หนังสือแนะนำ�แหล่งท่องเทีย่ วและของดี จังหวัดสมุทรปราการ
Issue 18 ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๘ ประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ Vol. 7 | No. 18 | January - February 2020
The heart of cultural & design
The heart of
สถาปัตยกรรมแห่งจิตใจ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
4
สารจาก...
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
“ป้ อ มยุ ท ธนาวี พระเจดี ย ์ ก ลางน�้ ำ ฟาร์ ม จระเข้ ใหญ่ งามวิไลเมืองโบราณ สงกรานต์พระประแดง ปลาสลิดแห้งรสดี ประเพณีรบั บัว ครบถ้วนทัว่ อุตสาหกรรม” ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดสมุทรปราการข้างต้น คงไม่ได้เป็นเพียง ถ้ อ ยค� ำ สวยหรู ที่ มี ไ ว้ ใ ห้ ลู ก หลานชาวปากน�้ ำ ท่ อ งจ� ำ แต่ เ พี ย ง อย่างเดียว หากแต่เต็มไปด้วยความจริง อันเป็นภาพสะท้อน ของคุณค่าอันเกิดจากสรรพสิง่ ทีจ่ งั หวัดนีม้ คี รบทุกด้าน ทัง้ สถานที่ ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ ปูชนียสถานที่เต็มไปด้วยเรื่องราว ทางศาสนา สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี อันงดงามและเก่าแก่ อาหารอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิน่ นอกจากนี้ สมุทรปราการ หรือทีห่ ลายคนเรียกกันติดปากว่า “เมืองปากน�้ำ” ยังตั้งอยู่ในชัยภูมิที่ส�ำคัญของประเทศ จนได้รับ การยกย่องในฐานะเมืองหน้าด่านของไทยมาแต่ครั้งโบราณกาล มี ป ระจั ก ษ์ พ ยานเป็ น ป้ อ มปราการที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น การรุกรานทางน�ำ้ ของข้าศึกศัตรู อีกทัง้ ยังมีความโดดเด่นในฐานะ ของเมืองอุตสาหกรรม ที่สร้างงานสร้างรายได้ ให้กับประชาชน เป็นจ�ำนวนมาก ทั้ ง หมดนี้ ถู ก รวบรวมไว้ ใ นสมุ ท รปราการ จั ง หวั ด ที่ แ ทบ จะเรียกได้วา่ เกือบจะเป็นส่วนหนึง่ ของกรุงเทพฯ เพราะมีอาณาเขต ติ ด ต่ อ กั น การคมนาคมสะดวก ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มจาก นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและชาวต่ า งชาติ เนื่ อ งจากสามารถ เดินทางไปกลับได้ ในเวลาอันสั้น มีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลาย ให้ เ ลื อ กตามรสนิ ย มความชอบของแต่ละคน จะมีไลฟ์สไตล์ แบบไหน ชิม-ช้อป-ใช้-ชม-แชร์ สมุทรปราการก็พร้อมจะตอบโจทย์ ได้อย่างครบครัน ทีมงานองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ เล็งเห็นถึง ความมีอัตลักษณ์พิเศษไม่เหมือนใครดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้ ทุ่มเทการท�ำงานมาโดยตลอด เพื่อให้จังหวัดแห่งนี้เจริญรุดหน้า ในทุกๆ ทาง ในขณะเดียวกันก็ไม่ละทิ้งความงดงาม เสน่ห์ และวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน สืบไป ดังจะเห็นได้จากเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจใน @ SAMUTPRAKAN ฉบับทีอ่ ยูใ่ นมือท่านขณะนี ้
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
5
Message from...
Samutprakan Provincial Administrative Organization
“Marine Battle Fortresses, Chedi In the Water, Enormous Crocodile Farm, Exquisite Ancient City, Phra Pradaeng Songkran Festival, Tasty Dried Snakeskin Gourami, Rab Bua Festival, Industrial Estate ” The provincial slogan of Samutprakan above is not just another beautiful rhyme for the children of Paknam to recite on but rather a statement of truth. It reflects the accumulated values the province has to offer in numerous aspects including historically significant sites, ancient religious places, natural attractions, marvelous cultures and traditions, and indegineous local recipes. Furthermore, Samutprakan or as widely known as “Paknam City” is situated in one of the country’s most crucial strategic locations and praised as the outpost of Thailand since ancient times as evident in a series of fortresses built to prevent marine invasions by the enemies. The city is also an outstanding industrial estate that has generated its people with beautiful income. All of the aforementioned are combined in Samutprakan, the province that is almost considered a part of Bangkok due to the closely connected territories and convenient transportation between the two provinces. Its increasing popularity among Thai and overseas travelers is not only because they can travel back and forth within a short amount of time but also because it offers an interesting diversity of travel destinations that suits all different lifestyles whether they love eating, shopping, spending, sightseeing, or sharing on social media. Having realized all the distinctive characteristics, Samutprakan Provincial Administrative Organization has been dedicating our best effort to enhance the province in each and every aspect and never neglecting the magnificent charms of traditional ways of life in each community to establish a genuine sustainable development as presented through various stories in this current issue of @Samutprakan
January - February 2020
ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๘ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ Vol. 7 / No.18 January - February 2020
ที่ปรึกษา
นายวิมล มงคลเจริญ
ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ คณะท�ำงาน
นายธนวัฒน์ กล�่ำพรหมราช รองปลัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ นางสาวทองดี กูลศิริ หัวหน้าส�ำนักปลัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด นางสุรีวัน สุขพัตร์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาววชิราภรณ์ บุญเสริฐ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางสาวชนันรัตน์ สมณศักดิ์ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ นางปวีณา สีค�ำ เจ้าพนักงานธุรการช�ำนาญงาน นางสาววรลักษณ์ เมฆสังข์ ผู้ช่วยนักประชาสัมพันธ์ จัดพิมพ์โดย
องค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุทธิภิรมย์ ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๘๙ ๐๖๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๓๙๕ ๔๕๖๐ ต่อ ๒๐๙ ผลิตโดย
โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โทรศัพท์ ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๓๓, ๘๕๕๕, ๘๕๕๖ โทรสาร ๐ ๓๕๒๔ ๘๐๐๐ ต่อ ๘๕๔๕
consultant
Mr. Wimol Mongkolcharoen
Chief Administrator of the PAO Acting as Chief Executive of the Samutprakan PAO working group
Mr. Tanawat Klamprommarach Deputy Chief Administrator of the Samutprakan PAO Miss Tongdee Kulsiri Head of the office of the PAO Mrs. Sureewan Sugapat Chief of General Administration Subdivision Miss Wachiraporn Boonsert Public Relations Officer, Professional Level Miss Chananrat Sommanasak Public Relations Officer, Professional Level Mrs. Paweena Sikham General Service Officer, Experienced Level Miss Woralak Maeksang Public Relations Assistant Published by
Samutprakan Provincial Administrative Organization Suthipirom Road, Paknam Subdistrict, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Province 10270 Tel. 0 2389 0600 Fax 0 2395 4560 ext. 209 created by
Mahachulalongkornrajavidyalaya Press Mahachulalongkornrajavidyalaya University Tel. 0 3524 8000 ext. 8533, 8555, 8556 Fax 0 3524 8000 ext. 8545
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
7
Editor'S Talk
welcome สมุทรปราการ เป็นจังหวัดที่มีเสน่ห์และมาก ไปด้ ว ยสถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ ส วยงามและน่ า สนใจ เนื่องจากเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งทางด้านวัฒนธรรม ที่ โ ดดเด่ น แหล่ ง ธรรมชาติ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง เมืองปากน�้ำ สถานที่ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ที่เต็ม ไปด้วยเรือ่ งเล่ามากมาย ทีส่ ำ� คัญยังมีสถาปัตยกรรม อันทรงคุณค่า หลอมรวมกลมกลืนเป็นหนึง่ เดียวกัน กับสิง่ ก่อสร้างใหม่ทที่ งั้ ทันสมัยและล�ำ้ ยุค
Samutprakan is a charming province full of beautiful and interesting travel destinations. Its uniqueness lies in its remarkable cultures, abundant natural resources from being a Paknam City (literally translated as the city at the estuary), historical sites embedded with countless memories, and, last but not least, a seamless combination between valuable ancient architecture and modern, cutting edge architecture.
ทั้ ง หมดนี้ เ ป็ น เสน่ ห ์ แ ห่ ง เมื อ งสมุ ท รปราการ หนึ่ ง ในจุ ด มุ ่ ง หมายของนั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทย และชาวต่างชาติ ที่อยากจะมาสัมผัสและเห็นกับตา ได้ยนิ กับหู ได้ชมิ ลิม้ รสด้วยตนเองสักครัง้ หนึง่ ในชีวติ
These are the graces of Samutprakan, one of the destinations that both Thai and foreign tourists wish to experience at least once in their lives seeing with their own eyes, hearing with their own ears and tasting with their own tongues.
@ SAMUTPRAKAN ฉบับนี้ จึงจัดเป็นฉบับพิเศษ เลยก็ว่าได้ เนื่องจากได้รวบรวมเอาความงดงาม ทางด้านสถาปัตยกรรมของสิ่งก่อสร้างหลายแห่ง เข้าไว้ ในฉบับนี้ ผูอ้ า่ นจะได้เต็มอิม่ ทัง้ ภาพทีส่ วยงาม และเรือ่ งราวความเป็นมาของแต่ละแลนด์มาร์กส�ำคัญ ไอเดี ย ของผู ้ อ อกแบบสมั ย ใหม่ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อง ผูท้ สี่ ร้างสรรค์ผลงานทางสถาปัตยกรรมเหล่านี้ นอกจากนี้ยังได้ร้อยเรียงไว้ทั้งเรื่องเล่าต�ำนาน เก่าแก่ มรดกทางสถาปัตยกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ และความประณีตในงานศิลปะที่ไม่น้อยหน้าสถานที่ สวยงามระดั บ โลก แม้ ว ่ า บางสถาปั ต ยกรรมจะ ทรุ ด โทรมหรื อ มี ร ่ อ งรอยแห่ ง กาลเวลาอยู ่ บ ้ า ง แต่ก็ยังเป็นร่องรอยที่งดงาม ควรค่าแก่การอนุรักษ์ เพื่ อ ส่ ง ต่ อ ให้ ค นรุ ่ น หลั ง ได้ เ รี ย นรู ้ ป ระวั ติ ศ าสตร์ และสถาปัตยกรรมไทยทีภ่ าคภูมใิ จกันต่อไป หวังใจเป็นอย่างยิง่ ว่า ท่านผูอ้ า่ นจะได้เพลิดเพลิน ไปกับประสบการณ์สดุ พิเศษทีไ่ ม่มวี นั ลืม และตกหลุมรัก สมุทรปราการเพิ่มขึ้นอีกอย่างแน่นอน
Thus, this issue of @ Samutprakan is considerably a special edition that gathers a series of majestic architecture around the province. Readers will be able to enjoy an array of captivating photos and background history of each landmark, inspiration, ideas and vision of modern designers who heartcrafted these architectural masterpieces. Moreover, it features ancient tales, legends, unique architectural heritage and the meticulous works of art that are no less superior to other world-class beautiful places and even some may appear rather worn out, they are precious traces of time and memories worth preserving and forwarding to future generations so they can learn and be proud of Thai history and architecture.
facebook.com/ samut.magz.54
We sincerely hope our readers will enjoy this wonderful experience and fall deeper in love with Samutprakan as you flip through the pages.
January - February 2020
contents
issue 18
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ January - February 2020
50
30 58
Update
12
MUST VISIT
วัดกองแก้ว อารามเก่าที่ถูกชุบชีวิตใหม่ Wat Kong Kaew BREATHING NEW LIFE INTO AN OLD MONASTERY
14
The Origin
เกร็ดน่ารู้เมืองปากน�้ำ Paknam Tips
แหล่งท่องเทีย ่ วใหม่ๆ ทีห ่ า้ มพลาด
เกร็ดต่างๆ ทีน ่ า่ สนใจ ของเมืองปากน�ำ้
16 Once Upon A Time เรือ ่ งเก่าเล่าอดีต
นาเกลือบ้านสาขลา อาชีพที่เลือนหายไปกับสายน�้ำ Baan Sakhla Salt Farming The career that diluted with the stream 18 Travel FACTS
เรือ ่ งท่องเทีย ่ วน่ารู้
20 SMPK Event
อัปเดตสมุทรปราการ หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ
ร่วมงานประเพณีรับบัว ประจ�ำปี ๒๕๖๒ Samutprakan Chamber of Commerce Join Rab Bua Festival 2019 หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ ให้การสนับสนุนทีมเจ็ตสกี สมุทรปราการ Samutprakan Chamber of Commerce Sponsor Samutprakan JetSki Team 22 Local Language
ภาษาสมุทร
“พระประแดง” ชื่อนี้มีที่มา “Phra Pradaeng” The name with an origin
24 Get Ready พร้อมเทีย ่ ว
เที่ยวไปถ่ายไป ให้ได้ยอดไลก์ปังๆ Incredible Tips
26 Map
แผนทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว
Feature
28 Cover journey
พร้อมเทีย ่ วเมืองปากน�ำ้
สถาปัตยกรรมแห่งจิตใจ The heart of cultural & design
76 Art Tales เส้นทางศิลป์
78 Getting Around
เทีย ่ วรอบเมือง
ลงเรือเมล์ไปเตร็ดเตร่ ที่ตลาดโบราณบางพลี Skip on passenger boat and wander around Bang Phli Ancient Market
82 Solo Traveler
เทีย ่ วคนเดียว
เลาะริมน�้ำเจ้าพระยา ดูโกดังสินค้า กับสถาปัตยกรรมในแบบอินดัสเทรียล ที่ก�ำลังมาแรง A Cruise Down The Chao Phraya River Watch ware houses, the trending Industrial architecture
116
64
Green Trip
90 Nature Attractions เทีย ่ วธรรมชาติ
106 Culture of paknam
120
หัตถกรรมจากธรรมชาติ อัตลักษณ์ของชุมชนบ้านระกาศ Handicraft from Nature - The identity of Baan Rakat Community
122 Gourmet อิ่มอร่อยที่ ร้านคุณน้อย An appetizing meal at Khun Noi Shop
งานศิลปะพืน ้ บ้าน
สวนสุขภาพบางหญ้าแพรก ปอดของคนปากน�้ำ 110 Souvenir Bang Ya Phraek Health Park สุดยอดผลิตภัณฑ์ชมุ ชน Paknam green lung ทาสแมวกรี๊ดสลบ กับเซรามิก สไตล์เหมียวๆ วิลาน บาย แฟมิลี่เคลย์ 94 Going Green Vilan By Familyclay ชุมชนสีเขียว Where cat slaves fall ให้เราโตไปด้วยกัน ในบ้านต้นไม้ head over heels และสนามเด็กเล่นเพื่อการเรียนรู้ with kitty ceramics Get Growing Community Farm And Learning Center Brilliant Let's grow up together Corner in the tree house and playground of learning 116 Café Story THE BLACK FOREST Lifestyle สุนทรียศาสตร์แห่งรสชาติ และการออกแบบ 102 Local Taste THE BLACK FOREST คุยหน้าเตากับอาหารพืน ้ บ้าน The aesthetics of flavor แกงโหม่งจากโอชารสริมคลอง and desigN Kaeng Mong Jak สองแถวคาเฟ่...เก๋ เท่ มีสไตล์ The delightful flavor Song Thaew Cafe by the canal Chic, cool and stylish
124 Stay Overnight
แนะน�ำทีพ ่ ก ั ในสมุทรปราการ
สิน น�้ำ เงิน รีสอร์ท อ้อมกอดของผืนน�้ำและฟ้ากว้าง Sin Nam Ngoen Resort THE CRADLE OF SKY AND WATER 128 View finder
มุมสวยสมุทรปราการ
130 Calendar ปฏิทน ิ ท่องเทีย ่ ว
10
Update Must Visit | The Origin | OncE Upon a Time | Travel Facts | SMPK Event | Local Language | Get Ready | Map
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
11
January - February 2020
12
| Must Visit | Wat Kong K a ew
วัดกองแก้ว
อารามเก่าที่ถูกชุบชีวิตใหม่ Wat Kong Kaew BREATHING NEW LIFE INTO AN OLD MONASTERY
ความงดงามของสถาปัตยกรรมและจิตรกรรมภายในวัด The magnificence of architecture and paintings inside the temple.
ข้ อ มู ล บั น ทึ ก ทะเบี ย นวั ด ทั่ ว ประเทศของส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ระบุไว้ว่า วัดกองแก้ว มีฐานะ เป็นวัดราษฎร์ สร้างเมื่อปีพุทธศักราช ๒๒๔๒ สมัย กรุงศรีอยุธยา โดยมีพระภิกษุแก้วเป็นผู้น�ำชาวบ้าน ในการสร้าง จึงพร้อมใจกันเรียกชื่อว่า “วัดแก้วฟ้า” ภายหลั ง ได้ เ ปลี่ ย นเป็ น “วั ด กองแก้ ว ” ตั้ ง อยู ่ ท้ า ยเมื อ งพระประแดง อุ โ บสถหลั ง เก่ า มี โ ครงสร้ า ง ทางสถาปั ต ยกรรมแบบอยุ ธ ยา แต่ ท รุ ด โทรมไป ตามกาลเวลา ยากแก่การบูรณะ ทางวัดจึงได้ท�ำเรื่อง ขออนุ ญ าตสร้ า งอุ โ บสถหลั ง ใหม่ ณ ต� ำ แหน่ ง เดิ ม เมื่ อ แล้ ว เสร็ จ ได้ จั ด พิ ธี ฉ ลองอุ โ บสถไปเมื่ อ เดื อ น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้น ลงรัก ปิดทอง พุทธศิลป์สมัยอยุธยาชื่อว่า “พระพุทธชินศรี รั ต นมหามุ นี ต รี โ ลกเชษฐ์ ” หรื อ “หลวงพ่ อ ใหญ่ ” ผนังด้านหลังเป็นภาพจิตรกรรมเล่าเรื่องเขาพระสุเมรุ และเรื่ อ งราวอื่ น ๆ รอบผนั ง อุ โ บสถ ด้ า นหน้ า และ ด้านหลังอุโบสถประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่ที่เคย อยู่หน้าอุโบสถหลังเดิม มีศาลาการเปรียญทรงไทย สร้างด้วยไม้สัก หน้าต่างเป็นบานเลื่อนแบบโบราณ กรอบด้านล่างฉลุลายปิดทองสวยงาม ภายในมีธรรมาสน์ สมั ย อยุ ธ ยา ศาลาทรงไทยซึ่ ง เคยอยู ่ ริ ม คลองได้ รั บ การบูรณะใหม่ และย้ายมาอยู่ด้านหน้าอุโบสถ แวดล้อม ด้วยไม้ ใหญ่รม่ รืน่ เย็นสบาย เหมาะแก่การเข้ามาไหว้พระ รักษาจิตใจให้สงบตามแนวทางพระพุทธศาสนา
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
13
พระพุทธชินศรีรัตนมหามุนีตรีโลกเชษฐ์ หรือ หลวงพ่อใหญ่ และภาพจิตรกรรมภายในอุโบสถ Phra Buddha Chinnasi Rattana Mahamuni Trilokachet or Luang Pho Yai and a series of mural paintings inside the Ubosot. he nationwide temple registration record by paintings including the mythological Mount Meru at the National Office of Buddhism indicated that the back wall. Other ancient Buddha images previously Wat Kong Kaew was classified a public temple seated in front of the old Ubosot are now placed at built in 1699 in the Ayutthaya period. As the both the front and the back of construction was led by the Buddhist monk the new Ubosot. Moreover, the Kaew, the villagers unanimously named the Thai style teakwood sermon temple “Wat Kaew Fa” before it was later hall with delicately proliferated วัดกองแก้ว changed to Wat Kong Kaew. Situated in the and gilded vintage sliding หมู่ ๘ ซอยเพชรหึงษ์ ๒๕ lower town of Phra Pradaeng District, its windows house an Ayuttaya ต�ำบลบางยอ ancient Ubosot with Ayutthaya architectural style pulpit wheras the centuriesอ�ำเภอพระประแดง structure eroded beyond repair over time. old waterfront Thai pavilion จังหวัดสมุทรปราการ Thus, upon official permission, the temple was renovated and relocated โทรศัพท์ ๐ ๒๔๖๑ ๐๕๗๑ replaced it with a new Ubosot and held an to the front of Ubosot. Enclosed inauguration ceremony in May 2014. with the green and pleasant Wat Kong Kaew surroundings, the temple Moo 8 Soi Phetchahueng 25, Inside, the new ubosot enshrines a lacquered makes a nice sanctuary to pay Bang Yo Sub-District, and gilded stucco principal Buddha image, respect to the sacred Buddha Phra Pradaeng District, a Buddist art of the Ayuttaya period, named images and restore peace to Samutprakan “Phra Buddha Chinnasi Rattana Mahamuni the mind according to Buddhist Tel. 0 2461 0571 Trilokachet” or “Luang Phor Yai”. Its interior teachings. walls are decorated with a series of mural
T
January - February 2020
14
| The Or igin
Paknam Tips เกร็ดน่ารู้เมืองปากน�้ำ
เรือนตะเกียง บนประภาคารแห่งแรกของประเทศไทย สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ใช้ทุนทรัพย์ส่วนตัว จัดซื้อเรือนตะเกียงและเครื่องจุด แบบน�้ำมันจากประเทศอังกฤษ น�ำมาติดตั้งบริเวณ สั น ดอนปากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา เมื อ งสมุ ท รปราการ โดยสร้างเป็นกระโจม ๓ ชั้น สูง ๔๔ ฟุต ติดตั้ง เรือนตะเกียงท�ำจากแก้ว ลักษณะเป็นกลีบซ้อนเรียงกัน ครอบบนเครื่ อ งจุ ด แบบน�้ ำ มั น ไว้ ชั้ น บนสุ ด เริ่ ม จุ ด ครั้ ง แรกเมื่ อ วั น ที่ ๙ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๑๗ ส่องแสงสว่างได้ไกล ๑๐ ไมล์ เป็นประภาคารแห่งแรก ของประเทศไทย ตัง้ ชือ่ ว่า “Bar of Regent Lighthouse” หรือ “ประภาคารสมเด็จเจ้าพระยา” คนทั่วไปเรียกว่า “ประภาคารสั น ดอนเจ้ า พระยา” เลิ ก ใช้ เ มื่ อ วั น ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๒ ปัจจุบันเรือนตะเกียงและ เครื่ อ งจุ ด จั ด แสดงอยู ่ ภ ายในพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท หารเรื อ จังหวัดสมุทรปราการ Lighthouse Thailand’s first lighthouse Somdet Chao Phraya Borom Maha Sri Suriwongse (Chuang Bunnag) imported the lighthouse and paraffin lamp from England with his personal funds installing them at the mouth of the Chao Phraya River in Samutprakan. The three-storey lighthouse was 44 feet in height where the glass lighthouse that resembled overlapping petals covered the paraffin lamp on the top level. First lit on November 9, 1874, it magnified the light for seafarers upto 10 miles in distance. Bar of Regent Lighthouse or “Praphakhan Somdet Chao Phraya”, also commonly known as “Praphakhan Sandon Chao Phraya”, was Thailand’s first lighthouse decommissioned on December 1, 1929. At the present, both the lighthouse and the lamp are exhibited at the Naval Museum in Samutprakan.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
15
สะพานกอตต์เช อนุสรณ์วศิ วกรรถไฟสายปากน�ำ้ เมือ่ มีการสร้างทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย จากสถานีหวั ล�ำโพง ถึงสถานีปากน�้ำ เปิดเดินขบวนรถครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๖ มี ช าวเดนมาร์ ก ซึ่ ง เคยเป็ น นายทหารรั ก ษาป้ อ ม ผีเสื้อสมุทรชื่อ มิสเตอร์ ที.เอ. กอตต์เช ท�ำหน้าที่วิศวกรผู้ควบคุม การเดินรถ ซึง่ ต่อมาภายหลังได้รบั ราชทินนามว่า “ขุนบริพตั รโภคกิจ” และนามสกุลพระราชทานว่า “คเชศะนันทน์” มิสเตอร์กอตต์เช แต่งงานกับหญิงชาวปากน�้ำ มีบุตรด้วยกัน ๒ คน มีบ้านพักอาศัย อยู ่ บ ริ เ วณวั ด กลางวรวิ ห าร เป็ น ผู ้ ส ร้ า งสะพานข้ า มคลองจาก วัดกลางวรวิหารไปยังชุมชนหัวน�้ำวน แม้จะมีการปรับปรุงสะพาน ขึ้นใหม่ แต่แผ่นป้ายทองเหลืองซึ่งสลักชื่อและปีที่สร้าง ยังถูกรักษา และติดตั้งไว้บนสะพาน เป็นอนุสรณ์ ให้ระลึกถึงจวบจนปัจจุบัน
ป้อมนาคราช ปราการทีย่ งั เหลือร่องรอยให้รำ� ลึก ป้ อ มนาคราช หนึ่ ง ในป้ อ มปราการที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ ในปี พ.ศ. ๒๓๖๕ เพื่อสกัดกั้นกองเรือข้าศึกที่เข้ามารุกรานประเทศ โครงสร้าง เป็นก�ำแพง ๒ ชั้น ก่ออิฐโบกปูนอย่างแน่นหนา ภายหลัง ถูกทิง้ ร้างจนมีการขุดพบปืนใหญ่หลายกระบอก กรมศิลปากร ได้เข้ามาส�ำรวจและประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ พร้อมทั้งขุดแต่งและบูรณะตามหลัก โบราณคดี โดยแนวก�ำแพงป้อมที่ยังพบเห็นได้ ในปัจจุบัน อยู่ภายในโรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์ ทอดยาวเข้าไป ถึงชุมชนในซอยคลองป้อมด้านหลังโรงเรียน Nakkharat Fort - The fortress with reminiscent traces Nakkharat Fort was one of the fortresses established upon His Majesty King Phra Buddha Lertla Naphalai (Rama II) of Rattanakosin’s Royal command in 1822 to prevent the enemy’s fleets from intruding into the country. Its double-walls were firmly built with bricks and mortar. After it was long deserted and a number of ancient cannons were excavated, the Fine Art Department inspected the fort, announced its registration as a historic site in 2006 and renovated its overall conditions according to archeological principles. Today, the remaining walls of the fort, which can still be seen in Pomnakkharat Sawatyanon School, stretch all the way to the community in Soi Khlong Pom at the back of the school.
Gottsche Bridge - The Monument of Paknam Railway Engineer Back when Thailand’s first railway from Hua Lamphong Station to Paknam Station was built and first operated on April 11, 1893, Mr. T. A. Gottsche, a former Danish commander of Phi Suea Samut Fort, was the engineer who lead the railway operation. Later, he was bestowed with the honorific name “Khun Boriphatphokhakit” and the family name “Khachesanan” by the king. As he was married to a local Paknam lady and raised his two children at a house nearby Wat Klang Worawihan, he initiated a canal-crossing bridge construction from Wat Klang Worawihan to Hua Namwon Community. Although the bridge had been renovated, the brass sign that was engraved with his name and the year the bridge was originally built is still preserved and displayed on the bridge in his remembrance to this day.
January - February 2020
16
| On cE Upon a T ime | Ba a n S ak hl a S alt Farmi ng
นาเกลือ บ้านสาขลา อาชีพที่เลือนหาย ไปกับสายน�้ำ
Baan Sakhla Salt Farming -
The career that diluted with the stream
สภาพภูมิประเทศที่เป็นชายฝั่ง น�้ำเค็มท่วมถึงต�ำบลนาเกลือ อ� ำ เภอพระสมุ ท รเจดี ย ์ นอกเหนื อ จากท� ำ การประมงซึ่ ง เป็ น อาชี พ หลั ก พื้ น ที่ แ ถบนี้ ใ นอดี ต ยั ง ท� ำ “นาเกลื อ ” กั น อย่ า ง เป็ น ล�่ ำ เป็ น สั น โดยเฉพาะบ้ า นสาขลา ชาวบ้ า นจะลงแรง ท� ำ นาเกลื อ ในช่ ว งเดื อ นพฤศจิ ก ายนถึ ง เดื อ นพฤษภาคม และหยุดพักนาเมื่อเข้าสู่ฤดูฝน “เกลือ” เป็นสินค้าที่สร้างรายได้ ให้กับชาวบ้าน การขนส่ง ออกสู่แม่น�้ำเจ้าพระยาใช้เส้นทางคลองบางปลากด ซึ่งมีระยะทาง ไกลใช้ เ วลานาน เมื่ อ กรมสรรพสามิ ต เริ่ ม มี ก ารจั ด เก็ บ ภาษี ตามพระราชบัญญัติเกลือ พ.ศ. ๒๔๘๑ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังในสมัยนัน้ จึงอนุมตั งิ บประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๒ ขุดคลองจากแม่นำ�้ เจ้าพระยา บริเวณแหลมฟ้าผ่า ไปบรรจบกับคลองบางปลากดที่บ้านสาขลา เป็ น ระยะทาง ๘ กิ โ ลเมตร ใช้ ชื่ อ ว่ า “คลองสรรพสามิ ต ” เพื่อส่งเสริมการขนส่งเกลือ เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๒ ภายหลังได้มีการขุดเพิ่มเพื่อ ไปเชื่อมต่อกับคลองราชพินิจฉัย ในท้องที่จังหวัดสมุทรสาคร รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ ๓๐ กิโลเมตร คลองสรรพสามิตท�ำให้การขนส่งเกลือสะดวกขึ้น แต่เป็น ปัจจัยให้น�้ำจืดเข้าถึงพื้นที่เพิ่มขึ้น มีส่วนให้ค่าความเค็มของ น�้ำทะเลลดลง เกลือที่ได้ช่วงหลังจึงไม่ค่อยมีคุณภาพ กอปรกับ ราคาเกลือตกต�่ำ อาชีพเลี้ยงกุ้งซึ่งมีรายได้ดีกว่าเริ่มเข้ามาแทนที่ การท�ำนาเกลือของบ้านสาขลาและละแวกใกล้เคียงจึงสูญหายไป ในที่สุด
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ccording to the geographical advantages of a coastal area regularly flooded with sea water of Na Kluea Sub-District in Phra Samut Chedi District, most locals made their living not only by fishing but also by earnest “salt farming” in the past. The townspeople, particularly in Baan Sakhla, generally started salt farming from November to May and took a break at the beginning of the rainy seasons.
A
Although “salt” was once a major income generating product, its transport to the Chao Phraya River through Khlong Bang Plakot Canal was rather distant and time-consuming. Therefore, when the Excise Department started levying tax under the Salt Act of B.E. 2481 (1938), Luang Praditmanutham (Pridi Banomyong), the Minister of Finance at the time, approved the annual government budget of B.E. 2482 (1939) for the canal excavation from the Chao Phraya River at Laem Fa Pha area to Khlong Bang Plakot Canal at Baan Sakhla. This eight-kilometer long canal named “Khlong Sapphasamit” was targeted to enhance the salt transport. It was officially opened for service on November 19, 1939 and was further dug to connect with Khlong Rat Pinit Chai in Samutsakhon Province making a total length of 30 kilometers. Indeed, Khlong Sapphasamit Canal brought a great convenience to salt transport but it was also responsible for the overflow of fresh water into the area diluting the original salinity of sea water and lowering the salt quality. Hence, the declining salt value and the simultaneous arrival of higher paid shrimp farming gradually swept salt farming away from Baan Sakhla and the neighboring community.
