FEATURE
NEW!! Be Beauty Natural Looking Makeup Tips
อุทStory าหรณ ...ชีวิต by Chaisuda Gaylard TAAQ Newsletter
Proud Hiranyalekha
๑๔
i s s u e 14
THAI ENG
E D I T I O N
FREE magazine
Editor’s inbox and Contributors
Editor’s inbox เราเชิญนองพราว พิชญาภา หิรัญยเลขา มาถายปกฉบับนี้ ดวยหลายเหตุผลดวยกัน หนึ่งในนั้นคือนองพราวเปนเด็ก Gen M หรือเด็กที่เกิดในยุคสื่อครอบงำ เด็กเจนเนอเรชั่นนี้ บริโภคสื่อโดยเฉพาะโซเชียลมีเดียไดอยางไมมีขอบเขตจำกัด และมีความสามารถในการบริโภคหลายๆสื่อทั้งเบราสเฟซบุค เช็คทวิตเตอร ฟงเพลงจากยูทูบ และสงขอความแชตกับเพื่อน อีกฝงหนึ่งของโลกไปดวยได ในเวลาเดียวกัน
We invited Proud Hiranyalekha to be on the cover for many reasons. One is that she is a good example of Generation M, the term the media has adopted to describe people who born roughly between the mid-to-late 1980s and the 1990s and teenagers of the 21st century. Children of Generation M spend an unprecedented amount of time devouring media, from television, movies, music, video games and the Internet. Apparently, children of Generation M are also multi-tasking expert, often consuming two or more types of media at the same time.
นองพราว ก็ไมตางจากเพื่อนๆรวมเจนเนอเรชั่นเดียวกัน แตความสามารถในการคงไวซึ่งความเชื่อและการปฎิบัติในเรื่อง วัฒนธรรมดั้งเดิมและคงความงามอยางไทยเอาไวอยางเหนียวแนน เปนสิ่งที่ทำใหเราสนใจนองพราวเปนพิเศษ ติดตามอานเรื่องของเธอไดจากสัมภาษณหนาใน ทีมงานสวัสดีฯยังคงทำงานหนัก ทั้งลองผิด ลองถูก พัฒนาคุณภาพ เพื่อผูอานอยางตอเนื่อง เราจะเผยโฉมหนาฉบับออนไลนลุคใหมในเร็วๆนี้ ขอใหติดตามกันตอไปนะคะ
There is no exception to our young cover model from her fellow Gen M. She consumes all of the abovementioned and braves the challenges this global culture has to offer. The fact that she remains her parents cultural root close to her heart is something intriguing and we want to hear her says. Our Cover Talks with Proud inside tells something about her and how she does it. As always, we work hard, experimenting what works and worthwhile for our readers. We will continue to do that and soon we will launch our full online version, how and what it will look like? Please stay tune.
Boom Buchanan Editor
Contributors ทา่นเจา้คณ ุ พระศรพ ี ทุธวิเิทศ เจา้อาวาสวดัไทยพทุธาราม
Phra Siphutthiwithet President & Abbot at Wat Tha Buddharam Forestdale Brisbane.
Jim Jirarnuttaruj Make up & Hair artist for Cover, Fashion & Trend 14 years experience in Australia & Thailand https://www.facebook.com/JimJirarnuttaruj
Santanee Otto slottochangprai@gmail.com. Columnist Design Trends
Carol Larsen Freelance Graphic Designer / Photo Retoucher / Photographer at Lorac Designs
ปาริฉัตร กาญจนวัฒน์ Peta Art Director
วสมน สาณะเสน Wasamon Sanasen East meets West
Freelance creative designer Professional makeup artist contact email: design.parichat.k@gmail.com
Chaisuda Gaylard อุทาหรณ์...ชีวิต True Story A mother of one and a cancer survivor, Chaisuda Gaylard shares the stories of her battle with cancer and how she determines to live a happy life.
Benjawan Poomsan US-based Thai/Lao Translator and Interpreter and a writer
Supalagsana Sontichai: Old Tales Retold A Thai award winning author , a novelist, translator and a travel writer
Sophon Pathumratworakun(Dee) โสภณ ปทุมรัตน์วรกุล (ดี)
Cover shoot by Paul Tran EMagine Photography View his images at: http://emaginephotography4.wix.com/ photography-showcase
Stylist and Makeup Artist for WE cover อุรวรรณ ไฮดส์ Urawan Hinds Beauty Your Styles https://www.facebook.com /ownyourbeautybyurawan/ Ig: BeauYrStyle
3
Contents Issue 14 August-September 2016
Cover talks 6-7 Proud to be Proud 8 Behind the scenes
Brislife 18 19 20 21
ŕ¸Şŕ¸˛ŕ¸Łŕ¸ˆŕ¸˛ŕ¸ ŕ¸ ŕ¸‡ŕ¸Şŕ¸¸ŕ¸Ľŕ¸ ŕ¸´ŕ¸•ŕ¸•ŕ¸´ŕ¸Ąŕ¸¨ŕ¸ąŕ¸ ŕ¸”ŕ¸´ŕšŒ ŕš ŕ¸ŤďœŠŕ¸‡ŕ¸Łŕ¸ąŕ¸?ŕ¸„ŕ¸§ŕ¸ľŕ¸™ŕ¸Şŕš ŕ¸Ľŕ¸™ŕ¸”ďœŽ TAAQ Newsletter Design Trends Be Beauty
24
True Story 12-13 True Story Thai-Lao interpreter 22-23 Old Tale Retold 24-25 True Story ŕ¸ŕ¸¸ŕ¸—ŕ¸˛ŕ¸Ťŕ¸Łŕ¸“ďœŽ...ช฾วิต
Real Community 3 16 28 -29 33
Editor Inbox & Contributors ŕ¸Łŕ¸šďœ‹ŕ¸ˆŕ¸ąŕ¸ ŕ¸—ŕ¸ľŕ¸Ąŕ¸Şŕ¸§ŕ¸ąŕ¸Şŕ¸”ŕ¸ľŕ¸ŕ¸ŕ¸Şŕš€ŕ¸•ŕ¸Łŕš€ŕ¸Ľŕ¸ľŕ¸˘ Money Talk รŕ¸ŕ¸šŕ¸Łŕ¸šďœ‹ŕš€ŕ¸Łŕ¸ˇŕšˆŕ¸ŕ¸‡ŕ¸ŕ¸Şŕ¸ąŕ¸‡ŕ¸Ťŕ¸˛ŕ¸Łŕ¸´ŕ¸Ąŕ¸—ŕ¸Łŕ¸ąŕ¸žŕ¸˘ďœŽ Social Scenes Horoscope ทำนายดวง
SAWASDEE page1.pdf sawasdee issue13
1
30/06/2016
9:24 pm
Did you know? ŕ¸ŠďœŠŕ¸ŕ¸‡ŕ¸—ŕ¸˛ŕ¸‡ŕ¸ ŕ¸˛ŕ¸Łŕš€ŕ¸‚ďœ‹ŕ¸˛ŕ¸–ŕ¸śŕ¸‡
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Recipe for
Success
FEATURE
Designing with Natural Stones
Ţ Ă?ÄˆĂşÄ‡Ă¨ ąÞÜÌ ĀċêStory by Chaisuda Gaylard
Queensland Consulate News
Tina Ratanavaraha
THAII T ENG I O N E D
šº
i s s u e 13
FREEe magazin
ติดตาลŕ¸ďœŠŕ¸˛ŕ¸™ Sawasdee E-Magazine ŕš„ŕ¸”ďœ‹ŕš ŕ¸Ľďœ‹ŕ¸§ŕ¸§ŕ¸ąŕ¸™ŕ¸™ŕ¸ľŕš‰ ŕš€ŕ¸žŕ¸ľŕ¸˘ŕ¸‡ŕ¸”ŕ¸˛ŕ¸§ŕ¸™ďœŽŕš‚ŕ¸Ťŕ¸Ľŕ¸” Application issue
“ SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE � https://www.facebook.com/sawasdee.au.mag
Contact us Sawasdee Australia Magazine 6/159 Gailey Road Taringa QLD 4068 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: + 61 7 3870 5427 +61 424 022 334
enroll by September, 2016
Cover Talks
Intelligent, playful and spirited – Proud Hiranyalekha is now among many freshmen attending Mahidol University, one of the most prestigious universities in Thailand that offers a degree in Actuarial Science. She wants to become an actuary, one of the top careers that ranked number one and the highest paid jobs in the world.
6
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
Proud Hiranyalekha efore she take off on her new journey, Sawasdee Australia Magazine team had an opportunity to shoot with Proud for our cover and talked about personal life, her view of the world and how she keeps the balance in the challenging global culture, and remains her strong Thai root very close at heart.
Q&A
What was your childhood like?
My childhood was not like other kids. As a child, I had the opportunity to be living in three different countries, experienced three different cultures. I was born in Bangkok, Thailand and lived there until I was nine. During that time I lived with my grandparents most of the time as my dad had to go to work in another province in Thailand and my mom was working full time. There wasn't much time where we get to spend our time together as a family, which include mum, dad and myself. Until 2007, when dad had to take up the position in Bali, then we decided that it was best for us to move there and stay together as a family. Mum quit her job and I moved school. It was definitely difficult for my family and myself to adjust to new environment and new culture. But as a child, it was a fast process for me. Our lives and the living in Bali really brought our family back together again. We had all the time that we needed to spend with each other and able to do more activities as a family. Then again in 2010, we were fortunate enough to move to Brisbane.
Tell us about your impression, experience and life in Australia.
Brisbane is very different from both Bali and Bangkok. Bangkok is a very busy city, packed with people, skyscrapers and cars. Everything you do in Bangkok is rush either you wake up early to get to somewhere on time or you wake up late and get caught up in the 2-3hours traffic. You have to plan your day very well to be able to live in Bangkok. Lifestyle in Bali is similar to Bangkok in many ways. Brisbane is a city that I think suits the definition of "slow life" very well. It is just a very relaxing city to live, with clean and safe environment.
Was there any moment you wish that you could reliving. I really just want to relive every happy moments.
Where on earth is your favorite place?
My favourite place on earth would be anywhere with my family.
Your take on social media in all aspect, good, bad or ugly
I think social media now has a really big impact on my life. I've been living overseas for quite some time and being away from my grandparents and my uncle helps bring us closer. I also have friends in other countries and the social media keeps us stay connected no matter how far we are apart. It also keeps me up to date with what happen around the world through Facebook and Twitter. However I always have some cautions when I post anything on social media, as I know that everything you do and post goes public, everyone can see and it is hard to erase it from the Internet.
As a little girl growing up, surely you have got asked a lot with this question: “what do you want to be Who inspire you and why? I believe that everyone and anyone at anytime could inspire me. A when you grow up?” what did you want to be? random person doing a simple act of kindness could inspire me I can share with you that most of my friends wanted to be so many things when they were young. But for me, the only answer was always “I want to be an airhostess (Flight attendant)” It was the one and only of what I wanted to be. Probably because of my dad’s work involves with aeroplanes and because I was flying everywhere all the time at a very young age, I always admired the flight attendants and think of them as "the angels of sky" When I see them in beautiful uniform working or walking around I thought to myself "that's going be me one day!" You probably wondering why I wanted to be an airhostess. Well…as a little girl the first thing you see in them is the looks; the beauty and the charm, I see that they get to also dress in pretty uniforms. Secondly who wouldn't want to travel around the world for a living? But later I discovered that being a flight attendant was not a real deal for me.
What do you want to be now?
I want to be an actuary. I have to thank my parents that they have introduced the study of actuarial science to me. I enjoy maths and statistics and I know that there is still an increase demand for the job in this field, which means (hopefully) less competition when looking for a job in the future.
to do the same thing.
Who is your role model?
Both of my parents are my role models. But I would say my dad has more influence in me to choose to live a successful and happy life. He always teaches me to live a well balance life.
Tell us about your music taste?
I love listening to the music but I personally don't have a fix mind about music. It changes a lot and always changing but if I have to choose one, any pop music would be my most favorite.
Are you a big fan of Pokémon? What do you think of this phenomenon?
I used to have Pokémon on my Nintendo but never really was my game of choice. I didn't realise that there's a new Pokémon game came out until everyone around me was talking about and it becomes the talk of the town. Of course I got to download it. I believe that what makes this game a phenomenon is because it has been gone for so long and now it's back and better with a new way to play and interact with the game.
Having been traveling to live in other part of the I think it catches people's attention because the new version includes you as player to be a main character of the game. world, what have you learnt? I have earned a lot of life experience in different aspects. I think one of the most important one is that wherever you go or wherever you are you have to learn to understand, accept, adjust and adapt to the surroundings, the environment, the people and the culture. I also learnt many life experiences, which I think, help shape me who I am.
What is your proudest moment?
One of the proudest moments of my life would be the graduation from high school.
