิ ตอนาสวะ(จิ ตไม่มีอาสวะ) จิตอนาสวะกับจิตพุทธะจึงเป็ นสิง่ เดียวกัน (อาสวะแปลว่าไหล จิตสาสวะ จึงหมายถึงมีธาตุเลวสามตัวไหลมาประกบคู่กบั จิต จิตสาสวะจึง เรียกอีก อย่างได้ว่าจิตคู่หรือจิตสอง คือหมายถึงจิตทีม่ สี งิ ่ อืน่ ประกบคู่) การปฏิบัติธ รรมก็คือ การท าให้ จิต สอง (จิต คู่ จิต คติท วินิ ย ม จิตสาสวะ) จิตที่มอี วิชชาซ้อนทับ หายไป จิตสองหรือจิตคู่หายไป ก็จะ เหลือ จิต หนึ่ง หรือ จิต พุทธะทาหน้ าที่เพียงล าพัง จิต พุทธะจะทาหน้ าที่ อย่างกลางๆ ไม่ม ีของคู่ ไม่ม ีบวกลบ เพราะของคู่คอื สิง่ แปลกปลอมที่ อวิชชาสร้าง พออวิชชาหายไปจิตพุทธะที่เดิมมีอยู่แล้วก็จะปรากฏ เราจะ รู้ว่าจิตพุทธะจริงๆเวลามันทาหน้าที่จะเป็ นยังไง เราต้องกวาดอวิชชาให้ หมดเกลีย้ งก่อนจึงจะเข้าใจว่า ของจริงถ้าจิตพุทธะทาหน้าทีอ่ ย่างเดียวไม่ มีอวิชชามายุ่ง มันจะทาหน้าที่แบบว่างๆ ว่างแบบไหน เป็ นกลาง เป็ น หนึ่ง ไม่มคี วามรู้สกึ เป็ นสอง เป็ น แบบไหน อยากรู้ต้องกวาดจิตสองให้ เกลีย้ งให้ได้ก่อนจึงจะรูจ้ กั ความว่างจริงๆจิตพุทธะจริงๆเป็ นเช่นไร ก่อนจะพูดถึงวิธีกวาดอวิชชา ต้องมาทาความเข้าใจกันก่อนว่า อวิชชามันทางานอย่างไรและมีผลอย่างไรต่อชีวติ มนุษย์บา้ ง ธรรมชาติน้ีมธี าตุหลักเรียกว่าเป็ นธาตุตงั ้ ต้นของชีวติ อยู่ ๖ ธาตุ คือธาตุดนิ ธาตุน้ า ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุว่าง ธาตุวญ ิ ญาณ ธาตุหกชนิดนี้ เดิมแท้จะอยู่ในสภาพว่างๆไร้ตวั ตนคือไร้สภาพใดๆปรากฏ(ธรรมชาติเดิม แท้) ต่อเมือ่ มีเหตุปัจจัยและสิง่ แวดล้อมเหมาะสมจนทาให้ธาตุหกมีการทา ปฏิกริ ยิ าขึน้ มา ธาตุหกจึงจะแสดงคุณสมบัตขิ องแต่ละธาตุออกมา การทา ปฏิกริ ยิ าของธรรมชาติเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ว่าจะเป็ นเพราะเหตุปัจจัย ใดๆทาให้ธาตุหกทาปฏิกริ ยิ ากัน สังขารชนิดใดชนิดหนึ่งจึงเกิดขึน้ มาด้วย ๑๐๖


สมสุโขภิกขุ

วิธีน้ี เ ท่ า นั น้ ปฏิกิริย าธรรมชาติทุ ก ชนิ ด จะเป็ น เช่ น นี้ เ หมือ นกัน หมด ต่างกันทีจ่ านวนปริมาณของธาตุแต่ละชนิดทีเ่ ข้าร่วมทาปฏิกริ ยิ าอาจมีไม่ เท่ากัน ปริม าณธาตุ ท่ีต่ างกัน อาจทาให้เกิดปฏิกริยาที่ต่ างกัน แต่ เป็ น ปฏิ กิริยาเหมือนกันมีค่าเสมอกัน แต่อวิ ชชามิ ได้คิดแบบนัน้ เพราะ ความไม่รู้ อวิชชาธาตุจึงคอยผสมโรงทาหน้าที่ประกบคู่กบั วิญญาณธาตุ คอยทาปฏิกริ ยิ าสร้างความรูค้ วามรูส้ กึ ความจาความคิดผิดๆ ต่อปฏิกริ ยิ า ในทานองซ้อนทับ เมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ าแล้ววิญญาณธาตุทาหน้าทีร่ ู้ ตอนแรก ยัง เป็ น การรู้เ ฉยๆ รู้อ ย่ า งว่ า งๆ เป็ น กลางๆ แค่ ร ับ รู้ก ารเกิด ขึ้น ของ ปฏิกริ ยิ าแล้วก็จบตรงนัน้ แต่เพราะความไม่รู้หรือยังไม่รคู้ วามจริงนี่แหละ เขาเรียกอวิชชาธาตุ อวิชชาธาตุจะเป็ น ตัวสร้างปฏิกริ ยิ าซ้อนปฏิกิรยิ า ขึ้น มา ตามขอบเขตอานาจที่มนั มี เช่น ใส่เหตุผลเปรียบเทียบถึงความ แตกต่างของปฏิกริ ยิ าว่าเป็ นอย่างนัน้ อย่างนี้ อวิชชาจึงเป็ นตัวต้นเหตุใน การปรุงความรูส้ กึ ต่างๆต่อปฏิกริ ยิ าขึน้ มาแล้วสั ่งการให้ธาตุขนั ธ์อ่นื ๆทา หน้ า ที่ต ามที่ม ัน สั ่งการ จิ ต เดิม แท้จึง มีป ฏิกิริย าจากธาตุ เ ลวทับ ซ้อ น ประกบคู่ตลอดเวลา บุคคลผูม้ คี วามยังไม่รคู้ รอบงาอยู่จะตกอยู่ในสภาวะ เช่นนี้ตลอดไป จนกว่าจะมีปัญญารู้ตามความจริงระดับโลกุตตระ จึงจะ เลิก ปรุ ง ปฏิกิริย าทับ ซ้ อ น จิต คู่ ห รือ จิต สาสวะจึง จะหายไป เหลือ แต่ ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้เท่านัน้ ทีท่ างานในแบบสภาพว่างๆทางานอย่างว่างๆเป็ น กลางๆซึง่ เป็ นคุณสมบัตทิ างธรรมชาติของปฏิกริ ยิ าเดิมแท้ ที่อธิบายมายืดยาวก็เพื่อ ค่อยๆทาให้เกิดความเข้าใจว่า จิตเดิม แท้เป็ นสิง่ ที่มอี ยู่ แล้ว วิญ ญาณธาตุทาปฏิกิริยากับธาตุอ่นื ๆเมื่อใด มัน ทางานทันที แต่มนั ทางานแบบไร้สภาพ ไร้การเปรียบเทียบ จึงว่างไม่ปรุง เป็ น บวกลบ ดีเลว แต่ การเปรียบเทียบเป็ นสิ่ งที่อวิชชาสร้างขึ้นมาเอง เพราะความไม่รู้ จึง มีส มมุ ติบัญ ญัติแ สดงถึง ความแตกต่ า ง และยิ่ง มี ๑๐๗


ลมไหวใบไม้สงบ

อวิชชามาก อวิชชาพัฒนาไปเรื่อยๆ เป็ นใส่ความมีตวั ตน ใส่สงิ่ นัน้ สิง่ นี้ เป็ นล้านๆรูปแบบให้ปฏิกริ ยิ าเดิมๆพื้นๆจนกลายเป็ นปฏิกริ ยิ าไม่เดิมไม่ พืน้ ในทีส่ ุด ปุถุชนทีย่ งั มีอวิชชาอยู่ ย่อมยังไม่รจู้ กั ความรูเ้ ฉยๆความรูส้ กึ พื้นๆธรรมดาๆ ที่เป็ นปฏิกริ ยิ าของวิญญาณธาตุตอนทาปฏิกริ ยิ ากับสิง่ ที่มาผัสสะครัง้ แรก แต่ถ้ารู้จกั วิธสี ร้างสัมมาสติด้วยอุบายชอบไม่นานจะ รู้จกั และเข้าถึงสภาวะรู้เฉยๆที่เป็ นปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นของจิตเดิมแท้ ได้ รู้จกั อาการรูเ้ ฉยๆก็จะรูจ้ กั จิตเดิมแท้หรือจิตพุทธะในเวลาเดียวกัน คราวนี้เราก็รแู้ ล้วว่า จิตเดิมแท้มนั ว่าง แต่มนั ไม่ว่างเพราะอวิชชา มัน ปรุ ง ปฏิกิริย าอื่น มาซ้อ นทับ ท าให้จิต ว่ า งกลายเป็ น จิต วุ่ น จิต หนึ่ง กลายเป็ น จิตคู่ จิต พุทธะกลายเป็ นจิต สาสวะ มาจากอวิชชาและสมุน (รวมกันเป็ นธาตุเลวสามตัว)มันเป็ นตัวชักใย หน้าทีเ่ บือ้ งต้นเราต้องรูจ้ กั สาวไปถึงต้นตอก่อนว่า ปฏิกริ ยิ าแรกที่ อวิชชามันสร้างคืออะไร จะได้ฝึกดับที่ตรงนัน้ ก็ต้องพึง่ ผูร้ ู้คอื พึง่ คาสอน ของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าตรัส เช่น ไร ก็น้ อ มน ามาปฏิบัติ แต่ ต้อง พิสจู น์คาสอนของพระองค์ก่อนด้วยการทดลองลงมือฝึกตามทันที ไม่ตอ้ ง รอไปพิสูจน์เมื่อนัน่ เมื่อนี่ แล้วต้องนาเอาเฉพาะคาสอนทีพ่ สิ ูจน์ความจริง ได้มาใช้ ปฏิกริ ยิ าแรกทีท่ าให้อวิชชาทาหน้าทีต่ ่อยอดเป็ นปฏิกริ ยิ าอื่นๆอีก เป็ นล้านๆปฏิกริ ยิ า จนซ้อนทับจิตพุทธะเสียหนาเตอะก็คอื เจตนา จงใจ หรือการให้สาระ สามตัวนี้คอื ตัวเริม่ ต้น เป็ นปฏิกิรยิ าเริม่ ต้นที่มเี มื่อใด อวิชชามีอาหารอันโอชะทันที ซึ่งเราสามารถพิสูจน์ความจริงได้ ในชีวติ จริงๆ เรายืนเดินนอนนัง่ สบายๆอยู่ดีๆ ใจไปนึกถึงอะไรผุดขึน้ มาไม่รู้ก่ี ร้อยเรื่อง แต่พอไปให้สาระกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ขึน้ มาเท่านัน้ เอง เรื่องไม่ เรื่องก็เป็ นเรื่องขึน้ มาทันที ตอนที่เราเริม่ ให้สาระนัน่ แหละคือตอนทีต่ วั กู ๑๐๘


สมสุโขภิกขุ

ของกูและตัวตนของสิง่ ทีเ่ ราให้สาระ รวมทัง้ ธาตุเลว สัญญาเลว ทิฏฐิเลว จะเข้ามาผสมโรงจะมากหรือน้อยเท่านัน้ เอง เราคิดมาตัง้ หลายร้อยเรื่อง แต่ไปให้สาระเรื่องนี้เรื่องเดียว บางทีทุกข์เจียนตาย เพราะอะไรจึงเป็ น เช่นนัน้ เราจะไม่รู้ เพราะไม่รู้น่ีเองจึงไม่รู้วธิ ีท่จี ะดับมัน ต่อมามี การฝึ ก ปฏิบตั ธิ รรมถูกวิธี รู้จกั ฝึ กระลึกชอบ จึงจะพอห้ามทัพความทุกข์ได้เป็ น ครัง้ เป็ นคราวไป แต่ถ้ายังไม่รวู้ ่าทีเ่ ราทุกข์เพราะเมือ่ มีผสั สะแล้วเราไปให้ สาระผัสสะนัน้ เข้า จึงเป็ นเรื่องราวใหญ่โต เมื่อไม่รวู้ ่าทุกข์เพราะให้สาระ การแก้ไขปั ญหาชีวติ ก็ยงั ไม่มโี อกาสแก้ทต่ี น้ ตอ จิตพุทธะจึงยังไม่ปรากฏ เลยต้องแก้กนั ซ้าซากหลายภพหลายชาติ ด้วยเหตุน้ีน่ีแหละพระพุทธเจ้า จึงตรัสสอนสาวกผูบ้ วชใหม่ว่า "เราบอกเธอแล้ว สาระไม่มีในเบญจ ขันธ์ เธอเพียรระลึกทัง้ กลางวันทัง้ กลางคืน" ทีพ่ ระองค์ตรัสย้าเช่นนี้ก็ เพราะพระองค์ตอ้ งการยุตปิ ั ญหาทีร่ ากทีโ่ คน สัมมัตตธรรมนี่แหละคือองค์ ธรรมทีม่ ไี ว้ฝึกยุตปิ ั ญหาแบบถอนรากถอนโคน วิธถี อนรากถอนโคนอันดับแรกคือ ต้องรูว้ ่าทุกๆปั ญหาเกิดเพราะ อวิชชาคือความไม่รหู้ รือยังไม่รู้ ในกรณีน้ีคอื ยังไม่รวู้ ่าสาระไม่มใี นเบญจขันธ์ จึงไม่แก้ปัญหาทีเ่ ลิกให้สาระ ไปแก้ปัญหาด้วยวิธอี ่นื จึงแก้ปัญหาได้ ไม่สะเด็ดน้ า แต่ถ้าใครฟั งหรืออ่านคาสอนของพระพุทธเจ้าในเรื่องนี้แล้ว ทดลองระลึกตาม รู้แล้วต้องทดลองทาตาม ฝึ กฝนอย่างจริงจัง มิใ ช่แค่รู้ ตามตารา แต่ใจไม่ยอมรับเลยไม่น้อมนามาทาตาม ย่อมไม่มโี อกาสพบจิต พุทธะ ใครลองทาตาม อาจทาในเรื่องง่ายๆก่อน คิดอะไรผัสสะอะไรแล้ว รู้สกึ ผิดปกติ ให้รบี ระลึกทันทีว่าไร้สาระ ทดลองง่ายๆแบบนี้ดูก่อน ทา แบบนี้นนั ่ คือการกวาดล้างอวิชชาทีจ่ ะเกิดในตอนนัน้ ให้เกลี้ยงไปแล้ว ใจ เกลี้ยงจากตัวกูเป็ นอย่างไรย่อมรู้สกึ ได้ มันว่างเย็นเป็ นอย่างไรพิสูจน์ได้ จิตว่างจากตัวกูนัน่ แหละจิตที่ไม่มอี วิชชาสวะ(ไม่มกี ารไหลของอวิชชา) ๑๐๙


ลมไหวใบไม้สงบ

จึงกลายเป็ นจิตอนาสวะหรือจิตพุทธะแล้ว จิตสาสวะจิตสองจิตคู่หายไป แล้ว ความว่างความเย็นทีป่ รากฏนัน่ แหละคือจิตพุทธะนัน่ เอง ทาบ่อยๆ จะค่อ ยๆเห็น ความเป็ น จิต พุทธะชัดขึ้น เหมือ นฝุ่นมัน เกาะเครื่อ งลาย ครามหนาเตอะ ค่อยๆเช็ดมันจึงสะอาดแลเห็นลวดลายของเครื่องลาย ครามชิ้นนัน้ ๆ ต้องยิง่ ขัดมันจึงยิง่ เห็นชัด นี่คอื วิธสี าวถึงต้ นตอว่าจะดับ อวิชชาขัน้ ต้นต้องฝึกอย่างไร ต่อๆไปยังมีขนั ้ สองขัน้ สามจนถึงขัน้ สุดท้าย ทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสไว้ในมหาจัตตารีสกสูตร ซึง่ จะได้นามาอธิบายในลาดับ ต่อไป หลังให้สาระจะเกิ ดอะไรตามมา ขอให้ส ัง เกตดูจ ากเหตุ ก ารณ์ ท่ีเ กิด ขึ้น จริง ๆในชีวิต ประจ าวัน ความรูส้ กึ ให้สาระจะเกิดขึน้ เร็วมากบางมากจนไม่รตู้ วั สติสมาธิปัญญายัง ไม่แข็งแรงพอจึงรู้ไม่ทนั ต้องตามดูตามรู้ให้ทนั ในอาการต่อจากการให้ สาระแทน พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าอารมณ์เดียวกับการให้สาระคือ เจตนา ดาริ จงใจ และครุ่น คิด ถือ ว่าเป็ น อารมณ์ เดียวกัน กับการให้ส าระ แม้ น้ าหนักของแต่ละอาการจะหนักเบาต่างกันอยู่บ้าง แต่ถอื ว่าเป็ นอารมณ์ ธรรมทีใ่ กล้เคียงกัน ซึ่งก็อาจสังเกตเห็นได้ยากอยู่ดี จึงควรไล่ตามอาการ ทีเ่ กิดตามมาแทน นันคื ่ อความรูส้ กึ ว่ามี ให้สาระสิง่ ใดอาการทีต่ ามมาก็คอื ความรู้สึกว่ามีสิ่ง นัน้ ขึ้น มาในใจ อาการของความรู้ส ึกว่ามีส ิ่ง นัน้ เป็ น อาการทีน่ ่าจะเห็นชัดเจนขึน้ จึงสามารถตรวจพบได้ไม่ยาก ความรู้สึกว่า มีว่าเป็ น ภาษาบาลีเรียกว่า “ภพ” (ภพแปลว่าภาวะความรู้สกึ ว่ามีว่า เป็ น) ภพเกิดจึงหมายถึงเกิดความรูส้ กึ ว่ามีหรือเป็ นสิง่ ใดๆขึน้ มา ตัวอย่างเช่นเรายืนอยู่หน้าบ้านมองเห็นรถวิง่ ผ่านไปมา จุดนัน้ จะ มีทงั ้ การเห็นเฉยๆไม่ปรุ งไม่รู้สกึ อะไร แม้จะเห็นแต่ก็ไม่ปรุง นัน่ คือการ ๑๑๐


สมสุโขภิกขุ

เห็นพุทธะในสิง่ ทีก่ าลังทาปฏิกริ ยิ ากันอยู่ แต่เราจะไม่รตู้ วั เพราะปั ญญายัง ไม่เกิด เห็นพุทธะตาตาแต่ไม่รจู้ กั พุทธะคืออาการอย่างนี้น่ีเอง ต่อมาเกิด มีรถคันใดคันหนึ่งทีท่ าปฏิกริ ยิ ากับวิญญาณธาตุ (ธาตุร)ู้ แล้วเกิดอาการให้ สาระกับรถคันนัน้ ขึ้นมา ตอนให้สาระเราจะตามไม่ทนั ไม่เป็ นไร แต่ให้ สาระเสร็จ ความรูส้ กึ ว่ามีรถคันนัน้ มันเด่นชัดจริงจังขึน้ มา ความมีอยู่ของ รถเกิดขึน้ มาในใจทันที นัน่ คือการเกิดภพ(ภาวะความมีความเป็ นรถ)เกิด ตามมาจากการให้สาระ รถคันนัน้ จะกลายเป็ นทีต่ งั ้ ให้เกิดการปรุงสังขาร อื่นๆต่อไป เรียกว่าทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าซ้อนทับเพิม่ ขึน้ โดยไม่รตู้ วั แต่ถ้า เรารูต้ วั และมีสติปัญญาแกร่งกล้าพออาจหยุดปรุงไม่ยอมไปต่อ เรื่องของ รถก็หยุดตรงนัน้ แต่ถา้ อวิชชาหนาแน่นมาก สิง่ ทีจ่ ะไหลต่อไปก็คอื การให้ เหตุผลกับมัน ในรูปแบบต่างๆ เช่นมีการเปรียบเทียบว่า ดีไม่ดีสวยไม่ สวยดีกว่ารถเราแย่กว่ารถเรา ดีกว่าก็ปรุงต่อเป็ นอยากได้น่าจะซื้อ นี่คอื การใส่เหตุผลลงไปในสิง่ ทีเ่ ราให้สาระ แล้วเราคิดว่ ามีสงิ่ นัน้ ๆอยู่จริง สิง่ ที่ เกิดตามมาหลังจากให้สาระเป็ นสมมุตเิ ป็ นของหลอกลวง เป็ นสิง่ ทีค่ ติทวิ นิยมไหลอาสวะออกมาปรุงซ้อนทับขึน้ เพราะเราไม่รู้ตามความเป็ นจริง ความทุกข์จงึ เกิดตามมาในทีส่ ุด แต่ถ้ามีปัญญารูต้ ามความจริงและระลึก ตามความจริงทัน เมือ่ เกิดการปรุง จะปรุงถึงจุดไหนก็ตาม สิง่ ทีป่ รุงนัน้ เรา สามารถระลึกได้ทุกจุดว่ามันไร้สาระ เพราะมันเป็ นขันธ์มนั จึงเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ มีสาระแก่นสารทัง้ นัน้ ใครระลึกได้ทนั ตรงจุดใดระลึกตรงจุดนัน้ ทันที ห่วง โซ่ธาตุเลวก็จะขาดสะบัน้ ทันที ทาแรกๆอาจขาดยาก ต้องทาบ่อยๆ ห่วง โซ่อวิชชาก็จะขาดง่ายขึ้น ห่วงโซ่อวิชชาขาดสะบัน้ เมื่อใดจิตพุทธะก็จะ ปรากฏทันที เราก็จะรู้สกึ ว่างเบาโปร่งโล่ง อิม่ เย็นมีปิตปิ ั สสัทธิสงบระงับ แต่ถ้าคิดต่อมันจะค่อยๆร้อนขึน้ ถ้าหยุดคิดไม่ได้ปล่อยให้ไหลไปก็จะเกิด ความทุกข์ตามมาอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ๑๑๑


ลมไหวใบไม้สงบ

เมื่อฝึ กหยุดให้สาระบ่อยๆมากๆ สิง่ ที่ จะเกิดตามมาก็คอื เราจะ ค่อ ยๆเริ่ม รู้จกั จิตพุทธะชัดเจนขึ้น รู้จกั เหตุ ทาให้เกิดทุกข์ใกล้เคียงถึง ต้นเหตุมากขึน้ คืออาจจะรู้ชดั ถึงตอนเกิดการให้สาระเลยก็ได้ การฝึกดับ อวิชชาในครัง้ ต่อๆไปก็จะทาได้ง่ายขึน้ การเลิกให้สาระก็จะทาได้เร็วขึน้ พอเลิกให้สาระสาเร็จก็จะรู้จกั วิธปี ระคองจิตพุทธะให้เป็ นจิตพุทธะนานๆ คือว่างนานๆ รวมถึงรูจ้ กั การทางานด้วยจิตว่างหรือด้วยจิตพุทธะอย่างไม่ ยากเย็น และทีส่ าคัญทีส่ ุดทุกครัง้ ทีเ่ ลิกให้สาระได้ย่อมสร้างสัมมาญาณะ ทีละเล็กทีละน้อยอย่างไม่รตู้ วั ซึ่งจะเป็ นประโยชน์ในการใคร่ครวญธรรม ด้วยองค์ธรรมมหาจัตตารีสกะอย่างยิง่ ด้วยเหตุน้พี ระพุทธเจ้าจึงตรัสสอน สิง่ ทีห่ ลายคนอาจแปลกใจว่าพระองค์สอนเพื่ออะไร คือสอนให้รจู้ กั เลิกให้ สาระ มีท่ีม าที่ไปตรงที่เลิกให้ส าระเก่งๆ จึง จะใช้ส มั มาสติส มั มาสมาธิ สัมมาญาณะแบบอนาสวะเป็ น ยังไม่ตอ้ งถึงกับเก่ง แค่ใช้ได้ใช้เป็ นก็ถอื ว่า ทางแห่ง ความหลุดพ้น คืบใกล้เข้ามามากแล้ว เมื่อ ใดมีการให้ส าระ มี เจตนา มีการจงใจ สิง่ ที่จะตามมาเป็ นอันดับแรกคือความรูส้ กึ ว่ามีสงิ่ นัน้ หรือความรู้สกึ ว่าสิง่ นัน้ มีอยู่จริง ก่อภาวะความมีความเป็ น (ภพ)ขึ้น มา เนื่องด้วยปุถุชนผูม้ อี วิชชาครอบงาอยู่ดว้ ยไม่รคู้ วามจริง จะมีปกติเป็ นผูม้ ี คติท วินิ ย ม คือ นิ ย มที่จ ะไหลไปสู่ ข องคู่ ตอนนี้ ก็ จ ะดึง เหตุ ผ ลมาใช้ เปรียบเทียบ มีการเปรียบเทียบนัน่ คือเกิดของคู่ ขน้ึ มาแล้ว เป็ นบวกหรือ ลบดี ห รือ เลวถู ก หรือ ผิด ใช่ ห รือ ไม่ ใ ช่ ฯลฯ นั ก ปฏิบัติท่ีเ ลิ ก ให้ ส าระ ตอนต้ น ๆไม่ ท ัน หัน มาจัด การเลิก ให้ส าระตอนมีข องคู่ คือ ตอนมี ก าร เปรียบเทียบก็ได้ มีถูก มีผดิ ก็ไร้สาระอย่าไปคิดเรื่องถูกเรื่องผิด เป็ นต้น ไม่ว่าอะไรทีเ่ ป็ นของคู่เปรียบเทียบกันรีบ เลิกให้สาระกับความคิดแบบนัน้ ทันที กวาดจิตสาสวะออกไป ถ้าเลิกคิดสาเร็จก็จะว่างวางสบายปลอด โปร่งโล่งเย็น นันแหละคื ่ อความเป็ นจิตพุทธะเริม่ ปรากฏแล้ว ๑๑๒


สมสุโขภิกขุ

ที่ต้องฝึ กเช่นนี้เป็ นอันดับแรกก็เหมือนเป็ นการสร้างสมรรถภาพ ให้สติสมาธิปัญญา เพราะภารกิจต่อไปต้องใช้ อินทรีย์ ๕ (ศรัทธินทรีย์ ปั ญญินทรีย์ สมาธินทรีย์ สตินทรีย์ และวิรยิ นิ ทรีย์) ในการปฏิบตั ิ การดับ สังขารด้วยสติชอบเป็ นการสร้างสติให้แข็งแรง เหมือนนักกีฬาฝึ กซ้อม เพิม่ กาลัง สติแข็งแรงสมาธิและปั ญญาจะแข็งแรงตามไปด้วย เพ่งมาก เพียรมากขยันมากอดทนมาก ก็ทาให้ความเพียรแก่กล้า ทุกๆองค์ธรรมที่ ส าคัญ ๆแก่ ก ล้ า ขึ้น นั น่ แหละเขาเรีย กว่ า อิ น ทรีย์ ๕ แก่ ก ล้ า ขึ้น ซึ่ ง จาเป็ นต้องใช้ในองค์สมั มัตตธรรมของมหาจัตตารีสกสูตร ถ้าแข็งแรงไม่ พอ ต้องทาให้พอจะได้มพี ลังในการจัดการกับมิจฉัตตธรรมและสัมมัตต ธรรมสาสวะ จัดการมิจฉัตตธรรมไม่ยากเท่าไร แต่จดั การสัมมัตตธรรมสา สวะยากยิง่ กว่ายาก จึงต้องบ่มเพาะอินทรีย์ ๕ ให้มพี ลังแก่กล้าทีส่ ุดเท่าที่ จะทาได้ การฝึกเลิกให้สาระต่อสรรพสิง่ รอบข้างอย่างน้อยสัก ๓๐ % ขึน้ ไปถือว่าอยู่ในระดับทีพ่ อจะสูส้ มั มัตตธรรมสาสวะไหว อะไรทําให้เกิ ดอาการเจตนา จงใจ ให้สาระ ตอบ...เพราะความไม่รู้ เมื่อมีปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ ปุถุชนผูม้ อี วิชชายังไม่รู้ตามความจริง ของสิง่ นัน้ อนุ สยั (ความเคยชิน)จะไหล(อาสวะ)ออกมาทาปฏิกริ ยิ าอย่าง ใดอย่างหนึ่งตามความเคยชิน ซึ่งอาการไหลลาดับต้นๆก็คอื เจตนา จงใจ ให้สาระ ให้ความสาคัญ เสร็จแล้วจึงไหลปฏิกริ ยิ าอื่นๆตามมาด้วยความ เคยชิน เช่นภวาสวะก็ไหลไปสร้างความมีภพ กามาสวะก็ไหลไปสร้างของ คู่ สวยขี้เหร่ งามไม่งาม พอใจไม่พอใจ ดีไม่ดี ชอบไม่ชอบ ของคู่ของ เปรียบเทียบสัมมัตตธรรมระดับอนาสวะจัดว่าเป็ นอาสวะทัง้ นัน้ ซึ่งต่าง จากระดับสาสวะ แต่ถ้าเป็ นอนาสวะอะไรเป็ นของคู่ต้องจัดการทาลาย ๑๑๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ทัง้ นัน้ เพราะยังถือว่าเป็ นการไม่รตู้ ามความจริง รูต้ ามความจริงอนาสวะ ต้องละเอียดกว่าสาสวะ แต่มใิ ช่ไม่คดิ ไม่ปรุงอะไรไม่ทาอะไร มีเทคนิคอยู่นิดหนึ่งตรงที่ เมื่อ รู้ ค วามจริง แล้ ว นั ก ปฏิบัติแ ค่ ร ะลึก ความจริง ติด ตามต่ อ ไปทุ ก ๆ ปฏิกริ ยิ าที่เกิด ไม่มยี กเว้น รู้อะไรเห็นอะไรคิดอะไรรู้สกึ อะไรทาอะไรกิน อะไร ก็ม ีส ติร ะลึกว่ า อย่ า ไปให้ส าระอย่ า ไปเจตนาอย่ า ไปจงใจ การมี สัม มาสติคุ ม ปฏิกิ ริย าได้ เ ช่ น นี้ จิ ต พุ ท ธะก็ จ ะท าหน้ า ที่ อ ยู่ ต ลอดไป เมื่อ ก่อ นยัง ไม่รู้ความจริง จิต สาสวะทาหน้ าที่อยู่ แต่ รู้ต ามความจริงได้ เมือ่ ใด และระลึกตามความจริงจนไม่มอี าสวะไหลออกมา ตอนนัน้ คือตอน ที่จิต พุ ท ธะกลับ มาท าหน้ า ที่แ ล้ ว เขาจึง เรีย กปฏิกิริย าเช่ น นี้ ว่ า เป็ น ปฏิกิริยาอนาสวะ คือ ปฏิกิรยิ าที่มกี ารทางานโดยไม่มอี าสวะ(อนาสวะ แปลว่าไม่มอี าสวะ) หรือทางานด้วยความว่างนัน่ เอง เพราะปุถุชนรูต้ าม ความจริงของสิง่ นัน้ เรียบร้อยแล้ว ความเคยชินเดิมในอนุสยั ย่อมหายไป จึงไม่มกี ารไหล(อาสวะ)อะไรออกมา ตรงจุดนี้ปฏิกิรยิ าต่างๆจึงเป็ นไป ตามธรรมชาติเดิมแท้อย่างทีค่ วรจะเป็ นทันที เรียกว่าจะมีการทางานด้วย ความว่าง ทางานด้วยจิตพุทธะ ทางานโดยไร้เจตนา ไม่มกี ารให้สาระไม่ม ี ตัวตนผูก้ ระทามีแต่การกระทา ผัสสะสิง่ ใดไร้เจตนาไปหมดสักว่าไปหมด ไม่ให้สาระไปหมด ปฏิกริ ยิ ามีอยู่การกระทามีอยู่การคิดการปรุงมีอยู่ แต่ จิตพุทธะจะคอยคุมให้เป็ นปฏิกิรยิ าสักว่าปฏิกิรยิ าไปทุกลาดับขัน้ ตอน ดังนัน้ จึงอธิบายไว้ในตอนต้นๆว่า เลิกให้สาระตอนใดได้ทงั ้ นัน้ ดีทงั ้ นัน้ กาจัดธาตุเลวหมดไปได้ทงั ้ นัน้ ผูเ้ ลิกให้สาระเลิกเจตนาเลิกจงใจได้บางส่วนจนมีความตัง้ ใจทีจ่ ะ เลิกให้สาระอยู่ในกระแสเลือด มีปฏิกริ ยิ าใดๆมาผัสสะก็พยายามทีจ่ ะเลิก มีปัญญาชอบรูว้ ่าทางหลุดพ้นรออยู่ขา้ งหน้าด้วยวิธเี ช่นนี้ เขาเรียกบุคคล ๑๑๔


สมสุโขภิกขุ

ผูน้ ัน้ คือผูเ้ ห็นทางเข้ากระแสนิพพาน(โสดาปฏิมรรค) ถ้าไม่ท้อ เร่งเพียร พยายามต่ อ ไป จนสามารถเลิก เมาตนเอง ความรู้ส ึก เมาตัว เมาตน ความรูส้ กึ หลงตัวเองเกิด ก็เลิกให้สาระได้ ๑๐๐% จนความเมาตนเองหลง ตนเองเกิดอีกไม่ได้ ต่อมาก็เลิกสงสัย ไร้สาระทีจ่ ะไปสงสัยอะไร อะไรๆก็ เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ จะไปสงสัยมันทาไม ความสงสัยเกิดเมื่อใดก็ไร้ สาระได้ ๑๐๐% จนความสงสัยเกิดอีกไม่ได้แล้ว สุดท้ายคือเลิกงมงายได้ ๑๐๐% หมดสงสัยเมือ่ ใด กฎธรรมชาติย่อมทาให้หมดความงมงายตามไป ด้ว ย สิ่ง ใดๆเกิด ย่ อ มมองเห็น ว่ า มัน เป็ น ปฏิกิริย าธรรมชาติเ ป็ น เรื่อ ง ธรรมดามันต้องเป็ นของมันเช่นนัน้ เอง ไม่ควรสงสัยไม่ควรงมงาย จนเลิก งมงายได้ทุกชนิด ไม่มสี งิ่ ใดวิเศษกว่ าสิง่ ใด มองเห็นความเสมอกันของ ปฏิกิริย าธรรมชาติ การฝึ ก เลิก ให้ส าระเลิก จงใจเลิก เจตนาจะท าให้ เกิดปฏิกริ ยิ าสิน้ สงสัยสิน้ งมงายสิน้ มัวเมาตนเองได้อย่างเด็ดขาดในเวลา ไม่นาน ทาได้ถงึ ขัน้ นี้สาเร็จก็เรียกได้ว่าเป็ นผูแ้ รกเข้ากระแส จากเห็นทาง ก่อนแล้วฝึกแล้วทาก็จะกลายเป็ นผูแ้ รกเข้ากระแส(โสดาบัน) โสดาบันจึง ไม่ใช่การได้อะไรเป็ นอะไร ไม่ใช่ตาแหน่งยศฐาบรรดาศักดิ ์แบบเป็ นกานัน ผู้ใหญ่บ้าน สว. สส. รัฐมนตรี อย่างที่คนอยากได้กนั แต่เป็ นแค่สภาพ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างหนึ่งที่จะเกิดกับคนที่สามารถเลิกเมาตนเองเลิก สงสัยเลิกงมงายจนกลับมาเมาตนเองมาสงสัยมางมงายอีกไม่ได้ ใครทา ได้ถงึ ระดับนี้ย่อมเป็ นผูเ้ ข้าสูก่ ระแสนิพพานอย่างชนิดหนีกไ็ ม่ได้ ไม่อยาก ทาก็ไม่ได้ เลิกทาก็ไม่ได้ ธรรมชาติมนั ไหลของมันไปเอง ไม่ใช่มเี จตนาที่ จะทาเพื่อจะได้ มันไหลของมันไปเอง ถึงจุดนี้เมื่อชีวติ ดาเนินต่อไป การ ไหลก็มตี ่อไป เขาจึงเรียกว่าเป็ นผู้แรกเข้ากระแส(โสดาบัน) คือจะเป็ นผู้ ที่มกี ารปฏิบตั ิถ้าพูดเป็ นสานวนไทยๆก็คอื เข้ากระดูกดาหรือเข้ากระแส เลือดแล้ว ไม่ทาไม่ได้มนั ไหลไปเกิดปฏิกริ ยิ าของมันขึน้ มาเอง เห็นสิ่งใด ๑๑๕


ลมไหวใบไม้สงบ

พบสิง่ ใดมันก็ไร้สาระไร้เจตนาไร้แรงจูงใจของมันเอง ธรรมชาติปฏิบตั ิ เช่นนี้นานๆเข้ามันก็ทาให้ราคะเบาบางโดยอัตโนมัติ โทสะเบาบางโดย อัตโนมัติ ความเบาบางถึงระดับหนึ่งคนผูน้ ้ีหรือสังขารกลุ่มนี้กจ็ ะกลับมา เกิดได้แค่ครัง้ เดียว และจะหลุดพ้นไม่ต้องมาเกิดอีก เขาเรียกปฏิกริ ยิ า ตรงนี้ว่าสกิทาคามี แปลว่าผูถ้ งึ การเกิดอีกครัง้ เดียว มันเหมือนพอปฏิบัติ ถูกทางสิง่ แรกทีเ่ ห็นคือบันไดและเห็นนิพพานอยู่ทป่ี ลายสุดของบันได นัก ปฏิบตั กิ เ็ ดินตามบันไดไปเรื่อยๆ จะรูช้ ่อื หรือไม่รชู้ ่อื ว่าบันไดแต่ละขัน้ ชื่อ อะไรไม่สาคัญ ไปให้ความสาคัญกับชื่อขัน้ บันไดเสียอีกจะตกบันไดทันที ไม่รชู้ ่อื ขัน้ บันไดแต่เราก้าวข้ามบันไดทีละขัน้ ความรูส้ กึ ว่าได้อะไรย่อมไม่ มี ปฏิบตั ถิ ูกทางต้องรู้สกึ อย่างนี้ ให้ทุกสิง่ มันคลายตัวของมันไปเอง ให้ มันหายไปเอง ไม่ต้องสนใจว่าก้าวได้กข่ี นั ้ แล้ว ยังมีบนั ไดให้กา้ วต้องก้าว ต่อไป โดยใช้สติแบบเดิมอุบายแบบเดิม อุบายทีต่ รงจริตใช้แล้วได้ผลเร็ว ก็ใ ช้อุ บ ายนัน้ ไป ธรรมะหลายเล่ ม เกวีย นไม่ส าคัญ เท่ า อุ บ ายตัว เดียว บันไดที่ก้าวข้ามทีละขัน้ มันเกิดปฏิกิรยิ าอะไรก็ไปให้สาระมันไม่ได้ ให้ สาระเมื่อใดตกบันไดทันที เรื่องหยุดทาหยุดปฏิบตั ิสาหรับผูเ้ ข้ากระแส เรื่องนี้หมดห่วงไปได้ เพราะผูเ้ ข้ากระแสสาเร็จ เรื่องพักเรื่องพอเรื่องยอ เรื่องหยุดไม่มแี ล้ว เพียงแต่จะรุดหน้าเร็วช้าแค่ไหนเท่านัน้ เอง ก้าวบันได ไปเรื่อ ยๆ ก็ล ดละไปเรื่อ ยๆก็จ ะเข้า กระแสไปเรื่อ ยๆ จากสกิท าคามี เดี๋ย วเดี ย วก็ เ ข้ า กระแสอนาคามีซ่ึง หมายความว่ า ผู้ ไ ม่ ต้ อ งเกิด อีก สกิท าคามีคือ มาเกิด อีก หนึ่ ง หน แต่ อ นาคามีไ ม่ต้อ งมาเกิด แต่ ก็ยงั ไม่ ปรินิพพานนัน่ หมายถึงว่าอนาคามีเมื่อร่างกายดับรูปธาตุท่ที าปฏิกริ ยิ า เป็ นกายเสือ่ มสถาพจนใช้การไม่ได้ อนาคามีทง้ิ แค่รปู ธาตุ ส่วนนามธาตุท่ี ทาปฏิกริ ยิ ากันยังอยู่ ปฏิกริ ยิ าของนามธาตุเดิมๆอยู่ครบ ทีอ่ ยู่ในสภาพไม่ ต้องอาศัยอิงแอบแนบอยู่กบั รูป ต่างกับโสดาบันและสกิทาคามี สองกลุ่ ม ๑๑๖