17
January - February 2020
18
| Tr ave l Facts
Let’s find out more about Samutprakan and its visitors. รู้เรื่องผู้คนที่เดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการ และรู้จักจังหวัดสมุทรปราการให้มากยิ่งขึ้น
แผนปฏิบัติราชการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ด้านการท่องเที่ยว Annual Action Plan for the Fiscal Year 2019 in Tourism
จั ง หวั ด สมุ ท รปราการได้ รั บ การจั ด สรรงบประมาณรายจ่ า ยประจ� ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพัฒนาจังหวัด แบบบูรณาการ จ�ำนวน ๑๔ โครงการ ๔๒ กิจกรรมย่อย งบประมาณรวม ๓๘๑,๑๙๑,๑๐๐ บาท และค่าใช้จา่ ยในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท รวมงบประมาณทั้งสิ้น ๓๙๐,๑๙๑,๑๐๐ บาท Samutprakan allocated an annual expenditure budget for the fiscal year 2019 in an integrated promotional plan of an integrated provincial development covering 14 projects and 42 subunit activities at a total budget of 381,191,000 baht and a total expense in the integrated provincial administration of 9,000,000 baht, making a total of 390,191,000 baht.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
19
๑
ผลการด�ำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ โดยในส่วนของ ประเด็น การพัฒนาที่ ๔ ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และศิ ล ปวั ฒ นธรรม โดยการพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว สิ น ค้ า การบริ ก าร และประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและประทับใจของนักท่องเที่ยว แบ่งออกเป็น
พัฒนาศักยภาพ บุคลากรการท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรปราการ
๙๗๐,๐๐๐ บาท
The raising Samutprakan tourist potential development cost 970,000 baht
The operation of the Action Plan regarding Developmental Goal 4 that aims to support promotional activities that highlights eco-tourism, history, art and cultures by enhancing tourist attractions, products, services and public relations in creating awareness and a good impression among tourists can be divided as follows:
๒
ก่อสร้างอาคารส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านปากลัด หมู่ที่ ๑๘ ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง
๒๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๓
ส่งเสริมการตลาด และการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรปราการ
๗,๖๔๘,๘๐๐ บาท The marketing and public relations support for Samutprakan Tourism cost 7,548,800 baht
The construction of Baan Pak Lat Cultural Tourism Promotion Center at Moo 18, Bang Phueng Sub-District, Phra Pradaeng District cost 20,000,000 baht
๔
จัดท�ำสื่อประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการ
๕
ส่งเสริมการตลาดและ การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรปราการด้วยกิจกรรมกีฬา
๒,๔๐๐,๐๐๐ บาท
๕,๕๐๐,๐๐๐ บาท
The public relations media development of Samutprakan Tourism cost 5,500,000 baht
The marketing and public relations support for Samutprakan Tourism via sports activities cost 2,400,000 baht. January - February 2020
20 | SMP K E vent
หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมงานประเพณีรบั บัว ประจ�ำปี ๒๕๖๒ Samutprakan Chamber of Commerce Join Rab Bua Festival 2019 ab Bua Festival (Lotus Receiving Festival) is one of a kind ancient Buddhist tradition held annually. In 2019, it was recently organized during October 9-12, 2019 at Khlong Samrong canal in the neighborhood of Wat Bang Phli Yai Nai, Bang Phli District, Samutprakan. Samutprakan Chamber of Commerce commonly always takes part in inheriting this meticulous tradition every year. On October 12, 2019, the most vital day of the festival with Luang Pho To Boat Procession, Chonsawat Asavahame, the President of Samutprakan Chamber of Commerce, attended the event with Wimol Mongkolcharoen, the Chief Administrator of Samutprakan Provincial Administrative Organization. Herewith, Chonsawat Asavahame also boarded the boat to throw Khao Tom Mat (Steamed Sticky Rice wrapped in Banana Leaves) to people who attended the event as a thankful gesture to return the kindness and hospitality to the people, one of the underlying purposes of the long descendent Rab Bua Festival to the present days.
R
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ประเพณีรับบัว ประเพณีเก่าแก่หนึ่งเดียวในโลก ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ในปี ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ก�ำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๙-๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ คลองส�ำโรง บริเวณวัดบางพลีใหญ่ใน อ�ำเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ หอการค้าจังหวัด สมุทรปราการได้ร่วมสืบสานประเพณีที่งดงามนี้ เป็นประจ�ำทุกปี โดยในวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ วันส�ำคัญของประเพณีซึ่งมีขบวนแห่หลวงพ่อโต ทางน�้ำ นายชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ประธานหอการค้า จังหวัดสมุทรปราการ ได้เข้าร่วมงานพร้อมด้วย นายวิ ม ล มงคลเจริ ญ ปลั ด องค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังหวัดสมุทรปราการ พร้อมกันนี้ นายชนม์สวัสดิ์ อั ศ วเหม ยั ง ได้ ล งเรื อ เพื่ อ โยนข้ า วต้ ม มั ด ให้ กั บ ประชาชนที่มาร่วมงาน เพื่อเป็นการแสดงน�้ำใจ เอื้ อ เฟื ้ อ เผื่ อ แผ่ ซึ่ ง กั น และกั น อั น เป็ น ที่ ม าของ ประเพณี รั บ บั ว ซึ่ ง สื บ ทอดกั น มาอย่ า งยาวนาน ถึงปัจจุบัน
21
หอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ ให้การสนับสนุนทีมเจ็ตสกีสมุทรปราการ Samutprakan Chamber of Commerce Sponsor Samutprakan JetSki Team
amutprakan Chamber of Commerce led by Chonsawat Asavahame, the President of Samutprakan Chamber of Commerce, sponsored Samutprakan Jetski athletes to attend the 13th Pad Riew Watercross Jetski Championship to secure the Royal Trophy graciously bestowed by His Majesty King Rama X. At the end of the event, Samutprakan a t h le te s m a d e a re m a r k a b le achievement and reputation to the province securing several prizes with Suphak Setthura winning the first prize in BLASTER ONE OPEN category and the second prize in PRO-AM RUNABOUT TP category while Nuengsakon Thanettrakul arriving second in AMATEUR RUNABOUT LIMITED category as Thanaphat Thippraphai arriving third in PRO-AM SESDOO SPARK STOCK category and Theera Setthura arriving fourth in BLASTER ONE OPEN category.
S
หอการค้ า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ โดย นายชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ประธานหอการค้า จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ให้ ก ารสนั บ สนุ น นักกีฬาเจ็ตสกีทีมสมุทรปราการ เข้าร่วม แข่ ง ขั น เจ็ ต สกี ร ายการวอเตอร์ ค รอส เจ็ตสกีแปดริว้ ครัง้ ที่ ๑๓ ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ซึ่ ง นั ก แข่ ง ที ม สมุ ท รปราการท� ำ ผลงาน ได้อย่างน่าประทับใจ สร้างชื่อเสียงให้กับ
จั ง หวั ด สามารถคว้ า รางวั ล ในรุ ่ น ต่ า งๆ โดย นายสุภัค เสร็จธุระ รับรางวัลชนะเลิศ ในรุ่น Blaster One Open และ รองชนะเลิศ ในรุ่น Pro-Am Runabout TP นายหนึ่งสกล ธเนศตระกู ล เข้ า เส้ น ชั ย อั นดับ ๒ ในรุ่น Amateur Runabout Limited นายธนภัทร ทิพย์ประไพ คว้าอันดับ ๓ ในรุ่น Pro-Am Sesdoo Spark Stock และ นายธีระ เสร็จธุระ คว้าอันดับ ๔ ในรุ่น Blaster One Open January - February 2020
22
| Loc al La nguage
“พระประแดง”
ชื่ อ นี้ มี ที่ ม า “Phra Pradaeng” The name with an origin
ค�ำว่า “พระประแดง” มีค�ำอธิบายถึงที่มา ไว้หลากหลายทฤษฎี บ้างก็เชื่อกันว่ามาจาก ค�ำว่า “ประแดง” หรือ “บาแดง” ที่แปลว่า “คนเดินข่าวสาร” เพราะเดิมทีเมืองพระประแดง เคยเป็ น เมื อ งหน้ า ด่ า น ที่ ต ้ อ งท� ำ หน้ า ที่ แจ้งข่าวสารไปให้เมืองหลวง (ละโว้) ทราบ โดยเร็วเมื่อมีเหตุการณ์ใดๆ เกิดขึ้น
mong numerous theories that explain the origin of the name “Phra Pradaeng”, some believe that it is derived from the word “Pradaeng” or “Badaeng” meaning “the messenger” given that Phra Pradaeng was an outpost that prompted news to the capital city (Lavo) whenever a situation occurred.
ในขณะที่ค�ำอธิบายของนักสังคมศาสตร์ “จิตร ภูมศิ กั ดิ”์ ระบุวา ่ “พระประแดง” มาจาก ชือ่ “พระแผดง” ซึง่ เป็นชือ่ เทวรูปส�ำคัญทีข่ ดุ พบ ทีค่ ลองส�ำโรงต่อคลองทับนาง เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๐๖๑ ซึ่งค�ำว่า “แผดง” มาจากค�ำเขมรว่า “เผฺดง” ที่ ใ ช้ เ รี ย กเทวรู ป หรื อ ต� ำ แหน่ ง ยศขุ น นาง โดยเชือ่ ว่าชือ่ เมืองน่าจะเรียกตามศาลพระแผดง ที่พวกขอมเคยสร้างไว้ แต่ถ้าดูจาก หนังสือ “ชื่อบ้านนามเมือง” (จั ด พิ ม พ์ โ ดย ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ วั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ กระทรวงวั ฒ นธรรม ๒๕๕๐) ของ สุจิตต์ วงษ์เทศ “พระประแดง” เป็ น ชื่ อ ที่ ไ ด้ จ ากเทวรู ป ทองสั ม ฤทธิ์ ใ น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ๒ องค์ จารึกนามว่า “พระยาแสนตา” กับ “บาทสังขกร” เทวรูป ทั้ง ๒ องค์นี้ได้ถูกขุดพบโดยบังเอิญบริเวณ
Meanwhile, “Chit Phumisak”, a social scientist, indicated that “Phra Pradaeng” originated from “Phra Phadaeng”, the name of significant deity statues discovered where Khlong Samrong Canal met Khlong Thap Nang Canal back in 1518. In ancient Khmer language, “Phadaeng” referred to a deity or a noble rank, thus, the name of the city must have been named after Phra Phadaeng Shrine built by Khmer people.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
A
Correspondingly, “Chue Baan Nam Mueang” (published by the Office of the National Culture Commission, Ministry of Culture in 2007) by Suchit Wongthet stated that “Phra Pradaeng” came from the name of two brass deity images in Brahman-Hinduism, “Phraya Saenta” and “Batsangkhakon”, that were accidentally discovered
during a canal dredging near Khlong Samrong area in Samutprakan during the reign of His Majesty King Ramathibodi II in 1498. Due to the expansion of maritime trade with foreign countries, the King did not only established the Siamese Corvee system to administer both the military forces and civilians that settled down in marshland but also commanded a waterway renovation to provide more convenience for the water transportation between the Chao Phraya River and the Gulf of Siam. Particularly the area called Khlong Samrong (now the intermediate space that divides Bangna District from Mueang Samutprakan District) as evident in the Royal Annals of Ayutthaya: “Somdet Phra Ramathibodi commanded for an establishment of a treatise on war strategy and a conscription in all cities across the kingdom.” It was reported that the silted Khlong Samrong canal towards Sisa Chorakhe and Khlong Thap Nang towards the estuary of the Chao Phraya River had caused inconvenience for large boats to travel. During the canal dredging, two brass deity statues were accidentally found. Each was engraved with its name Phraya Saenta and Batsangkhakon respectively. At the
23
๑
๒
๑
อ่าวไทย รูปเขียนจากความทรงจ�ำของชาวฮอลันดา ที่มาอยุธยาในสมัยพระเจ้าปราสาททอง ด้านบน คื อ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ส่ ว นด้ า นล่ า งเป็ น บ้ า นเมื อ ง บริเวณอ่าวไทย รวมทั้งเมืองพระประแดง The painting of the Gulf of Siam through the memory of a Hollander who came to Ayutthaya during the reign of King Prasatthong depicts Ayutthaya on the upper half and cityscape near the Gulf of Siam on the lower half including Phra Pradaeng City. แผนที่แสดงที่ตั้งบ้านเมืองบริเวณสองฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยา ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาลงไปจนออก อ่าวไทย (ภาพจาก A New Historical Relation of the Kingdom of Siam Monsieur De La Loubèr, ๑๖๘๘) The city map illustrates the cityscape along both banks of the Chao Phraya River from Ayutthaya and downward to the Gulf of Siam.
๒
time, Phra Pradaeng was a Siamese colloquial language distorted from the ancient Khmer word Kamradeng to signify the sacred images of Khom Empire in Brahmanism. A sacrificial ceremony was held and the two statues were invited to a newly built waterfront shrine called Phra Pradaeng Shrine in the Mueang (city) community opposite the Khlong Samrong Canal bank. Ever since, the city was named after the statues, Mueang Phra Pradaeng (Phra Pradaeng City). Unfortunately, the two “Phra Pradaeng” statues were enshrined at Phra Pradaeng City less than a hundred years. As recorded in the Royal Annals of Ayutthaya in Somdet Phra Phonnarat Version, when Phraya Lavek marched his army from Cambodia to rob Ayutthaya in the early reign of His Majesty King Maha Thammarachathirat (reign 1569 - 1590), he took them back to Cambodia. During the reign of His Majesty King Phra Mongkut Klao Chao Yu Hua (Rama VI), Samutprakan City was promoted to a province and the name Nakhon Khuean Khan City was changed to Phra Pradaeng Province to preserve its original meaning. However, with the global economic downturn in the reign of His Majesty King Phra Pok Klao Chao Yu Hua (Rama VII), the need to save the state budget funds arose and the King gradually decided to demote Phra Pradaeng Province to Phra Pradaeng District of Samutprakan.
คลองส�ำโรง จังหวัดสมุทรปราการ ในสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ เมือ่ ราว พ.ศ. ๒๐๔๑ เหตุเนื่องมาจากยุคนั้นการค้าทางทะเล กับบ้านเมืองต่างๆ ได้ขยายกว้างขวางขึ้น นอกจากจะมีการจัดระบบบัญชีไพร่พลและ ราษฎรที่ เ คลื่ อ นย้ า ยเข้ า มาตั้ ง หลั ก แหล่ ง ทางดินแดนชายเลนแล้ว ยังได้มกี ารซ่อมแปลง คูคลองเส้นทางคมนาคม ให้เดินทางขึ้นล่อง ไปมาระหว่างแม่นำ�้ เจ้าพระยากับทะเลอ่าวไทย ได้สะดวกขึน้ โดยเฉพาะตรงทีเ่ รียกคลองส�ำโรง (ปั จ จุ บั น คื อ พื้ น ที่ ร ะหว่ า งเขตบางนากั บ อ�ำเภอเมืองจังหวัดสมุทรปราการ) ดังความใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาตอนหนึ่งว่า “สมเด็ จ พระรามาธิ บ ดี แ รกให้ ท� ำ ต� ำ รา พิชยั สงคราม และแรกท�ำสารบาญชีพระราชพิธี ทุกเมือง” ในขณะนัน้ คลองส�ำโรงทีจ่ ะไปศีรษะจระเข้ คลองทับนางจะไปปากน�้ำเจ้าพระยา มีสภาพ ตืน้ เขิน เรือใหญ่ผา่ นไปมาไม่สะดวก การช�ำระ ขุ ด ลอกท� ำ ให้ ไ ด้ พ บรู ป เทพารั ก ษ์ ๒ รู ป โดยบั ง เอิ ญ เป็ น รู ป หล่ อ ด้ ว ยทองสั ม ฤทธิ์ จารึกชือ่ องค์หนึง่ ชือ่ พระยาแสนตา องค์หนึง่ ชือ่ บาทสังขกร คนยุคนั้นเรียกด้วยภาษาปาก ชาวสยามว่ า พระประแดง เพี้ ย นมาจาก ค�ำเขมรว่า กัมรเดง เพือ่ จะให้หมายถึงรูปเคารพ ศักดิ์สิทธิ์ของ “ขอม” ในศาสนาพราหมณ์
จึ่งให้พลีกรรมบวงสรวงแล้วรับเทวรูป ๒ องค์ ออกมาปลูกศาลเชิญขึน้ ประดิษฐานไว้ เรียกว่า ศาลพระประแดง ในบริเวณชุมชนเมือง ตรงริมแม่น�้ำฝั่งตรงข้ามคลองส�ำโรง ต่อมา เลยเรียกบ้านเมืองตรงนั้นตามรูปเคารพว่า เมืองพระประแดง นับแต่นั้นเทวรูป “พระประแดง” ๒ องค์ ตัง้ อยูใ่ นศาลเมืองพระประแดงได้ไม่ถงึ ๑๐๐ ปี เมื่อพระยาละแวกยกทัพจากกัมพูชามาปล้น กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในช่ ว งต้ น แผ่ น ดิ น สมเด็ จ พระมหาธรรมราชาธิ ร าช (ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๑๒-๒๑๓๓) ได้ขนกลับไปกัมพูชา ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ มี บั น ทึ ก ไว้ ใ นพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยธุยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ ต่ อ มาในสมั ย รั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ได้ ท รงเลื่ อ น เมื อ งสมุ ท รปราการให้ มี ฐ านะเป็ น จั ง หวั ด และเปลีย่ นชือ่ เมืองนครเขือ่ นขันธ์เป็น จังหวัด พระประแดง ตามความหมายเดิม จนมาในสมัย พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว เกิ ด วิ ก ฤติ ก ารณ์ เ ศรษฐกิ จ ตกต�่ ำ ทั่ ว โลก ต้องประหยัดเงินแผ่นดิน จึงมีพระวินิจฉัย น� ำ จั ง หวั ด พระประแดงยุ บ ลงเป็ น อ� ำ เภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
อ้างอิง ๑. สุจติ ต์ วงษ์เทศ. ชือ่ บ้านนามเมือง เมืองพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ, จัดพิมพ์โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ๒๕๕๐ ๒. ราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๔ เล่มที่ ๔๘ หน้าที่ ๕๗๖
January - February 2020
24 | Ge t R e ady
เที่ยวไปถ่ายไป ให้ได้ยอดไลก์ปังๆ Incredible Tips
to Amazing Shots
ถ้าเคยเห็นรูปถ่ายสวยๆ ของคนที่ขยันเที่ยว ขยันถ่าย แล้วแอบคิดว่าเพราะเขามีกล้องดี ราคาแพง เพราะเขาได้ไปเที่ยวประเทศนั้น ประเทศนี้ บอกเลยว่า ต่อให้ไม่มีอย่างเขา ก็ไม่มปี ญ ั หา เนือ่ งจากการได้รปู สวยทุกทริปนัน้ แท้ที่จริงมีหลักการแสนจะง่าย เช่น ๑. “อารมณ์ แ ละความรู ้ สึ ก ” ถ่ า ยรู ป ครั้งหน้าอย่าลืมมองหาสีหน้าท่าทางของคน ที่น่าสนใจมาใส่ไว้ ในรูป ไม่ว่าจะก�ำลังหัวเราะ ข�ำกลิ้ง เศร้า เหงา ซึ้ง น�้ำตาปริ่มๆ แม้แต่ท่า ตกใจอ้าปากหวอ ย่อมดีกว่ารูปถ่ายหน้าตรง ติดบัตรใบหน้าเรียบนิ่งอย่างแน่นอน ๒. “กฎสามส่วน” ง่ายทีส่ ดุ คือลองลากเส้น ในใจให้เป็นแนวนอน ๒ เส้น แนวตั้ง ๒ เส้น แล้ววางต�ำแหน่งของวัตถุที่อยู่ในภาพของเรา ไม่ให้อยู่กลางภาพ เช่น ถ้าถ่ายวิว แทนที่จะ แบ่งฟ้ากับทะเลเป็นอย่างละครึ่ง ลองแบ่ง ให้เป็นฟ้า ๒ ส่วน น�้ำ ๑ ส่วน หรือสลับกัน แล้วจะรู้ว่าฟิลลิ่งต่างกันเยอะ ๓. “จุดตัด ๙ ช่อง” พอลากเส้นนอนกับ เส้นตั้งตัดกันแล้ว ต�ำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด ที่เราจะวางสิ่งที่เราถ่าย คน สัตว์ สิ่งของ นก ดอกไม้ หอนาฬิกา สะพาน ฯลฯ ก็ลองวางบน จุดตัดในภาพนัน่ ดู เป็นตัวช่วยทีท่ ำ� ให้รปู ของเรา น่าสนใจและมีมิติขึ้นอีกมาก ๔. “เส้นน�ำสายตา” ในสถานทีท่ เี่ ราไปยืน ถือกล้องอยูน่ นั้ ลองมองหาดูสวิ า่ มีอะไรทีเ่ ป็น ตัวน�ำสายตาให้พุ่งไปยังจุดที่น่าสนใจได้บ้าง เช่ น แนวเสาไฟฟ้ า รางรถไฟ เส้ น ถนน ทางคดเคี้ยวของแม่น�้ำล�ำธาร แม้แต่กิ่งก้าน ใบไม้ที่ทอดไปในทิศที่เราต้องการ ก็เอามาใช้ เป็นเส้นน�ำสายตาได้เช่นกัน มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
๕. “รู ป แบบพื้ น ผิ ว ที่ เ กิ ด ขึ้ น ซ�้ ำ ๆ” เป็ น องค์ ป ระกอบที่ ท� ำ ให้ ภ าพของเราดู น่าสนใจได้ ไม่ว่าจะเป็นพื้นผิวถนนที่เป็น รูปรอยซ�้ำๆ กัน กระถางที่มี รูปทรง สี ขนาด ที่เหมือนๆ กัน วางเรียงกัน ร่องรูตามก�ำแพง รั้ว ตั้งสูงเหมือนกัน เข่งปลาทูในตลาด ฯลฯ ยิ่งถ้าทุกอย่างเหมือนๆ ซ�้ำๆ แต่มีสิ่งเดียว แตกต่างปะปนอยู่ รับรองได้ว่ารูปต้องเด่น สะดุดตาขึ้นทันที ๖. “เปลี่ยนต�ำแหน่งของกล้อง” ดูบ้าง แทนทีจ่ ะยืนตรงถ่ายรูปเหมือนทุกที ลองย่อขา ลงนิ ด หนึ่ ง ปี น สู ง ขึ้ น หน่ อ ยหนึ่ ง ตะแคง เอียงซ้ายหรือขวาดูเล็กน้อย จะเห็นได้ว่า รูปที่ได้จะเปลี่ยนทั้งอารมณ์และความรู้สึกไป อย่างกับจ้างมืออาชีพมาถ่ายเลยทีเดียว
๗. “หน้าชัดหลังเบลอ” ช่วยให้บุคคล ในภาพโดดเด่นขึ้นอย่างเห็นได้ชัด วิธีง่ายๆ ที่ ท� ำ ได้ ทั้ ง กล้ อ งแพง กล้ อ งถู ก กระทั่ ง กล้องมือถือ คือแค่เปิดรูรับแสงให้กว้างๆ เช่น เอฟ ๒.๘ เอฟ ๑.๔ แล้วคนถ่ายต้อง ขยับเข้าไปใกล้มากๆ ในขณะเดียวกันก็ลอง เอาบุคคลที่เราจะถ่าย อยู่ให้ห่างจากฉากหลัง มากๆ แค่นี้เอง ๘. อย่าลืม “เก็บความทรงจ�ำ” มาด้วย หลายคนไปเที่ยวที่ไกลๆ แพงๆ ไปยากๆ แต่เปิดมามีแต่รูปหน้าตรง เต็มตัว เต็มเฟรม ทั้งทริป จนดูไม่ออกว่าไปไหน ไปท�ำอะไร มาบ้าง ทริปหน้าลองวางแผนที่จะเก็บภาพ แบบมีเรื่องราวอยู่ในภาพนั้น โดยให้เราเป็น แค่ส่วนประกอบเล็กๆ ในภาพก็พอ
25
any secretly assume that people who take stunning photos on social media must own top-tier cameras and have plenty of chances to travel abroad when, in fact, it can be incredibly easy to nail the perfect shots on any trip when following these tips:
M
1. “Emotion and Feeling” Next time, remember to keep an eye for interesting facial expressions and movements and capture them in your pictures. A photo with laughing faces, teary sad eyes or even jaw-dropping faces is always better than those with a plain emotionless straight face. 2. “The Rule of Thirds” The basic principle is to imagine two horizontal lines equally intersecting with two vertical lines and position the targeted subject technically off the center. For instance, when taking a landscape photo, instead of a 50/50 composition of the sky and the sea, try two thirds of sky and one third of the sea or vice versa to achieve a completely different result. 3. “The Intersecting Points of Nine boxes” When dividing a frame with two horizontal and vertical lines, it automatically creates four intersecting points. These points make brilliant spots to place your subject of interest whether it is a person, an animal, an object, a bird, flowers, a clocktower or a bridge to skillfully add more interesting dimensions to your pictures.
4. “Leading Lines” Wherever you take your camera always scan for a potential element that can lead to the subject of interest such as the line of electric posts, railway tracks, the curves and bends of rivers or even tree branches that point towards the direction of preference. 5. “The repetitive texture pattern” Exploiting the play of repeated patterns can also add certain levels of attractiveness. Some examples are recurrent marks on the road surface, the exact shapes, colors and sizes of flower pots lining next to each other, the symmetrical gaps between the walls or fences, the vertical cities with high-rise buildings, the pattern of mackerels in bamboo baskets displayed in the market. The technique works best especially when there is an element that stands out from the rest. 6. “Change the Camera Angle” instead of shooting while standing straight as usual, try bending your
knees, climbing a little higher, slightly tilting to the left or right and the whole mood changes as if taken by a professional photographer. 7. “Shallow Depth of Field” distinctly accentuates the person in the picture against the blurred background. Despite the camera models and prices, the simplest steps are to adjust the aperture to a greater extent, for instance, to F/2.8 or F/1.4 and make sure the photographer is super close to the subject while the model at a farther distance in the background. 8. “Save the memory” Although many can afford numerous expensive and lengthy trips, their photo galleries feature nothing but pictures of their straight faces or full-length shots that hardly tell where they had been or what they had done. On your next trip, try planning to capture more story-telling pictures with yourself as a tiny element.
January - February 2020
26 | map
1
WAT KONG KAEW
วัดกองแก้ว
SONG THAEW CAFÉ
สองแถวคาเฟ่
7 2
WAT SONGTHAM WORAWIHAN
วัดทรงธรรมวรวิหาร
3
4
MASJID DAROS SAADAH
มัสยิดดารอสอาดะห์ 6
THE BLACK FOREST
เดอะ แบล็ก ฟอเรสต์
BHUMIBOL BRIDGE
สะพานภูมิพล 5
BANG YA PHRAEK HEALTH PARK
สวนสุขภาพบางหญ้าแพรก
8
VILAN BY FAMILYCLAY
9
วิลาน บาย แฟมิลี่เคลย์
NAKKHARAT YOTHACHAI FOUNDATION
โรงเจมูลนิธินาคราชโยธาชัย
11
SIN NAM NGOEN RESORT
สิน น�้ำ เงิน รีสอร์ท
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
SAMUTPRAKAN LEARNING PARK AND CITIY TOWER
อุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ 10
KHUN NOI SHOP
ร้านคุณน้อย
12
27
15 14
ASSUMPTION UNIVERSITY BANGNA CAMPUS SUVARNABHUMI AIRPORT
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตบางนา
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
16
Baan Rakat 13
บ้านระกาศ
BANG PHLI ANCIENT MARKET
ตลาดโบราณบางพลี
tourist map of samutprakan แผนที่ท่องเที่ยวสมุทรปราการ
January - February 2020
28 | Cove r Jou rneY
The heart of
สถาปัตยกรรมแห่งจิตใจ
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
29
January - February 2020
30 | Cove r Jou rneY | Fro m Ric e Padd i es to T he C at hedral of Learni n g
จากทุ่งนาสู่อาสนวิหาร แห่งการเรียนรู้ From Rice Paddies to The Cathedral of Learning
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
31
ด้วยบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนการสอน เพื่อให้เป็นการส่งเสริมปัญญาและมีโอกาสไตร่ตรองแต่สิ่งที่ดีงาม The conducive teaching and learning environment helps promote intellectual and foster the mind to reflect more on the good.
มหาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ วิ ท ยาเขตบางนา เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ที่ มี ร ะบบการสอนหลั ก สู ต รนานาชาติ และเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนทีม่ ศี าสตราจารย์ มากที่สุดในประเทศไทย มีชื่อเสียงโดดเด่น ในด้านการศึกษา สมดังชื่อ “อัสสัมชัญ” ที่แปลว่า “ต�ำหนักที่ส�ำหรับหาวิชาความรู้” มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตบางนา ยังเป็นสถานทีท่ มี่ คี วามสวยงามติดอันดับโลก ทั้ ง ทางด้ า นภู มิ ทั ศ น์ สถาปั ต ยกรรม การก่อสร้างอาคารสไตล์โรมัน การตกแต่ง และการออกแบบที่ให้อารมณ์แห่งยุคสมัย กรีกโบราณ สถานทีโ่ อ่อา่ กว้างขวาง จนกลาย เป็นสถานที่ยอดฮิตส�ำหรับการถ่ายพรีเวดดิ้ง กองถ่ า ยมิ ว สิ ก วิ ดี โ อ ละคร ภาพยนตร์ ทั้ งไทยและต่ า งประเทศ โดยมีสัญลัก ษณ์ ประจ�ำมหาวิทยาลัย ที่อาคันตุกะผู้มาเยือน ทุกท่านไม่ควรพลาดชมเป็นอย่างยิ่ง ssumption (ABAC) University Bang Na Campus is Thailand’s first private university with an international curriculum and instructional system, the largest amount of professors in the country and a remarkable reputation in e d u c a t i o n j u st a s t h e n a m e “Assumption” suggests “the Abode of Abiding Knowledge”.
A
In addition, ABAC Bangna Campus is notable for its magnificent landscape design and elegant Roman buildings and decorations that are reminiscent of ancient Greece and Rome. Undoubtedly, it quickly became one of the most favorite settings for pre-wedding photography as well as Thai and international music video and film production houses. Some of the most iconic spots that no visitor should miss include: January - February 2020
32
| Cove r Jou rneY
อาสนวิหารแห่งการเรียนรู้
เป็นสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่าง สมัยเก่าแบบคลาสสิกกับสมัยใหม่ กลายเป็น Neo-Classic รูปทรงอาคารสูง ๓๙ ชั้น เพือ่ สะท้อนถึงศิลปวัฒนธรรมและอารยธรรม ของมนุ ษ ยชาติ อี ก ทั้ ง ยั ง ก่ อ สร้ า งพื้ น ผนังอาคาร และบันไดบางส่วนด้วยหินอ่อน เป็ น การเตื อ นสติ มิ ใ ห้ ผู ้ ท รงความรู ้ ท� ำ ตั ว ไม่ติดดินเหมือน “ผู้ที่อยู่บนหอคอยงาช้าง” (Ivory Tower) ภายในมี ค วามกลมกลื น สอดรั บ กั น ได้ อย่ า งลงตั ว ระหว่ า งศิ ล ปะตะวั น ตกและ ศิลปะตะวันออก ไม่ว่าจะเป็นภาพวาดสีน�้ำมัน โคมไฟ ฝ้าเพดาน ประดับประดาด้วยลวดลาย ที่ วิ จิ ต รบรรจง มี ภ าพเขี ย นเล่ า ถึ ง ความ เจริญรุ่งเรืองของยุคสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง มหาราช ภาพประเพณี วั น สงกรานต์ ภาพประเพณีลอยกระทง ฯลฯ ชื่ อ ห้ อ งประชุ ม และซุ ้ ม ประตู ต ่ า งๆ จะไพเราะคล้ อ งจอง เช่ น วิ ม านบางพลี
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
วิ เ ศษศรี ส มุ ท ร โกมุ ท วนา เทวานิ เ วศน์ อมเรศร์ พิ ทั ก ษ์ อภิ รั ก ษ์ น วมิ น ทร์ เพื่ อ สะท้อนถึงความเป็นมหาวิทยาลัยนานาชาติ ที่ ยั ง คงด� ำ รงไว้ ซึ่ ง จิ ต วิ ญ ญาณและคุ ณ ค่ า แห่งความเป็นไทย
โบสถ์นักบุญ หลุยส์ มารี เดอ มงฟอร์ต
ขึ้ น ชื่ อ ว่ า เป็ น หนึ่ ง ในโบสถ์ ค ริ ส ต์ ที่ ส วยที่ สุ ด ในประเทศไทย ตั ว โบสถ์ ทรงกางเขน เสาโครงสร้ า งสู ง ตระหง่ า น มี ส ถาปั ต ยกรรมซึ่ ง เป็ น การผสมผสานกั น หอระฆั ง เป็ น แบบกอทิ ก แบบฝรั่ ง เศส โดมของโบสถ์จะเป็นศิลปะแบบอิตาเลียน หน้ า จั่ ว สามเหลี่ ย มเป็ น ศิ ล ปะแบบไทย ประตูลงรักปิดทองคล้ายวัดไทย ภายในโบสถ์ เป็ น หิ น อ่ อ น ประดั บ ประดาด้ ว ยสี ท อง งดงามตระการตาด้วยศิลปะโรมาเนสก์ ภายใน มีรูปปั้น ภาพวาด กระจกสี ทั้งหมดล้วน หรูหราและคลาสสิก
33
The Cathedral of Learning
With an artistic combination between the classic and modern architectural prominence, the 39-storey Neoclassical building was initiated to reflect the glorious culture, art and civilization of mankind while its marble walls and staircases in certain areas are subtle reminders for scholars to always stay grounded and never “live their lives on the Ivory Tower� The harmonious interior decoration is incorporated with the western and eastern art. Aside from oil paintings, chandeliers and the ceilings that are embedded with sophisticated details and patterns, there are handpaintings that illustrate the country’s
prosperity during the reign of King Ramkhamhaeng the Great, Songkran and Loy Krathong traditions, to name a few. The name of all meeting rooms and arch entrances are aesthetically pleasing rhymes in Thai, for instance, Wiman Bang Phli, Wiset Si Samut, Komutthawana, Thewa Niwet, Amaret Phithak, Apirak Nawamin, to echo the core spirit and values of Thainess despite its international environment.
decorations including the French Gothic bell tower, the Italian Cathedral Dome, the traditional Thai gables and the gilded black lacquered door panels similar to those in Thai Buddist temples. The interior is mostly marble work hinted with gold and fascinating Romanesque art showcasing a number of sculptures, paintings and stained glass.