7
Behind the scenes
hooting the cover of this edition with Proud Hiranlekha and Paul Tran, our new photographer (then), was a mixture of excitement and fun at the same time. Prior to the cover shoot, Proud had once worked with our team before on the production of our radio media promotional materials. Though the second assignment was a bit different and quite bigger of a scale. All of us prepared well on what we had to do. Some reference shots we wish to achieve were sent to Proud and Paul, everyone did the homework, Proud find her dresses that would fit for the occasion, Paul did his research and booked the studio, we contacted Jim Jirarnuttaruj, the makeup and hair artist who on the day did a great job in making Proud pretty and ready for a cover girl. The excitement came when tried to find the studio. Its too well hidden location among industrial warehouses Southside of Brisbane made us driving around the block far too many times. That resulted in almost an hour late for our arrival. It was not something we want to present as the first impression to the crew who already waiting for us. Especially the photographer who took the time off from his normal professional work and happily wanted to help us 8
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
out as his special favor. However, the introduction between Paul, Proud, her accompanying mother and us that afternoon was seamless. Once the light is on and the camera started clicking, everyone went on about the tasks without a tad of uneasiness. In fact, it seemed like we have known each other and have worked together before. It was such a fun shoot. Thanks again to Proud, Paul, Sawasdee Australia team members, Yuri Chang who lending accessories to our model. Thanks also to our friends and assistants on the day and Carol Larsen who helped with the postproduction of the images. Finally, we would like to extend our special thanks to Proud’s parents for allowing their beautiful daughter to work with us. She definitely made our cover perfection.
TAKE GUY OUT, THAILAND ake Guy Out Thailand is the latest Thai dating show only it's a lot more progressive than anything we've seen before as this dating show is 'guy dates guy'. FINALLY! show that has caught up with the real world. Television has finally caught up with the fact that no matter what gender you belong, there’s no fixed requirements to love or to be loved.
I’ve fallen in love with an Aussie man…. I so want to come to live with him in Australia. The question is: I will be with him in what status? Servant, Friend or Partner? Or can I legally get married with him?
Same-sex relationships and the partner visa program If you're a guy, who's found your 'Mr Right' or a girl who has found your 'Miss Right' then there are options to bring your beloved to Australia. While couple's in a same-sex relationship are not yet afforded as many visa options as couple's in a heterosexual relationship, the visa option that does exist for partners of Australian citizens is not too bad. If you're an Australian in love with someone from another country or you are from another country and want to join your Australian partner in Australia, you may be able to lodge an Australian partner visa on the basis of being in a de facto relationship. Visa applicants who are in a de facto relationship with an Australian can apply for a partner visa if they have been in a genuine and continuing relationship for 12 months or more. Unlike heterosexual couples, same-sex couples are not able to be considered for the Prospective Marriage Visa (which can be applied for offshore) and therefore often have to rely on other temporary visas like visitor visas for the purposes of joining their partner in Australia until such time as they can meet the de facto relationship requirements to lodge a valid application for a Provisional Partner Visa.
Q&A
What if your married in a country where same-sex marriage is legal? Civil unions/same-sex marriages are not recognised by authorities in Australia irrespective of their legal standing / recognition in other countries. What about civil partnership in Australia? If you reside in Australia with your partner, and in a state or territory of Australia where registration of a de-facto relationship or civil partnership is available then after registering your civil partnership or defacto relationship the 12-month pre-existing defacto requirement may not be applicable to you when lodging your partner visa. Transgender people and the partner visa program If you are transgender in most cases couple's will rely on meeting the requirements based on a de-facto relationship however it all depends on what stage you are at in your transition and what your gender is at the time of marriage if you are looking to marry your partner. The law around a lawful marriage where you are in the process of transitioning can be tricky so it's important you seek advice before lodging any visa. If any of the circumstances above relate to you and your partner contact Freedom Migration, specialists in partner visas and issues that relate to couples from the LGBTI community. For professional and confidential visa advice contact us now on (07) 3112 5204.
07 3112 5204 Don't risk the future of your relationship Registered Migration Agent #0960361
Contact the Freedom Migration team today on
Website: www.freedommigration.com
ชายรักกันเอง หรือผูหญิงรักผูหญิงดวยกัน ไมใชเรื่องแปลกสำหรับ ออสเตรเลียคงจะปฎิเสธไมได ในยุคทีส่ งั คมเปดใหกบั ความลับ เอย... ความรัก ไมวาคุณจะเปนเพศไหนก็ตาม ความรัก ความเขาใจดูแล ซึ่งกันและกัน และอีกปจจัยหลายๆอยาง ดูเหมือนจะไมมีสูตรตายตัวของ แตคูรักทุกคู สำหรับชายไทยทีไ่ ดพบรักกับหนุม สัญชาติออสเตรเลียแลวอยากบินหนีตามคูร กั มาใชชวี ติ ที่ออสแตรเลีย อาจมีคำถามคือ “เราจะมาอยู ใ นฐานะไหน คนรั บ ใช เพื ่ อ น หรื อ คู ค รอง หรื อ อยากแต ง งาน ให ก ฎหมายนรั บ รองอย า งถู ก ต อ งไหม?”
โปรแกรมวีซาสำหรับความสัมพันธของบุคคลเพศเดียวกัน และวีซาพารทเนอร
หากคุณเปนผูช ายและไดพบกับ ‘ผูช ายทีใ่ ช' หรือคุณเปนผูห ญิงและพบ 'สาวทีใ่ ช' ของคุณแลว คุณมีตัวเลือกตางๆในการนำคนรักของคุณมายังประเทศออสเตรเลีย โดยถึงแมวาความ สัมพันธของบุคคลเพศเดียวกันยังมีตัวเลือกในการยื่นขอวีซาไมมากเทากับคูรักตางเพศ แตตวั เลือกวีซา สำหรับคูร กั ของพลเมืองออสเตรเลียก็ไมถอื วาแยเกินไป หากคุณเปนบุคคล สัญชาติออสเตรเลียนและรักกับบุคคลทีม่ าจากประเทศอืน่ หรือคุณมาจากประเทศอืน่ ๆและ ตองการมาใชชีวิตกับคูรักชาวออสเตรเลียของคุณในประเทศออสเตรเลีย คุณสามารถยื่น ขอวีซาคูครองได โดยตองแสดงหลักฐานความสัมพันธทางพฤตินัยตามขอกำหนด ผูยื่นวีซาที่มีความขสัมพันธทางพฤตินัยกับบุคคลสัญญาติออสเตรเลียสามารถยื่นขอวีซา คูครองไดหากความสัมพันธของบุคคลทั้งสองเปนความสัมพันธทแ่ี ทจริงและคบหากันมา นานกวา 12 เดือน โดยคูร กั เพศเดียวกันจะไมสามารถยืน่ ขอวีซา คูห มัน้ หรือ Prospective Marriage Visa (ซึ่งสามารถยื่นขอจากตางประเทศได) เหมือนกับคูรักตางเพศ ดังนั้นคู รักเพศเดียวกันตองใชวิธีการยื่นขอวีซาประเภทอื่นๆ อาทิ วีซาเยี่ยมเยียนคูรักของตนใน ประเทศออสเตรเลียจนความสัมพันธครบตามขอกำหนดและสามารถยื่นขอวีซาคูครอง แบบชั่วคราว (Provisional Partner Visa) ได จะเปนอยางไรหากคุณทำการสมรสในประเทศที่การสมรสระหวางบุคคลเพศเดียวกัน เปนสิ่งที่ถูกกฎหมาย การใชชีวิตรวมกันทางกฎหมายหรือการสมรสเพศเดียวกันเปน สิ่งที่ประเทศออสเตรเลียไมยอมรับ ถึงแมวาการจดทะเบียนดังกลาวเปนสิ่งที่ถูก กฎหมายในประเทศอื่นๆ
การใชชวี ติ รวมกันโดยไมไดจดทะเบียน (civil partnership) ในประเทศออสเตรเลียเปนอยางไร?
หากคุณอาศัยอยูกับพารทเนอรของคุณในประเทศออสเตรเลียหรืออาศัยอยูในรัฐหรือเขต แดนของออสเตรเลียที่อนุญาตใหทำการจดทะเบียนความสัมพันธทางพฤตินัย (de-facto relationship) หรือยอมรับการใชชีวิตรวมกันโดยไมไดจดทะเบียน (civil partnership) หลังจากที่คุณไดทำการจดทะเบียนแลว อาจไมตองใชขอกำหนดการอยูรวมกันเปนเวลา 12 เดือนกอนที่จะยื่นขอวีซาคูครอง
â»Ãá¡ÃÁÇÕ«ÒÊÓËÃѺºØ¤¤Å¢ÒÁà¾È áÅÐÇÕ«Ò¤Ù¤Ãͧ หากคุณเปนบุคคลขามเพศ คูรักหลายคูจะตองปฏิบัติตามขอบังคับในการแสดงความ สัมพันธทางพฤตินัย อยางไรก็ตาม สิ่งเหลานี้ขึ้นอยูกับวาคุณอยูในขั้นตอนใดของการ แปลงเพศของคุณและคุณเปนเพศใดในตอนทีท่ ำการสมรสหากคุณกำลังจะทำการสมรส กับคูครองของคุณ กฎหมายที่อนุญาตใหการสมรสเปนการสมรสตามกฎหมายนั้น อาจมีความยุงยาก ดังนั้น จึงเปนเรื่องที่สำคัญมากที่คุณขอรับคำปรึกษากอนทำการ ยื่นวีซาทุกประเภท หากสถานการณตางๆที่ไดกลาวถึงในขางตนเกี่ยวของกับตัวคุณและคูครองของคุณ โปรดติดตอ Freedom Migrationซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญดานวีซาคูครองและปญหาตางๆ ที่เกี่ยวของกับคูรักที่มาจากชุมชนชาวรักรวมเพศ (LGBTI)
ËÒ¡¤Ø³µÍ§¡ÒäÓá¹Ð¹Ó à¡ÕèÂǡѺÇÕ«ÒÍÂÒ§Á×ÍÍÒªÕ¾ áÅÐÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§¤Ø³äÇ â»Ã´µÔ´µÍàÃÒä´àŵ͹¹Õé¼Ò¹ Skype ·ÕèËÁÒÂàÅ¢: 07 3103 2112
or destroyed. Farmers also have to buy and use a lot of fertilizers to enrich the poor soil, and many struggle to survive during the dry season from November to April when no rice is grown. When there isn’t enough money to support the entire family, children often go off to work to help support the family.
True story
I noticed that some of the village kids started to leave for the bigger towns to look for work in factories or restaurants after they finished Grade Four, the mandatory level of education then. These kids were about ten or eleven years old. Some of the older girls, around fifteen years old, would go to work in places like Pattaya or Bangkok. Boys around the same age went off to find jobs as construction workers or taxi-drivers. Their families would be happy because they’d have money to ease their hardship, and typically wouldn’t question where the money came from or how it was earned. The kids sending money home would return to visit the village in April at Songkran, the traditional New Year, bringing gifts and money for celebrating. Isaan people who have left their families to find work outside the
The Interpreter’s journal Growing up in Isaan Benjawan Poomsan Becker
We kids didn’t have many store-bought toys to play with, and we had no television, so we had to invent other ways to amuse ourselves. We climbed trees and ate fruit like plums, tamarinds, and santols. There was one huge tree near my house that the kids would gather around after school and on the weekends when they weren’t working in the rice fields. We hunted for beetles, swam in the ponds, and ran around barefoot. The boys would practice muay Thai boxing and play the rattan-ball game takraw, which is similar to volleyball but only allows the use of the feet, knees, chest, and head. No hands. Some of the older kids picked up a bad habit shared by a lot of Thais when they started gambling on the boxing matches. Because we didn’t grow rice, I didn’t have to work in the fields like the other kids. My older siblings helped out with the chores and tending the animals while my main job was to help Mom take care of my newborn brother. In the village I saw the poor and underprivileged. Most people in the region are rice farmers who depend almost entirely on the seasonal rains from May to October because the irrigation systems are not well developed. When there is drought, which happens often, the rice crops are reduced
12
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
The beautiful and impoverished young Isaan girls were attracted to the money that could be made in Pattaya, and a huge sex industry developed catering to foreigners. village are excited to be home at Songkran. Bangkok and the larger cities are virtually deserted during this biggest of Thai annual holidays because multitudes go home to spend time with their relatives in the provinces. I was born in 1967 and was still very young during the Vietnam War. From around 1961 to 1975 the United States occupied a number of existing Thai Air Force bases and built new bases that were used during the war in Vietnam, Laos, and Cambodia. There was a large air force base near Ubon, which is about sixty miles from where I grew up. U-Tapao, another big air base, was ninety miles southeast of Bangkok on the Gulf of Thailand, near Pattaya. The small fishing villages around there became the rest and relaxation – or “R and R” – outposts for the American military personal. Hotels, bars, and restaurants sprang up to accommodate the battle-weary GIs, and villagers from the Northeast became the workers in this new service industry.