สมสุโขภิกขุ

นั ้น ดับ ทัง้ รู ป ทัง้ นามแล้ ว ไปสร้ า งปฏิกิริย าเป็ นรู ป ใหม่ น ามใหม่ แต่ สถานภาพการเป็ น ผู้เ ข้า กระแสกับ ผู้ก ลับ มาเกิด อีก ครัง้ เดีย วคงอยู่ โสดาบันทีเ่ กิดใหม่จงึ มีสทิ ธิเกิดได้ไม่เกิน ๗ ครัง้ สกิทาคามีไม่เกิน ๑ ครัง้ ไม่ต้องปฏิบตั ิสงิ่ ใดๆเลยปฏิกริ ยิ าธรรมชาติต้องไหลไปปรินิ พพานจนได้ มัน เป็ น กฏธรรมชาติ เพราะการทาปฏิกิริยาของอริยบุคคลมัน เป็ น ไป อย่ า งอัต โนมัติ เห็น สิ่ง ไร้ส าระจะไปให้ส าระเป็ น ไปไม่ไ ด้ ไม่ป ฏิบัติก็ เหมือนปฏิบตั ิ ขอบเขตชีวติ จึงถูกกาหนดไว้แล้วว่าไม่เกินกว่านัน้ แต่เร็ว กว่าได้ แต่อนาคามีแปลว่าไม่ต้องเกิดอีกนัน่ คือไม่ใช่ตาย อนาคามีชาติน้ี ท่านมิได้ตาย แต่ท่านมีแค่จติ ทีเ่ ข้ากระแสอนาคามีเท่านัน้ ทีย่ งั อยู่ และรอ ปรินิพพานในสมัยคือในชาติน้ี เพียงแต่มนั อาจผิดปกติวสิ ยั ทีป่ ุถุชนจะคิด ว่ามันมีวสิ ยั แบบนี้อยู่ จึงขอนามาชี้แจงให้ทราบเพื่อประดับความรู้ มิได้ ค้านแย้งกับใคร ผู้ท่อี ธิบายว่าไปเกิดเสียอีก มีความเข้าใจคลาดเคลื่อน อนาคามีไม่เรียกว่าไปเกิดอีก ท่านแค่ย้ายบ้าน ตอนย้ายบ้านท่านทิ้ง เฟอร์นิเจอร์ท่ที ่านไม่ให้สาระแล้วไว้บนโลก ท่านไปดื่มด่ารสนิพพานบน ชัน้ สุทธาวาส รอจนท่านเบื่อเมื่อใดท่านก็ท้งิ รสนิพพานของท่านเอง เขา จึง เรีย กปรินิ พ พานในสมัย คือ ในชาติท่ีท่ า นยัง มีชีวิต อยู่ น่ี แ หละ แต่ อนาคามีเ ป็ นอริย บุ ค คลที่พิเ ศษ คือ ชาติเ ดีย วเป็ นทัง้ คนและ พรหม โสดาบันสกิทาคามี ต้องตายจากคนก่อนจึงไปอุบตั ใิ หม่เป็ นคนหรือเทวดา ก็ต ามถือ ว่าเป็ น คนละชาติคนละสมัย แต่ อ นาคามีเป็ น อรหัน ต์ในสมัย เดียวกัน เป็ นอนาคามีตอนเป็ นคนแล้วไปเป็ นอรหันต์ตอนเป็ นพรหม ผู้เ ข้า กระแสอนาคามีคือ ผู้เข้ากระแสนิพ พานอย่ างแท้จ ริง แต่ ปฏิกริ ยิ าว่ากูเข้ากระแสนิพพาน นิพพานของกู ยังมีอยู่ และต้องการเสวย วิมุ ต ติสุขในฐานะมีตวั กูผู้เสวยวิมุ ต ติสุ ข ด้วยคิดว่าจุใจเมื่อ ใดค่อ ยเข้า กระแสอรหันต์ มีพระสูตรยืนยันว่า อนาคามียงั มีอุปาทานเหลืออยู่ จึงยัง ๑๑๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ไม่เป็ นอรหันต์ เหลือแค่ยดึ มั ่นถือมั ่น(อุปาทาน)ในการเสวยวิมุตติสุขเท่า นัน้ เอง ส่วนพระอรหันต์เสวยวิมุตติสุขในฐานะพระอรหันต์ เสวยวิมุตติ สุขแบบไม่มใี ครเป็ นผู้เสวย ต่างกันแค่ตรงนี้ อนาคามีจงึ ใช้ปฏิกริ ยิ าของ ธาตุ ขนั ธ์เดิม ๆนัน่ แหละเสวยวิมุ ต ติสุ ข ไม่ต้อ งมีการอุบัติใหม่ หรือ ทา ปฏิกริ ยิ าเป็ นนามธรรมชุดใหม่เหมือนสกิทาคามี ผูเ้ ข้ากระแสสกิทาคามี ต้ อ งสร้า งปฏิกิริย าใหม่ ย กชุ ด แล้ว ไปเข้า กระแสอรหัน ต์ ใ นชาติห น้ า อนาคามีชาติน้ี แต่ ในสังขารที่เป็ นอรูป คือขาดรูปกาย กลุ่มสังขารที่ทา เช่ น นี้ ไ ด้ ม ีเ ฉพาะกลุ่ ม สัง ขารที่ เ ข้า กระแสอนาคามีเ ท่ า นั ้น จึง ท าได้ สกิทาคามีและโสดาบันทาไม่ได้ ส่วนพระอรหันต์ท่านคือกลุ่มสังขารทีไ่ ม่ ต้องมาเกิดอีก ไม่ว่าจะเกิดในรูปแบบใดๆ เกิดใหม่อกี ไม่ได้ แล้ว นัน่ คือ คุณสมบัติของพระอรหันต์ ที่บอกว่าพระอรหันต์สามารถเลือกที่จะเกิด หรือปรินิพพานได้นัน่ มโนเอาเอง ไม่ใช่ความจริง ขัดหลักธรรมคาสอน ของพระพุทธเจ้า ไร้สาระไร้ประโยชน์ทจ่ี ะเชื่อหรือคิดแบบนัน้ พระอรหัน ต์ท่านเกิดอีกไม่ได้ มีส ิ่ง ที่เกิดอีกไม่ได้ส องอย่างคือ ขณะทีย่ งั มีชวี ติ เกิดความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกู พระอรหันต์รสู้ กึ แบบนัน้ อีก ไม่ได้ ในระหว่างมีชวี ติ ท่านจึงไร้เจตนาในสิง่ ใดๆ เลิกให้สาระในสิง่ ใดๆ เกิดปฏิกริ ยิ าใดๆมาผัสสะท่านสักว่าในทุกๆสิง่ ปฏิกริ ยิ าทีค่ ่กู บั สังขารของ พระอรหันต์ในขณะมีชวี ติ อยู่คอื วิมุตติสุข แต่ท่านก็มไิ ด้ถอื ว่ามีใครเสวย วิมุตติสุข ถือเอาทุกสิง่ เป็ นธรรมปวัตติ คือเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติทงั ้ หมด การกระทามีอยู่เหมือนบุคคลธรรมดาทัวไปกระท ่ า แต่การกระทาทัง้ หมด เป็ นเรื่องของเหตุปัจจัย เป็ นเรื่องของธรรมชาติ เป็ นเหมือนทุกสิง่ ทุกอย่าง คือระบบธรรมชาติทจ่ี ะต้องเกิดปฏิกริ ยิ าเช่นนัน้ ตามธรรมดาของมัน เช่น จะมีชวี ติ ต้องหายใจ นี่คอื กลไกธรรมชาติ พระอรหันต์ท่านทาสิง่ ใดจะทา ๑๑๘


สมสุโขภิกขุ

สิ่ง ใดกลายเป็ น ธรรมปวัต ติไปทัง้ หมด เช่น พบปฏิกิริยาเช่น นี้ต้อ งทา เช่นนี้ ทาเพราะกลไกของธรรมชาติท่ที าให้ท่านต้องทา มิได้ทาเพราะมี ปฏิ กิ ริ ย าอื่ น ใดมากระตุ้ น มี ธ รรมดาธรรมชาติ เ ป็ นเหตุ ปั จจั ย ให้ เกิดปฏิกริ ยิ าต่างๆตลอดเวลา ผูเ้ ป็ นอรหันต์จงึ ไม่มกี ารทาอะไรผิด เพราะ ทุ ก สิ่ง ทุ ก อย่ า งมัน กลายเป็ น การกระท าของปฏิกิริย าธรรมชาติล้วนๆ กลายเป็ นธรรมปวัตติหรือกระบวนการทางธรรมชาติล้วนๆ เนื้อตัวพระ อรหันต์คอื พุทธะ คือ กระแสธรรมชาติอย่างหนึ่ง ไม่ใช่คนสัตว์อกี ต่อไป ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติท่เี กิดในธรรมชาติทุกอย่างเกิดอย่างไร มีกฏอย่างไร ผลอย่างไร สัง ขารพระอรหันต์ก็อาศัยกฎเกณฑ์เช่นนัน้ ในการดารงชีพ จนกว่ า จะเสื่อ มสภาพและไม่ส ามารถทาปฏิกิริยาใดๆต่ อ ไปก็หยุดทา ปฏิกริ ยิ าเหมือนธรรมชาติทวๆไปย่ ั่ อมเป็ นเช่นนัน้ พระอรหัน ต์ไม่ใช่วตั ถุ วิเศษ เป็ น แค่กลุ่ม สัง ขารที่ไม่ส ามารถมี อะไรมาชักใยให้กระทาการใดๆได้ดว้ ยวิธใี ดๆได้ แต่ เป็ นกลุ่มสังขารทีจ่ ะ เกิดปฏิกริ ยิ าใดๆกับกลุ่มสังขารกลุ่มนี้ ต้องขึน้ ตรงกับกฎธรรมชาติลว้ นๆ ไม่ได้ทาเพราะคติทวินิยม คือมีการกระตุน้ ให้ทาด้วยของคู่ เช่น ดีเลวบวก ลบ แต่ปฏิกริ ยิ าจะเกิดต้องเกิดเพราะกฎธรรมชาติเป็ นเช่นนี้ จึงถือว่าพระ อรหันต์คอื สรีระยนต์ท่ปี ฏิกริ ยิ าทุกชนิดจะเกิดกับสรีระยนต์องค์น้ีเป็ นไป ตามกฎธรรมชาติลว้ นๆ เป็ นจิตพุทธะล้วนๆเป็ นจิตเดิมแท้ธรรมชาติ เดิม แท้ลว้ นๆทีส่ ร้างปฏิกริ ยิ าต่างๆขับเคลื่อนสังขารของท่าน อนาคามียงั ไม่ต้องการเป็ นเช่นนี้ ยังต้องการมีตวั ตนผู้รบั รู้และ เสวยธรรมชาติแปลกใหม่ท่ีต นค้น พบและเข้ากระแส เลยขอหยุดก้า ว ต่อไปจะด้วยเจตนาหรือด้วยพลอินทรีย์ยงั ไม่แรงกล้าพอก็ตาม แต่จะช้า จะเร็วท่านก็ถงึ จุดอิม่ ตัว สลัดวิมุตติสุขได้อย่างไม่มเี ศษเหลือจนได้สกั วัน และในชาติน้ี อ ย่ า งแน่ น อนแต่ ใ นสถานะพรหมมิใ ช่ ม นุ ษ ย์ ถ้ า สลัด ได้ ๑๑๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ในขณะเป็ นมนุษย์ท่านก็เป็ นพระอรหันต์ในชาติทเ่ี ป็ นมนุษย์ ถ้าไปสลัดได้ ในขณะทีเ่ ป็ นพรหมท่านก็เป็ นพระอรหันต์ในสถานะพรหม ได้กล่าวถึงอริยบุคคลครบสีป่ ระเภทแล้ว จึงอยากเชิญชวนให้ทุก คนมีความพากเพียรพยายามตัง้ ใจเอาจริงเอาจังกับการปฏิบตั ิ เพื่อเข้า กระแสนิ พ พานให้ไ ด้ จะเข้า กระแสล าดับ ใดดีท งั ้ นัน้ เพราะขอแค่เข้า กระแสได้ หลักธรรมชาติมอี ยู่ว่าจะเหมือนมีธรรมยานพาผูเ้ ข้ากระแสมุง่ สู่ วิมุตติสุขได้เองไม่ว่าจะต้องการหรือไม่ต้องการธรรมชาติจะไหลพาธาตุ ขันธ์ทเ่ี ข้ากระแสเดินทางไปสูจ่ ุดนัน้ เองจะเร็วจะช้าต้องถึงแน่นอน อย่าดึงค่าของอริ ยบุคคลให้ตกตา่ ผิ ดความจริ งด้วยการยก ย่องเกิ นความจริง ปั จจุบนั มีการยกย่องอริยบุคคลว่าเป็ นคนพิเศษไม่ใช่คนธรรมดา แบบเราๆท่านๆแล้ว การกระทาเช่นนัน้ กลับทาลายศาสนาทางอ้อม ทาให้ สังคมมองอริยบุคคลผิดเพีย้ นไปจากความจริง เพราะอริยบุคคลยิง่ สูงยิง่ ธรรมดามิใช่ยงิ่ วิเศษ สังคมปั จจุบนั มองความเป็ นอริยบุคคลในแง่ลบ ในแง่ผดิ ปกติ ใน แง่เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ใช่มอี ยู่เป็ นสามัญในโลก บางทีมองเป็ นสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่ได้ไม่ มีอ ยู่จ ริง เพราะการใส่ส ีตีไ ข่ใ ห้อ ริย บุ ค คลจนเกิน วิส ัย ที่จ ะเป็ น จริง ได้ นันเอง ่ ลองใคร่ครวญดู ถ้าบุตรหลานของทุกคนบอกว่าโตขึน้ อยากเป็ น หมอ อยากเป็ น ทหาร อยากเป็ น ต ารวจ อยากเป็ น ครู เราจะมองว่ า ลูกหลานของเราเป็ นคนปกติเป็ นคนธรรมดา แต่ถ้าลูกหลานใครสักคน บอกโตขึ้น หนู อ ยากเป็ นโสดาบันอยากเป็ น อรหันต์ พ่อ แม่ป่ ูย่าตายาย จะต้องตกอกตกใจกันทัง้ บ้าน ไปบอกใครก็ตามคนทีไ่ ด้ยนิ จะต้องคิดในแง่ ๑๒๐


สมสุโขภิกขุ

ลบทันที ว่าเด็กคนนี้บา้ หรือเปล่าเพีย้ นหรือเปล่า นี่คอื สังคมไทยกาลังเป็ น เช่นนี้แล้ว เหตุทเ่ี ป็ นเช่นนี้กเ็ พราะไม่รคู้ วามจริงเรื่องอริยบุคคล รูม้ าผิดๆ ทีร่ ผู้ ดิ ๆก็มาจากการใส่สตี ไี ข่ยกย่องอริยบุคคลอย่างเกินความจริง เลยทา ให้การอยากเป็ น อริยบุคคลซึ่งเป็ นสิ่งที่ดีกลายเป็ นเรื่องเลวร้าย ไม่ใช่ เลวร้ายธรรมดาเลวร้ายสุดๆ ถึงขนาดถ้าใครไปพูดเข้าจะกลายเป็ นคน เพีย้ นคนบ้าไปเลย หลวงพ่อประยุทธเคยเขียนหนังสือไว้ท่านบอกว่าสังคมควรตื่นรู้ ควรสร้างความเข้าใจในเรื่องนี้ ให้สงั คมเห็นว่าเป็ นเรือ่ งปกติ ธรรมดา ของผู้นับถือศาสนาพุทธ ทีจ่ ะต้องมีเป้ าหมายหลัก ของการเป็ นชาว พุทธด้วยวิ ธีปฏิ บตั ิ ธรรมอย่างน้ อยให้เข้ากระแสโสดาบันให้ได้ เพื่อ ประโยชน์แก่ตนเองแก่ครอบครัวแก่ศาสนา และสุดท้ายประโยชน์ย่อมตก ถึงสังคมโดยรวมและประเทศชาติในทีส่ ุด ชาวพุทธจึงต้องรูจ้ กั ตื่นรูแ้ ละทา ความเข้าใจสถานะความเป็ นอริยบุคคลทีถ่ ูกตรง ทาความรูท้ วถึ ั ่ งให้ได้ว่า เป็ นเรื่องปกติเป็ นเรื่องธรรมดาเป็ นเรื่องทีท่ ุกคนสามารถวาดหวังได้ ไม่ใช่ เป็ นเรื่องเหนือจริงผิดธรรมชาติเกินที่จะวาดหวังได้ ถ้าชาวพุทธร่วมแรง ร่วมใจกันทาได้ สังคมชาวพุทธจะเป็ นที่ยกย่องต่อชาวโลกอย่างยิง่ ใหญ่ สุดประมาณ ขอเขียนฝากไว้เป็ นข้อคิด มิได้วาดหวังต้องการให้สงั คมต้อง เป็ นถึงขนาดนี้ ขอเพียงเริม่ ทีต่ วั เราคนเดียวก่อนถ้าทาได้ศาสนาพุทธย่อม ไม่ถงึ กาลอวสานในเวลาอันใกล้น้อี ย่างแน่นอน อย่าเปิ ดโอกาสให้จิตสองสร้างของคู่ ตัวอย่างเช่น คาว่า "แรกเข้ากระแส" กับคาว่า "โสดาบัน" คือ ปฏิกิริย าอย่ า งเดีย วกัน อาการเดีย วกัน เป็ น องค์ธ รรมชนิ ด เดีย วกัน ความหมายเดียวกัน แต่ทดลองใช้หรือทดลองคิดถึงระลึกถึง จะเห็นความ แตกต่างอยู่ในคาสองคานี้ เช่นพอใช้คาว่า "เป็ นโสดาบัน" กับ "เป็ นผู้ ๑๒๑


ลมไหวใบไม้สงบ

แรกเข้ากระแส" เป็ นโสดาบันมันดูเท่กว่าโก้กว่าวิเศษกว่า ดูไม่ธรรมดา เป็ นคนพิเศษเกิดขึน้ มาในความรูส้ กึ ทันทีพร้อมไปในตัวขณะทีค่ ดิ ถึงคาว่า โสดาบัน เหตุทเ่ี ป็ นเช่นนี้กเ็ พราะสัญญาเลวมันเคยชิน(อนุสยั )กับการไหล (อาสวะ)ไปสร้างของคู่ให้คาๆนี้ จึงใส่ความดีกว่าเหนือกว่าไม่ปกติกว่า ซ้อนทับความรูส้ กึ ว่าโสดาบันคือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างหนึ่ งไปเสีย ทา ให้เกิดมิจฉาทิฐกิ ิเลสตัณหาอุปาทานภพชาติตามมาโดยไม่รู้ตวั อาการ เช่ น นี้ เ ป็ น เหตุ ก ารณ์ ป กติข องผู้ม ีจิต สองที่จ้อ งแต่ จ ะไหลไปสร้า งการ เปรียบเทียบ การสร้างการเปรียบเทียบคือการสร้างความรู้สกึ บวกลบ กรณีคาว่าโสดาบันก็สร้างความไม่ธรรมดาขึน้ มาเปรียบเทียบถ้าใช้คาอื่น มันธรรมดาไม่ใช้ดกี ว่า ใช้คาว่าโสดาบันแล้วมันดูไม่ธรรมดาอย่างนี้เป็ น ต้น คราวนี้ล องมาเปรียบเทียบกับการใช้คาธรรมดาๆเช่นพูดว่านัก ปฏิบัติค นนี้ เ ป็ น ผู้แ รกเข้า กระแสแล้ว กับ พู ด ว่ า นั ก ปฏิบัติค นนี้ เ ป็ น โสดาบันแล้ว ผูพ้ ูดย่อมรู้ได้ถงึ ความแตกต่างว่า คาว่าเป็ นโสดาบันมันดู อลังการดูภูมฐิ านดูดีกว่า คาว่าเป็ นผู้แรกเข้ากระแสมันดูพ้นื ๆ ดูจืดๆดู เป็ นปกติไม่เห็นว่าจะวิเศษอะไร นี่คอื ตัวอย่างชัน้ ของภาษาทีจ่ ติ สองชอบ สร้าง ใครไปหลงมายาคติทจ่ี ติ สองสร้างย่อมปฏิบตั คิ ลาดเคลือ่ นจากความ เป็ นจริงอย่างไม่รู้ตวั และยิง่ ใช้มายาคติท่จี ติ สองสร้างบ่อยๆยิง่ ห่างไกล จากพุทธะจากความเป็ นธรรมดาไปสูก่ ารแสวงหาแต่ความไม่ธรรมดาโดย ไม่รู้ต ัว มาปฏิบัติธรรมเลยกลายเป็ น มาปฏิบัติเพื่อ ความไม่ธรรมดามิ ได้มาปฏิบตั เิ พื่อทาตนให้กลายเป็ นคนธรรมดา นักปฏิบตั ธิ รรมทีต่ อ้ งการ เป็ นอริยบุคคลจริงๆไม่ใช่เรื่องเสียหายไม่ใช่เรื่องที่ต้องปกปิ ด เพียงด่าน แรกที่ต้องทาก็คอื ทาให้อริยบุคคลคือคนธรรมดาของธรรมดาที่ใครสร้าง ปฏิกริ ยิ าทีถ่ ูกวิธกี ส็ ามารถเข้ากระแสอริยบุคคลได้ทุกคน เมื่อต้องการพบ ๑๒๒


สมสุโขภิกขุ

ความเป็ นธรรมดาภาษาที่ใช้จงึ ต้องฝึ กมาใช้ภาษาที่ไม่เปิ ดโอกาสให้จิต สองมาสร้างของคู่ซอ้ นทับ เช่นคาว่าเป็ นโสดาบันพอใช้คานี้จติ สองยิม้ เลย สร้างความรูส้ กึ ไม่ธรรมดาให้เกิดในใจลึก ๆว่าโสดาบันมันดีมนั ของวิเศษ ต้องทาให้ได้ เป็ นโสดาบันแล้วคนจะได้นับหน้าถือตาจะได้เหนือกว่าคน อื่นๆ ลองใช้คานี้ดู ความรูส้ กึ เหนือธรรมดาชนิดนี้อดทีจ่ ะเกิดแทรกขึน้ มา ไม่ได้ นัน่ เพราะธาตุเลวสามตัวมันเคยชินที่จะไหลไปสร้างของคู่ให้ทุกๆ ปฏิกริ ยิ าทีผ่ มู้ อี วิชชาผัสสะ แต่ถ้านักปฏิบตั ฝิ ึกมาใช้ภาษาธรรมดา ภาษา ทีจ่ ติ สองไม่ได้ครอบงา เช่นแทนทีจ่ ะตัง้ เป้ าว่าจะเป็ นโสดาบันกลับเลิกใช้ สมมุตคิ านัน้ หันมาใช้คาธรรมดาๆสมมุตแิ ทน เป็ นสมมุตเิ หมือนกันแต่จติ สองมีอ านาจแทรกแซงต่ างกัน เช่ น ใช้ค าว่ า เราจะต้อ งเป็ น ผู้แ รกเข้า กระแสให้ได้ แทนเป็ นโสดาบันให้ได้ ใช้คาว่า “เป็ นผู้กลับมาเกิ ดอี ก ครัง้ เดียว” แทนสกิ ทาคามี เป็ นผูไ้ ม่ต้องเกิดแทนอนาคามี ลองระลึกดู จะเห็นว่าชัน้ ของภาษาแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชดั พวกหนึ่งมีความเป็ น ธรรมดา พวกหนึ่งมีความไม่ธรรมดาดูมชี นั ้ ภาษาดีกว่าเหนือกว่า ถ้าเรา ชอบใช้ภาษาทีไ่ ม่ธรรมดาจุดนี้แหละคืออาหารอันโอชะของจิตสาสวะ ยิง่ ใช้กย็ งิ่ ทาให้จติ สาสวะมีกาลัง ปฏิบตั ไิ ปปฏิกริ ยิ าใดเกิดขึ้นจิตสองก็จะใส่ ความรู้สึก ไม่ธรรมดาให้กับปฏิกิริยาที่ได้รบั ตลอดสายของการปฏิบัติ หลายคนเป็ นเช่นนี้ วิธแี ก้คอื ฝึกหันมาใช้อะไรๆทีธ่ รรมดาให้หมด ใช้อะไร ทีด่ ูแล้วธรรมดาแทนทีค่ าทีใ่ ช้แล้วดูไม่ธรรมดาทุกๆครัง้ ทีค่ ดิ ทีร่ ะลึกที่พูด ที่เขียน อย่าเปิ ดโอกาสให้จติ สองมามีบ ทบาทสร้างปฏิกริ ยิ าคู่ขนานกับ ความธรรมดา กาจัดความไม่ธรรมดาให้ส้นิ รากสิ้นโคน เราจะได้ปฏิบตั ิ ธรรมด้วยจิตพุทธะมิใช่ปฏิบตั ดิ ว้ ยจิตสาสวะอย่างก่อนๆ จิตพุทธะคือจิตที่ ไหลไปสู่ความเป็ นธรรมดา ไหลไปหาความจริง แต่จิตสาสวะไหลไปสู่ ความไม่ธรรมดา ไหลไปหามายาของหลอกลวง ๑๒๓


ลมไหวใบไม้สงบ

คําถามยอดฮิ ต คือ สงสัยกัน ว่า เลิกให้ส าระหมดทุกอย่างแล้วจะอยู่อ ย่างไรจะ ทางานอย่างไรจะกินจะใช้อย่างไรจะประกอบอาชีพอย่างไรจะหาเงินหา ทองอย่างไร นัน่ คือจิตสองสร้างของคู่มามีอทิ ธิพลครอบงาโดยไม่รู้ต ั ว ของคู่ ทีว่ ่าก็คอื ความรูส้ กึ ทีว่ ่า ต้องมีสาระจึงทา ไม่มสี าระต้องไม่ทา นี่คอื ความ เป็ นของคู่ท่ปี ุถุชนมีอยู่กบั ชีวติ โดยเกือบไม่รู้ตวั ว่ามันเป็ นมายาคติ มัน เป็ นสิง่ ที่สร้างขึ้นมาเองแล้วยึดถือขึ้นมาเองว่าเป็ นสิง่ ถูกต้อง ถ้าไม่ทา เช่นนี้มนั ไม่ถูกต้อง ดังนัน้ พอมาให้ฝึกเลิกให้สาระก็ดงึ ความรูส้ กึ เป็ นคู่ทม่ี ี อยู่มาเปรียบเทียบมาสรุปทันทีว่าทาแบบนัน้ ไม่ได้มนั ผิดมันไม่ถูกต้องขืน ทามีปัญหาแน่ ต้องทดลองทาดูจงึ จะรูว้ ่า ธรรมชาติจริงๆมิใช่สงิ่ เป็ นคู่ แต่ เป็ นสิง่ หนึ่งทีเ่ ป็ นกลางว่างจากความเป็ นคู่ ว่างจากถูกผิด จะทาปฏิกริ ยิ า ใดๆทาตามเหตุปัจจัย แม้สงิ่ นัน้ ไร้สาระไม่มสี าระแต่ถ้ามีเหตุปัจจัยให้ทา สิง่ นัน้ ธรรมชาติน้ีเขาสามารถทาได้ ทาอย่างว่างๆทาอย่างไม่มบี วกลบ ท าไปตามเหตุ ปั จ จัย ผู้ท้ิง ของคู่ไ ด้ก็จ ะมีจิต พุ ท ธะและเหตุ ปั จ จัย เป็ น ปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นให้เกิดปฏิกริ ยิ าอื่นๆตามมา ไม่ได้ทาสิง่ ใดเพราะมันมีสาระ หรือไม่มสี าระ แต่ทาเพราะมีเหตุปัจจัยมีกฎธรรมชาติว่ามีเหตุปัจจัยเช่นนี้ ต้อ งมีป ฏิกิริยาเช่น นี้ต ามมา แล้วมีส มั มาสติส มั มาปั ญ ญาคอยควบคุม ปฏิกริ ยิ าทุกๆอย่างทีเ่ กิดเหมือนรางรถไฟทีข่ นานกันไป รางข้างหนึ ง่ เหมือนลมทีไ่ หว รางข้างหนึ ง่ เหมือนใบไม้ทีส่ งบ รางหนึ่งมีการทาปฏิกิรยิ าของมันไปตามกฎธรรมชาติตามเหตุ ตามปั จจัยเพื่อหาเงินหาทองเลีย้ งชีวติ เลี้ยงครอบครัว เพื่อประกอบสัมมา ๑๒๔


สมสุโขภิกขุ

อาชีพ เพือ่ รักษาธาตุขนั ธ์ให้ดารงอัตภาพอย่างไม่เป็ นทุกข์ การกระทาทุก อย่ า งมีอ ยู่ แต่ ม ีร างคู่ ข นานอีก รางสร้ า งปฏิกิ ริย าคอยคุ ม ไม่ ใ ห้ เ กิด ความรู้สึก ว่ า มีผู้ก ระท า รางสติส มาธิปั ญ ญาที่ส มบู ร ณ์ จ ะท าปฏิกิริยา คู่ขนานไปตลอดเวลา ทาให้การทากิจใดๆของผูห้ ลุดพ้นจากการครอบงา ของจิต สองสามารถดาเนินชีวิต และสัมมาอาชีพต่ อไปอย่าง มีแต่ การ กระทาตัวตนผู้กระทาไม่มี ตัวตนของสิง่ ทีถ่ ูกกระทาก็ไม่ม ี ตัวตนผลที่ ได้รบั จากการกระทาก็ไม่ม ี มีแต่การกระทาตัวตนผูก้ ระทาหามีไม่ ทุกคน ลองคิดดูว่าสังขารที่อยู่ดว้ ยปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติเช่นนี้จะสมบูรณ์แบบ ขนาดไหน ลองฝึ ก จริง ๆจัง ๆจนท าให้ช่ ว งชีวิต หนึ่ ง สามารถมีชีวิต ใน ลัก ษณะนี้ ใ ห้ไ ด้ จะเป็ น นาทีเ ป็ น ชัว่ โมงเป็ น วัน ก็วิเ ศษสุ ด จนเหนื อ คา บรรยาย อยากรูว้ ่าสิง่ ทีศ่ าสนาพุทธสอนเป็ นจริงได้ไหม ต้องลงมือพิสจู น์ ด้วยการทาให้มนั ปรากฏขึน้ จริงๆสักครัง้ สองครัง้ ก็จะไม่มวี นั ลืมเลือน ขอ เพียงครัง้ เดียวแค่ชวครู ั ่ ่ชวยามก็ ั่ ยงั ดี ทาได้จะรู้สกึ ทันทีว่าไม่เสียทีทเ่ี กิด เป็ นมนุ ษย์พบพุทธศาสนา แล้วสามารถทาคาสอนที่มใี นพุทธศาสนาให้ เป็ นจริงได้ อย่าใช้แค่อ่าน ท่อง จา คิด แล้วรู้สกึ ว่าดีว่าถูก ทัง้ ๆที่ไม่เคย ทาได้จริงสักครัง้ รูว้ ่าดีโดยไม่เคยพบของจริงเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ถูกต้อง ถึงตอนนี้ทุกๆท่านมีความรูพ้ น้ื ฐานเพียงพอทีจ่ ะเข้าสู่ภาคปฏิบตั ิ สัมมัตตธรรมอนาสวะแล้ว แต่มขี อ้ เสนอแนะประการหนึ่งคือควรปฏิบตั ิ กับสถานการณ์ จริง ไม่ควรปฏิบัติด้วยวิธีคิดด้วยวิธีส ร้างสถานการณ์ จาลอง เพราะทาแบบนัน้ จะไม่ได้ประโยชน์ สิ่ง ที่ได้จะกลายเป็ นฟุ้งใน ธรรม สถานการณ์จริงทีท่ าให้ฝึกปฏิบตั ธิ รรมในแต่ละวันมีเพียงพอแล้วที่ จะนามาใช้ฝึก โลกรอบตัวเป็ นวัตถุทดลองเครื่องมือทดลองห้องทดลอง อย่างเยีย่ มยอด ไม่จาเป็ นต้องไปปรุงไปคิดไปจินตนาการจาลองเรื่องราว ใดๆมาฝึกปฏิบตั ธิ รรม ๑๒๕


ลมไหวใบไม้สงบ

มหาจัตตารีสกสูตรภาคปฏิบัติ มิ จฉัตตะ๑ มิ จฉัตตะ๑๐ สัมมัตตะ๑๐ สัมมัตตะ๑๐ (สาสวะ) (อนาสวะ) (สาสวะ) (อนาสวะ) มิ จฉาทิ ฐิ มิ จฉาทิ ฐิ สัมมาทิ ฐิ สัมมาทิ ฐิ มิ จฉาสังกัปปะ มิ จฉาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ มิ จฉาวาจา มิ จฉาวาจา สัมมาวาจา สัมมาวาจา มิ จฉากัมมันตะ มิ จฉากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ มิ จฉาอาชีวะ มิ จฉาอาชีวะ สัมมาอาชีวะ สัมมาอาชีวะ มิ จฉาวายามะ มิ จฉาวายามะ สัมมาวายามะ สัมมาวายามะ มิ จฉาสติ มิ จฉาสติ สัมมาสติ สัมมาสติ มิ จฉาสมาธิ มิ จฉาสมาธิ สัมมาสมาธิ สัมมาสมาธิ มิ จฉาญาณะ มิ จฉาญาณะ สัมมาญาณะ สัมมาญาณะ มิ จฉาวิ มุตติ มิ จฉาวิ มุตติ สัมมาวิ มุตติ สัมมาวิ มุตติ

ภาคปฏิ บตั ิ สมั มัตตธรรมอนาสวะ สิง่ ทีจ่ าเป็ นต้องทราบอันดับแรกเลยต้องรูว้ ่าธรรมชาติน้มี สี มั มัตต ธรรมอยู่สองชนิด สัม มัต ตธรรมอย่างแรกเรียกว่ าสัม มัตตธรรมสาสวะ ได้แก่มรรคมีองค์๘นัน่ เอง ทุกคนรู้จกั ดี สัมมัตตธรรมอย่างที่สองทุกคน อาจยัง ไม่เคยได้ยิน ไม่เคยรู้จกั จึง ควรมาทาความเข้าใจสัม มัตตธรรม ประเภทนี้กนั เป็ นการเฉพาะเจาะจงเสียก่อน สัมมัตตธรรมอนาสวะหมายถึง นิยามแห่งความถูกต้องแบบไม่ เจือด้วยอาสวะมี ๑๐ อย่าง ๑๒๖


สมสุโขภิกขุ

ส่วนสัมมัตตธรรมแบบสาสวะหมายถึง นิยามแห่งความถูกต้อง แบบเจือด้วยอาสวะมี ๑๐ อย่าง สองประเภทนี้ต่างกันทีแ่ บบหนึ่งเจือด้วยอาสวะ แบบหนึ่งไม่ มอี า สวะเจือ แบบเจือด้วยอาสวะเป็ นความถูกต้องสาหรับชาวโลก สาหรับผู้ ต้องการสุขโศกปนเศร้าคละเคล้ากันไป มิใช่ผู้ปรารถนาความเหนือสุข เหนื อ ทุ ก ข์ ผู้ต้ อ งการเหนื อ สุ ข เหนื อ ทุ ก ข์ต้อ งศึก ษานิ ย ามแห่ ง ความ ถูกต้องประเภทไม่เจืออาสวะ สิง่ จาเป็ นทีต่ อ้ งทราบอันดับสองคือ มรรคมีสองแบบ องค์ธรรมทัง้ แปดในมรรคจึงมีสองแบบด้วยเช่นกัน ที่สาคัญคือมรรคแบบสาสวะจะมี สัมมาทิฐอิ ย่างหนึ่งเป็ นแม่ทพั แต่มรรคอนาสวะแม้มสี มั มาทิฐเิ ป็ นแม่ทพั เหมือ นกัน แต่ ความหมายของสัม มาทิ ฐิในมรรคอนาสวะต่ า งกับ สัมมาทิ ฐิในมรรคสาสวะอย่างลิ บลับ เรียกได้ว่าเหมือนอยู่คนละขัว้ เลย ซึง่ จะขออธิบายเรื่องนี้ให้อ่านเป็ นลาดับแรก มรรคมีสองแบบ สัมมาทิ ฐิมีสองแบบ สัมมาอื่นๆก็มสี องแบบ สองแบบนี้แตกต่างกันอย่างไร อย่างแรกเลย มรรคแบบแรกพระองค์เรียกการแสดงมรรคครัง้ แรกว่าเป็ นธรรมจักขุ หมายถึงธรรมเพือ่ ให้มดี วงตาเห็น ธรรม นัน่ คือปฐม เทศนาทีม่ ขี น้ึ ครัง้ แรกของพุทธศาสนาในยุคนี้ เจตนาทีแ่ สดงพระองค์ระบุ ไว้ชดั เจนว่าเป็ นไปให้ผฟู้ ั งมีดวงตาเห็นธรรม(ธรรมจักขุ) คือครัง้ แรกแสดง เพื่อให้เป็ นอริยบุคคลชัน้ ต้น ต่างจากแบบที่สองที่แสดงเพื่อบรรลุธรรม หรือเพือ่ หลุดพ้น อย่างทีส่ อง ต่อมามีการแสดงธรรมทีเ่ ป็ นทางไปสู่ความเป็ นพระ อรหันต์ องค์ธรรมชื่อเดียวกัน สัมมามีเหมือนกัน แปดอย่างเหมือนกัน(ดู แผนภูมปิ ระกอบ) แต่พอแสดงธรรมเพือ่ ความเป็ นอรหันต์เพิม่ สัมมามาอีก ๑๒๗


ลมไหวใบไม้สงบ

สองอย่างคือมีสมั มาญาณะกับสัมมาวิมตุ ติเพิม่ เข้ามา (ดูแผนภูมปิ ระกอบ) แต่ แ ม้จ ะมีช่ือ สัม มาเหมือ นกัน แต่ เ นื้ อ หาธรรมะที่จะน าไปปฏิบัติของ สัมมาสองประเภทต่างกัน พระองค์แสดงความแตกต่างเปรียบเทียบให้ เห็นเป็ นตัวอย่าง แม้ไม่ครบทุกสัมมา แต่ผปู้ ฏิบตั กิ ท็ ราบแนวทางว่าสัมมา อื่นๆที่พระองค์ไม่ได้สอนจะต้องทาตามหลักเกณฑ์เดียวกันกับสัมมาที่ พระองค์สอน คือละไว้ในฐานทีเ่ ข้าใจว่าสัมมาอื่นๆก็ใช้หลักการเดียวกัน ดังนัน้ ผูท้ ่ศี กึ ษามรรคแบบที่สอนกันแพร่หลายในปั จจุบนั ต้องรู้ ตามความจริงว่ามรรคชนิดนี้เป็ นมรรคเพื่อมีดวงตาเห็น ธรรมเท่านัน้ มิใช่ มรรคเพือ่ ความหลุดพ้น พระพุทธเจ้าตรัสไว้เองเลยว่าถ้าต้องการหลุดพ้น สัมมาแต่ละสัมมามีความหมายและการปฏิบตั ติ ่างกัน ชนิดทีส่ มั มาสาสวะ จะมีหลักปฏิบตั ทิ ต่ี รงข้ามกันกับสัมมาอนาสวะทุกอย่าง ตัวอย่าง เช่น สัม มาทิฐิส าสวะข้อ หนึ่งบอกบุญมีบาปมี ใครคิด เช่นนี้ถือว่ามีสมั มาทิฐิสาสวะ คือคิดว่ามีไม่ผดิ แต่ถ้าเป็ นสัมมาทิฐอิ นา สวะต้องเลิกคิดว่าบุญมี เลิกคิดว่าบาปมี เลิกคิดว่ามีทงั ้ คู่ ใครไปคิดว่าบุญ มีผดิ บาปมีกผ็ ดิ วิธปี ฏิบตั กิ ค็ อื เมือ่ เกิดความคิดว่าบุญมีอยู่จริงก็มสี ติเลิก คิดเลิกเข้าไปยึดถือยึดติดเลิกให้สาระเลิกให้ค่าเลิกให้ความสาคัญ พอพูด ถึง บุญ ก็จะเป็ นสักว่าบุญ หลายท่านอาจเริ่มสงสัยว่าสอนผิดหรือเปล่า แบบนี้เองสัมมัตตธรรมอนาสวะจึงเป็ นเรื่องค่อนข้างสอนยาก เพราะผูอ้ า่ น ต้องไปทดลองฝึ กตาม ทดลองฝึ กจริงๆระลึกจริงๆจึงจะเกิดความเข้าใจ ว่าถ้าทาตามทีพ่ ระองค์ตรัสสอนจะสามารถอยู่เหนือบุญได้จริงๆ ถ้าไม่ทา แบบนี้ก็จะให้สาระในบุญในบาปทาให้มบี ุญเป็ นตัวถ่วงความก้าวหน้าใน การปฏิบตั ิ