Saint Louis Marie De Montfort Chapel
Dubbed as one of the most exquisite chapels in Thailand, it features a Cross-shaped layout, a prominent colonnade, and mixed-architectural
January - February 2020
34 | Cove r Jou rneY
sedes sapientiae
To Catholics, the mother of Christ played a greatly significant role in Christ’s mission and praised as the Seat of Wisdom and the glorious light of the world. The gold sitting statues of the Virgin Mary with Baby Jesus on her lap symbolizes how the university cherishes knowledge and students.
Centenary Monument
The monument was built to commemorate His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s 72nd Birthday Anniversary and the 100th anniversary of the Brothers of St. Gabriel and their continuous effort in education and youth development in Thailand.
The University Mascot
The statues of wild horses amidst the large pond was built as a monument of grace to honor a former AU student who won a gold medal in the equestrian event in the 13th Asian Games in 1998 hosted by Thailand. They also signify that AU students and personnel should demonstrate physical and mental agility, stamina and grace which are common characteristics of “a fine horse breed”.
John XXIII Conference Center
While its name was in honor of His Holiness Pope John XXIII, the architectural structure of this Conference Center was inspired by one of the most famous institutes of dermatology and aging in Romania. Currently, it offers modern seminar rooms with a capacity of 420 seats, executive rooms with 100 seats and innovative audio visual equipment, a reception area and a language translation room. Inside, the Center displays paintings that capture several historic events during the reign of King Naresuan the Great and King Taksin or renowned scenes from classic Thai literature such as Sang Thong, Lilit Phra Lo, Khun Chang Khun Phaen, and Ramakian.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
แม่พระองค์แห่งปรีชาญาณ
ส�ำหรับคริสต์ศาสนิกชนคาทอลิก พระแม่ มารีย์นั้นถือว่าเป็นสตรีที่มีบทบาทส�ำคัญ มากที่ สุ ด คนหนึ่ ง ในภารกิ จ ของพระเจ้ า และถือได้ว่าเป็นอาสนแห่งปรีชาญาณและ แสงสว่างของโลก พระนางมารีย์พรหมจารี มี อ งค์ พ ระกุ ม ารเยซู ป ระทั บ นั่ ง อยู ่ บ นตั ก เปรียบดั่งมหาวิทยาลัยที่อุ้มชูปัญญาและ นักศึกษา
อนุสาวรีย์ ๑๐๐ ปี
เป็นอนุสาวรีย์ที่สร้างเพื่อร่วมเฉลิมฉลองใน โอกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมี พ ระชนมพรรษาครบ ๗๒ พรรษา พร้อมทั้งเป็นการเฉลิมฉลองในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ที่ภราดาคณะเซนต์คาเบรียลได้เข้ามา ด� ำ เนิ น การพั ฒ นาการศึ ก ษาและเยาวชน ในประเทศไทย
35
เพราะต้องใช้หินอ่อนที่มีสีและลวดลายเดียวกัน จึงต้องจองภูเขาเพื่อเก็บไว้ขุดและตัดให้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญโดยเฉพาะ To ensure the same color and pattern are smoothly applied, marble mountains were exclusively reserved for the digging and cutting for Assumption University.
สัตว์น�ำโชคประจ�ำมหาวิทยาลัย
ฝู ง ม้ า กลางน�้ ำ ที่ ส วยสง่ า สร้ า งขึ้ น เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ละอนุ ส รณ์ แ ห่ ง ความดี ง าม ที่ นั ก ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ ส ร้ า ง ชื่อเสียง ด้วยการชนะเลิศรางวัลเหรียญทอง กีฬาแข่งม้าใน Asian Games ครั้งที่ ๑๓ ปี ๒๕๔๑ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ อีกทั้ง ยั ง สร้ า งเพื่ อ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ว ่ า นั ก ศึ ก ษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยควรจะต้องมี อุปนิสยั ทีป่ ราดเปรียว ว่องไว แข็งแรง สง่างาม “เยี่ยงม้าอาชาไนย” อีกด้วย
ศูนย์ประชุม John XXIII
เป็นศูนย์ประชุมที่ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแด่ สมเด็จพระสันตะปาปา John XXIII โดยแนวคิด ในการก่อสร้างได้มาจากสถาปัตยกรรมของ อาคารหลั ง หนึ่ ง ที่ ส ถาบั น โรคผิ ว หนั ง และ ความเก่าแก่ทมี่ ชี อื่ เสียงของโรมาเนีย ปัจจุบนั ศู น ย์ ป ระชุ ม แห่ ง นี้ มี ห ้ อ งสั ม มนาที่ ทั น สมั ย ขนาด ๔๒๐ ที่นั่ง ห้องผู้บริหาร ๑๐๐ ที่นั่ง มี เ ทคโนโลยี แ ละอุ ป กรณ์ โ สตทั ศ นู ป กรณ์ ที่ทันสมัย ห้องรับรอง ห้องการแปล และ ยังตกแต่งภายในด้วยภาพเขียนสีอะคริลิก เป็นภาพเหตุการณ์ส�ำคัญในยุคสมัยสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสิน และภาพจากวรรณคดี ไ ทย อีก หลายเรื่อง เช่น สังข์ทอง ลิลิตพระลอ ขุนช้างขุนแผน รามเกียรติ์ เป็นต้น January - February 2020
36 | Cove r Jou rneY
ต้นอโศก
ศาลาจตุรมุขไพจิตร
สมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทาน ชื่ อ ให้ ศ าลาไทยนี้ ว ่ า “จตุ ร มุ ข ไพจิ ต ร” มีความหมายว่า ศาลาไทยทรงจตุรมุขทีง่ ดงาม ตระการตา โดยสถาปนิ ก ผู ้ อ อกแบบ คื อ คุ ณ ประดิ ษ ฐ์ ยุ ว ะพุ ก กะ ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม มีวัตถุประสงค์ ในการก่อสร้างเพื่อเป็นการอนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย
หินสีทอง Au
ที่ ท างเข้ า มหาวิ ท ยาลั ย จะมี หิ น ก้ อ นใหญ่ วางอยู ่ มี ตั ว อั ก ษรตรงกลางเขี ย นว่ า Au ซึ่งเป็นชื่อทางเคมีของทองค�ำ และพ้องกับ ชื่ อ ย่ อ ภาษาอั ง กฤษของมหาวิ ท ยาลั ย อัสสัมชัญ คือ AU อีกด้วย มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ต้ น ไม้ สั ญ ลั ก ษณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย อั ส สั ม ชั ญ เป็ น ต้ น ไม้ ม งคลนามและเป็ น ชื่ อ ของ กษัตริย์อินเดียผู้ยิ่งใหญ่ มีรูปทรงสวยงาม เหมือนสถูปเจดีย์ มีสีสันเขียวสดตลอดเวลา แสดงถึ ง ความสดชื่ น ร่ ม เย็ น คงเส้ น คงวา ต่ อ ความเปลี่ ย นแปลง ความมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะ บรรลุพันธกิจ ในการให้การศึกษาที่ดีเลิศ ของมหาวิทยาลัย Sala Chaturamuk Phaichit
Her Royal Highness Princess Sirindhon kindly named this traditional Thai pavilion as “Chaturamuk Phaichit” meaning a meticulous tetrahedron pavilion. It was designed by Pradit Yuwahukka, an awarded National Artist for Architecture, with an aim to preserve, inherit and disseminate Thai cultural art.
Au Golden Rock
Near the main entrance, there is a large golden rock with the letters “Au”. Whereas Au is the abbreviation of the chemical term for “gold”, it coincides with the abbreviation of Assumption University (AU).
Ashoka Tree
It was chosen as the symbol of Assumption University because its auspicious name is identical with the name of the King Ashoka the Great of India and its beautiful shape resembles the sacred pagoda. Additionally, its ever-green leaves throughout the year resonates the freshness, the peacefulness, the consistency against all changes which ally with the university’s strong determination to achieve its first and foremost mission to provide excellence in education.
37
โครงการก่อสร้างมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตบางนา นับเป็นอภิมหาโปรเจกต์ ทีใ่ ช้เงินลงทุนนับพันล้านบาท ทีท่ า่ นเจษฎาจารย์ ประที ป มาร์ ติ น โกมลมาศ (อธิ ก ารบดี ในยุ ค นั้ น ) ได้ มุ ่ ง หมายที่ จ ะท� ำ ให้ พื้ น ที่ น า รกร้ า งว่ า งเปล่ า กลายเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ค วามหลากหลาย (Comprehensive University) และเป็นเสมือนวนอุทยานแห่ง การศึกษา ส�ำหรับเยาวชนไทยและต่างประเทศ ทีม่ คี วามสมบูรณ์ครบถ้วนในทุกๆ ด้าน Led by the Brothers of St. Gabriel, Assumption University was developed from “Assumption Commercial College” founded back in 1938, although in 1975, it was reassigned under the Ministry of University Affairs and changed its name to “Assumption Business Administration College”, which was the origin of the more commonly known name “ABAC”.
“ม้า” เป็นมาสคอตประจ�ำมหาวิทยาลัย และเป็นเครื่องเตือนใจซึ่งหมายถึง “คนที่ฝึกมาดีแล้ว” “Wild Horse” is the university mascot and the reminder of “perfectly-trained person”.
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล พัฒนามาจาก “โรงเรียนอัสสัมชัญพาณิชยการ” ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. ๒๔๘๑ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ย้ายสังกัดมาอยูท่ บวงมหาวิทยาลัย โดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “วิทยาลัยอัสสัมชัญ บริหารธุรกิจ” หรือ “Assumption Business Administration College” ซึง่ เป็นทีม่ าของชือ่ เอแบค (ABAC)
เมือ่ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ เอแบคได้รบั การเลือ่ นวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัย ได้ชื่อว่า “มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ” โดยใช้ ตัวอักษรย่อในภาษาไทยว่า มอช. และภาษา อังกฤษว่า “AU” ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ จึงได้มี การขยายวิทยาเขตไปที่วิทยาเขตสุวรรณภูมิ ถนนบางนา-ตราด ต�ำบลบางเสาธง อ�ำเภอ บางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ โดยเปิดท�ำการ ครัง้ แรกในวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
On May 22, 1990, ABAC was officially accredited as a university under the name “Assumption University” with “AU” as its abbreviation. In 1995, it expanded its territory to the Suvarnabhumi Campus on Bangna-Trat Road, Bang Sao Thong Sub-District, Bang Sao Thong District, Samutprakan, which was inaugurated on March 17, 2000. The construction project of Assumption University Bangna Campus was a mega project with an estimated budget of billion baht that Reverend Brother Prathip Martin Komolmas (the President at the time) was eager to transform the long deserted rice paddies into a comprehensive university and a learning park for both Thai and international youth with complete resources in all aspects.
January - February 2020
38 | Cove r Jou rneY | Na k k h a rat Yo t hac hai F oundat ion
Nakkharat Yothachai Foundation The bi-cultural sacred place
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
39
โรงเจมูลนิธินาคราชโยธาชัย มงคลสถานสองวัฒนธรรม
January - February 2020
40 | Cove r Jou rneY
S
tanding at the Dyke-front of Samutprakan City Hall looking past the top of Phra Samut Chedi Stupa, there stood an eccentric building at the back that made us wonder about its meaning and immediately decided to hop on a river-crossing ferry to find out. From Phra Samut Chedi Pier, we walked into Soi Nakkharat, through a familiar looking Chinese dragon gate and soon encountered a two-storey single building instead of a cluster of buildings commonly found in most Chinese Buddhist temples or vegetarian houses. The ground floor was a function area for various activities held by the Nakkharat Yothachai Foundation who originally built and still looked after of this sacred place. According to the staff, the curve on
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
หากยืนอยู่บริเวณริมเขื่อนหน้าศาลากลาง จั ง หวั ด สมุ ท รปราการ มองผ่ า นยอด องค์ พ ระสมุ ท รเจดี ย ์ ด้ า นหลั ง จะพบ สิ่งปลูกสร้างที่มีลักษณะแปลกตา ชวนให้ ขบคิดตีความไปต่างๆ นานา ว่ารูปทรงนั้น สื่ อ ความหมายถึ ง สิ่ ง ใด เราจึ ง ตั ด สิ น ใจ นั่งเรือข้ามฟากไปหาค�ำตอบให้หายสงสัย จากท่าเรือพระสมุทรเจดีย์ เดินทอดน่อง เข้าซอยนาคราช ผ่านซุม้ ประตูมงั กรแบบเดียว กั บ ศาลเจ้ า หรื อ โรงเจ ศิ ล ปะแบบจี น นิ ย ม ที่เราคุ้นเคย ด้านในเป็นสิ่งปลูกสร้างแบบ อาคารเดี่ยว ๒ ชั้น ต่างจากการสร้างเป็น หมู ่ อ าคารเหมื อ นศาลเจ้ า หรื อ โรงเจที่ อื่ น พื้นที่ชั้นล่างใช้ส�ำหรับท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ มูลนิธนิ าคราชโยธาชัย ซึง่ เป็นผูส้ ร้างและดูแล
41
the back wall represented a crescent m o o n w h i le t h e sta r - s h a p e d niches on its left and right were complemented with paintings of the sky and cloud to illustrate the interstellar moon. As the roof of the building was covered with color-coated roof tiles, the raised eaves were decorated with auspicious animal figures and the pediment with curvy shapes mimicking the water waves in alignment with the fundamental belief culture in the five elements. Thus, the earth, water, fire, wood and gold were interpreted into different forms of art depending on the local adaptation of each Chinese descent. On the other hand, the banisters on both sides were garnished with figures of five-headed Nakkharat (Naga King) as the founder had a strong faith in both the Thai Naga King and the Chinese auspicious dragons. Arriving at the second floor, 12 glass windows on each side of the walls next to the main entrance displayed sculptures in the round depicting “The Twenty-Four Paragons of Filial Piety” rooted in the philosophy of
รักษาสถานที่ ผนังด้านหลังที่มองเห็นเป็น รูปทรงโค้งเว้า เจ้าหน้าทีด่ แู ลโรงเจบอกเราว่า คือรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว เจาะช่องซ้ายขวา เป็นรูปดาว แทรกด้วยภาพวาดท้องฟ้าและ ก้ อ นเมฆ เปรี ย บเหมื อ นดาวล้ อ มเดื อ น ค�ำถามในใจที่สงสัยจึงได้รับค�ำตอบ หลังคาอาคารมุงด้วยกระเบื้องเคลือบสี ยกชายขึ้ น สู ง ด้ า นบนประดั บ ด้ ว ยรู ป สั ต ว์ มงคล หน้ า บั น เป็ น วงโค้ ง รู ป ทรงคลื่ น น�้ ำ จากวั ฒ นธรรมความเชื่ อ ในหลั ก ของธาตุ ทั้ง ๕ ดิน น�้ำ ไฟ ไม้ และทอง สื่อสารผ่าน รูปแบบศิลปกรรมที่แตกต่างตามความเชื่อ ของชาวจีนแต่ละเชื้อสาย ราวบันได ๒ ฝั่ง สร้ า งเป็ น พญานาค ๕ เศี ย ร ซึ่ ง เกิ ด จาก ศรัทธาความเชือ่ ของผูส้ ร้างเกีย่ วกับพญานาค ของไทย และมังกร สัตว์มงคลของจีน ประตู ท างเข้ า บนชั้ น ๒ ทั้ ง ซ้ า ยขวา เป็นงานประติมากรรมลอยตัวในกรอบกระจก ฝั ่ ง ละ ๑๒ ช่ อ ง เรื่ อ งราวนิ ท านพื้ น บ้ า น “ยี่จับสี่ห่าว” ที่เล่าถึงความกตัญญูกตเวที ต่อบุพการีตามหลักปรัชญาขงจื๊อ ๒๔ เรื่อง เช่น แรงกตัญญูสยบเสือโคร่ง ซึ่งกล่าวถึง หยางเซียง เด็กหญิงวัย ๑๔ ปี ที่ติดตามบิดา มารดาไปเกี่ยวข้าว เกิดมีเสือโคร่งตะครุบ
January - February 2020
42 | Cove r Jou rneY Confucius. For example, the story of Yang Xiang, a 14 year old girl, as she followed her parents to harvest crops one day, a bengal tiger attacked and scooped up her father in its mouth and ran off. With great bravery regardless of her own life safety, she quickly jumped on the tiger’s back, strangled its neck with her bare hands and kept pounding so hard on its head that the tiger eventually released her father. Chinese craftsmen created these sculptures by pounding lime with paper before mixing them with “hide glue” and molding it into different figures, which must be left to dry prior to further painting and detailed decoration. The enormous teak wood entrance door panels were adorned with mural paintings of Thao Chatulokaban (the Four Guardians of the world) using a combination of paintbrush and gilded black lacquered techniques by Chinese artists. The bas-relief interior walls were handcrafted with the same types of materials in the making of aforementioned sculptures
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
43 in the round, although, these walls portrayed the last incarnation of the Lord Buddha according to Maha Wetsandon Chadok (Vessantara Jataka), the teachings about heaven and hell, the famous classic Chinese novel Journey to the West among many others. The construction of this vegetarian house began in 1979. All the artworks on the walls and ceilings were a contribution by Chinese artists from different regions; thus, the expertise in different fields of art. While Tae Chew (Teochew) Chinese were mostly skillful in installing color-coated roof tiles and modeling stucco animals, the rest were the artistic production by Thai craftsmen. During the vegetarian festival, Thai and Thai-Chinese descendants would visit this sacred place to observe the eight precepts and eat vegan food to purify their body and spirit every year. Our decision to unlock the question in our mind had indeed led us to architecture and art with a harmonious combination of beliefs from two races making it a truly bi-cultural sacred sanctuary.
และคาบบิ ด าของเธอไปต่ อ หน้ า ต่ อ ตา เธอได้ แ สดงความกล้ า หาญโดยกระโดด ขึ้นขี่บนหลังเสือ ใช้มือบีบคอ ทุบตีไปที่หัว ของเสือตัวนั้นอย่างไม่ห่วงชีวิตเพื่อช่วยเหลือ บิ ด า จนเสื อ ยอมจ� ำ นนและปล่ อ ยบิ ด า ของเธอเป็นอิสระ เป็นงานประติมากรรมฝีมอื ช่างชาวจีน โดยใช้ปูนขาวต�ำรวมกับกระดาษ ผสมด้ ว ยกาวที่ เ รี ย กว่ า “กาวหนั ง ควาย” ปั้นด้วยมือทิ้งไว้ ให้แห้ง แล้วจึงลงสีเติมแต่ง รายละเอียดอย่างสวยงาม บานประตู ทางเข้ า เป็ น ไม้ สั กแผ่ น ใหญ่ มี ภ าพวาดท้ า วจตุ โ ลกบาลผู ้ ท� ำ หน้ า ที่ ดู แ ล ทิ ศ ทั้ ง ๔ ด้ ว ยเทคนิ ค การลงสี ด ้ ว ยพู ่ กั น ผสมการลงรั ก ปิ ด ทองโดยช่ า งชาวจี น อีก เช่น กั น บนผนั งภายในอาคารเป็ น งาน ศิลปะนูนต�่ำ ใช้ปูนขาวและกระดาษผสมกาว แบบเดี ย วกั บ ประติ ม ากรรมลอยตั ว เรื่ อ ง ยี่ จั บ สี่ ห ่ า ว ถ่ า ยทอดเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ พุ ท ธประวั ติ ม หาเวสสั น ดรชาดกของไทย ค� ำ สอนในเรื่ อ งนรก สวรรค์ วรรณกรรม ไซอิ๋ ว ของจี น ฯลฯ โรงเจแห่ ง นี้ เ ริ่ ม สร้ า ง ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ งานศิลปะบนผนังและ
เพดานทั้ ง หมดเป็ น ฝี มื อ ช่ า งของชาวจี น ทีเ่ ดินมาจากมณฑลต่างๆ ซึง่ มีความเชีย่ วชาญ ช�ำนาญศิลปะคนละแขนง อย่างชาวแต้จิ๋ว จะถนัดงานติดกระเบื้องเคลือบสีบนปูนปั้น รู ป สั ต ว์ ที่ เ หลื อ ส่ ว นอื่ น เป็ น ฝี มื อ ของ ช่างชาวไทย เทศกาลกินเจ จะมีคนไทยและคนไทย เชื้อสายจีนเข้ามาถือศีลกินผัก ช�ำระใจให้ บริสุทธิ์เป็นประจ�ำทุกปี การตัดสินใจเดินทาง เพื่อปลดล็อกข้อสงสัยในครั้งนี้ ท�ำให้เราพบ สถาปัตยกรรมและงานศิลปะ ทีห่ ลอมรวมคติ ความเชือ่ ของคนสองเชือ้ ชาติ เป็นมงคลสถาน สองวัฒนธรรม ทีอ่ ยูร่ ว่ มกันได้อย่างงดงาม โรงเจมูลนิธินาคราชโยธาชัย
เลขที่ ๑๖๕ หมู่ ๓ ซอยนาคราช ถนนสุขสวัสดิ์ ต�ำบลปากคลองบางปลากด อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๕ ๘๓๕๕ เปิดทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ นาฬิกา Nakkharat Yothachai Foundation 165 Moo 3, Soi Nakkharat, Suksawat Road, Pak Khlong Bang Plakot Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan Tel. 0 2425 8355 Open daily from 08.00am - 05.00pm January - February 2020
44 | Cove r Jou rneY | Wat Songt ham Worawi han
วัดทรงธรรมวรวิหาร
งดงามข้ามกาลเวลา
Wat Songtham Worawihan The beauty beyond time
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
45
January - February 2020
46 | Cove r Jou rneY
บันทึกทางประวัติศาสตร์กล่าวถึงการอพยพย้ายถิ่นฐาน เข้ า มาอยู ่ อ าศั ย ในราชอาณาจั ก รสยามของชาวมอญ เกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่สมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช แห่งกรุงศรีอยุธยาในปี พ.ศ. ๒๐๗๖ มีการอพยพอีก หลายครั้งต่อเนื่องมาจนถึงสมัยกรุงธนบุรี รัตนโกสินทร์ รวมทั้งสิ้น ๑๑ ครั้ง โดยครั้งสุดท้ายเกิดจากสาเหตุ ความขัดแย้งเรื่องการแบ่งพื้นที่ให้ชาวมอญปกครอง ตนเองอย่างเป็นอิสระ เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ม่าเป็นอิสระ หลังตกอยู่ ภายใต้การปกครองของอังกฤษมานานกว่า ๕๐ ปี ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รั ช กาลที่ ๒ แห่ ง กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ทรงสร้ า งเมื อ ง นครเขื่ อ นขั น ธ์ ห รื อ อ� ำ เภอพระประแดงในปั จ จุ บั น ได้อพยพชาวมอญเข้าไปตั้งครัวเรือนอยู่อาศัย แบ่งเป็น กวานหรือหมู่บ้านทั้งสิ้น ๑๖ หมู่บ้าน แต่ละแห่งต่างน�ำ ชื่อภูมิล�ำเนาซึ่งเคยอยู่อาศัยที่เมืองมอญ มาตั้งเป็น ชื่อหมู่บ้าน เช่น กวานดงฮะนอง (หมู่บ้านทรงคนอง) กวานเว่ ฮ ะราว (หมู ่ บ ้ า นเว่ ฮ ะราว) กวานแซ่ ห ์ ห รื อ หมู่บ้านแซ่ ฯลฯ ชาวมอญซึ่งได้ชื่อว่ามีความเลื่อมใส ในพระพุ ท ธศาสนาอย่ า งแรงกล้ า จึ ง สร้ า งเพ่ ห ์ ห รื อ วัดประจ�ำหมู่บ้านของตนเอง เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจ และให้บตุ รหลานของตนได้มาบวชเรียน เช่น เพ่หอ์ ะมอญ (วั ด คั น ลั ด ) ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า นทรงคนอง เพ่ ห ์ พ ระครู (วัดทรงธรรมวรวิหาร) ประจ�ำหมู่บ้านแซ่ ฯลฯ เสาพาไล ลักษณะเป็นเสากลมคู่ เลียนแบบรูปทรงของท่อนซุง Sao Pha Lai here is a round columnade mimicking the log shape
istorical records revealed that the first Mon migration to the Ayutthaya Kingdom of Siam occurred during the reign of King Chairachathirat in 1533 and followed with another ten series from then to Thonburi and Rattanakosin eras. The last migration was triggered by the conflict on territorial allocation to the Mon to establish an independent self-governing region when the Burmese regained its independence after fifty years under the British administration.
H
When His Majesty King Phra Buddha Lertla Naphalai (Rama II) of Rattanakosin period was building Nakhon Khuean Khan or today’s Phra Pradaeng District, He kindly relocated the Mon refugees to the city where they settled down in 16 Kwans (Mon for “Village”). Each village was named after their previous hometown in Myanmar, for instance, Kwan Donghanong (Song Khanong Village), Kwan Vekharao ( Vekharao Village) and Kwan Sae (Sae Village). Famous for their unwavering faith in Buddhism, Mon people commonly built a temple in their own village as a spiritual anchor and a place where their children received education when
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
47
เสาหงส์ ธงตะขาบและพระมหารามัญเจดีย์ สัญลักษณ์แสดงความเป็นวัดของชาวมอญ Swan pillars, centepede flags and Phra Maha Raman Chedi are symbols of Mon temples. ordained as a monk. A couple of examples are Pheh A Mon (Wat Khan Lat) of Song Khanong Village and Pheh Phra Khru (Wat Songtham Worawihan) of Sae Village. At the present, Wat Songtham Worawihan is a second class royal monastery with a great historical significance to the Mon. However, there are two hypotheses on the name origin. The first one believes the name originated from the Mon word “Moen Tho” often used to honor a righteous person (Phoo Songtham) in Thai, which was most likely referred to King Rama II who kindly ordered for the relocation and the reconstruction of the temple in 1817 so Mon immigrants could carry on with their Buddhist activities. Alternatively, the second assumes it was borrowed from King Rama II’s Songtham Sermon Hall inside the temple for
วั ด ทรงธรรมวรวิ ห าร ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ฐ านะเป็ น พระอารามหลวงชั้นโท ถือว่าเก่าแก่และมีความส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์ของชาวมอญ ชื่อวัดมีข้อสันนิษฐาน เป็น ๒ ทาง ทางหนึง่ น่าจะมาจากค�ำว่า เมินโท ค�ำเรียกที่ ชาวรามั ญ ใช้ ย กย่ อ งผู ้ มี คุ ณ ธรรม ซึ่ ง น่ า จะหมายถึ ง พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย ซึ่ ง ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายวัดจากต�ำแหน่งที่ต้ังเดิม มาสร้างใหม่ราวปี พ.ศ. ๒๓๖๐ เพื่อให้ชาวมอญได้ เข้ามาใช้ปฏิบัติศาสนกิจ อีกข้อสันนิษฐาน คือวัดนี้มี ศาลาทรงธรรมของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลั ย จึ ง น� ำ มาใช้ เ ป็ น ชื่ อ เพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล แต่ชาวบ้านมอญมักเรียกว่า เพ่ห์พระครูหรือวัดพระครู ด้วยว่าเป็นวัดหลวง เจ้าอาวาสมีสมณศักดิ์ที่ได้รับการ แต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์ January - February 2020
48 | Cove r Jou rneY
พระพุทธรูปปางมารวิชัย ประดิษฐานอยู่ภายในพระอุโบสถ The Buddha image in Subduing Mara Posture enshrined inside the Ubosot. auspicious reasons. In any regard, the temple was known among the Mon villagers as Pheh Phra Khru or Wat Phra Khru according to the abbot’s honorific title Phra Khru bestowed by the king. In addition to the distinctive architectural structure and indispensable features including the swan pillars and centipede flags, Phra Maha Raman Chedi (the great Mon pagoda) is another magnificent symbol of a Mon temple. The Ubosot (ordination hall) is also recognized for its rare beauty. After His Majesty King Phra Nangklao (Rama III) presided over to offer the Royal Kathin robes, the dilapidated wooden Ubosot and monk residential area were demolished and replaced with a brick and mortar construction surrounded with a veranda and an extended roof supported by a beautiful
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
Sao Pha Lai or Sao Nang Riang (columnade) to protect from the sun and the rain according to the King’s command. Nonetheless, Sao Pha Lai at Wat Songtham Worawihan is a round colonnade with neither a pattern of lotus petals or an eave bracket instead of the usual square colonnade decorated with patterns of lotus petals on top. Many pieces of historical evidence suggest the round structure of Sao Pha Lai or Sao Nang Riang was Ayutthaya architectural design that imitated the log shape but was not quite popular. Later, the design was further developed into octagonal colonnade and square colonnade. Up to the present, these 56 round pillars remains its unmatched charm as the outstanding symbol of Wat Songtham although there has been no clear evidence why it was designed in this manner.