The beautiful and impoverished young Isaan girls were attracted to the money that could be made in Pattaya, and a huge sex industry developed catering to foreigners. These girls sent money back to their families, and I’m sure that some of the girls from my village went to work in the bars and brothels catering to the servicemen. During the height of the conflict in 1969 there were more US Air Force personnel stationed in Thailand than in South Vietnam. However, it must be said that only a very small percentage of Thai women worked in the sex industry. The vast majority still did back-breaking work for long hours in legitimate jobs to support their families. Most Thai women have tremendous pride and would never consider working in the sex industry, no matter how desperate their lives are. Growing up in northeast Thailand during the 1970s, my childhood was affected by events in Southeast Asia. Around 1975 I started hearing my parents and other adults talking about refugees and communists. They started telling me that if I was disobedient or played too far from the house, the communists would take me away. At the time I didn’t know what a communist was, but everyone made them sound like bad guys. That was the year the Pathet Lao communist forces overthrew the monarchy in Laos. I also recall Mom being frightened about the mass killings in Cambodia. From 1975 to 1979, the Khmer Rouge regime, led by Pol Pot, massacred almost twenty percent of the population of Cambodia. Yasothon isn’t far from the border of either Laos or Cambodia, and she was always afraid that the communists would come and kill us. Dad also complained about the Thai government spending too much money building camps to take care of refugees who had escaped from the communists by crossing the Mekong River from Laos, walking across the border from Cambodia, or sailing by the boatload from Vietnam. Eventually most of these refugees were sent to third countries, mainly the United States, France, Canada, and Australia. Although I heard stories about the war, the killings, the refugees, and Laos and Cambodia being bombed, I was still too young to understand the significance of these events. Naturally, since then, I’ve heard many firsthand stories about this period in Indochinese history, through the experiences
of my clients and my Lao friends. Having actually lived through these historical events myself has helped me understand the backgrounds of my Thai and Lao clients when I interpret for them. To be a good interpreter, knowing the words isn’t always enough. The cultural context is just as, if not more, important because it explains individual actions and statements. All of these world-changing events were happening around me, but I was more immediately affected by the trials and tribulations of family and village life. Raising livestock was extremely difficult for my father, who was both inexperienced and lacked sufficient funds to adequately support the endeavor. He had a dream but not the practical knowledge or planning ability to be able to realize it. In just a few years, all the family savings and retirement money that he brought from Bangkok had been depleted. I could tell that he was frustrated and unhappy, but he never expressed his worries to us children, and he and Mom never argued in front of us. I learned later from Mom that they did quarrel a lot during this period, and she would cry every day, concerned about her five school-age children. My parents had to look for an alternative livelihood, and that’s how we ended up moving to Yasothon town, and things changed again.
Need Asian massage therapists / assistants In Springfield shopping mall, male or female, age 18-55. Training provided, no experience needed. Higher commission if you have experience.
Contact 0415 888 698.
รับสมัครพนักงานนวดบำบัด และพนักงานงานประจำรานนวด ชาย หญิง อายุระหวาง 18-55 สามารถสื่อสารดวยภาษา อังกฤษได ไมจำเปนตองมีประสบการณ เพราะบริษัทมี ฝกอบรมให หากมีประสบการณจะมีคาคอมมิสชั่นพิเศษให รานตั้งอยูในหางสรรพสินคาสปริงฟลด
สนใจติดตอ 0415 888 698
บริการตอขนตาดวย เทคนิคสไตลญี่ปุน ตอขนตาเสนตอเสน ดวยขนมิงคแท อุปกรณและกาวตอจากญี่ปุนทั้งหมด
ชางสามารถไปหาที่บานลูกคาและเปดบาน ใหลูกคามาหาได ติดตอขอนัดเวลา สถานที่ รับบริการไดที่
คุณกั้ง 045 221 9395 13
รายการอสังหาริมทรัพยที่เราขาย
“บริการดานอสังหาริมทรัพยครบวงจร เราพรอมใหบริการใหดีเกินคาดหมาย”
Homestates ได ส ั ง เกตเห็ น บรรดานั ก ลงทุ น และผู ซ ื ้ อ อสังหาริมทรัพยจำนวนมาก สนใจในแถบบริสเบนอยางตอ เนื่องซึ่งมันนำไปสูความตองการในอสังหาริมทรัพยที่มากขึ้น และราคาขายที่ถีบตัวสูงขึ้น ชวงที่ผานมาเร็ว ๆ นี้ เราไดจัดการขายอพารตเมนทหมด ยกตึกไปแลวสำหรับอสังหาริมทรัพยชั้นนำสุดหรู ดังเชน อพารตเมนท Spire ทีเ่ ขตตัวเมืองบริสเบน หรือ อพารตเมนท Ivy ทีแ่ ถบSouth Brisbane และ อพารตเมนทอนั หรูหรา FV ที่เขตFortitude Valley โดยเรายังมีอสังหาริมทรัพยอื่น ๆ พรอมนำเสนออีกมาก และเราพรอมชวยคุณใหหาบานที่ใช หรือคอนโดที่ชอบไดสำเร็จ โปรดติดตอ Homestates เพื่อปรึกษาเราไดตั้งแตวันนี้เกี่ยว กับความตองการดานอสังหาริมทรัพยของคุณ
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: เปดขายอยู
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: ขายหมดแลว
ประเภท:แพคเกจบานและที่ดิน สถานะ: เปดขายอยู
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: เปดขายอยู
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: ขายหมดแลว
ประเภท: ทาวนเฮาส สถานะ: 2 หองสุดทาย
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: ขายหมดแลว
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: เปดขายอยู
ประเภท: อพารตเมนท สถานะ: ขายไปแลว 70%
ทุกเดือนกรกฏาคมของทุกป เขต Teneriffe จะจัด งานเทศกาล Teneriffe Festival ขึน้ เพือ่ เฉลิมฉลอง ประวัติศาสตรของเขตนี้ วามีที่มาที่ไปอยางไร ตอนนี้เขตนี้เปนอยางไร และ อะไรคืออนาคตของ เขตนี้ โดยเขตนี้นั้นเต็มไปดวยเรื่องราวประวัติศาสตรใน อดีตที่นาสนใจและมีอนาคตอันชัดเจนรออยูกับ แผนพัฒนาผังเมือง (Urban Renewal) Homestates ของพวกเราไดเขารวมงานเทศกาล Teneriffe Festival ซึ่งจัดขึ้นเปนปที่ 7 เพื่อรวม สนับสนุนกิจกรรมชุมชนทองถิน่ และไดนำนองสิงโต Herby ใหมาสนุกสนานถายรูปรวมกันกับเพื่อน ๆ ที่มางานเทศกาลกัน โดยในวันเสารในวันงานนั้น บรรดาพนักงานของ Homestates ไดมโี อกาสตอนรับ ครอบครัวและลูกหลานของผูมารวมงานเทศกาล ดวยของชำรวยมากมาย ซึง่ รวมถึง พัด ลูกโปงรูปสัตว และ อาหารฝรั่งเศสสูตรพื้นบาน
Homestates ขอแสดงความยินดีอีกครั้งสำหรับ คุ ณ Sarah Smith ซึ ่ ง เป น ผู ช นะกิ จ กรรมการ แขงขันซึง่ จัดขึน้ ยาวนานตลอดทัง้ สัปดาหบนเฟซบุก ของเราที่ https://www.facebook.com/Homestates RealtyThai/ และ ไดรบั รางวัลเปนบัตรกำนัลมูลคา $100 สำหรับอาหารฝรัง่ เศสของเทศกาล Teneriffe Festival นี้ และไมใชแคนั้น เราไดจับฉลากผูชนะซึ่งคือคุณ Linda Henning ไดรับรางวัลใหญมูลคากวา $500 เปนกระเชา “Tastes of Teneriffe” ที่รวมสินคา และบริการ จากรานคาทองถิ่นแถบ Teneriffe เอาไวมากมาย เราคัดสรรอยางดีดวยมือเพื่อนำเสนอรานในยานนี้ ที่โดงดังและมีชื่อเสียง เพื่อนๆสามารถคอยติดตาม ร ว มกิ จ กรรมลุ น รั บ รางวั ล ใหม ๆ และ เข า ถึ ง อสังหาริมทรัพยชั้นนำของเรา ไดบนแฟนเพจของ เฟซบุก
และในลำดับทายสุดนี้ โปรดอยาลืมไปเยี่ยมชม เฟซบุกแฟนเพจของเราเพื่อดาวนโหลดนิตยสาร ออนไลนประจำเดือนกรกฏาคม เพื่อดูขอมูลเพิ่ม เติมสำหรับยานที่นาสนใจของบริสเบน การลงทุน โครงสรางพื้นฐานที่กำลังจะมาถึง และ ประเด็น เดนดานการลงทุนในอสังหาริมทรัพย และ ยังมี บานและคอนโดที่สวยงาม ไมเหมือนใคร สวยหรู พรอมขายและใหเชา ซึ่งเนื้อหาเหลานี้รอคอยให เพื่อน ๆ มาอานกันไดในนิตยสารฉบับนี้ครับ
/HomestatesRealtyThai 1300 88 66 08