๑๒๘


สมสุโขภิกขุ

แต่ก็อาจมีปัญหาถามต่อว่า ถ้าเช่นนัน้ ก็ไม่ต้องมีการทาบุญกัน เลยใช่ไหม ซึง่ ต้องปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองอีกเช่นกันจึงจะรูว้ ่า ผูเ้ หนือบุญจริง ๆ แล้ว ท่ า นจะเป็ น ผู้ท าบุ ญ มากกว่ า ผู้ท าบุ ญ เพราะอยากได้บุ ญ เสีย อีก เพราะผูเ้ หนือบุญจะถือว่าการทาบุญเป็ นหน้าที่ ไม่ใช่ทาบุญเพราะอยาก ได้บุญหรืออยากได้สงิ่ นัน้ สิง่ นี้หรือแม้แต่อยากได้บุญแบบผูย้ งั ไม่เหนือบุญ ความรู้สกึ ของผู้เหนือบุญหรือเหนือโลกแล้วจะทาสิง่ ใดท่านทาเพราะมี หน้ า ที่ ต้ อ งท า เหมือ นเป็ นคนมีห น้ า ที่ ต้ อ งหายใจ ไม่ ห ายใจไม่ ไ ด้ เช่น เดียวกัน ผู้เหนือบุญมีหน้ าที่ต้องทาบุญการทาบุญคือหน้ าที่ ไม่ทา หน้ า ที่ไม่ได้ ไม่ทาหน้ าที่ก็ไม่ใช่ผู้เหนือ บุญ และเมื่อ ทาบุญ เพราะเป็ น หน้าทีเ่ ท่านัน้ ผูเ้ หนือบุญจะไม่ให้สาระในบุญทีท่ า ผูเ้ หนือบุญจะทาบุญสัก ว่าทา ทาด้วยความว่าง ด้วยเหตุน้ีพระพุทธเจ้าจึงต้องบัญญัตวิ นิ ัยไว้ขอ้ หนึ่ ง ว่ า ห้า มภิก ษุ เ ดิน บิณฑบาตผ่านหน้ าบ้า นผู้เหนือ บุ ญ นอกจากจะ ได้รบั นิมนต์ให้มารับบาตร เพราะผูเ้ หนือบุญในสมัยนัน้ บางท่านยากจน แต่พอพระบิณฑบาตผ่านหน้าบ้าน ท่านถือว่าท่านมีหน้าที่ต้องใส่บาตร บางท่านมีขา้ วแค่จานเดียวกับข้าวแค่ถ้วยเดียวท่านก็ยอมอดข้าวมือ้ นัน้ เพื่อนามาใส่บาตร พระพุทธเจ้าตระหนักถึงความเดือดร้อนจึงบัญญัตเิ ป็ น วินยั ห้ามภิกษุบณ ิ ฑบาตผ่านหน้าบ้านอริยบุคคลทีไ่ ม่ได้นิมนต์ไว้ วินยั ข้อ นี้ยงั มีอยู่จนถึงปั จจุบนั นี้ ใครที่ยงั ไม่ใช่ผู้เหนือ บุญ แท้จริง จึง ย่ อ มไม่เข้า ใจในความรู้ส ึก จริงๆ อาจอ่านแล้วทาความเข้าใจพอเข้าใจได้ ซึ่งอาจเชื่อเลยหรือไม่เชื่อ หรือเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งแตกต่างกันไป อ่านหรือฟั งธรรมะอนาสวะแล้ว เข้าใจเลย เป็ นเรื่องยากต้องมีการลงมือทาควบคู่ไปด้วยจึงจะเกิดความรู้ อ่านไปฝึ กไปจะมีประโยชน์มาก จะเข้าใจง่ายขึ้น ถ้าแค่ใช้คดิ อย่างเดียว อาจไม่เข้าใจจนบางคนมีอคติในคาสอนทีม่ ใี นธรรมะบทนี้ไปเลยก็ม ี ผูอ้ ่าน ๑๒๙


ลมไหวใบไม้สงบ

จึงควรมีใจเปิ ดกว้างอย่าเพิง่ ด่วนสรุปอะไรง่ายๆ หากมีความกังขาสงสัย ใคร่ครวญให้ดๆี ก่อนตัดสินว่าถูกผิดใช่ไม่ใช่ ในธรรมมหาจัตตารีสกะ มีทงั ้ สอนให้รู้อะไรและสอนให้ทาอะไร สอนให้รู้อะไรไม่สาคัญเท่าสอนให้ทาอะไร เพราะรู้อะไรถ้าไม่ทาอะไรจะ ไม่รอู้ ะไรเลย แม้ท่องได้ทงั ้ พระสูตร แต่ถา้ ทาตามลาดับขัน้ ตอนจะค่อยๆรู้ ตามไปตลอดการปฏิบตั ิ ธรรมะพระสูตรนี้ถอื ว่าสาคัญเพราะเป็ นพระสูตร ทีร่ วบรวมสิง่ ทีน่ ักปฏิบตั ผิ หู้ วังมรรคผลนิพพานจะต้องทาตามแนวทางใน พระสูตรนี้ เรียกว่าพระสูตรต่างๆในพระไตรปิ ฎกทุกเล่ม หลอมรวมอยู่ใน พระสูตรนี้พระสูตรเดียวก็ว่าได้ ซึ่งจะขอเรียงลาดับข้อปฏิบตั ทิ ่พี ระพุทธเจ้าตรัสไว้ในพระสูตรนี้ แยกย่อๆทีละข้อดังนี้ ๑ รู้จกั มิจฉาทิ ฐิ ๒ รู้จกั สัมมาทิ ฐิ ๓ ละมิจฉาทิ ฐิ ๔ บรรลุสมั มาทิ ฐิ ๕ ละสัมมาทิ ฐิสาสวะ ๖ บรรลุสมั มาทิ ฐิอนาสวะ(หลุดพ้น) สิ่ง ที่ต้อ งท าและวิธีท าที่ม ีอ ยู่ในพระสูต รนี้ ใช้ป ฏิบัติได้ตงั ้ แต่ ผู้ แรกเริม่ ปฏิบตั ิ จนถึงผูเ้ ข้าสูช้ ่วงสุดท้ายการปฏิบตั ิ ซึ่งจะได้แนะนาวิธฝี ึก ตัง้ แต่ขอ้ ที่ ๑ เป็ นต้นไป “ภิ ก ษุ รู้จกั มิ จฉาทิ ฐิว่ามิ จฉาทิ ฐิ รู้จกั สัม มาทิ ฐิว่าสัม มาทิ ฐิ ความรู้ของเธอนัน้ เป็ นสัมมาทิ ฐิ” (พุทธพจน์) ๑๓๐


สมสุโขภิกขุ

ข้อที่ ๑ รู้จกั มิจฉาทิ ฐิว่าเป็ นมิจฉาทิ ฐิ ข้อที่ ๒ รู้จกั สัมมาทิ ฐิว่าเป็ นสัมมาทิ ฐิ ข้อ สัง เกตตรงจุ ด นี้ คือ ต้อ งมีปั ญ ญาพอที่จ ะแยกแยะได้ว่ า ถ้ า ความเห็น ใดเป็ น สัม มาทิฐิ แล้ว เราเห็น ตรงข้า มความเห็น นัน้ นัน่ คือ มิจฉาทิฐิ หรือมีความรูส้ กึ กลางๆเฉยๆมิได้ระลึกหรือรูส้ กึ ตามสัมมาทิฐิ ก็ ถือว่าเรามีมจิ ฉาทิฐใิ นขณะนัน้ การฝึกขัน้ สูงต้องระวังการวางเฉยไม่ระลึก ตามสัมมาทิฐใิ ห้มากๆเพราะจะมีผลอย่างมากต่อการปฏิบตั ิ และสังเกตดูตรงคาว่า สัมมาทิฐใิ นพระสูตรนี้หมายถึงไม่ใช่แค่รจู้ กั สัมมาทิฐกิ เ็ ป็ นผูม้ สี มั มาทิฐแิ ล้ว จะเป็ นผูม้ สี มั มาทิฐใิ นพระสูตรนี้ได้ต้องรู้ ทัง้ อะไรเป็ นมิจฉาทิฐิ และรูท้ งั ้ อะไรเป็ นสัมมาทิฐิ ต้องรูท้ งั ้ สองอย่างจึงจะ เรียกว่าเป็ นผูม้ สี มั มาทิฐิ ข้อที่ ๓ ละมิจฉาทิ ฐิ เมื่อรูว้ ่าอะไรเป็ นมิจฉาทิฐิ หน้าทีข่ องนักปฏิบตั ทิ ส่ี าคัญคือต้องละ มิจฉาทิฐใิ ห้ได้ให้เป็ น ซึ่งจะเป็ นคาสอนที่ต่างจากพระสูตรอื่นๆ ถ้าไม่ลง มือทาจะไม่เข้าใจและไม่สงั เกตเห็นความแตกต่างต้องลงมือทาจริงๆด้วย จึงจะรู้ค่ารู้ประโยชน์ นัน่ คือรู้มจิ ฉาทิฐิ รู้สมั มาทิฐิ แต่สงิ่ ที่ต้องทาคือละ มิจฉาทิฐิ จงจาข้อปฏิบตั ขิ อ้ นี้ไว้ให้ดๆี หมายถึงจาให้ได้ว่าพระสูตรนี้ให้ละ มิจฉาทิฐกิ ่อนทาอย่างอื่น และถ้าจะแย้มให้ทราบสักนิดหนึ่งก็ได้ว่า พระ สูตรนี้ ทัง้ พระสูตร จะมีแต่การปฏิบตั ทิ ล่ี ะมิจฉาทิฐติ ลอดการปฏิบตั ิ มีสงิ่ ต้องทาอย่างเดียวเลยก็ว่าได้ คือฝึกละมิจฉาทิฐิ จากมิจฉาทิฐพิ น้ื ๆไปจน มิจฉาทิฐอิ นาสวะ ละไปจนกว่าจะบรรลุธรรมจึงค่อยเลิกละ "ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย ก็สมั มาทิฐิเป็ นไฉน ดูกรภิกษุทงั ้ หลาย เรา กล่าวสัมมาทิฐเิ ป็น ๒ อย่าง คือ สัมมาทิฐทิ ยี ่ งั เป็นสาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญ ๑๓๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ให้ผลแก่ขนั ธ์ อย่าง ๑ สัมมาทิฐขิ องพระอริยะ ทีเ่ ป็ นอนาสวะ เป็ นโลกุตระ เป็นองค์มรรค อย่าง ๑" ข้อที่ ๔ บรรลุสมั มาทิ ฐิ ข้อนี้ขอให้นักปฏิบตั ิทาใจยอมรับว่าการปฏิบตั ิแบบสาสวะ กับ การปฏิบตั อิ นาสวะ มันต่างกันสิน้ เชิง แบบสาสวะสัมมาทิฐเิ ป็ นสิง่ ทีต่ ้อง ศึกษาฝึกฝน แต่สมั มาทิ ฐิอนาสวะกลับต่างกันเพราะมันเป็ นเพียงผล รับ ที จ่ ะได้ ร บั เมื อ่ ละมิ จ ฉาทิ ฐิ ส าสวะได้ ใ นแต่ ล ะครัง้ แต่ ล ะอย่ า ง สัมมาทิ ฐิอนาสวะไม่ใช่ สิง่ ที ต่ ้ องฝึ กต้ องหาต้ องทา แต่ เป็ นสิ ง่ ที จ่ ะ ได้ รบั เมือ่ ทาถูก วิ ธี เรียกได้ว่าตลอดระยะทางการปฏิบตั ิของสัมมัตต ธรรม ๑๐ สัมมาทิฐมิ ใี ห้เห็นตลอดสาย แต่ไม่ใช่สงิ่ ทีต่ อ้ งสร้างต้องฝึกหรือ ต้องทาสิง่ ใดๆกับสัมมาทิฐอิ นาสวะ หากแต่ ต้องทําลายมิ จฉาทิ ฐิสาสวะ จึงจะได้มา ฉะนัน้ ขอให้เตรียมตัวเตรียมใจเปิ ดใจให้กว้าง ทุกขัน้ ตอนที่ ต้องทาสามารถพิสู จน์ ความจริงแท้ด้วยตัวกระบวนการฝึ กและผลลัพธ์ ตลอดเวลา เพียงแต่ต้องมีปัญญาอยู่บา้ งและความงมงายความยึดมั ่นถือ มันเบาบาง ่ ย่อมเข้าใจขัน้ ตอนการปฏิบตั ติ ่อไปอย่างไม่ยาก ข้อสังเกต นักปฏิบตั โิ ดยทัวไปต้ ่ องยอมรับความจริงข้อหนึ่งว่าเรา มัก จะพูด ถึง ระลึก ถึง ฝึ ก ดูฝึ ก เพ่ง ฝึ ก ให้ค วามสนใจหรือ ท าไว้ใ นใจกับ "สัมมาทิฐิ" ตลอดมา เราลืม นึกถึงมิจฉาทิฐิ หรือ นึกถึงก็น้อยมาก นี่คอื ความจริงทีส่ ่วนใหญ่เป็ นเช่นนัน้ คราวนี้เรามาเปลีย่ นวิธีคดิ มุมมองใหม่ๆ ดูบา้ ง ถ้าต้องการมรรคผลนิพพาน ก็คอื อย่าไปคิดถึงสัมมาทิฐิ(เพราะมัน จะมาเองได้เอง) แต่จงมีสติเพ่งมองมิจฉาทิฐิอย่าให้มนั เกิด อะไรไม่ใช่ มิจฉาทิฐสิ งิ่ นัน้ ไม่ใช่ศตั รู และก็อย่าไปมัวคิดแต่ความรูเ้ รื่องสัมมาทิฐิ ทีม่ ี ปั ญหาการปฏิบตั ไิ ม่ก้าวหน้านัน้ ล้ว นแต่เพราะแบกสัมมาทิฐติ ลอดเวลา จนสภาวะธรรมใดๆผุดขึน้ มาไม่ได้ ฟั งธรรมะบทใดไม่ได้ อ่านธรรมะบท ๑๓๒


สมสุโขภิกขุ

ใดไม่ได้ สัมมาทิฐิท่แี บกมามันต้องรีบไหลรีบเสนอหน้าออกมาซ้อนทับ สภาวธรรมทุกๆเรื่องที่ปฏิบตั ิ จนจิตพุทธะหล่นแล้วหล่นอีกหมดโอกาส พบจิตพุทธะกับเขาสักที ข้อที่ ๕ ละมิจฉาทิ ฐิ ข้อ ๕ เข้า สู่ก ารปฏิบัติจ ริง ๆจัง ๆเสีย ที นัน่ คือ การลงมือ ฝึ กละ มิจฉาทิฐิอนาสวะหรือสัมมาทิฐิสาสวะ สองตัวนี้คอื สิง่ เดียวกัน จะเรียก อะไรก็ได้ และการปฏิบตั ริ ะดับสูงนี่มสี งิ่ เดียวทีต่ ้องดับ จึงมีสงิ่ เดียวทีต่ อ้ ง ฝึ ก ดับ นั้ นคื ่ อ มิจ ฉาทิฐิอ นาสวะตัว นี้ น่ี แ หละ หรือ ถ้า จะพูด ไปมัน ก็คือ จิตสาสวะ จิตทีถ่ ูกคติทวินิยมครอบงาอยู่นนเอง ั่ จิตทีเ่ ป็ นของคู่ มีวธิ เี ดียว ทีจ่ ดั การได้ นันคื ่ อสัมมัตตธรรม ทีอ่ ธิบายเรื่องจิตหนึ่งจิตสองมาทัง้ หมดนี้ ก็เพือ่ ให้เข้าใจจะได้สามารถฝึกละมิจฉาทิฐอิ นาสวะได้งา่ ยขึน้ แต่ท่นี ่ าแปลกอยู่อย่างคือมิจฉาทิฐอิ นาสวะนี่คอื สัมมาทิฐสิ าสวะ จึงอย่าเพิง่ ไปคิดปรุงแต่งก่อความฉงนสงสัยอะไรมาก ควรค่อยๆฝึ กจน แยกจิตพุทธะออกจากจิตสาสวะได้ แยกจิตเป็ นสองส่วนได้ก่อนค่อยไป อ่านเรื่องสัมมาทิฐสิ าสวะ จะได้ไม่งง บทต่อไปเราจะฝึกแยกจิตพุทธะออก จากจิตสองหรือจิตสาสวะ เพื่อจะได้เข้าใจคาตรัสของพระพุทธเจ้าเรื่อง สัมมาทิฐสิ าสวะ จะได้ไม่คา้ นแย้งพระพุทธเจ้า "ดูกรภิ กษุทงั ้ หลาย สัมมาทิ ฐิทีย่ งั เป็ นสาสวะ เป็ นส่วนแห่ง บุญให้ ผลแก่ขนั ธ์ เป็ นไฉน คือ ความเห็นดังนี้ ว่า ทานที ใ่ ห้ แล้ว มี ผล ยัญที บ่ ูชาแล้ว มีผล สังเวยที บ่ วงสรวงแล้ว มีผล ผลวิ บากของ กรรมที ท่ าดี ทาชัว่ แล้วมีอยู่ โลกนี้ มี โลกหน้ ามี มารดามี บิ ดามี สัต ว์ ที เ่ ป็ นอุ ป ปาติ ก ะมี สมณพราหมณ์ ทัง้ หลาย ผู้ด าเนิ นชอบ ปฏิ บ ตั ิ ช อบ ซึ ง่ ประกาศโลกนี้ โลกหน้ าให้ แจ่มแจ้งเพราะรู้ยิง่ ด้วย ๑๓๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ตนเอง ในโลก มีอยู่ นี้ สัมมาทิ ฐิทีย่ งั เป็ นสาสวะ เป็ นส่วนแห่ งบุญ ให้ผลแก่ขนั ธ์ ฯ" อาตมาขอละไว้ในฐานที่เข้าใจ ว่าในพระสูตรนี้กล่าวว่า "มี" สิง่ ต่างๆมากมาย จะไม่พูดถึงว่าพระองค์ตรัสว่ามีอะไรบ้าง แต่จะขอกล่าว อธิบายว่า เมื่อคิดว่ามีรสู้ กึ ว่ามีดาริว่ามีจงใจว่ามีเจตนาว่ามี นัน่ แหละคือ ความเห็นอันเป็ นมิจฉาทิฐอิ นาสวะเกิดแล้ว นี่คอื จุดทีน่ ักปฏิบตั สิ ่วนใหญ่ ไม่คดิ แต่ละวันเราเห็นผิดโดยเจตนา แต่เราไม่ได้ฉุกใจคิด เราจะคอยคิด แต่สมั มาทิฐดิ ว้ ยรูส้ กึ ว่าจาเป็ น และคิดว่าเราจะหลุดพ้นด้วยสัมมาทิฐิ แต่ ไม่ผดิ ถ้าจะบอกว่าเราต้องหลุดพ้นด้วยสัมมาทิฐิ แต่สมั มาทิฐชิ นิดทีจ่ ะทา ให้ห ลุ ด พ้น มัน ต้ อ งปรากฏขึ้น ให้เ ห็น เต็ม ตาจากการชะล้า งมิจ ฉาทิฐิ อนาสวะโดยเฉพาะสิง่ ทีป่ รากฏในพระสูตรบทนี้ ความรูส้ กึ ว่ามีในสิง่ ทีพ่ ระ สูตรยกมาหายเกลี้ยงไปหมดนัน่ แหละ สัมมาทิฐิอนาสวะจึงจะสมบูรณ์ สัม มาทิฐิอ นาสวะสมบู ร ณ์ ส ัม มาญาณะอนาสวะก็ส มบู ร ณ์ ต ามไปด้วย สัมมาญาณะอนาสวะสมบูรณ์สมั มาวิมุตติอนาสวะก็สมบูรณ์ ด้วยเหตุน้ี มหาจัตตารีสกะจริงๆแล้ว พระสูตรนี้มเี ป้ าหมายให้ ปฏิบตั ปิ ระการเดียวคือ เลิ กคิ ดว่ามี ตามสมมุตทิ ย่ี กมาให้ได้ อาจมีคนไม่ เชื่อ จึง ไม่กล้าทา เขาย่อ มน่ าถู กต าหนิจากพระพุทธเจ้าแน่ นอน ใครมี ศรัทธา มีปัญญาคิดว่าเป็ นสิง่ ที่ต้องทา และถ้าทาสาเร็จ อินทรีย์ ๕ ของ ผู้นัน้ ย่อมสมบูรณ์ สัมมาทิฐิอนาสวะของคนผู้นัน้ จึงจะสมบูรณ์ได้ นี่คอื เหตุผลว่าต้องทาเช่นนี้ทาไม บทต่อไปค่อยมาว่ากันต่อว่า แล้วต้องทา ยังไง อันเป็ นบทสรุปของการปฏิบตั ิ ซึ่งเป็ นบทปฏิบตั บิ ทสุดท้ายของนัก ปฏิบตั ธิ รรมทุกคน

๑๓๔


สมสุโขภิกขุ

ข้อที่ ๖ บรรลุสมั มาทิ ฐิ "ดูกรภิ กษุทงั ้ หลาย ก็สมั มาทิ ฐิของพระอริ ยะทีเ่ ป็ นอนาสวะ เป็ นโลกุตระ เป็ นองค์มรรค เป็ นไฉน ดู ก รภิ กษุ ทั ง้ หลายปั ญ ญาปั ญ ญิ นทรี ย์ ปั ญ ญาพละธั ม ม วิ จยสัมโพชฌงค์ ความเห็นชอบ องค์แห่งมรรค ของภิ กษุผ้มู ีจิตไกล ข้าศึก มีจิตหาอาสวะมิได้ พรั ่งพร้อมด้วยอริยมรรค เจริญอริยมรรค อยู่น้ ี แล สัมมาทิ ฐิของพระอริ ยะที เ่ ป็ นอนาสวะ เป็ นโลกุตระ เป็ น องค์มรรค ฯ ภิ กษุ นัน้ ย่อมพยายามเพือ่ ละมิ จฉาทิ ฐิ เพือ่ บรรลุสมั มาทิ ฐิ ความพยายามของเธอนัน้ เป็ นสัมมาวายามะ ฯ ภิ กษุนัน้ มีสติ ละมิ จฉาทิ ฐิได้ มีสติ บรรลุสมั มาทิ ฐิอยู่ สติ ของ เธอนัน้ เป็ นสัมมาสติ ฯ ด้วยอาการนี้ ธรรม ๓ ประการนี้ คือ สัมมาทิ ฐิ สัมมาวายามะ สัมมาสติ ย่อมห้อมล้อม เป็ นไปตามสัมมาทิ ฐิของภิ กษุนัน้ " สิ่ง ที่ยกมาอ้างนี้ยงั ไม่ใช่บทปฏิบัติ เป็ น เพียงหัวข้อธรรมแสดง เหตุ ผลว่าทาไมต้อ งปฏิบัติ และจะต้อ งใช้อ ะไรเป็ น อาวุธสาคัญ ในการ ปฏิบตั ิ นันคื ่ อ พระองค์ตรัสว่า ๑ พยายามเพือ่ ละมิจฉาทิฐิ ๒ มีสติ ละมิจฉาทิฐไิ ด้ ๓ มีสติ บรรลุสมั มาทิฐอิ ยู่ นี่คอื อาวุธทีเ่ ราจะต้องใช้เพือ่ บรรลุสมั มาวิมุตติอนาสวะ อย่าคิดว่า เป็ นเรื่องยากเด็ดขาด ไม่ยากอย่างทีค่ ดิ แต่อาจต้องใช้เวลาทัง้ ชีวติ ทาสิง่ เดียวกันซ้าๆซากๆ มีสมั มาวายามะแรงกล้าพอที่จะทาเช่นนัน้ กันหรือ เปล่า ๑๓๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ที่เขียนบรรยายมาทัง้ หมดยังไม่ใช่สิง่ ที ส่ าคัญถึงขนาดต้ อง ท่ องต้ องจา แค่ รู้แล้วบีบ อัดบดคัน้ ควบแน่ น ความรู้ให้ ก ลายเป็ น อุบายชอบถือว่ามีความสาคัญเป็ นทีส่ ุดของทีส่ ุด เขียนเพื่อให้รทู้ ม่ี า ที่ไปว่าทาไมต้องทา ทาเพื่ออะไร ประเด็นสาคัญคือสิง่ ที่จะเขียนต่อไปนี้ ต้ อ งพยายามอ่ า นให้เ ข้า ใจ แล้ว ท าตามทุ ก ขัน้ ตอน จะอธิบ ายพร้อ ม ตัวอย่างให้ใช้ระลึกทีละขัน้ ทีละขัน้ ต้องลงมือทาจริงๆ และทาเป็ นระยะ เวลานานมากๆผลจะค่อยๆปรากฏให้ทราบเอง มิจฉาทิฐติ วั แรกคือความรูส้ กึ ว่ามีคนสัตว์สงิ่ ของ ความรู้สึกว่ามี ว่าเป็ นคือมิจฉาทิฐิทงั ้ นัน้ แต่ถ้าคิดหรือระลึกว่าไม่มกี ็ เป็ นมิจฉาทิฐอิ กี ดังนัน้ ขัน้ ตอนที่ ๑ จงมีสติระลึกว่า "มันเป็ นปฏิกิรยิ าธรรมชาติ" (ถ้า ใครเคยฝึกมาบ้างอาจระลึกแค่"ปฏิกริ ยิ า"สัน้ ๆเท่านัน้ ก็ได้) ขัน้ ตอนที่ ๒ หลังจากระลึกว่ามันเป็ นปฏิกิรยิ า ขอให้สงั เกตว่า ถ้ามีการระลึกถูกต้อง คือระลึกได้ระลึกเป็ น ความรู้สกึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์ จะต้องหายไป กลายเป็ นความรู้สกึ ว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีคนสัตว์สงิ่ ของ ต่อมา จงระลึกเพิม่ จากข้อ ๑ เป็ นมีสติระลึกว่า "มันเป็ นปฏิกริ ิยาในอดีต" การที่เราไม่คดิ ว่ามันเป็ นอดีต นัน่ คือความเห็นผิด นัน่ คือสิง่ ที่ทาให้รสู้ กึ ว่ามี ไม่ว่ามีอะไรมันทรงตัวอยู่เพราะความไม่รวู้ ่ามันเป็ นอดีต ถ้าระลึกถูกต้อง สติจะแยกปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเป็ นสองส่วน ส่วน แรกว่าง ส่วนทีส่ องก็ว่าง แต่ส่วนทีส่ องว่างแบบมีการทาไว้ในใจ ว่างแบบ รูว้ ่ามันเป็ นอะไรแต่กว็ ่าง เป็ นปฏิกริ ยิ าใหม่ เป็ นสภาวธรรมใหม่ ทีเ่ ลิกคิด ว่ามีว่าเป็ นว่ารูว้ ่าได้ในสิง่ นัน้ ๆ คือทาให้สงิ่ ที่เรากาหนดว่ามันเป็ น ปฏิ กิริยาในอดีตนัน้ มันว่าง เลิกคิดว่ามันเป็ นอะไร แต่มนั ไม่ได้หายไปจากความรู้สกึ มันจะดาเนิน ๑๓๖


สมสุโขภิกขุ

กิจกรรมทุกๆกิจกรรมทีก่ าลังทาอยู่ได้ตามปกติ แต่ไม่มคี วามรูส้ กึ ใดๆต่อ กิจกรรมนัน้ ๆ ทดลองระลึกกับกิจกรรมง่ายๆดูก่อน เช่น ตอนทานข้าว ตอนเดิน ระลึกไปพร้อมๆกันว่า ปฏิกริ ยิ าในอดีต หรือตอนนั ง่ อ่านธรรมะ อยู่น่ีกไ็ ด้ ระลึกว่าทุกสิง่ นี่คอื ปฏิกริ ยิ าในอดีต ระลึกแบบเข้มข้น ให้เห็นว่า มันเป็ นอดีตไปแล้วจริงๆ น้อมใจตามความจริง เพราะมันเป็ นความจริง จริงๆ ระลึกตามความจริง มันคืออดีต ระลึกจนตัวเราหาย สิง่ รอบตัวเรา หาย ทุกๆสิง่ หายหมด แล้วมีสภาวธรรมใดๆเกิดขึน้ ต่อมา เห็นแจ้งด้วย ตนเอง มันว่างอย่างไรรูด้ ว้ ยตนเอง จิตพุทธะมันต้องว่าง แต่วสิ งั ขารทีจ่ ติ พุทธะจับมันว่างแบบที่พระพุทธเจ้าเรียกคือ ไม่มีการทาไว้ในใจแต่กม็ ี การทาไว้ในใจ แรกๆอาจปรุงความรู้ ท่บี ีบอัดควบแน่ น มาแล้วเข้า ช่วยว่า สิ่งที่ กาลังเดินกาลังทานมันคือปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในอดีตมันจบไปวินาทีท่ี แล้ว มันไม่มสี งิ่ นัน้ อยู่อกี แล้ว มันไม่ใช่ของใครแล้ว ทีเ่ ดินจึงไม่ใช่ใครเดิน มัน เดินอยู่ในอดีต ขันธ์ในอดีตเดิน ปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ นัน้ ทุกนาที ทุกวินาที ทุกชัวโมง ่ ทุกสถานที่ ทุกๆสัมผัส ล้วนแต่เป็ น ปฏิกริ ยิ าในอดีต ถ้าทาถูกต้อง จะต้องมีปฏิกริ ยิ าแยกเป็ นสองส่วน ส่วนหนึ่งว่าง ส่วนที่สองเป็ นสมมุตบิ ญ ั ญัตแิ ต่เป็ นสมมุตบิ ญ ั ญัตทิ ่วี ่างเหมือนกัน ตรงนี้ ส าคัญ ถ้า ไม่เ กิด เช่ น นี้จ งพยายามท าให้เกิด คือ ต้อ งมีจิต พุ ท ธะ หรือ ความว่างลอยๆอยู่ในธรรมชาติ กับ คาพูดคาสมมุตคิ าเรียกขาน เช่นพ่อ แม่พน่ี ้องคนสัตว์หมูหมากาไก่ แต่แม้จะมีการทาไว้ในใจว่าสิ ง่ นัน้ ชือ่ นั ้น ชื อ่ นี้ แต่ ค วามรู้ สึ ก ว่ า สิ ่ง นั ้น มี รู ป ร่ า งลัก ษณะอย่ า งไร หรื อ ความรู้สึกใดๆที เ่ ป็ นบวกลบต่อสิ ง่ นัน้ ก็ไม่มี มันจะว่างเหมือนกัน เหตุทเ่ี ป็ นเช่นนี้ เพราะเมือ่ ระลึกตามความจริงจะเกิดสัมมาทิฐริ ตู้ ามความ จริง รูต้ ามความจริงเมือ่ ใด มันต้องทิง้ มิจฉาทิฐิ คือความรูส้ กึ ว่า “มี” ทิง้ ไป ๑๓๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ทันที แต่สมมุตจิ ะไม่ถูกทิง้ สมมุตยิ งั อยู่ แต่อยู่อย่างมีจิตพุทธะเป็ นผูเ้ ห็น ตามความจริง คือเห็นสักว่าเห็นไม่ปรุงว่า เห็นอะไร ต้องทาด้วยตนเองจึง จะรู้จกั อาการเหล่านี้ จะรู้จกั ความว่างทัง้ จิตพุ ทธะและสิง่ ที่จิตพุทธะจับ แต่ทางานต่อไปได้เดินต่อไปได้ทานข้าวต่อไปได้ แต่ทาได้แบบว่างๆมีแต่ สัมมาทิฐอิ ย่างเดียว มิจฉาทิฐหิ รือจิตสาสวะต้องไม่มายุ่ง ถ้าจิตสาสวะมา ยุ่งมันจะรู้สกึ ว่า มีคนสัตว์สงิ่ ของกลับมา นัน่ คือจิตสาสวะทางาน ถ้าจิต พุทธะทางานจะเป็ นอีกแบบ ต้องลองทาดูดว้ ยตนเอง คือ ท าให้ความรู้ส ึกว่ า มีหายไปเลยทัง้ ตัวเราทัง้ สมมุ ติ แต่ ก็ยงั ผัสสะสิง่ นัน้ อยู่ แต่ไม่ปรุงว่ามันเป็ นอะไรแต่ร้วู ่ามันเป็ นอะไร ซึง่ จะทา เช่นนี้ได้ ต้องระลึกตามความจริงอย่างจริงๆจัง ๆ ว่าสิง่ ต่างๆในธรรมชาติ นี้ไม่ว่าสิง่ ใด มันเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ หมดทัง้ สิน้ เป็ นสิง่ ที่อธิบายยากสุดๆหวังว่าคงมีคนเข้าใจและมีคนทาได้ ถ้า ใครเข้าใจทาได้จ ริง ๆว่า งจริง ๆเห็น จิต พุท ธะจริง ๆ เห็น สัง ขารที่ไม่ใช่ สังขารจริงๆ คือสังขารทีว่ ่างจากตัวตนคนสัตว์ เห็นว่ามันเป็ นแค่ความว่าง อย่างหนึ่ง ต่ อ ไปก็ฝึ กให้ ว่างแบบนี้อ ย่าหยุด พอหลุดก็ดึง จิต พุทธะมา ว่างไปทางานทาการก็ทาด้วยจิตพุทธะ จิตจะแยกเป็ นสองส่วนเหมือน รถไฟสองรางไปตลอดชีวติ รางหนึ ง่ ว่างรางหนึ ง่ มีปฏิ กิริยาทีไ่ ม่ปรุงก็ ว่างไปอี กแบบหนึ ่ง ว่างแบบไม่ม ีการทาไว้ในใจแต่ก็มกี ารทาไว้ในใจ ความทุกข์ย่อมเกิดยากขึน้ มากแล้วตอนนี้ จึงรอวันสิน้ สุดทุกข์อย่างถาวร เท่านัน้ เอง นี่คอื ความอัศจรรย์ของธรรมมหาจัตตารีสกะรางรถไฟสอง รางทีค่ วรเดิ น ถ้าจิตพุทธะพบความเป็ นพุทธะของสรรพสิง่ สิง่ ต่างๆที่พระผูม้ ี พระภาคตรัสไว้ว่า “มี” ในพระสูตรนี้ จะกลายเป็ นของว่างเปล่า ๑๓๘


สมสุโขภิกขุ

"ทานที ใ่ ห้แล้ว มีผล ยัญที บ่ ูชาแล้ว มีผล สังเวยที บ่ วงสรวง แล้ว มีผล ผลวิ บากของกรรมที ท่ าดี ทาชัวแล้ ่ วมีอยู่ โลกนี้ มี โลก หน้ ามี มารดามี บิ ด ามี สัต ว์ที เ่ ป็ นอุ ป ปาติ ก ะมี สมณพราหมณ์ ทัง้ หลาย ผู้ดาเนิ นชอบ ปฏิ บ ตั ิ ชอบ ซึ ง่ ประกาศโลกนี้ โลกหน้ าให้ แจ่มแจ้ง เพราะรู้ยิง่ ด้วยตนเอง ในโลก มีอยู่" ค าว่ า ว่ า งเปล่ า คือ ว่ า งจากทัง้ ความมีแ ละความไม่ม ี จิต พุ ท ธะ ปรากฏจะต้องมีอาการว่างจากมีและไม่ม ี ตัวจิตพุทธะก็ว่าง มีสมั มาญาณะ เป็ นตัวควบคุมปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอยู่ มีญาณรูต้ ามความจริงอยู่ภายในว่า สิง่ ทีก่ าลังทาปฏิกริ ยิ าทัง้ มวลนี้คอื ปฏิกริ ยิ าในอดีต จึงไม่ใช่ของทีบ่ อกได้ ว่าจริงไม่จริงมีไม่ม ี มันเป็ นสิง่ ทีห่ ายไปแล้ว ไม่มอี ยู่แล้ว ไม่มขี องจริงๆอยู่ แล้ว จิตพุทธะก็จะรู้สกึ ได้แค่ แรงเฉื่อยของทุกๆปฏิกริ ยิ า มันจึงว่างจาก ความรูส้ กึ ว่าสิง่ นัน้ มีตวั มีตนอยู่จริงๆในขณะทีผ่ สั สะ พระพุทธเจ้าจึงตรัส ว่าขันธ์เป็ นเหมือนเงา รู้ตามความจริงคือบรรลุสมั มาทิฐอิ นาสวะ นาความจริงมาระลึก ตามความจริงคือสัมมาสติอนาสวะ ผลทีไ่ ด้คอื ๑.สัมมาสมาธิอนาสวะคือ ตัวช่วยให้จติ พุทธะคงสภาพ ๒.สัมมาญาณะอนาสวะคือตัวเห็นแจ้งความ จริง ๓.สัมมาวิมุตติอนาสวะคือหลุดพ้นจากความเห็นผิด(อวิชชา สัญญา เลว ทิฏฐิเลวดับจึงหลุดพ้นเป็ นอิสระไม่ถูกธาตุเลวสามตัวครอบงา) จะ รูจ้ กั ปฏิกริ ยิ าทัง้ สามข้อนี้ทนั ทีทท่ี าถูกต้อง สัมมาญาณะคือสติทด่ี งึ ปั ญญา (ญาณะ)มาหยุดคิดหยุดปรุง เลิกคิดสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ความจริงทันที แต่กจ็ ะไม่ม ี การปรุงเพราะปั ญญาทีแ่ ท้จริงก็จะไม่ปรุงความจริง เพราะความจริงปรุง ไม่ได้ ความจริ งคือเลิ กปรุงความไม่จริ ง ความไม่จริ งหายไป ว่าง จากความไม่จริ ง นัน่ จึงจะเรียกว่าความจริ งปรากฏ นัน่ จึงจะเรียก ๑๓๙


ลมไหวใบไม้สงบ

สัมมาญาณะ มันจึงต้องว่างเพราะไม่มกี ารปรุงความจริงอีกต่อไปทาแค่ ละมิจฉาทิฐหิ รือละความไม่จริงเท่านัน้ ปั ญ ญาอนาสวะใช้ วิธีคิด วิธี ป รุ ง สร้า งขึ้น ไม่ ไ ด้ ต้ อ งใช้ วิธีด ับ ความเห็นผิดเท่านัน้ คือหยุดปรุงความเห็นผิด แล้วไม่ต้องปรุงความเห็น ถูก จึงจะเรียกว่าปั ญญาอนาสวะการฝึกระลึกว่า ปฏิ กิริยาในอดีตทีย่ กมา เป็ นตัวอย่าง ถ้าทาถูกวิธี จะพบความว่าง คือจะพบปั ญญาอนาสวะ คือ พบความจริงว่าอาการว่างจากตัวตนคนสัตว์ หรือคาสอนที่ว่า โลกเป็ น ของว่างเปล่าเป็ นอย่างไร ปั ญญาอนาสวะจะรู้ความจริงจากการพบของ จริงเท่านัน้ หรือเช่นคาตรัสที่ว่า คิดว่ามีก็วปิ ลาส คิดว่าไม่มกี ็วปิ ลาส นัน่ คือ ต้อ งเลิกคิด เมื่อ คิดว่ามีข้นึ มาถ้าเราไปคิดว่าไม่ม ีแสดงว่าเราปรุง ผิด หลักการสร้างปั ญญาแบบอนาสวะ ต้องใช้วธิ พี อคิดว่ามี เช่นโลกมี เราก็ม ี สติหยุดความคิดว่ามีทนั ที จนความรูส้ กึ ว่ามีโลกมันหายไป ตอนนัน้ ก็จะ เกิดความว่าง ความว่างนัน่ คือมันว่างจากความมีโลก เพราะสติเพิง่ ดึง ปั ญญามาขับไล่ความเห็นผิดว่าโลกมีอยู่จริงออกไป ความเห็นผิดหายนัน่ แหละคือ ความเห็น ถู ก ที่ แ ท้ จ ริง เกิด การปรุ ง ความเห็น ถู ก จึง ไม่ ใ ช่ ความเห็ น ถู ก ความเห็ น ถูก ต้ อ งเกิ ด จากหยุ ด ปรุง ความเห็น ผิ ด เสมอๆ ดังนัน้ การฝึ กระลึกว่ามันเป็ น ปฏิ กิริยาในอดีต ฝึ กต่อเนื่องจน เห็นทุกอย่างเป็ นอดีตไปหมด นัน่ คือจะเห็นทุกอย่างว่างไปหมด นัน่ คือ ความเห็นถูกต้องที่สดุ ที่มนุษย์คนหนึ่ งๆควรได้พบ ถ้าพบจงประคอง ความรูส้ กึ ว่างๆอันนัน้ ไว้ ซึ่งบอกไม่ถูกว่ามันเป็ นเช่นไรต้องฝึกทากันเอา เอง ถ้าเราประคองให้ว่างเช่นนัน้ ตลอดเวลา สิง่ ใดๆที่ผา่ นเข้ามาในตอนที่ สติสมาธิปัญญายังเต็มรอบหรือยังว่างอยู่ ไม่ว่าอะไรก็จะกลายเป็ นว่าง ๑๔๐