49
นอกจากสถาปั ต ยกรรมและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งรู ป หงส์ เสาหงส์ ธงตะขาบ พระมหารามั ญ เจดี ย ์ ที่ ง ดงาม เป็นสัญลักษณ์ ให้รู้ว่าเป็นศาสนสถานของชาวรามัญแล้ว พระอุ โ บสถของวั ด ยั ง เป็ น สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ ถู ก กล่ า วถึ ง ในความสวยงามแปลกตาซึ่งหาพบได้ยาก แต่เดิมนั้น สร้างเป็นเครือ่ งไม้ฝากระดาน พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๓ เสด็ จ ฯ มาถวายผ้ า พระกฐิ น ทอดพระเนตรเห็ น พระอุ โ บสถรวมถึ ง กุ ฏิ ส งฆ์ ช� ำ รุ ด ทรุ ด โทรมเป็ น อั น มาก จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ โดยรื้ อ และสร้ า งใหม่ เ ป็ น แบบ ก่ออิฐถือปูน มีพาไลหรือระเบียงโดยรอบ สร้างหลังคาพาไล ยื่ น เป็ น ชายคาเพื่ อ ป้ อ งกั น แดดฝน มี เ สาพาไลหรื อ เสานางเรียงรองรับ ตามรูปแบบสถาปัตยกรรมประเพณี นิยมในสมัยนั้น เสาพาไลที่ วั ด ทรงธรรมวรวิ ห าร มี ลั ก ษณะเป็ น เสากลมคู ่ ไ ม่ มี ล ายกลี บ บั ว และคั น ทวยรองรั บ ชายคา ต่างจากที่อื่นซึ่งนิยมสร้างแบบเสาเหลี่ยมทึบ มีกลีบบัว ประดับลวดลายบนหัวเสา จากหลักฐานทางโบราณคดี ที่พบในที่ต่างๆ เสาพาไลหรือเสานางเรียงลักษณะกลม เป็ น รู ป แบบสถาปั ต ยกรรมที่ มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยา โดยเลี ย นแบบรู ป ทรงของท่ อ นซุ ง แต่ ไ ม่ เ ป็ น ที่ นิ ย ม แพร่หลาย ภายหลังได้พฒ ั นารูปทรงมาเป็นเสาแปดเหลีย่ ม เสาสี่เหลี่ยม ซึ่งพบเห็นโดยทั่วไป ด้วยลักษณะแปลก และแตกต่างจากวัดหรือโบราณสถานอื่นๆ เสากลมคู่ ที่มีจ�ำนวนมากถึง ๕๖ ต้น ของวัดทรงธรรมวรวิหาร ได้ ก ลายเป็ น เอกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น เป็ น ที่ จ ดจ� ำ งดงาม ข้ามกาลเวลามาถึงปัจจุบัน แม้จะยังไม่สามารถค้นหา หลักฐานมาอธิบายได้ว่า เหตุผลใดรูปแบบสถาปัตยกรรม จึงถูกสร้างออกมาในลักษณะเช่นนี้
วัดทรงธรรมวรวิหาร
ถนนเพชรหึงษ์ ต�ำบลตลาด อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๖๓ ๕๔๓๓ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา ๐๖.๐๐-๑๖.๓๐ นาฬิกา Wat Songtham Worawihan Phetchahueng Road, Talat Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 0 2463 5433 Open daily from 06.00am - 04.30pm
January - February 2020
50 | Cove r Jou rneY | Suva rna b humi A i rp ort
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แผ่นดินทองที่นกขยับปีกและลูกคลื่นพลิ้วไหว
Suvarnabhumi Airport
The golden land where birds take flight and waves sway มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
51
ไม่ว่าจะเป็นผู้โดยสารขาออกหรือผู้โดยสาร ขาเข้ า ไม่ ว ่ า จะอยู ่ ใ นห้ อ งโดยสารบน เครื่ อ งบิ น ที่ ก� ำ ลั ง ลดระดั บ ลงสู ่ ภ าคพื้ น ดิ น หรือว่าก�ำลังเดินอยู่ด้านในอาคาร ผู้โดยสาร ทุ ก คนต่ า งจิ น ตนาการและสั ม ผั ส ได้ ถึ ง เอกลั ก ษณ์ ต ่ า งๆ ของไทย ที่ แ ฝงไว้ ใ น สถาปัตยกรรมและการตกแต่งภายในของ ท่าอากาศยาน นับเป็นสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ ที่ ค งไว้ ซึ่ ง คุ ณ ค่ า และประโยชน์ ใ ช้ ส อยที่ ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว “สนามบินสุวรรณภูมิ” เปรียบเสมือน ประตูด่านแรกและเป็นความประทับใจแรก ที่ชาวต่างชาติจะได้สัมผัสถึงความเป็นไทย ความแปลกใหม่ ข องงานออกแบบอาคาร ที่ ทั น สมั ย เทคโนโลยี ข องการก่ อ สร้ า งที่ รวมเอาวิ ท ยาการแห่ ง อนาคตเอาไว้ อ ย่ า ง พร้อมพรั่ง สถาปัตยกรรมสไตล์เบาเฮาส์ (Bauhaus) มุ ่ ง ตั ด ทอนองค์ ป ระกอบที่ ไม่จ�ำเป็น อุปกรณ์เครื่องใช้และการตกแต่ง ภายในจึ ง เน้ น โทนสี เ ทาและปู น เปลื อ ย แนวโมเดิร์น ความรู้สึกโปร่ ง โล่ ง ที่ ไ ด้ จ าก การใช้วัสดุกระจกและเหล็ก หลังคาผ้าใบ ใยสังเคราะห์สีขาว ท�ำให้การมองเห็นทิวทัศน์ ด้านนอกได้ชัดเจนและสบายตา
hether departing or arriving, on board in the passenger cabin as the airplane is lowering to the ground level or inside the building, every passenger can experience the symbols of Thainess integrated in the airport architecture and interior decorations that displays a creative environment that balances the cultural values and functional benefits.
W
“Suvarnabhumi Airport” acts as the first gate that marks the first impression among foreign visitors where they can experience the Thainess, the novelty of modern building design and the consolidation of futuristic construction technologies. Based on Bauhaus architecture that aims to cut back on unnecessary elements, appliances and interior decors emphasize on grey tone and modern exposed concrete. The feeling of airiness and spaciousness results from the implementation of glass and steel materials whereas the white synthetic fabric membrane roofs allow a clearer exterior view and a soothing comfort to the eyes. The design of Suvarnabhumi Airport was fundamentally designed to suit the weather conditions in Thailand. January - February 2020
52
| Cove r Jou rneY
สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ แ ห่ ง นี้ เ น้ น การ ออกแบบให้ เ ข้ า กั บ สภาพภู มิ อ ากาศของ ประเทศไทยเป็นหลัก มีการเลือกใช้กระจกใส เป็ น วั ส ดุ ห ลั ก ของอาคาร ท� ำ ให้ มี แ สง ส่ อ งสว่ า งทั่ ว ถึ ง ในเวลากลางวั น และเกิ ด มิ ติ ห ลากหลายจากการใช้ แ สงไฟในเวลา กลางคื น ทุ ก จุ ด จะถู ก ออกแบบให้ มี ก าร ประหยั ด พลั ง งานเป็ น ส� ำ คั ญ วั ส ดุ ผ นั ง ใช้ โครงเหล็กยึดติดกับคอนกรีตบล็อกและ แผ่ น อะลู มิ เ นี ย มชนิ ด พิ เ ศษ มี คุ ณ สมบั ติ ทนทานกับสภาพอากาศ สารเคมี และอุณหภูมิ ทีส่ งู ของประเทศไทย ผนังกระจกถูกออกแบบ ให้ เ ป็ น ระบบอิ ส ระ ผนั ง อะลู มิ เ นี ย มชนิ ด ยื ด หดได้ สามารถรองรั บ การเคลื่ อ นตั ว อันเนือ่ งจากแรงลมและการเปลีย่ นแปลงของ อุณหภูมิได้เป็นอย่างดี ส่ ว นงานออกแบบภู มิ ทั ศ น์ โ ดยรอบ สนามบิ น และส่ ว นเปิ ด โล่ ง ของอาคาร ผู ้ โดยสาร ประกอบด้ ว ยงานภู มิ ทั ศ น์ ขนาดใหญ่ที่สามารถสัมผัสได้แม้มองจาก ในรถที่ก�ำลังแล่น โดยการออกแบบได้รับ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
อิ ท ธิ พ ลมาจากแนวคิ ด ภู มิ จั ก รวาลและ อารยธรรมชาวน�ำ ้ “สวนเมือง” มีลกั ษณะเป็น สวนน�ำ้ พุ ประดับด้วยกระเบือ้ ง ประติมากรรม รู ป ทรงเจดี ย ์ แ ละน�้ ำ พุ ตามคติ ค วามเชื่ อ ของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น ความเชื่อ เรื่อ งระบบภู มิ จั กรวาล อั น มี เ ขาพระสุ เ มรุ เป็นศูนย์กลาง ในขณะที่ “สวนชนบท” มีการประดับ โดยใช้หญ้าท้องถิ่นและต้นไม้ตัดแต่ง อิงจาก ลักษณะภูมิประเทศของไทย ซึ่งประกอบด้วย ภูเขา แม่น�้ำ ล�ำคลอง และทุ่งราบ มีภูเขาทอง เป็นประธาน มีประติมากรรมฝูงนกเป็นกลุม่ ๆ ที่ ส ามารถไหวได้ ต ามแรงลม สื่ อ ถึ ง ความ เป็นไทย กลมกลืนกับรูปแบบอาคารสนามบิน แม้แต่การคัดเลือกพรรณไม้ยังต้องพิจารณา จากบทวิ เ คราะห์ แ ละวิ จั ย ของผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ด้านนก และการประชุมร่วมกับ ICAO หรือ องค์กรการบินพลเรือน เพื่อให้ต้นไม้ที่น�ำมา ปลู ก ภายในพื้ น ที่ นั้ น ไม่ ใ ช้ ไ ม้ ด อกที่ ดึ ง ดู ด แมลงมาตอม เพราะหากมี แ มลงจะท� ำ ให้ มี น กมาจั บ แมลง และหากมี น กก็ จ ะมี งู
53
The use of clear glass as the main material of the building draws bright light to all spaces during the daytime and creates interesting dimensions when electric light is turned on during nighttime, which was a crucial strategy of effective energy saving. Regarding wall materials, steel structures were attached to concrete blocks and special aluminium sheets highly resistant to the weather conditions, the chemical substances and the high temperature in Thailand. Also, glass walls were designed as an independent system and the retractable aluminium walls were planned to support movement caused by wind power or temperature change. The landscape design works around the airport and the open space of the terminal building are consisted of large scale landscape art works that can even be experienced from a moving car. Nonetheless, the two monumental interior landscape designs were influenced by ancient beliefs in Bhuddist cosmic landscape and the water civilization. Subse-
quently, the “City Garden”, a fountain garden, was decorated with tiles, a pagoda-shaped sculpture and fountains with Mount Meru in the center. Meanwhile, “Country Garden” was garnished with local grasses and topiary trees based on Thailand’s topography composed of mountains,
กลายเป็นวงจร ท�ำให้มีนกตัวใหญ่มากขึ้น จนเป็นอันตรายต่อเครื่องบินที่บินขึ้นลงใน สนามบิน ระบบปรั บ อากาศถู ก ออกแบบให้ เ น้ น การประหยัดพลังงาน จะมีส่วนปรับอากาศ ที่ เ ย็ น จากพื้ น ด้ ว ยการฝั ง ท่ อ น�้ ำ เย็ น ไว้ ที่ พื้นทางเดิน ท�ำให้ดูดซับรังสีความร้อนไม่ให้ สะท้อนไปมาภายในอาคาร และระบบการ สร้างความเย็น ด้วยการใช้เครื่องปรับอากาศ ผลิ ต ความเย็ น ที่ มี อั ต ราการเคลื่ อ นตั ว ช้ า เกิ ด เป็ น “ทะเลความเย็ น ” ที่ มี ค วามสู ง ครอบคลุมพื้นที่ท่ีระยะความสูง ๒.๕ เมตร เหนือพื้นดิน บวกกับการออกแบบหลังคา ผืนผ้าใบให้มีรูปทรงจั่วสามเหลี่ยมเหมือน ศาลาไทย ท�ำให้ความร้อนลอยอยู่ใต้หลังคา ไม่ส่งผ่านมายังด้านล่าง เมื่ออุณหภูมิด้านบน และด้านล่างมีความแตกต่าง จึงท�ำให้เกิด กระแสลมลอดผ่าน สถาปนิกผู้ออกแบบ คือ เฮลมุต จาห์น (Helmut Jahn) และ เวอร์เนอร์ โซเบก (Werner Sobek) ชาวเยอรมัน เจ้าของผลงาน การออกแบบสนามบินชิคาโก สหรัฐอเมริกา และตึกโซนี่เซ็นเตอร์ที่เยอรมนี ได้กล่าวถึง วิศวกรรมการออกแบบสนามบินแห่งนี้ว่า “หากมองจากด้ า นบน จะเห็ น หลั ง คา อาคารผู้ โดยสารเหมือนปีกนกที่ก�ำลังขยับ ปีกบิน ส่วนอาคารเทียบเครื่องบินที่ใช้วัสดุ เป็นหลังคาผ้าใบสีขาว เปรียบเสมือนลูกคลื่น ที่พลิ้วไหวอยู่บนท้องทะเล”
January - February 2020
54 | Cove r Jou rneY
กรมศิลปากรต้องระดมทั้งช่างเอกและศิลปินแห่งชาติร่วม ๕๐ ท่าน ในการออกแบบและก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามต�ำนานเดิมที่มาจากวรรณกรรมมหาภารตยุทธและในภควัตปุราณะ the Fine Arts Department had to gather 50 master craftsmen and Thai National artists to lead the design and construction following their original myth in two Indian literature, Mahabharata War and Bhagavata Purana.
แม้ จ ะถู ก ออกแบบโดยชาวต่ า งชาติ แต่ ท ว่ า สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ ก็ ยั ง คงเต็ ม ไป ด้ ว ยเอกลั ก ษณ์ ไ ทย โดยสะท้อ นผ่า นงาน ศิ ล ปกรรมของศิ ล ปิ น ไทย ทั้ ง จิ ต รกรรม ประติ ม ากรรม และสถาปั ต ยกรรมไทย ทัง้ ร่วมสมัย และแบบดัง้ เดิม อันประกอบด้วย บุษบก ๒ หลัง ศาลาไทย ๒ หลัง ยักษ์ ๑๒ ตน ภาพเขียนของจิตรกรอาวุโสนับร้อยกว่าชิ้น ส่วนที่โดดเด่นที่สุดคือจุดกึ่งกลางของอาคาร บริ เ วณผู ้ โ ดยสารขาออกระหว่ า งประเทศ จะเป็นทีต่ งั้ ของงานศิลป์ “เทวต�ำนานการกวน เกษี ย รสมุ ท ร” ที่ สื่อความหมายเชื่อ มโยง ต�ำนานของ “น�้ำอมฤต” อันเป็นที่ปรารถนา ของเหล่ า เทวดาและอสู ร เช่ น เดี ย วกั บ สุวรรณภูมิ อันเป็นแผ่นดินทอง ที่จะคงความ อุ ด มสมบู ร ณ์ ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง มั่ น คง เป็นอมตะตลอดกาล มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
rivers, canals and plains with a simulation of Golden Mount as the principal feature. The garden was accompanied by kinetic wind sculptures of birds flying in flocks to convey the Thainess in harmony with the airport building style. For the most effective bird population control within the airport, even the plant selection had to carefully consider a n a ly s e s a n d re s e a rc h e s b y ornithologists and constructive input from the meetings with the International Civil Aviation Organization (ICAO). Flowering plants were practically out of the question as they would attract insects which would attract birds which would again attract snakes forming into an endless cycle. Bigger birds, in particular, could cause a severe danger to the plane taking off and landing at the airport.
55
การตกแต่งภายในมุ่งเน้นความเป็นไทยผ่านงานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมไทย ทั้งร่วมสมัยและดั้งเดิม The interior decoration focuses on Thainess through a series of contemporary and traditional Thai paintings, sculptures and architecture. The air conditioning system was designed to maximize energysaving proficiency. The radiant cool floor temperature was a fruitful output from embedding a system that circulated cool water through a network of pipes beneath the walkways which significantly absorbed the heat radiation and prevented the condensation on radiant surfaces inside the building. The cooling system is a synergized integration between the installation of air conditioners with slow air movement rate to form “an Ocean of Coolness” at a 2.5 meter height
above the ground and the membrane roof design that mimicked the gable design of traditional Thai houses to let the heat float under the roof but never to the lower ground, creating a temperature difference and, consequently, a better ventilation. The German design architects, Helmut Jahn and Wener Sobek, known for the designs such as the Chicago Airport in the United States of America and the Sony Center in Germany, explained the design engineering of Suvarnabhumi Airport:
ด้านนอกอาคารคือความสดชื่นสบายตา ด้วยสวนที่ขนาบข้างอาคาร ๒ สวน สวนละ ๑๗ ไร่ The refreshing and eye-comforting atmosphere outside comes from the two 17-rai (27,200 sq. m.) gardens on both sides of the buildings. January - February 2020
56 | Cove r Jou rneY
วัสดุหลักที่ใช้คือกระจกใสและเหล็ก เพื่อให้แสงส่องผ่านเพียงพอต่อการใช้งานในเวลากลางวัน และเกิดมิติหลากหลายในเวลากลางคืน Main materials such as clear glass and steel are subtly integrated to draw in sufficient bright light during daytime and creates interesting dimensions during nighttime.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
57
ข้อมูลทัว่ ไป : ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม สุวรรณภูมิ (Suwannaphumi) มีความหมายว่า “แผ่ น ดิ น ทอง” เมื่ อ วั น ที่ ๒๙ กั น ยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ สถานทีต่ งั้ อยูห่ า่ งจากกรุงเทพฯ ไปทางตะวันออกประมาณ ๒๕ กิโลเมตร บริเวณหนองงูเห่า ต�ำบลบางโฉลง ต�ำบล ราชาเทวะ และต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพนื้ ทีร่ วม ๒๐,๐๐๐ ไร่ เปิ ด ให้ บ ริ ก ารเชิ ง พาณิ ช ย์ เ ต็ ม รู ป แบบ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ รัฐบาลตั้งเป้าให้ที่แห่งนี้เป็น ศู น ย์ ก ลางการบิ น ในทวี ป เอเชี ย อี ก ทั้ ง การเน้ น พั ฒ นาคุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก ารของ ท่าอากาศยาน ให้ได้รบั การจัดอันดับ ๑ ใน ๑๐ ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุด ในโลก General Information: Suvarnabhumi Airport His Majesty King Bhumibol Adulyadej graciously bestowed the name S u va r n a b h u m i ( p ro n o u n ce d Suwannaphum in Thai) meaning “the Land of Gold” on September 29, 2000. Situated approximately 25 kilometers away from Bangkok’s east in Nong Ngu Hao area of Bang Chalong Sub-District, Rachathewa Sub-District and Nong Prue SubDistrict in Bang Phli District, Samutprakan, the airport covers an area of 20,000 rais (32,000,000 sq. m.) Officially opened for full commercial services on September 28, 2006. With a determination to transform the airport into a major aviation hub of Asia, the government’s emphasis on continuous development to provide better airport services led to its global recognition as one of the world’s top ten airports with the best service quality.
January - February 2020
58 | Cove r Jou rneY | Fat h er’s B ri d ge
สะพานของพ่อ สะพานข้ามเจ้าพระยา ที่สวยติดอันดับโลก
Father’s Bridge
The magnificent bridge over the Chao Phraya River recognized by the world
บริเวณขาทั้ง ๒ ข้างของสะพานที่มาบรรจบกันนั้น เป็นต�ำแหน่งที่ประดับตราสัญลักษณ์ทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปีของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร The top of the pillars where bridges meet are decorated with the emblem for the 60th Anniversary Celebration of His Majesty King Bhumibol Adulyadej's Accession to the Throne.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
59
January - February 2020
60 | Cove r Jou rneY
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อปวงประชาราษฎร์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิ ต ร ในหลวงรั ช กาลที่ ๙ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างถนนวงแหวน อุตสาหกรรม ส�ำหรับรองรับรถบรรทุกที่วิ่งอยู่ในเส้นทาง เชื่ อ มโรงงานอุ ต สาหกรรมในจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ กับท่าเรือคลองเตยได้อย่างสะดวกรวดเร็วขึ้น อีกทั้ง เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ร ถบรรทุ ก เหล่ า นี้ วิ่ ง เข้ า ไปยั ง ตั ว เมื อ งหรื อ ทิศทางอื่นๆ ท�ำให้ปัญหาจราจรบรรเทาลงได้ และนี่คือที่มาของ สะพานภูมิพล หรือที่มีหลายคน เรี ย กขานกั น ว่ า “สะพานของพ่ อ ” ซึ่ ง เป็ น สะพาน ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยาส�ำหรับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม โดยสะพานภูมิพลประกอบด้วย ๒ ช่วง คือ “สะพานภูมิพล ๑” เป็นสะพานข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ทางด้ า นเหนื อ เชื่ อ มระหว่ า งแขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร กับต�ำบลทรงคนอง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เป็นสะพาน ขึงเคเบิลคูข่ นาดกว้าง ๗ ช่องจราจร ทีป่ ระกอบด้วยเสาสูง จ�ำนวน ๒ ต้น ความยาวสะพานช่วงข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ๓๒๖ เมตร เป็นโครงสร้างประกอบระหว่างคอนกรีต และเหล็ ก และความยาวตั ว สะพานในช่ ว งด้ า นหลั ง ๑๒๘ เมตร เป็นโครงสร้างแบบคอนกรีตอัดแรง ความสูง จากระดับน�้ำสูงสุดที่กึ่งกลางสะพานประมาณ ๕๐ เมตร เพื่อให้เรือบรรทุกหรือขนส่งสินค้าสามารถแล่นลอดได้
ith the divine grace upon His people, His Majesty King Bhumibol Adulyadej (Rama IX) suggested the construction of Industrial Ring Road to facilitate large trucks commuting between industrial plants in Samutprakan and Khlong Toey Pier with a more convenient and faster route and implicitly prevent them from heading downtown and its neighboring areas to alleviate poor traffic conditions.
W
That was the origin of Bhumibol Bridge or commonly known as “Father’s Bridge”, the bridge over the Chao Phraya River for Industrial Ring Road. The bridge is divided into two spans:
ปลายยอดแหลมของเสาสะพานขึงตกแต่งด้วยสีทองอร่าม เปรียบได้กับยอดเจดีย์ หรือยอดชฎา อันมีค่าสูงสุด The pylon tips of the cable-stayed bridge that shine brightly in golden color symbolize the highly treasured tip of a pagoda or a crown. มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
“Bhumibol Bridge I” is the northern bridge over the Chao Phraya River connecting between Bang Phong Phang Sub-District, Yannawa District in Bangkok and Song Khanong Sub-District, Phra Pradaeng District in Samutprakan. The cable-stayed bridge offers seven lanes supported with two high pillars. The bridge above the Chao Phraya River is 326 meters long whose structure
61
is steel-reinforced concrete while the latter part of the bridge is 128 meters long built with prestressed concrete. Measuring from the highest arch, the bridge is 50 meters above the water level which allows the cargo ship to comfortably pass through. “Bhumibol Bridge II” is the southern bridge over the Chao Phraya River connecting between Song Khanong SubDistrict and Bang Ya Phraek Sub-District in Phra Pradaeng District, Samutprakan. Similarly to Bhumibol Bridge I, it is a cable-stayed bridge with seven lanes and two tall pillars. The length of the bridge above the Chao Phraya River is 398 meters whose structure is steel-reinforced concrete whereas the latter part of the bridge is 152 meters long structured with prestressed concrete. The highest arch at the middle of the bridge is 50 meters above the water level to allow cargo ships from the estuary to pass through and enter Khlong Toey Pier.
“สะพานภูมิพล ๒” เป็นสะพานข้ามแม่นำ�้ เจ้าพระยา ทางด้ า นใต้ เชื่ อ มระหว่ า งต� ำ บลทรงคนองกั บ ต� ำ บล บางหญ้าแพรก อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เป็ น สะพานขึ ง เคเบิ ล คู ่ ข นาดกว้ า ง ๗ ช่ อ งจราจร ที่ประกอบด้วยเสาสูงจ�ำนวน ๒ ต้น ความยาวสะพาน ช่วงข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ๓๙๘ เมตร เป็นโครงสร้าง ประกอบระหว่ า งคอนกรี ต และเหล็ ก และความยาว ตัวสะพานในช่วงด้านหลัง ๑๕๒ เมตร เป็นโครงสร้าง แบบคอนกรี ต อั ด แรง ความสู ง จากระดั บ น�้ ำ สู ง สุ ด ที่กึ่งกลางสะพานประมาณ ๕๐ เมตร เพื่อให้เรือบรรทุก หรือขนส่งสินค้าจากปากแม่น�้ำเจ้าพระยาสามารถลอดได้ เพื่อเข้าสู่ท่าเรือคลองเตย
January - February 2020
62 | Cove r Jou rneY
ช่ ว งตะวั น ตก เป็ น ทางยกระดั บ ข้ า มถนนพระราช วิริยาภรณ์ และเป็นทางระดับพื้นราบ ก่อนจะเป็นทาง ยกระดั บ อี ก ครั้ ง เมื่ อ บรรจบกั บ ถนนสุ ข สวั ส ดิ์ โดยแยก เส้นทางออกไปจากช่วงที่ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา การก่อสร้างการเชื่อมสะพาน ใช้วิธีก่อสร้างทั้งสองฝั่ง มาบรรจบกันตรงกลาง โดยการเชือ่ มใช้พนื้ คอนกรีตอัดแรง หนักชิ้นละ ๔๘๐ ตัน มาเชื่อมกัน โดยใช้เครนคู่ขนาดยักษ์ ดึงคอนกรีตขึ้นจากเรือขนส่งด้านล่าง ซึ่งการยกคอนกรีต มีเวลาแค่ ๔ ชั่วโมงต่อวัน เพื่อเปิดทางการจราจรทางน�้ำ ให้เป็นปกติ ใช้ระยะเวลาการก่อสร้างเพียง ๔ เดือนเท่านั้น จากก�ำหนดเดิม ๖ เดือน จนมีบนั ทึกในสถิตโิ ลกว่า เป็นการ สร้ า งสะพานขึ ง คู ่ ที่ ส ร้ า งเร็ ว ที่ สุ ด ในโลกและใหญ่ ที่ สุ ด ในเอเชีย การก่ อ สร้ า งสะพานแห่ ง นี้ คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม ๒๕๓๙ เห็นชอบให้กรมทางหลวง ชนบทเป็นผู้ด�ำเนินการ ตามแบบเดิมจะเป็นอุโมงค์ลอดใต้ แม่น�้ำเจ้าพระยา แต่ติดปัญหาด้านงบประมาณจึงปรับเป็น รู ป แบบสะพาน วิ ศ วกรผู ้ อ อกแบบ Elljarn A.Jordet ชาวนอร์เวย์ และ Daniel J.Farquhar ชาวอังกฤษ ได้เลือก รูปแบบสะพานขึงเนื่องจากข้อก�ำหนดว่า ตัวสะพานต้อง สูงกว่าระดับน�้ำไม่น้อยกว่า ๕๐ เมตร ลักษณะโครงสร้าง สถาปัตยกรรมมีรูปร่างเพรียว เพื่อความประหยัด สถาปนิก โครงการ Albert Yi ก�ำหนดให้ระหว่างสะพานทั้ง ๒ ช่วง มีลักษณะคล้ายหัวแหวน โดยออกแบบให้มีลักษณะคล้าย พระธ�ำมรงค์ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร งบประมาณการลงทุ น ของโครงการพระราชด� ำ ริ นี้ ใช้งบประมาณแผ่นดินจ�ำนวน ๓,๖๖๐ ล้านบาท นอกจาก ประโยชน์หลักในการสัญจรแล้ว สะพานภูมิพล ๑ และ สะพานภู มิ พ ล ๒ ยั ง เป็ น อี ก หนึ่ ง สะพานข้ า มแม่ น�้ ำ เจ้าพระยาที่งดงามที่สุด ในแง่โครงสร้างทางวิศวกรรม และสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น เริ่มก่อสร้างปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ก่อสร้างส�ำเร็จในช่วงปีมหามงคลทีพ่ ระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ สะพานภูมิพล เปิดใช้ครั้งแรกในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ในวันพุธที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเรือพระทีน่ งั่ อังสนาของกองทัพเรือ ไปทรงเปิดสะพานภูมิพลและประตูระบายน�้ำคลองลัดโพธิ์ ณ กลางแม่น�้ำเจ้าพระยา ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
The west is an elevated road over Phra Ratwiriyaphon Road and a horizontal alignment before reaching another elevated road connected to Suksawat Road that starts diverging from the Chao Phraya River crossing span. Regarding the bridge welding, the two spans converge in the middle. 480 tons of prestressed concrete floors were pulled up by double enormous girder cranes from the transport ship down below. While each lifting could be operated within four hours a day to allow a regular flow of water traffic, the construction took only four months to complete surpassing its original six-month schedule and dubbed as the fastest completed double cablestayed bridge in the world and the largest one in Asia. On March 5, 1996, the cabinet placed the bridge construction under the supervision of the Department of Rural Roads. The initial plan to build an underwater tunnel beneath the Chao Phraya River was gradually revised to a bridge due to budget limitation. Elljarn A. Jordet, a Norwegian design engineer, and Daniel J. Farquhar, a British design engineer, finalized on the cable-stayed bridge according to its primary constraint that the bridge must be at least 50 meters above the water level, and the fact that its streamlined architectural structure was more economically efficient. Meanwhile, Albert Yi, the project architect, deliberately created a ring shaped pattern on both bridges to resemble royal rings in honor of His Majesty King Bhumibol Adulyadej
63
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานเพื่อบรรเทาทุกข์ ของประชาชนเรื่องปัญหาการจราจร หลายคนเรียกสะพานแห่งนี้ว่า “สะพานของพ่อ” His Majesty King Bhumibol Adulyadej graciously commanded the bridge construction to alleviate His people’s suffering from the traffic congestion problems, hence, it is often regarded as “Father’s Bridge”.
วิศวกรผูอ้ อกแบบ ได้เลือกรูปแบบสะพานขึง เนือ่ งจากข้อก�ำหนดว่า ตัวสะพานต้องสูงกว่าระดับน�้ำไม่น้อยกว่า ๕๐ เมตร ลักษณะ โครงสร้างสถาปัตยกรรมมีรูปร่างเพรียว The design engineers finalized on the twin cable-stayed bridges with a streamlined architectural structure due to the primary constraint that the bridge must be at least 50 meters above the water level. This Royal Initiative project was completed under an approximate investment budget of 3,600 million baht. Beyond the first and foremost benefits in traffic improvement, Bhumibol Bridge I and Bhumibol Bridge II are one of the most magnificent bridges across the Chao Phraya River ever built. In terms of its remarkable structural engineer and architecture, the bridge construction began back in 2003 and completed in the auspicious year that marked the 60th Anniversary of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s Ascension to the Throne in 2006. Bhumibol Bridge was opened for traffic on September 20, 2006. On Wednesday, November 24, 2010, His Majesty King Bhumibol Adulyadej and Her Royal Highness Princess Sirindhorn presided on the Royal cruise, Angsana, provided by the Thai Royal Navy to the opening ceremony of Bhumibol Bridge and Khlong Lat Pho Floodgate in the middle of the Chao Phraya River in Samutprakan. January - February 2020
64 | Cove r Jou rneY | Sa mut prak an Learni ng Park and C i t y Tow er
อุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ แลนด์มาร์กใหม่ของเมืองปากน�้ำ
Samutprakan Learning Park and City Tower The latest landmark of Paknam City
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
65
โครงการ “อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ” เป็นภาพสะท้อนถึงความร่วมแรงร่วมใจของชาวปากน�้ำ รวมทั้งเป็นสัญลักษณ์ที่บอกถึงวิสัยทัศน์ด้านโลเคชั่นที่เปี่ยมศักยภาพของผู้ริเริ่มได้เป็นอย่างดี “Samutprakan Learning Park and City Tower” project mirrors the unanimity of Paknam people and a symbol of the keen vision of its initiator having foreseen the promising potential of this location.
January - February 2020
66 | Cove r Jou rneY
แลนด์มาร์กแห่งใหม่ของเมืองปากน�้ำ จุดหมายปลายทางที่นักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ต้องปักหมุดไว้ขอให้ได้มีโอกาสมาเยือนสักครั้ง The latest landmark of Paknam City and one of the must-visit travel destinations among Thai and overseas travelers.
ถ้ า ถามนั ก เดิ น ทางที่ มี โ อกาสได้ ไ ปเยื อ นเมื อ งต่ า งๆ ทั่ ว โลก “หอชมเมือง” มักเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญ และเป็นแลนด์มาร์ก ที่นักท่องเที่ยวต้องจดไว้ในลิสต์รายการจุดเยี่ยมชม เนื่องจาก หอชมเมืองทุกแห่ง มักถูกสร้างขึ้นด้วยการรวมเอาอัตลักษณ์ อันโดดเด่น สื่อความหมายหรือแสดงออกถึงวัฒนธรรมส�ำคัญ จนถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของประเทศหรือบ้านเมืองนั้นๆ โครงการ “อุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ” เป็ น หนึ่ ง ในหอชมเมื อ งของไทย ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในเรื่ อ ง ของทัศนียภาพที่สวยงาม สะท้อนถึงความยิ่งใหญ่และความ ร่ ว มแรงร่ ว มใจของชาวปากน�้ำได้เ ป็นอย่า งดี ตั้ง อยู่บนถนน สุขุมวิทสายเก่า ห่างจากสามแยกศาลากลางปากน�้ำไปเพียง ๒๐๐ เมตร การคมนาคมสะดวกเพราะสามารถเดินทางมาถึง ตัวหอชมเมืองได้หลากหลายวิธีการ ทั้งรถไฟฟ้าหรือรถโดยสาร สาธารณะ อีกทั้งยังมีลานจอดรถสะดวกสบายกว้างขวาง และมี ภูมิทัศน์ที่น่าสนใจ เนื่องจากเป็นพื้นที่ดัดแปลงจากเรือนจ�ำเก่า มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
hen asked travelers who had been to different countries around the world, “City Tower” is often a significant travel destination and a must-visit landmark on their list since each and every city tower embodies the distinctive identity and symbols that capture the cultural essence of that particular city or country.