Money Talks บทวิจัยตลาด และพัฒนา Homestates ขอนําเสนอบทวิจยั ตลาดและ พัฒนาเพื�อมอบสาระความรู้และการวิเคราะห์ที� ทันต่อเหตุการณ์สาํ หรับตลาดอสังหาริ มทรัพย์ ในออสเตรเลีย ทีมวิจยั และพัฒนาถูกก่อตังขึ � �นเพื�อสนับสนุนนัก ลงทุนและลูกค้ าเพื�อนําเสนอมุมมองภาพกว้ าง อย่างครบถ้ วนของตลาดออสเตรเลีย เราพร้ อม มุง่ มัน� นําทักษะและความเชี�ยวชาญของเราเพื�อ ช่วยให้ คณ ุ มีข้อมูลในการตัดสินใจและสามารถ ซื �ออสังหาริ มทรัพย์ได้ อย่างมัน� ใจ
มาลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กนั ได้ ตงั � แต่ วนั นีเ� ลย กับทุน Great Start Grant $20,000 ของรัฐควีนส์ แลนด์ ตังแต่ � � กรกฏาคม ���� ทุนสนับสนุนบ้ านหลังแรกประจํารัฐควีนส์แลนด์ (First Home Owner’s Grant) จะทําให้ ผ้ กู ําลังมองหาหนทางเริ� มต้ นกับ อสังหาริ มทรัพย์จะได้ รับเงินทุนช่วยเหลือ $��,��� ซึง� คาดกันว่าโครงการนี �จะไม่เพียงช่วยกระตุ้นตลาดอสังหาริ มทรัพย์ของบริ สเบนที�แ ข่งขันกันสูง แต่ยงั ช่วยให้ ผ้ คู นได้ มีโอกาสสามารถลงทุนครัง� สําคัญของชีวิต โปรดอ่านต่อด้ านล่างสําหรับข้ อมูลว่าคุณสามารถรับทุนนี �ได้ อย่างไรตังแต่ � วนั นี �
ประโยชน์ ของทุน Great Start Grant ทุน $20,000 นี �อาจนํามาช่วยเหลือค่าใช้ จา่ ยในชีวิตของคุณในปี แรก ได้ อย่างมาก และนี�คือตัวอย่างที�แสดงให้ เห็นว่าทุน Queensland First Home Owner’s Grant มีประโยชน์ช่วยเหลือคุณได้ อย่างไรบ้ าง:
เงื�อนไขดังต่อไปนี �เป็ นการตรวจสอบคุณสมบัตเิ บื �องต้ นเพื�อพิจารณา
ว่าคุณมีสทิ ธิ�ได้ รับทุนมูลค่ามากสุดถึง $20,000 สําหรับทุน Great Start Grant นี �หรื อเปล่า
· ช่วยเปิ ดประตูโอกาสเข้ าสูต่ ลาดอสังหาริ มทรัพย์
ถือสัญชาติออสเตรเลีย / มีวีซา่ พํานักถาวร
ุ สามารถซื �อหรื อสร้ างบ้ านของคุณเองได้ · ช่วยให้ คณ
คุณ หรื อ คูส่ มรส ต้ องไม่เคยเป็ นเจ้ าของอสังหาริ มทรัพย์ใด ๆ
ุ มีกําลังซื �อมากกว่าที�เคยมี เพื�อ · เป็ นเงินทุนพิเศษที�ได้ เปล่า ทําให้ คณ นําไปซื �อสิง� ต่าง ๆ ได้
การวิจยั และพัฒนาถือเป็ นหนึง� ในหลักสําคัญ ของ Homestates ซึง� ให้ บริ การโดยยึดลูกค้ า เป็ นศูนย์กลาง: ในฐานะทีเ� ป็ นผู้นําในด้ านธุรกิจ ตัวกลางและการให้ คําปรึกษาในออสเตรเลีย เครื อ Homestates พร้ อมให้ บริ การอย่างครบ วงจรทังในด้ � าน การลงทุนในอสังหาริ มทรัพย์ การขายอสังหาริมทรัพย์ การบริหารจัดการ อสังหาริ มทรัพย์ การให้ คาํ ปรึกษาย้ ายถิ�นฐาน และ การให้ บริ การทางการศึกษา
ตรวจสอบคุณสมบัติการรับทุน
ในออสเตรเลียมาก่อน มีอายุอย่างน้ อย �� ปี
· ช่วยหักกลบลบหนี �บรรดาค่าใช้ จ่ายที�ไม่คาดฝั นต่าง ๆ
ซื �อหรื อสร้ างอสังหาริ มทรัพย์ใหม่ซงึ� มีมลู ค่าตํ�ากว่า $750,000
เชิญพิจารณาอสังหาริ มทรัพย์ที� Homestates เปิ ดขายอยู่ด้านล่าง อสังหาริมทรัพย์เหล่านี �ล้ วนเข้ าเงื�อนไขของคุณสมบัตใิ นการรับทุน Great Start
ข้ อมูลที�ปรากฏ ณ ที�นี �ถูกนํามาจากแหล่งข้ อมูลซึง� เราเชื�อว่ามีความน่าเชื�อถือ แต่ Homestates Realty ขอสงวนสิทธิ�ไม่รับผิดชอบใด ๆ ทุกประการต่อความผิดพลาดของข้ อเท็จจริ ง ภาพใช้ เพื�อประกอบการโฆษณาเท่านั �น การวิจารณ์ ผลิตภัณฑ์หรือมุมมองส่วนบุคคลหรือบริษัทใด ๆ ไม่ถือว่าเนื �อหาดังกล่าวถูกรับรองจาก Homestates Realty เราเคารพต่อสิทธิสว่ นบุคคลของคุณ และ เราอยู่ภายใต้ กฎหมาย Privacy Principles ของออสเตรเลีย
Ri Maksirakul
Property Specialist
HOMESTATES REALTY
SPECIALISATION IN PROPERTY INVESTMENT PORTFOLIOS
0430 220 063
MASTERS OF INTERNATIONAL BUSINESS (QUT) NATIVE IN THAI, FLUENT IN ENGLISH RI.MAKSIRAKUL@HOMESTATES.COM.AU
T 1300 88 66 08 | E info.brisbane@homestates.com.au | W www.homestates.com.au
OPEN NOW
ÊÓËÃѺ¼Ùʹ㨺ÃÔ¡ÒôҹʧÅÙ¡ËÅÒ¹ ÁÒÈÖ¡ÉÒµÍáÅзͧà·ÕèÂÇ·ÕèÍÍÊàµÃàÅÕÂ
¤ÍÃÊàÃÕ¹ÀÒÉÒ Cer Dip TAFE Uni ã˺ÃÔ¡ÒûÃÖ¡ÉÒ¿ÃÕ áÅЪÇÂÂ×è¹ÇիҹѡàÃÕ¹ áÅÐÇÕ«ÒµÔ´µÒÁãË´ÇÂ
NEW OFFICE IN CBD พบกับออฟฟิศใหม่ ใจกลางเมืองบริสเบน
54/111 Eagle St Brisbane 4000 Mob no. 0419773321 Lines id. toncity88
ติดต่อ คุณต้น
Anocha Janrattana (Tonya) Exective Director I Inter Educational Counselor linksmartinter@gmail.com Office no. +61 07 3012 6417-8
The Royal Thai Consulate Queensland wishes to invite all members of the Thai community to attend a
Domestic Violence Information Seminar
All Ages | Guest Speakers | Free Entry | Food and Drinks Provided
For more information: www.royalthaiconsulatebrisbane.com
NEWSLETTER สมาคมไทยออสเตรเลียนแหงรัฐควีนสแลนด
TAAQ นำโดยประธานสมาคมฯ และคุณ Kanchana Bliss เขารวมงานพิธีเปด สถานกงสุลกิติมศักดิ์ แหงนครบริสเบน เมื่อคืนวันที่ 7 กรกฏาคม 2559
ขาวกิจกรรมเพือ่ ชุมชนไทย
โดย สมาคมไทยออสเตรเลียนแหงรัฐควีนสแลนด
นายกสมาคมไทย-ออสเตรเลี่ยนแหงรัฐควีนสแลนด (TAAQ) นายวิญญา จันทรา พรอมดวย ภริยา มอบกระเชาดอกไมแสดงความยินดีกับนายธนวัฒน หิรัญยเลขา ผูจัดการทั่วไปสำนัก งานการบินไทยบริสเบน และมณฑลทางเหนือ หลังจากเขารวมพิธสี งฆเพือ่ เปนสิรมิ งคลแกสำนักงาน และพนักงานเจาหนาที่ เนื่องในโอกาสทำบุญเปดสำนักงานใหม ณ สำนักงานการบินไทย ชั้น 10 เลขที่ 380 Queen Street, Brisbane Phone: (61-7) 3215-4777 1300 651-960 (within Australia only) Fax: (61-7) 3215-4737 E-mail: brisbane@thaiairways.com.au
ในชวงเดือนที่ผานมา สมาคมไทย-ออสเตรเลี่ยน แหงรัฐควีนสแลนดไดให ความชวยเหลือกับสตรีชาวไทยซึง่ ไดใหกำเนิดบุตรแตมปี ญ หาทีฝ่ า ยชายไมรบั เลีย้ งดู ขณะที่สตรีทานนั้นยังไมได permanent resident จึงไมไดรับความชวยเหลือใดๆ จากทางรัฐบาล ขณะที่รอไกลเกลี่ยคดีความทางสมาคมฯไดใหความชวยเหลือ สตรีทานนี้ โดยโอนเงินใหทุกสัปดาหจำนวนหนึ่งเปนเวลา 15 สัปดาห สมาคมไทยฯไดมอบเงินทุนชวยงานศพของคุณจิรภา กินเนน ซึ่งเสียชีวิต กะทันหันเมื่อหลายสัปดาหกอน ขอใหดวงวิญญาณของคุณจิรภา ไปสูสุคติคะ สมาคมไทยฯ กำลังเตรียมจัดการจัดงานประจำปงานเทศกาลอาหารและ วัฒนธรรมไทย Brisbane Thai Festival ซึ่งจะมีขึ้นในเดือนพฤศจิกายนนี้ โดย วันเวลาและสถานที่จัดงาน จะมีการประกาศใหทราบโดยทั่วกันในเร็วๆนี้
THAI-AUSTRALIAN ASSOCIATION OF QUEENSLAND INC. A 2580 Gold Coast Hwy Mermaid Waters 4218
http://www.taaq.org.au
by Santanee Otto
Design Trends
For all you do, you do with love. You are so special a gift from above, and with all my heart.
I love you Mum. Happy Mother’s Day!
1
Let it not be just one day of the year that is called “Mother’s Day” to be thankful and be reminded that we are here because of her! Yesterday I had an interesting conversation with my mother, where we calculated approximately how many days we live in an average lifetime, approximately 30,000 days. She would have around 10,000 more days left – gloomy I know! And so that got me thinking…that isn’t long? I would like to say to everyone that we are so lucky to be here because of our Mothers, so make every moment count. Listen to her, talk to her, share things with her, and most of all, love her with all your heart, because she loves you! There is not a better gift from her, other than a warm loving smile that translates to everything is going to be ok. In celebration for all mother’s hard work for us, I have a few gift ideas and activities that would brighten their day. A good daughter always spoils her mother, on Mother’s Day, but a fantastic child is spoiling your mother, any day of the year. Here are just some ideas to encourage you to give thanks and appreciation for the wonderful mother she has been, is, and always will be. Life is short, so put your differences aside and enjoy this wonderful life together, full of happiness, laughter, and love, like there is no tomorrow! Spoil your Mother with High Tea on Mount Tambourine’s Teas and Niceties (1), Vase(2), Timothy Oulton Rex Table Lamp(3), Ruinart Champagne(4) Kelly Wearstler for La Mer Vanity Box(5), Jonathan Adler Muse Candle D'or(6), SKii Facial treatment essence Purple flower Limited edition(7), Loiuis Vuitton Throw(8) and some or all the other goodies! 20
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
2
4
3
5
7
6
8
Be Beauty MAKE-UP ARTIST
Professional makeup artist Facebook: PK makeup artist IG: pkmakeup
photograper:
Natural Looking Makeup Tips Expert tips for fresh,
flawless makeup that looks, well, like you’re not wearing makeup.
MAU: PKmakeup artist Model: Masha Bayunova