สมสุโขภิกขุ

หมด จะคิดถึงลูกถึงภรรยาถึงมิตรถึงศัตรูถงึ สัตว์เลีย้ ง ลองระลึกถึงคิดถึง ดู มันจะต้องไม่ปรุงสิง่ ใดๆเพิม่ เติม มันจะแค่รเู้ ฉยๆ แต่กม็ ใิ ช่ไม่รบั รูอ้ ะไร เลย มัน มีการทาไว้ในใจอยู่ไม่ใช่คดิ มันต่า งจากคิด ตรงนี้พระพุทธเจ้า เรียกไม่ทาไว้ในใจแต่กม็ กี ารทาไว้ในใจ ใครทีไ่ ม่เข้าใจก็จะบอกว่าทุกคน ต้อ งคิด ซึ่ง เป็ นความเห็นผิด มีค นบางคนไม่ต้องคิด แต่ เขาจะทาสิง่ ที่ เรียกว่า “ไม่ทาํ ไว้ในใจแต่กม็ ีการทําไว้ในใจ” อาการแบบนี้ต่างจากคิด และไม่ใช่คดิ คนที่ฝึกระลึกว่า “ปฏิ กิริยาในอดีต” ตามคาแนะนาทีผ่ ่าน มาจะพบความไม่ตอ้ งคิดแต่กเ็ หมือนจะมีความคิดอยู่อย่างบอกไม่ถกู แบบ นี้ อาการนี้ท่านจะพบได้หากระลึกอุบายในอดีตได้ถูกวิธี ทดลองทาดู รู้ ด้วยตนเองดีกว่าอ่านที่เขียนอธิบาย เพราะมันอธิบายยาก ทาเองน่ าจะ เข้าใจง่ายกว่ากันเยอะ ถ้าเปรียบการปฏิ บตั ิ เหมือนรถไฟรางคู่ รางข้างหนึ ง่ คือจิ ตพุทธะว่างๆ รางข้างหนึ ง่ มันมีแต่ปฏิ กิริยาต่างๆของเรือ่ งที ต่ อนนี้ ถือว่า เป็ นอดีตไปแล้ว แต่มนั ก็เป็ นปฏิ กิริยาว่างๆ มันว่างทัง้ คู่ ไม่มกี ารปรุงทัง้ คู่ แต่ก็มปี ั ญญารับรูว้ ่ากาลังทาอะไร แต่ไม่ปรุงเป็ นบวกลบตัวกูของกู มีแต่ว่างทัง้ นอกทัง้ ใน มีแต่อาการรู้ ใน อาการของปฏิกริ ยิ าต่างๆทีเ่ ป็ นอดีตไปแล้ว มีแต่ การรูก้ ว็ ่าง อดีต(สิง่ ทีร่ )ู้ ก็ว่าง แต่กแ็ จ่มใสไม่ทุกข์ไม่เบลอ รูก้ จิ ทุกอย่างทีก่ าลังทาด้วยปั ญญา แต่ ควบคุมไม่ปรุงสังขารทีเ่ ป็ นมิจฉาทิฐดิ ว้ ยสัมมาสติและสัมมาสมาธิ ต้องทาให้เกิดจริงๆอย่าแค่คานึงคานวณ ระลึกสัน้ ๆว่า ทุกๆสิง่ ที่ กาลังเกิดกับเราคือ"ปฏิ กิริยาในอดีต"ทัง้ นัน้ ระลึกแค่น้ีแต่ให้หนักแน่น จริงๆจังๆ ย่อมพบความว่างอย่างแท้จริงได้อย่างแน่นอน ๑๔๑


ลมไหวใบไม้สงบ

มิ จฉาทิ ฐิสาสวะ ต้อ งมีความเห็น ผิดเกิดขึ้น จึง จะเรียกว่าเกิด มิจฉาทิฐสิ าสวะแล้ว แต่ มิ จฉาทิ ฐิอนาสวะ ต่างกัน เพราะถ้ามีตวั ตนไม่ว่างจากตัวตนก็ ถือว่ามีมจิ ฉาทิฐอิ นาสวะแล้ว ความรูส้ กึ ว่ามี ไม่ว่ามีอะไร หรือความรูส้ กึ ว่าไม่ม ี ไม่ว่าไม่มอี ะไร ล้วนแต่ก่อความรู้สกึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์ให้กบั สิง่ นัน้ แล้ว มีตวั ตนคนสัตว์ ของสิง่ ทีถ่ ูกสัมผัสย่อมมีตวั ตนคนสัตว์ของผูท้ ส่ี มั ผัสด้วยเช่นกัน ด้วยเหตุ นี้การคิดว่ามีทุกชนิดตามทีพ่ ระพุทธเจ้ายกมาเป็ นตัวอย่าง(ในมหาจัตตารี สกสูตร) เป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งเลิกคิดว่ามีแต่กไ็ ม่ใช่คดิ ว่าไม่ม ี ต้องเลิกคิดทัง้ คู่ วิธี เลิกคิดไม่จาเป็ นต้องไปฝึกเลิกคิดตรงๆ แต่ต้องฝึก ระลึกว่า “ปฏิกริ ยิ าใน อดีตทัง้ นัน้ ” ฝึ กไปเรื่อยๆเดีย๋ วความรู้สกึ ว่ามีและไม่มใี นโลกมันหายไป เอง ความเห็นถูก สัมมาทิฐิ อุบายชอบ เป็ นเพียงแค่ไม้ขดี ไฟ จุดไฟ ติดแล้วต้องทิง้ ไม่ทง้ิ มือจะโดนไฟลวก การระลึกว่า ปฏิ กิริยาในอดีต ทดลองระลึกตอนเดินก่อนก็ได้ ง่ายดี สติจบั ทีก่ ารเดินแล้วระลึกว่ามันเป็ นอดีตไปแล้ว ระลึกสัน้ ๆแค่ครัง้ หรือสองครัง้ แต่ให้สติมนี ้ าหนัก จริงจังหนักแน่ น ระลึกจนเกิดปฏิกริ ยิ า ทางกาย เช่นเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสงบระงับ ต้องมีสงิ่ เปลีย่ นแปลงทางกายก่อน แล้วใจจะว่างตามมา แล้วความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนเดินหรือมีตวั เราเดินก็จะ หายตามไป ทดลองทากับเรื่องราวอื่นๆก็จะเป็ นลักษณะนี้ คือต้องทิ้งอุบาย สติจะว่างจากอุบาย เมื่อ ทิ้งอุบายอย่างอื่น ๆก็จะถูกทิ้ง ตามไปด้วย ทิ้ง หมดก็จะเหลือจิต พุทธะคือความว่างๆอยู่ซกี หนึ่งของสมอง อีกซีกเป็ น ปฏิกิริย าต่ า งๆ ที่ท าปฏิกิริย ากัน ตามเรื่อ งตามราวของมัน แต่ จ ะมี ๑๔๒


สมสุโขภิกขุ

ความรู้สกึ ว่าสิง่ ที่กาลังทาปฏิกิรยิ าต่างๆอยู่นัน้ มันก็ว่าง จิตพุทธะก็ว่าง ปฏิกิรยิ าอดีตก็ว่าง ต่างคนต่างว่าง แบบนี้จึงถู กต้อง ทัง้ นี้ท่จี ะว่างได้ก็ เพราะ เมือ่ ใช้อุบายจุดชนวนแล้วต้องรีบทิง้ อุบายอย่าโอ้เอ้ชกั ช้าเด็ดขาด ภวทิ ฏฐิ เป็ นไฉน ความเห็นว่าอัตตาและโลกจักมีดงั นี้ ทิฏฐิความเห็นผิดความยึดถือโดยวิ ปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านี้น้เี รียกว่า ภวทิ ฏฐิ วิ ภวทิ ฏฐิ เป็ นไฉน ความเห็นว่าอัตตาและโลกจักไม่มีดงั นี้ ทิฏฐิความเห็นผิดความยึดถือโดยวิ ปลาส มีลกั ษณะเช่นว่านี้น้เี รียกว่า วิ ภวทิ ฏฐิ นี่คอื คาตรัสของพระพุทธเจ้าเพื่อยืนยันว่าผูม้ ปี ั ญญาย่อมทาลาย ความรู้สกึ ว่ามีและไม่มใี นโลกออกเสียได้ คาว่ามีปัญญาในทางอนาสวะ หมายถึงสามารถรู้ตามความจริง แล้วระลึกตามความจริงได้นัน่ เอง การ ระลึก ตามความจริง ถ้ า ถู ก วิธี ความรู้ ส ึก ว่ า มีแ ละไม่ ม ีม ัน จึง หายไป กลายเป็ นว่างจากทัง้ “มีและไม่มี” ดังนัน้ การฝึกระลึกว่า “ปฏิ กิริยาใน อดีต” นี่คอื รูค้ วามจริงถึงต้นตอ นี่คอื สัมมาทิฐอิ นาสวะ เป็ นความจริงเดิม แท้ ไม่ใช่ความจริงจากจิตสาสวะ เมื่อฝึกระลึกชอบได้ในระดับหนึ่งจึงเกิด สัมมาญาณะอนาสวะคือเกิดความเห็นแจ้งในความจริงเข้า สักวันจนได้ สัม มาญาณะอนาสวะเกิดเมื่อ ใดความรู้ส ึกว่ามีและไม่ม ี มัน จะหายไป เหลือแต่ความว่างจากมีและไม่ม ี ความว่างแบบนี้น่ีแหละคือความหลุดพ้น ชัวคราว(สั ่ มมาวิมุตติอนาสวะ) ทุกคนสามารถพบความหลุดพ้นชัวคราว ่ ได้ทุกคนถ้าพยายามฝึ กฝนตนเองอย่างถูกวิธี นัน่ คือฝึ กเลิกคิดโดยการ ระลึกชอบด้วยอุบายชอบ ๑๔๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ข้อสังเกต คนบางคนระลึกไม่เป็ น ไม่สามารถระลึกชอบได้ ได้แค่ คิด ขอให้สงั เกตความแตกต่างระหว่างระลึกกับคิด คือถ้าคิดมันจะไม่ว่าง ไม่ ส งบ ไม่ เ กิด ปิ ติปั ส สัท ธิส มาธิ อุ เ บกขาหรือ ความว่ า ง คิด จะได้ แ ค่ ความรูส้ กึ ว่ารู้ แต่จะไม่มอี ะไรระงับหายไป คิดจะรูเ้ รื่องนัน้ เรื่องนี้มกี ารคิด มีการปรุงมีการต่อยอดจะไม่พบความสงบความระงับความว่าง แต่ถ้า ระลึก มันจะหายไปหมดทัง้ อุบาย ทัง้ ความรู้ ทัง้ ความรู้สึกว่ามีตวั ผูร้ ะลึก ตัวสิง่ ที่ถูกระลึก โลกทัง้ ใบจักรวาลทัง้ จักรวาลจะหายไปกับผลของ การระลึก ที ถ่ กู ต้ อง แต่ ม ิใช่หายไปแบบสมถะ หายไปแบบทางานได้ ตามปกติ แต่ ไ ม่ รู้ ส ึก ว่ า มีส ิ่ง ใดๆในธรรมชาติ ใ ห้ ยึด ให้ ถือ ว่ า มี หรือ ความรูส้ กึ ว่ามีสงิ่ ใดๆหายไปชัวขณะ ่ การระลึก ชอบเป็ น สิ่ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้า ทรงค้น พบ พูด ตรงๆมิได้ ต้องการเทียบเคียงกับใครก็คอื มีสอนเฉพาะในศาสนาพุทธเท่านัน้ ศาสนา ส่วนใหญ่มแี ต่สอนคิด ไม่ม ีลทั ธิใดศาสนาใดรู้จกั และสอนเรื่องการระลึก ชอบ เพราะเหตุท่วี ่าสัมมาสติเท่านัน้ จึงจะทาให้พบความหลุดพ้น ใคร ระลึกไม่เป็ นจึงต้องพยายามสุดความสามารถทีจ่ ะระลึกชอบให้ได้ให้เป็ น อย่าไปคิดมันมากนักไม่นานก็จะระลึกเป็ น ถ้ามัวแต่คดิ ไม่ยอมเลิกคิดก็คง ยากทีจ่ ะระลึกชอบได้ระลึกชอบเป็ น จิตพุทธะคือปฏิกริ ยิ าธรรมชาติอย่างหนึ่ง ทีเ่ กิดขณะทีร่ ตู้ ามความ จริง ไม่มปี ฏิกริ ยิ าอื่นๆที่ไม่ใช่ความจริงมาซ้อนทับปลอมปน การระลึก ตามความจริงด้วยอุบายทีเ่ ป็ นความจริง คือปฏิกริ ยิ าอย่างหนึ่งทีส่ ติสร้าง ขึ้น มาเพื่อ ท าให้ ป ฏิ กิ ริย าปลอมๆที่ อ วิช ชาธาตุ ส ร้ า งขึ้น มาหายไป ธรรมชาติของอวิชชาจะหายไปเมือ่ มีการระลึกตามความจริง ดังนัน้ การมี สัม มาสติร ะลึก ชอบด้ว ยอุบ ายชอบจึง เป็ น วิธีเ ดีย วที่จ ะท าลายอวิชชา อวิชชาแปลว่ายังไม่รู้ พอมีสติระลึกความจริง อาการยังไม่ร้คู วามจริงจึง ๑๔๔


สมสุโขภิกขุ

หายไปกลายเป็ นอาการรู้ความจริ งแล้วเกิดขึ้นมา รู้ความจริงแล้วจิต แปลกปลอมจะหายไป เหลือจิตเดิมแท้ท่คี วามจริงมันควรทาหน้าทีน่ ้ีมา นานแล้ว แต่อวิชชามาแย่งหน้าทีม่ นั ทา เมือ่ อวิชชาจากไม่รมู้ ากลายเป็ นรู้ จิตที่ตอนนี้กลายเป็ นจิต รู้แล้วก็คอื จิตพุทธะนัน่ เองจะทาหน้าที่ตามกฎ ธรรมชาติ ซึ่ง การท าหน้ า ที่จ ะไม่ม ีค วามรู้ส ึก แบบจิต สาสวะหรือ จิต มี อวิช ชา ต่ า งกัน อย่า งไรต้อ งใช้วิธีร ะลึกชอบด้ว ยอุบายชอบขับอวิชชา ออกไปก่อนจึงจะรูจ้ กั จากของจริง ความจริง ทุ ก ชนิ ด ที่จ ะน ามาใช้ร ะลึกต้อ งเป็ น ความจริง แท้ๆที่ ปฏิเ สธไม่ ไ ด้ ไม่ ใ ช่ ค วามจริง ชนิ ด ที่คิด เอาเอง ก่ อ นจะน ามาใช้ ต้ อ ง ตรวจสอบเบื้องต้นด้วยปั ญญาก่อนว่ามันจริงแท้แน่ นอนไม่มเี ป็ นอื่นจริง ไหม เช่น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ สิง่ ต่างๆทีส่ ติจบั เพื่อระลึกมันเป็ นปฏิกริ ยิ า ธรรมชาติ มันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติจริงไหม มันเป็ นอดีตไปแล้วจริงไหม มันเป็ นของไร้สาระจริงไหม มันเป็ นของไม่จริงจริงไหม คนมีปัญญาจะ เข้าใจตามจริง แต่ คนขาดปั ญญาอาจมองไม่เห็นไม่เข้าใจ อาจยอมรับ ไม่ได้ จึงยังคิดว่าเป็ นคนเป็ นกายเป็ นจิตเป็ นชีวติ เป็ นสิง่ นัน้ สิง่ นี้ มองไม่ เห็นความจริง ดังนัน้ ขอให้สงั เกตอยู่อย่างหนึ่งคือ ถ้าสิง่ ใดเป็ นความจริง สิง่ นัน้ จะสามารถใช้กบั สิง่ ปรุงแต่ง ทุกชนิดทัวทั ่ ง้ จักรวาลได้เหมือนๆกัน ไม่ม ี ข้อยกเว้น เช่นการระลึกว่าปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ จะเป็ นคนเป็ นหินเป็ นกาย เป็ นจิตเป็ นรูปเป็ นนามเป็ นหมูหมากาไก่ใช้คาว่าปฏิกริ ยิ าธรรมชาติระลึก แทนได้ทุกคา ถ้าทาได้แบบนี้ได้แสดงว่าคาทีม่ าใช้เป็ นความจริงทีถ่ ูกต้อง แต่ ถ้ า เอามาใช้ แ ล้ ว ใช้ ไ ด้ ไ ม่ ทุ ก ค า แสดงว่ า ค าๆนั ้น จิ ต สาสวะหรือ จิตคติทวินิยมสร้างขึน้ มาใหม่ซ้อนทับความจริงอยู่ ไม่ว่าจะคิดอะไรระลึก ๑๔๕


ลมไหวใบไม้สงบ

อะไร ถ้าไม่สามารถเป็ นหนึ่งได้ สิง่ นัน่ ย่อมไม่ใช่พุทธะ พุทธะต้องเป็ น หนึ่งไม่มสี อง ดัง นั น้ ค าว่ า “ปฏิ กิ ริ ย า” มีค วามเป็ น หนึ่ ง จึง ใช้กับ อะไรก็ไ ด้ เช่นเดียวกับ คําว่าอดีต คําว่าไร้สาระ คําว่าว่าง คําว่าของปลอม คํา ว่าของไม่จริง ฯลฯ ก็สามารถใช้แทนทีก่ บั ทุกสิง่ ในโลกได้ทงั ้ นัน้ ใช้คาว่า ทุกสิง่ คืออดีตได้เสมอกัน นันคื ่ ออดีตเป็ นพุทธะอย่างหนึ่ง เห็นว่าทุกสิง่ คือ อดีตจึงหมายถึงเห็นพุทธะของสรรพสิง่ ใครมองไม่เห็นว่าเป็ นอดีตมองไม่ ออกไม่เข้าใจนัน่ คือผูย้ งั ไม่เห็นพุทธะ แต่ถ้าใครเข้าใจแล้วว่าใช่ สิง่ ทีเ่ ห็น ความจริงมันเป็ นอดีตจริงๆ อะไรๆมันเป็ นอดีตไปหมดจริงๆ เห็นแจ้ง แบบนัน้ นันคื ่ อเห็นพุทธะแล้ว เห็นพุทธะเมือ่ ใด ต้องระลึกตามพุทธะทีเ่ ห็น เพื่อกาจัดจิตสาสวะให้เกลี้ยงไป อุบายชอบมีมากมาย ได้แนะนาวิธเี ห็น ความจริงเห็นความเป็ นหนึ่ง อุปมาเหมือนดอกบัวดอกเดียวของธรรมชาติ ไว้แล้ว ต้องนามาฝึกใช้ดู ทุกคนจะหลุดพ้นจากทุกข์ได้เพราะระลึกชอบ ด้วยอุบายชอบจนจิตกลายเป็ นจิตพุทธะตลอดกาล ฝึกพบความเย็นของ จิตพุทธะ ด้วยอุ บายง่ายๆที่ยกมาให้ฝึกก่อน ด้วยความขยัน หมั ่นเพียร ฝึกฝนอย่างจริงจังไม่ทอ้ ถอยความหลุดพ้นแห่งใจย่อมมีแด่ทุกๆคน เมื่ อ ระลึ ก ตามความจริ ง จนเกิ ด ปิ ติ ปั สสั ท ธิ ส มาธิ อุ เ บกขา ธรรมชาติจะแยกเป็ นสองส่วน ส่วนหนึ่งว่างมีสมาธิกบั ปั ญญาทาหน้าที่ คอยคุมปฏิกริ ยิ าที่จะเกิดขึน้ ต่อไปในขณะที่ยงั ว่างอยู่ ให้ว่างจากตัวตน ตามไปด้วย ใช้อุบายใดระลึก ปฏิกริ ยิ าที่เกิดตามมาก็จะถูกครอบงาด้วย อุบายนัน้ ๆด้วย จึงทาให้เห็นความเป็ นพุทธะหรือเห็นความเสมอกันของ ทุกสรรพสิง่ เช่นว่างเหมือนกัน ไร้สาระเหมือนกัน ของไม่จริงเหมือนกัน ไม่ ม ีเ จ้า ของเหมือ นกัน เป็ น ปฏิ กิริย าธรรมชาติเ หมือ นกัน เป็ น อดีต เหมือ นกัน เป็ น กระแสธรรมชาติเ หมือ นกัน เป็ น ธาตุ เ หมือ นกัน เป็ น ๑๔๖


สมสุโขภิกขุ

สังขารเหมือนกัน ไม่ใช่ตวั กูของกูเหมือนกัน นี่คอื สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ เมือ่ ระลึก ชอบได้ถูกต้องจนเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขา ความรูส้ กึ เสมอกันเช่นนี้ ย่ อ มเกิด ขึ้น มาได้ เ อง ความรู้ ส ึก เหล่ า นี้ เ กิด ก็ จ ะว่ า งอยู่ ต ลอดเวลา ความรู้สกึ เหล่านี้ดบั เมื่อใด ความว่างก็จะดับตาม ก็ต้องมาสร้างสติชอบ ระลึกชอบจนเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขากันใหม่ มีส ัม มาสติร ะลึก ชอบด้ว ยอุ บ ายชอบจนเกิด ปิ ติปั ส สัท ธิส มาธิ อุเบกขาแล้วจบลงตรงทีส่ งบระงับว่างเย็นเป็ นจิตพุทธะ ตรงนี้เราสามารถ ฝึ กต่อยอดเป็ นดับสังขารที่จะเกิดใหม่ จะมาจากผัสสะที่มากระทบหรือ สัญ ญาเวทนาปรุงขึ้นมาใหม่ก็ตาม ให้ล องฝึ กระลึกรู้เฉยๆให้มนั จบแค่ สมมุติ แล้วไม่มกี ารปรุงต่อ อะไรมากระทบก็รเู้ ฉยๆว่าสิง่ นัน้ คือหมูหมากา ไก่ชายหญิงชื่อนัน้ ชื่อนี้ แล้วหยุดไม่ปรุงต่อ เรียกว่าจิตพุทธะสิง่ ทีไ่ ปจับไป รูก้ ว็ ่าง สมมุตทิ ถ่ี ูกจับถูกรู้ ก็ปรุงแค่ช่อื แล้วก็ว่างไม่ปรุงต่อเพิม่ เติม มันจึง กลายเป็ น มี ชื อ่ ว่ า งๆให้ ถ ูก รู้ ต้อ งท าให้รู้ส ึก ว่ า ว่ า งทัง้ คู่ใ ห้ไ ด้ นัน่ คือ ความหมายของการฝึกในขัน้ ตอนนี้ สัมมาญาณะอนาสวะทีเ่ กิดสืบต่อจาก อุเบกขาสามารถฝึ กทาเช่นนี้ได้ เราก็จะเริม่ ทาการงานชนิดทาโดยไม่ม ี ผูท้ าได้ เพราะการหยุดไม่ปรุงตัวตนหรือรูปลักษณ์ของสิง่ ใดๆย่อมทาให้ ว่างจากตัวตนของนักปฏิบัตเิ องด้วยและตัวตนของสิง่ อื่นๆด้วย ทดลอง ฝึ กดูได้ พอมีตวั ตนของหมูหมากาไก่ในความรู้สกึ ขึ้นมา ตัวกูของกูก็ม ี ตาม จิตพุทธะก็หายไปทันที แต่ถ้าระลึกแค่ช่อื แค่สมมุติ แต่ไม่ปรุงรูปร่าง ตัวตนสิง่ นัน้ เราก็ยงั รับทราบว่าเรากาลังเกี่ยวข้องกับสิง่ ใดอยู่ แต่การ เกีย่ วข้องมันอยู่ในสภาวะสักว่าตลอดเวลา สักว่าจะหายไปก็เมือ่ สติสมาธิ และปั ญญาหลุดจากความว่างนัน่ แหละ ก็ต้องมาทาให้ว่างด้วยสติชอบ อนาสวะกันใหม่อกี ครัง้ ธรรมชาติจริงๆในภายภาคหน้า ชีวติ เราจะต้องอยู่ กับการปรุงสักว่าปรุงไม่ต่อยอดไปปรุงต่อ ใช้แค่คาสมมุติ คาสมมุตจิ ะมี ๑๔๗


ลมไหวใบไม้สงบ

แต่ความรูส้ กึ ว่าหมายถึงอะไร แต่รูปร่างรูปลักษณ์มนั ว่างไม่มกี ารไหลไป คิดไปปรุง ต่ อ ว่า สมมุ ติช่อื นัน้ ชื่อ นี้ ประเภทนัน้ ประเภทนี้ มีเบื้อ งหน้า เบื้องหลังเบื้องลึกเบื้องตื้นอะไรกับเรากับใครหรือกับสิง่ ใดๆบ้าง จะไม่ม ี อาการแบบนัน้ ใครที่พอระลึกหรือพูดคาสมมุตคิ าใดแล้วไม่หยุดแค่รู้ มี การไหลไปปรุงต่อถึงเรื่องอื่นๆต้องฝึ กหยุดไหลไปปรุงต่อให้ได้ให้เป็ น เพราะการไหลไปปรุงต่อนันแหละคื ่ อการไหลของอาสวะ(คาว่ามีอาสวะคือ มีการไหลไปปรุงต่อได้) อันเป็ นตัวทาให้เกิดทุกข์ในอนาคต ฝึกจัดการเสีย แต่ตอนนี้ภายหน้าพบเจอจะได้สามารถจัดการได้ทนั ท่วงที ขอย้าเตือนว่าปฏิบตั ธิ รรมตามหลักพุทธศาสนาคือต้องรูค้ วามจริง ระลึกตามความจริง สิง่ ใดความจริงเป็ นเช่นไรต้องรูแ้ ละระลึกตามนัน้ สิง่ ใดเป็ นของปลอมของไม่จริงก็รตู้ ามความจริงว่าเป็ นของปลอมของไม่จริง เวลาระลึกก็ระลึกตามจริงว่าของปลอมของไม่จริง ดังนัน้ ธรรมชาติน้ีจงึ มี ให้ระลึกอยู่สองอย่างเท่านัน้ คือของจริ งระลึกตามทีม่ นั เป็ นจริงๆแต่แยก ระลึกตามแต่ละอาการหรือลักษณะ เช่น ปฏิกริ ยิ า อดีต ดับไปแล้ว หายไป แล้ว ไม่มอี ยู่จริงแล้ว ไร้สาระ ไร้แก่นสาร ส่วนของปลอมก็ระลึกเหมา รวมหมดว่าของปลอมของไม่จริง ทัง้ นัน้ ไม่ต้องแยกระลึกเป็ นอย่างๆ ของ ปลอมมีเป็ นล้านๆคาสมมุตริ ะลึกอย่างเดียวกันหมด เวลาระลึกต้องระลึก จนมันว่าง ระลึกจนสมมุตมิ นั หายไป สมมุตหิ ายมันจะต้องมีปิตปิ ั สสัทธิ สมาธิอุเบกขาแล้วก็ว่างเย็นเสมอๆ เพื่อเป็ นเครื่องมือวัดผลการปฏิบตั วิ ่า ระลึกถึงจุดทีถ่ ูกต้องแล้ว

๑๔๘


สมสุโขภิกขุ

วิธีสังเกตธรรมอันใดเนิ่นช้า ธรรมอันใดไม่เนิ่นช้า ธรรมอันไม่เนิ่ นช้า คือธรรมะทีม่ ปี ฏิบตั แิ ค่สองแบบ คือ ๑.ปฏิ บตั ิ เพือ่ ละมิจฉาทิ ฐิตรงๆ ๒.ปฏิ บัติ เ พื อ่ เห็น ทุ ก สรรพสิ ่ง เป็ นธรรมอัน เดี ย วกัน หรื อ เสมอกันตรงๆ ธรรมอันไม่เนิ่นช้ามีฝึกปฏิบตั แิ ค่สองเรื่องนี้เท่านัน้ ไม่จาเป็ นต้อง ไปฝึกหรือไปสนใจฝึกธรรมอันอื่นก็ได้ ฝึกแค่สองหัวข้อนี้ครอบคลุมธรรม อันไม่เนิ่นช้าทัง้ หมด ธรรมอัน เนิ่ นช้ า มีห ลายรู ป แบบน ามาจาระไนเก้ า ปี สิบ ปี ก็ ยกตัวอย่างได้ไม่หมด ถ้าจะสรุปง่ายๆก็คอื ธรรมอันใดทีล่ งมือปฏิบตั แิ ล้ว มิไ ด้ เ ป็ น ไปเพื่อ เห็น ทุ ก สรรพสิ่ง เสมอกัน เห็น มีค่ า มากน้ อ ยกว่ า กัน เปรียบเทียบกัน ถูกผิดดีกว่าเลวกว่า ช้ากว่าเร็วกว่า มีคุณมากกว่าน้อย กว่า ลึกกว่าตื้นกว่า ละเอียดกว่าหยาบกว่า ง่ายกว่า ยากกว่า ฯลฯ ธรรม อันนัน้ ย่อมเป็ นธรรมเนิ่นช้า หรือธรรมอันใดที่ลงมือฝึ กปฏิบตั ิแล้วมิได้ เกีย่ วข้องใดๆกับการละมิจฉาทิฐเิ ลย แต่เป็ นการปฏิบตั เิ พือ่ รูเ้ พื่อมีเพือ่ ได้ เพื่อเป็ นเพื่อเห็น เพื่ออะไรก็ตามที่มใิ ช่เพื่อละมิจฉาทิฐิ ธรรมอันนัน้ ย่อม เป็ นธรรมเนิ่นช้า “ภิ ก ษุ ใ ดประกอบด้ ว ยธรรมเครื่ อ งเนิ่ นช้ า ยิ น ดี ใ นธรรม เครื่องเนิ่ นช้า ภิ กษุนัน้ ย่อมพลาดนิ พพาน” (สารีปุตตเถรคาถา) สัมมัตตธรรมอนาสวะในมหาจัตตารีสกสูตร คือข้อธรรมอันไม่ เนิ่นช้า เพราะประการแรก พระองค์ตรัสให้ ละมิ จฉาทิ ฐิ ประการทีส่ อง ตรัสให้ บรรลุสมั มาทิ ฐิอนาสวะ สัม มาทิฐิอนาสวะคือเห็นทุกๆอย่าง เสมอกัน คือการว่างจากความรูส้ กึ ว่ามีและไม่ม ี ใครฝึ กแบบนี้คอื การฝึก ๑๔๙


ลมไหวใบไม้สงบ

เห็นทุกสรรพสิง่ เสมอกัน วิธีจะเห็นเสมอกันคือต้องละความรู้สกึ ที่เป็ น มิจฉาทิฐิ ความรู้สกึ ว่ามี ไม่ว่ามีอะไร ในพระสูตรนี้ ให้ฝึกละทันที ละก็จะ ว่าง แต่พระองค์กต็ รัสว่า มิใช่ไปรูส้ กึ ว่าไม่ม ี รู้สึกว่าไม่มีกว็ ิ ปลาสรู้สึกว่า มีก็วิป ลาส จึง ต้อ งละมิจฉาทิฐิคู่น้ีให้ได้ ใครมีสติ ละมิ จฉาทิ ฐิคู่น้ ี ได้ สาเร็จ ก็จะพบความเท่ าเที ยมกัน ความเสมอกัน หรือความเป็ น พุทธะของทุกสรรพสิ ง่ นัน่ คือพบนิ พพานนัน่ เอง พบบ่อยๆสักวันก็ หลุดพ้น หลุดพ้นได้โดยแค่ เลิ กคิ ดว่ามีเมือ่ คิ ดว่ามี เลิ กคิ ดว่าไม่มีเมือ่ คิ ดว่าไม่มี เลิกคิดสุดโต่งทัง้ สองด้าน โดยการละหรือเลิก หรือหยุดคิด แล้วไม่ต้องไปปรุงธรรมะใดๆบทใดๆหรือไปปรุงความสงสัยความกังขา ความใจร้อนใจเร็วความอยากได้อยากรู้อยากเห็นอยากเป็ นสิง่ ใดๆหรือ อะไรขึน้ มา การปฏิบตั จิ ะไม่เนิ่นช้าอยู่ทต่ี รงนี้ เพราะเกือบจะไม่มกี ารปรุง ธรรมะบทใดๆเลย แค่มสี ติกบั ปั ญญารูว้ ่าอะไรเป็ นมิจฉาทิฐิ พอมีมจิ ฉาทิฐิ ก็ละให้ได้ ละได้ก็ประคองสติสมาธิปัญญาอยู่กบั ความเสมอกันของทุก สรรพสิง่ ซึง่ จะพบทันทีทล่ี ะมิจฉาทิฐไิ ด้ ธรรมเนิ่ นช้า จะเห็นทุกอย่างไม่เสมอกัน จะปฏิบตั ิโดยเห็นทุก อย่างไม่เสมอกัน ธรรมไม่เนิ่ นช้า จะเห็นทุกอย่างเสมอกัน จะปฏิบตั เิ พื่อเห็นทุ ก อย่างเสมอกัน เห็นอย่างไรคือเห็นเสมอกัน เช่นเห็นเป็ นธาตุเสมอกันหมด เห็นเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอ กันหมด เห็นว่าไร้สาระเสมอกันหมด เห็นว่าเป็ นอดีตเสมอกันหมด เห็น เป็ นของไม่จริงเป็ นของปลอมเป็ นมายาเสมอกันหมด ฯลฯ ปฏิบตั แิ บบนี้ ถ้ า มีปิ ติปั ส สัท ธิส มาธิอุ เ บกขา อารมณ์ ส มาธิ อารมณ์ ฌ าน อารมณ์ ๑๕๐


สมสุโขภิกขุ

วิปั ส สนาญาณ ต้อ งระวัง ต้อ งระลึก เมื่อ เวลาเกิดปฏิกิริยาใดๆแปลกๆ ขึน้ มาว่า มันเป็ นสิง่ ไร้สาระเสมอกันหมด เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอกัน หมดเหมือนกัน อย่าไปใส่เหตุผลว่ามันไม่เสมอกันกับสิง่ อื่นๆ ส่วนการปฏิบตั แิ บบเห็นแต่ความไม่เสมอกัน คือปฏิบตั แิ บบมี กายหยาบกายละเอียดมีจติ หยาบจิตละเอียดมีดมี เี ลวมีประณีตมีบวกมีลบ มีล าดับ ชัน้ ขัน้ ตอนเหลื่อ มล้า ต่ า สูง มีอ ะไรต่ อ มิอ ะไรที่ส ร้า งความรู้ส ึก แยกแยะเปรียบเทียบ ความรู้สกึ แบบนี้ดู เหมือนจะดี แต่จริงๆแล้วไม่ดี เสียเวลาต้องฝึกจนกว่าเกิดความเห็นแจ้งขึน้ มาเองจะชาติไหนไม่รู้ ว่า ที่ แท้มนั ไม่มอี ะไรสูงต่าบนล่างเหนือกว่าต่ากว่า มันคือสิง่ เสมอกันทัง้ นัน้ การเห็นความไม่เสมอกันนัน่ คือเหตุแห่งทุกข์ เหตุแห่งการเวียนว่ายตาย เกิด หยุดความแตกต่าง หยุดการใส่เหตุผลว่าเหลื่อมล้าเสีย คือหยุดทุกข์ หยุดวัฏสงสาร ฝึกแบบไม่เสมอกันมันเนิ่นช้าตรงนี้ ตรงทีส่ กั วันจะเลิกให้ สาระกับการเปรียบเทียบเหลื่อมล้าต่ าสูง ขึ้นมาด้วยตนเอง แต่ ฝึกเห็น ความเสมอกันแต่แรกเลย จึงลัดสัน้ ไม่เสียเวลา และแม้ยงั ไม่บรรลุธรรมก็ สามารถใช้วธิ กี ารฝึกแบบนี้มาดับทุกข์จริงๆในระหว่างวันได้ตลอดเวลา แบบเนิ่นช้า คือการปรุงว่ามี แล้วปรุงต่อว่ามันแตกต่างกัน แล้ว ปรุ ง เหตุ ผ ลแยกแยะอีก นานั ป ประการว่ า มีส ิ่ง นัน้ ดีก ว่ า สิ่ง นี้ จะสร้า ง ความรูส้ กึ ว่ามีสงิ่ หนึ่งสิง่ ใดอยู่จริงๆตลอดเวลา และมีสงิ่ ใดเหนือกว่าสิง่ ใด ตลอดเวลา แต่ ต รงข้ามกับการรู้ต ามความจริง จะมีแต่ ส ร้างความว่าง ให้กับ สมมุ ติอ ยู่ต ลอดเวลา สร้า งความรู้ส ึกว่ าไม่ม ีต ัวตนของสิ่ง ต่ างๆ ตลอดเวลา สร้างความรูส้ กึ สักว่าตลอดเวลา จึงสร้างยาดับทุกข์เก็บตุนไว้ ใช้ง านเวลามีทุ ก ข์ และเก็บ ตุ น ไว้เ ป็ น เสบีย งกรัง เพื่อ ส าเร็จ มรรคผล นิพพานตลอดเวลา แต่ แบบเนิ่นช้าดูเหมือนสร้างความรู้ แต่ หารู้ไม่ว่า ความรูจ้ ากสมมุตเิ ป็ นความรูป้ ลอมๆ แต่ ยงั มีอวิชชาอยู่เลยไม่รจู้ กั ความรู้ ๑๕๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ใดจริงแท้ความรู้ใดปลอมปน ข้อคิดง่ายๆสาหรับผูท้ ่ยี งั แยกแยะไม่เป็ นก็ คือ สมมุติทุกคาของปลอมทุกคา ไม่มสี มมุตคิ าใดเป็ นของแท้จริงตาม คาสมมุตอิ ยู่ในธรรมชาติน้เี ลยแม้แต่สงิ่ เดียว เมือ่ สมมุตคิ อื ของปลอม การ นาคาสมมุตมิ าใคร่ครวญ คือการนาของปลอมมาใคร่ครวญของปลอมจึง ย่อมได้แต่ของปลอม ส่วนธรรมไม่เนิ่นช้าใคร่ครวญอย่างเดียวคือมันเป็ น ของปลอมของไม่จริงของไร้สาระ ระลึกจบก็จะว่างสงบระงับ แต่ถ้าไป สร้างความรู้สึกว่าสมมุ ติคือของจริง น าสมมุ ติม าให้เหตุ ผล ก็คือ ดึงคา สมมุตมิ าซ้อนสมมุติ ใคร่ครวญแล้วใคร่ครวญอีกก็จะมีแต่เพิม่ คาสมมุติ เพิม่ ของปลอม เพิม่ ของไร้สาระ เพิม่ ปฏิกริ ยิ าซ้อนทับปฏิกริ ยิ า อันเป็ น การเพิม่ อวิชชา(ธาตุเลว) สัญญาเลว ทิฏฐิเลว มาใช้ในการปฏิบตั ิ การ ปฏิบตั แิ บบเนิ่นช้ามันจึงมีแต่วธิ เี พิม่ ธาตุเลวสามตัวอย่างไม่รจู้ บ ตัวอย่างอุบายฝึ กปฏิ บตั ิ ธรรมอันไม่เนิ่ นช้า เว่ยหลางกล่าวว่า อย่าเผลอปล่อ ยให้ อดีต ปั จจุบัน อนาคตมัน รวมตัวเป็ นเนื้อเดียวกันจนกลายเป็ นห่วงโซ่แห่งกาลเวลา ซึ่งปุถุชนไม่รู้ ตามความจริงข้อนี้ ย่อมไม่รู้ว่าพวกเขามีความรู้สกึ เช่นนัน้ อยู่ ทุกคนมี ความคิดตลอดเวลาไม่ว่าเป็ นอดีตปั จจุบนั แม้อนาคต ว่าเป็ นสิง่ ที่ตนเอง ทาไปแล้วกาลังทาหรือจะทา จึง เป็ น ห่วงโซ่คล้อ งคอติดตามตนเองไป ตลอดกาลเกือบไม่มคี วามรูส้ กึ ว่า กาลเวลาเป็ นของปลอม ธรรมชาติน้ีม ี แต่สงิ่ ทีผ่ า่ นไปแล้วทัง้ นัน้ มีแต่สงิ่ ทีไ่ ม่ใช่ของเราแล้วทัง้ นัน้ และไม่มสี งิ่ ใด ที่มใี ครกาลังทาหรือจะทา ปุถุชนจะคิดเสมอว่าสิง่ ที่เป็ นอดีตก็เป็ นเรื่อง ของตัวเรา สิง่ ทีก่ าลังทาอยู่ในปั จจุบนั ก็เป็ นเรื่องของตัวเรา สิง่ ทีย่ งั ไม่ได้ ทาแต่คดิ จะทาก็เป็ นเรื่องของเรา ทัง้ ๆทีจ่ ริงๆแล้ว แม้กระทังลมหายใจที ่ ่ เราคิดว่าเรากาลังหายใจนัน้ ความจริงแค่เราหายใจเข้ายังไม่ทนั หายใจ ๑๕๒