W
“Samutprakan Learning Park and City Tower” Project is one of Thailand’s most recognized city towers with marvelous panoramic view that reflects the grandeur and the unanimity of the people of Paknam. Situated on the Old Sukhumvit Road and only 200 meters away from Paknam City Hall Junction, the city hall can be reached via various convenient transportation including the skytrain and public buses. It also provides an extensive parking space enclosed with interesting landscape renovated from an old prison whose remaining fortress walls have been decorated to blend in with a new public park where townspeople come to exercise.
67
ซึ่งปัจจุบันยังคงเหลือป้อมก�ำแพงเรือนจ�ำ ที่ถูกตกแต่งให้เข้ากับ สวนสาธารณะโดยรอบ รองรับประชาชนที่เข้ามาใช้เป็นพื้นที่ ออกก�ำลังกายได้เป็นอย่างดี โครงการอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ เริม่ ต้นตัง้ แต่ปี ๒๕๔๒ จากการริเริม่ ของนายชนม์สวัสดิ์ อัศวเหม ปัจจุบันเป็นประธานหอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ สมัยที่สอง เนื่ อ งจากผลงานการพั ฒ นาการด้ า นเศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ มี ค วามสั ม ฤทธิ์ ผ ลอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ์ ภ าพและ เป็นรูปธรรม โดยเฉพาะวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการก่ อ ตั้ ง ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ เป็ น landmark สถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ ที่มีอนาคตด้านโลเกชั่น ที่เปี่ยมศักยภาพ โดดเด่นด้านเอกลักษณ์ไทย และเป็นสัญลักษณ์ ส�ำคัญแห่งยุคด้วยการบริหารจัดการทีล่ ำ�้ สมัย ทัง้ ในด้านเทคโนโลยี การสร้าง อีกทั้งยังเต็มไปด้วยความหลากหลายเรื่องน่าศึกษา ซึง่ ผูร้ เิ ริม่ เล็งเห็นว่าจะสามารถดึงดูดนักท่องเทีย่ วได้จากทุกสารทิศ เกิดเป็นรายได้เข้าสู่จังหวัดได้อย่างยั่งยืน โครงการอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ ก่อสร้างเป็นโครงการทีส่ ามารถรองรับการใช้งานได้หลายรูปแบบ ทั้งส่วนหอชมเมืองที่อยู่ด้านบนสุด และถือเป็นส่วนประกอบหลัก ของโครงการ ประกอบไปด้วยส่วนชมวิว ที่สามารถมองเห็น ได้รอบถึง ๓๖๐ องศา ภัตตาคารลอยฟ้า และศูนย์โทรคมนาคม และการสื่อสาร ภายในตัวอาคารหอชมเมือง ประกอบไปด้วยส่วนพิพิธภัณฑ์ เน้นการออกแบบแบบร่วมสมัย โดยรวบรวมเรื่องราวของสถานที่ ส�ำคัญ ข้อมูลบุคคลส�ำคัญ น�ำมาจัดแสดง เพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ตระหนักถึงความเป็นมาของชาวปากน�้ำ และร่วมกันอนุรกั ษ์ความเป็นเมืองประวัตศิ าสตร์ของสมุทรปราการ ให้คงอยู่ควบคู่ไปกับความเจริญก้าวหน้าในปัจจุบัน Initiated by Chonsawat Asavahame, the current president of Samutprakan Chamber of Commerce who is serving the second term due to his efficient and concrete achievement in driving forth Samutprakan provincial economic development. Particularly his profound vision in establishing and registering Samutprakan Learning Park and City Tower as a new travel landmark with a great future strategic location and prominent Thai identity. It is set as a significant symbol of the era with modern administration, innovative construction technologies, and a large diversity of knowledge to discover according to the initiator who foresaw its potential to magnetize travelers from everywhere and simultaneously generate a sustainable income to the province. Samutprakan Learning Park and City Tower Project was designed to serve multiple functional benefits. The city observatory zone at the top floor is one of the major components of the project with an exceptional
January - February 2020
68 | Cove r Jou rneY 360 degree scenic point accompanied by Sky Restaurant and Telecommunications and Communications Center. The interior space of the City Tower houses a large Museum Zone in contemporary architectural design that exhibits valuable details of historic sites and influential people to encourage new generations to realize the origin of Paknam and its people and to further preserve the precious Next, the Library zone was conceptualized as a resourceful provincial knowledge seed center with an array of books, movies, music and interesting modern technologies. To illustrate the knowledge seed development, a gigantic bean seed installed in the middle of the room symbolizes how the knowledge branches out into various fields of interest in each zone. Vibrant colors are employed to inspire a more effective learning process, memory and creativity among young children and youth as if they have stepped into a “learning amusement park” where they get to discover and learn from modern instructional media. In addition, the Commercial Zone is comprised of Samutprakan Library, OTOP Shop and Food Court aside from the public space.
แนวคิ ด การออกแบบห้ อ งสมุ ด เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร วม เมล็ดพันธุ์แห่งความรู้ประจ�ำจังหวัด แหล่งรวมหนังสือ ภาพยนตร์ ดนตรี และเทคโนโลยีทนี่ า่ สนใจ เน้นการออกแบบ ที่ สื่ อ ถึ ง การเจริ ญ เติ บ โตของเมล็ ด พั น ธุ ์ โดยมี ถั่ ว ยั ก ษ์ กลางห้องเปรียบเสมือนเมล็ดความรู้ขนาดใหญ่ ที่ก�ำลัง แตกแขนงความรู้ออกไปตามโซนต่างๆ เน้นสีสันที่สดใส เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ การจดจ�ำ และเป็นการจุดประกาย ความคิดใหม่ๆ ให้เด็กและเยาวชนมีความรูส้ กึ เหมือนก�ำลัง เข้าชม “สวนสนุกแห่งการเรียนรู”้ เป็นการเรียนรูร้ ปู แบบใหม่ ในลั ก ษณะสาระบั น เทิ ง พร้ อ มทั้ ง กระตุ ้ น การเรี ย นรู ้ ด้วยตนเองของเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ ยั ง มี ส ่ ว นพาณิ ช ยกรรม เช่ น ห้ อ งสมุ ด ร้านค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ศูนย์อาหาร รวมทั้ง ส่วนทีเ่ ป็นพืน้ ทีส่ าธารณะภายในโครงการอุทยานการเรียนรู้ และหอชมเมืองสมุทรปราการ เนื่องจากโครงการอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมือง สมุทรปราการ มีเป้าหมายต้องการภาพลักษณ์เพื่อสร้างให้ เป็นทีร่ จู้ กั ของผูค้ นและนักท่องเทีย่ ว ทัง้ ไทยและต่างประเทศ สถาปั ต ยกรรมของอุ ท ยานการเรี ย นรู ้ แ ละหอชมเมื อ ง สมุ ท รปราการ จึ ง เน้ น การสื่ อ ถึ ง รู ป แบบที่ มี ค วามเป็ น สมั ย นิ ย ม (Trend) แต่ ยั ง สะท้ อ นความรู ้ สึ ก ของที่ ตั้ ง เพื่ อ บ่ งบอกถึ ง เอกลั ก ษณ์ คือ ประเทศไทยและจัง หวัด สมุทรปราการ มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
สิ่งก่อสร้างที่สะท้อนถึงความยิ่งใหญ่ตระการตา พาให้คิดย้อนไปถึงภาพในอดีต ที่เมืองปากน�้ำเคยเป็นพิกัดส�ำคัญในการออกเรือไปค้าขาย และท�ำหน้าที่ป้องกัน ประเทศจากข้าศึกศัตรูทางน�้ำอีกด้วย The construction that demonstrates the city magnificence takes ones back to the past when Paknam City was once a crucial strategic location for sailing, trading and safeguarding the kingdom from enemy’s water intrusion.
69
นักวิชาการผู้สันทัดกรณีด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ อาจารย์เจนกิจ นภาวรรณ ได้กล่าวถึงจุดเริ่มต้นในการ ก่อสร้างอุทยานการเรียนรูแ้ ละหอชมเมืองสมุทรปราการว่า มีแนวคิดมาจากจุดที่ตั้งของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งมี ความเป็นเมือง “ด่านริมทะเล” ของประเทศไทย ท�ำหน้าที่ คอยเฝ้าระวังและเตือนภัย ป้องกันการรุกรานของข้าศึก ผูอ้ อกแบบจึงน�ำ “ประภาคาร” ซึง่ มีจดุ ส่งสัญญาณเตือนภัย และเป็นทีห่ มายน�ำทางให้กบั ชาวเรือไปสูจ่ ดุ หมายทีถ่ กู ต้อง มาเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างหอคอยรูปร่างสูงสง่าดังที่ ปรากฎอยู่ในทุกวันนี้ “อุ ท ยานการเรี ย นรู ้ แ ละหอชมเมื อ งสมุ ท รปราการ เป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่อนั มีรากฐานมัน่ คงยืนนานมาจาก อดีต ในอุทยานการเรียนรู้และหอชมเมืองสมุทรปราการ มีพิพิธภัณฑ์เพื่อเล่าเรื่องราวเหตุการณ์ส�ำคัญของเมืองนี้ เป็นเรื่องศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจของชาวเมืองโดยแท้ และทีส่ ำ� คัญส�ำหรับลูกหลานชาวปากน�ำ้ เพือ่ การก้าวทันโลกใน อนาคต ในอุทยานการเรียนรูแ้ ละหอชมเมืองสมุทรปราการ บริเวณชั้นล่างนี้ยังมีศูนย์เรียนรู้ของเด็กและห้องสมุดเด็ก และเยาวชน เพื่อเป็นหอแห่งความรู้ ให้เด็กๆ ชาวปากน�้ำ ได้เปิดวิสัยทัศน์สู่โลกอนาคตเมืองสมุทรปราการ รวมทั้ง เป็นประจักษ์พยานถึงการรู้เท่าทันโลก มองการณ์ ไกล และภาคภูมิใจในอดีตของตัวเอง” To establish a remarkable impression on the general public, Thai and international travelers, the architecture of the City Tower highlights on the trendiness while echoing the charming identity of Thailand and Samutprakan Province. Jenkit Naphawan, an architectural specialist and scholar, explained that the construction of Samutprakan Learning Park and City Tower was influenced by the strategic location of Samutprakan as the “seafront outpost” of Thailand that watched out, alarmed and safeguarded the kingdom from eneny’s intrusion. Upon realizing how its “lighthouse” was where warning signals were transmitted and a shining light that guided seafarers to the right destination, the designers portrayed its inspirational characteristics in the construction of Today’s majestically tall watchtower. “Samutprakan City Tower is a contemporary architecture with a strong root from the past. Inside the Tower, there are museums that present a series of historic roles and events of the city that carry the true pride of the townsmen. More importantly, to ensure that the young generations of Paknam can keep pace with the future, the lower level of the City Tower also offers a Child Learning Center and Children’s Museum where young children and youth may envision the future of Samutprakan and witness the great literacy and the visionary acts and of their ancestors.” January - February 2020
70
| Cove r Jou rneY | Ma s jid Daro s SAA dah
มัสยิดดารอสอาดะห์
เรียบง่าย สง่างาม สมเป็นบ้านของพระเจ้า Masjid Daros SAAdah
The simple elegance at the House of God
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
71
January - February 2020
72
| Cove r Jou rneY
ช่องกระจกสลักพระนามพระผู้เป็นเจ้า ๙๙ พระนาม และตัวหนังสือคัมภีร์อัลกุรอาน เหนือโถงละหมาด 99 names of gods were carved on the small glass spaces whereas the text cited from the Quran above the Salat Hall. he sound of Azan through the loudspeakers on Azan Tower (or Minaret Tower) signals the villagers in Baan Pak Lat Community, the oldest Muslim community of Samutprakan, that it is time for the daily Salat, an activity that Islamic followers strictly practice five times a day, namely at sunrise, midday, afternoon, sundown and nighttime, as a way to pay homage and recall to the kindness of Allah both physically and spiritually.
เสี ย งอะซานผ่ า นเครื่ อ งกระจายเสี ย งบน หออะซาน เป็นสัญญาณบอกกล่าวให้ผู้คน ในชุมชนบ้านปากลัด ชุมชนมุสลิมเก่าแก่ ของจั ง หวั ด สมุ ท รปราการ ได้ ท ราบถึ ง ช่วงเวลาละหมาดในแต่ละวัน อันเป็นศาสนกิจ ที่อิสลามมิกชนยึดถือปฏิบัติ ๕ เวลา คือ รุ่งอรุณ กลางวัน เย็น พลบค�่ำ และยามค�่ำคืน เพื่ อ แสดงความเคารพ ระลึ ก ถึ ง พระเจ้ า ทั้งร่างกายและจิตใจ
“Ho Azan (Thai for Azan Tower)” is an integral part of a mosque formerly used as a place where Muezzin,
“หออะซาน” เป็นส่วนหนึ่งของมัสยิด เดิ ม ใช้ เ ป็ น สถานที่ ส� ำ หรั บ ให้ มุ อั ซ ซิ น หรื อ ผู้ประกาศเวลาละหมาด ขึ้นไปกล่าวอะซาน
T
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
หรื อ ประกาศให้ ช าวมุ ส ลิ ม รั บ รู ้ ว ่ า ถึ ง เวลา ละหมาด ขอบเขตของชุ ม ชนในสมั ย ก่ อ น มั กถู กก� ำ หนดตามพื้ น ที่ ซึ่ งอยู ่ ใ นรัศ มีเสียง อะซาน รู ป ทรงส่ ว นใหญ่ ถู ก สร้ า งคล้ า ย หอคอย สันนิษฐานว่าน่าจะน�ำเค้าโครงมาจาก ประภาคารแห่งเมืองอเล็กซานเดรียในอียิปต์ ปัจจุบันเครื่องกระจายเสียงได้เข้ามาแทนที่ มุ อั ซ ซิ น หออะซานจึ ง เป็ น สถาปั ต ยกรรม เชิงสัญลักษณ์ ที่สื่อความหมายว่าสถานที่ แห่งนั้นคือมัสยิด โดยสามารถมองเห็นได้ จากระยะไกล ก่ อ นกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ มี ช าวอิ น เดี ย เดินทางเข้ามาค้าขายและปักหลักอยู่อาศัย
73
a formal Azan announcer, stood to give call to prayer (azan) so his local Muslim believers were notified of the time of worship. In the past, the territory of a community was marked by the farthest distance to which the sound of the local Azan traveled. Generally, the construction shape of Azan towers are presumably inspired by the structure of the Lighthouse of Alexandria in Egypt. Nonetheless, nowadays, Muezzins are replaced with loudspeakers, therefore, Minaret Towers become a mere symbolic architecture that connotes that a particular place is a Masjid from afar. Prior to the Rattanakosin period, the first generation of Baan Pak Lat Muslim Community was a group of Indians who traveled to trade and eventually took up residence in the area. Subsequently, the second generation was the Malays who migrated in the early reign of His Majesty King Phra Buddha
เป็นชุมชน ถือเป็นมุสลิมบ้านปากลัดรุ่นแรก มุสลิมรุ่น ๒ เป็นชาวมลายู เข้ามาในช่วง ต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ ราวปี พ.ศ. ๒๓๒๙ มุสลิม ๒ รุ่นได้หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน มีการสร้างมัสยิดประจ�ำชุมชนขึน้ เช่นเดียวกับ การสร้างวัดของชาวมอญและชาวไทย มัสยิดดารอสอาดะห์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็ น การสร้ า งหลั ง ที่ ๓ หลั ง แรกนั้ น เป็ น เรือนไทยชั้นเดียวใต้ถุนสูง สร้างด้วยไม้สัก ทั้งหลังประมาณปี พ.ศ. ๒๓๖๗ ใช้ประกอบ ศาสนกิ จ นานกว่ า ร้ อ ยปี มั ส ยิ ด หลั ง ที่ ๒ สร้างแทนหลังแรกทีม่ สี ภาพทรุดโทรมยากแก่ การซ่อมแซม ในปี พ.ศ. ๒๔๖๕ ด้วยรูปแบบ สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ในยุคนั้นเป็นอาคาร คอนกรีต ปูพนื้ ด้วยหินอ่อนจากอิตาลี พร้อมน�ำ ไม้ สั ก ที่ ยั ง สภาพดี จ ากมั ส ยิ ด หลั ง เดิ ม มา ใช้เป็นโครงสร้างในส่วนต่างๆ ใช้งานอยู่ ประมาณ ๗๘ ปี จึงได้ท�ำการรื้อเพื่อสร้าง
January - February 2020
74
| Cove r Jou rneY
Yotfa Chulalok the Great (Rama I) in 1786. Later, soon after the two Muslim generations merged as one, the community mosque was built for the same purpose as the construction of Mon and Thai temples. The Majsjid Daros Saadah that we see today is the third building. The first one was a one-storey teakwood traditional Thai house with a high raised basement built in 1824, used to organize numerous Islamic activities for over a hundred years. Due to its dilapidated structure beyond repair, the first building was replaced with a modern architecture in 1922, a concrete building with a marble floor imported from Italy.
Leftover teakwood from the the previous masjid that were still in good condition were modified into the structure of several sections. The second construction served its duty for approximately 78 years before it was pulled down and substituted with the current masjid in 2003. The third generation is a three-storey steel-reinforced concrete building that can accommodate upto 1,200 prayers during Salat. Each floor is divided into multiple functional spaces according to most mosque layouts. The first floor is called a multi-purposed section consisting of a reception room, an office, and washing rooms for women
มั ส ยิ ด หลั ง ปั จ จุ บั น เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ลักษณะเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชัน้ รองรั บ ผู ้ เ ข้ า มาท� ำ พิ ธี ล ะหมาดได้ ป ระมาณ ๑,๒๐๐ คน แต่ละชั้นแบ่งพื้นที่ใช้สอยแยกเป็นส่วน ต่างๆ ตามรูปแบบของมัสยิดทั่วไป บริเวณ ชั้น ๑ เป็นส่วนที่เรียกว่าชั้นอเนกประสงค์ ประกอบด้วย ห้องรับรอง ห้องส�ำนักงาน และห้ อ งอาบน�้ ำ ละหมาด แยกชาย-หญิ ง ซึ่ ง แต่ ล ะมั ส ยิ ด ต้ อ งเตรี ย มไว้ ส� ำ หรั บ การ ช�ำระล้างร่างกายก่อนการละหมาด ซึ่งเปรียบ เสมือนการติดต่อกับพระเจ้า โถงละหมาด บริเวณชั้น ๒ เป็นห้องโถงขนาดใหญ่ สะอาด
อิหม่ามขึ้นกล่าวเทศนาสั่งสอนบนมิมบัร Imam standing on the Minbar to deliver sermons and มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
75
and men that every masjid must provide so the worshippers may cleanse their body before Salat time, which is a time to communicate with Allah. The Muslim Prayer Hall on the second floor is a spacious, clean and peaceful hall. In front of it was Mihrab which indicates the Qibla direction which points towards the direction of the city of Mecca, the sacred city to which every muslim around the world should face when performing ritual prayers. It is usually a niche on the wall with no specifically fixed shape. On the right of the Mihrab, there is a Minbar or the pulpit where Imam stands to deliver sermons and teachings on several occasions, usually built as a platform with steps to allow Imam in the high enough position that people inside the Salat hall can see and hear.
สงบ ด้านหน้าโถงละหมาดมีมิห์รอบ ซึ่งเป็น ส่วนที่ใช้บอกทิศทางของกิบละฮ์ ซึ่งอยู่ที่ เมกกะหรือมักกะฮ์ นครศักดิ์สิทธิ์ที่มุสลิม ทั่วโลกต้องหันไปทางทิศดังกล่าวเสมอเวลา ท� ำ ละหมาด มั ก ท� ำ เป็ น ช่ อ งเว้ า ลึ ก เข้ า ไป ในผนั ง ไม่ มี รู ป ทรงตายตั ว ด้ า นขวาของ มิ ห ์ ร อบจะมี มิ ม บั ร หรื อ แท่ น แสดงธรรม เพื่ อ ให้ อิ ห ม่ า มขึ้ น กล่ า วสั่ ง สอน เทศนา ในโอกาสต่างๆ มักสร้างเป็นแท่นมีที่นั่งพัก มี บั น ไดขึ้ น สู ง พอให้ ค นที่ อ ยู ่ ภ ายในโถง ละหมาดเห็นและได้ยินอย่างทั่วถึง ตั ว อั ก ษรในช่ อ งกลมเหนื อ มิ ห ์ ร อบ ด้านขวาเป็นนามอัลลอฮ์ ซ้ายเป็นนามศาสดา มุฮัมหมัด เพราะศาสนาอิสลามมีข้อก�ำหนด ไม่ให้สร้างรูปเคารพ ด้วยความเชือ่ เชิงปรัชญา ว่าพระเจ้าเท่านั้นเป็นผู้ที่สร้างชีวิต เพดาน Masjid Daros SAAdah
ด้านบนเป็นส่วนของโดม ที่มองจากภายนอก มีลักษณะเหมือนเปลวเทียน มีช่องกระจก เล็ ก ๆ ส� ำ หรั บ ให้ แ สงส่ อ งเข้ า มาภายใน สลักพระนามของพระผู้เป็นเจ้า ๙๙ พระนาม ใต้ ล งมาเป็ น ตั ว หนั ง สื อ คั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อาน พื้ น ที่ ชั้ น ๓ เป็ น ส่ ว นของชั้ น ลอยส� ำ หรั บ ท�ำละหมาดเช่นกัน มัสยิดเป็นสถาปัตยกรรมทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ การตกแต่ ง มั ก น� ำ ลวดลายเรขาคณิ ต เข้ า มาใช้ เพื่ อ สื่ อ ความงามของธรรมชาติ และพลั ง สร้ า งสรรค์ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ข องพระเจ้ า โดยให้ความส�ำคัญต่อองค์ประกอบของพื้นที่ เอื้ออ�ำนวยในการเข้ามาประกอบศาสนกิจ เป็นหัวใจของคนในชุมชน เช่นเดียวกับมัสยิด ดารอสอาดะห์ ที่ อ ยู ่ คู ่ ชุ ม ชนบ้ า นปากลั ด มานานกว่า ๒๐๐ ปี
72 Soi Nakhon Khuean Khan 6, Nakhon Khuean Khan Road, Bang Phueng Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 0 2464 2198, 0 2816 8430
There are letters inscripted inside the round niche above the Mihrab: ones on the right signify the name of Allah and ones on the left the name of Muhammad, the founder of Islam. This is because of the forbidden rule to create sacred sculptures as according to the Islamic doctrine that Allah is the only creator of life. The ceiling above is constructed as a domed box, which appears similar to a candle flame from outside. The small glass spaces that yield in natural sunlight are carved with the 99 names of gods in total. Underneath is written with the text cited from the Quran. The third floor is a mezzanine for the daily ritual prayer as well. Masjid is a unique architecture often decorated with geometric shapes and patterns to convey the beauty of nature and the great force of God’s creation. Emphasized on the composition of space to facilitate the prayers when attending religious ceremonies, it is regarded as the vital spiritual sanctuary of people within the community just as Masjid Daros Saadah has always been to Baan Pak Lat Community for the past two hundred years.
มัสยิดดารอสอาดะห์
เลขที่ ๗๒ ซอยนครเขื่อนขันธ์ ๖ ถนนนครเขื่อนขันธ์ ต�ำบลบางพึ่ง อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐ ๒๔๖๔ ๒๑๙๘, ๐ ๒๘๑๖ ๘๔๓๐ January - February 2020
76
| Ar t Tales
เรือโดยสารจากท่าเรือมาร์เก็ตวิลเลจ แล่นตามคลองบางพลี ไปท่าเรือ วัดบางพลีใหญ่ใน ค่าเรือ ๑๕ บาท Khlong Bang Phli Passenger Boat from Market Village Pier down Khlong Bang Phli Canal to Wat Bang Phli Yai Nai Pier Service Fee: 15 Bahtw
สมเด็จพระศากยมุนศี รีสเุ มธบพิตร พระนอนวัดบางพลีใหญ่กลาง ความยาว ๕๒.๕ เมตร
Phra Sakkayamuni Sisumetbophit The reclining Buddha at Wat Bang Phli Yai Klang Length: 52.5 meters
หลวงพ่อโต วัดบางพลีใหญ่ใน
Luang Pho To Wat Bang Phli Yai Nai
สะพานเรือข้ามฟากไป ตลาดโบราณบางพลี
Cross-River Ferry Bridge to Bang Phli Ancient Market
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
77
ไอศกรีมกะทิลุงแช ประจ�ำการบนเรือแจวอยู่ย่านน�้ำ แถบนี้มานานกว่า ๕๒ ปี
ลงเรือเมล์
Uncle Chae’s Coconut Milk Ice-Cream Stationed on the rowboat win the neighborhood for the past 52 years.
ไปเตร็ดเตร่ที ่ ตลาดโบราณบางพลี Skip on passenger boat and wander around Bang Phli Ancient Market
ขนมครกสูตรโบราณ กวยจั๊บน�้ำข้นริมคลอง
Traditional Thai Coconut Custard
Roll Noodles In Thick Brown Soup
ปลาสลิดบางบ่อ ของดีเมืองสมุทรปราการ
Bang Bo Snakeskin Gourami Samutprakan Gem
ไอศกรีม หรือไอติมหลอด หวานเย็นชืน่ ใจ
Ice-creamor traditional Thai ice pop Refreshingly sweet and cool January - February 2020
78
| Ge tti n g A rou nd | Bang Ph li Anc i ent M a rk et
ลงเรือเมล์ ไปเตร็ดเตร่ ที่ตลาดโบราณบางพลี
Skip on passenger boat and wander around Bang Phli Ancient Market เราเดินจากป้ายรถเมล์ริมถนนบางนา-ตราด ตรงไป ท่ า เรื อ มาร์ เ ก็ ต วิ ล เลจ ที่ อ ยู ่ ห ่ า งไปไม่ ถึ ง ร้ อ ยเมตร มีผู้โดยสารนั่งรออยู่แล้วสองสามคน เมื่อลงนั่งประจ�ำที่ พี่คนขับก็หันหัวเรือออกจากท่าทันที เพราะครบก�ำหนด เวลาจอดรอ ซึ่งอยู่ประมาณไม่เกินครึ่งชั่วโมงต่อรอบ แม้ผู้โดยสารจะยังไม่ครบ ๑๐ คน ตามจ�ำนวนที่เรือ สามารถรับได้ fter a quick walk from Bangna - Trat Road bus stop to Market Village Pier, we could already see a few passengers waiting on the boat. As we quickly grabbed a seat, the steersman immediately took off because, in general, these boats had no more than half an hour for each stop to stick around waiting for passengers and were bound to leave soon as the clock ticked even if it means some empty seats.
A
Khlong Bang Phli Boat Route is a collaboration between two government sectors, namely Bang Phli District and Bang Phli Subdistrict Municipality, and private sectors to provide a more convenient service for tourists planning to worship the sacred Luang Pho To or check out local ancient markets while promoting income generating careers to local boatmen. In the beginning, it only operated on weekends and public holidays but since August, 2018, it has been sending and receiving the locals within the area on weekdays as well which has saved a lot of time in travelling.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
79
เส้นทางเดินเรือคลองบางพลี เป็นความร่วมมือระหว่าง ภาครั ฐ คื อ อ� ำ เภอบางพลี แ ละเทศบาลต� ำ บลบางพลี กับเอกชน เพื่อ ให้บริก ารนัก ท่อ งเที่ ย วที่ จ ะเดิ น ทางไป ไหว้พระหลวงพ่อโต เที่ยวตลาดโบราณ ทั้งยังส่งเสริม อาชีพสร้างรายได้ ให้ชาวเรือในพืน้ ที่ โดยเริม่ วิง่ รับส่งเฉพาะ เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มาตัง้ แต่เดือนสิงหาคม ปี ๒๕๖๑ และเริ่มหันมารับส่งคนในพื้นที่ในวันธรรมดา ซึ่งประหยัดเวลาเดินทางไปได้มาก วิถีชีวิตริมคลองแบบเก่ายังมีให้เห็น บางช่วงต้อง ชะลอความเร็วเพราะข้างหน้าก�ำลังยกยอ คนขับบอกว่า คลองบางพลีมียอจับปลามากกว่าคลองอื่นๆ ในละแวกนี้ เป็นดัชนีชี้วัดคุณภาพน�้ำได้อีกทางหนึ่ง เรือเข้าเทียบท่าที่ วัดบางพลีใหญ่ใน ใช้เวลา ๒๐ นาที กับระยะทางประมาณ ๔ กิโลเมตร เราเข้าไปกราบนมัสการหลวงพ่อโตก่อนเป็น
ล� ำ ดั บ แรก แล้ ว เดิ น มาฝากท้ อ งที่ ต ลาดโบราณบางพลี เพลินปากกับอาหารคาวหวานทีม่ ใี ห้เลือกชิมตลอดเส้นทาง ข้ามสะพานตรงปากคลองบางพลีบรรจบกับคลองส�ำโรง มาอีกฝั่ง แวะซื้อไอศกรีมกะทิลุงแช เจ้าเก่าแก่ที่ประจ�ำการ บนเรือแจวอยู่ย่านน�้ำแถวนี้ แบบรักเดียวไม่เปลี่ยนแปลง มานานกว่า ๕๒ ปี ลุงเล่าว่าตอนเด็กๆ ยังทันเห็นภาพ พ่อค้าแม่ค้าขนข้าวของใส่เรือพายเรือแจวมาขาย บางล�ำ ก็เลยไปขายที่อื่น แต่ขากลับต้องมาแวะพักที่นี่ เพื่อจับจ่าย ซื้อของกลับเข้าบ้าน เลี้ยวขวาจากท่าเรือเดินข้ามฟาก มุมอันซีนของตลาด โบราณบางพลี มาทางซอยสุขาภิบาล ๑ สองข้างทางขนาบ ด้วยห้องแถวไม้ ทีย่ งั คงกลิน่ อายของอดีต ทัง้ ร้านขายของช�ำ ร้านเสริมสวย ร้านตัดผม ทะลุออกถนนสุขาภิบาล ๔ ทีพ่ าเรา ไปถึงวัดบางพลีใหญ่กลาง ซึง่ มีประวัตคิ วามเป็นมายาวนาน January - February 2020
80 | Ge tti n g A rou nd
อีกวัดหนึง่ ตัง้ ใจไปกราบสมเด็จพระศากยมุนศี รีสเุ มธบพิตร พระนอนองค์ ใหญ่ความยาว ๕๒ เมตร ๕๐ เซนติเมตร กว้าง ๗ เมตร ใช้เวลาสร้าง ๒๑ ปี ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๒๑-๒๕๔๔ ปัจจุบันชาวบ้านจะเรียกชื่อวัดนี้สั้นๆ ว่า “วัดพระนอน” มีทางเข้าไปด้านในองค์พระจากด้านหลัง ขึ้นบันได ผ่านบริเวณชั้น ๒ และ ๓ ซึ่งเป็นพื้นที่ฝึกกรรมฐานของ พระภิกษุ มีภาพเขียนสื่อสารเรื่องราวของนรก สวรรค์ คุณ และโทษของการประกอบกรรมดีและชั่ว ชั้นบนสุด ถือเป็นไฮไลต์ทตี่ อ้ งไปให้ถงึ เพราะอยูใ่ นต�ำแหน่งหัวใจของ องค์พระนอน ซึ่งเปรียบได้กับหัวใจของสมเด็จพระสัมมา สั ม พุ ท ธเจ้ า ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ ก ราบไหว้ น้ อ มน� ำ หลักธรรมค�ำสอนของพระองค์มาประพฤติปฏิบัติ
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
81 The old ways of life along the canals could still be seen and the boat even had to slow down at certain points because villagers were raising their square dip nets from the canal. According to the steersman, Khlong Bang Phli still had a lot more square net dips than any of the other canals in the neighborhood, which was another good indicator of the water quality in a sense. It took about 20 minutes or four kilometers before our boat docked by Wat Bang Phli Yai Nai Pier. First, we paid our respect to Luang Pho To and continued on foot to fill our appetite at Bang Phi Ancient Market where we tried a large array of savories and sweets. After crossing the bridge where the Bang Phli Estuary converged with Khlong Samrong Canal, we took a brief stop to buy Uncle Chae’s Coconut Milk Ice-Cream, the old familiar face who had been selling the refreshing dessert on the rowboat for the past 52 years. The uncle told us that his younger self got to witness vendors loading goods on their boats before rowing off to sell them here or elsewhere down the canal but they all had to stop at this area to buy groceries to take back home. Next, we visited an unseen corner of Bang Phli Ancient Market through Soi Sukhaphiban 1 where row houses on both sides of the alley breathed the memories of the past including vintage grocery stores, beauty salons and barbershops. Soon, we reached Sukhaphiban 4 Road that led us to Wat Bang Phli Yai Klang, another temple with a long historical background Inside, we paid our humble respect to Phra Sakkayamuni Sisumetbophit, an enormous reclining Buddha which was 52.5 meters in length and 7 meters in width. The temple construction took 21 years to complete from 1978-2001. However, it became locally known as “Wat Phra Non”, Thai for the Temple of the Reclining Buddha. At the back, there was an entrance to the interior of the Reclining Buddha. On the way to the second and third floor, there was a Dhamma practice room for Buddhist monks, heaven and hell paintings that convey the benefits of right doings and the curses of wrong doings. However, the highlight rests on the top level that houses the Heart of the Reclining Buddha, comparable to the heart of the Lord Buddha, where Buddhist followers could pay homage and apply his teachings into their daily lives.