1
Perfect Skin
àÃÔèÁµŒ¹´ŒÇ¡ÒÃà¾ÔèÁ¤ÇÒÁªØ‹Áª×è¹ãËŒ¼ÔÇ´ŒÇ ÁÍÂà¨ÍäÃà«Íà ¨Ò¡¹Ñé¹»¡» ´ÃͤÅéÓ ´ŒÇ¤͹«ÕÅàÅÍà áÅÐŧ¿Òǹ à´ªÑè¹ à¾×èÍãËŒ¼ÔÇàÃÕºà¹Õ¹໚¹¸ÃÃÁªÒµÔ
Tip
¡Òû¡» ´ÃÔéÇÃÍÂÃͺ´Ç§µÒ ·ÓãËŒ¼ÔÇ´ÙÊØ¢ÀÒ¾´Õ áÅ´ÙÊ´ª×è¹
3
2
à©´ÊÕ·Õèá¹Ð¹ÓáÅÐàËÁÒСѺ·Ø¡ÊÕ¼ÔǤ×Í ÊÕªÁ¾ÙÍÁ¾Õª »˜´à¾Õ§àºÒæ·Õè¾Ç§á¡ŒÁ
ãËŒ¼ÔÇáÅ´ÙÊØ¢ÀÒ¾´ÕÍ‹ҧ໚¹¸ÃÃÁªÒµÔ
Subtle blush
Natural Eye à¾ÔèÁÁÔµÔãËŒ´Ç§µÒÍ‹ҧ໚¹¸ÃÃÁªÒµÔ
à¾Õ§àÅ×Í¡ÊÕ eye shadow ãˌࢌÁ¡Ç‹Ò¼ÔÇ ¨ÃÔ§ 1-2 shade äÅŒàºÒæãËŒ·ÑèÇà»Å×Í¡µÒ
4
NARS Blush super orgasm
Nude Lip » ´·ŒÒ´ŒÇ¡ÒÃà¾ÔèÁÊÕÊѹáÅÐ
¤ÇÒÁÁѹÇÒÇãËŒàÃÕÂǻҡ´ÙªØ‹Áª×è¹ Í‹ҧ໚¹¸ÃÃÁªÒµÔ ¡ÒÃàÅ×Í¡ÊÕÅԻⷹ¹ÙŒ´·Õè¶Ù¡µŒÍ§ äÁ‹¤ÇÃàÅ×Í¡ÊÕ·Õè͋͹¨Ò¡ÊÕ¼ÔÇ
MAYBELLINE Instant Age Rewind Eraser Dark Circle Treatment Concealer
ÁÒ¡à¡Ô¹ä» shu:palette blushing beige
21
เรื่อง: ศุภลักษณ สนธิชัย
Old Tales Retold
เมียออสซี่
มีอาคารเกาแกหลังหนึ่งอยูที่เมืองพารามัตตา ในรัฐนิว เซาท เวลส ของออสเตรเลีย ในยุคบุกเบิกครั้งคนผิวขาวอพยพเขามาตั้งถิ่นฐาน ในซีกโลกใตนั้น อาคารหลังนี้เคยเปนกึ่งคุก กึ่งสถาน ที่กักกันกับ เปนโรงงานปนขนแกะ ของนักโทษหญิงที่ถูกสงมาจากอังกฤษ ปจจุบันสถานที่นี้เหลือเพียงซากกำแพงคุกไวใหดูเทานั้น มีคนจำนวนไมมากนัก ทีร่ วู า สถานทีจ่ องจำนักโทษหญิงแหงนี้ ในอดีตเคยเปนแดนมธุรสของหนุม ออสซี่ ที่ไปหาเมียกันที่นั่น
เรือ่ งผูช ายจะมีเมีย มีวธิ กี ารตางกันไปตามวัฒนธรรมของแตละทองถิน่ ตามปกติ เมื่อหญิงและชายตกลงจะใชชีวิตคูรวมกัน ฝายชายจะตองไปสูขอผูหญิงจากผู ปกครองของฝายหญิง แตในบางประเทศ เชนอินเดีย หนาที่การสูขอเปนเรื่อง ของผูหญิง บางยุคบางสมัยเขามีวิธีหาเมียกันแปลกๆ เชน มนุษยยุคหินใชกำลัง ฉุดคราผูหญิงมาเปนเมียไดตามอำเภอใจ เมืองไทยสมัยกอน คนบางหมูบานหวง ผูหญิงมาก เมื่อคนตางถิ่นอยากไดลูกสาวบานนี้ไปเปนเมีย ถาไปขอดีๆมักไม สำเร็จ ฝายชายตองใชวิธีฉุดผูหญิงไปทำเมีย แตที่ ออส เตรเลียในยุคบุกเบิก สรางประเทศนั้น ไมมีผูหญิงใหฉุด เพราะมีประชากรที่เปนหญิงนอยกวาชายอีก ประการหนึ่ง มีกฎหมายบังคับ กำหนดโทษสถานหนัก ถาผูชายออสซี่เอาวิธีหา เมียของมนุษยยุคหินมาใช นักโทษจากอังกฤษ ที่ถูกเอาไปปลอยไวที่ออสเตรเลียสวนใหญเปนผูชาย สังคม ใหมที่นั่นจึงคอนขางขาดแคลนผูหญิง แตทั้งนี้ไมไดหมายความวาไมมีนักโทษ หญิงถูกเอาไปปลอยเกาะเสียเลยทีเดียว ผูหญิงอังกฤษที่ตองโทษและถูกเนรเทศไปอยูเกาะซึ่งเปนอาณานิคมใหม จะถูก แยกไปขังและกักบริเวณอยูในเรือนจำที่เมืองพารามัตตาชานเมืองซิดนีย นักโทษ หญิงเหลานี้ตองปนขนแกะ ทำผาขนสัตว ทำเสื้อผาและผาหมกันหนาวเพื่อใช กันเองและสงไปขายนอกประเทศ โดยรัฐบาลใหสวัสดิการทุกอยางกับนักโทษ หญิงเหลานี้ คือใหขาวกิน ใหเสื้อผาเครื่องนุงหมตลอดเวลาที่ถูกจำขัง สำหรับนักโทษชายนั้น คนที่ประพฤติตัวดี ก็จะไดรับอนุญาตใหออกไปทำงาน นอกคุกได โดยมีนายงานที่รับตัวไป เปนคนควบคุมและรายงานความประพฤติ 22 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ตลอดจนดูแลทุกขสุขของนักโทษที่เอาไปทำงานในไรนา ครั้นนักโทษที่ออกไปทำ งานนอกคุกเกิดความตองการทางธรรมชาติ อยากจะมีเมียขึน้ มาจะทำอยางไรเลา ในเมื่อผูหญิงดีๆที่อยูนอกคุก ไมมีใครอยากเปนเมียนักโทษกันสักคน กอนจะเลาถึงวิธีการที่หนุมออสซี่ในยุคนั้นหาเมียตอไป ขอยอนเลาถึงความเปน มาของประเทศออสเตรเลียสักนิด คนสวนมากเขาใจวาประชากรออสเตรเลียใน ยุคบุกเบิกนั้น ลวนเปนนักโทษชาวอังกฤษที่ถูกเนรเทศ แตความจริงไมไดเปน เชนนั้น ออสเตรเลียไมไดมีแตพวกนักโทษกับผูคุมนักโทษเทานั้น ยังมีพลเมืองดี ทีไ่ มมปี ระวัตอิ าชญากรรมปนอยูด ว ย คนเหลานีต้ อ งการไปสรางตัวในดินแดนใหม อพยพยายถิน่ ฐานไปอยูอ อสเตรเลียดวยเหตุผลสวนตัว บางคนไปแสวงหาโอกาส ในชีวิตใหม บางก็ตัดสินใจไปตายเอาดาบหนาเพราะชีวิตในอังกฤษอับเฉาเหลือ ทน บางคนชอบการผจญภัยชอบทองเที่ยวไปในดินแดนที่ไมรูจัก บางคนไป เพราะมีปญหาสุขภาพ เนื่องจากอังกฤษเปนเมืองหนาวไมคอยเจอแสงแดด ไม เหมาะกับคนทีม่ โี รคประจำตัว รัฐบาลอังกฤษก็สนับสนุนคนทีไ่ มอยากอยูใ นอังกฤษ ใหอพยพไปตั้งรกรากในดินแดนใหมได โดยจัดการใหโดยสารไปกับเรือบรรทุก นักโทษ ทัง้ นี้ คนทีอ่ ยากอพยพไปอยู อาณานิคมใหมคอื ออสเตรเลียนัน้ จะตอง จายคาเดินทางคนละ 10 ปอนด ผูมาตั้งถิ่นฐานในออสเตรเลียดวยความสมัครใจในยุคบุกเบิกจึงถูก เรียกวา “พวกสิบปอนด” นับเปนผูอพยพพวกแรกในออสเตรเลีย พวกเขาไมใชนักโทษ อยางที่เราเขาใจผิดกันวา บรรพบุรุษของคนออสเตรเลียลวนเปนนักโทษที่ถูก เนรเทศมาจากเกาะอังกฤษทั้งนั้น ทีนี้เขาใจแลวนะคะวา คนออสเตรเลียในสมัย นั้นมีอยูดวยกันสองกลุม คือ “พวกสิบปอนด” กับ “พวกนักโทษ” ที่มีคดีติดตัว ซึ่งทางการอังกฤษสงมารับโทษจำคุกในอาณานิคมใหมทางซีกโลกใต เรื่องคนคุกออสซี่อยากมีเมียเกิดเปนเรื่องเปนราวขึ้นมา เมื่อนาย มูดี้ ผูอพยพ ประเภท “พวกสิบปอนด” ทีไ่ ปทำไรอยูท อ่ี อสเตรเลีย ไดไปยืน่ คำรองตอผูป กครอง รัฐในขณะนั้นวา เขาเปนผูปกครองนักโทษชายที่ไปชวยทำงานในไร เขาอยาก ใหนักโทษคนที่รับไปทำงานดวย อยูทำงานกับเขาตอไปอีกนานๆ เพราะเห็นแลว วานักโทษคนที่เขาอุปการะนี้ กลับเนื้อกลับตัวเปนคนดีแลว แตนักโทษชายที่เขา เห็นวาเปนคนดีน้ี เกิดความตองการทางธรรมชาติ อยากมีเมียขึน้ มา จะทำอยางไรดี
ผูวาการรัฐนิว เซาท เวลสในเวลานั้นเห็นใจนักโทษที่อยากมีเมีย ตามความตอง การพื้นฐานของมนุษยที่ตองการสืบพันธุ จึงอนุญาตใหมีการแลกเปลี่ยนนักโทษ หญิงกับนักโทษชายกันได ถาหากนักโทษนอกคุกอยากไดไออุนจากผูหญิงเอาไว แกหนาวและสืบพันธุต ามธรรมชาติ ก็สามารถไปหาเมียจากเรือนจำนักโทษหญิง ที่พารามัตตาได โดยมี เงื่อนไขวานายงานที่พาลูกนองไปรับผูหญิงมาเปนเมียนั้น จะตองรับผิดชอบเลี้ยงดูนักโทษหญิงคนนั้นดวย ดังไดเลาแลววา ออสเตรเลียในยุคนั้นขาดแคลนประชากรหญิงทั้งนอกคุกและใน คุก เพราะฉะนั้น พวกอพยพที่มาตั้งถิ่นฐานอยูอยางโดดเดี่ยวเดียวดาย เมื่อเกิด อยากมีเมียขึ้นมาและหาผูหญิงมารวมหอลงโรงดวยไมได ก็ตองหันไปใชบริการ เลือกเจาสาวจาก “โรงงาน” ที่เรือนจำพารามัตตาเหมือนกัน ทั้งนี้ทั้งนั้นฝายชาย ก็ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ทางการกำหนดไว อยางเครงครัด กลาวคือตองเลี้ยงดู เธอใหเหมือนกับที่รัฐบาลเลี้ยง วิธีไปหาเมียของหนุมออสซี่ทั้งคนดีและคนคุก เริ่มดวยคนคุกที่อยากมีเมียกับนายงานที่เปนผูปกครองนักโทษ ไปยื่นคำรองและ คำรับรองวานักโทษในปกครองของตนเปนคนดี สมควรสนับสนุนใหมีครอบครัว เมื่อไดรับอนุญาตจากทางการใหไปเลือกคูไดแลว ออสซี่ ทั้งหนุมและแก กับนัก โทษชายที่นายงานสงเสริมใหมีเมียก็จะพากันไปที่เรือนจำพารามัตตา ที่เขาเรียก กันวา “โรงงาน” ที่นั่นเจาหนาที่จะเรียกนักโทษหญิงทั้งหมดออกมายืนเขาแถว หนากระดานเหมือนแถวทหาร แลวใหคนที่อยากมีเมียเลือกเจาสาวเอาเอง บรรดาหนุมออสซี่ที่มีทั้งหนุมและแก ก็จะใชสายตาสำรวจดูสาวๆ (สาวแกก็มี) ทีม่ ายืนใหเลือก ชอบใจคนไหนก็สง สัญญาณถามวา มาเปนเมียพีม่ ย้ั จะ เจาหลอน คนที่ไดรับ“ซิก” และมีใจกับเจาหนุมคนนั้นก็จะกาวออกมาจากแถวเแทนคำตอบ วา โอเค..หนูจะไปเปนเมียพี่ บางทีไอหนุมออสซี่ที่สง “ซิก” ไปใหฝายหญิงก็ ตองผิดหวัง เมื่อไมมีใครตอบรับกลับมา อาจเปนเพราะ วาไอหนุมออสซี่คนนั้น หนาตา ขี้ริ้วขี้เหร จนรับประทานไมลง แตเหตุการณอยางนี้ไมคอยปรากฏ บอยนัก เนื่องจากฝายนักโทษหญิงเองก็เฝารอโอกาสที่จะมีคนมาเลือกคูอยาง ใจจรดใจจออยูเหมือนกัน พอไดตัวคูตุนาหงันเรียบรอยแลวทางการจะอนุญาตให คนที่จับคูกัน มีโอกาสไดจูจี๋ กันพักหนึ่ง นัยวาจะไดรูจักกัน และไดสนทนากัน เปนการแนะนำตัว เปนเรื่องดีที่ผูปกครองสถานกักกันนักโทษคำนึงถึงการสราง ความสัมพันธในการเลือกคูของนักโทษ อยาวาแตคนเลย แมแตสัตวก็ยังตองมี เวลาโอโลมปฏิโลมกันกอนที่มันจะผสมพันธุกัน นี่คนแทๆ จูๆจะใหจูงมือกัน เขาหอลอกามา ยอมไมใชวิสัยของมนุษยที่เจริญแลว ทีนี้ถาปรากฏวาฝายหนึ่งฝายใดไมพอใจคู ที่เลือกมา เรื่องก็จบลงตรงที่ฝายหญิง เดินกลับไปเขาคุกตามเดิม ฝายชายก็สงสัญญาณเลือกคนใหม จนกวาจะไดคน ที่ถูกตาถูกใจเอาไปอยูดวย หนุมออสซี่บางคนชางเลือกมาก ขนาดมีสาวๆมาให เลือกตัง้ สองรอยคนก็ยงั เลือกคนทีถ่ กู ใจไมได แบบนีส้ มควรปลอยใหนอนหนาว ตายคนเดียว สวนใหญแลวหนุมออสซี่ที่มาหาคูที่โรงงานมักไมผิดหวังกลับไป แตวาไดเมียไปแลวจะอยูดวยกันยืดหรือไมนั้นเปนอีกเรื่องหนึ่ง เมื่อทั้งคูอยูดวยกันสักพักแลวปรากฏวารสนิยมไมตรงกัน อยูดวยกันตอไปไมได เจาหนุมออสซี่ ก็สามารถ“จำหนาย” เมียได สามีจะทอดทิ้งเธอไปหาเมียใหม ปลอยใหเธอช้ำใจตายไปเองหรือขับไลไสสงใหเธอไปอดตายกลางถนนก็ได แตจะ สงตัวกลับคืน “โรงงาน” ไมได เมื่ออยูดวยกันไมไดเพราะสาเหตุอะไรก็ตาม ผูชายออสซี่สามารถทำสิ่งที่เลวรายยิ่งกวาการทิ้งเมียได คือ ประกาศขายเมีย หรือเอาเมียไปแลกกับสิ่งของเครื่องใช ที่เขาอยากไดเสียเลย วิธีกำจัดเมียแบบ แปลกๆนี้เปนขาวหนังสือพิมพในยุคนั้น เปนหลักฐานอยางดีสำหรับคนที่สนใจ ชีวติ ผัวเมียออสซีใ่ นยุคบุกเบิก ตัวอยางทีเ่ อามาเลานี้ เปนขาวในหนาหนังสือพิมพ ออสเตรเลีย ฉบับประจำวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ.1803 ขาวมีวา “ชายคนหนึ่งอาศัยอยู ในเมืองเล็กๆชื่อ บอวลคัม ฮิล ผูสื่อขาวไปพบเขานั่งรอง ไหคร่ำครวญเสียดายเมียรัก ที่ยอมใหเขาเอาเธอไปแลกขาวสาลีหกถังกับแมหมู พันธุดีหนึ่งตัวที่เขาอยากได เขาบอกผูสื่อขาวทั้งน้ำตาวา การแลกเปลี่ยนครั้งนี้ คุมคาที่สุด แตเมื่อเสียเมียไปแลว เขาเพิ่งสำนึกไดวาเธอมีคามากกวาของที่เขา ไดมามากนัก ผูชายโชคดีที่ไดเมียรักของเขาไปครองเปนคนที่เพิ่งอพยพมาตั้งรก รากอยูที่ เมืองฮ็อคสเบอรรี่” การซื้อขายแลกเปลี่ยนเมียเในออสเตรเลียยุคนั้น เปนขาวในหนังสือพิมพบอยๆ การซื้อขายเมียมีทุกรูปแบบ มีทั้งการประกาศขาย