สมสุโขภิกขุ

ออกมันก็เป็ นอดีตไปแล้ว ตอนหายใจเข้าก็ไม่มใี ครทาหายใจออกก็ไม่ม ี ใครทา วินาทีท่หี ายใจเข้าจบลงมันก็เป็ นอดีตมันหายใจเข้า พอหายใจ ออกอดีตมันหายใจออก หายใจเข้าจบไปแล้ว ปฏิกริ ยิ าในอดีตต่างหากมัน หายใจ หายใจออกก็ปฏิกริ ยิ าในอดีตต่างหากมันหายใจออก มันจึงถือเป็ น ปั จจุบนั ไม่ได้เลย ขัน้ ต้นนี้ลองใช้ปัญญาใคร่ครวญดูว่าจริงหรือไม่ ใครมี ปั ญญาย่อมมองออกว่ามันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ดังนัน้ การยึดโยงสิง่ ที่ผ่านไปแล้วว่าเป็ นปั จจุบนั จึงเป็ นมิจฉาทิฐิ ย่อมทาให้มตี วั มีตนผูเ้ ป็ นเจ้าของห่วงโซ่กาลเวลา เลยเกิดความยึดมั ่นถือ มันอั ่ นนาไปสู่ความทุกข์และการเวียนว่ายตายเกิดไม่รู้จบ วิธฝี ึ กตัดห่วง โซ่กาลเวลาทาได้ไม่ย าก เพียงแค่ฝึ กระลึกว่าอะไรๆล้วนแต่ เป็ น อดีต ระลึกสัน้ ๆเพียงแค่น้ี ทดลองระลึกตอนเดินว่าอดีตมันเดิน ตอนกินก็อดีต มันกิน ทุกๆปฏิกริ ยิ าล้วนแต่ปฏิกริ ยิ าของขันธ์ในอดีตมันกระทา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขาไม่ใช่ใครเป็ นปฏิกิรยิ าในอดีต ที่ไม่มตี วั ตนคนสัตว์เป็ นเจ้าของ ปฏิกิริย าธรรมชาติเ หล่ า นี้ เ ลย ต้อ งฝึ ก ระลึก จนมัน เกิด ความว่ า งจาก ความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์ ให้ตวั ตนคนสัตว์หายไปจากความรูส้ กึ ให้ได้ นัน่ แหละจึงจะเห็นพุทธะ เห็นความว่างอย่างแท้จริง ฝึกแล้วฝึกอีกจนมัน ว่างจริงๆ ว่างจนสัมผัสได้ว่าจิตพุทธะมันว่างแบบนี้ คราวนี้เวลามีทุกข์ ขึน้ มาจะได้มสี ติระลึกแค่ว่ามันเป็ นอดีต ปฏิกริ ยิ าใดๆทีเ่ กิดขึน้ แล้วทาให้ ทุกข์นนั ้ เป็ นเพราะเราคิดว่ามันเป็ นปั จจุบนั ไปดึงอดีตมากักขังตนเองไป หาโซ่มาคล้องคอตนเอง ต้องมองเห็นตามจริงแบบทีเ่ ว่ยหลางกล่าวให้ได้ ว่า อดีต ก็คือ อดีต ไม่ใช่ปั จจุบัน มองเห็น อดีต เป็ น อดีต ได้อ ย่างแท้จ ริง เมื่อใด ทาชานาญมากๆทุกข์ก็จะเกิดไม่ได้อกี เลย ทดลองฝึ กกันดู อาจ ลาบากบ้างตอนเริม่ ฝึ กเพราะมันไม่ยอมรู้สกึ ว่าเป็ นอดีต มันรู้ สกึ ว่าเป็ น ปั จจุบนั อยู่ตลอดเวลา ต้องพากเพียรสักเล็กน้อยในระยะแรก แต่ทาได้สกั ๑๕๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ครัง้ สองครัง้ พบความว่างของจิตพุทธะสักหนสองหนอะไรๆก็จะง่ายขึน้ ข้อสังเกตหากทาถูกต้องจะพบสิง่ ทีเ่ ว่ยหลางกล่าวไว้คอื ไม่ว่าอะไรๆมันจะ ดูว่างไปหมด มันสามารถทาได้ถงึ ขนาดนัน้ ลองฝึกทากันดู แต่หา้ มไปคิด ว่าอดีตมันว่าง ต้องระลึกแค่ว่ามันเป็ นอดีต ไปแล้ว ระลึกจนเกิดความว่าง ขึ้น มาเอง ถ้า ไปคิด ว่ า อดีต มัน ว่ า งหรือ คิด ว่ า อะไรมัน ว่ า งแบบนัน้ มัน ศาสนา "คิด" ไม่ใช่ศาสนา "พุทธะ" ศาสนาพุทธะต้องทาแค่มสี ติระลึกแล้ว ความว่างแท้ๆมันจะต้องเกิดตามมานันแหละจึ ่ งจะเป็ นจิตพุทธะแท้ๆ ความไม่ข้องติ ดของเว่ยหลางคืออะไร คือการไม่ให้สาระนัน่ เอง ทดลองไปฝึ กไร้สาระดู มันจะเกิดอาการไม่ขอ้ งติดขึ้นมาเอง และมันจะ เกิดอาการเห็นความว่างเสมอกันของสรรพสิง่ ไปพร้อมๆกันด้วย ความ ว่างทีเ่ กิดนัน้ นัน่ แหละคือจิตพุทธะของจริง แต่ต้องให้มนั ว่างจริงๆนะ ถ้า ยังว่างแบบเว้าๆแหว่งก็พยายามเข้าเดีย๋ วมันว่างจริงๆเองแหละ ความจริงปรุงไม่ได้ จะเห็นความจริงคือเลิกปรุงความไม่จริง ด้วย สัมมาสติอนาสวะ จนความไม่จริงหายไป ว่างจากความไม่จริง นัน่ จึงจะ เรี ย กว่ า ความจริ ง แท้ ป รากฏ นั น่ จึ ง จะเรีย กสัม มาญาณะอนาสวะ สัมมาญาณะอนาสวะจึงว่าง แต่เป็ นความว่างทีม่ พี ลัง ใช้ประโยชน์ได้ ใช้ ดับทุกข์ได้ ใช้ดบั สังขารได้ ใช้ดบั วัฏสงสารได้ สัมมาญาณะอนาสวะเป็ นศัตรูคู่อาฆาตกับอวิชชาธาตุเลวที่เป็ น พลังด้านมืด อวิชชามีสถานะภาพที่ว่างเหมือนกับญาณะแต่เป็ นปรปั กษ์ กัน มีญาณะก็ไม่มอี วิชชา มีอวิชชาก็ไม่มญ ี าณะ

๑๕๔


สมสุโขภิกขุ

มีค าตรัสของพระพุ ท ธเจ้าที่ต รัส ว่ า "เป็ นพระอรหันต์เพราะรู้ ชอบ" คาว่ารู้ชอบในที่น้ีมใิ ช่หมายถึงสัมมาทิฐิเท่านัน้ แต่รู้ชอบในที่น้ี หมายถึงรูช้ อบในสัมมัตตธรรม๑๐อนาสวะ สัมมัตตธรรม ๑๐ ก็มีสองแบบ คือ แบบสาสวะ รู้ชอบแบบโลกๆ แบบอนาสวะ รู้ชอบแบบพระอริยบุคคล รู้ชอบแบบสัมมัตตธรรม ๑๐ ได้แก่ มรรค ๘ + สัมมาญาณะ + สัมมาวิ มุตติ รวมเป็ นสัมมา ๑๐ องค์ เรียกว่าต้องมี สัมมา ๑๐ อย่าง มากกว่ามรรค ๘ ที่ม ีส มั มาแค่ ๘ สัม มา และสัม มา ๑๐ อย่างนี้ ก็ม ี ๒ แบบ คือแบบ สัมมาสาสวะ ๑๐ สัมมา แบบนี้ยงั ต้องไปเกิด กับแบบสัมมา อนาสวะ ๑๐ สัมมา แบบนี้ไม่ต้องไปเกิด คือเป็ นสัมมา ๑๐ ประการของ พระอรหันต์ ความต่างกันของสัมมาสองแบบต่า งกันตรงที่ สัมมาสาสวะ ยังไม่เห็นความเสมอกันของธรรมทัง้ ปวง สัมมาอนาสวะเกิดทันทีท่เี ห็น ความเสมอกันของธรรมทัง้ ปวง การเห็นความเสมอกันของธรรมทัง้ ปวง คือการเห็นพุทธะ ในธรรมทัง้ ปวง จิ ตพุทธะหรือจิ ตอนาสวะคือปฏิ กิริยาของจิ ตเมือ่ เกีย่ วข้องกับรูปธรรมนามธรรมใดๆก็ตามจะมีแต่ความเสมอกัน การเพ่งพิจารณาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเห็นความเสมอกันของรูป และนาม จนเห็นธรรมชาติทุกรูปแบบมีความเสมอกันเท่าเทียมกัน ไม่ม ี สิง่ ใดต่างกัน จะโดยอุบายใดๆก็ตาม นัน่ แหละคือ การปฏิ บตั ิ ธรรมแบบ ไม่เนิ ่นช้ า เพราะจะไม่เสียเวลามาแบ่ง แยกธรรมแล้วพิจารณาจนเกิด ความรู้ สึก ว่ า เป็ น ปฏิกิริย าเหมือ นกัน ไร้ ส าระเหมือ นกัน เป็ นมายา เหมือนกัน เป็ นขันธ์ในอดีตเหมือนกันภายหลัง อาจเสียเวลามาก กว่าจะ เกิดความรูส้ กึ เช่นนี้ขน้ึ มาด้วยตนเอง ๑๕๕


ลมไหวใบไม้สงบ

แต่ถ้าฝึ กระลึก ว่ามันเสมอกันนับแต่เริม่ ปฏิบตั ิ ย่อมเป็ นการลัด ขัน้ ตอนทีจ่ ะเห็นความเสมอกันด้วยตนเองภายหลัง เช่นผูเ้ พ่งขันธ์หา้ ลอง คิดดูจะเพ่งดูขนั ธ์พจิ ารณาขันธ์ทงั ้ ห้าทีละขันธ์สองขันธ์ เป็ นเวลานานสัก เท่าใดจึงจะเห็นว่าขันธ์ไม่ว่าขันธ์อะไรล้วนแต่ไม่มสี าระไม่มแี ก่นสารเสมอ กัน เป็ น ขัน ธ์ใ นอดีต เสมอกัน เป็ น ของมายาของไม่จ ริง เสมอกัน เป็ น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเสมอกัน เป็ นอนัตตาไม่ใช่สงิ่ ทีม่ ตี วั ตนเป็ นตัวตนเสมอ กัน เป็ นมายาเป็ นของปลอมของไม่จริงเสมอกัน ถ้าไม่มกี ารระลึกอุบาย ชอบเสีย แต่ แ รกๆ ย่ อ มเป็ นการยากจริง ๆที่จ ะเห็น พุ ท ธะความเป็ น ธรรมชาติเสมอกันของขันธ์ทุกๆขันธ์ ส่วนมากจะปฏิบตั ธิ รรมชนิดฝึกเห็น ความไม่เสมอกัน ฝึกสร้างความไม่เสมอกันอยู่ตลอดเวลา การทาเช่นนัน้ นัน่ คือการยิ นดีในธรรมอันเนิ ่นช้า ยินดีกบั สมมุตซิ ่งึ เป็ นมายาคติ หรือ เป็ นคติทวินิยม(นิยมไหลไปสร้างความเป็ นของคู่) ยิง่ ฝึ กจึงยิง่ ห่างไกล ความเป็ นพุทธะ หรือยิง่ ฝึ กยิง่ ห่างไกล สัมมัตตธรรมอนาสวะ ยิง่ ฝึ กยิง่ เห็นดอกบัวหลายดอก มิใช่ฝึกเพื่อเห็นดอกบัวดอกเดียวหรือเห็นบัวทุก ดอกล้วนเป็ นบัวเสมอกัน เห็นทัง้ รูปทัง้ นามล้วนเป็ นปฏิกริ ยิ าเหมือนกัน ไร้สาระเหมือนกัน เป็ นของไม่จริงเหมือนกัน ไม่ใช่ตวั กูของกูเหมือนกัน ไม่ ม ีอ ะไรแตกต่ า งจากอะไร เป็ น เสมือ นธรรมชาติน้ี คือ ดอกบัว ดอก เดียวกัน ไม่มแี ตกไม่มแี ยกเป็ นสองสามสี่ ข้ อ แตกต่ า งระหว่ า งธรรมะเนิ่ นช้ า (สัม มาทิ ฐิ ส าสวะ) กับ ธรรมะไม่เนิ่ นช้า(สัมมาทิ ฐิอนาสวะ) ขอยกโศลกอันเลื่องชื่อมาให้ใคร่ครวญเป็ นตัวอย่าง โศลกธรรมที่กล่าวว่า "ไม่มกี ระจกฝุ่นจะเกาะอะไร" ผู้อ่านย่อม ทราบกันดีอยู่แล้วว่ากระจกในที่น้ีหมายถึง "จิ ต" ไม่มกี ระจกก็คอื ไม่มจี ติ ฝุ่นอันหมายถึงกิเลสตัณหาอุปาทานย่อมไม่มที ่เี กาะ ถือว่าเป็ นสัมมาทิฐิ ๑๕๖


สมสุโขภิกขุ

เป็ นธรรมะระดับโลกุตตรธรรม แต่ยงั เป็ นสัมมาทิฐสิ าสวะอยู่ เพราะเป็ น เพียงธรรมะที่ไม่ได้บ่งบอกวิธีทา คือ ไม่ได้บอกว่า วิธีทาให้ไม่ม ีกระจก จะต้องทาอย่างไร นักปฏิบตั สิ ่วนมากมักไปติดยึดกับธรรมะประเภทนี้ เมื่ออ่านแล้ว รู้สกึ เข้าใจแจ่มแจ้งก็คดิ ว่าตนเองมีธรรมะเข้าใจธรรมะรู้ธรรมะก็นาความ เข้าใจทีย่ งั ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์นนั ้ มาขยายความต่อ มาคิดมาปรุงมาคานึง คานวณมาวิเคราะห์ แม้จะเจาะลึกแค่ไหน สิ่ง ที่ได้ก็ได้เพียงสัม มาทิฐิ สาสวะ เพราะไม่รู้จ ัก ค าว่ าสัม มาทิฐิส าสวะต่ า งจากสัม มาทิฐิอ นาสวะ อย่างไร ไม่รู้ว่าธรรมะเนิ่นช้าต่างจากธรรมะไม่เนิ่นช้าอย่างไรนัน่ เอง จึง ศึกษาธรรมะแค่คาตอบ ในโศลกบทนี้ คาว่าไม่มกี ระจกฝุ่นจะเกาะอะไร เป็ นเพียงคาตอบ ที่ต้องนาไปปฏิบตั จิ งึ จะพบตัวธรรมะแท้ๆ เป็ นเหมือน ผลของการปฏิบตั ไิ ม่ใช่วธิ ปี ฏิบตั ิ ดังนัน้ นักปฏิบตั อิ ย่าไปติดหล่มธรรมะ ประเภทผลของการปฏิบตั ิ แล้วนามาคิดมาคาดคะเนมาสนอกสนใจอย่าง จริงจัง นามาโต้เถียงแสดงภูมคิ วามรู้ นามาแก้ไขดัดแปลงใส่ความคิด ความเห็นอวดโอ่ถงึ ความสามารถว่าตีธรรมะเหล่านี้แตกฉาน นัน่ คือการ ยิน ดีใ นธรรมอัน เนิ่ น ช้า เป็ น สิ่ง ถ่ ว งความก้า วหน้ า ในการปฏิบัติโ ดย รูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ แล้วถ้าเป็ นเช่นนัน้ จะต้องทาอย่างไร จึงจะเรียกว่าเป็ นการปฏิบตั ิ อัน ไม่ เ นิ่ น ช้ า หรือ จะท าอย่ า งไรจึง จะแปลงสัม มาทิฐิส าสวะให้เ ป็ น สัมมาทิฐิอนาสวะ สิง่ แรกคือต้องรู้จกั แยกแยะให้ได้ว่าธรรมะอันใดเป็ น ธรรมะแสดงผลของการปฏิบตั ิ ธรรมะอันใดเป็ นการแสดงวิธปี ฏิบตั ิ อย่า ไปยินดีในธรรมะประเภทบอกแค่ผลไม่บอกวิธปี ฏิบตั เิ พราะไม่มปี ระโยชน์ ใดๆ ต้องรู้จกั ธรรมะที่บอกถึงวิธีปฏิบตั ิเพื่อ ให้ได้ผลอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็ นสัมมาทิฐิเหมือนกัน แต่เป็ นสัมมาทิฐิต่างระดับกัน ตรงจุดนี้ต้องใช้ ๑๕๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ปั ญญาให้มากๆ ต้องฝึ กถามตนเองบ่อยๆเมื่ออ่านธรรมะว่า เขาให้ทา อะไร ธรรมะอนาสวะจะมีคาตอบเสมอว่ า ต้อ งท าอย่ า งนัน้ อย่ า งนี้ แต่ ธรรมะสาสวะจะไม่มคี าตอบ ต้องหาคาตอบเอง หรือหาวิธปี ฏิบตั เิ อง เมือ่ จะต้องหาวิธปี ฏิบตั เิ อง ก็ในเมื่อนักปฏิบตั ยิ งั เป็ นปุถุชน ยังมีจติ ชอบไหล ไปสู่ของคู่อยู่ เรื่องการหาวิธปี ฏิบตั ทิ ่ถี ูกตรงจึง เป็ นไปได้ยาก นักปฏิบตั ิ ต้องอย่าหลงตนเองคิดหาวิธปี ฏิบตั เิ อง เพราะถูกจิตสาสวะหลอกเอาง่าย มาก คิดวิธเี องด้วยจิตสาสวะทาอะไรออกมาผลเป็ นอย่างไรจิตสาสวะมัน บอกถูกหมดใช่หมด แล้วจิตสาสวะมันหลอกต่อว่าได้นนได้ ั ่ น่เี ป็ นนันเป็ ่ นนี่ ถูกแล้วชอบแล้ว ใครไม่ทาแบบนี้ไม่ถูกไม่ใช่ จิตสาสวะมันคิดมันปรุงมัน หลอกนักปฏิบตั ทิ ม่ี วั เมาตนเองอยู่ให้เตลิดเปิ ดเปิ งมานักต่อนักแล้ว ทางที่ ดีทถ่ี ูกทีค่ วร ควรแสวงหาธรรมะทีถ่ ูกตรงและเป็ นธรรมะอนาสวะทีบ่ ่งบอก วิธีท าให้ท ดลองท าตามได้เ ลยไม่ต้อ งคิด เอง เพราะการลงมือ ทาตาม ธรรมะอนาสวะได้ผลเป็ นอย่างไรทุกคนทราบด้วยตนเองว่าเป็ นไปตาม ความต้องการหรือไม่ ธรรมะอนาสวะมีปัญหาอยู่อย่างเดียวไปฝึกทาด้วย วิธคี ดิ ตามไม่ได้ ต้องลงมือระลึกตามเท่านัน้ จึงต้องรูจ้ กั แยกแยะว่าคิดกับ ระลึกต่างกันอย่างไรด้วย ตรงนี้กเ็ ป็ นหัวใจสาคัญ คราวนี้มาดูตวั อย่างโศลกทีย่ กมา โศลกบอกว่า ไม่มกี ระจกฝุ่นจะ เกาะอะไร ไม่ใช่วธิ ที า และไม่ได้บอกวิธที า จึงอย่าไปเสียเวลาคิดวิธีทา ขึน้ มาเอง ศาสนาพุทธมีคาสอนทีเ่ ป็ นวิธที าเยอะแยะ หาความรูท้ ถ่ี ูกตรง อุบายทีถ่ ูกตรงมาทดลองฝึกระลึกดู เพื่อทาให้ไม่มกี ระจกหรือ ไม่มีจิตให้ ได้ ซึง่ ถ้าต้องการจะเลิกคิดว่ามีจติ จริงๆ เพราะตามโศลกบอกแล้วไม่มจี ติ กิเลสก็ไม่มที เ่ี กาะ กิเลสหมดทุกข์กห็ มด ทุกข์หมดก็เป็ นอริยบุคคลชัน้ ใด ชัน้ หนึ่งหรือทาครัง้ เดียวอาจเป็ นอรหันต์ได้เลย สัมมาทิฐิอนาสวะจงใช้ ๑๕๘


สมสุโขภิกขุ

ของพระพุทธเจ้ามาฝึกระลึกเป็ นดีท่สี ุด อย่าไปใช้ของครูบาอาจารย์หรือ คิดขึน้ เองจะเนิ่นช้าจะเสียเวลาและจะโดนจิตสาสวะหลอกเอาง่ายๆ ตัวอย่างนี้มคี าตอบง่ายๆสัน้ ๆ ถ้าต้องการทุบกระจก หรือต้องการ เลิกคิดว่ามีจติ พระพุทธเจ้าตรัสไว้เรียบร้อยแล้วว่า จิตคือขันธ์สข่ี นั ธ์ เป็ น ของว่างเปล่าเป็ นของหลอกลวงเป็ นของชัวคราวเป็ ่ นของไร้สาระ พระองค์ ตรัส ยืน ยัน ไว้เ ลยว่ า สาระไม่ม ีใ นขัน ธ์ท งั ้ หลาย จิต ก็ คือ ขัน ธ์ ทงั ้ หลาย ดังนัน้ จิตจึงไร้สาระเหมือนขันธ์อ่นื ๆ เมื่ออยากจะทุบกระจกอยากเลิกคิด ว่ามีจติ ไม่ต้องการให้ฝ่ ุนกิเลสตัณหาอุปาทานภพชาติมาเกาะจะได้หมด ทุกข์หมดโศกหมดเกิดหมดตายเสียที หรือจะได้บรรลุธรรมแบบโศลกเขา ว่าไว้ ก็แค่ฝึกระลึกว่า “ไร้สาระอย่าไปคิ ดมัน” ระลึกจริงๆจังๆลองดูสวิ า่ กิเ ลสทัง้ หลายแหล่ ไ ม่ม ีท่ีเ กาะจริง ๆไหม ความรู้ส ึก ว่ า มีต ัว กู จิต กู ม ัน หายไปไหม ทุ ก ข์ม ัน หายไปไหม ก็ล องท าดู ซึ่ง ถ้าใครลงมือ ทาลงมือ ปฏิบัติล งมือ ระลึก จริง ๆจัง ๆจะพบด้ว ยตนเองว่ า จิต หายไปได้จ ริง ๆ ความรู้สึกว่ากูมจี ิต จิตของกูหายไปได้จริง ๆ ฝุ่นกิเลสไม่มที ่ีเกาะจริง ๆ ระลึกว่าไร้สาระแล้วทุกข์หายไปจริง ๆตัวตนคนสัตว์หายไปจริงๆ กระจก ไม่มจี ริงๆ ฝุ่นไม่มที ่เี กาะจริงๆ คาสอนที่สอนว่า "ไร้สาระอย่าไปคิดมัน" คาสอนแบบนี้ต่างหากที่เรียกว่าสัมมาทิฐอิ นาสวะ คือสอนให้รู้ว่าต้องทา อะไร แต่คาสอนแบบนี้มนี ้อยพูดถึงกันน้อยเพราะสอนให้ทาจริงๆจัง ๆ ส่วนใหญ่จติ สาสวะจะชอบคิดไม่ชอบทา จึงมักปฏิเสธคาสอนเหล่านี้ ให้ ความสนใจแต่คาสอนสัมมาทิฐสิ าสวะมากกว่า และเมื่อยินดีในสัมมาทิฐิ สาสวะสิ่ง ที่ทุ ก คนจะได้ต ามมาก็คือ เป็ น ผู้ยิน ดีใ นธรรมเนิ่ น ช้า ไปโดย ปริยาย แต่ถ้าใครยินดีในธรรมอันไม่เนิ่นช้า ต้องใส่ใจและสนใจเฉพาะ ธรรมะประเภทสอนให้ทา อ่านจบรูเ้ ลยว่าจะต้องทาอะไร เช่นธรรมะที่สอน ให้ฝึกระลึกว่า “ไร้สาระอย่าไปคิดมัน” อ่านจบรูท้ นั ทีว่าต้องทาอะไร เมื่อรู้ ๑๕๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ว่าต้องทาอะไร แล้วใครลงมือทาถึงจะทราบว่าธรรมะบทนี้มปี ระโยชน์ หรือไม่มปี ระโยชน์ ต้องลงมือทาจึงจะเห็นแจ้งด้วยตนเอง ซึ่งธรรมสาสวะ หรือ ธรรมะเนิ่ น ช้ า จะไม่ ส ามารถท าให้ เ กิด ความเห็น แจ้ ง ได้ เพราะ ส่วนมากเมื่ออ่ านจบก็ไม่รู้ว่าจะให้ทาอะไร และอาจคิดไม่ถึง ด้วยซ้าว่า จะต้องทาไปทาไม เลยอ่านแล้วจาแล้วคิด จบเรื่องนี้ไปอ่านเรื่องอื่นๆต่อ สิง่ ที่เพิม่ พูนจริงๆจึงเป็ นการเพิม่ คติทวินิยมต่อไปเรื่อยๆ อย่างชนิดมอง หนทางสิน้ วัฏสงสารไม่พบ ด้ว ยเหตุ น้ี ถึง เวลาหรือ ยัง ที่ท่ า นนัก ปฏิบัติ ธ รรมทัง้ หลายควร ปรับเปลีย่ นแนวทางการศึกษาธรรมะจากธรรมะเนิ่นช้าที่บอกแค่ผลมิได้ บอกวิธีทา มาสนใจธรรมะอันไม่เนิ่นช้าที่บอกวิธีทาอย่างชัดเจนซึ่งเมื่อ อ่านจบแล้วรูแ้ จ่มแจ้งว่าจะต้องทาอะไร เพื่อประโยชน์แก่ตวั ท่านเอง และ เพื่อประโยชน์แก่พุทธศาสนาโดยอ้อม ทีจ่ ะได้เพิ่มผูเ้ ห็นแจ้งในสัจจธรรม มากขึน้ กว่าทีเ่ ป็ นอยู่ในปั จจุบนั ธรรมอันไม่เนิ่ นช้าจากพระไตรปิ ฎก บทเพ่งภาวนาของพุทธสาวกในสมัยพุทธกาล ท่านเหล่านี้ ล้วน แต่ตงั ้ จิตอธิษฐานว่า เมือ่ ไรหนอจึงจะเห็นความเสมอกันของรูปนาม และขันธ์ทงั ้ หลาย ท่านทัง้ หลายปรารถนาความเป็ นธรรมดามิได้มใี คร ปรารถนาความไม่ธรรมดาหรืออยากจะได้จะเป็ น หรือจะเห็นอะไรมีค่า มากกว่าอะไร แม้แต่องค์เดียว ดังทีม่ มี าในพระสูตรต่อไปนี้ "เมือ่ ไรหนอเราจึงจักพิ จารณาเห็นสภาพภายใน กล่าวคือ เบญจขันธ์และรูปธรรมเหล่าอืน่ ทีย่ งั ไม่ร้ทู วถึ ั ่ ง และสภาพภายนอก คือ ต้นไม้ กอหญ้า และลดาชาติ ว่าเป็ นสภาพเสมอกัน ความตรึก เช่นนี้ ของเราจักสาเร็จได้เมือ่ ไรหนอ" (มหาจุฬา.๒๖/๕๑๙/๑๑๐๔) ๑๖๐


สมสุโขภิกขุ

หรือจากพระสูตรบทนี้ ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึน้ เป็ นสังขาร ความไม่เกิดขึน้ เป็ นนิพพาน ความเป็ นไปเป็ นสังขาร ความไม่เป็ นไปเป็ นนิพพาน เครื่องหมายเป็ นสังขาร ความไม่มเี ครือ่ งหมายเป็ นนิพพาน ความประมวลมาเป็ นสังขาร ความไม่ประมวลมาเป็ นนิพพาน ความสืบต่อเป็ นสังขาร ความไม่สบื ต่อเป็ นนิพพาน ความไปเป็ นสังขาร ความไม่ไปเป็ นนิ พพาน ความบังเกิดเป็ นสังขาร ความไม่บงั เกิดเป็ นนิพพาน ความอุบตั เิ ป็ นสังขาร ความไม่อุบตั เิ ป็ นนิพพาน ความเกิดเป็ นสังขาร ความไม่เกิดเป็ นนิพพาน (๓๑/๑๑/๒๙) ๑๖๑


ลมไหวใบไม้สงบ

คําว่า “ความไปเป็ นสังขาร ความไม่ไปเป็ นนิ พพาน” คาว่าไปในทีน่ ้ีหมายถึง "คติ " และคติใ นที่น้ีแ ปลว่ า ไป คนละความหมายกับ คติต ามภาษาที่ โลกๆใช้กนั อยู่ คติคอื การไหลไปสู่ การไหลไปสู่น้ีมแี รงผลักดันมาจาก ความเคยชิน(อนุสยั ) ปุถุชนย่อมมีความเคยชินหลายๆอย่างอยู่ในสัญญา เลว ความเคยชิน จะเป็ น แรงดัน ให้เ กิด การไหลไป(อาสวะ)ปรุ ง แต่ ง ปฏิกริ ยิ าต่างๆ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดเขาเรียกว่าสังขารเกิด มีสงั ขารเกิดนิพพาน ย่อ มหายไป ควบคุมการไหลไป(อาสวะ) ได้ ก็คือ ควบคุม ไม่ให้เกิด สังขารได้ การปฏิบตั ธิ รรมจึงเป็ นการควบคุมการไหลไป มิใช่ฝึกไหลไป นักปฏิบตั ธิ รรมมักไม่เข้าใจนัยยะข้อนี้ มาปฏิบตั ธิ รรมจึงมักฝึกไหลไป มี ปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ ก็ไหลไปกับปฏิกริ ยิ านัน้ ๆโดยสร้างปฏิกริ ยิ าใหม่ๆมา ซ้อนทับ โดยเฉพาะการไหลไปคิด ไหลไปรูส้ กึ ไหลไปสงสัย ไหลไปสร้าง ความรู้สึก ว่ า ใช่ ว่ า จริง ว่ าได้ว่ า รู้ว่ าเห็น ว่ า เป็ น นัน่ แหละคือ การไหลไป โดยเฉพาะการไหลไปหาของคู่ ปุถุชนจะมีอาการเช่นนี้มาก แต่เพราะ ความไม่ร(ู้ อวิชชา-ธาตุเลว) ไปคิดเอาเองว่านี่คอื การปฏิบตั ธิ รรม มิได้ฉุก ใจคิดว่านี่คอื การฝึกไหลไป การไหลไป "นิ ยมสร้ า งความเป็ นของคู่" (คติ ท วิ นิ ยม) คือ ปฏิกิริยาที่ต้อ งระวัง เป็ นพิเศษ โดยเฉพาะการสร้างความรู้ส ึกว่า "ไม่ ธรรมดา" ขึน้ มาใส่ลงในสมมุตบิ ญ ั ญัติ คาว่าไม่ธรรมดาคือของคู่ คือคติ ทวินิยม เพราะถ้ามีความรูส้ กึ ว่ามีอะไรทีไ่ ม่ธรรมดานันคื ่ อความรูส้ กึ ชนิด นี้จะต้องใช้คู่กบั ความรู้สกึ ว่า "มันเป็ นธรรมดา" คือต้องมีการเห็นสิง่ ใด เป็ นสิ่ง ที่ เ ป็ นธรรมดา แล้ ว พอมาเกิ ด ความรู้ อ ะไรใหม่ ๆ จึ ง ไหลไป เปรียบเทียบคิดว่าสิง่ ที่พบใหม่วเิ ศษกว่าดีกว่า ความรู้สกึ ไม่ธรรมดาจึง ๑๖๒


สมสุโขภิกขุ

เกิดขึน้ ตัวอย่างเช่น อริยบุคคลคือคนไม่ธรรมดา ธรรมะบทนี้ไม่ธรรมดา ความรูเ้ รื่องนี้เป็ นเรื่องไม่ธรรมดา ปฏิบตั ไิ ปแบบนี้เราจะกลายเป็ นคนทีไ่ ม่ ธรรมดา ฯลฯ คติทวินิยมหรือการไหลไปสู่ความเป็ นของคู่ มีการเกิดขึน้ ด้วยเหตุอย่างนี้ นักปฏิบตั หิ ยุดคติทวินิยม หยุดสร้างความรูส้ กึ "ไม่ธรรมดา" เสีย ให้เป็ น จึง จะหยุดการไหลไปได้ หยุดการไหลไปย่อมเห็นทุกสิง่ "เป็ น ธรรมดา" เสมอกัน เห็นทุกสิง่ เป็ นธรรมดาเสมอกันได้ ณ เวลาใด เวลานัน้ คือมี "นิพพาน" เป็ นวิหารธรรม นันคื ่ อความหมายของธรรมะข้อทีว่ ่า "ความไม่ไปเป็ นนิ พพาน" คุณลักษณะของนิพพานอย่างหนึ่งคือ "ไม่มกี ารมาการไป" ไม่มกี ารไปคือ ไม่ไหลไปหาของคู่ มีบวกมีลบ มีดามีขาว มีสุขมี ทุกข์ มีดมี เี ลว มีถูกมีผดิ ไม่มกี ารมาคือ ไม่ดงึ ของคู่มาใส่ในใจ จะทาเช่นนัน้ ได้ ต้องฝึก "ไร้สาระ" ให้ได้ทุกเรื่อง ดาริ จงใจ ครุ่นคิด เจตนา ให้สาระ เป็ นสิง่ ทีต่ ้องฝึกดับให้เป็ นให้ เก่ ง อย่ า เพิ่ง ไปคิด ไกลว่ า ดับ เพื่อ อะไร ดับ แล้ ว ชีวิต จะเป็ นอย่ า งไร พระพุทธเจ้ามีเหตุผลทีใ่ ห้สาวกผูบ้ วชใหม่ทุกคนต้องฝึก นักปฏิบตั ทิ ่ไี ม่เคยฝึ กดับอาการเหล่านี้ ก็เสมือนเป็ นผูเ้ ริม่ เข้ามา ศึก ษาธรรม ปฏิบัติม ากี่ส ิบ ปี ก็ต าม ถ้า ยัง ไม่เ คยเริ่ม ต้น ฝึ ก ดับ อาการ เหล่านี้ก็ถอื ว่าเป็ นผูม้ าใหม่ในศาสนาของพระองค์ ฝึ กดับไปเถิดได้บ้าง ไม่ได้บา้ งก็ไร้สาระอย่าไปคิดมัน มีสติระลึกขึน้ มาได้กฝ็ ึกดับต่อไป การฝึก ทาเช่นนี้แหละคืออุบายการฝึกเพือ่ ให้ รูจ้ กั สังขาร รูจ้ กั เหตุเกิดสังขาร รูจ้ กั วิธีด ับ สัง ขาร รู้จ ัก ความดับ สัง ขาร ซึ่ง นัน่ หมายถึง กาลัง ฝึ กเป็ น ผู้รู้จกั ๑๖๓


ลมไหวใบไม้สงบ

อริ ยสัจ ๔ อนาสวะ และหมายถึงกาลังฝึ กเป็ นสมณะในหมู่สมณะ เป็ น นักปฏิบตั ใิ นหมูน่ กั ปฏิบตั ิ เป็ นอริยบุคคลในหมูก่ ลั ยาณบุคคล ปฏิบัติธรรมมิใช่เรื่องยาก สามารถปฏิบัติแบบง่ายๆ ด้วยวิธีระลึกตามความจริง ดังนี้ ระลึกตามความจริงว่า มันไร้สาระ ระลึกตามความจริงว่า มันเป็นอดีตไม่ใช่เรา ระลึกตามความจริงว่า มันเป็นปฏิกิริยาธรรมชาติ ระลึกตามความจริงว่า มันเป็นอดีตทีด่ ับไปแล้ว ระลึกตามความจริงว่า มันเป็นของทีไ่ ม่มีอยูจ่ ริงไปแล้ว ระลึกสั้นๆง่ายๆแค่นี้ ชีวิตคุณก็เปลี่ยน ทดลองนำไประลึกดูจะรู้ว่าชีวิตมันเปลี่ยนไปได้จริงๆ สติ อนาสวะคือกุญแจดอกเดียวที่ไขพระไตรปิ ฎกได้ทงั ้ เล่ม ธรรมะที่อยู่ในตารา เป็ นทฤษฎี เป็ นองค์ความรู้ ยังเป็ นวัตถุดบิ ต้ อ งมาเจี ย ระไนก่ อ นจึ ง จะน าไปใช้ ง านได้ หัว ข้ อ ธรรมในต าราใน พระไตรปิ ฎก สามารถนาไปใช้งานได้จริงๆ มิใช่นามาคิด คิดเท่าไรก็ไม่ม ี ประโยชน์ ต่อมรรคผลนิพพาน ยิง่ คิดเสียอีกยิง่ เตลิดไปไกลยิง่ ห่างไกล นิพพานไปทุกที เพราะความคิดทาให้เกิดการไหลไป(อาสวะ)สู่ความเป็ น ของคู่ ไปสู่ปฏิกริ ยิ าบวกลบถูกผิดใช่ไม่ใช่ ของคู่หรือคติทวินิยมย่อมเกิด ทันทีทค่ี ดิ แต่คติทวินิยมย่อมดับทันทีทร่ี ะลึก ชอบด้วยอุบายชอบ ธรรมะ ทุกบททุกข้อ ไม่ว่า อยู่ในหนังสือ ต ารา พระไตรปิ ฎ ก ถ้าระลึกชอบได้ ระลึกชอบเป็ นสามารถนาวิธนี ้ไี ปปรับประยุกต์ใช้กบั ธรรมะเหล่านัน้ ได้ทุก ๑๖๔