เรือโดยสารคลองบางพลี ท่าเรือมาร์เก็ตวิลเลจ-วัดบางพลีใหญ่ใน
เปิดให้บริการวันศุกร์-อาทิตย์ เวลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ นาฬิกา ค่าโดยสาร ๑๕ บาท ตลอดสาย Khlong Bang Phli Passenger Boat: Market Village Pier Wat Bang Phli Yai Nai Open from Friday - Sunday from 06.00am - 05.00pm Passenger Service Fee: 15 Baht for all routes
January - February 2020
82 | Solo Trav eler | A Cruise D own T he C hao P hraya R i ver
A Cruise Down The Chao Phraya River Watch warehouses, the trending Industrial architecture
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
83
เลาะริมน�้ำ เจ้าพระยา ดูโกดังสินค้า กับสถาปัตยกรรม ในแบบอินดัสเทรียล ที่ก�ำลังมาแรง
ถ้ า คุ ณ มี โ อกาสได้ เ ดิ น ทางไปต่ า งประเทศ ไม่ ว ่ า จะใน สหรั ฐ อเมริ ก าหรื อ ประเทศทางฝั ่ ง ยุ โ รปอย่ า งเบอร์ ลิ น คุ ณ อาจเคยได้ สั ม ผั ส กั บ บรรยากาศของอาคารตึ ก เก่ า ที่บางหลังแทบจะมีสภาพเหมือนซากเลยด้วยซ�้ำ ทั้งใน รูปแบบของโกดังสินค้าและโครงสร้างของอาคารรูปทรงยาว หน้าตาคล้ายโรงนา อันมีส่วนผสมหลักของโครงสร้างเหล็ก ไม้ และสังกะสี ซึ่งในหลายปีที่ผ่านมา อาคารเก่าเหล่านี้ ล้วนได้รับความนิยมในการน�ำมาพลิกฟื้นชีวิตใหม่ให้เข้ากับ ยุ ค สมั ย แต่ ก็ ยั ง คงไว้ ด ้ ว ยกลิ่ น อายของประวั ติ ศ าสตร์ มีโปรเจกต์ของการรีโนเวตอาคารมากมายทัว่ โลกทีใ่ ห้คา่ กับ โครงสร้างเก่าที่ถูกทิ้งร้างด้วยการน�ำมาใส่เรื่องราวใหม่ ผ่ า นการปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยและการออกแบบตกแต่ ง ภายในให้เป็นรูปแบบของธุรกิจโรงแรมหรู ชุมชนของคน ท�ำงานศิลปะ พิพิธภัณฑ์ขนาดใหญ่ หรือแม้กระทั่งดัดแปลง สภาพให้กลายเป็นห้องสมุดชุมชน จนได้รางวัลระดับโลก ในสาขาการออกแบบ ก็มใี ห้เห็นอยูบ่ อ่ ยๆ คราวนีพ้ อหันกลับ มาดูทางบ้านเรากันบ้าง โดยเฉพาะริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา ในพืน้ ทีข่ องจังหวัดสมุทรปราการทีเ่ รียงรายด้วยอาคารเก่าสไตล์อนิ ดัสเทรียลหลายหลัง ในรูปแบบของโกดังสินค้า ที่บางอาคารมีอายุเกือบร้อยปี บ้างยังคงถูกใช้งานอยู่ บ้ า งถู ก ทิ้ ง ร้ า งมานานแล้ ว ซึ่ ง คุ ณ เคยสงสั ย ไหมคะว่ า ท� ำ ไมริ ม น�้ ำ เจ้ า พระยา ในส่วนนี้ถึงมีอาคารเหล่านี้ตั้งอยู่มากมาย แล้วเรือขนสินค้าล�ำใหญ่โตทั้งหลาย ที่มาจอดกันอยู่ในบริเวณนี้มาจากไหนกันและก�ำลังจะเดินทางไปที่ไหน พอเกิดความสงสัยขึ้นมา บ่ายวันหนึ่งเราเลยนัดลงเรือไปกับ คุณจิตร มะลิรัตน์ ส.อบต. บางกอบัว คณะกรรมการการท่องเที่ยวชุมชน คุ้งบางกะเจ้า เพื่อลัดเลาะ เส้นทางริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ถ่ายรูปสถาปัตยกรรมของทั้งโกดังเก่าทีถูกทิ้งร้างและ โกดังสินค้าที่ยังคงใช้งานอยู่ แต่ด่านแรกก่อนจะลงเรือ เราเติมพลังกันด้วยขนมตาล January - February 2020
84 | Solo Trav eler
f you have traveled to the States or European countries, you might have already experienced the atmosphere of vintage buildings. Some are practically ruins and some are in the form of warehouses similar to barns mainly built of steel, wood and galvanize. Over the past years, these old buildings have been brought back to attention receiving a proper restoration that fits todays’ lifestyle while preserving their historic charms. Numerous old building renovation projects around the world place a dear value on their deserted structures and breathed new life into them while most functional spaces and interior designs are creatively rearranged into luxurious hotel businesses, art community, large scale museums or even transformed into community libraries that have won international awards for design. Now, back in our hometown, particularly on both shores of the Chao Phraya River in Samutprakan, there are old Industrial buildings in the form of warehouses, too. While some are century old, some are still in use and some have long been deserted. Have you ever wondered why there are so many of them along the Chao Phraya River? How come these gigantic cargo ships are docking in the neighborhood? Where they all came from or where they are heading to?
I
สูตรบ้านๆ ของ คุณอานุชรีย์ ไกรสมโภชน์ เจ้าของ สูตรอาหารโบราณจากครัวของชุมชนพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน คลองบน ต�ำบลบางกอบัว ซึ่งต้องบอกก่อนว่าถ้าใคร ใจไม่แข็งพอ อย่าได้คิดมาชิมขนมตาลของคุณอานุชรีย์ ที เ ดี ย ว เพราะด้ ว ยรสชาติ ข นมตาลของคุ ณ อานั้ น ไม่หวานมาก ท�ำให้เวลาเราหยิบขึน้ มากิน มันจะหยิบเพลิน กินไปเรือ่ ยๆ โดยไม่รสู้ กึ ผิด จนหันไปดูอกี ที เอ้า หมดแล้ว ๖ ชิ้น ! หลั ง ออกเดิ น ทางผ่ า นสะพานยาวบางกะเจ้ า ด้ ว ย เรื อ ยนต์ ข องคุ ณ ลุ ง เจ้ า ของเรื อ ผู ้ ใจดี กั บ ระยะทาง ๘ กิโลเมตรบนแม่น�้ำเจ้าพระยา ริมฝั่งต�ำบลบางยอและ ต�ำบลทรงคนอง ซึ่งประกอบด้วย โกดังสินค้าทั้งสิ้น รวม ๖ โกดังแล้ว เราตื่นเต้นมากกับหน้าตาโครงสร้าง มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
With such questions in mind, we made an appointment with Chit Malirat, a member of Bang Ko Bua Subdistrict Administrative Organization and a Khung Bang Kachao Community Tourism Committee, on one afternoon to cruise along the course of the Chao Phraya River and take pictures of the architecture of old deserted and currently in-use warehouses. However, before we leaped on the boat, we fueled our stomach with the authentic local Khanom Tan (Toddy Palm Cake) by Anucharee Kraisomphot, the owner of traditional recipes from the kitchen of Khlong Bon Folk Museum Community of Bang Kor Bua Sub-District. If you are not strong minded enough, do not take a sample bite as its lightly sweetness will keep you munching non-stop without a guilt and the next thing you know is when you have finished all six of them! After eight kilometers cruising pass the long bridge in Bang Kachao on a motor boat of a kind uncle owner on the Chao Phraya River, we were excited to see the structures of six warehouses on the shore of Bang Yo Sub-District and Song Khanong Sub-District. We could not help but wonder if they had been in Europe, they would have been transformed into hotels for certain. At the present, the warehouses that are still in use serve as cold storage rooms for flour, rice, shrimps and tuna. Chit explained to us the reason a lot of large cargo ships were docking in Bang Kachao area was because the area suffered the most severe effect by coastal erosion and gradually became a deepwater basin and, in turn, the most suitable spot to anchor large cargo ships.
85
January - February 2020
86 | Solo Trav eler
“In the past, the transportation of Nakhon Khuean Khan or today’s Phra Pradaeng was not as convenient as in present days. Villagers in six sub-districts had to paddle their boats to get around. Let’s just say in this pig stomach area alone consisted of 36 canals. It was this long inseparable bond between the local lifestyle and the stream that brought about many evolutionary changes including these riverside warehouses and commercial transport businesses from the north, Nakhon Sawan or Ang Thong through Samutprakan located at the estuary. Now, the reason why there are many large cargo ships lining the shoreline is plainly because it was one of the most damaged areas by coastal erosion with the largest sediment discharge gradually forming into a deepwater basin that large cargo ships could conveniently dock and became a port.”
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
During almost an hour of cruising and observing riverside warehouses, we ran into a new foreigner friend. When this French tourist heard about our trip to visit old buildings, he enthusiastically pleaded to join us and he was literally excited at these Industrial architectural structures on both banks of the Chao Phraya River as he frankly admitted that he had been to Thailand many times before but he never knew this type of place exist in Thailand. “I really wish I could transform those age-old warehouses into studios. Thai people are really enviable. You are blessed with all this natural abundance particularly for agriculture having fruits to enjoy throughout the year and, at the same time, you can choose to settle down and live by the river like this.” That explains the promoted line in Thai by the Tourism Authority of Thailand that say “Travel in Thailand: If you never visit, you will never know.” To which I would like to add “and if you never hop on a boat trip, you will never see.”
87
โกดังสินค้าเหล่านั้น โอ้โฮ! ถ้าโกดังเหล่านี้อยู่ในยุโรป คงถูกจับมาท�ำโรงแรมหมดแน่ โดยปัจจุบันโกดัง บางส่วนทีย่ งั คงใช้งานอยูน่ นั้ ใช้เป็นทีพ่ กั สินค้าประเภท แป้ง ข้าว กุง้ และปลาทูนา่ บรรจุในห้องเย็น ส่วนเหตุทมี่ ี เรือใหญ่มาเทียบท่าในบริเวณบางกะเจ้าอยู่เยอะนั้น คุณจิตรเล่าว่าเป็นเพราะผลกระทบจากการกัดเซาะ ชายฝั ่ ง ที่ ท� ำ ให้ พื้ น ที่ ใ นบริ เ วณนี้ มี เ รื่ อ งของตลิ่ ง พั ง เยอะที่สุด จนกระทั่งเกิดเป็นห้วงน�้ำลึก และนี่คือพื้นที่ ที่เหมาะที่สุดส�ำหรับการจอดเรือใหญ่ “ในสมัยก่อนการคมนาคมของนครเขือ่ นขันธ์หรือ พระประแดงในปัจจุบนั ไม่ได้สะดวกสบายแบบทุกวันนี้ แต่ก่อนเวลาจะไปไหนที ชาวบ้านที่อยู่ใน ๖ ต�ำบล ต้องใช้วิธีพายเรือ เอาแค่คลองทั้งหมดที่อยู่ในส่วน กระเพาะหมูก็ ๓๖ คลองแล้ว และด้วยวิถีการใช้ชีวิต ของชาวบ้านที่สัมพันธ์กับเส้นทางน�้ำมาตั้งแต่ในอดีต นี่เอง จึงเกิดมีวิวัฒนาการ กระทั่งน�ำมาสู่เรื่องของ โกดังริมน�้ำ รวมทั้งในเวลาต่อมาก็มีเรื่องของธุรกิจ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ เ กิ ด ขึ้ น มี ก ารขนสิ น ค้ า มาจากทางภาคเหนื อ นครสวรรค์ หรืออ่างทอง ผ่านมาทางเส้นทางของสมุทรปราการซึ่งอยู่ทางปากอ่าว ส่วนการ ที่บางกะเจ้ามีเรือสินค้าล�ำใหญ่เทียบท่าอยู่เยอะนั้นก็เพราะพื้นที่บริเวณนี้ได้รับ ผลกระทบจากน�้ำที่เข้ามากัดเซาะมากที่สุด ตลิ่งพังเยอะที่สุด จนกระทั่งเกิดเป็น ห้วงน�ำ้ ลึก ท�ำให้เรือใหญ่เข้ามาใช้เป็นทีพ่ กั เรือ จอดเรือ จนเกิดเป็นท่าเรือสินค้า”
เกือบ ๑ ชั่วโมง กับการล่องเรือดูโกดังสินค้าริมน�้ำ ที่ครั้งนี้เราได้พบเพื่อนใหม่ระหว่างทางเป็นชาวต่างชาติ เมื่อนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสคนนี้รู้ว่าเราจะไปล่องเรือดู อาคารเก่า เขาก็กุลีกุจอขอขึ้นเรือมาด้วยและดูตื่นเต้นมาก กั บ โครงสร้ า งของสถาปั ต ยกรรมในแบบอิ น ดั ส เทรี ย ล ที่ตั้งอยู่ริมน�้ำเจ้าพระยา ซึ่งตัวเขาเองมีโอกาสได้มาเที่ยว เมืองไทยอยู่หลายครั้งแล้วแต่ไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่าบ้าน เราก็มีแบบนี้ด้วย “ผมอยากได้โกดังเก่าพวกนั้นมาท�ำสตูดิโอจัง คนไทย นี่น่าอิจฉาจริงๆ นะ คุณมีความอุดมสมบูรณ์ ในเรื่องของ การเกษตรกรรม มีผลไม้กนิ ตลอดปี ขณะเดียวกันคุณก็ยงั มี ทางเลือกของการปักหลักและใช้ชีวิตอยู่ริมแม่น�้ำแบบนี้ ได้ด้วย” นี่ละมัง เขาถึงมีประโยคประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ของประเทศไทยไว้ ว ่ า “เที่ ย วเมื อ งไทย ไม่ ไ ปไม่ รู ้ ” ซึ่งฉันขอเติมเข้าไปอีกหนึ่งประโยคคือ “และถ้าไม่นั่งเรือ ก็จะไม่เห็น” ชุมชนพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านคลองบน ต�ำบลบางกอบัว
เลขที่ ๓๒/๔ ซอยเพชรหึงษ์ ๕๗ หมู่ ๒ ต�ำบลบางกอบัว อ�ำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๐๖๘๔ ๒๘๕๓ Khlong Bon Folk Museum Community of Bang Kor Bua Sub-District
32/4 Soi Phetchahueng 57, Moo 2, Bang Kor Bua Sub-District, Phra Pradaeng District, Samutprakan Tel. 08 0684 2853 January - February 2020
88
Green Trip Nature Attractions | Going Green
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
89
January - February 2020
90 | N atur e At t ract ions | Ba n g Ya P hraek H ealt h Park
สวนสุขภาพ บางหญ้าแพรก ปอดของคนปากน�้ำ
Bang Ya Phraek Health Park Paknam green lung มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
91
พื้ น ที่ สี เ ขี ย วในเมื อ ง เป็ น หนึ่ ง ในดั ช นี ชี้ วั ด ความ อยู่ดีมีสุข ของคนเมือง เมืองที่ได้รับการยอมรับว่า มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี มักมีองค์ประกอบของพืน้ ทีส่ เี ขียว ทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีปริมาณทีเ่ หมาะสม สามารถเข้าถึง ได้ สะดวก เอื้ อต่ อ การเข้ า ใช้ พื้น ที่ของประชากร ในบริ เ วณโดยรอบ มี ผ ลการวิ จั ย จ� ำ นวนมาก สนั บ สนุ น อย่ า งเด่ น ชั ด ว่ า การมี พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว สามารถช่ ว ยให้ ป ระชากรมี ส ถิ ติ ข องการป่ ว ย เป็ น โรควิ ต กกั ง วลน้ อ ยลง อี ก ทั้ ง ยั ง ช่ ว ยลด ความเหลื่อมล�้ำด้านสุขภาพได้เป็นอย่างดี
สวนสาธารณะ ท�ำให้คนที่ต้องใช้ชีวิตเร่งรีบได้มีโอกาสไปพักผ่อน เติมออกซิเจน ออกก�ำลังกาย และเป็นพื้นที่พบปะสังสรรค์ให้ครอบครัว เพื่อนฝูง ได้มาท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน Public parks allow people with rushing lifestyles an opportunity to relax, refill their lungs with oxygen, exercise, and hang out with their family or friends.
หลายพื้นที่ของถนนปู่เจ้าสมิงพรายและอ�ำเภอ พระประแดง แม้จะเป็นบริเวณริมแม่น�้ำเจ้าพระยา เดิ ม ที ก ลั บ ปรากฏในภาพความทรงจ� ำ ของผู ้ ค น ว่ า เต็ ม ไปด้ ว ยโรงงานอุ ต สาหกรรม คุ ณ ภาพ อากาศที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ปัจจุบันนี้ ภาพความทรงจ� ำ เหล่ า นั้ น อาจต้ อ งเปลี่ ย นไป เมื่อผู้คนได้คุ้นเคยและเข้าใช้บริการในสวนสุขภาพ บางหญ้าแพรก หนึ่งในตัวอย่างของการใช้พื้นที่ว่าง ให้เป็นประโยชน์ เดิมทีพื้นที่บริเวณนี้เคยเป็นที่รกร้างว่างเปล่า แต่หลังจากมีการก่อสร้างสะพานภูมิพล ๑ และ สะพานภูมิพล ๒ ข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา ที่เชื่อมต่อ ระหว่างถนนวงแหวนอุตสาหกรรม กับถนนพระราม ๓, ถนนสุ ข สวั ส ดิ์ , ถนนปู ่ เ จ้ า สมิ ง พราย และถนน กาญจนาภิเษก กรมทางหลวงชนบทจึงได้เข้าท�ำ การปรั บ ภู มิ ทั ศ น์ พื้ น ที่ ว ่ า งบริ เ วณทางวนลงจาก ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม เข้าถนนปู่เจ้าสมิงพราย จังหวัดสมุทรปราการ ให้เป็นสวนสาธารณะและ สวนสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ในย่านใกล้เคียง ใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและออกก�ำลังกาย
he green space within a city is a significant indicator of the people’s well-being. Cities that are well-recognized for the good quality of life are usually composed of a proper amount of quality green space easily accessible and beneficial to the locals. Evidently, numerous supportive research suggest how the green environment can effectively reduce the overall amount of patients suffering from anxiety disorder and the health inequality.
T
In the past, Pu Chao Samingphrai Road and Phra Pradaeng Districts, although situated by the Chao Phraya River,often gave an impression of areas with overcrowded January - February 2020
92 | N atur e At t ract ions
industrial plants and polluted air. However, those memories are bound to alter as the locals have grown more familiar with their frequent visit to Bang Ya Phraek Health Park, a fruitful example to maximize space utilization. After the completion of Bhumibol Bridge I and II across the Chao Phraya River connecting Industrial Ring Road with Rama III Road, Suksawat Road, Pu Chao Samingphrai Road and Kanchanaphisek Road, the Department of Rural Roads took charge of the cityscape transformation of these deserted areas near the exit of Industrial Ring Road towards Pu Chao Samingphrai Road in Samutprakan into a public park and a health park where nearby villagers may comfortably visit for recreational activities and exercises. At present,Bang Ya Phraek Health Park is considerably large as it covers an area of 54 rai (86,400 sq. m.) to serve various activities. It offers a parking space and several exercise courts consisting of two futsal courts, three Takraw courts, two basketball courts, seven Petanque courts, and a playground for children with a set of rides. Moreover, there is a running track encircling the whole park among small and large trees and an outdoor fitness equipment station. According to an official
of the Department of Rural Roads, the park currently welcomes upto 250-300 visitors a day from 05.00am to 09.00pm and is provided with proper lighting, restrooms and on-duty security guards around the clock. “Up to the present, many agencies who organize a bike race or a marathon rally have requested permission to use the facility as a start and a finish point making the park bustling with health enthusiasts. On average, there are two major events a year. This park is also one of the four crucial parks under the supervision of the Department of Rural Roads including Silarerk Park, Lat Pho Health Park and Suksawat Ring Road Park which have been great green environmental boosters to Samutprakan.”
มุมสงบส�ำหรับใครบางคนที่ต้องการหลีกหนี จากความวุ่นวายในภารกิจประจ�ำวัน เพลิดเพลินไปกับ พรรณไม้หลากหลายชนิด ทั้งไม้ดอกและไม้ประดับ A peaceful corner to escape from everyday hustle and bustle and be fascinated by various species of plants including flowering and ornamental plants. มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
On April 27, 2012, His Majesty King Bhumibol Adulyadej graciously bestowed the connecting area between the Kanchanaphisek expressway and the Industrial Ring Road with the name “Chaloem Phra Kiat 84 Phansa (Thai for the celebration of His Majesty the late King’s 84th Birthday Anniversary)” and the health park near the southern Industrial Ring Road towards Pu Chao Samingphrai Road with the name “Ratchadamri Hansa Pracharat Chaloem Phra Kiat 84 Phansa Park (literally translated as the Royal Initiative Park that brings happiness to the people as the commemoration of His Majesty the late King’s 84 Birthday Anniversary).”
93
สวนสุขภาพบางหญ้าแพรกมีเอกลักษณ์จากความร่มรื่น ด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่ เก่าแก่ รายล้อมกระจายอยู่ทั่ว เหมาะกับ คนรักธรรมชาติทุกเพศทุกวัย Bang Ya Phraek Health Park is a unique park with large old trees throughout the park suitable for all nature lovers.
“ที่ผ่านมามักมีหน่วยงานต่างๆ เช่น หน่วยงาน เอกชนที่จัดงานปั่นจักรยาน งานวิ่งมาราธอน เข้ามา ขอใช้พื้นที่เพื่อเป็นจุดปล่อยตัวและจุดเส้นชัย ท�ำให้ ที่นี่คึกคักเต็มไปด้วยผู้ช่ืนชอบการออกก�ำลังกาย ปีหนึง่ ๆ เฉลีย่ มีงานใหญ่ๆ ประมาณ ๒ ครัง้ และทีน่ ี่ ยังเป็น ๑ ใน ๔ สวนใหญ่ที่กรมทางหลวงชนบท ดูแลร่วมกับอีก ๓ สวนในบริเวณใกล้เคียง คือ สวนศิลาฤกษ์ สวนสุขภาพลัดโพธิ์ สวนวงแหวน สุขสวัสดิ์ ซึ่งเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมือง สมุทรปราการได้เป็นอย่างดี” ตัง้ แต่วนั ที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ทีผ่ า่ นมา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานชื่ อ ทางเชื่ อ มต่ อ ทางพิ เ ศษกาญจนาภิ เ ษกกั บ ถนน วงแหวนอุตสาหกรรมว่า “เฉลิมราชด�ำริ ๘๔ พรรษา” นอกจากนี้ ยั ง ได้ พ ระราชทานชื่ อ สวนสุ ข ภาพ บริเวณพื้นที่ถนนวงแหวนอุตสาหกรรมด้านทิศใต้ ฝั ่ ง ปู ่ เ จ้ า สมิ ง พรายของกรมทางหลวงชนบทว่ า “สวนราชด�ำริหรรษาประชาราษฎร์เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา” อีกด้วย
ปัจจุบัน สวนสุขภาพบางหญ้าแพรก เป็นสวน ขนาดค่ อ นข้ า งใหญ่ มี พื้ น ที่ ป ระมาณ ๕๔ ไร่ ถูกออกแบบก่อสร้างให้มีการใช้สอยได้หลากหลาย กิจกรรม ตัง้ แต่ลานจอดรถไปจนถึงลานออกก�ำลังกาย ทีม่ หี ลากหลายรูปแบบ ประกอบไปด้วย สนามฟุตซอล ๒ สนาม, สนามตะกร้อ ๓ สนาม, สนามบาสเกตบอล ๒ สนาม, สนามเปตอง ๗ สนาม และยั ง มี สนามเด็ ก เล่ น ที่ มี อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งเล่ น ไว้ ร องรั บ อีกจ�ำนวนหนึ่ง นอกจากนี้ ยั ง มี เ ส้ น ทางวิ่ ง รอบสวนที่ ร ่ ม รื่ น เต็ ม ไปด้ ว ยพรรณไม้ น ้ อ ยใหญ่ มี ล านที่ ติ ด ตั้ ง เครื่องออกก�ำลังกายหลายชนิด ซึ่งเจ้าหน้าที่จาก กรมทางหลวงชนบทให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ปัจจุบัน มีผมู้ าใช้บริการประมาณวันละ ๒๕๐-๓๐๐ คน เปิดให้ เข้าชมสวนได้ตั้งแต่เวลา ๐๕.๐๐-๒๑.๐๐ นาฬิกา โดยมีไฟส่องสว่าง ห้องน�้ำ และเจ้าหน้าที่เวรยาม คอยดูแลอย่างทั่วถึง January - February 2020
94 | Goi n g Green | Get Growin g C o m muni t y Farm A nd Learni ng C en te r
ให้เราโต ไปด้วยกัน ในบ้านต้นไม้และ สนามเด็กเล่น เพื่อการเรียนรู้
เวลานึกถึงบางกะเจ้า คนส่วนใหญ่จะนึกถึงภาพของ ป่าจาก ชุมชนทีอ่ ยูก่ บั เรือ่ งของสิง่ แวดล้อม ตลาดวัตถุดบิ ปลอดสารพิษ และความลับของสูตรอาหารบ้านๆ ทีซ่ อ่ นอยู่ ตามครั ว เรื อ น และคงต้ อ งแถมเข้ า ไปอี ก อย่ า งคื อ ตัวเงินตัวทอง อันเป็นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ ของธรรมชาติ การพบเจอระหว่ า งเส้ น ทางจั ก รยาน ท่ า มกลางโลกสี เ ขี ย วของคุ ้ ง บางกะเจ้ า จึ ง ถื อ เป็ น ปกติวิสัยของนักปั่น หากตัวเงินตัวทองที่ว่านั้นกลายเป็น ประติมากรรมไม้คล้ายกิ้งก่ายักษ์ ชนิดที่คุณสามารถ ขึ้นไปปีนป่ายเล่นได้ คุณจะว่าอย่างไร ? อะไรก็เกิดขึ้นได้ที่นี่ Get Growing Community Farm and Learning Center ศูนย์การเรียนรู้ผ่านการเล่น ต�ำบลบางกะเจ้า กับคอนเซปต์ของค�ำว่า Children Must Take Risk ที่ซ่อนอยู่
Get Growing Community Farm And Learning Center Let's grow up together in the tree house and playground of learning มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
95
hen speaking of Bang Kachao, most people would picture a scene of Nipa Palm forests, environment-oriented communities, local markets full of chemical-free raw ingredients, secrets behind authentic local recipes hidden in households as well as water monitor lizards, the symbol of natural abundance. Meeting the animal along a biking route among the lush green world of Khung Bangkachao is considered a common nature of cyclists. Now, what would you say if this creature were transformed into a wooden sculpture of a gigantic lizard that you could even climb on its back?
W
Anything could happen here at Get Growing Community Farm And Learning Center, the center of learning through playing, in Bang Kachao Sub-District under the concept “Children Must Take Risks.”
We believe whoever walks into this seven-rai (11,200 square meters) property must be stunned for a few seconds crying out, “What on earth is this place?” At the first checkpoint, visitors are greeted with two giant wooden sculptures: a water monitor lizard and a horse, built with recycled wood and steelreinforced structure on the inside. Inspired by the movie Troy, the construction of the 12 meters tall giant wooden horse sculpture began with the main structure designed by the architect in charge and followed by enclosing the rest of wooden parts one by one requiring a great amount of time, patience, and cautiousness. Afterwards, the property owner drew the water monitor lizard sculpture on a piece of paper and had local artisans putting together the sculpture that did not look that angry but rather in the way that leaves space for visitors to discover and use their own imagination.
January - February 2020
96 | G oi n g Green
If you have been to Farm Mor Por (Dr. Por’s Farm) in Pakchong District, you will see why this place is the baby of Mor Por or Dr. Nopadol Saropala who initiated the idea of this learning center. When received this seven-rai plot of land near the Siamese Fighting Fish Museum, Dr. Por, his partners and Pan-Nithit Saropala (Dr. Por’s son) planned to develop it into a similar pattern to Farm Mor Por in Pakchong, a space where families can spend time together with farm animal raising areas and vegetable plots provided. However, during the construction, Pan, who graduated with a degree in Agriculture from Kasetsart University and the project manager, had this sparkling idea of building a Troy horse at the front entrance of the playground and treehouse. Pan said it came from his childhood memories and how his father raised him up teaching him to form a bond with animals. At first, the wooden horse in his imagination was not this huge but according to Mor Por’s underlying concept “Children must take risks.” in every inch of this green space, the Troy horse here turned out to be so enormous beyond imagination that
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
เราเชื่อว่าใครก็ตามที่ได้เดินเข้ามาในอาณาเขตของพื้นที่ ๗ ไร่แห่งนี้ แวบแรกต้องยืนงงเหมือนกันทุกคน พร้อมด้วย ค�ำอุทานว่า “ทีน่ มี่ นั อะไรกันเนีย่ ” เพราะด่านแรกทีเ่ ราจะได้เจอ มันคือประติมากรรมตัวเงินตัวทองและม้ายักษ์ที่สร้างขึ้น จากวัสดุไม้ที่ผ่านการใช้งานแล้ว ซึ่งถูกน�ำมารีไซเคิล โดยมี ส่วนประกอบของโครงเหล็กทีแ่ ข็งแรงอยูด่ า้ นใน โดยม้าไม้ยกั ษ์ ขนาดความสู ง ๑๒ เมตรนั้ น ได้ แ รงบั น ดาลใจมาจาก ภาพยนตร์เรื่อง Troy ส�ำหรับกระบวนการก่อสร้างนัน้ เริม่ จากส่วนของโครงหลัก ที่ออกแบบโดยสถาปนิกผู้รับผิดชอบ แล้วจึงประกอบส่วน ของวัสดุไม้ยิงติดเข้าไปทีละชิ้น ใช้ทั้งเวลา ความอดทน และการรอคอย จากนั้นตัวเงินตัวทองจึงค่อยเกิดขึ้นตามมา ซึ่งส�ำหรับตัวเงินตัวทองนั้น เจ้าของสถานที่เป็นคนออกแบบ ขึ้นเองโดยใช้วิธีวาดมือลงบนกระดาษนี่แหละ แล้วให้ช่าง ในพื้นที่ช่วยกันประกอบร่างขึ้นมาจนได้เป็นตัวเงินตัวทอง ที่หน้าตาไม่ได้ดุดันเสียทีเดียว แต่เป็นหน้าตาและบุคลิก ของตัวเงินตัวทองในแบบที่เว้นพื้นที่ให้ผู้ที่เดินเข้ามาค้นพบ ได้เกิดจินตนาการต่อ
97
anyone would feel as if they have slipped into a fairy tale while triggering the curiosity in children that they could not help but walking in to closely explore and discover the answers from the horse themselves. “Our first intention was to create a space where families can spend time together and children can play. The extended seven vegetable plots allow families or urban people who live in a condominium with limited space but wish to grow some crops to rent our plots and grow vegetables. We can also take care of watering or feeding fertilizer to the plants when the rentee family could not spare time traveling here everyday. Our restaurant, cafe and natural amusement rides are all related to the trees and grasses. Also, customers can purchase our egg-laying hens to enjoy quality eggs from hens they literally own. Since we let our hens roam around freely outdoors, their eggs are naturally free-range eggs. Each hen can lay eggs productively for a year and fewer after that. Once they’ve reached the point, you can either choose to bring your hens home or still leave them with us and give them a frequent visit instead. The important idea is that we want families to become the real hen owners to encourage their children to grow a loving bond with animals letting them know that they do have chickens of their own that they must frequently take care of and collect their eggs.”