อยางเปดเผย และขายกันแบบงุบงิบ มีขาวชิ้นหนึ่งรายงานวาหญิงสาวคนหนึ่งได คาตัวสูงมากจนคนลือ เมื่อสามีเอาเธอไปแลกกับแกะหาสิบตัว สาวใชที่ตกเปน เมียเจาของคอกปศุสัตว ถูกเอาตัวไปขายตอในราคาแค 5 ปอนดกับไดเหลาอีก หนึ่งแกลลอนเปนของแถม เมียออสซี่อีกคนหนึ่งถูกเปลี่ยนมือ เพราะสามีอยาก ไดแกะยี่สิบตัวกับเหลารัมเพียงแกลลอนเดียวเทานั้นมาแทนเมีย การซื้อขาย แลกเปลี่ยนเมียแบบที่เลามานี้ กลายเปนเรื่องจิ๊บจอยไปทันที เมื่อเทียบกับขาว คนงานเหมืองทองที่รัฐวิกตอเรียคนหนึ่ง ประกาศขายทั้งลูกและเมียทางหนา หนังสือพิมพ คนงานเหมืองอีกคนหนึ่งเปนคนรับซื้อไปทั้งครอบครัว ตอมา ผูซื้อไดยื่นเรื่องฟองศาล โดยมีสามีเดิมของหญิงนั้นเปนจำเลยในขอหาวา สามี เกาของผูหญิงที่เขาซื้อมาเปนเมียนั้นฉอโกง ไมยอมแถมที่นอนขนนกมาใหดวย! คดีนี้ยังมีหลักฐานอยูในศาลของเมืองเบนดิงโก ซึ่งในสำนวนมีบันทึกไววาคนงาน เหมืองซื้อเมียกับลูกของคนอื่นมาในราคา 1 ปอนด นอกจากการหาเมีย กับการซื้อขายเมียจะเกิดขึ้นเปนปกติในยุคบุกเบิกของออส เตรเลียแลว ความลมเหลวของการครองชีวิตคูของคนในสมัยนั้นก็เปนขาวใน หนาหนังสือพิมพบอยๆ วิธีบอกเลิกการเปนผัวเมียกันก็ทำไดงายมาก เพียงแค ไปลงประกาศแจงความในหนังสือพิมพวา “ ขณะนี้ขาพเจาและนาง…ภรรยาได แยกทางกันเดินแลว….” เทานี้ความสัมพันธระหวางผัวเมียเปนอันสิ้นสุดลงทันที ประกาศแจงความทำนองนี้มีตัวอยางที่นาสนใจขาวหนึ่ง อยูในหนังสือพิมพ ฉบับ เดือน ธันวาคม ค.ศ. 1818 มีความวา “ บัดนี้ นางเจน.. เมียของขาพเจา ได หนีออกจากบานไปทั้งๆที่เราไมไดมีเรื่องทะเลาะเบาะแวงกันเลย ขาพเจาสืบรูมา วาเธอไปอยูกับคนเลี้ยงวัวแถวแมน้ำ แมคไควรี่ ประกาศนี้ขอแจงใหรูทั่วกันวา ตอไปนี้ขาพเจาจะไมให อาหาร หรือเสื้อผากับนาง เจนอีก และจะดำเนินคดีกับ ทุกคนทีใ่ หทอ่ี ยู ทีซ่ อ นตัว หรือใหความชวยเหลือนังเมียไมรกั ดีทห่ี นีขา พเจาไป...” ไมใชวาหนังสือพิมพในสมัยนั้นจะลงแตขาวผัวเมียเลิกกันเทานั้น คูหญิงชายที่ ตกลงปลงใจจะใชชีวิตรวมกันก็เปนขาวเหมือนกัน หนังสือพิมพชื่อ “เดอเวนท สตาร” ที่ออกในเมือง โฮบารต เมื่อป 1810 เลนขาวหนึ่งอยางมีสีสันดังนี้ “ ขาวสมรักสมรสระหวาง นายอาร ซี บี..กันนางสาวอลิซาเบธ ทั้งสองไดเขา พิธสี มรสกัน เมือ่ วันจันทรทเ่ี กาะนอรฟอลค หลังจากใชชวี ติ รวมกันมานานถึง สิบสีป่ ทั้งคูใหสัมภาษณวาถึงแมวาจะปลอยใหเวลาลวงเลยไปมากแตการไดแตงงานกัน ในที่สุดนั้น ก็ยังดีกวาไมไดแตงกันเลย” นอกจากขาวแตงงาน ขาวเลิกลางกัน และขาวซือ้ ขายแลกเปลีย่ นเมียแลวยังมีขา วประกาศหาคูม าลงหนังสือพิมพอกี ดวย หนังสือพิมพฉบับแรกของเมืองเมลเบิรน ชื่อ “พอรต ฟลลิป การเซต” ฉบับ ประจำวันที่ 28 สิงหาคม 1839 ลงโฆษณาหาคูของหนุมออสซี่คนหนึ่งดวยถอย คำประดิดประดอยที่เขียนโดยเจาหนุมเอง วา... “ จากมุมสงบที่เงียบเหงาริมแม น้ำ เมอรรี่ วอรนัมบุล ผม, เฮนรี่ ฮัล, หนุมโสดที่แสนดี ...กำลังรอคอยหญิง สาวสักคนหนึ่งมารวมชีวิตดวย จึงขอประกาศในหนาหนังสือพิมพนี้วาผมอยาก ไดภรรยาที่รักเปนหญิงสาว อายุระหวาง 24-30 ป ถาเธอเปนคนที่เพิ่งอพยพมา อยูออสเตรเลียก็จะดีมาก ขณะนี้ผมมีเงินสด 80 ปอนดไมรังเกียจผูหญิงที่มีแต ตัวและยินดีที่จะออกคาใช จายในการเดินทางใหกับหญิงสาวที่ตกลงใจจะมาเปน ภรรยาของผม เร็วเทาไรก็ยิ่งดีครับ” การหาผูหญิงไปเปนเมียของหนุมออสซี่ ทางหนาหนังสือพิมพในออสเตรเลีย สมัยนัน้ ยังมีทพ่ี สิ ดารตางๆนาๆ สะทอนใหเห็นสภาพสังคมทีข่ าดแคลนเพศหญิง ความสำคัญของการมีเมียและวิธีการหาเมียของผูชายออสซี่ จึงเปนเรื่องที่นา ขบขันสำหรับคนสมัยนี้ไป มีคำประกาศหาเมียอีกชิ้นหนึ่งที่นาสนใจไมนอย มีความวา “ สุภาพบุรุษหนุม หนาตาดี มีทรัพยสินเปนเงินสด 300 ปอนด มีความประสงคอยากได หญิงสาวสวยมาเปนภรรยา ตองการผู หญิงผมสีทอง รูปรางดี สวนสูงพอเหมาะ ไมสูงหรือเตี้ยเกินไป เธอตองมีเทาเล็กไดรูป หัวเขามนกลมกลึง นัยนตาสีฟาเปนประกาย ฟนเรียบขาวเหมือนไขมุกด และมี ริมฝปากอิ่มเต็มรูปหัวใจ...” อานประกาศหาคูชิ้นนี้แลว คนอานก็ตองถอนหายใจดังเฮือก สงสัยวาชาตินี้ สุภาพบุรุษที่ประกาศหาเมียทานนี้จะหาเมียออสซี่อยางที่เขาตองการได หรือเปลาก็ไมรู....
23
True story
อุทาหรณ...ชีวิต Story by Chaisuda Gaylard
ราวกับควาทอนไมเล็กๆ ตอนเรากำลังจะจมน้ำ ความาก็ ไมอาจทำใหเราลอยตัว อยูเหนือน้ำได ไมควาเลย เราก็คงจมดิ่ง หรือไหลไปตามกระแสน้ำ ที่เชี่ยวแรง
à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒà¢Õ¹ ¨Ò¡»Ò¡¼ÙŒà¢Õ¹ ©ÒÂÊØ´Ò à¡ËÅÒ´
ขอเรียนทานผูอานวา ดิฉันเปนเพียงนักเขียนสมัครเลน เรียนจบแคชั้น ประถม ไมเคยมีประสบการณดานงานเขียนใดๆมากอน ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต กลายเปนแรงผลักดันและแรงบันดาลใจใหดิฉัน ใชเปนโอกาสเริ่มงานเขียนขึ้นเปนชิ้นแรกในชีวิต หลายทานอาจสงสัยวา ดิฉันมีจุดประสงคสิ่งใด ทำไมคนจบชั้นประถม จึงอยากจะเปนนักเขียน นักละ? แนนอนวาทุกเรื่องราวยอมมีเหตุผล และมีที่มาที่ไป ขอสรุปงายๆในตอน นี้วาชะตาชีวิตลิขิตใหเปนแบบนี้ บวกกับความโชคดีที่มาพรอมกับความ โชคราย ดิฉนั จึงกลายเปนนักเขียนจำเปน สำนวนและศัพทอาจไมไพเราะ เสนาะอารมณ แตดิฉันก็เขียนออกมาจากใจและความรูสึกที่มี ทำไดเทา ที่จะทำ และจะทำใหดีที่สุดเทาที่จะทำไดคะ จุดประสงคสำคัญของงานเขียนชิ้นนี้ มีความเกี่ยวพันธฉันท ความรัก ระหวางแมกับลูกซึ่งก็มีเรื่องราวนาประทับใจเกิดขึ้นระหวางดิฉันและบุตร ชายเพียงคนเดียว ดิฉันขอเก็บเรื่องราวของเราไวนำเสนอในตอนตอไป ในหนังสือที่มีชื่อวา..เอารอยยิ้มของฉันคืนมา..ซึ่งจะเปนหนังสือเลมแรกที่ ดิฉันทุมแรงกายและแรงใจเขียนเพื่อเปนของขวัญสำหรับลูก และคงเปน เพียงอนุสรณแหงความรักเพียงชิ้นเดียว ที่ดิฉันสามารถและจะพยายาม ตั้งใจทำใหลูกกอนที่เวลาอันมีคาของดิฉันอาจจะหมดไปได ตอนนี้กำลัง ดำเนินงานอยูและหวังวา คงเขียนจบทันกอนวันเกิดลูก ภายในเวลาอีก สองปขางหนา อีกจุดประสงคหนึ่ง ก็เพื่อเปนการเผยแพร ใหเปนอุทาหรณและคติ เตือนใจ และเพื่อเปนแรงบันดาลใจใหกับทุกๆคน ดิฉันหวังวา เรื่องราว ที่นำมาเสนอตอไปนี้คงมีสวนชวยหรือเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุน ที่ สามารถชวยใหทาน รูสึกมีกำลังใจที่จะลุกขึ้นและรับมือกับปญหาตางๆได และหวังอีกวาคงเปนสาระประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันของทาน ไดอยางมีประสิธภิ าพและมีความสุขตลอดไปเชนกัน ดวยความปราถณาดี.. 24
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
าพแหงความเจ็บปวด ความทุกขทรมานและความทรงจำในดีต กลับมาหาดิฉันอยางหลีกเลี่ยงไมได ถามตนเองวาทำไม จึงโชค รายเพียงนี้ อดีตเพื่อนเขามาหา ทราบขาวคราว แลวเดินจากไป วันนัน้ รูส กึ แปลกๆ นีห่ รือเพือ่ น ทำไมเขาไมอยูช ว ยซับน้ำตาใหเรา ทำไมจากไป แวบนึงก็คิดไปวา เขามีหนาที่ตองรับผิดชอบ ไมเปนรัย รองไหตอ ดีกวา เดินเขาหองน้ำมองใบหนาตนเองในกระจก ไมรนู ำ้ ตาเจากรรมมันมาจากไหน ไหลออกมาดังสายธารเชีย่ ว รอสามี เพือ่ นแทเพียงคนเดียวทีพ่ ง่ึ ไดในยามนัน้ กลับมา ขาวการเปนมะเร็งแพรสะพัด หลายคนสงกำลังใจทางเฟสบุค ดิฉนั โพสตบอกเพือ่ นๆ ในกลุม ชุมชนคนไทยซึง่ ก็ไดการตอบรับและสงกำลังใจมาอยางลนหลาม ในเวลาเดียว กันก็เทียวไปเทียวมาอยูร .พตามกระบวนขัน้ ตอนการรักษา ขณะทีเ่ ผชิญปญหากับ โรคราย ปญหาสวนตัวก็เริม่ ประดังเขามา อดีตเพือ่ นสนิท ทีเ่ คยกินเทีย่ วนอน เคยงอ เคยงอนกันมาในอดีต ก็พาสรวลเสรเฮฮาเพือ่ ใหคลายเครียด ทำดีกบั เราทุกอยาง แสดงใหเห็นถึงความรักและความมีนำ้ ใจ แสดงจนคนโงๆอยางดิฉนั ตามไมทนั ตอนนัน้ ไมรหุ รอกวาทีแ่ ท มันคือการสรางภาพใหเราตายใจ ใหเชือ่ วาเขาเปนคน ดีกวาจะรูอะไรเปนอะไร เชฟฉาย ฉายาที่เขาตั้งให ก็ถูกตมจนสุกทั้งถูกหลอก ใหดาคนนั้น ดาคนนี้ เราเองก็ไมดี เชื่อคนงาย ใครไมเจอกับตนก็คงไมเขาใจ เชื่อวาหลายคนก็คงผานประสบการณถูกเพื่อนแทงขางหลังกันมาบาง และคงรู วา ฉากการแทงขางหลังนั้นเขาทำกันอยางไร ทั้งปญหาเรื่องเพื่อนและโรคราย ดิฉันกลายเปนนางยักษไปไดยไมรูตัว อารมณขุนมัว ขึ้นลงราวกับอากาศที่คาด เดาไมได อดีตเพื่อนก็ชางใจราย ไดจังหวะ นำเรื่องใหเราดา แถมมีการอัดเทป ไวเปนหลักฐาน เกิดมาไมเคยพานพบ คนแบบนี้ก็มีในโลก กลาวไปก็เหมือน เอาเข็มมาทิ่มแทงใจ อธิบายยังไงก็คงไมมีวันจบ เรื่องราวมันซับซอนซอนเงื่อน ยิ่งอธิบายเหมือนเปนการแกตัว สรุปเราไมดี เหมือนคำโบราณไดวาไว คบเพื่อนผิดคิดจนตัวตาย กอรปกับอดีต ของเราที่ดูจะมืดมน ระคนความชั่วมัวหมอง คนจึงมองแตจุดสีดำ คร่ำเครง มองแตจุดเสียๆไมสนใจวาเหตุผลจะเปนอยางไร หลายคนในสังคมก็คงจะพอรู เรือ่ งราวและตีความกันไป และคงขึน้ อยูก บั วา อดีตเพือ่ นจะเอาไปโฆษณาแบบไหน ใหเครดิตหรือทำลายชื่อเสียงก็ไมอาจเดาได อีกหนึ่งบทเรียนราคาแพง ที่ตอง จำใหขึ้นใจ วาจะคบใครใหดูที่สันดาน