สมสุโขภิกขุ

บท ระลึก ชอบได้ร ะลึก ชอบเป็ น จะไม่ม ี ค าว่ า ลึก ว่ า ตื้น ว่ า ถู ก ว่ า ผิด ว่ า ธรรมดาไม่ธรรมดา เปิ ดพระไตรปิ ฎกขึน้ มาหน้าไหนก็ได้ สามารถนาสติ ชอบระลึกชอบไปปฎิบตั หิ าความจริง หาความจริ งของธรรมะทุกๆบท ในพระไตรปิ ฎกทุกๆหน้ า แต่นักปฏิบตั สิ ่วนใหญ่มไิ ด้ทาเช่นนี้ ส่วนใหญ่ นาหัวข้อธรรมะมาแจกแจงมาคิดมาปรุงมาใส่รายละเอียดใช้การคาดคะเน แตกลูกแตกหลานเหมือนตีนุ่น ยิง่ ตียงิ่ ฟุ้งกระจายจนไม่ได้ประโยชน์ ลอง เอาจริงเอาจังกับการฝึกสร้างสติระลึกชอบดูเถิดแล้วจะทราบด้วยตนเอง ว่า สัมมาสติแบบอนาสวะตอบโจทย์ธรรมะได้ทุกข้อ ไม่ว่าพระพุทธเจ้าจะ ตรัสธรรมะเรื่องใดทีไ่ หนกับใครผลออกมาเป็ นเช่นไร ผู้มคี วามชานาญใน การใช้สติชอบสามารถทราบได้ทนั ทีว่าธรรมะหัวข้อนัน้ ๆต้องทาอย่างไร ฝึ กอย่างไรจึงจะได้รบั ผลตามที่พระพุทธเจ้าหรือสาวกสอน พิสูจน์ความ จริงดูได้ดว้ ยการฝึกสติชอบเพียงอย่างเดียว เพราะสัมมาสติ อนาสวะคือ กุญแจดอกเดียวทีไ่ ขพระไตรปิ ฎกได้ทงั ้ เล่ม พระสูตรสําคัญเพื่อการบรรลุธรรม สัตว์โลกนี้เกิดความเดือดร้อนแล้วมีผสั สะบังหน้า ย่อมกล่าวซึ่ง โลกนัน้ โดยความเป็ นตัวเป็ นตน เขาสําคัญสิ่ งใดโดยความเป็ นประการ ใด แต่สิ่งนัน้ ย่อมเป็ นตามที่เป็ นจริงโดยประการอื่นจากที่เขาสําคัญ นัน้ สัตว์โลกติดข้องอยู่ในภพ ถูกภพบังหน้าแล้ว มีภพ(ความรู้สึกว่า มี ว่ า เป็ น)โดยความเป็ นอย่ า งอื่ น จากที่ ม ัน เป็ นอยู่ จ ริ ง จึ ง ได้ เพลิดเพลินยิง่ นักในภพนัน้ เขาเพลิดเพลินในสิง่ ใดสิง่ นัน้ เป็ นภัยทีเ่ ขาไม่ รูจ้ กั ๑๖๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ผูม้ สี มั มาวายามะ จึงมีสมั มาสติ ผูม้ สี มั มาสติ จึงมีสมั มาสมาธิ ผูม้ สี มั มาสมาธิ จึงมีสมั มาญาณะ ผูม้ สี มั มาญาณะ จึงมีสมั มาวิมุตติ (๒/๒๒๔/๒๙๐) เมือ่ มีสมั มาสติ สัมมาสมาธิจงึ พอเหมาะได้ เมือ่ มีสมั มาสมาธิ สัมมาญาณะจึงพอเหมาะได้ เมือ่ มีสมั มาญาณะ สัมมาวิมุตติจงึ พอเหมาะได้ ดูกรภิ กษุทงั ้ หลายด้วยประการนี้ แล พระเสขะผู้ประกอบด้วย องค์ ๘ จึงเป็ นพระอรหันต์ประกอบด้วยองค์ ๑๐ (๑๔/๑๕๐/๒๘๐) (การปฏิบตั หิ ากข้ามขัน้ ตอน ไม่เรียงตามขัน้ ตอนนี้ เป็ นไปไม่ได้ เลยทีจ่ ะบรรลุธรรม ตัวธรรมะไม่สาคัญเท่าการกระทาทีละขัน้ ตอน ในพระ สูตรสัมมัตตธรรมบทนี้ ขาดไม่ได้ ข้ามขัน้ ตอนไม่ได้ ต้องเริม่ ตัง้ ต้นให้ถูก ด้ว ยสติอ นาสวะกับ อุ บ ายอนาสวะ ย่ อ มถึง ปลายทางถู ก ต้ อ งสมบู ร ณ์ แบบชนิดทีเ่ ป็นอืน่ ไปไม่ได้

๑๖๖


สมสุโขภิกขุ

ธรรมชาติเดิมแท้ราบเรียบเสมอกัน ธรรมชาติเดิมแท้ว่างเปล่าไม่มอี ะไร ต่อมาเมื่อมีเหตุปัจจัยตาม กลไกธรรมชาติทาให้เกิดปฏิกิรยิ าขึ้นมา ปฏิกิรยิ านัน้ ๆจะไปกระตุ้นให้ ธาตุ ๖ ชนิดผุดขึน้ มาทาหน้าที่ ธาตุ ๖ ที่ว่าคือ ดิน น้ า ลม ไฟ ธาตุว่าง และวิญญาณธาตุ และไม่ว่าจะเกิดปฏิกริ ยิ าใดๆต่อเนื่องขึน้ มาอีก จะเป็ น ร้อยเป็ นพันหรือเป็ นล้านๆปฏิกริ ยิ า ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดทัง้ หมดเกิดจาก ธาตุ ทัง้ ๖ นี้เท่านัน้ ไม่ม ีธาตุ อ่ืน ใดมาเจือ ปน ปฏิกิริยาที่เกิดจากธาตุ ๖ นี้ เรียกว่า "สังขาร" สังขารทุกชนิดคือปฏิกริ ยิ าของธาตุ ๖ ถ้าเปรียบเทียบสังขารทุกชนิดในธรรมชาติน้ีคอื ทะเล สังขารใน ตอนที่ทาปฏิกิรยิ าแรกเริม่ ยังไม่ถูกแทรกแซงจึงมีความเสมอกัน ไม่ม ี บวกมีลบ ราบเรียบเหมือนทะเลที่ไร้ลมมากระทบ ธรรมชาติเดิ มแท้ทย่ี งั ไม่มอี ะไรมากระทบก็เหมือนทะเลทีไ่ ม่มลี มมากระทบ ต่อมามีการให้สาระ เป็ นปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นที่จะทาให้ธาตุ ๖ นี้ มกี ารเปลีย่ นแปลง เหมือนทะเลมี ลมมากระทบทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จากทะเลสงบกลายเป็ นทะเลมี ละลอกคลื่น อธิบายย่อๆเพื่อเปรียบเทียบให้เกิดความเข้าใจ จะได้เห็น ภาพชัดเจนว่า เกิดอะไรขึน้ ในธรรมชาติน้ี การให้สาระทาให้เกิดการสั ่น ไหวของธาตุ ๖ ขึน้ มา อวิชชาก็ไปให้สาระกับการสั ่นไหวอีกต่อหนึ่ง จึงมี การสั ่นไหวซ้อนกันขึน้ มาต่อเนื่องอย่างไม่รจู้ บ นี่คอื ปฏิกริ ยิ าเริม่ ต้นของ ปั ญหาทัง้ มวล ทุกข์เริม่ ต้นจากตรงจุดนี้ คือเริม่ จากมีการให้สาระเกิดขึน้ จึง เกิดปฏิกิริยาใหม่ข้นึ มา และมีการให้ส าระในปฏิกิริยาใหม่ทบั ซ้อ น ขึน้ มาจนเกิดปฏิกริ ยิ าทับซ้อนจากหนึ่งเป็ นสองจากสองเป็ นสิบเป็ นร้อย เป็ นพันจนไปถึงเป็ นล้านๆปฏิกริ ยิ า มาจากการให้สาระอย่างเดียวเท่านัน้ ทีท่ าให้เกิดความวุ่นวาย ๑๖๗


ลมไหวใบไม้สงบ

พระพุทธเจ้าตรัสรู้พบความจริงข้อนี้ และพระองค์รู้วธิ ดี บั ปั ญหา ทัง้ หมดนี้ ไ ด้ พระองค์ จึง ตรัส สอนสาวกว่ า สาระไม่ มี ใ นเบญจขัน ธ์ นอกจากนัน้ พระองค์ยงั ตรัสต่อว่า สังขารทัง้ หมดทัง้ สิน้ ล้วนเป็ นสิง่ ไร้สาระ ในบางพระสูตรพระองค์กแ็ ยกธาตุแต่ละชนิดออกมาเลยว่า ล้วนไม่มสี าระ แก่นสาร คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ล้วนไม่มสี าระแก่นสาร ที่พระองค์ตรัสเช่นนี้ก็เพื่อถอนรากถอนโคนปั ญหาทัง้ ปวงได้โดยการฝึก “ไร้ส าระ” อย่ า งเดีย วก็พ อแล้ว ที่จะดับ ทุ กข์ท งั ้ ปวง ซึ่ง ทุ กคนสามารถ ปฏิบตั ติ ามเพือ่ พิสจู น์ทราบความจริงว่า การฝึ กไร้สาระฝึกเลิกให้สาระ ทา แล้วดับปั ญหาทัง้ ปวงได้จริงหรือไม่ การให้สาระเป็ นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ โดยปุถุชนจะไม่รู้ตวั เมือ่ ให้สาระสิง่ ใด ย่อ มมีปฏิกิรยิ าอย่างใดอย่างหนึ่ง เกิดขึ้น ถ้ายัง ไม่มวี ิชชา ย่อ มไม่รู้จกั ความรูส้ กึ ว่าให้สาระในปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดมาใหม่เรียบร้อยแล้ว จึงไปให้สาระ กับปฏิกริ ยิ านัน้ ต่อไปอีก พอให้สาระอีกก็เกิดปฏิกริ ยิ าอีก เกิดปฏิกริ ยิ าอีก ก็ให้สาระอีก ทุกคนลองคิดดูเถิดว่ากว่าจะคิดจะทาจะรูอ้ ะไรทุกคนให้สาระ มากีค่ รัง้ กีห่ นไม่ทราบได้ คนทีใ่ ห้สาระมากต่อไปก็จะกลายเป็ นคนบ้ามาก ตามไปด้วย บ้าในเรื่องทีต่ นเองให้สาระ แต่ยากทีจ่ ะรูต้ วั ว่าตนเองหรือคน อื่นๆทีบ่ า้ สิง่ นัน้ สิง่ นี้มเี หตุปัจจัยมาจากการให้สาระทัง้ นัน้ ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ กิ ด เมื่ อ มี ก ารให้ ส าระนั ้น ปฏิ กิ ริ ย าที่ ส าคัญ ที่ ม ี แรงผลักดันให้เกิดปฏิกริ ยิ าอื่นๆต่อเนื่องไม่รวู้ นั จบก็คอื ของคู่ ให้สาระสิง่ ใดก็ตามจะเกิดปฏิกริ ยิ าไหลไปสร้างของคู่ตามมาเสมอๆโดยไม่รตู้ วั เช่น ให้สาระสิง่ หนึ่งสิง่ ที่ตามมาคือรูส้ กึ ชอบไม่ชอบดีไม่ดพี อใจไม่พอใจในสิง่ นัน้ ขึน้ มา ดังนัน้ ยิง่ ให้สาระสิง่ ใดมากๆของคู่ดา้ นใดด้านหนึ่งจะเกิดตามมา จนกลายเป็ นบ้าดีบ้าเลวบ้าสุขบ้าทุกข์บ้าบุญบ้าบาปอย่างนี้เป็ นต้น มีบา้ เกิดขึน้ ได้ทงั ้ สองฝั ง่ บางคนบ้าทาดี บางคนบ้าทาชัว่ คงเคยพบเคยเห็น ๑๖๘


สมสุโขภิกขุ

กันมามากต่อมาก คนทีบ่ า้ คือคนทีค่ วบคุมการให้สาระไม่ได้ บางคนคุมได้ ก็บา้ น้อยหน่อยอย่างนี้เป็ นต้น ดังนัน้ ในชัน้ ต้นทุกคนจึงต้องมีปัญญาระดับสัมมาทิฐสิ าสวะ คือรู้ เป็ นเบื้องต้นว่าต้นตอของความทุกข์ของปั ญหาทัง้ ปวงล้วนแต่เกิดมาจาก การให้สาระ แม้ยงั ไม่เห็นแจ้งเห็นจริงเพราะปฏิกริ ยิ าการให้สาระมันเกิด รวดเร็วมากมีสถานะเกือบเป็ นปฏิกริ ยิ าล่องหน จึงยากที่จะพบมันง่ายๆ ต้อ งมีศ รัท ธาต้อ งมีปั ญ ญาต้อ งมีส ติต้อ งมีส มาธิต้อ งมีค วามเพีย รเป็ น เบื้องต้นก่อน เขาเรียกต้องมีพละ ๕ อินทรีย์ ๕ จึงจะสามารถมีความดาริ ชอบทีจ่ ะทดลองฝึกไร้สาระ ใครมีศรัทธาไม่พอสติไม่พอปั ญญาไม่พออาจ ไม่เชื่อจึงไม่คดิ จะลองฝึก ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า "สิง่ ทีร่ ยู้ ากทีส่ ุดคือสิง่ ทีท่ ุกคนไม่อยากรู"้ ใครไม่มศี รัทธาพอจึงยากทีจ่ ะอยากรูค้ วามจริง เขาจึง ปฏิบัติธ รรมโดยให้ส าระไปปฏิ บัติธ รรมไป จึง มีอ ยู่เ ป็ น จ านวนมากที่ ปฏิบตั ธิ รรมด้วยคติทวินิยม คือเปรียบเทียบถูกผิดดีเลวได้ไม่ได้ใช่ไม่ใช่ ธรรมดาไม่ธรรมดาลึกตื้นสูงต่ า ทุกครัง้ ที่ปฏิบตั ิจะใช้คติทวินิยมที่ตนมี เป็ นเครื่องตัดสินถูกผิดควรไม่ควร บางคนก็เคยเป็ นเช่นนัน้ มาแล้วแต่ทง้ิ ได้แต่บางคนยังเป็ นเช่นนัน้ อยู่และยังไม่ยอมทิ้ง มันเลยอดไม่ได้ทจ่ี ะไหล ไปให้สาระโดยไม่รตู้ วั ผลก็คอื มีถูกมีผดิ มีดมี ไี ม่ดีบางคนให้สาระมากเลย บ้าถูกบ้าผิด บ้าดีบ้าเลว เปรียบเทียบแยกแยะจนการปฏิบตั ิไม่เป็ นอัน ปฏิบตั ิ เพราะมัวแต่เพ่งโทษซึ่งกันและกัน พระพุทธเจ้าจึงตรัสไว้ว่า "ผู้ คอยแต่เพ่งโทษผูอ้ ่นื ย่อมห่างไกลนิพพาน" นักปฏิบตั คิ วรเลิกให้สาระใน สิง่ ทีค่ นอื่นทา ควรมองแค่ตนเองว่าให้สาระอะไรอยู่หรือเปล่า แต่กต็ ้องมี สัมมาทิฐสิ าสวะรู้ว่าอันไหนทางอันไหนไม่ใช่ทาง รู้ว่าอันไหนเนิ่นช้าอัน ไหนไม่เนิ่นช้า อันไหนดับทุกข์ได้อนั ไหนดับทุกข์ไม่ได้ อันไหนมิจฉาทิฐิ อันไหนสัมมาทิฐิ อันไหนสาสวะอันไหนอนาสวะ อันไหนภาคทฤษฎีอนั ๑๖๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ไหนภาคปฏิบัติ ต้อ งมีปั ญ ญารู้ใ นสิ่ง เหล่า นี้ บ้า งมิฉะนัน้ อาจเสีย เวลา ปฏิบตั โิ ดยใช่เหตุ ธรรมชาติเดิมแท้ เมื่อมีการปรุงปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ จะราบเรียบ เสมอกันไม่มบี วกลบ และมนุษย์ทุกคนสามารถรักษาความราบเรียบเสมอ กันนี้ได้ตลอดเวลาถ้ารู้จกั วิธคี วบคุมการให้สาระ วิธคี วบคุมการให้สาระ คือสิง่ ทีฝ่ ึกฝนกันได้ แรกๆก็ทาให้ได้ให้เป็ นก่อน ต่อมาก็ทาให้เชีย่ วชาญ ช่าชองจนชานิชานาญ เมื่อถึงตอนนัน้ ทุกคนก็สามารถทางานทุกอย่างได้ โดยไม่มกี ารมาการไป ไม่มกี ารมาคือไม่ไปดึงของคู่มาไว้ในใจ ไม่มกี ารไป คือไม่ไหลไปยินดีในของคู่ คือไม่ไหลไปสร้างบวกลบดาขาวสุขทุกข์ การ ไหลไปสร้างของคู่น่ีคอื การไหลไปของอาสวะ ปุถุชนมีความเคยชินเป็ น ธรรมชาติทพ่ี ร้อมจะไหลไปสร้างของคู่ตลอดเวลา การดับทีป่ ลายเหตุกไ็ ม่ ช่วยให้อะไรดีขน้ึ ต้องรู้จกั วิธดี บั ที่ต้นเหตุ คือขัน้ ต้นต้องรู้จกั ฝึกสติระลึก ตามความจริง ว่ า ทุ ก สรรพสิ่ง มัน ล้ว นแต่ เ ป็ น สิ่ง ไร้ส าระ ธรรมชาติน้ี นอกจากนิพพานไม่มอี ะไรมีสาระเลย ต้องฝึกจริงๆจังๆในเรื่องนี้ การฝึก แบบนี้ คือ การฝึ ก ควบคุ ม การไหลของอาสวะ เขาจึง เรีย กว่ า การฝึ ก แบบอนาสวะ หรือแปลเป็ นไทยหมายความว่า การฝึ กเพื่อความไม่มอี า สวะ(ไม่มกี ารไหลไป) อย่าเพิง่ ตกใจว่ามันคงจะยาก ไม่ยากอย่างที่กลัว เด็ดขาด แต่ต้องใช้ความเพียรบ้างพอสมควรเพราะต้องทาบ่อยๆทาแล้ว ทาอีก ไม่ยากแต่ตอ้ งทาซ้าๆทาบ่อยๆ ตามทฤษฎีต ามองค์ความรู้ท่ีม ีอ ยู่ในพระไตรปิ ฎ กล้วนแต่สอน เพื่อให้ "ไม่มกี ารมาการไป" ทัง้ นัน้ เช่น สอนว่า ไม่ยนิ ดียนิ ร้าย ทุกคนคง พบบ่ อ ย หรือ ท าจิต ให้ เ สมอกัน ไม่ ว่ า เขาจะไหว้ ห รือ จะด่ า หรือ มอง สภาวธรรมสูงๆกับต้นไม้กอหญ้าให้มคี ่าเสมอกัน ฯลฯ มีคาสอนมากมาย ในพระไตรปิ ฎก นัน่ คือองค์ความรู้มใิ ช่วธิ ปี ฏิบตั ิ แต่เราต้องใช้องค์ความรู้ ๑๗๐


สมสุโขภิกขุ

นัน้ มาเป็ น เครื่อ งมือในการวัดผลการปฏิบัติ ตรงนี้คือ หัวใจสาคัญ ของ สัมมาสติอนาสวะ อย่าไปเอามาทัง้ หมด จงใช้เพียงแค่อ่านให้รู้ว่า องค์ ธรรมแต่ละองค์จะปฏิบตั ิอย่างไรวางสติอย่างไรระลึกอย่างไรจึงจะเกิด ความเห็นแจ้งตามหัวข้อธรรม เช่นพระพุทธเจ้าตรัสว่า ต้องไม่ยนิ ดียนิ ร้าย เราก็นามาเป็ นจุดมุง่ หมายว่าจะต้องฝึกสร้างสติชอบระลึกอุบายชอบ จนเกิดความรู้สกึ เฉยๆไม่ยนิ ดียินร้ายกับปฏิกิริยาทุกๆปฏิกิริยาให้ได้ สาหรับระยะแรกของการฝึ กสัมมาสติอนาสวะขอแนะนาให้ใช้อุบายไร้ สาระอย่าไปคิดมัน ให้เก่งให้ชานาญให้สามารถไร้สาระได้ดงใจนึ ั ่ ก ต้อง เริม่ ทีอ่ ุบายนี้ก่อน เพราะธรรมชาติเดิมพืน้ มันเป็ นกลางไม่ยนิ ดียนิ ร้ายอยู่ แล้ว มีการให้สาระขึน้ มา มันจึงไหลไปยินดีหรือยินร้าย ยินดียนิ ร้ายเกิด จากให้สาระ การไปยินดียนิ ร้าย หรือการดึงยินดียนิ ร้ายมา ชีวติ จึงทุกข์ จึงไม่นิพพาน เพราะมีการมาการไป อยากนิพพานต้องไม่มกี ารมาการไป จะไม่มกี ารมาการไปได้กต็ อ้ งเลิกให้สาระในปฏิกริ ยิ าทีจ่ ะมาหรือจะไป นัน่ คือต้องเลิกให้สาระในสิง่ ที่น่ายินดี ต้องเลิกให้ส าระในสิง่ ที่น่ายินร้าย ฝึ ก ระยะต้นๆจะไปเลิกตรงๆหักด้ามพร้าด้วยเข่ามันไม่ได้ ต้องฝึกไร้สาระอย่า ไปคิดมันให้เก่งก่อน ต้องลองทาจริงๆ เอาจริงเอาจัง พอไร้สาระเก่ง พอมี ปฏิกริ ยิ าทีน่ ่ายินดีกจ็ ะระลึกว่าสิง่ นัน้ มันไร้สาระได้ทนั ท่วงที หรือปฏิกริ ยิ า ทีน่ ่ายินร้ายเกิดขึน้ มาก็มสี ติระลึกว่าสิง่ นัน้ มันไร้สาระเช่นเดียวกัน การฝึก แบบนี้คอื การฝึกเพื่อไม่มกี ารไหลไปหาของคู่ และฝึกเพื่อไม่มกี ารดึงของ คู่ไหลมาอยู่ในใจ จะไหลไปหรือดึงมาก็มสี ติระลึกว่าไร้สาระอย่าดึงไร้สาระ อย่าดัน จงจาคาตรัสของพระพุทธเจ้าไว้ให้ดพี ระองค์ตรัสว่า ต้องฝึกระลึก ว่าสาระไม่ม ีทุกเมื่อ ทัง้ กลางวันทัง้ กลางคืน และจงเร่ง รีบฝึ กเต็มกาลัง ความสามารถดุจคนถูกไฟไหม้ศรี ษะเร่งรีบดับไฟ ต้องมีความเพียรอย่าง ใหญ่หลวงจึงจะได้ผล และได้ผลจริงๆ ยิง่ ฝึกจะยิง่ ดับการไหลของอาสวะ ๑๗๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ได้รวดเร็วขึน้ หมดจดขึน้ การฝึกสร้างสติแบบนี้ไม่ใช่ใช้เฉพาะหัวข้อธรรม ไม่ยนิ ดียนิ ร้ายอย่างเดียว จะนาไปใช้กบั ธรรมะบทอื่นๆในพระไตรฎกได้ ทุกบท อย่างจงเห็นความเสมอกันของทุกสรรพสิง่ เราเห็นสรรพสิง่ ไม่ เสมอกันก็เพราะการให้สาระ ให้สาระมากก็ให้ค่ามากให้สาระน้อยก็ให้ค่า น้อยไม่มวี นั เท่ากันถ้ามีการให้สาระเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าฝึ กไร้ส าระเก่งๆ ทุกคนจะค่อยๆเห็นความเสมอกันของทุกๆสรรพสิง่ ได้เอง หรือคาสอน ที่ว่าเห็นสักว่าเห็น ให้สาระเป็ นเมื่อใดเห็นสิง่ ใดก็สกั ว่าเห็นได้ดงั ใจนึก หรือคาสอนที่บอกว่า สาธุชนไม่ควรยึดมั ่นถือมั ่น จะไม่ยดึ มั ่นถือมั ่นได้ก็ ต้อ งเลิกให้สาระในสิง่ นัน้ เห็น สิ่ง นัน้ ไร้สาระเมื่อใดก็ไม่ยึดมั ่นสิง่ นัน้ ได้ อย่างแน่นอน มีธรรมะอีกมากมายทีม่ อี ยู่ในพระไตรปิ ฎก ล้วนแต่ส ามารถ ทาให้เห็นแจ้งตามความจริงของแต่ละองค์ธรรมนัน้ ๆด้วยการฝึกระลึกว่า "ไร้สาระ" สามพยางค์สนั ้ ๆเท่านี้แหละคือกุญแจไขพระไตรปิ ฎกได้ทงั ้ เล่ม และไร้สาระนี่แหละคือการฝึกสติเพื่อดับอาสวะเพื่อให้หมดอาสวะ เขาจึง เรียกสติชนิดนี้ว่า "สัมมาสติอนาสวะ"(อนาสวะแปลว่าไม่มอี าสวะ) เพราะมีการไหลไปหาของคู่ทาให้เกิดความเห็นว่านิพพานคือสิง่ ที่ ไม่ ธ รรมดา ความจริง นิ พ พานคือ สิ่ง ธรรมดาที่สุ ด แต่ ส ิ่ง ไม่ ธ รรมดา ต่ า งหากบดบัง นิพ พานไว้ท าให้ไ ม่รู้จ ักนิพ พาน ทุ ก คนแค่เลิกให้ส าระ มองเห็นให้ได้ว่าทุกๆสรรพสิง่ ไร้สาระทัง้ หมดเท่านัน้ เอง เลิกให้สาระสิง่ ใด ได้เมือ่ ไร แม้แค่สงิ่ เดียวนิพพานก็ปรากฏเมือ่ นัน้ รูจ้ กั นิพพานตัวจริงเสียง จริงได้ดว้ ยตัวทุกคนเองทีน่ ่วี นั นี้และเดีย๋ วนี้

๑๗๒


สมสุโขภิกขุ

โพชฌงค์ ๗ สมบูรณ์ได้ด้วยอุบาย "ไร้สาระ(อสารกัฏเฐนะ)" เลือกเฟ้ นอุบายชอบคาว่า "ไร้สาระ"มาเป็ นองค์ระลึก ไร้สาระก็คอื ธัม มวิจ ยะสัม โพชฌงค์ เมื่อ น ามาระลึก การระลึก ก็ คือ การสร้ า งสติ สัม โพชฌงค์ ระลึก แล้ว ระลึก อีก เรีย กว่ า มี วิริย ะสัม โพชฌงค์ ระลึก ต่อเนื่องมันจะต้องเกิดปิ ตสิ มั โพชฌงค์คอื ตึงเนื้อตึงตัว มีอาการวูบวาบ นัน่ แหละปิ ติสมั โพชฌงค์ ต่ อ ไปจะมีอ าการลมหายใจละเอียดแผ่วเบา ค่อยๆสงบระงับทาบ่อยๆทาเก่งๆลมหายใจมันจะตัดไปเลยก็มเี หมือ น หยุดหายใจแต่ไม่ได้หยุดจริงๆ นัน่ คือ ปั สสัทธิสมั โพชฌงค์ พอกายสงบ ระงับจะเกิดความตัง้ มั ่นเป็ นสมาธิแม้จะทาขณะยืนเดินนอนนังก็ ่ พบความ สงบระงับ ได้แ ละเกิด สมาธิอ่ อ นๆแต่ เ พีย งพอต่ อ การท างานเขาเรีย ก สมาธิ ส ั ม โพชฌงค์ สุ ด ท้ า ยก็ จ ะว่ า งบางเบาอิ่ ม เย็ น เป็ นอุ เ บกขา สัมโพชฌงค์ โพชฌงค์ ๗ ก็จะเกิดครบสมบูรณ์ทุกอาการด้วยการใช้คาว่า "ไร้สาระ" เป็ นองค์ธมั มวิจยะสัมโพชฌงค์ ทดลองฝึกกันดู สติ ปัฏฐานสี่กบั อุบาย "ไร้สาระ" การเกิดของปฏิกริ ยิ าใดๆในธรรมชาติย่อมถือว่าอยู่ในฐานใดฐาน หนึ่งของสติปัฏฐานทัง้ นัน้ จึงสามารถนาอุบายไร้สาระไปใช้ในตอนที่ม ี ผัสสะกับปฏิกริ ยิ าใดๆก็ตาม อย่าเพิง่ ไปคิดหาว่าปฏิกริ ยิ านัน้ อยู่ฐานใด ต้องฝึกสักว่าให้เก่งก่อนค่อยไปฝึกเจาะจงทีละฐานเป็ นฐานๆไป วิธฝี ึกสัก ว่าให้เป็ นก็ใช้อุบายไร้สาระนัน่ แหละ ปฏิกริ ยิ าอะไรผุดขึน้ มาก็มสี ติระลึก ชอบว่าไร้สาระอย่าไปคิดอย่าไปปรุงสิง่ ใดต่อ มีสติระลึกว่าปฏิกริ ยิ าทีม่ า ผัสสะมันเป็ นสิง่ ไร้สาระมีสติกาหนดอุบายไร้สาระต่อทุกสรรพสิง่ มันจะ เกิดอาการเห็นสักว่าเห็นได้ยนิ สักว่าได้ยนิ รับรูส้ กั ว่ารับรูร้ สู้ กึ สักว่ารูส้ กึ คิด ๑๗๓


ลมไหวใบไม้สงบ

สักว่าคิด ทาบ่อยๆมันจะสักว่าได้เนียนและนานขึน้ จึงค่อยไปฝึกจับทีฐ่ าน กาย ฐานเวทนา ฐานจิต และฐานความคิด ทีละฐาน สักว่าเป็ นสักว่าเก่ง ตอนมีสติจบั ที่ปฏิกริ ยิ าใดๆก็ตามความรูส้ กึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์มนั จะหายไปนันแหละคื ่ ออาการ กายสักว่ากาย ไม่ปรุง ว่าเป็ น อะไร เวทนาสักว่าเวทนาก็ไม่ปรุง ไม่รบั รู้ไม่ให้ส าระ มัน จึงไม่ม ี ความรูส้ กึ ว่าเวทนาเป็ นของเราของเขาของใคร ต่อมาฝึกทีฐ่ านจิตก็มสี ติ จับที่อาการต่างๆของจิตพร้อมทัง้ ระลึกว่าอย่าไปให้สาระกับอาการใดๆ ธรรมารมณ์ใดๆเกิดก็ตามมีสติระลึกว่าอย่าไปให้สาระ สติ ปัฏฐานสีท่ ถ่ี ูก ต้องเห็นสิง่ ใดรูอ้ ยู่เห็นอยู่แต่ไม่ปรุงแต่ทากิจการงานทุกอย่างได้ตามปกติ แต่ทาสักว่าทา ไม่มกี ารให้สาระกับสิง่ ทีท่ ากับสิง่ ทีผ่ สั สะกับปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิด จึง ทาให้ม ีแต่ การกระทาผู้กระทาไม่ม ี ผัส สะสิ่ง ใดๆ ปฏิกิริยาใดๆเกิด ขึน้ มา มันจะเลิกให้สาระ เลิกให้สาระสิง่ ใดมันก็จะสักว่าสิง่ นัน้ อยู่ในตัว สติ ปั ฏฐานสีส่ มบูรณ์หวั ใจอยู่ทต่ี อ้ งสักว่าทุกปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดในทุกฐานได้ โดย วิธรี ะลึกชอบด้วยอุบายชอบอันมีขนั ้ ตอนการฝึกแบบนี้ การปฏิบตั ธิ รรม แบบ อนาสวะ หมายถึงการปฏิบตั ธิ รรมทีเ่ ป็ นไป เพือ่ ไม่มอี าสวะ อน = ไม่ อาสวะ = ไหล อนาสวะจึงหมายถึง ไม่ไหล หยุดไหล (รวมการหยุดไหลทัง้ ไปทัง้ มาด้วย) การปฏิบตั แิ บบอนาสวะจึงหมายถึง การปฏิบตั เิ พือ่ หยุดไหลไปมา การหยุดไหลไปมาเป็ นคุณสมบัตขิ องนิพพาน การปฏิบตั ธิ รรมแบบนี้จงึ เป็ นการปฏิบตั เิ พือ่ หยุดการไปการมาซึง่ หมายถึงนิพพานนันเอง ่ มีคาตรัสของพระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ผูไ้ ด้ช่อื ว่าเป็ นอริยบุคคลใน หมู่กลั ยาณบุคคลได้จะต้อง รู้จกั สังขาร ๑ รู้เหตุให้เกิดสังขาร ๑ รู้ความ ๑๗๔


สมสุโขภิกขุ

ดับสังขาร ๑ รูว้ ธิ ดี บั สังขาร ๑ รูค้ รบสีอ่ ย่างจึงจะได้ช่อื ว่าเป็ นอริยบุคคลใน หมูก่ ลั ยาณบุคคล ค าว่ า สั ง ขารในพระสู ต รนี้ ม ิ ใ ช่ ส ัง ขารทั ว่ ๆไป แ ต่ พ ระองค์ หมายความเฉพาะปฏิกริ ยิ าทีอ่ วิชชาสร้างขึน้ มาเท่านัน้ ทีจ่ ะต้องฝึกดับ เรา จึงต้องมาทาความรูจ้ กั สังขารประเภทนี้ว่ามีทม่ี าทีไ่ ปอย่างไร ธรรมชาติเดิมแท้เมื่อมีผสั สะจะเกิดปฏิกริ ยิ าขึน้ มาตามธรรมชาติ เสมอไปอันเป็ นกฎตายตัวของธรรมชาติ เราก็เรียกสังขารเหมือนกัน แต่ สังขารแบบนี้แค่รจู้ กั ไม่ตอ้ งไปฝึกดับ เพราะสังขารประเภทปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้น นี้ มันจะมีความเป็ นธรรมดา มีความเสมอกันเท่ากันอยู่ในตัวปฏิกิรยิ า ทุกๆปฏิกริ ยิ า มันเป็ นธรรมชาติของมันเช่นนัน้ เอง(ตถตา) จึงไม่ต้องไป ยุ่งอะไรกับสังขารตัง้ ต้น แต่ทต่ี อ้ งสนใจคือปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้นนี้ถา้ อวิชชาธาตุ ธาตุเลวไม่มายุ่ง กับปฏิกริ ยิ าก็จะไม่มปี ั ญหาใดๆเกิดขึน้ แต่ปุถุชนมีอวิชชาครอบงาอยู่จน มีความเคยชิน(อนุสยั )ที่จะเข้ามายุ่งเกี่ยว อวิชชามีอนุสยั ย่อมมี อนุสยั มี จึงเกิดความเคยชินที่จะไหล(อาสวะ)ออกมาทาปฏิกริ ยิ ากับปฏิกริ ยิ าเดิม พืน้ จากปฏิกริ ยิ าทีไ่ ม่เป็ นปั ญหาอะไรกับชีวติ บุคคล ก็กลายเป็ นมีปัญหา ทันทีท่อี นุ สยั ไหลอาสวะออกมา อนุ สยั ที่ไหลออกมาเป็ นตัวปฐมคือ การ ให้สาระ ปุถุชนจะไม่รตู้ วั ไม่รจู้ กั ไม่รดู้ ว้ ยซ้าว่า ปัญหาชีวิตมันเริม่ จากจุด เล็กๆจุดนี้ จุดเดียว เมื่อ มีการให้ส าระกฎธรรมชาติอีกเช่นกันจะมีปฏิกิริ ยาต่อสิง่ ที่ อวิชชาไปให้สาระว่าสิง่ นัน้ "ไม่ธรรมดา" ความรู้สกึ ว่าสิง่ ที่ทาปฏิกริ ยิ า กันอยู่นัน้ ถ้าไม่มกี ารให้สาระมันก็จะไม่เกิดปฏิกริ ยิ าที่ธาตุเลวสร้างมา ซ้อนทับ แต่ถ้าให้สาระเมื่อใดมีปฏิกริ ยิ าว่ามีสาระ ว่าไม่ธรรมดา ซ้อนทับ ขึ้นมาทันที ดังนัน้ ตอนนี้ก็จะกลายเป็ น มีการไหลจากเดิมคือปฏิกิริยา ๑๗๕


ลมไหวใบไม้สงบ

พืน้ ๆทีเ่ ป็ นธรรมดา มากลายเป็ นของคู่ทนั ที คือมีสงิ่ ทีเ่ ป็ นธรรมดา กับสิง่ ที่ไม่ธรรมดา สิง่ ที่เป็ นธรรมดาปฏิกริ ยิ าอะไรเกิดมองเห็นเป็ นธรรมชาติ เป็ นธรรมดาไปหมด แบบนี้มนั เลยไม่มปี ั ญหา แต่อนุสยั เคยชินทีจ่ ะสร้าง ของคู่จงึ ไหลปฏิกริ ยิ าที่เป็ นของคู่ออกมา ผลก็คอื ชีวติ ปุถุชนผูถ้ ูกอวิชชา ครอบงากลายเป็ นผูม้ คี ติทวินิยมไปเรียบร้อยแล้ว คือมีความรูส้ กึ ธรรมดา กับไม่ธรรมดา ต่อมาสังขารความคิดมิได้หยุดแค่นัน้ มันจะให้สาระปฏิกิรยิ าที่ รูส้ กึ ว่าไม่ธรรมดาขึน้ มาอีกชัน้ หนึ่ง แล้วก็ไหลไปสร้างของคู่ให้ความรูส้ กึ ไม่ธรรมดาเพิม่ เติม เช่นสร้างความพอใจหรือไม่พอใจ จากเดิมของคู่ม ี ธรรมดากับไม่ธรรมดา ต่อมาที่คดิ ว่าไม่ธรรมดานัน้ ก็ไหลไปใส่บวกลบ เป็ นพอใจไม่พอใจเป็ นยินดียนิ ร้ายเป็ นถูกผิด เป็ นบวกลบ อวิชชาจะเก็บ ความเคยชินทีจ่ ะไหลนี้ไว้ใช้งานกับปฏิกริ ยิ าครัง้ ต่อๆไป ดังนัน้ ถ้าสังเกตให้ดๆี ธรรมชาติน้เี มือ่ มีปฏิกริ ยิ าใดๆเกิดขึน้ มันจะ มีสงั ขารความคิดอยู่สามประเภทเสมอไป คือธรรมดาๆ หรือไม่ก็ ยินดี หรือไม่ก็ ยินร้าย แล้วถ้ามีการให้สาระในความรูส้ กึ สามประเภทนี้ไปทาง ไหน สังขารความคิดก็จะปรุงความรูส้ กึ เป็ นของคู่อย่างใดอย่างออกมาอีก ถ้ายังไม่หยุดให้สาระการปรุงปฏิกริ ยิ าจะไม่มวี นั จบ คาว่ารู้จกั สังขารคือรู้จกั สังขารชนิดนี้ ว่ามีท่มี าที่ไปอย่างไร รู้จกั เหตุ ให้เกิดสัง ขารก็คอื การให้ส าระในปฏิกิรยิ าใดๆอนุ สยั มันจะไหลไป สร้างของคู่ข้นึ มา ไปให้สาระในของคู่ท่สี ร้างใหม่มนั ก็ไหลต่อไปเป็ นสัง สารวัฎฎ์ รู้จกั การดับสังขารในพระสูตรนี้จึงหมายถึงการหยุดไหล อนา สวะแปลว่าหยุดไหล หยุดไหลเมื่อใดก็พบนิพพาน แต่สงั เกตให้ดี เมื่อ สังขารที่เป็ นปฏิกริ ยิ าซ้อนทับ หยุดไหลแล้ว สังขารที่เป็ นปฏิกริ ยิ าตัง้ ต้น มิได้มกี ารไหลของอาสวะจึงไม่มกี ารหยุด แต่ปฏิกริ ยิ าประเภทนี้จะมีแต่ ๑๗๖