ถ้าคุณเคยไปฟาร์มหมอปอทีอ่ ำ� เภอปากช่อง เราจึงต้อง เรี ย กว่ า ฟาร์ ม แห่ ง นี้ เ ป็ น ลู ก เล็ ก ของฟาร์ ม หมอปอ หรือ นายแพทย์นพดล สโรบล โดยความคิดเริ่มต้น ของศูนย์เรียนรู้แห่งนี้เริ่มจากในวันที่ได้ที่ดินขนาด ๗ ไร่ ใกล้กับพิพิธภัณฑ์ปลากัดไทยมานั้น หมอปอ หุ้นส่วน และ คุณปัน หรือ นิธิศ สโรบล (ลูกชายของหมอปอ) ต้ อ งการท� ำ ให้ พื้ น ที่ แ ห่ งนี้ มี รูป แบบคล้ ายๆ กับฟาร์ม หมอปอที่ปากช่อง คือเป็นพื้นที่ของการใช้เวลาร่วมกัน ของครอบครัว มีพื้นที่เลี้ยงสัตว์และปลูกผัก ท�ำไปท�ำมา คุ ณ ปั น ซึ่ ง เรี ย นจบคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ และเป็นคนดูแลโปรเจกต์นี้ก็เกิดไอเดีย ที่อยากจะสร้างม้า Troy ไว้ทางด้านหน้าทางเข้าของ สนามเด็ ก เล่ น และบ้ า นต้ น ไม้ คุ ณ ปั น ว่ า มั น มาจาก ความทรงจ�ำของเขาในวัยเด็กที่พ่อเลี้ยงดูและหล่อหลอม เขามาให้มคี วามผูกพันกับสัตว์ ซึง่ ตอนแรกม้าในความคิด ของคุณปันก็ไม่ได้ ใหญ่โตขนาดนีห้ รอก แต่ดว้ ยคอนเซปต์ ของหมอปอที่ มี ค� ำ ว่ า Children Must Take Risk อยู่ในทุกตารางเซนติเมตรของพื้นที่สีเขียวแห่งนี้ ม้า Troy ที่เกิดขึ้นก็เลยมีความสูงใหญ่เสียจนเหมือนเราเดิน หลงเข้ามาในเทพนิยายเหนือจินตนาการที่ท�ำให้เด็กๆ ต้องเกิดความสงสัยและอยากจะเดินเข้าไปหาค�ำตอบ ด้วยตัวเอง จากเจ้าม้าตัวนี้ใกล้ๆ January - February 2020
98 | Goi n g Green
“ความตั้งใจแรกคืออยากท�ำพื้นที่ตรงนี้ไว้ส�ำหรับให้ ครอบครัวได้มาใช้เวลาด้วยกัน ให้เด็กได้มาเล่น ส่วนทีจ่ ะมี เพิ่มเติมขึ้นมาก็คือแปลงผักที่มีอยู่ ๗ แปลง ไว้ ให้กลุ่ม ครอบครัวทั่วไปหรือกลุ่มคนกรุงที่ใช้ชีวิตอาศัยอยู่ตาม คอนโดมิเนียมที่ไม่มีพื้นที่แต่อยากจะปลูกผัก ได้มาเช่า แปลงของเราในการปลูกผักกินกัน โดยแปลงเช่านี้เราจะ คอยดูแลรดน�ำ้ ใส่ปยุ๋ ให้ ในช่วงเวลาทีค่ รอบครัวผูเ้ ช่าแปลง อาจไม่ได้มีเวลามาดูแลทุกวัน เรามีส่วนของร้านอาหาร ร้านกาแฟ และส่วนของเครื่องเล่นธรรมชาติที่เชื่อมโยง กับต้นไม้ ใบหญ้าทั้งหมด ส่วนไก่ไข่ของเรา เรามีบริการ ให้คนภายนอกสามารถซื้อเป็นเจ้าของได้ เพื่อบริโภค ไข่ของไก่ที่ตัวเองเป็นเจ้าของ ซึ่งไก่ที่นี่เราเลี้ยงแบบ เป็นอิสระ ฉะนั้น ไข่ที่ได้ก็จะเป็นไข่แบบ Free Range โดยไก่ตัวหนึ่ง อายุในการไข่ของมันจะประมาณ ๑ ปี หลังจาก ๑ ปี มันจะค่อยๆ ไข่น้อยลง ซึ่งพอมันไข่ น้อยลงแล้ว ถ้าคุณจะพามันกลับไปเลีย้ งทีบ่ า้ นก็ได้ หรือ จะยังเอาไว้กับเรา แล้วคุณคอยหมั่นกลับมาหามันก็ได้ ไอเดียคือเราอยากให้ครอบครัวได้เป็นเจ้าของไก่ อยากให้ เด็กๆ ได้เกิดความผูกพันกับสัตว์ดว้ ย ให้พวกเขาได้รวู้ า่ พวกเขายังมีไก่เป็นของตัวเองทีต่ อ้ งคอยมาดูแลเก็บไข่นะ” ในส่วนของสนามเด็กเล่นกลางแจ้งเพือ่ การเรียนรูน้ นั้ ทีน่ เี่ ขาจะเปิดบริการโดยเก็บค่าเข้าแบบรายวัน (๓๕๐ บาท ส�ำหรับวันธรรมดา และ ๔๕๐ บาท ส�ำหรับวันเสาร์อาทิตย์) คือจะเข้ากี่รอบก็ได้ภายใน ๑ วัน ซึ่งต้องบอกว่า คุ้มมากๆ คุ้มกว่าพาลูกไปเดินห้างตั้งเยอะ ลองคิดดูว่า การพาลูกไปเล่นบ้านบอลตามห้าง ซึ่งในระหว่างที่รอลูกนั้น พ่อแม่ก็มักจะใช้ เวลาไปกับการนัง่ ตากแอร์ เล่นโทรศัพท์ พอลูกเล่นเสร็จ ก็พากันเดินไปกินข้าว จบด้วยการทีล่ กู ร้องจะเอาของเล่นซึง่ เป็นสิง่ สมมุตทิ งั้ นัน้ รวมๆ แล้วการพาลูก ไปเที่ยวห้างต่อครั้ง คุณต้องใช้เงินกี่บาท บางทีสี่ห้าร้อยบาท บางทีพันกว่าบาท
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
จากวันนี้ไป เราลองเปลี่ยนจากการใช้เวลาในห้าง มาเป็ น จู ง ลู ก จู ง หลานพานั่ ง เรื อ ข้ า มแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยา มาที่บางกะเจ้า ซึ่งใช้เวลาเพียงไม่ถึง ๑๐ นาที ดีกว่าไหม เพราะศูนย์เรียนรูแ้ ห่งนีไ้ ม่ใช่สงิ่ สมมุติ แต่มนั คือการเรียนรู้ ในการเล่ น ผ่ า นโลกของความจริ ง ที่ ส มาชิ ก ทุ ก คน ในครอบครัวจะได้มีส่วนร่วม โดยที่นี่เขามีกติกาอยู่ว่า แม้ ท างศู น ย์ เ รี ย นรู ้ จ ะมี เ จ้ า หน้ า ที่ ค อยดู แ ลในพื้ น ที่ อยู่บ้างแล้ว แต่พ่อแม่เองก็ต้องอยู่ดูแลลูกด้วยนะ ไม่ใช่ ปล่อยลูกไว้ แล้วก็หายตัวไป ถ้าคุณเติบโตเป็นผู้ ใหญ่แล้ว ภาพจดจ�ำในวัยเด็ก ของคุณคืออะไร ในภาพความทรงจ�ำเหล่านัน้ มีสายสัมพันธ์ ระหว่างคุณกับครอบครัวอยู่มากน้อยขนาดไหน ถ้ า คุ ณ อยู ่ ใ นวั ย ที่ ก� ำ ลั ง มี ลู ก ยั ง ไม่ ส ายที่ จ ะสร้ า ง สายสัมพันธ์ที่บริสุทธิ์เหล่านั้น ซึ่งสายสัมพันธ์ที่แข็งแรง จากความทรงจ�ำในวัยเด็กนี้เองที่จะช่วยดึงรั้งสติให้กับ ลูกๆ ของคุณในช่วงอายุที่พวกเขาต้องการความมั่นคง ทางจิตใจ ส�ำหรับโครงการนี้จะเปิดด�ำเนินการประมาณเดือน มกราคม ๒๕๖๓ ก่อนเดินทางไปยังศูนย์เรียนรู้แห่งนี้ เราแนะน�ำให้คุณติดต่อไปทางสถานที่ก่อน เพื่อขอทราบ เวลาด�ำเนินการที่ชัดเจน
99 If you are grownups, ask yourself what you remember about your childhood. In those memories, how many were embedded with the warm relationship between you and your family? If you are in the age of raising a baby, it is not too late to start forming such pure bond because it is the strong and unwavering bond from childhood memory that will help your children pull themselves together when they have reached the age that needs a mental stability. This project is scheduled to open for service on January 2020. However, it is recommended to contact and reconfirm on the exact timing with the center before making a trip there.
In terms of the outdoor learning playground, there is a one-day trip admission fee (350 baht on weekdays and 450 baht on weekends) meaning visitors can re-enter as many times as they wish in a day. The deal is absolutely far more worthy than taking your children to the malls. Imagine taking your children to play in the bouncy ball pits at the mall and parents spending their waiting time sitting in an air-conditioned room scrolling on their mobile phones. When the children are done, these families end up having a meal at a restaurant while some children screaming for toys. So, for each time they take their children out to play at the mall, they are bound to spend at least four to five hundred baht or thousands in some cases. From today onwards, let’s join hands with your children or grandchildren and hop on a ferry across the Chao Phraya River to Bang Kachao, which is less than ten minutes. Unlike the simulated ball pits and malls, this center encourages learning by playing in the reality world where every family members can take part. Although there are staff in each area, parents are strictly required to stick around supervising their kids instead of dropping their kids here and disappearing elsewhere.
Get Growing Community Farm and Learning Center
ต�ำบลบางกระเจ้า (ใกล้พิพิธภัณฑ์ปลากัดไทย) โทรศัพท์ ๐๘ ๓๑๓๖ ๕๐๐๔, ๐๘ ๕๐๙๙ ๐๕๕๖
Get Growing Community Farm And Learning Center,
Bang Kachao Sub-District, (Near the Siamese Fighting Fish Museum) Tel. 08 3136 5004, 08 5099 0556
January - February 2020
100
Lifestyle Local Taste | Culture of paknam | Souvenir
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
101
January - February 2020
102 | LOC AL TA S T E | K aeng Mong J ak
แกงโหม่งจาก โอชารสริมคลอง
Kaeng Mong Jak
The delightful flavor by the canal มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
103 พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม ตะไคร้ กระชาย วัตถุดิบส�ำหรับโขลกเป็นพริกแกง Dried chillies, shallot, garlic, lemongrass and lesser ginger must be well smashed into curry paste.
amutprakan is known as the city of streams with well-connected major and small canals that were once essential food sources, transport routes that were also used in transferring goods to the Chao Phraya River and the Gulf of Thailand. Even its roles significantly subsided when roads became a more favorable means of transportation, the local ways of life remains inseparable from the streams. As abundant natural resources were forged into various local wisdom for living, nearby raw ingredients were featured in various recipes for household consumption, many of which have been passed down generations.
S
สมุ ท รปราการชื่ อ ว่ า เป็ น เมื อ งแห่ ง สายน�้ ำ มีคลองสายใหญ่ คลองซอย เชื่อมร้อยถึงกัน เป็นแหล่งอาหาร เส้นทางสัญจร ขนถ่าย สินค้าออกสูแ่ ม่นำ�้ เจ้าพระยาและทะเลอ่าวไทย แม้ ภ ายหลั ง บทบาทจะถู ก ลดลงเมื่ อ ถนน เข้ามาเป็นเส้นทางคมนาคมหลัก แต่วิถีชีวิต ของผู้คนยังผูกพันกับแม่น�้ำล�ำคลองอย่าง แยกไม่ขาด ทรัพย์ในดิน สินในน�้ำ ก่อให้เกิด ภู มิ ป ั ญ ญาหลายแขนงที่ ข ้ อ งเกี่ ย วต่ อ การ ด�ำรงชีวิต รวมถึงการหยิบจับวัตถุดิบใกล้ตัว มาปรุ ง เป็ น อาหารกิ น ภายในครั ว เรื อ น ที่ยังสืบทอดรสมือมาถึงคนรุ่นปัจจุบัน
ต้องใช้เฉพาะโหม่งที่ยังอ่อนเท่านั้น เริ่มจาก น�ำมา “ต๊อก” หรือเคาะลูกจากให้หลุดออกจาก ทะลาย ใช้มีดปาดส่วนที่เป็นเนื้ออ่อนสีขาวๆ น�ำมาต้มในน�้ำเดือด เทน�้ำทิ้ง เติมน�้ำใหม่ ต้มซ�้ำไปซ�้ำมา ป้าซ่อนกลิ่นบอกว่า ส่วนใหญ่ จะต้ ม ประมาณ ๕ น�้ ำ จนกว่ า รสฝาด ซึ่ ง เกิ ด จากยางที่ มี อ ยู ่ ใ นเนื้ อ ของผลอ่ อ น จะหายไป
เราตามกลิน่ เครือ่ งแกงมาถึงร้านบุญแช่ม พานิช บ้านของคุณป้าซ่อนกลิ่น บุญแช่ม ริ ม คลองสรรพสามิ ต บ้ า นคลองนาเกลื อ อ� ำ เภอพระสมุ ท รเจดี ย ์ ซึ่ ง เป็ น ทั้ ง ร้ า น ขายของช�ำและทีท่ ำ� การกลุม่ แม่บา้ นเกษตรกร พั ฒ นาอาชี พ บ้ า นนาเกลื อ ป้ า ซ่ อ นกลิ่ น เล่ า ว่ า อาหารของคนแถบนี้ มั ก ประกอบ ไปด้ ว ยกุ ้ ง หอย ปู ปลา ที่ ห ามาได้ จ าก ธรรมชาติ ต้ น จากที่ ขึ้ น อยู ่ ส องฟากคลอง สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน รวมถึง “โหม่งจาก” วัตถุดิบส�ำคัญส�ำหรับท�ำแกงคั่ว เมนูคู่ครัวชาวบ้านคลองนาเกลือ ทะลายจากที่ มี ผ ลจากเกาะกั น อย่ า ง กลมเกลี ย ว คื อ ส่ ว นที่ เ รี ย กว่ า โหม่ ง จาก
ปาดเนื้อสีขาวตรงขั้วของลูกจากอ่อน น�ำมาต้มจนหมดรสฝาด Slice the stem of the young cluster to remove the white flesh. Boil the white flesh repeatedly to get rid of the astringent taste. January - February 2020
104 | LOC AL TA S T E
The curry aroma led us to Bunchaem Phanich shop, the home of Aunt Sonklin Bunchaem, located by Khlong Sapphasamit Canal in Baan Khlong Na Kluea Community, Phra Samut Chedi District. The place functions as both a grocery store and an office of Farmer Housewife Group’s Career Development of Baan Na Kluea. Aunt Sonklin told us that the local food in the neighborhood usually featured freshly caught shrimps, crabs and fish from natural sources while every part of Nipa Palm trees that grew naturally along both banks of the canal could be used for multiple purposes including “Mong Jak”. “Mong Jak”, the globular fruit cluster of Nipa Palm, is a crucial ingredient of the local’s favorite Kaeng Khua (Dried Red Curry). To prepare the dish, young clusters must first be tapped and sliced to remove the white flesh. Cook the flesh in boiling water, change the water and repeat the processes approximately five times to get rid of the astringent taste from the rubber inside the young flesh.
เคี่ยวน�้ำแกงด้วยไฟอ่อน แล้วใส่โหม่งจากตามลงไป Simmer the curry on low heat and add boiled Mong Jak into it
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
105
น�ำพริกแห้ง กระเทียม หอมแดง ตะไคร้ กระชาย ใส่ ค รกโขลกรวมกั น จนแหลก เติ ม เนื้ อ กุ ้ ง ลวกสุ ก ลงไปโขลกจนเข้ า กั น เพื่อเพิ่มความเข้มข้นให้น�้ำแกง ตักพริกแกง ทีไ่ ด้ลงไปละลายกับหางกะทิในหม้อ ยกขึน้ เตา เคี่ ย วไฟอ่ อ นๆ จนเดื อ ด ใส่ กุ ้ ง ลวกสุ ก โหม่งจากต้มและหัวกะทิตามลงไป ใช้ทพั พีคน พอให้ เ ข้ า กั น แล้ ว ปิ ด เตา สู ต รของบ้ า น คลองนาเกลือไม่นยิ มใส่กงุ้ สดลงไปพร้อมกับ หัวกะทิ และไม่เคี่ยวจนกะทิแตกมัน บางครั้ง แม่บ้านมักจะเตรียมน�้ำแกงที่ใส่กุ้งไว้ล่วงหน้า
ถึงมือ้ อาหารจึงค่อยมาปรุงเพือ่ ให้ทกุ คนได้กนิ ตอนร้อนๆ “เนื้ อ สั ต ว์ ที่ ใ ช้ ไ ม่ ไ ด้ เ จาะจงเฉพาะกุ ้ ง บางครั้ ง ก็ ใ ช้ ปู ขึ้ น อยู ่ กั บ ว่ า เราได้ วั ต ถุ ดิ บ อะไรมา แกงโหม่งจากเป็นประเภทแกงคั่ว สมัยก่อนเราจะกินเป็นกับข้าว แกล้มปลาย่าง แต่สมัยนี้หลายคนนิยมน�ำมาราดเส้นขนมจีน เพราะรสชาติและรสสัมผัสคล้ายน�้ำยากะทิ แต่เข้มข้นกว่า ส่วนใหญ่จะท�ำกินกันเองในบ้าน ไม่ได้ท�ำขาย หากใครอยากชิม ลองโทรศัพท์ มาสอบถามทีก่ ลุม่ แม่บา้ นฯ ของเราก่อนได้”
In the meantime, prepare a homemade curry paste by giving dried chillies, garlic, shallot, lemongrass and a little ginger a good smash in a mortar before adding blanched shrimps and continue with the smash until well-blended for a richer soup. Then, dissolve the paste in thin coconut milk, let it simmer over low heat until well-boiled and follow with blanched shrimps, boiled Mong Jak and rich coconut cream. Stir lightly until well-mixed and turn off the heat. According to Baan Na Kluea’s recipe, it isimportant that fresh shrimps must not be simultaneously added with the rich coconut cream and coconut cream must never be simmered far too long that the fat covers the top. Housewives often prepare the curry with shrimps in advance and only add the final touch right before the mealtime so everyone can enjoy the curry fresh off the stove. “Besides shrimps, we also use crabs or other raw ingredients depending on what we collect that day. Although Kaeng Mong Jak was commonly paired with steamed rice and grilled fish in the past, it becomes more popular as a topping to fermented rice noodles as its taste and texture are similar to Namya Kathi (spicy coconut curry sauce) but much richer. The menu is usually cooked and enjoyed among family members rather than for sales. However, if anyone is interested to try, it is recommended to give a call to our Farmer Housewife Group.”
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรพัฒนาอาชีพ บ้านนาเกลือ
เลขที่ ๔๖ หมู่ ๒ ต�ำบลนาเกลือ อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๔๖๔๔ ๕๒๒๘
แม่บ้านมักเตรียมน�้ำแกงไว้ล่วงหน้า เนื้อสัตว์นิยมใช้กุ้งหรือปูเป็นหลัก Housewives usually prepare the curry in advance. The popular meat for the dish are shrimps or crabs.
Farmer Housewife Group’s Career Development of Baan Na Kluea 46 Moo 2 Na Kluea Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan Tel. 08 4644 5228
January - February 2020
106 | Culture of paknam | The identity of Baan Rakat Community
หัตถกรรม จากธรรมชาติ
Handicraft from Nature -
อัตลักษณ์ของชุมชนบ้านระกาศ
The identity of Baan Rakat Community
ชาวบ้านบ้านระกาศ หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านระกาศ อ�ำเภอบางบ่อ ได้ชื่อว่ามีฝีมือเรื่องการทอเสื่อกกมาเป็นเวลาหลายชั่วอายุคน แต่ไม่มบี นั ทึกแน่ชดั ว่าเริม่ ท�ำกันมาตัง้ แต่เมือ่ ไหร่ คุณยายวันเพ็ญ ลี้สุดกลิ่น วัย ๗๓ ปี และ คุณยายประนอม กลับสงเคราะห์ วัย ๗๕ ปี ปราชญ์ชาวบ้านเพียง ๒ คน ที่ยังยึดอาชีพทอเสื่อ เล่าให้ฟังว่า พบเห็นการทอเสื่อตั้งแต่เยาว์วัย รุ่นพ่อรุ่นแม่ ต่างบอกว่าท�ำสืบต่อมาจากรุ่นปู่ย่าตายาย หากค�ำนวณโดยยึด จากอายุคุณยายทั้งสองไล่ย้อนกลับไป การทอเสื่อของที่นี่ น่าจะมีมาไม่น้อยกว่าร้อยปี
he villagers of Baan Rakat in Moo 4, Baan Rakat Sub-District, Bang Bo District, have long been recognized for their craftsmanship in plaiting reed mats for generations, however, there is no historical record that marked its beginning. Grandmother Wanphen Leesutklin, 73 years old, and Grandmother Pranom Klapprasong, 75 years old, are the only two wise women that still insist to preserve the art of mat weaving as they shared with us how they had been witnessing the plaiting since their childhood and learned that their parents also inherited it from their forefathers. Considering the current age of both grandmothers, the local mat weaving must have been around for longer than a century.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
T
107
January - February 2020
108 | Culture of pa k na m
“สมั ย ก่ อ นชาวบ้ า นจะทอเสื่ อ ไว้ ใ ช้ เ อง โดยใช้ เ วลาว่ า ง จากท�ำนา แต่ละบ้านมีแปลงกกทีป่ ลูกไว้ของใครของมัน ใต้ถนุ บ้าน มีอุปกรณ์ส�ำหรับทอเสื่อ ผู้หญิงที่นี่ส่วนใหญ่ทอเสื่อเป็นทุกคน ถึงจะออกไปท�ำมาหากินนอกหมู่บ้าน ได้เวลาก็ต้องกลับมาปาด หรือตัดกกให้พ่อแม่เก็บไว้ ใช้ ช่วงหลังเริ่มมีแม่ค้าจากต่างถิ่น มาซือ้ เสือ่ จากหมูบ่ า้ นเราไปเดินเร่ขาย ท�ำให้คนรูจ้ กั เสือ่ บ้านระกาศ มากขึ้น แต่ตอนหลังไม่ค่อยมีใครท�ำเท่าไหร่ ที่ยังท�ำเป็นอาชีพ จริงจังก็มียาย ๒ คน” มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
“In early days, villagers normally weaved their own mats for household use during their free time from rice farming. Every house had a plot of reed and tools for mat weaving in the basement. Most women here could plait a mat and even if they had to work somewhere else, they would always return to cut the reed so their parents can use them later. Our reputation spread as vendors from other neighborhoods bought mats from our village and wandered out to sell. Nonetheless, not many are making these handmade mats these days. I guess that we are the only two that still take mat plaiting seriously as a career.”
109 As grandmother Wanphen led us to her plots of reeds, she explained that three month old reeds with approximately eight khueps in length (1 khuep : 25 centimeters) would be best for plaiting. After the cutting, the reed would grow a new top which could take a while before it would be ready for the next cut. Then the collected reeds had to be sorted into different groups by length, which would later define the width of each mat between four to eight khueps. Next, the reed would be split into thin strips, which could be upto four strips per reed, and left to dry in the sun for three to five days. Some could be dyed with the same type of silk dyeing agent to achieve the colors or patterns of preferences.
คุณยายวันเพ็ญพาไปชมแปลงกกซึ่งปลูกไว้ข้างบ้าน กกที่ น�ำมาทอเสื่อต้องมีอายุประมาณ ๓ เดือน สูงประมาณ ๘ คืบ (๑ คื บ เท่ า กั บ ๒๕ เซนติ เ มตร) หลั ง ถู ก ตั ด จะแทงยอด ออกมาใหม่ รอเวลาตัดมาใช้ ในครั้งต่อไป กกจะถูกคัดแยกออก เป็นกองๆ ตามขนาดซึ่งยาวสั้นไม่เท่ากัน ความยาวคือตัวก�ำหนด ความกว้าง ซึ่งใช้เรียกขนาดของหน้าเสื่อแต่ละผืน เช่น เสื่อ ๘ คืบ เรื่อยลงมาจนถึง ๔ คืบ จากนั้นจึงใช้มีดกรีดแบ่งเป็นเส้น สูงสุด จะได้ประมาณ ๔ เส้น ต่อกก ๑ ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดล�ำต้น น�ำไปตากแดดประมาณ ๓-๕ วันจนแห้ง บางส่วนน�ำมาต้มย้อม ด้วยสีชนิดเดียวกับที่ใช้ย้อมไหมทอผ้า ตามสีและลวดลายที่ได้ ออกแบบไว้ “ต้องตากเส้นกกให้แห้งสนิท ไม่อย่างนั้นย้อมแล้วสีจะหมอง เมือ่ ก่อนใช้เชือกปอเป็นเส้นยืน ต้องมานัง่ ฟัน่ เองกับมือ แต่เดีย๋ วนี้ เปลี่ยนมาใช้ไนลอน การทอจะต้องใช้คน ๒ คนช่วยกัน คนหนึ่ง สอดเส้นกก อีกคนกระแทกสะดึง ที่อื่นเขาเรียกว่าฟืม แต่แถวนี้ เรียกสะดึง ของเราใช้สะดึงแบบตั้งท�ำให้เสื่อมีความแน่นกว่าสะดึง แบบนอน ส่วนลวดลายยายคิดขึ้นมาเองตามจินตนาการ แต่ไม่ได้ ตั้งชื่อไว้ว่าแต่ละลายชื่ออะไรบ้าง” นอกจากจะจ�ำหน่ายเป็นผืน โดยเฉพาะเสื่อพับซึ่งเป็นที่นิยม ยังดัดแปลงเป็นพวงหรีด ที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ต่อได้อีก หลั ง เสร็ จ สิ้ น การใช้ ง านตามวั ต ถุ ป ระสงค์ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ OTOP ระดับ ๓ ดาว ของจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นที่รู้จัก อย่างแพร่หลาย
“Make sure the reed is completely dry otherwise the dyed color will turn out dull. In the beginning, we had to make our own hemp ropes but now we have switched to nylon ropes. The weaving process is a two-person work: one has to be in charge of inserting the reed strips and the other of beating the loom. To our discovery, a vertical loom gives a tighter weaving result than a horizontal one. We create our own patterns according to our imagination so there is no particular name for each style.” Aside from the popular foldable mats, grandmothers also modify these reed mats into wreaths which can still be used after they have served their primary purpose. Today, they are well-recognized 3-star OTOP products of Samutprakan.
กลุ่มอนุรักษ์ผลิตภัณฑ์เสื่อกก
เลขที่ ๗๓ หมู่ ๔ ต�ำบลบ้านระกาศ อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๙๓ ๔๙๑๑ (คุณจ�ำลอง การะเกด ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๔) Reed Mat Product Preservation Group 73 Moo 4, Baan Rakat Sub-District, Bang Bo District, Samutprakan Tel. 08 5093 4911 (Contact Ms. Chamlong Karaket, the Village Chief of Moo 4)
January - February 2020
110 | Souve nir | Vila n By Fa milyc l ay
เซรามิก เป็นเครื่องปั้นดินเผาที่ได้รับความนิยมสูง ในช่วงที่ผ่านมา ส่วนหนึ่งมาจากการเติบโตของ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ธุรกิจร้านอาหาร ร้านกาแฟ สปา โรงแรม รวมถึงที่พักแบบโฮมสเตย์ที่ผุดขึ้น ในทุกๆ จังหวัด ท�ำให้งานท�ำมืออย่างเซรามิก มีมูลค่าเพิ่มตามไปด้วยอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะเมื่ อ ผู ้ ค นสมั ย ใหม่ มั ก มองหา คุณค่าของตัวสินค้า ที่ต้องละเอียดอ่อนทั้งในแง่ กระบวนการผลิต มีสตอรี่บอกเล่าเรื่องราวที่ส่งผล ทางใจ ท�ำให้ผู้ผลิตเองต้องหันมาเน้นการรังสรรค์ ผลงานแต่ละชิ้นด้วยความทุ่มเททั้งแรงกายและ แรงใจ จนท� ำ ให้ ง านแฮนด์ เ มดเซรามิ ก ได้ รั บ ความนิ ย ม กลายมาเป็ น แบรนด์ ธุ ร กิ จ ที่ จ ริ ง จั ง ทั้ ง ในด้ า นรายได้ แ ละการต่ อ ยอดผลิ ต ภั ณ ฑ์ ได้ผลตอบรับที่ดีมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ecently, ceramics are the new hype of earthenware with higher values, partly because of the tourism growth including restaurants, cafés, spas, hotels and local homestays in practically every province.
R
When modern consumers treasure product values from a great delicacy in production processes and emotionally valued stories, creators invest more of their body and soul in the crafting of each product that handicrafts have become increasingly popular and are further developed into several handsome income generating business with a better received creative product development.
ทาสแมวกรี๊ดสลบ กับเซรามิกสไตล์เหมียวๆ
วิลาน บาย แฟมิลี่เคลย์ Vilan By Familyclay
Where cat slaves fall head over heels with kitty ceramics มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
111
ของชิ้นเดียวในโลกที่รับรองไม่มีใครเหมือน จากก้อนดินธรรมดาขึ้นเป็นรูปร่าง และมีสีสันสวยงาม ท�ำให้หลายคนหลงใหลในงานศิลปะประเภทนี้อย่างจริงจัง The one and the only art pieces made of ordinary clay in beautiful shapes and colors are what made many fall head over heels for this type of art.