ราวกับควาทอนไมเล็กๆตอนเรากำลังจะจมน้ำ ความาก็ไมอาจทำใหเราลอยตัว อยูเหนือน้ำได ไมควาเลย เราก็คงจมดิ่งหรือไหลไปตามกระแสน้ำที่เชี่ยวแรง บางทีทอ นไมเล็กๆก็ยงั ดีกวาไมมอี ะไรเลย ตัดสินใจ เซ็นรับรองยอมผาครัง้ ทีส่ อง แมจะตองเสียความรูสึกใตวงแขนไปตลอดชีวิตก็ตาม หมอดึงตอมน้ำเหลืองออกไป 19ตอม รวมกับสามตอมครัง้ แรก ทัง้ หมด 22 ตอม หลังจากนำไปตรวจ ไมพบเซลลมะเร็ง สักตอมเดียว นับวายังโชคดีที่โชคราย คือการเสียความรูส กึ ไตวงแขนตลอดชีวติ อยางฟรีๆ แตกไ็ มใชความผิดของหมอ เพราะหากไมผา ถามีเซลลอยูในตอมใดตอมหนึ่ง มันก็อาจเดินทางไปเรื่อยๆ ตามแตที่ที่มะเร็งมันชอบ นั่นก็หมายถึง ชีวิตของฉายสุดาคงดับดิ้นสิ้นใจเพราะ โรคมะเร็งราย ที่รักรางกาย ของดิฉันเปนชีวิตจิตใจ การผาตัดจบไปพรอมๆกับ การเยียวยา ที่แสนจะยาวนาน บอกไดเลยคะวา ไมใชหนทางที่งายดาย
แมจะเจ็บกระดองใจแตก็เปนบทเรียนที่ดี นี่แหละบททดสอบจากเบื้องบน วา ความอดทนของเรามีคาเทาไหร อยางนอยก็ทำให เห็นลึกซึ้งถึงใจคน วาจริงๆ แลวมันไมใชสีแดง หากแตเปนสีดำและบอดมืด ดิฉันไมใชคนดีเลิศเลอ แตก็ไม ใชคนใจราย ทีต่ ง้ั ทาคอยจะทำลายผูอ น่ื ใหเกิดความเสียใจหรือหวังผลประโยชน ทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้นเพราะมีเหตุผลของมัน ไมมีใครเกิดมาเพื่อตั้งใจเปน คนไมดี นอกเสียจากคนๆนั้น จะเลวโดยกมลสันดาน ผีซ้ำดามพลอย กอนผาตัดเพียงสองอาทิตย สะบัดขาอีทาไหนก็ไมรู หัวเขาซน เดินไมได ตองใชไมเทาพยุง หมอวินิจฉัยคราวๆวา หากเสนเอ็นหัวเขาขาด ตองทำการผาตัดและเยียวยาใหหาย จึงจะผาตัดเตานมได โอแมเจา นี่มัน กรรมเวรอะไร ดิฉันคิด บททดสอบรอบแรกผานไป สวรรคใหโอกาสเพราะเรา คงตอบโจทนถูก หลังจากเอกเรยหมอบอกวา แคเสนยึดไมถึงกับขาด เฮอโลง อกไปที ครบกำหนดถึงวันผา ดิฉันกับสามีไปร.พแตเชาตรู นั่งรอคิว ผูคนเดิน ไปมา คนชรารองเสียงโอดโอย เสียงรถเข็นดังเปนจังหวะ แตไมแรงเทาเสียง ของหัวใจของฉายสุดาคนนี้ หาชํ่วโมงผานไป ทองเริ่มรองจอกๆ หิวกิ่วเพราะ อดอาหารตัง้ แตเทีย่ งคืน แตตอ งเปน ท.ทหาร อดทน เพราะเราเปนคนจนไมได เสียคาใชจา ยอะไร แคคา ยานิดๆหนอยๆก็พอจะเสียได เวลาผานไป ถึงคิวของเรา กอนฉีดยาสลบ ผูชวยแพทยตั้งคำถามตั้งแตชื่อสกุล อายุ เคยแพยาอะไรมั้ย เคยผาตัดตรงไหนบาง มีโลหะอะไรในรางกายมั้ย เคยฉีดยาสลบหรือเปลา จากนัน้ อธิบายใหฟง ถึงผลขางเคียงของยาสลบ จบดวยคำถาม มีคำถามจะถามไหม ไมมีคะ เยสไออันเดอสแตน ไอเราก็หิวเนาะ คิดในใจดวยอารมณหงุดหงิด พา กูเขาหองผาเสียทีเถอะ กูอยากหลับและอยากใหทุกอยางมันเสร็จๆไป หลังลงจากเขียง เลยเทีย่ งถึงเย็นคอยๆลืมตาอันพลามัว อาการผอืดผอมเริม่ กอตัว ไมตางจากตอนเปนเด็ก สิ่งที่แตกตางในครั้งนี้ คือการที่ไดลืมตาและเห็นคนที่ รักเรานั่งกุมมือและคอยปรนนิบัติอยูขางๆพรอมกับดอกไมชอใหญ ยามทุกข ไมมีใครที่ไหนจะดีไปกวาครอบครัว เพื่อนรอบตัวที่เคยกิน เคยเที่ยว เคยคุย ดูจะยุงจนไมมีเวลาเขียนการดหรือเดินทางมาเยี่ยม กวาแผลจะหายก็กินเวลา นานนับเดือน เหมือนโดนฟาผาซ้ำแลวซ้ำเลา แตไมตาย พอจะหายใจไดอีก สักครั้งก็โดนอีก กลับไปฟงผล หมอบอกวาผลการผาตัดเปนไปดวยดี แตเนื่องจากแพทยตรวจ พบวา หนึ่งในสามตอมน้ำเหลืองที่ผาออกมา มีเซลลมะเร็งอยูในนั้นหนึ่งตอม แพทยจึงตองวางแผนทำการผาตัดอีกครั้ง เพื่อดึงเอาตอมน้ำเหลืองไปตรวจให แนใจ วาเซลลรายตัวนี้เดินทางไปถึงไหน หมอบอกตออีกวา ผลขางเคียงจาก การผาตัดในครั้งนี้ จะทำใหดิฉันเสียความรูสึกไตวงแขนตลอดไป เออใหมันได อยางนี้สิ่ชีวิตกู เคยคิดวาบางครัง้ ชีวติ ไมมที างเลือก นัน่ ไมใชคำตอบทีถ่ กู เราทุกคนตางมีทางเลือก แตจะเลือกถูกหรือผิดนั้นเปนอีกเรื่องหนึ่ง ในบางครั้งทางเลือกก็ดูจะหมิ่นเหม
หลังผาตัดครั้งที่สอง หมอตองเจาะรูใตราวนมเพื่อเปนการถายเทน้ำเหลือง ไม แนใจวามันชวยอะไรบาง รูแ ตวา ตองคอยหิว้ ถุงทีม่ นี ำ้ เลือดน้ำหนองไปทัว่ ทุกหน ทุกแหง ฉันคงเปนโนตี้เกลลตลอดป แซนตาจึงลงโทษ มอบมะเร็งใหเปนของ ขวัญกอนวันคริสมาส ทุกอาทิตยนางพยาบาลจะมาเปลี่ยนถุงน้ำเลือดน้ำหนอง หลังจากดึงสายไตราวนมออก ซึ่งก็สรางความเจ็บจี๊ดกอนที่จะมีอิสรภาพ รอวัน แผลหายกอนจะรับคีโมบำบัดตอไป โรงพยาบาลกลายเปนสถานที่ๆดิฉันศึกษา หาความรู ไมวาจะเปนการเจาะเลือด เอกซเรย ฉีดยาสลบ ผาตัด และอีก หลายๆขัน้ ตอน ศัพททใ่ี ชในวงการแพทยเปนภาษาอังกฤษ สัง่ สมเพิม่ พูนความรู ใหนักเรียนประถมอยางดิฉันเขาใจอยางเที่ยงแท นี่แหละคือผลบวกที่เกิดจาก ความเลวราย หลังแผลใตวงแขนเริ่มเยียวยา ตอมาคือการบำบัดยกขึ้นยกลงตามหมอสั่ง วันหนึ่งขณะพยายามชวยเหลือตนเอง โดยการใสเสื้อใน แตยกแขนเทาไรก็ยก ไมขน้ึ กลามเนือ้ มันไมขยับ สุดทายนัง่ รองไหสะอึกสะอืน้ เสือ้ ในคาอยูใ ตวงแขน ทีแรกคิดวาตนเองพิการและคงขยับแขนไมไดตลอดชีวิต ไมพนสามีที่ตองมา ชวยใสให นัง่ รองไหสะอึกสะอืน้ บนพรึมพรำ วารับไมได ยังโงน ยังงี้ สามีกป็ ลอบ เธอตองหายดี เชื่อผมสิ คุณเกงจะตาย ผมรักคุณนะ นั่นแหละ คือน้ำทิพย ชโลมใจ ฮึดลุกขึ้นใสเสื้อในจนสำเร็จ ทอแทแตไมทอถอย การตอสูกับโรครายก็ไมตางจากการออกรบทำสงคราม ขั้นแรกก็ฝกฝนทนกับ การบาดเจ็บ วางแผนรับมือกับการเขาสูสนามรบอยางจริงจัง เวลาที่เคยคิดวา ยาวนาน กลับสั้นลงๆจนใกลถึงวันรับคีโม กอนวันบำบัด ไปตัดผม เปลี่ยนทรง เปลี่ยน บุคลิก เปลี่ยนความคิดเดิมๆวาผมยาวนั้นสวยกวา ไหนๆมันตองรวง จนหมด ก็ขอเปลี่ยนแนวสวย ขอสนุกกับวันเวลาที่ยังมีแรง จากที่เคยเศรา หมอง รองไหเปนประจำ รูสึกเหนื่อยกับการตองรองไห บนพรึมพรำ ซึ่งก็ไมได เปลี่ยนหรือทำอะไรใหดีขึ้น รองไหใหตายก็รักษามะเร็งไมได บนไปก็รักษา มะเร็งไมได คิดไปก็รักษามะเร็งไมไดเชนกัน ดิฉันเริ่มคนหาแรงบันดาลใจ หันไปดูคนที่แยกวา เริ่มเห็นภาพที่แตกตาง ความทรงจำที่แสนทรมารในวัยเด็ก ตอนที่นอนพะงาบๆอยูร.พคนเดียวโดยไมมี ใครเหลียวแล นึกถึงตอนนั่งรถบัสกลับบาน แรงกระแทกกระทั้นจากรถจนแผล แทบปริ นึกถึงตอนที่ตองเดินทางขึ้นรถเมลเปนโยชนๆไปรับคีโมบำบัด นึกถึง เด็กนอยเพื่อนรวมชะตากรรมที่ตองจบชีวิตลงเพราะมะเร็งที่มาพรอมกับมฤตยู ภาพเหลานั้น เตือนและเรียกสติใหดิฉัน กลับมาทบทวนใหม ในเมื่อตอนนั้น เรายังผานสิ่งเลวรายมาได แลวทำไมวันนี้เราจะผานไปอีกไมได หากตองตาย ก็ขอตายอยางฮีโร ขอออกรบ เพื่อกูประเทศชาติ หากใหเปรียบก็คงไมตางจาก รางกายและจิตใจของเรา ถาไมตอสูเพื่อปกปองประเทศชาติของเรา แลวใครละ พลังบวกและแรงบัลดาลใจ กลับคืนสูจิตวิญญาณดิฉันอีกครั้ง ความตายไมใช สิ่งที่นากลัวอีกตอไป ดิฉันตองตอสูเพื่อเอาชีวิตรอดและกลับคืนสูเหยาเพื่อพบ กับครอบครัว ทุกคน รอดิฉันอยู จะตายตอนนี้ไมได สองวันกอนไปรับบำบัด ดิฉันไปเที่ยวไนทคลับ เตนสะบัดผม ทรงใหมอยางไมอายใคร เสียงเพลงและ อำนาจของพลังบวกทำใหหัวใจของฉายสุดาพองโต รูสึกกระปรี้กะเปราความสุข โลดแลนไปทั่วสรรพางคกาย บอกกับตัวเองวา เมื่อไหรที่หายดี จะกลับมาเตน แบบนีอ้ กี คืนนัน้ สนุกอยางบอกไมถกู เตรียมตัวและเตรียมใจพรอมออกทำสงคราม 25
TUK TUK bar
FRESH AUTHENTIC THAI
21 Park Road (Corner Gordon St) Milton Q 4064 Phone 07 3369 8822 http://www.templethaimilton.com.au
We are the professional Thai massage & beauty salon in the heart of Toowong and Fortitude Valley. We have highly qualified therapists providing exclusive treatments and excellent services. From the moment you step into our salon, you can feel the Thai style experience, relax, refresh the mind and revitalizing the body seems to be what everyone needs nowadays. After a hectic schedule, most people have a busy lifestyle and a stressful day. At Alissa Thai Massage & Beauty, we promote good health and emotional well being, fix the knots, soothe the muscles, improve circulation, release the energy flow and make you feel rejuvenated. We use organic massage oils and luxurious Payot products. Our broad customer base include expatriates, office workers, housewives, university students as well as foreign customers who come from other states and territories of Australia to visit us.