สมสุโขภิกขุ

ความรู้สกึ เป็ นธรรมดา ไม่ม ีบวกลบ ไม่มยี นิ ดียนิ ร้าย แต่เป็ นปฏิกริ ยิ าที่ มองทุกสิง่ ทุกอย่างเป็ นธรรมดาไปหมด เพราะไม่มคี ติทวินิยม(ความเป็ น ของคู่)นันเอง ่ และสิง่ ทีต่ อ้ งรูจ้ กั ตัวสุดท้ายคือรูจ้ กั วิธดี บั สังขาร หรือรูจ้ กั วิธี ทาให้อาสวะหยุดไหล สี่สงิ่ นี้ถ้าใครรู้จกั จนเห็นแจ้งและดับการไหลของ สัง ขารที่เป็ นของคู่ได้ พระพุทธเจ้าเรียกว่าเป็ นอริยบุคคลในหมู่บุคคล ทัว่ ไป ทุ ก คนสามารถก้าวขึ้น ไปยืน ในจุ ด นัน้ ได้ทุ ก คนถ้า รู้จกั สัม มัต ต ธรรมอนาสวะหรือรูจ้ กั วิธหี ยุดไหลของอาสวะด้วยสัมมาสติอนาสวะ ทุกๆปฏิกริ ยิ าเพียงแค่เศษเสีย้ วของวินาทีมนั กลายเป็ นปฏิกริ ยิ า ในอดีตไปแล้ว ไม่ใช่ของใครแล้ว หายไปแล้ว ดับไปแล้ว ไม่มอี ยู่จริงแล้ว ไม่ใช่สิ่ง ที่ม ีต ัวตนเป็ นตัวเป็ น ตนไปแล้ว ไร้ส าระ ไร้แก่น สารไปแล้ว มี สัม มาสติอนาสวะระลึกเช่นนี้ เพื่อ ทาตามคาตรัสของพุทธเจ้ าที่ตรัสว่า "อย่าอาลัยในอดีตทีล่ ่วงเลยผ่านไปแล้ว" ปฏิกริ ยิ าแม้ผ่านไปแค่เศษเสีย้ ววินาทีกเ็ ป็ นอดีต อย่าปล่อยให้จติ คติทวินิยมหลงมัวเมาหมกจมว่ามันเป็ นปั จจุบัน เด็ดขาด เพราะถ้าไม่ ระลึก ว่ า มัน เป็ น อดีต จิ ต คติท วินิ ย มมัน จะสร้า งปฏิกิริย าเป็ น สัง ขาร ความคิดที่เป็ นมิจฉาทิฐอิ นั ร้ายกาจว่ามันเป็ นปั จจุบนั และเป็ นปั จจุบนั ที่ เป็ นของกู กูทากูสร้างกูรู้กูได้กูเป็ นเจ้าของ สุดท้ายจึงมีตวั กูของกูผตู้ ้อง ได้รบั ผลกรรมที่จะเกิดขึน้ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ปลดปล่อยตนเองให้เป็ น อิสระจากกองทุกข์ดว้ ยสัมมาสติอนาสวะระลึกไว้ตลอดเวลาว่า "ปฏิกริ ยิ า อะไรทีเ่ กิดขึน้ มันล้วนแต่เป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ นัน้ " ประโยชน์ของการฝึ กสัมมาสติอนาสวะ สิง่ แรกที่จะได้รบั คือ ดับ สังขารเป็ น ต่อมาก็คอื ดับทุกข์เป็ น ต่อมาก็คอื ดับตัวกูของกูเป็ น ต่อมาก็ คือดับอาสวะเป็ น ต่อมาก็คอื ดับวัฏสงสารเป็ น ซึ่งนัน่ คือดับการเวียนว่าย ตายเกิดได้อย่างไม่มเี ศษเหลืออันเป็ นเบือ้ งสุดของการปฏิบตั ิ ๑๗๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ปุถชุ นคือปฏิ กิริยาธรรมชาติ ที่เดิ นอยูบ่ นทางสามแพร่ง

ทางแพร่งที่ ๑ ทางสายกลาง ทางสายตรง ทางสายเอก ทางสาย เดียว ทางสายธรรมชาติเดิมพืน้ ทางทีไ่ ม่ให้สาระกับสิง่ ใดๆ มองทุกอย่าง เป็ นเพียงแค่ปฏิกริ ยิ าทางธรรมชาติและเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ หมด เป็ น มายาเป็ นของไม่แท้ เป็ นของไม่จริง ไม่ใช่ตวั ตน ไม่ใ ช่ตวั เรา ไม่ใช่ตวั เขา ไม่ใช่ตวั ใคร ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ของเขา ไม่ใช่ของใคร ไร้สาระ ไร้แก่นสาร มีแต่ความเป็ นธรรมดา ไม่มบี วก ไม่มลี บ ไม่มยี นิ ดี ไม่มยี นิ ร้าย เพราะ ไม่ให้สาระกับปฏิกริ ยิ าใดๆ ปฏิกริ ยิ าใดๆจะเกิดจะดับก็เรื่องของปฏิกริ ยิ า มันเป็ นธรรมดา มันเป็ นธรรมชาติของมัน "เช่นนัน้ เอง" ทางแพร่งที่ ๒ ทางไม่ธรรมดาเชิงบวก เพราะมีเจตนา มีจงใจ มี การให้สาระ จึงมีความรู้สกึ ว่าสิง่ ที่ให้สาระมีความไม่ธรรมดาเกิดขึน้ จึง เกิดปฏิกริ ยิ าคติทวินิยมฝ่ ายบวก ฝ่ ายน่ายินดี และถ้ามีการให้สาระต่อไป ปฏิกริ ยิ าฝ่ ายบวกจะแตกแขนงออกไปเป็ นหลายแสนหลายล้านปฏิกริ ยิ า แต่ละปฏิกิรยิ านามาซึ่งความทุกข์ จะจัดการถอยกลับไปสู่ทางสายตรง สายความเป็ น "ธรรมดา" ได้ ต้องใช้สมั มาสติอนาสวะระลึกชอบด้วยอุบาย ๑๗๘


สมสุโขภิกขุ

ชอบเช่น "ไร้สาระอย่าคิดอย่างนัน้ มันเป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ไม่มสี าระ แก่น สาร เป็ น ปฏิกิริยาในอดีต ทัง้ นัน้ ไม่ม ีอ ยู่ จริง ไม่ใช่ของจริง ไม่ใช่ ตัวตนของเราของเขาของใคร ไม่ใช่ตวั ตนเราเขาหรือใครทา มันหายไป แล้วดับไปสิน้ ไปแล้วไม่ได้เป็ นของใครแล้ว" ทางแพร่งที่ ๓ ทางสายไม่ธรรมดาเชิงลบ เพราะมีเจตนา มีจงใจ มีการให้สาระ จึงมีความรูส้ กึ ว่าสิง่ ทีใ่ ห้สาระมีความไม่ธรรมดาเกิดขึน้ แต่ คราวนี้เกิดปฏิกิรยิ าคติทวินิยมฝ่ ายลบ ฝ่ ายน่ ายินร้ายถ้ามีการให้สาระ ต่อไปจะเกิดปฏิกิริยาฝ่ ายลบ ฝ่ ายยินร้าย และถ้ายังหยุดให้สาระไม่ได้ ย่อมแตกแขนงเป็ นปฏิกริ ยิ านับล้านๆปฏิกริ ยิ าเฉกเช่นฝ่ ายบวก วิธกี ลับ ไปสู่ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้คอื กลับไปสู่ความเป็ นธรรมดาไม่บวกไม่ลบ ต้องใช้ สัม มาสติอ นาสวะระลึก ชอบด้ว ยอุบ ายชอบแบบเดีย วกับ ที่จ ัด การกับ ปฏิกริ ยิ าคติทวินิยมฝ่ ายบวก ชีวติ ปุถุชนจะเดินวนไปมาระหว่างทางสามแพร่งตลอดเวลา เดีย๋ ว ไปให้สาระกับปฏิกริ ยิ าฝ่ ายน่ ายินดี เดีย๋ วไปให้สาระกับปฏิกริ ยิ าฝ่ ายน่ า ยิน ร้า ย เดี๋ย วกลับ มาสู่ป ฏิกิริย าเดิม แท้ไ ม่ยิน ดี ยิน ร้า ย ไม่ใ ห้ส าระกับ ปฏิกิรยิ าใดๆ แต่ได้ชวครั ั ่ ง้ ชัวคราว ่ ก็ไหลไปทาปฏิกิรยิ าน่ า ยินดีน่ายิน ร้ายต่อไป เวียนวนเป็ นวัฏฏะเช่นนี้มานานนับเป็ นกัปป์ เป็ นกัลป์ ถ้ายังมี การ "ให้สาระ" กับสิง่ ต่างๆต่อไป ก็ต้องเวียนวนอยู่ในวัฏสงสารอีกหลาย กัปป์ หลายกัลป์ อย่างแน่นอน เพราะไปให้สาระในสิง่ ที่พระพุทธเจ้าตรัส ห้ามเอาไว้ว่า "เราบอกเธอแล้ว สาระไม่มใี นขันธ์ทงั ้ หลาย" ใครไม่อ ยากเวียนวนในวัฏ ฏะอีกต่อ ไปจงฝึ กสัมมาสติอนาสวะ ระลึกตามจริงว่า "มันเป็ นปฏิกริ ยิ า ทีไ่ ร้สาระ ทีเ่ ป็ นอดีต ทีเ่ ป็ นของไม่จริง ทีเ่ ป็ นของดับไปแล้ว ทีเ่ ป็ นของใครไม่ได้ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ ป็ นธรรมดา ปฏิกริ ยิ า ทีไ่ ม่ใช่ตวั กู ปฏิกริ ยิ าทีไ่ ม่ใช่คนสัตว์สงิ่ ของ ปฏิกริ ยิ าทีไ่ ม่ใช่ตวั เราตัวเขา ๑๗๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ตัว ใครหรือ ของเราของเขาของใคร" จะเห็น ว่ า ธรรมชาติม ีค วามเป็ น ธรรมดา ปฏิกริ ยิ าต่างๆในธรรมชาติคอื ของธรรมดา แต่พอให้สาระสิง่ ใด มัน จะเกิดความรู้ส ึกว่าสิ่ง นั ้น ไม่ธรรมดาขึ้น มาทัน ที แล้วความรู้ส ึกไม่ ธรรมดามันก็จะสร้างเป็ นไม่ธรรมดาด้านบวกไม่ธรรมดาด้านลบ แล้วก็ สร้างคติทวินิยมคือของคู่เช่นนี้ต่อไปไม่รจู้ บ แต่ถ้าไหลกลับไปรูส้ กึ อะไรๆ ก็ธรรมดา ความรู้สกึ เป็ นคู่จะหายไปทันที ดังนัน้ การระลึกว่าทุกสิง่ เป็ น ของธรรมดาเป็ นสิง่ ที่ทาให้ชวี ติ ยังดาเนินต่อไปได้ แต่ความรู้สกึ ต่างไป จากเดิมเป็ นไปในทางทีด่ ขี น้ึ ประเสริฐขึน้ สิง่ เลวๆทุกชนิดเท่านัน้ ทีห่ ายไป เหลือแต่ความธรรมดาซึง่ เป็ นสิง่ ทีม่ อี ยู่แล้ว กิง่ ก้านสาขาแขนขาทีอ่ วิชชา สร้า งจากความรู้ส ึก ว่ า ไม่ธ รรมดา บวกลบยิน ดียิน ร้า ยอะไรแบบนี้จะ หายไป ไม่เกิดกับผูบ้ รรลุธรรมอีกแล้ว ทุกข์จงึ เกิดไม่ได้ นี่คอื จุดสูงสุดของ พุทธศาสนา ขันธ์ห้าของเราแรกเริม่ ที่รวมตัวกันจนเกิดมาเป็ นตัวตน ตัง้ แต่ เมือ่ ใดเพราะอะไรเราไม่มที างรู้ มันเป็ นอจินไตย(สิง่ ทีร่ ไู้ ม่ได้) แต่ทเ่ี ราเกิด มาในชาติน้ีเป็ น เพราะขัน ธ์ในอดีต เมื่อชาติ ท่ีแ ล้ว ซึ่ง จะเป็ นอะไรก็ไม่ จาเป็ นต้องรู้ จงรู้เพียงแต่ว่า สังขารเราในชาติท่แี ล้ วมันมีธาตุเลวสามตัว มันให้สาระในสิง่ ต่างๆอยู่ เราเลยต้องมาเกิด ดังนัน้ ถ้าเรายังให้สาระสิง่ ใดๆอยู่ เราก็ตอ้ งไปเกิดต่อ วงจรปฏิจจสมุปบาทก็ตอ้ งไหลต่อไป ถึงเวลา หรือ ยัง ที่ค วรหยุ ดเสีย ที พอเสีย ที เลิก ให้ส าระให้เ กลี้ย งเสียแต่ ชาติน้ี ความเกิดจะได้ไม่ตอ้ งมีอกี ต่อไป

๑๘๐


สมสุโขภิกขุ

ให้สาระก็ย่อมมียินดียินร้าย ไร้สาระก็ไม่มียน ิ ดียน ิ ร้าย ให้สาระก็เดินไปบนทางสามแพร่ง ไร้สาระก็เดินบนทางสายกลางสายเดียว เป็นทางสายตรงสายเอกสายธรรมดาๆ เส้นทางสายนี้คือเส้นทางสายดับวงจรปฏิจจสมุปบาท ถ้าเดินแยกออกไปไม่ว่าจะทางซ้ายหรือขวา

วงจรปฏิจจสมุปบาทเกิดทันที มีทุกข์เป็นสถานีปลายทาง แต่ถ้าเดินตรงไปไม่เลี้ยวซ้ายไม่เลี้ยวขวา

มีสัมมาทิฐิอนาสวะเป็นลายแทงนำทาง มีสัมมาสติอนาสวะเป็นสารถี มีสัมมาสมาธิอนาสวะเป็นราชรถ มีสัมมาญาณะอนาสวะเป็นแสงส่องทาง มีสัมมาวิมุตติอนาสวะเป็นจุดหมายปลายทาง วงจรปฏิจจสมุปบาทย่อมขาดสะบั้น ทุกข์ใดๆในโลกก็จะมากล้ำกลายมิได้เลย

๑๘๑


ลมไหวใบไม้สงบ

ห่วงโซ่ปฏิจจสมุปบาท สายเกิ ด อวิชชามี สังขารจึงมี สังขารมี วิญญาณจึงมี วิญญาณมี นามรูปจึงมี นามรูปมี อายตนะจึงมี อายตนะมี ผัสสะจึงมี ผัสสะมี เวทนาจึงมี เวทนามี ตัณหาจึงมี ตัณหามี อุปาทานจึงมี อุปาทานมี ภพจึงมี ภพมี ชาติจงึ มี ชาติมี ทุกข์จงึ มี ทุกข์มี อวิชชาจึงมี

สายดับ อวิชชาดับ สังขารจึงดับ สังขารดับ วิญญาณจึงดับ วิญญาณดับ นามรูปจึงดับ นามรูปดับ อายตนะจึงดับ อายตนะดับ ผัสสะจึงดับ ผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เวทนาดับ ตัณหาจึงดับ ตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ อุปาทานดับ ภพจึงดับ ภพดับ ชาติจงึ ดับ ชาติดบั ทุกข์จงึ ดับ ทุกข์ดบั อวิชชาจึงดับ

ตัดห่วงโซ่ปฏิ จจสมุปบาทให้ขาดด้วยสัมมาสติ อนาสวะ โดยใช้อบุ าย มันไร้สาระ + มันเป็ นปฏิ กิริยาในอดีต วิธที ง่ี า่ ยควรเริม่ ต้นฝึกตัง้ แต่ผสั สะเป็ นต้นไป เรามาดู ก่ อ นว่ า สาเหตุ ท่ี ว งจรปฏิ จ จสมุ ป บาท เกิด ขึ้น มาได้ อย่างไร การให้สาระคือไม้ขดี ไฟที่ช่วยจุด ชนวนให้วงจรปฏิจจสมุปบาท เกิด แล้วมีการให้สาระสืบต่อไป วงจรปฏิจจสมุปบาทก็จะคงสภาพของมัน สืบต่อไป ถ้าจะตัดห่วงโซ่ปฏิจจสมุปบาทจึงต้องตัดด้วยสัมมาสติอนาสวะ มาระลึกชอบด้วยอุบายมันไร้สาระหรืออุบายมันเป็ นอดีต (อุบายอื่นๆ ยากกว่าสองอุบายนี้มาก) ๑๘๒


สมสุโขภิกขุ

ดังนัน้ มีการให้สาระในผัสสะ ผัสสะจึงมี(ระลึกตามความจริงไป ด้วยเช่นพอมีผสั สะใดๆเกิดถ้าเราไม่ให้สาระมันจะเหมือนไม่มผี สั สะใดๆ เกิด พอให้สาระเราจึงรูท้ นั ทีว่ามีอะไรเกิด) ถ้าเราสามารถมีสติเลิกให้สาระ ตรงผัสสะทันก็ระลึกในทันทีว่าสิง่ ที่มาผัสสะมันไร้สาระ ผัสสะจะกลายเป็ น ผัสสะสักว่าผัสสะทันที ผัสสะดับแค่ตรงนัน้ ไม่ปรุงต่อเป็ นเวทนา เรียกว่า ห่วงโซ่ปฏิจจสมุปบาทขาดเรียบร้อยแล้ว เวทนาตัณหาอุปาทานภพชาติ ทุกข์ก็ไม่สามารถเกิดได้ ทุก ข์ดบั อวิชชาสังขารวิญญาณภพชาติก็จะดับ ตาม แต่แรกๆทีเ่ ริม่ ฝึก มันจะดับชัว่ คราว อวิชชาสังขารวิญญาณนามรูป อายตนะจึง ยัง มีอ ยู่หรือ ดับแต่ ดบั ชัวคราวมี ่ การเกิดใหม่ได้ แต่ อ ธิบาย เพื่อให้รู้กลไกการเกิดการดับของห่วงโซ่ปฏิจจสมุปบาทอาการแรกคือ ผัสสะอย่างง่ายๆก่อ นเพื่อ จะได้เ ข้าใจอาการอื่น ๆซึ่งมีการเกิดและดับ คล้ายคลึงกัน ถ้ า ดับ ที่ผ ัส สะไม่ท ัน ปล่ อ ยให้ม ีเ จตนามีก ารให้ส าระในผัส สะ เรียบร้อยแล้ว เขาเรียกว่าโง่เรื่องผัสสะ อนุสยั จะไหลอาสวะมาทาปฏิกริ ยิ า สร้างของคู่ขน้ึ มาทันที จะเป็ นของคู่ฝ่ายบวกหรือฝ่ ายลบตามแต่เหตุปัจจัย ของคู่ท่เี กิดคือเวทนาพอใจ(ของคู่ฝ่ายบวก)หรือไม่พอใจ(ของคู่ฝ่ายลบ) เราก็สามารถมาเลิกให้สาระในเวทนาได้ ถ้ามีสติระลึกทันว่า พอใจก็ไร้ สาระ อาการพอใจทีเ่ กิดมันเป็ นอดีตไปแล้ว อดีตมันพอใจไม่ใช่เราพอใจ หรือถ้ามันเกิดไม่พอใจก็ระลึกแบบเดียวกัน ไร้สาระอย่าไปไม่พอใจ มัน เป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าในอดีตมันหายไปแล้วมันจบไปแล้วไม่มอี ยู่จริงแล้วไม่ใช่ ของเราแล้ว ขัน ธ์ในอดีตมันไม่พอใจไม่ใช่ตวั เราตัวเขาตัวใครไม่พอใจ อย่างนี้เป็ นต้น ถ้าระลึกทัน เวทนาก็จะดับ อนุ สยั ไม่สามารถไหลอาสวะ ไปสร้ า งตัณ หาขึ้น มาได้ ห่ ว งโซ่ ป ฏิ จ จสมุ ป บาทก็ ข าดสะบัน้ ทัน ที ปฏิจจสมุปบาทก็จะดับตลอดสาย ปฏิจจสมุปบาทนัน้ ดับทีอ่ าการใด จะดับ ๑๘๓


ลมไหวใบไม้สงบ

ได้หมดทัง้ ๑๒ อาการ แต่ ถ้าดับไม่ได้ หากไม่มกี ารให้สาระ ปฏิจจสมุป บาทก็ด ับ ลงไปเหมือ นกัน แบบนี้ เ รีย กว่ า ธรรมชาติม ัน ดับ ของมัน เอง เพราะอาการปฏิจจสมุปบาทเรื่องนัน้ เรามีการให้สาระน้อยมากจึงไม่ม ี กาลังพอที่จะไปสร้างความอยากหรือไม่อยากต่อไปได้ แต่ถ้าดับไม่ได้ หรือ ดับ ไม่ท ัน อนุ ส ัย ความเคยชิน ในเรื่อ งนัน้ มีก าลัง แรงกล้า มากกว่ า อนุ สยั ก็จะไหลไปให้สาระกับความพอใจหรือไม่พอใจ จึงเกิดความอยาก หรือไม่อยาก หรือเกิดตัณหาเป็ นลาดับต่อไป เราจึงต้องมีงานทาต่อไปถ้า ไม่อยากเป็ นทุกข์ ดับตัณหาด้วยอุบายไร้สาระและอุบายมันเป็ นอดีต เมื่อมีเวทนาพอใจหรือไม่พอใจไหลออกมา และเราไม่สามารถมี สติดบั ได้ทนั เพราะความไม่รู้(อวิชา) ว่าความพอใจหรือไม่พอใจมันเป็ น ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ ไม่มสี าระแก่นสาร ไม่ใช่เวทนาของเรา มันเป็ นอดีตไป เรีย บร้อ ยแล้ว มัน จึง หายไปแล้ว ไม่ ม ีอ ยู่ จ ริ ง แล้ว เวทนาจึง เป็ น แค่ ปฏิกิรยิ าที่ไม่มเี จ้าของ แต่อวิชชาธาตุเลวไม่รู้ความจริงข้อนี้ จึงไหลอา สวะออกมาให้สาระสาคัญในเวทนา ปฏิกิรยิ าของตัณหาจึงเกิดตามมา เป็ นอยากดึงเข้ามาหรืออยากผลักไสออกไป เวทนาพอใจก็อยากดึงอยาก ได้อยากให้สงิ่ นัน้ มาเป็ นของตัว เวทนาไม่พอใจก็อยากผลักไสปฏิกริ ยิ า นัน้ ๆออกไปไม่อยากได้ไม่ต้องการ แต่ท่นี ่ าสงสารอย่างยิง่ ก็คอื ปุถุชนจะ ไม่รเู้ ลยว่าเกิดอะไรขึน้ ไม่รดู้ ว้ ยซ้าว่าเพราะไปให้สาระกับเวทนาจึงทาให้ มีการไหลของอาสวะเกิดขึน้ มา แต่บางครัง้ เวทนาพอใจหรือไม่พอใจมิได้ มีกาลังกล้ามากนัก มันอาจอ่อนแรงคลายการให้สาระในเวทนาโดยตัว ธรรมชาติเอง ตัณหาความอยากจะท าสิ่ง หนึ่ ง สิ่ง ใดจึง ไม่เกิด วิถีชีวิต ปุถุชนจึงเดินอยู่บนทางสามแพร่งตลอดเวลา โดยไม่รู้ตวั ว่าทาไมจึงเป็ น ๑๘๔


สมสุโขภิกขุ

เช่นนัน้ เพราะความรูส้ กึ ว่ามันมีสาระเป็ นความรูส้ กึ ทีก่ ลายเป็ นอนุสยั แล้ว นัน้ มันเกิดรวดเร็วและไวมากจนปุถุชนธรรมดาๆจะไม่รเู้ ลยว่าความรูส้ กึ ชนิดนี้มนั มีอยู่ ด้วยเหตุน้ีพระพุทธเจ้าจึงได้หาอุบายชนิดหนามยอกเอา หนามบ่ง คือให้สาวกเริม่ ฝึกไร้สาระกับทุกสรรพสิง่ ก่อน ดังเช่นทีพ่ ระองค์ ตรัสว่า "สาระไม่มีในเบญจขันธ์" พระองค์หมายความตามนัน้ จริงๆ พระองค์มไิ ด้ยกเว้นว่ามีสงิ่ ใดมีสาระเลย เพื่อที่จะให้สาวกรู้จกั ความว่าง จากการปรุงให้ได้ก่อน เพราะต้องปฏิบตั ติ ามคาตรัสของพระองค์เท่านัน้ จึงจะเห็นแจ้งขึน้ มาในใจภายหลังว่าทุกปั ญหามันเกิดจากการให้สาระ ฝึก ไร้สาระคือการฝึกเลิกให้สาระ เมื่อเลิกให้สาระได้ ปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเดิม แท้ท่เี ป็ นกลางเป็ นธรรมดาเป็ นปกติวสิ ยั เป็ นธรรมดาที่ไม่มขี องคู่ไม่ม ี บวกลบเข้ามาเกีย่ วเนื่องจึงจะปรากฏ ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้ปรากฏความเข้าใจ ในตัวธรรมชาติแท้ๆกับปฏิกริ ยิ าธรรมชาติเทียมๆมันจะปรากฏให้เกิดการ เปรียบเทียบ ถึงตอนนัน้ สัมมาญาณะอนาสวะมันจะเกิดขึน้ มาเอง ว่าอะไร เป็ นอะไร อะไรทาให้ปฏิจจสมุปบาทเกิด และจะดับด้วยวิธใี ด ดังนัน้ แม้ว่าเราจะดับไม่ทนั ตอนอาการเวทนาเกิด เราก็มาฝึกดับ ตอนตัณหาเกิด คือเมื่อมีความอยากหรือไม่อยากเกิดขึน้ ก็รบี มีสติระลึก ชอบด้วยอุบาย ไร้สาระอย่าไปอยากหรือไม่อยาก หรือมันเป็ นอดีต หรือ มั น เป็ นของไม่ จ ริ ง ดั บ ตั ณ หาความอยากหรื อ ไม่ อ ยากให้ ไ ด้ วง จรปฏิ จ จสมุ ป บาทก็ ด ับ ตลอดสายได้ เ หมือ นกั น ต้ อ งฝึ ก มากๆ ฝึ ก จริงๆจังๆ วิธดี บั สังขารประเภทตัณหาต้องทาเช่นนี้ ต้องดับทีต่ ้นตอของ ปั ญหา ถ้าไปดับทีอ่ ่นื โดยการให้สาระยังมีอยู่ มันต้องไหลไปเป็ นอุปาทาน คือความยึดมั ่นถือมั ่น เพราะให้สาระจึงมีความยึดมั ่นถือมั ่น ถ้าไม่ให้สาระ จะไม่มคี วามยึดมันถื ่ อมั ่นเลย อาจมีการเรียนการสอนกันอยู่มากเรื่องอย่า ไปยึดมั ่นถือมั ่น แต่การสอนว่าทาอย่างไรจึงจะไม่ยดึ มั ่นถือมั ่น เกือบไม่ม ี ๑๘๕


ลมไหวใบไม้สงบ

ใครสอนใครพูดถึง ทุกคนจึงรู้จกั แต่คาสอนในตาราจะทาจริงๆจนไม่ยดึ มันถื ่ อมั ่นเลยไม่มใี ครรูว้ ่าจะต้องทาอย่างไร พอมีใครมาสอนวิธเี ลิกอยาก เลิกยึดด้วยถ้อยคาง่ายๆวิธงี ่ายๆแม้พระพุทธเจ้าตรัสไว้ หลายคนทีไ่ ม่ม ี วันเชื่อ เพราะอนุสยั ความเคยชินที่สร้างของคู่ว่ามีถูกผิด และให้สาระใน คาสอนที่ตนเองยึดมั ่นถือมั ่นเรียบร้อยแล้ว กลายเป็ นอาสวะที่พร้อมจะ ไหลออกมาทันทีถ้ามีคาสอนผิดไปจากสิง่ ที่ตนยึดถืออยู่ เลยกลายเป็ น ธรรมะทีต่ นยึดนันแหละคื ่ อสิง่ ทีเ่ ป็ นโทษเป็ นพิษเป็ นภัยต่อการปฏิบตั ขิ อง ตน ใครทีค่ า้ นแย้งในใจว่าดับสังขารความคิดเป็ นเรื่องผิดเป็ นเรื่องเป็ นไป ไม่ได้ หรือเลิกให้สาระเป็ นเรื่องผิดเป็ นเรื่องเป็ นไปไม่ได้ การคิดเช่นนัน้ คือการค้านแย้งพระพุทธเจ้าตรงๆ แต่อนุ สยั ความเคยชินมันไหลอาสวะ ออกมาปิ ดบังปั ญญา เลยมิได้ฉุกคิดข้อนัน้ จึงค้านแย้งไว้ก่อนและไม่ยอม ฝึ กตามคาตรัสเลยหมดโอกาสรู้ความจริง การให้สาระ หรือความรูส้ กึ ว่า ทุกสิง่ เป็ นของจริง จึงมีกาลังเพิม่ มากขึน้ เป็ นเงาตามตัวในทุกครัง้ ทีม่ กี าร ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิไปให้สาระไป เห็นว่าจริงไป ยิง่ ปฏิบตั ิจึงยิง่ อยากยิง่ เกิด ความรู้สึก ไม่ ธ รรมดา ยิ่ง ไหลไปแสวงหาความรู้ส ึก ว่ า สิ่ง นั น้ สิ่ง นี้ ไ ม่ ธรรมดา ก็ก่อความอยากได้สงิ่ ทีไ่ ม่ธรรมดา โดยไม่รตู้ วั ทุกคนจะรูต้ วั ว่า ตนปฏิบตั ไิ ปก่ออนุสยั ไปก่ออาสวะไปก็ต่อเมื่อรูจ้ กั ไร้ส าระได้ไร้สาระเป็ น ไร้สาระได้เมื่อใด เขาอาจจะดับวงจรปฏิจจสมุ ปบาทได้ตงั ้ แต่เวทนาโน่น แล้วก็ได้ไม่ปล่อยให้เลยมาดับถึงตัณหา แต่เพราะไม่รู้ จงึ ยังมีการให้สาระ หลายๆสิ่ง อยู่จนเคยชิน ที่จะไหลไปให้ส าระ ย่อ มดับตัณหาไม่ได้ เป็ น ภาระทีต่ ้องไปพยายามดับทีอ่ ุปาทานกันต่อไป ซึ่งถ้าดับทีอ่ ุปาทานไม่ได้ จะยิง่ อับจนหนทางมากยิง่ ขึน้

๑๘๖


สมสุโขภิกขุ

ดับอุปาทาน ภพ ชาติ ด้วยอุบายแยบคาย ถ้าไม่สามารถเลิกให้สาระตรงตัณหาได้ ย่อมเกิดความยึดมั ่นถือ มันในความอยากนั ่ น้ ๆ อัตราความยึดมั ่นถือมันขึ ่ น้ อยู่กบั การให้สาระมาก หรือน้อย ให้สาระมากก็อยากมากยึดมาก ให้สาระน้ อยก็อยากน้อยยึด น้อย ความยึดมั ่น(อุปาทาน)จะถูกสะสมไว้ในรูปของอนุสยั ทีพ่ ร้อมจะไหล เป็ น อาสวะออกมา และเป็ นเรื่องยากมากที่ปุถุ ชนจะรู้จกั อุปาทานหรือ ความยึดมั ่นถือมั ่น จะรู้จกั มันก็รู้จกั ตอนที่มนั ไหล(อาสวะ)ออกมาในรูป ของภพ(ความมีความเป็ น) ความยึดมั ่นหรืออุปาทานเป็ นเหมือนแรงดันที่ จะขับเคลื่อนอาสวะให้ไหลมากหรือน้อยหรือไม่ไหล ตามความเข้มข้นของ การให้สาระ ให้สาระในสิง่ ทีอ่ ยากมากย่อมยึดมากแรงดันจึงมาก การไหล ของอาสวะทีจ่ ะออกมาก่อความมีความเป็ นตัวตนตัวกูทงั ้ ของผูอ้ ยากผูย้ ดึ และสิง่ ที่ถูกอยากถูกยึดให้เข้มข้นมากตามไปด้วย การให้สาระในความ อยากความยึดแต่ละครัง้ จะถูกเก็บสะสมไว้ในอนุ สยั ซึ่งจะมีอิทธิพลต่อ การสร้างภพสร้างชาติในอนาคตต่อ ไป ให้ส าระในความอยากเรื่อ งใด ความยึดมั ่นยิง่ พอกพูนจึงยิง่ มีแรงดันมากจนสามารถไหลอาสวะออกมา สร้างปฏิกริ ยิ าต่างๆได้รอ้ ยแปด สร้างปฏิกริ ยิ าทัง้ ต่อสิง่ ทีอ่ ยากตรงๆ หรือ สร้างปฏิกริ ยิ าแวดล้อมต่อสิง่ อื่นๆได้ทงั ้ นัน้ ความอยากความยึดที่ถูกให้ สาระจึงสามารถมีอิทธิพลต่อการสร้างภพสร้างชาติอย่างไม่ม ี ขอบเขต จากัด จะเป็ นตัวครอบงาให้เกิดปฏิกริ ยิ าสร้างความมีความเป็ นตัวตนของ ทุกๆสรรพสิง่ และสร้างตัวกูของกูทนั ทีทเ่ี ข้าไปเกีย่ วข้องกับสิง่ ใด ด้วยเหตุ นี้มอี ยาก(ตัณหา)มียดึ (อุปาทาน)จึงมีตวั กูของกู(ชาติ) และมีตวั ตนของสิง่ ที่ถู ก อยากถู ก ยึด เสมอไป การดับ อุ ป าทานภพชาติจึง เป็ น การดับ ที่

๑๘๗


ลมไหวใบไม้สงบ

ยากลาบากมาก จาเป็ นที่จะต้องมีความชานาญในการเลิกให้สาระ หรือ รูจ้ กั วิธดี บั สังขารเป็ นอย่างดี จึงจะสามารถดับอุปาทานภพชาติได้สาเร็จ นักปฏิบตั ิจึงควรฝึ กดับที่ความอยากให้ทนั ให้เก่ง อย่าปล่อยให้ เกิดความอยากแล้วเลิกให้สาระไม่ได้จนกลายเป็ นความยึด พอเป็ นความ ยึดเมื่อใดเป็ นงานยากทีจ่ ะดับมัน ตัวอุปาทานหรือความยึดมั ่นถือมั ่นเป็ น สิง่ ที่ปุถุชนธรรมดาจะไม่มโี อกาสรู้จกั มัน ใคร่ครวญตามความจริงดูก็ได้ ความอยากเกิดเรามีโอกาสรูต้ วั ภพความรูส้ กึ ว่ามีว่าจริงว่าได้ว่าเป็ น เรา พอรู้จกั ตัวกูของกูเกิดก็พอสังเกตเห็น แต่ความยึดนี่เป็ นสิง่ ยากแท้หยั ่ง ถึง พระพุทธเจ้ายังตรัสไว้ในพระสูตรบทหนึ่งว่า อนาคามีท่ไี ม่สามารถ บรรลุ ธ รรมตอนเป็ น มนุ ษ ย์ต้อ งไปบรรลุธ รรมตอนเป็ น พรหมก็เ พราะ อุป าทาน คือ มองไม่เห็นอุปาทานบางตัวที่มอี ยู่เลยดับอุปาทานตัวนัน้ ไม่ ไ ด้ ต้ อ งรอจนกว่ า จะเห็ น แล้ ว ไปได้ ส าเร็ จ ดับ บนพรหมโลกโน่ น อุปาทานความยึดมั ่นถือมั ่นเป็ นสภาวธรรมทีเ่ ข้าถึงยากทีส่ ุด แม้อุปาทาน เป็ น เหตุ ปั จ จัย สร้า งภพชาติช รามรณะและทุ ก ข์ก็ต าม แต่ ปุ ถุ ช นกลับ เข้าถึงภพภาวะความมีความเป็ น ชาติความรู้สกึ ว่ามีตวั กูของกูและตัวตน ของสรรพสิง่ เพราะกฎธรรมชาติมนั เป็ นเช่นนี้ ภพเกิดทีหลังอุปาทาน แต่ การดับภพสามารถดับได้งา่ ยกว่าอุปาทาน เพราะภพเป็ นสิง่ ทีเ่ รามองเห็น อาการที่มนั แสดงออกมา แต่อุปาทาน ต้องดับภพดับชาติเก่งๆ ว่างจาก ภพจริงๆจึงจะเห็นปฏิกริ ยิ าของอุปาทานทีพ่ ยายามจะสร้างภพ เห็นความ อยากก็เห็นง่าย แต่ความอยากทีค่ ่อยๆก่อตัวเป็ นความยึดแล้วฝั งตัวเป็ น ความเคยชินที่จะก่อปฏิกริ ยิ านานัปการนัน้ กลับเห็นยาก จะเห็นก็เห็นที่ ผลตอนทีอ่ ุปาทานมันดันอาสวะให้ไหลออกมาทาปฏิกริ ยิ ากับสังขารอื่นๆ คือไหลอาสวะออกมาก่อความรู้สกึ ว่ามีว่าจริงว่าได้ว่าเป็ น รวมทัง้ ไหล ออกมาสร้า งความรู้ส ึกว่ ามีส าระ เป็ น ผลมาจากอิทธิพลของอุป าทาน ๑๘๘


สมสุโขภิกขุ

ทัง้ นัน้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสไว้ว่า ผูใ้ ดเห็นแจ้งแทงตลอดในธรรมในอรรถ ย่อ มสามารถบรรลุธรรมเป็ น พระอรหันต์ในชาติน้ี แต่ ถ้ายัง มีอุป าทาน เหลืออยู่ย่อมได้เป็ นอนาคามีไปบรรลุธรรมในพรหมโลก เราจึงต้องเก็บ อุปาทานไว้ดบั ในตอนสุดท้ายของการปฏิบตั ิ แต่เราต้องรูจ้ กั อิทธิ พลของ อุปาทานแล้วระลึกชอบเลิกให้สาระตอนทีอ่ ุปาทานมันไหลอาสวะออกมา สร้างภพ จัดการเลิกให้สาระตอนภพเกิดหรือหลังภพเกิดหรือหลังชาติ(ตัว กู)เกิดได้ทงั ้ นัน้ เพราะอุปาทานภพชาติมนั เกี่ยวพันกันอยู่ชนิดที่ผู้เริ่ม ปฏิบตั แิ ทบแยกไม่ออก จึงยังไม่ควรไปแยกดับทีละตัว จงฝึกดับทีอ่ าการ ร่วมของทัง้ สามตอนทีม่ นั ทาปฏิกริ ยิ ากับสังขารอื่นๆ ทีน้เี รามาดูกนั ว่า ถ้าเราดับความอยากไม่ได้มนั ไหลมายึดเสียแล้ว สิ่ง ที่จะเกิดตามมาคือความรู้สกึ ว่า มี ขอให้จบั เฉพาะภพตัวนี้ก่อนเป็ น อันดับแรก คือมีความรูส้ กึ ว่ามีอะไรขึน้ มาให้รบี ระลึกทันทีว่าไร้สาระอย่า คิดแบบนัน้ อย่ารูส้ กึ แบบนัน้ คือปรุงว่ามีอะไรขึน้ มาในความรูส้ กึ หยุดมัน ให้ไ ด้ใ นทัน ที มีล าภยศสรรเสริญ มีท รัพ ย์ม ีค รอบครัว มีบุ ต รธิด า ดับ ความรูส้ กึ นัน้ ทันที ไปคอยเฝ้ าระวังดูและฝึกกันเอาเอง ความรูส้ กึ ว่ามีหา ไม่ยาก แต่ให้เฝ้ าระวังเก่งกาจปานใดภพภาวะความมีความเป็ นก็ยงั เล็ด ลอดไหลออกมาสร้างความรูส้ กึ ว่ามีตวั กูของกูจนได้ นี่คอื ชาติเกิดแล้ว ก็ ฝึกดับทีต่ รงชาติดว้ ย คือฝึกระลึกว่าไร้สาระอย่าไปคิดมันตอนตัวกูของกู เกิด ซึ่งต้องเพ่งพยายามหาความรู้สกึ ชนิดนี้ให้ละเอียดหาให้พบแล้วฝึก เลิกคิดว่ามีตวั กูของกูให้ได้ ส่วนทุกข์มนั เป็ นผล เราไม่สามารถไปดับที่ ทุ ก ข์ ต รงๆได้ เ ราต้ อ งดับ ที่ต้ น เหตุ ก่ อ นมัน จะไหลมาท าให้ เ กิด ทุ ก ข์ ปฏิจจสมุปบาทดับที่อาการได้สาเร็จทุกข์จะดับไปเอง จึงเพ่ งแค่ดูผลว่า ปฏิบตั แิ บบนี้อุบายแบบนี้แล้วทุกข์ไม่เกิดทุกข์ดบั ไป ก็ย่อมแสดงว่าเราตัด วงจรปฏิจจสมุปบาทสาเร็จ ขอให้สงั เกตให้ดๆี จะเห็นว่า สิง่ แรกเลยมีการ ๑๘๙