คุณรัชดา หนองบัว เจ้าของแบรนด์ “Vilan by Familyclay” เป็ น อี ก หนึ่ ง กรณี ศึ ก ษาที่ บุ ก เบิ ก ธุ ร กิ จ เซรามิกโดยมีเอกลักษณ์ของแบรนด์ที่โดดเด่น คุณรัชดา เล่าว่า เดิมทีครอบครัวท�ำธุรกิจเครื่องปั้นดินเผาทั่วไป มาก่ อ น แต่ เ มื่ อ ไลฟ์ ส ไตล์ ค นเปลี่ ย นไป การตลาด ก็เปลี่ยนตาม เพื่อตอบโจทย์คนยุคใหม่ที่ต้องการสินค้า ที่ มี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว บ่ ง บอกความเป็ น ตั ว ตนที่ ไม่เหมือนคนอื่น
“วิลาน บาย แฟมิลี่เคลย์” (Vilan by Familyclay) จึงถือก�ำเนิดขึ้นจากการน�ำน้องแมว “กะทิ” สัตว์เลี้ยง แสนรั ก ของครอบครั ว มาเป็ น แรงบั น ดาลใจส� ำ คั ญ โดยผู ้ ผ ลิ ต ได้ ถ อดบุ ค ลิ ก ของเจ้ า แมวอ้ ว นหน้ า เหวี่ ย ง มาใส่ในผลิตภัณฑ์สารพัดชนิด ไม่ว่าจะเป็น จาน ชาม แก้ ว น�้ ำ โถใส่ ข อง เครื่ อ งประดั บ ต่ า งหู เข็ ม กลั ด ของตกแต่งบ้าน ฯลฯ ทีล่ ว้ นมีอริ ยิ าบถต่างๆ ของน้องกะทิ เป็นส่วนหนึ่งของชิ้นงาน January - February 2020
112 | Souve nir
นอกจากนี้ แ มวกะทิ ยั ง กลายเป็ น “ผลิตภัณฑ์ชุด” ที่ออกมาหลากหลายวาระ เช่ น น้ อ งแมวชุ ด สงกรานต์ (Let Water Drip Over Kathi) แน่นอนว่าจัดเต็มตั้งแต่ เสื้อลายดอกของน้อง หรือแก้วดริปกาแฟ ที่น�ำเอาน้องแมวไปตั้งอยู่ด้านในแก้ว ใช้เป็น ฟังก์ชันการวัดระดับน�้ำส�ำหรับดริป เมื่อเทน�้ำ ลงไปด้ า นบน สายน�้ ำ ก็ จ ะไหลโปรยปราย ให้ อ ารมณ์ รื่ น เริ ง กั บ เทศกาลแบบไทยๆ อย่างเต็มที่ คุณรัชดาเล่าว่า ชือ่ แบรนด์ “วิลาน” (Vilan) มี ที่ ม าจากค� ำ ไทยว่ า “วิ ฬ าร” ที่ ห มายถึ ง “แมว” เพราะได้รบั แรงบันดาลใจจากเรือ่ งราว ของแมวไทยวิ เ ชี ย รมาศ ที่ ถู ก ส่ ง ไปเป็ น ทูตวัฒนธรรมยังต่างแดน แต่กลับสามารถ ส่งสารแห่งความผูกพันระหว่างคนรักแมว ได้โดยไม่ต้องยึดติดกับภาษาใดๆ ท�ำให้เกิด เป็ น แนวคิ ด ที่ อ ยากจะแบ่ ง ปั น ความสุ ข และความทรงจ� ำ ดี ๆ ส� ำ หรั บ คนที่ รั ก แมว ได้ มี ค วามสุ ข กั บ การใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี เรื่ อ งราวของแมว กลายเป็ น แบรนด์ ที่ มี คอนเซปต์ “Happiness is for Sharing” มาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. ๒๕๖๒ “คนรุ่นใหม่ใช้เงินซื้อไลฟ์สไตล์มากขึ้น บางทีคนเราท�ำงานไม่ได้ทำ� สิง่ ทีช่ อบ แต่ตอ้ งท�ำ เพื่อให้ ได้รายได้เข้ามาเลี้ยงชีวิต แต่ในอีก มิติหนึ่งคนต้องการการหล่อเลี้ยงทางด้าน จิตใจ บางคนชอบดนตรี บางคนชอบงานฝีมอื ยิง่ ถ้าคนชอบแมวบางคนก็อยากจะมีนอ้ งแมว
“เซรามิก” มักมาคู่กันกับค�ำว่า “แฮนด์เมด” ในปัจจุบันเปิดให้คนทั่วไปได้เรียนรู้ และมีเซรามิกท�ำมือเป็นของตัวเองได้ โดยมีค่าใช้จ่ายที่ทุกคนเอื้อมถึง “Ceramics” usually come with the word “Handmade”. Today, these handmade ceramics are available for learning and crafting at reachable price. “Ratchada Nongbua”, the founder of “Vilan by Familyclay” is a good study case that pioneers the ceramics business with an exceptional brand identity. Ratchada said that it started out as a family business of ordinary earthenware .but as lifestyles changed our marketing had to readjust to serve new generations with a distinctive brand identity that sets us apart from the rest. “Vilan by Familyclay” is a business inspired by the family’s beloved cat, “Kathi”. The craftsperson translates the fun features and postures of the chubby cat with an attitude face in various products including tableware like dishes, bowls, cups, jars, accessories like earrings and pins as well as home décors among many others.
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
Furthermore, Kathi the cat is the key highlight of numerous seasonal collections, for instance, Kathi Songkran’s Festival Set (Let Water Drip Over Kathi). Beside of the festive flowery shirt, the coffee drip cup with Kathi’s figure in the middle functions as a water level measurement. When the water is added the top dripper, it merrily pours down with such a refreshing vibe of Thailand’s famous festival. Ratchada continued that the name of the brand “Vilan” was derived from the Thai word “Vilan” meaning “cat”. Inspired by the story of Siamese Wichianmat cats exported to foreign countries as a cultural ambassador who delivered a heartwarming message to other cat lovers regardless of language boundary, she wished
113 to share the happiness and precious memories among cat lovers via products embedded with loving cat stories, which gradually became the brand concept, “Happiness is for sharing”, since the beginning of 2019. “One of the reasons why new generations spend money on lifestyle is because not everyone gets to do what he truly love but rather has to work to earn sufficient income for day-by-day living. Nonetheless, people still long for spiritual nourishment. Some find it in music while others in crafts. Cat lovers, in particular, love having their cat featured on the side of a coffee cup or other appliances, and therefore, our customers sometimes request a customized painting of their cat on ceramic dishes or cups making them one of a kind. Some of our customers also wish to create their own unique pieces and learn ceramic molding skills and techniques from us.” Subsequently, Vilan by Familyclay sprouted an additional ceramics molding studio offering both oneon-one and online classes where students learn to skillfully transform clay into a work of art with better knowledge and understanding of fundamental processes like molding, modeling, coloring and firing. As expected, many students have mastered the art of ceramic molding and built successful businesses on it. Nowadays, Vilan has been honored with many national awards that guarantee the blissful quality, for instance, “OTOP Select 77 Experience”, 5-Starred OTOP Product of 2016 and Best of OTOP Select Experience of 2017.
ของตั ว เองอยู ่ ข ้ า งแก้ ว กาแฟ ในข้ า วของ เครื่องใช้ บางงานลูกค้าก็สั่งวาดรูปแมวของ ตนเองลงบนจานเซรามิ ก กลายเป็ น แก้ ว เป็นจานใบเดียวที่ไม่เหมือนใครในโลก หรือ บางคนมี ไ อเดี ย ดี ๆ ที่ ห าซื้ อ ที่ ไ หนไม่ ไ ด้ เขาก็อยากมาเรียนปั้นเซรามิกจะได้เอาไป ต่อยอดไอเดียนั้น” ธุ ร กิ จ วิ ล าน บาย แฟมิ ลี่ เ คลย์ จึ ง ได้ แตกหน่ อ ออกลู ก หลานมาเป็ น สตู ดิ โ อ สอนทําเซรามิก ที่สามารถสมัครเรียนได้ทั้ง แบบตัวต่อตัวในโรงเรียน หรือสมัครเรียน แบบออนไลน์ ที่ท�ำให้ผู้เรียนสามารถเปลี่ยน Vilan by Familyclay
อีเมล : familyclay@yahoo.com เฟซบุ๊ก : ceramicsbyfamilyclay อินสตาแกรม : familyclay ไลน์ : @-familyclay
ก้อนดินเป็นผลงานของตัวเอง ได้ทั้งทักษะ ศิลปะ ได้ทั้งความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานการปั้น ขั้นตอนการขึ้นรูป ขั้นตอน การลงสี ออกแบบ ไปจนถึ ง วิ ธี ก ารเผา เซรามิก และแน่นอนว่ามีลูกศิษย์หลายคน สามารถพัฒนางานจนถึงขั้นท�ำเป็นธุรกิจของ ตนเองได้อย่างสวยงาม ปัจจุบันแบรนด์วิลานได้รับรางวัลระดับ ประเทศเป็นสิ่งการันตีคุณภาพมากมาย เช่น รางวัล OTOP Select ๗๗ Experience รางวัล โอทอป 5 ดาว ปี ๒๕๕๙ และรางวัล Best of OTOP Select Experience ปี ๒๕๖๐ vilan By Familyclay
E-mail: familyclay@yahoo.com Facebook: ceramicsbyfamilyclay Instagram: familyclay Line: @-familyclay January - February 2020
114
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
115
Brilliant Corner Gourmet | CafÉ Story | Stay Overnight | View finder | Calendar
January - February 2020
116 | CAFÉ STORY
| T H E BLACK FORES T
นอกจากกาแฟ เครื่องดื่มและเบเกอรี่ ยังเสิร์ฟอาหารจานเดียวอย่าง สปาเกตตี ไก่ทอด ฯลฯ Besides coffee, beverages and bakery, the café also serves delicious individual dishes such as spaghetti, crispy chicken and etc. มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ 2563
117
อพอลโล Apollo
THE BLACK FOREST
สุนทรียศาสตร์แห่งรสชาติ และการออกแบบ
THE BLACK FOREST
The aesthetics of flavor and design
นอกจากดีไซน์ที่ดูแปลกตา คุณเบซยังสร้าง เรื่องราวซึ่งเกี่ยวข้องกับป่าด�ำลงไปทุกเมนู อย่าง Apollo วิตามินซีจากสับปะรด ส้ม แอปเปิ้ลเขียว ท็อปปิง้ ด้วยสับปะรด โรยหน้าด้วยน�ำ้ ตาลทรายแดง ที่ ผ ่ า นความร้ อ นจนเกรี ย มหอม ราดด้ ว ย เอสเพรสโซ่ ช็ อ ต วงกลมของสั บ ปะรดแทน พระอาทิตย์ที่เปล่งรัศมีและความร้อนลงมาบนโลก แก้วนี้เป็นตัวแทนของฤดูร้อน เลยตั้งชื่อว่า Apollo เทพแห่งแสงและดวงอาทิตย์ Spring แก้วนีพ้ ดู ถึงฤดูใบไม้ผลิ มองไปทางไหน จึ ง พบแต่ ค วามเขี ย วขจี อากาศเย็ น สดชื่ น ด้ ว ย ชาเขียวผสมความหอมหวานของน�้ำผึ้ง วานิลลา และความซ่าของโซดากับมินต์ กินคู่กับ Flourless Chocolate เค้ ก เนื้ อ นุ ่ ม ที่ มี ช็ อ กโกแลตและ เอสเพรสโซ่ผสมอยู่ในเนื้อเดียวกัน เป็นร้านที่มี ทัง้ ศาสตร์และศิลป์ สร้างสุนทรียศาสตร์แห่งรสชาติ ได้อย่างน่าอัศจรรย์
แรงบันดาลใจในการออกแบบคาเฟ่ของ คุณเบซ หรื อ ยอดยุ ท ธ ฉายสุ ว รรณ์ เกิ ด จากความ หลงใหลในความสวยงามและมี พ ลั ง ของป่ า ด� ำ (Schwarzwald) เทือกเขาทางตะวันตกเฉียงใต้ ของเยอรมนี ซึ่ ง ปกคลุ ม ด้ ว ยป่ า สนขนาดใหญ่ สถานที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของเทพนิยายหลายเรื่อง ของนั ก ประพั น ธ์ ช าวเยอรมั น ยาค็ อ บ กริ ม ม์ และ วิลเฮล์ม กริมม์ สองพี่น้องตระกูลกริมม์ ป่าด�ำในจินตนาการของคุณเบซ ถูกน�ำมาเล่า ผ่านเส้นสายของโลหะ ตามลักษณะสถาปัตยกรรม แบบอาร์ ต นู โ ว โดยหยิ บ เอาธรรมชาติ ร อบตั ว มาสร้ า งเป็ น ลวดลายบนงานออกแบบ เงาซึ่ ง ทอดผ่านกระจกใสเข้ามาภายในร้านแต่ละช่วงเวลา เคลื่อนที่ไปตามองศาของแสงอาทิตย์ เหมือนเงา ของต้นไม้ ในป่าใหญ่สมชื่อ The Black Forest
ตกแต่งร้านด้วยสถาปัตยกรรมแบบอาร์ตนูโว The café features Art Nouveau architectural design. January - February 2020
118 | CAFÉ STORY he inspiration behind the cafe design by Best Yodyut Chaisuwan originated from his fascination in the magnificence and the force of the Black Forest (Schwarzwald), a mountain range in the southwest of Germany covered with a dense ever-green pine forest that inspired the journey of several fairy tales by two notable German authors, Jacob Grimm and Wilhelm Grimm or the Brothers Grimm.
T
Best depicted the Black Forest through the trace and pattern design of metal materials, one of the most prominent features of Art Nouveau Architecture, and the creative integration of the temporal changes of surrounding nature. For instance, the shadow that casts through the clear glass walls slowly drifts across the cafe interior according to the ever-changing degree of natural sunlight at different times mimicking the shadow of large trees in the actual Black Forest. Other than the interior design, Best infuses the enchanted stories of the Black Forest into his menus. For example, Apollo, rich with vitamin c from pineapple, orange, and green apple, is layered with pineapple slices, toasted brown sugar that oozes a beautiful aroma before being topped with an espresso shot. The round slices of pineapple symbolize the sun that radiates its light and warmth to the earth, hence, the representative of Summer and the name Apollo, the God of the sun and the light. To illustrate of the greenery and the cool refreshing air of the season, Spring is a harmonious mixture of green tea, ambrosial honey, vanilla, sparkling soda and mint leaves. It is best enjoyed with Flourless Chocolate whose impressive delicate texture features both chocolate and espresso. Undoubtedly, the Black Forest is a wonderful combination of art and science that also yields the genuine aesthetics of flavor.
THE BLACK FOREST
เลขที่ ๑๙๐๗ ซอยสุขุมวิท ๑๐๗ ต�ำบลส�ำโรงเหนือ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๙๗๖๙ ๑๑๑๐ เปิดบริการ เวลา ๑๐.๐๐-๒๐.๐๐ นาฬิกา หยุดวันจันทร์และวันอังคาร มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
THE BLACK FOREST 1907 Soi Sukhumvit 107, Samrong Nuea Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Tel. 08 9769 1110 Open daily from 10.00am - 08.00pm and Closed on Monday and Tuesday
119
เจเกอร์-โรสแมรี่ สเต๊ก Jeager-Rosemary Steak
Flourless Chocolate เค้กช็อกโกแลตผสมเอสเพรสโซ่ Flourless Chocolate - Chocolate Espresso cakeThe Black Forest January - February 2020
120 | CAFÉ STORY | S ong T h aew C af e
เพราะความฝันที่อยากมีคาเฟ่เล็กๆ ให้คนเข้ามา นั่งพัก จิบกาแฟและเครื่องดื่มร้อนเย็น ขณะที่ เจ้าของร้านเป็นทายาทรุ่น ๓ ซึ่งเข้ามาบริหาร กิ จ การเดิ น รถสองแถวประจ� ำ ทาง รั บ ส่ ง ผู ้ ค น ในย่านบางพลี สมุทรปราการ ธุรกิจของครอบครัว ที่ด�ำเนินการมานานหลายปี จึงหยิบเอาเรื่องราว เหล่านั้นมาเล่าผ่านงานออกแบบ “สองแถวคาเฟ่” อย่างตรงไปตรงมา มุ ม พั ก ผ่ อ นหน้ า ร้ า นตกแต่ ง ด้ ว ยหลั ง คา รถสองแถว ราวจับประดับโคมไฟสีนวล ชวนให้ จินตนาการไปว่า ก�ำลังนั่งรับลมอยู่บนรถคันใหญ่ ที่ ก� ำ ลั ง แล่ น บนถนนพร้ อ มเครื่ อ งดื่ ม แก้ ว โปรด รายละเอียดซึ่งบอกเล่าตัวตน ถูกสอดแทรกผ่าน การตกแต่งภายใน เช่น บุเพดานด้วยแผ่นสเตนเลส มันวาว แบบเดียวที่ใช้กับรถสองแถว พร้อมมุม ถ่ า ยรู ป เช็ ก อิ น สุ ด เก๋ ให้ อ ารมณ์ แ ละความรู ้ สึ ก เหมื อ นก� ำ ลั ง ก้ า วขึ้ น รถที่ จ อดรั บ ผู ้ โ ดยสาร ระหว่างทาง เมนู ย อดนิ ย มเป็ น “สองแถวซิ ก เนเจอร์ ” เอสเพรสโซ่ ส ไตล์ ไ ทย ทั้ ง ร้ อ น เย็ น และปั ่ น ชาไทยคาราเมล ฯลฯ แกล้มเบเกอรี่โฮมเมด อย่าง Blueberry Cheese Pie, Almond Oreo Brownie, Macadamia Caramel Coffee Cake ซึ่งอาจต้อง มาเร็วหน่อย เพื่อไม่ให้พลาดบางเมนู เพราะจะ อบร้อนสดใหม่จากเตาแบบวันต่อวัน ยังมีไอศกรีม และอาหารง่ายๆ หลากหลายเมนูให้เลือกชิมด้วย คุณภาพและปริมาณคุ้มราคา ตรงตามคอนเซปต์ ของร้านที่ว่า “ราคาระดับสองแถว คุณภาพระดับซูเปอร์คาร์”
สองแถวคาเฟ่... เก๋ เท่ มีสไตล์ Song Thaew Cafe Chic, cool and stylish มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
121
aving dreamed of having a small cafe where people can casually sit back and enjoy some nice sips of coffee or other hot and cold beverages, the cafe owner, the third generation to take charge of her family business as a pick-up truck taxi (Song Thaew in Thai) service operator delivering local passengers around Bang Phli area in Samutprakan for decades, translated the charming nature of her business into the honest design of “Song Thaew Cafe”.
H
การตกแต่งเน้นความโปร่งสบายตา บุเพดานด้วยแผ่นสเตนเลส แบบเดียวกับรถสองแถว The decoration highlights on the spaciousness and airiness with the classic stainless steel ceiling commonly found in Song Thaew.
The relaxing corner at the front of the cafe is decorated with a roof of Song Thaew and the handrails with ivory lanterns that visitors cannot help but imagining themselves embracing the cool breeze on a large pick-up truck taxi as it runs down the street with favorite drinks in their hands. Other storytelling interior details include the glossy stainless steel ceiling resembling the interior ceiling of Song Thaew and a check-in photo corner that gives off the atmosphere of stepping up the back of the truck taxi that pulls over the roadside to pick up its passengers midway. The best-selling drinks are “Song Thaew Signature”, Thai-style espresso, which can be served hot, cold or blended and Cha Thai Caramel among many others. For interesting homemade bakeries that make a good pair with the drinks like Blueberry Cheese Pie, Almond Oreo Brownie and Macadamia Caramel Coffee Cake, it is recommended to visit the cafe a little earlier as these menus are freshly baked in limited amount each day. The cafe also offers a delightful list of ice-creams and savories of great quality at a friendly price mirroring the cafe’s main concept: “The price of a Song Thaew. The quality of a Supercar.”
“สองแถวซิกเนเจอร์” เอสเพรสโซ่สไตล์ไทยเมนูยอดนิยม "Song Thaew Signature", the bestselling Thai-style espresso.
สองแถวคาเฟ่ เลขที่ ๓๓/๓๖๒ หมู่ ๗ ถนนกิ่งแก้ว ต�ำบลบางพลีใหญ่ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๖ ๔๒๔๒ ๓๙๑๔, ๐๖ ๑๖๖๒ ๙๕๕๔ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐-๑๙.๐๐ นาฬิกา Song Thaew Cafe 33/362 Moo 7, King Kaew Road, Bang Phli Yai Sub-District, Bang Phli District, Samutprakan Tel. 06 4242 3914, 06 1662 9554 Open daily from 07.00am - 07.00pm January - February 2020
122 | Gour met | A n appet izing m ea l at K hun N o i S hop
ปรุงแบบชามต่อชาม เน้นวัตถุดิบสดใหม่ และความสะอาดเป็นหัวใจหลัก Cook upon order with a great emphasis on fresh raw ingredients and cleanliness.
S
ince Ueang Waewthanyu or Noi, the owner of Paknam’s famous Duck and Pork Noodles for over three decades, always look neat from head to toes, her old customers often called the shop “Khun Nai Noi Shop” (Thai for Madame Noi Shop).
อิ่มอร่อยที่
ร้านคุณน้อย
An appetizing meal
at Khun Noi Shop
เพราะ คุณเอื้อง แวววทัญญู หรือ คุณน้อย เจ้าของต�ำรับก๋วยเตี๋ยวเป็ดและ ก๋วยเตีย๋ วหมูเจ้าอร่อยแห่งเมืองปากน�ำ้ ทีเ่ ปิดขายมานานกว่า ๓๐ ปี เป็นคนสะอาด เรียบร้อย แต่งตัวเนี้ยบสวยงามตั้งแต่หัวจดเท้า ลูกค้ารุ่นเก่าๆ จึงมักเรียกกัน ติดปากว่า ร้านคุณน้อย กลิ่นน�้ำซุปหอมโชยเตะจมูกนับแต่เดินเข้าร้าน หนึ่งหม้อเคี่ยวจากกระดูก ส่วนเล้งและคาตัง้ ส�ำหรับเมนูหมู อีกหม้อใช้ซโี่ ครงเป็ดและซีโ่ ครงไก่ ส�ำหรับเมนูเป็ด เคี่ยวนานหลายชั่วโมงจนได้น�้ำซุปหวานหอมซดคล่องคอ เป็ดตุ๋นร้านคุณน้อย เลือกใช้เป็ดไล่ทุ่ง ที่ถูกปล่อยให้เดินหากินตามธรรมชาติ เหมือนได้ออกก�ำลังกาย ทุกวัน เนื้อจึงนุ่มแน่นกว่าเป็ดฟาร์ม ล้างท�ำความสะอาดอย่างดี ตุ๋นจนน�้ำซุป มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
One step into the shop and we were greeted by the beautiful aroma of clear pork sparerib and shank soup in one pot as well as duck and chicken bone soup in the other that had been simmered for hours for maximum natural sweetness. Slow-braised duck menus at Khun Noi
123
Shop are made of open-field ducks that were allowed to naturally search for food. With such exercise everyday, their meat is much softer yet tighter than those raised in an enclosed farm. After a thorough cleansing, the ducks are slowly braised until the meat fully absorbs the soup and becomes perfectly tender. It is best enjoyed with Ba Mee Sen Baen or Ba Mee Po (flat eggnoodles) either with or without soup or served individually with optional duck parts including the meat, the
drumstick, the tongue, the leg, the intestine or the blood. Pork noodles can also be ordered with regular clear soup, Tom Yam soup or Yentafo soup (with pink sauce). Here, the tender and aromatic pork is made of charcoal-roasted pork collar slightly marbled with fat. Besides the pork, each bowl is packed with fish balls, fried- shrimp balls, slices of fish sticks, crispy wonton wrappers, and minced pork.
เข้ า เนื้ อ เปื ่ อ ยก� ำ ลั ง เหมาะ ชามเด่ น เป็ น บะหมี่เส้นแบนหรือบะหมี่เป๊าะทั้งแห้งและน�้ำ และเป็ดตุ๋นเป็นจาน ที่มีให้เลือกชิมทั้งเนื้อ น่อง ลิ้น ปีก ขา ไส้ เลือด ก๋วยเตีย๋ วหมูเสิรฟ์ ทัง้ แบบธรรมดา ต้มย�ำ เย็ น ตาโฟ เนื้ อ หมู ข องที่ นี่ อ บด้ ว ยเตาถ่ า น จนสุกหอม เคีย้ วนุม่ เพราะใช้เนือ้ หมูสว่ นสันคอ ที่ มี ไ ขมั น แทรกนิ ด ๆ มาพร้ อ มลู ก ชิ้ น ปลา ลูกชิ้นกุ้งทอด ฮื่อก๊วย เกี๊ยวกรอบ หมูสับ หน้าตาชวนชิม อร่อยลิ้นทุกชาม
ร้านคุณน้อย
เลขที่ ๔๗ ถนนท้ายบ้าน ซอย ๘ (หลวงสุข) ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๗๘๑ ๙๖๐๐ เปิดบริการทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๕.๐๐ นาฬิกา Khun Noi Shop 47 Thai Baan Road Soi 8 (Luang Suk), Paknam Sub-District, Mueang Samutprakan District, Samutprakan Tel. 08 6781 9600 Open daily from 08:00am - 03.00pm
January - February 2020
124 | Stay Overnigh t | Sin Na m N goen R esort
สิน น�้ำ เงิน รีสอร์ท
อ้อมกอดของผืนน�้ำและฟ้ากว้าง Sin Nam Ngoen Resort THE CRADLE OF SKY AND WATER
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
หากใครชอบธรรมชาติกลางแจ้ง น่าจะหลงรัก “สิ น น�้ ำ เงิ น รี ส อร์ ท ” ตั้ ง แต่ แ รกพบ เพราะเป็ น ที่ พั ก ซึ่ ง สร้ า งอยู ่ ภ ายในบริ เ วณ วั ง น�้ ำ ขนาดใหญ่ ใช้ เ ป็ น พื้ น ที่ เ ลี้ยงกุ้งและ สัตว์น�้ำหลายชนิดใกล้ชิดทะเล คุณสมัคร เที ย นสุ ว รรณ เจ้ า ของพื้ น ที่ ผู ้ อ ารี เ ล่ า ว่ า นอกจากกุ้งแล้วแต่ละบ่อยังเป็นแหล่งอาศัย ของปลาหลายสายพันธุ์ จึงเปิดให้ผู้ที่ชื่นชอบ กี ฬ าตกปลาเข้ า มาใช้ พ้ื น ที่ โดยคิ ด เพี ย ง ค่ า เช่ า เบ็ ด ตกได้ เ ท่ า ไหร่ อ นุ ญ าตให้ ข น กลั บ บ้ า น ไม่ คิ ด ค่ า ใช้ จ ่ า ยเพิ่ ม เหมื อ นกั บ
125
ทีอ่ นื่ ๆ จนมีนกั ตกปลาจากทัว่ สารทิศเข้ามา เพิ่ ม มากขึ้ น จึ ง สร้ า งที่ พั ก เพื่ อ อ� ำ นวย ความสะดวก ซึ่ ง มี ท� ำ เลที่ ตั้ ง ไม่ ไ กลจาก บ้ า นสาขลา ชุ ม ชนท่ อ งเที่ ย วชื่ อ ดั ง ของ จังหวัดสมุทรปราการ ท�ำให้เป็นที่รู้จักของ นักท่องเที่ยวที่ผ่านไปมา ห้องพักแบ่งเป็น ๒ โซน โซนด้านใน มีหอ้ งหลายแบบให้เลือกเช็กอิน ทัง้ เรือนแถว ขนาดเล็กกะทัดรัด ห้องวิลล่าริมสวนและ ริ ม คลองสองบรรยากาศ วิ ล ล่ า ริ ม เขื่ อ น ที่มาพร้อมศาลาชมวิวส่วนตัว หากมาเป็น ครอบครัวหรือเป็นหมู่คณะ แนะน�ำบ้านพัก หลังใหญ่ ๒ ชั้น กว้างขวาง โอ่โถง ส่วนโซน
ด้านนอกเป็นของใหม่แกะกล่อง เพราะเพิ่ง เปิดรับนักท่องเที่ยวได้ไม่ครบเดือน ห้องพัก แยกเป็นหลังให้ความเป็นส่วนตัว แต่ละหลัง ให้สีตัดกันอย่างตั้งใจ จึงโดดเด่นสะดุดสายตา มาแต่ ไ กล ขนาบด้ ว ยผื น น�้ ำ และฟ้ า กว้ า ง เหมือนลูกกวาดในขวดโหลทีร่ อคนมาหยิบชิม ส� ำ หรั บ สายเอาต์ ด อร์ ที่ นี่ มี กิ จ กรรม ให้ เ ลื อ กหลากหลาย ทั้ ง พายเรื อ คายั ค ปั ่ น จั ก รยานน�้ ำ ตกปลา หรื อ จะชวนกั น นั่ ง เรื อ ศึ ก ษาระบบนิ เ วศป่ า ชายเลน ดู น ก ชมพระอาทิตย์ตก กลับเข้าฝั่งมาอิ่มอร่อย กับเมนูกงุ้ หอย ปู ปลา สดจากทะเล ทีพ่ อ่ ครัว แม่ครัวหยิบมาปรุงกันอย่างสุดฝีมือ
January - February 2020
126 |
Stay Ov ernigh t
f you are a fan of the outdoors, you will surely fall in love with “Sin Nam Ngoen Resort”, which is situated on an extensive basin near the sea used to culture shrimps and various aqua animals.Samak Thiansuwan, the kind landowner told us that besides the shrimps, each farm was also home to a large diversity of fish; thus, the area allows fishing enthusiasts to practice their skills. Unlike other fishing venues, customers are only required to pay a minimum cost of a fishing rod rental fee and are allowed to bring home whatever they catch without further charges.As the news spread and more fishing fans poured in, he decided to build a resort to provide more convenience not too far from Baan Sakhla, a famous community tourist attraction of Samutprakan.
I
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
Such location makes the place quickly known among tourists. The accommodation is divided into two major zones. The inner zone offers various room types ranging from compact-sized rowhouses, gardenfront and canalfront villas to water's edge villas with a private scenic-point pavillion. For those who travel as a family or a group, the spacious and airy two-storey large residence is highly recommended. The outer zone is a brand new addition to the resort which has been receiving customers less than a month. The resting area here is separated into individual cabins for more privacy. Encompassed with horizontal sky and water, each cabin comes in intentionally high contrast colors making them easily spottable even from afar.
127
Outdoor lovers are invited to explore an array of fun activities including Kayaking, water biking, fishing or hopping on a boat trip to observe the mangrove forest ecology, different species of birds and embrace the breathtaking sunset before returning to the shore to delight your crying stomach with fresh seafood savories caught straight from the sea and seasoned by local chefs.
สิน น�้ำ เงิน รีสอร์ท
เลขที่ ๓๐๕ หมู่ ๔ ต�ำบลนาเกลือ อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ โทรศัพท์ ๐๖ ๔๙๙๕ ๖๑๗๗ Sin Nam Ngoen Resort 305 Moo 4, Na Kluea Sub-District, Phra Samut Chedi District, Samutprakan Tel. 06 4995 6177
January - February 2020
128 | VI E W FI NDER
ENCHANTED NIGHT เทศกาลแห่งแสงสี
วัดบางโฉลงนอก / สุรเชษฐ Wat Bangchalongnok / Surachet
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
129
วัดบางพลีใหญ่ใน / สุรเชษฐ Wat Bangpleeyainai / Surachet
ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ / อภิเดช Samutprakan Provincial Office / Apidej
January - February 2020
Samutprakan 2020 Event Calendar 130 | Calen da r
ปฏิทินท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรปราการ
THE 8TH PAKNAM LANTERN FESTIVAL AT DHARMA KATANYU FOUNDATION (XIAN LOH TAI TIAN GONG SHRINE)
5 SOI DHARMA KATANYU FOUNDATION, SUKHUMVIT ROAD, BANG PU MAI SUB-DISTRICT, MUEANG DISTRICT, SAMUTPRAKAN 22 JANUARY – 16 FEBRUARY, 2020
มกราคม - กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
เทศกาลโคมไฟแสงสี แห่งเมืองปากน�้ำ ค๘รั้งที่ ที่ มูลนิธิธรรมกตัญญู (เสียนหลอไต้เทียนกง)
เลขที่ ๕ ซอยมูลนิธิธรรมกตัญญู ถนนสุขุมวิท ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ วันที่ ๒๒ มกราคม – ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
131
ดูนบริเวณสถานตากอากาศบางปู กนางนวล
ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ช่วงเดือนธันวาคม ๒๕๖๒ – เมษายน ๒๕๖๓
SEAGULL WATCHING BANG PU RECREATIONAL CENTER,
BANG PU MAI SUB-DISTRICT, MUEANG DISTRICT, SAMUTPRAKAN FROM DECEMBER 2019 – APRIL 2020
January - February 2020