ลมไหวใบไม้สงบ

ให้สาระขึน้ มาไม่ว่าตรงอาการใดจุดใด ปฏิจจสมุปบาทเกิดครบวงจรทันที ไปจบที่ทุกข์ทนั ทีไม่มขี อ้ แม้ และถ้าเราสามารถเลิกให้สาระในอาการใด อาการหนึ่งได้ ทุกข์ดบั ได้ทนั ทีเหมือนกัน เพราะเหตุน้เี อง พระพุทธเจ้าจึง ตรัสว่า "สาระไม่มใี นเบญจขันธ์" เพราะทีจ่ ริงแล้วการเกิดของเบญจขันธ์ คือการเกิดของวงจรปฏิจจสมุปบาทนัน่ เอง ขันธ์เกิดขึ้นเพราะมี การให้ สาระ จุดนี้นกั ปฏิบตั หิ ลายคนอาจไม่รหู้ รือรูแ้ ต่มองข้าม ไม่ให้ความสาคัญ จึ ง ควรท าความเข้ า ใจต้ น ตอของการเกิด สัง ขารการเกิ ด ขัน ธ์ การ เกิดปฏิกริ ยิ าทุกชนิดในโลก มีการเกิดสองชัน้ ชัน้ แรกเกิดจากเหตุปัจจัย ชัน้ ที่สองเกิดจากการให้สาระ ขันธ์จงึ มีสองชัน้ ตามไปด้วย ขันธ์ชนั ้ แรก ขันธ์ท่ไี ม่เป็ นทุกข์ เป็ นแค่สงิ่ ที่อาจทาให้เกิดทุกข์ ถ้ามีขนั ธ์ชนั ้ สองเกิด ตามมา ขันธ์ชนั ้ ทีส่ องเกิดจากการให้สาระ ขันธ์น้ีกบั วงจรปฏิจจสมุปบาท คือสิง่ เดียวกัน เป็ นขันธ์สาสวะขันธ์ซอ้ นทับ ขันธ์ทท่ี าให้เกิดทุกข์เกิดการ เวียนว่ายตายเกิด การฝึ กดับขันธ์ฝึ กดับปฏิจจสมุปบาทฝึ กดับสังขารคือ ฝึ กดับที่ขนั ธ์ชนั ้ นี้ ขันธ์ท่เี กิดเพราะมีการให้สาระ ตรงนี้เป็ นหัวใจสาคัญ เลย พระพุทธเจ้าจึงตรัสสอนให้สาวกอย่าไปให้สาระในเบญจขันธ์ คือสอน ให้ฝึกดับขันธ์สาสวะ ฝึ กดับปฏิจจสมุปบาทฝ่ ายเกิด นัน่ เอง จะดับก็ต้อง ดับทีต่ ้นเหตุของปั ญหา พอดับได้สาเร็จ ปุถุชนก็จะกลายเป็ นอริยะบุคคล มีขนั ธ์อนาสวะขันธ์ทม่ี แี ต่ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้เท่านัน้ ทาหน้าที่ ปฏิกริ ยิ าเทียม ที่เกิดจากการให้สาระ เจตนา หรือจงใจไม่มอี กี เลย พระพุทธเจ้าตรัสไว้ ตอนนี้ว่า มีเจตนาจงใจให้สาระย่อมมีอารมณปัจจัย(อ่านว่า อา-รม-มะ-นะปั ด-จัย)ทาให้เกิดภพภาวะความมีความเป็ นตัวตนคนสัตว์ ถ้า ไม่มเี จตนา จงใจให้สาระย่อมไม่เกิดภพภาวะความมีความเป็ นตัวตนคนสัตว์ แต่ไม่ใช่ คนสัตว์จะหายไป ปฏิกริ ยิ าทีท่ าให้เกิดสังขารทุกชนิดยังมีอยู่ แต่ไม่มภี พ ภาวะใดๆมาสร้างความรู้ส ึกว่ ามีว่ า เป็ น ตัว ตนคนสัต ว์อีก แล้ว การดับ ๑๙๐


สมสุโขภิกขุ

ความรูส้ กึ ว่ามีว่าเป็ นลาดับสุดท้ายมันจึงสามารถดับนามรูปคือความรูส้ กึ ว่ามีชีวิต ตามไปด้วย ความรู้ส ึกว่ามีชีวิต ดับนัน่ คือ การดับของนามรูป ในปฏิจจสมุ​ุปบาท และหมายถึงการดับความรู้สกึ ว่ามีตวั ตนคนสัตว์ตาม ภาษาโลก นามรูปดับวิญญาณก็ดบั วิญญาณที่ดบั ในที่น้ีคอื วิญญาณทีม่ ี อุป าทานขัน ธ์ยึดครองอยู่ พระอรหัน ต์จะดับวิญ ญาณดับนามรูปได้ไป พร้อมๆกัน แต่อนาคามีจะค้างคายังไม่สามารถดับวิญญาณที่อุปาทาน ครอบงายังมีเศษเหลือแต่ท่านก็สามารถไปดับได้อย่างแน่ นอนในพรหม โลกชัน้ สุ ท ธาวาสโน่ น ซึ่ง นัก ปฏิบัติย ัง ไม่ต้อ งไปถึง ขัน้ ให้ส าระสาคัญ กับปฏิจจสมุปบาทส่วนหัว ควรสนใจเฉพาะส่วนกลางตัง้ แต่ผสั สะไปจนถึง ภพชาติเ ท่ า นัน้ พอ ส่ ว นหัว มัน จะเกิด เองเมื่อ สิ้น ภพชาติ สิ้น ภพชาติ ชัวคราวก็ ่ ดบั ความรู้สกึ ว่ามีชวี ติ (นามรูป)ได้ชวคราว ั่ ดับถาวรก็เป็ นพระ อรหันต์จบกิจพรหมจรรย์ไปเลย ผูป้ ฏิบตั ธิ รรมทีไ่ ม่ใช่เป็ นไปเพือ่ ดับทุกข์ เขาจะไม่รเู้ ลยว่า สิง่ ทีต่ น รูท้ ต่ี นคิดทีต่ นทาอยู่ในทางหรืออยู่นอกทาง เป็ นธรรมเนิ่นช้าหรือธรรมไม่ เนิ่นช้า เพราะพวกเขาไม่มอี ะไรเป็ นเครื่องวัด จะมีกอ็ าศัยเป็ นคาบอกเล่า ตัดสินจากคนอื่นว่าถูกว่าผิด ซึ่งไม่สามารถพิสูจน์ทราบได้ดว้ ยตนเองว่า คาบอกเล่านัน้ ถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ผู้ปฏิบตั ิธรรมที่เป็ นไปเพื่อความดับทุกข์ เขาจะรู้ตลอดเวลาว่า ธรรมทีเ่ ขารูเ้ ขาคิดเขาทาอยู่ในทางหรืออยู่นอกทาง เป็ นธรรมเนิ่นช้าหรือ ธรรมไม่เนิ่นช้า เพราะพวกเขามีการดับทุกข์ได้เป็ นเครื่องวัด ธรรมใดดับ ทุกข์ได้เขาย่อมรูอ้ ยู่เห็นอยู่ดว้ ยตนเองโดยมิตอ้ งอาศัยใครมาบอกว่าทีเ่ ขา รูเ้ ขาคิดนัน้ ถูกหรือผิดใช่หรือไม่ใช่เนิ่นช้าหรือรวดเร็วในทางหรือนอกทาง ดาริ จงใจ ครุ่นคิด เจตนา ให้สาระ เป็ นสิง่ ทีต่ ้องฝึกดับให้เป็ นให้เก่ง อย่า ๑๙๑


ลมไหวใบไม้สงบ

เพิง่ ไปคิดไกลว่าดับเพื่ออะไร ดับแล้วชีวติ จะเป็ นอย่างไร พระพุทธเจ้ามี เหตุผลทีใ่ ห้สาวกผูบ้ วชใหม่ทุกคนต้องฝึก นักปฏิบตั ทิ ่ไี ม่เคยฝึ กดับอาการเหล่านี้ก็ เสมือนเป็ นผูเ้ ริม่ เข้ามา ศึก ษาธรรม ปฏิบัติม ากี่ส ิบ ปี ก็ต าม ถ้า ยัง ไม่เ คยเริ่ม ต้น ฝึ ก ดับ อาการ เหล่านี้ก็ถอื ว่าเป็ นผูม้ าใหม่ในศาสนาของพระองค์ ฝึ กดับไปเถิดได้บ้าง ไม่ได้บา้ งก็ไร้สาระอย่าไปคิดมัน มีสติระลึกขึน้ มาได้กฝ็ ึกดับต่อไป การฝึก ทาเช่นนี้แหละคืออุบายการฝึกเพื่อให้ รูจ้ กั สังขาร รูจ้ กั เหตุเกิดสังขาร รูจ้ กั วิธีด ับ สัง ขาร รู้จ ัก ความดับ สัง ขาร ซึ่ง นัน่ หมายถึง กาลัง ฝึ กเป็ น ผู้รู้จกั อริ ยสัจ ๔ (อนาสวะ) และหมายถึงกาลังฝึกเป็ นสมณะในหมู่สมณะ เป็ น นักปฏิบตั ใิ นหมูน่ กั ปฏิบตั ิ เป็ นอริยบุคคลในหมูก่ ลั ยาณบุคคล

ไม่ให้สาระก็ไม่มีอวิชชา เลิกให้สาระไม่เป็น เลิกให้สาระไม่ได้ อย่าวาดหวังเรือ่ งหลุดพ้น ไม่มีสิ่งใดๆมีสาระสำหรับผูห้ ลุดพ้น หลุดพ้นแล้วให้สาระกับสิง่ ใดๆ แม้ให้สาระกับความหลุดพ้น นั่นแสดงว่ายังไม่หลุดพ้น ทุกคนสามารถเป็นผู้หลุดพ้นระหว่างวันได้ง่ายๆ ด้วยวิธีระลึกว่าสาระไม่มีในเบญจขันธ์ แม้ยังไม่เชื่อก็จงถือว่า ท่องคาถาของพระพุทธเจ้า ดีกว่าท่องคาถาอืน่ ๆเป็นหมืน่ เป็นแ ๑๙๒


สมสุโขภิกขุ

ทางสายกลางเพื่อความสลัดหลุด

ปั ญ หาข้อ หนึ่ง ที่นัก ปฏิบัติทุ กคนพบพานคือ ความรู้ส ึกที่ว่าทา ไม่ได้ หรือที่กาลังทาอยู่ถูกต้องไหม หรือความค้านแย้งมีในใจเสมอๆว่า ความจริงมันเป็ นเช่นไรกันแน่ จึงขอแนะนาสมาชิกทุกคนให้ทราบว่า ความจริงคือ ไม่ว่าการกระทาใดๆเกิดขึน้ ความรูส้ กึ ใดๆทีเ่ กิดขึน้ ผลจากการกระทาใดๆที่เกิดขึ้น ความสงสัยคลางแคลงใจใดๆที่เกิดขึน้ มันเป็ นเพียงแค่เศษเสีย้ วของปฏิกริ ยิ าในอดีตทัง้ นัน้ นี่คอื ความจริงแท้ท่ี นักปฏิบตั ลิ มื ระลึก เราจะทาได้หรือไม่ได้ ทาทันหรือไม่ทนั ทาสาเร็จหรือไม่สาเร็จ ได้ผลหรือไม่ได้ผล ความจริงมันเป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีตทีด่ บั ไปแล้ว หายไป แล้ว นักปฏิบตั ไิ ปคิดว่าเราทาหรือมันเป็ นของเรา มันเป็ นเรื่องของเรา ถือ ว่าเป็ นความผิดพลาดอย่างมหันต์ ต้องฝึ กทาลายความคิดเช่นนัน้ ให้ ได้ ท าอะไรไม่ ไ ด้ไ ม่ส าคัญ อย่ า งน้ อ ยเดิน ทางสายกลางเข้า ไว้ ให้ร ะลึก ตลอดเวลาว่า ทุกสรรพสิง่ ทีเ่ ป็ นไปไม่มสี งิ่ ใดเกีย่ วข้องกับเราเลยแม้แต่สงิ่ เดียว มันล้วนแต่เป็ นเรื่องของขันธ์ในอดีตไม่ใช่เรื่องของเราสักเรื่อง ๑๙๓


ลมไหวใบไม้สงบ

เว่ยหลางกล่าวไว้ว่าอย่าร้อยอดีตกับปั จจุบนั เข้าด้วยกันจนเป็ น ห่วงโซ่ หมายถึง ถ้าเราคิดว่าสิ่ง ที่ผ่านไปแล้วกับสิ่ง ที่เกิดใหม่คือ การ กระทาของเราหรือเป็ นการกระทาของคนคนเดียวกัน ของสังขารกลุ่ม เดียวกัน ตัวตนเราเขาหรือใครก็ตามเป็ นผูท้ า นัน่ คือการนาห่วงโซ่ทเ่ี ป็ น อดีตกับห่วงโซ่ปัจจุบนั มาร้อยบรรจบกัน มันจะกลายเป็ นห่วงโซ่คล้องคอ เราทันที และจะคล้องไปอีกหลายแสนหลายล้านกัปป์ ไม่ใช่แค่คล้องชาติ นี้ชาติเดียว ความจริงห่วงโซ่แต่ละห่วงคือปฏิกริ ยิ าแต่ละปฏิกริ ยิ าทีไ่ ม่ม ี ใครทา ที่ไม่มสี าระ ที่เป็ นอดีตไปแล้ว ที่กลายเป็ นสิง่ ที่ไม่มอี ยู่จริงแล้ว เป็ นอากาศธาตุไปแล้ว เราหรือใครจึงเป็ นเจ้ าของมันไม่ได้ การไปดึงมา เป็ นของเราคือการดึงห่วงโซ่แต่ละห่วงมาร้อยเรียงแล้วคล้องคอเรา ดังนัน้ จะทาอะไรได้หรือไม่ได้มนั จึงไร้สาระที่จะไปคิดว่ามันเป็ น การกระทาทีผ่ ดิ พลาดของเรา มันแค่เป็ นปฏิกริ ยิ าในอดีต คนละห่วงโซ่กบั ปั จจุบนั แยกปฏิกริ ยิ าทุกปฏิกริ ยิ าให้ห่างออกจากกัน ต่างปฏิกริ ยิ าคือต่าง เป็ น ห่ ว งโซ่ แ ต่ ล ะห่ ว ง ที่ไ ม่ม ีว ัน มาคล้อ งเข้า ด้ว ยกัน ได้ ความเห็น ผิด เท่านัน้ ทาให้คดิ ไปว่าทุกห่วงโซ่ มนั เป็ นสร้อยเกี่ยวกอดสอดคล้องกันอยู่ ไปเกี่ยวกอดสอดคล้องห่วงโซ่พวกนี้ เมื่อใดทุกข์เกิดทันที วัฏสงสารเกิด ทันที ทิ้งความรู้สกึ ว่าเราผิดเสีย ทิ้งความรู้สกึ ว่ามันเป็ นเราทาเสีย ทิ้ง ความรู้สกึ ว่าผูท้ าเป็ นคนๆเดียวกันเสีย ใครทาได้เช่นนี้ท่านกาลังเดินอยู่ ในทางสายกลางแท้ๆ ทางสายกลางอนาสวะ "ทางสายกลางเพื่อความ สลัดหลุด" ลองทาลองเดินทางสายกลางแบบนี้ดูบ้าง จะไม่บอกว่ามันดี อย่างไร มันเย็นอย่างไรมันสงบอย่างไร อยากรูต้ อ้ งเดินเอาเอง ใครทีค่ ดิ ว่าตนเองได้อะไรหรือเป็ นอะไรแล้ว นัน่ เป็ นการปฏิบตั ทิ ่ี ผิด หรือคิดว่าจะปฏิบตั เิ พือ่ ให้ตนเองได้อะไรหรือเป็ นอะไรก็ผดิ ธรรมชาติ ไม่มคี นปฏิบตั ิ ไม่มผี ู้ปฏิบตั ิ จึงไม่มใี ครได้อะไรเป็ นอะไร ถ้ารู้สกึ ว่าได้ ๑๙๔


สมสุโขภิกขุ

อะไรเป็ น อะไรหรือ แม้แต่ รู้ อ ะไรนัน่ คือ มิจฉาทิฐิท่ีต้อ งละมัน ทัน ที อย่า ปล่อ ยให้ม นั กลายเป็ น อุป าทานฝั ง แน่ น จะสลัดไม่อ อก หลายบุ คคลใน หลายสานัก มักเพ้อฝันจินตนาการแต่เรื่องจะได้จะเป็ น หรือบางทีก่ ล็ ะเมอ เพ้อพกว่าตนเองได้แล้วเป็ นแล้ว โดยหารูไ้ ม่ว่านัน่ คือความผิดปกติทไ่ี ม่รู้ ว่าตนกาลัง ผิดปกติ และเป็ น อัน ตรายมากหากยิ่ง ยึดมั ่นมากขึ้น ความ ผิดปกติจะยิ่ง ทวีกาลังมากขึ้น จนกลายเป็ น ความผิดปกติท่ีไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้ อย่าทาร้ายตนเองด้วยความเข้าใจผิดๆเช่นนัน้ เลย ลมหายใจที่ ผ่านไปแต่ละครัง้ แต่ละครัง้ มันยังไม่ใช่เราเป็ นผูท้ าเลย มันยังไม่ใช่เป็ น ของเราเลย มันเป็ นลมหายใจของขันธ์ในอดีตทัง้ นัน้ มันไม่มสี าระแล้ว เป็ นอดีตไปแล้ว เป็ นอากาศธาตุทว่ี ่างเปล่าไปแล้ว เป็ นของไม่มอี ยู่จริงไป แล้ว เป็ นมายาเป็ นของหลอกลวงเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าที่ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของ ทัง้ นัน้ ไม่มอี ะไรเป็ นของเราของเขาหรือของใครเลย ทุกๆปฏิกริ ยิ าเป็ น เช่นนัน้ เหมือนกันหมด แล้วจะมีใครหรืออะไรมาได้อะไรเป็ นอะไรแม้แต่รู้ อะไรยังไม่มยี งั ไม่ใช่ความรูข้ องเราเล

๑๙๕


ลมไหวใบไม้สงบ

เคล็ดลับอีกประการหนึ่ งสําหรับผู้เริ่มต้น คือการทีเ่ ราจะฝึกสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบโดยทีเ่ รายังไม่รสู้ กึ ว่าอุบายชอบที่จะนามาใช้มนั เป็ นความจริง ตรงจุดนี้อ าจทาให้ทุกคนไม่ สามารถพบความว่างได้ จึง มีความจาเป็ น ต้อ งทาความเข้าใจแล้ว ฝึ ก ใคร่ครวญให้เห็นด้วยจริงๆเสียก่อน เช่นถ้าเราจะระลึกว่ามันเป็ นอดีต ทุก คนต้องมองให้เห็นว่าสิง่ ที่เกิดขึน้ นัน้ มันเป็ นอดีตไปแล้วจริงๆ มันจบไป แล้วหายไปแล้วไม่มอี ยู่แล้วจริงๆ ทุกอย่างที่เกิด เกิดทันทีมนั ก็เป็ นอดีต ทันที เกิดใหม่กเ็ ป็ นอดีตใหม่หายไปใหม่ ระลึกเพียงแค่ว่ามันเป็ นอดีตจริงๆ จะยืนเดินนอนนัง่ ก็ฝึกเพ่งฝึก ระลึกทุกๆปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ าจริงๆ ไม่ใช่คนสัตว์สงิ่ ของ แล้วพอมีผสั สะปฏิกริ ยิ าใดๆ ปฏิกริ ยิ านัน้ มันก็เป็ นอดีตทัง้ นั น้ จึงเป็ นของ เราไม่ได้ สิง่ ทีเ่ ราคิดว่าเราทาความจริงมันเป็ นเรื่องทีอ่ ดีตมันทา อดีตไม่ม ี ตัวตน สิง่ ที่ทามันแค่ปฏิกริ ยิ าหนึ่งๆที่ไม่ใช่ของเรา มันเป็ นของขันธ์ใน อดีต(ผ่านไปแค่วนิ าทีเดียวก็เป็ นขันธ์ในอดีต) ต้องฝึกเห็นจริงๆให้ได้ว่า มันเป็ นปฏิกริ ยิ าจริงๆ และเป็ นปฏิกริ ยิ า ทีเ่ กิดในอดีต ตอนนี้มนั ไม่มอี ยู่จริง เพราะไปดึงเอามาปรุงว่าเราทามันจึง กลายเป็ นของเรากลายเป็ นปั จจุบนั ทัง้ ๆที่ความจริงมันไม่ใช่ของใคร มัน เป็ นอดีตมันคือปฏิกริ ยิ าของอดีต อย่าเพิง่ ไปหาเหตุผลมาคิดมาปรุงเพิม่ เติม ทาแค่ฝึกหาความจริง ว่ามันเป็ นอดีตจริงๆ มันเป็ นปฏิกริ ยิ าจริงๆ มันไม่มอี ยู่จริงแล้วจริงๆ เมือ่ มันเป็ นอดีตมันไม่มอี ยู่จริง จึงไร้สาระไร้แก่นสารทีจ่ ะไปคิดว่ามันเป็ นของ เราของเขาของใคร มันไร้สาระเพราะมันเป็ นปฏิกริ ยิ า มันไร้สาระเพราะ

๑๙๖


สมสุโขภิกขุ

มันเป็ นอดีต มันดับไปแล้วมันจึงไม่มอี ยู่จริงๆในขณะนี้ มันไม่มอี ยู่จริงมัน จึงไม่มเี จ้าของจริงๆ ไม่มตี วั ตนจริงๆ ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตวั ตนคนสัตว์ พยายามฝึกระลึกเช่นนี้จนเกิดความรูส้ กึ ว่ามันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ทาให้ใจ มัน เชื่อ ให้ม ัน เห็น ด้ว ย โดยไม่ม ีข้อ กัง ขา ไม่ม ีข้อ เคลือ บแคลงสงสัย ขัน้ ตอนนี้คอื ขัน้ ตอนรูต้ ามความจริงทีเ่ ป็ นสัมมาทิฐสิ าสวะ คิดว่าที่ท่องที่อ่านที่รู้ท่จี าเป็ นความจริงแท้เป็ นอื่นไปไม่ได้ค่อย นาไปเป็ นอุบายสาหรับระลึก ถ้าทาเช่นนี้เวลาทีร่ ะลึกจะได้เกิดความรูส้ กึ ว่าสิ่ง ที่กาลัง ระลึกมันเป็ นเช่น นัน้ จริงๆ การระลึกมันจึงจะเรียกว่าเป็ น สัมมาสติอนาสวะ ถ้าระลึกแต่ใจไม่ เห็นจริงตามอุบายที่นามาระลึก มัน ยากทีจ่ ะว่างได้ แต่ถ้าใจมันเชื่อเต็มร้อยว่าเป็ นเช่นนัน้ จริงๆพอระลึกชอบ ด้วยอุบายชอบมันจึงจะเกิดปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขา ปล่อยวางว่างเย็น ทดลองท าตามค าแนะน าดูส าหรับ ผู้ฝึ ก ใหม่ๆ หรือ ผู้ท่ีฝึ ก แล้ว ไม่พ บปิ ติปั ส สัท ธิป ล่ อ ยวางว่ า งเย็น แบบต าราบอก ก็ส ามารถเริ่ม ต้น ท าตาม คาแนะนานี้ได้ อุบายชอบ ระลึกอุบายหนึ่ งอุบายใด มันจะโยงไปถึงอุบาย อื่นๆได้ตลอดสาย เพราะมันเป็ นความจริงแท้เหมือนกันหมด เช่นเริม่ จากระลึกว่ามันเป็ นปฏิกริ ยิ า ก็ไปต่อได้ว่า เป็ นปฏิกริ ยิ า ในอดีต มันจบไปแล้วเลยไม่ใช่ของที่มอี ยู่จริง มันจึงไม่มสี าระไม่มแี ก่น สารทีจ่ ะไปยึดถือว่ามันมีตวั มีตนหรือเป็ นตัวตนของเราไม่ได้ มันจึงไม่ใช่ ตัวตนคนสัตว์สงิ่ ของมันเป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าในอดีตล้วนๆ อย่างนี้เป็ นต้น จะเห็นได้ว่า มันโยงได้ครบทุกอุบายหากเข้าใจความจริงชนิดแจ่ม แจ้งเพียงพอ ทดลองนาไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม ระลึกตามจริง คือระลึกถึงสิง่ ที่มนั เป็ นจริงๆก่อนมันถูกอวิชชาสร้างมายาภาพหลอกล่อ ใส่เหตุผลใส่ความคิดรวบยอดให้ทุกคนหลงผิดคิดว่ามันคือสิง่ นัน้ สิง่ นี้ ๑๙๗


ลมไหวใบไม้สงบ

มันเป็ นอดีตแต่ถกู หลอกให้คิดว่าเป็ นปัจจุบนั ระลึกตามจริงคือระลึกว่า ทุกๆสิ่ง ไม่มยี กเว้นสิง่ ใดล้วนแต่เป็ น ปฏิกิรยิ าที่เกิดในอดีตทัง้ นัน้ ธรรมชาติไม่มปี ั จจุบนั ปั จจุบนั จึงเป็ นของ ว่ า งเปล่า ใครระลึกว่ า อะไรๆก็เป็ น อดีต ได้ สาเร็จ จะพบความจริง ด้วย ตนเองว่า ปั จจุบัน คือ ความว่างเปล่าจริง ๆ ความรู้ส ึกว่า ว่างจะปรากฏ อย่างว่างๆภายใน มีอดีตอันเป็ น สมมุติต่างๆที่ว่างเปล่าเหมือนกัน ทา ปฏิกริ ยิ าเคลื่อนทีเ่ คลื่อนไหวตามเหตุปัจจัยอยู่ภายนอก ตราบใดทีย่ งั มีสติ ระลึกชอบอยู่มสี มาธิชอบอยู่ ความว่างภายในกับการเคลื่อนไหวภายนอก จะแยกออกจากกัน แต่ ถ้า สติห ลุ ด จากการระลึก ชอบ ห่ ว งโซ่ อ ดี ต กับ ปั จจุบนั จะคล้องเกีย่ วเข้าหากัน ทาให้ความว่างหายไป ความรูส้ กึ ว่าเป็ น อดีตจะหายไป กลายเป็ นความรูส้ กึ เดิมๆทีธ่ าตุเลวสัญญาเลวทิฏฐิเลวเคย สร้างครอบงา ความเห็นว่ามีตวั ตนคนสัตว์ก็จะกลับมา ห่วงโซ่อดีตกับ ปั จ จุ บัน ก็ก ลายเป็ น โซ่ ว ัฏ สงสารคล้อ งคอสัง ขารกลุ่ ม นั น้ ต่ อ ไป สลัด ความรูส้ กึ ว่าเป็ นปั จจุบนั ออกไปด้วยการระลึกชอบอีกครัง้ ว่าทุกๆสิง่ ล้วน แต่เป็ นปฏิกริ ยิ าของอดีต ห่วงโซ่ปัจจุบนั ก็ขาดสะบัน้ อีกครัง้ ความว่างเย็น ก็จะปรากฏ วัฏสงสารก็จะหายไปกลายเป็ นนิพพาน ความลับของศาสนาพุทธคือ ศาสนาพุทธค้นพบสติสมั โพชฌงค์ หรือสติอนาสวะ และสอนให้มนุษย์รจู้ กั สติสมั โพชฌงค์หรือสติอนาสวะ ความคิดและสติส าสวะทาได้เพียงสร้างสัมมาทิฐิสาสวะ มรรค สาสวะ ไม่สามารถทาให้โพชฌงค์ ๗ เจริญได้ การฝึกสติสาสวะแล้วคิดว่า จะทาให้โพชฌงค์ ๗ เจริญ เป็ นไปไม่ได้เลย เพราะสติสาสวะไม่มที างทา ให้เกิดปิ ตปิ ั สสัทธิได้ กลไกธรรมชาติมนั เป็ นเช่นนัน้

๑๙๘


สมสุโขภิกขุ

โพชฌงค์ ๗ จะเจริญ จนถึง ขัน้ สมบู ร ณ์ ไ ด้ต้อ งอาศัย สัม มาสติ อนาสวะเท่านัน้ และสัมมาสติอนาสวะจะเกิดได้ต้องอาศัยอุบายชอบที่ กลันมาจากความรู ่ ้ตามความจริงเท่านัน้ ซึ่งนักปฏิบตั ิทุกท่านสามารถ พิสจู น์ความจริงได้ดว้ ยตนเอง ตัวอย่างเช่ น เมื่อ ความจริง คือ ทุกสรรพสิ่ง คือ ธาตุ จะเป็ น รูป ก็ ปฏิกิริยาที่เกิดจากธาตุ นามก็ป ฏิกิริยาที่เกิดจากธาตุ ไม่ม ีอ ะไรไม่ใช่ ปฏิกิริย าที่เ กิด จากธาตุ นี่ คือ ความจริง เราทดลองระลึก เวลามีผสั สะ เกิด ขึ้น คือ ระลึก ว่ า มัน เป็ น แค่ ป ฏิกิริย าของธาตุ ซึ่ง ความจริง มัน เป็ น เช่นนัน้ มันไม่ใช่คนสัตว์สงิ่ ของ มันไม่ใช่ความคิดความรู้ความรู้สกึ มัน เป็ นแค่ปฏิกริ ยิ าของธาตุ ระลึกสัน้ ๆแค่ว่า"มันเป็ นธาตุ" "มันคือธาตุ" พบ อะไรเห็นอะไรคิดอะไร มีสติระลึกอุบายตามความจริงว่ามันคือธาตุ คนก็ ธาตุสตั ว์กธ็ าตุสงิ่ ของก็ธาตุความคิดก็ธาตุอาการใดทีร่ สู้ กึ ก็ธาตุ การระลึก เช่ น นี้ น่ี คือ สติสมั โพชฌงค์น่ีคือ สติอ นาสวะ ใครท าได้ถู ก ต้อ งสิ่ง ที่เกิด ตามมาคือ ปิ ตปิ ั สสัทธิสมาธิอุเบกขาปล่อยวางว่างเย็นเป็ นนิพพานทุกครัง้ ที่คดิ แต่ถ้าสติสาสวะจะไม่ว่างเย็นมีแต่จะร้อนจะปวดหัวกดดันไม่ ปลอด โปร่ ง ท าได้ ไ ม่ น าน ต่ า งกับ สติ อ นาสวะท าทัง้ วัน ยัง ได้ ไ ม่ ต้ อ งท า ตลอดเวลาด้วย ทาแค่ตอนที่มผี สั สะ พอว่างเย็นก็ไปทางานต่ออย่างว่าง เย็นได้ พอว่างเย็นหายไปค่อยมาระลึกซ้าอีกครัง้ ผูช้ านาญการเจริญสติ อนาสวะจะสามารถทาเช่นนัน้ ได้ ยิง่ ทาโพชฌงค์ ๗ จึงยิง่ สมบูรณ์ จนวัน ใดวันหนึ่งข้างหน้า โพชฌงค์ ๗ สมบูรณ์เต็มรอบก็จะหลุดพ้นได้โดยไร้ เจตนา นักวิทยาศาสตร์ค้นพบความจริงแต่ไม่รู้จกั นาความจริงมาระลึก เขาจึงไม่มโี อกาสพบความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ นักปฏิบตั จิ งึ ต้องเป็ น นักวิทยาศาสตร์ทร่ี จู้ กั นาความจริงเดิมแท้มาระลึกให้ได้ให้เป็ น ๑๙๙


ลมไหวใบไม้สงบ

นักวิทยาศาสตร์รแู้ ละยอมรับว่าคนสัตว์พฒ ั นามาจากอะตอม เขา ไม่จาเป็ นต้องยอมรับว่าอะตอมมาจากธาตุหกตามหลักศาสนาก็ได้ เพียงรู้ ความจริงเดิมแท้แค่ไหนฝึ กนาความจริงเดิมแท้มาระลึกแทนมายาคติท่ี โลกคิดว่ามันเป็ นก็พอแล้ว ความจริงเดิมแท้มนั คืออะตอมทาปฏิกริ ยิ ากันจนเป็ นธาตุ ทุกสิง่ จึงพัฒนามาจากธาตุ ไม่ต้องเชื่อละเอียดว่ามีหกธาตุตามที่ ศาสนาพุทธ สอนก็ได้แค่รู้จกั ระลึกว่ามันเป็ นธาตุ แล้วฝึ กระลึกตามที่มนั เป็ น ไม่ใช่ ระลึกตามที่มายาคติมนั หลอกให้เห็น มายาคติหลอกว่าเป็ นคนก็ทดลอง ฝึกระลึกว่ามันไม่ใช่คนมันเป็ นธาตุมนั เป็ นอะตอมทีพ่ ฒ ั นาแล้ว สัตว์กเ็ ป็ น อะตอมที่พฒ ั นาแล้ว สิง่ ของก็เป็ นอะตอมที่ยงั ไม่พฒ ั นา ปากพูดไปตาม สมมุตแิ ต่มสี ติอนาสวะตัง้ มั ่นอยู่ภายใน ไม่ไหลไปคิดว่าทีป่ ากพูดหรือทีใ่ จ คิดมันเป็ นเช่นนัน้ จริงๆ ปากอย่างใจอย่าง ปากว่าคนสติว่าธาตุว่าอะตอม ปากว่าสัตว์หมูหมากาไก่ ใจระลึกว่าธาตุว่าอะตอม ปากว่าตู้เย็นโทรทัศน์ ตึกรามบ้านช่อง ใจระลึกว่าธาตุว่าอะตอม นี่คอื สิง่ ทีใ่ ครทาก็จะเกิดปั ญญา รู้ตามความจริง สิง่ ที่จะพบก็คอื วิธดี บั ทุกข์ และถ้าไม่หยุดแค่ฝึกดับทุกข์ สิง่ ที่จะพบต่อมาคือการหลุดพ้นจากทุกข์บรรลุธรรมกลายเป็ นผูอ้ ยู่เหนือ โลกเหนือสุขเหนือทุกข์

๒๐๐


สมสุโขภิกขุ

ระลึกตามที่มนั เป็ น อย่าไประลึกตามที่คิดที่เห็นที่รสู้ ึก มันเป็ นปฏิกริ ยิ า มันเป็ นธาตุ มันเป็ นอดีตทัง้ นัน้ มันเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ม ี เจ้าของ มันเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มตี วั ตนไปแล้ว มันเป็ นอากาศธาตุไปแล้ว มันเป็ น ระบบธรรมชาติ มัน เป็ น กระแสธรรมชาติ มัน เป็ น กระบวนการทาง ธรรมชาติ มันเป็ นของดับของสูญไปแล้วตลอดเวลา มันเป็ นของไม่มอี ยู่ แล้วจริงๆ มันเป็ นอะตอม มันเป็ นเซลล์ ฯลฯ การฝึ กสัมมาสติระลึกชอบด้วยอุบายชอบ ถ้าฝึ กต่อเนื่องจนเป็ น กิ จ วั ต ร ป ฏิ กิ ริ ย า ที่ จ ะ เ กิ ด ต า ม ม า ก็ คื อ สั ม ม า ญ า ณ ะ อ น า ส วะ สัมมาญาณะอนาสวะเป็ นธาตุฝ่ายนิโรธธาตุคอื ธาตุฝ่ายดับ มีคุณสมบัตใิ ช้ ดับ สัง ขารแต่ ไ ม่ด ับ ปฏิกิริย าเดิม แท้ ปฏิกิริย าตัง้ ต้น ที่เ ป็ น กลางจะยัง ทางานต่อไป แต่ปฏิกริ ยิ าทีอ่ าสวะไหลออกมาซ้อนทับจะถูกดับไป นิโรธ ธาตุจะเกิดเอง ไปสร้างขึน้ โดยตรงไม่ได้ ต้องฝึกสติไปเรื่อยๆมันจะค่อยๆ เกิดเอง เมื่อปฏิบตั ไิ ปถึงระดับหนึ่ง สัมมาสติจะไม่ต้องใช้อุบาย(มันเป็ น สังขารชนิดหนึ่งเหมือนกัน) สติอนาสวะจะทิ้งอุบายเองแล้วดึงนิโรธธาตุ มาแก้ไ ขปั ญ หา ซึ่ง นั ก ปฏิบัติจ ะค่ อ ยๆรู้จ ัก และเรีย นรู้ไ ด้ด้ว ยตนเอง อย่างเช่นปฏิกริ ยิ าซ้อนทับจากอาสวะทาให้เราทุกข์ บางครัง้ เราต้องอาศัย ทัง้ สติแ ละอุ บ าย แต่ ฝึ ก ๆไปบางเรื่อ งไม่ ต้ อ งใช้ อุ บ ายใช้ แ ค่ ส ติก็ด ับ ปฏิกริ ยิ าซ้อนทับนัน้ ๆได้เลย สัมมาญาณะมันไร้สภาพนักปฏิบตั จิ งึ ไม่สามารถรูจ้ กั สัมมาญาณะ ที่ค่อ ยๆเกิด แต่ ส ติอ นาสวะซึ่งเป็ น อิสระไม่ใช่สติของเราไปแล้ว จะดึง นิ โ รธธาตุ ม าช่ ว ยจัด การกับ ปั ญ หาเอง และเมื่อ ท าเช่ น นี้ ไ ด้ บ่ อ ยขึ้ น สัมมาญาณะว่างๆเป็ นนิโรธธาตุนนั ้ จะมีกาลัง จนสติสามารถดึงออกมาอยู่ ๒๐๑


ลมไหวใบไม้สงบ

คู่ กั บ ปฏิ กิ ริ ย าเดิ ม แท้ ไ ด้ เ ป็ นเวลานานๆ สติ ท่ี จ ับ อยู่ กั บ นิ โ รธธาตุ ตลอดเวลา จะทาให้เมือ่ นักปฏิบตั ไิ ปเกีย่ วข้องกับสิง่ ใดๆมันจะว่างไปหมด ชีวติ จะมีแต่ธาตุทาหน้าทีข่ องมันไป แต่มสี ติอยู่กบั นิโรธธาตุไม่เปิ ดโอกาส ให้อวิชชา อนุสยั อาสวะผุดขึน้ มาแทรกซ้อนได้เลย ชีวติ จึงมีแต่ความอิม่ เย็นไม่เป็ นทุกข์ตลอดระยะเวลาทีม่ สี ติอนาสวะคุมอยู่ สติหลุดไปเมื่อใดก็ สร้างสติใหม่อมิ่ เย็นกันใหม่ สังเกตดูได้ถ้าใครมีส ติแล้วว่างได้เลยไม่ต้อง ใช้อุบายใดๆก็เลิกให้สาระเลิกบวกเลิกลบเลิกยินดียนิ ร้าย โปร่งวางว่าง เย็นไม่เป็ นทุกข์เป็ นนาทีเป็ นชัวโมง ่ นัน่ แหละสัมมาญาณะอนาสวะค่อยๆ ก่อตัวแล้ว ฝึกระลึกว่าไร้สาระ ฝึกระลึกว่าทุกสิง่ ไม่จริงเข้าไว้ ฝึกระลึกว่าทุก สิง่ คืออดีต ฝึ กระลึกว่าทุกสิง่ ล้วนแต่เป็ นปฏิกริ ยิ าธรรมชาติ สักวันนิโรธ ธาตุ ธาตุแห่งความดับก็จะเกิดขึน้ เอง และจะสามารถใช้สติทฝ่ี ึกดีแล้วนัน่ แหละดึงความว่างชนิดนี้มาดับสังขารที่เป็ นปฏิกริ ยิ าซ้อนทับให้สลายตัว ไป เหลือไว้แต่ปฏิกริ ยิ าเดิมแท้ท่เี ป็ นกลางไม่มพี ษิ มีภยั ไม่มบี วกลบไม่ม ี ยินดียนิ ร้าย มีแต่ความอิม่ เย็นไม่เป็ นทุกข์เท่านัน้ ที่ทาหน้าที่ขบั เคลื่อน ชีวติ ชีวติ แบบนี้คอื ชีวติ ทีเ่ หนือสุขเหนือทุกข์ เป็ นชีวติ ทีม่ นุษย์ผพู้ บพุทธ ศาสนาทุกคนสมควรได้รบั จะได้ไม่เสียทีทเ่ี ป็ นมนุษย์พบพุทธศาสนา

๒๐๒


สมสุโขภิกขุ

สำนักปฏิบัติธรรมสวนโมกข์ไพศาลี สำนักปฏิบัติธรรมเฉพาะทาง สำหรับผู้มีความประสงค์ เจริญสติเพื่อดับทุกข์ เจริญสมาธิเพื่อดับทุกข์ เจริญวิปัสสนาเพื่อดับทุกข์ ญาติธรรมท่านใดมีวัตถุประสงค์ตรงกัน ขอเชิญรับฟังธรรมบรรยายและปฏิบัติธรรม ได้ทุกวันเวลา ณ ธรรมสถานสวนโมกข์ไพศาลี ตั้งอยู่ที่ ม.๘ ต.วังข่อย อ.ไพศาลี จ.นครสวรรค์ โทร. ๐๘๕ ๑๙๘ ๓๒๕๕

๒๐๓


ลมไหวใบไม้สงบ

“ตราบใดบุคคลยังไม่ได้ท่าจอดในแม่น้ำทั้งหลาย ตราบนั้นเขายังต้องเพียรด้วยตัวเองทุกอย่าง แต่เมื่อได้ท่าจอดแล้วยืนอยู่บนบก เขาเป็นผู้ถึงฝั่งแล้วจึงไม่ต้องเพียรอีก” ทามลิสูตร ๑๕/๙๐/๘๖

๒๐๔


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.