OPEN 7 DAYS
$65 for 1 hour of your choice of massage from Traditional Thai , Royal Thai, Swedish or Sport ( Deep tissue)massage.
1st floor 201 Wickham St. Fortitude Valley 10am-10pm (Mon-Sun) Mobile : 0411 569 511
1B/39 Sherwood St. Toowong 9am-8pm (Mon-Sat) 10am-5pm (Sun) Mobile : 0423 936 641
E-mail : alissa.tmb@gmail.com www.alissatmb.com.au
Like us Alissa Thai Massage & Beauty
Social scences
Thai Airways New office official opening การบินไทยเปดออฟฟศใหม ชวงเดือนกรกฏาคมที่ผานมาชุมชนไทยในบริสเบน มีงานมงคล และกิจกรรมชุมชนมากมาย ตั้งแตงาน เปดสถานกงสุลไทย แหงใหมอยางเปนทางการ และ งานเปดสำนักงานที่ทำการการบินไทยแหงใหม “สวัสดีออสเตรเลีย” รวมภาพกิจกรรมเหลานั้น มาไว ที่นี่ใหไดชื่นชมกันชัดอีกครั้ง
The Royal Thai Consulate Brisbane was officially opened ค่ำคืนวันที่ 7 กรกฎาคม ที่ผานมา เปนเวลาที่ทุกคนรอคอย สถานกงสุลไทย ณ นครบริสเบน ไดกลับมาเปดทำการอยาง เปนทางการ โดยมีนายจิระชัย ปน กระษิณ เอกอัครราชทูต ณ กรุงแคนเบอรรา ใหเกียรติมาเปนประธานในพิธี ตัวแทนองคกร และบริษทั หาง ราน ชัน้ นำของบริสเบน อาทิเชน The Hon Peter Dutton MP representing the Commonwealth of Australia, The Hon Grace Grace MP representing Queensland และ Cr Adrian Schrinner รวมทั้งเจาของกิจการชาวไทย และ ผูนำชุมชนไทย ไดใหเกียรติมารวมงานในครั้งนี้ดวย 28 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
สุขสันตวันเกิดพี่เพ็ญ งานวันเกิดพี่เพ็ญ ศศิเพ็ญ ปนี้จัดใหญและจัดแบบมีธีม ที่ Tuk Tuk Bar Milton เพื่อนๆและสมาชิกในครอบครัว พากันแตงชุดยอนยุคสวยงามมา รวมฉลอง พรอมรับของรางวัลแตงตัวเขากับธีมดีสุด ติดไมติดมือกลับบาน ไปดวย เจาภาพปลื้มปติ มีความสุขสันตในวันคลายวันเกิดมากมาย
Andrew Biggs in Brisbane เจาของรายการโทรทัศนสอนคนไทยพูดภาษาอังกฤษ ยกทีมถายทำรายการ โปรโมตการศึกษาตอใหรัฐบาลควีนสแลนด ของกระทรวงศึกษาฯ และมีโอกาส ไดพบปะกับกงสุลกิตติมศักดิ์ คุณแอนดรูว พารค ซึ่งเปดสถานกงสุลเลี้ยง ตอนรับ มีนักเรียนไทยและชาวไทยเขารวมสังสรรคกันอยางเปนกันเอง
แสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม นองเมย May Chantra ลูกสาวคุณแมติ๋ม และ คุณพอวิญญา จันทรา เพิ่งรับ ปริญญาจาก University of Queensland ไปหมาดๆ นำความปลื้มปติใหกับ คุณพอคุณแม กอนที่จะออกเดินทางไปหาประสบการณทำงานในสหรัฐอเมริกา ทั้งสวยทั้งเกงนาชื่นชม
BOI รวมกับ Asialink จัดงานสัมนา ชวนนักลงทุน มุงหนาประเทศไทย BOI รวมกับ Asialink จัดงานสัมนา ชวนนักลงทุนมุงหนาประเทศไทย โดยการ จัดสัมนาที่บริสเบนเปนเมืองแรกกอนที่จะเดินทางไป อะดิเลด และ เมลเบิรน ผูเขารวมมีทั้งนักธุรกิจที่สนใจและนักธุรกิจที่ประกอบกิจการธุรกิจในไทยอยูแลว 29
ในนามของไทยออรคิด ครอบครัว และพนักงาน ขอขอบพระคุณผูมีอุปการะคุณ ทั้งลูกคา รานคาสงและเพื่อนๆเจาของกิจการธุรกิจรานอาหารทุกทาน ที่รวม แสดงความยินดีในโอกาสครบรอบ 30 ป ของรานอาหารไทยออรคิด สปริงวูด เราจะมุงมั่นสืบสานและคงคุณภาพสินคาและบริการ ใหสมกับที่ไดรับการยอมรับ และยกยองของเราเอาไว และ เติบโตคูกับกิจการและธุรกิจรานอาหารไทยของ ทุกทานตลอดไป ขอบพระคุณทุกทานอีกครั้งคะ เจียรนัย รัตนวราหะ
On behalf of Thai Orchid, family and staff, I would like to express our appreciation and heartfelt thanks to our customer, suppliers and fellow business owners in helping us celebrating our 30 years anniversary of the Thai Orchid Springwood. We will continue to make every effort to further enhance our culinary products and services to provide premier services to all our customers and continue our excellence in the industry. Warm Regards, Tina Ratanavaraha
ìĊĊÛć÷čÖćǬēĀêčǬöĀćøćßĉîĊ
×ĂóøąĂÜÙŤìøÜóøąđÝøĉâ÷ĉęÜ÷Čîîćî
éšü÷đÖúšćéšü÷ÖøąĀöŠĂö×Ăđéßą ךŠćóøąóčìíđÝšćǬîć÷ÝĉøąßĆ÷ǬðŜĆîÖøąþĉèǬđĂÖĂĆÙøøćßìĎê óøšĂöéšü÷ךćøćßÖćøǬđÝšćĀîšćìĊęǬĒúąÙøĂïÙøĆü ÿëćîđĂÖĂĆÙøøćßìĎêǬèǬÖøčÜĒÙîđïĂøŤøć Ēúą ÖćøìŠĂÜđìĊę÷üĒĀŠÜðøąđìýĕì÷ǬÿĈîĆÖÜćîàĉéîĊ÷Ť
GR A P H IC D E S I G N
PHOT O GRA PHY PH O T O R ET OU C H I NG PHOT O MA NI PUL ATIO N
C ONT AC T 043 29 86 13 9 car o l.l ar se n@ hot mail .co m
LOR AC D ES IG N S. CO M
RESTAURANT FOR SALE ตองการขายรานอาหารไทย ที่ตั้ง Location 708 Main Street Kangaroo Point ติดตอ For inquiry contact
0422 318 412
บริการนวดหน้าเรียวแบบกดจุดกัวซาหน้าใส ด้วยผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ Natural Face therapy technique is a unique and specialized removes fine lines, wrinkles and roughness from your face without the need of Surgery, Botox, fillers or Thread Vein Lifts. Skin will be Softer, Smoother and look younger The bagginess and puffiness around your eyes and chin may be reduced As the same that benefits you will feel more relaxed, sleep better and obtaining relief from headaches and other stress released symptoms. Services can be done in your own home environment or at the Skin Salon in Milton.
For consultant & service, please contact 0476 235 014
Horoscope
Monthly
โดย ชนินธิป tarot111@hotmail.com Id line: metroguy009
Horoscope
August
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍҷԵ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ àÃ×èͧà§Ô¹ËÒÁÒä´ŒÁÑ¡ä»ÍÂÙ‹¡Ñº¤¹ã¹¤Ãͺ¤ÃÑÇË Ã×ÍÞÒµÔ¾Õ蹌ͧ Âѧ´ÕÂѧÁÕÃÒÂ䴌ࢌÒÁÒÍÂÙ‹µÅÍ´ ໚¹ª‹Ç§·Õè¤Ø³¤ÇÃà¡çºà§Ô¹àÍÒäÇŒ¡ÑºµÑÇàͧºŒÒ§ ¨Ðä´Œänj㪌¨‹ÒÂã¹ÂÒÁ·Õè¤Ø³¨Ó໚¹ áÅÐäÁ‹¤Çà àÊÕè§⪤àÃ×Íè §§Ò¹ÁÑ¡¨ÐÁÕ¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ ઋ¹ Œҧҹ ÂŒÒÂá¼¹¡ ÃÐÇѧ¨ÐÁÕ»Ò¡àÊÕ§ã¹àÃ×Íè §§Ò¹ ÁÑ¡à¨Í§Ò¹ÂÒ¡·Õ¤è ¹Í×¹è à¢ÒäÁ‹·Ó¡Ñ¹áÅŒÇÊ‹§ÁÒ¶Ö§¤Ø³ ºÒ§·‹Ò¹ÁÑ¡§Ò¹à¾Õº ¤ÇÒÁÃÑ¡ ÊÓËÃѺã¤Ã·ÕÁè ¤Õ ¤‹Ù ÃͧÍÂÙዠŌǶ×ÍÇ‹Ò»¡µÔ梯 ´Õ äÁ‹ä´Œ ÁÕÍÐäù‹Ò¡Ñ§ÇÅã¨ÁÒ¡¹Ñ¡ ʋǹã¤Ã·ÕÂè §Ñ äÁ‹Á¤Õ ¤‹Ù Ãͧ â´ÂÁÒ¡Áѡ໚¹¤Ù©‹ Òº©ÇÂÁÒ¡¡Ç‹Ò ËÒ¡äÁ‹¤´Ô ÁÒ¡ ¡ç¤ºá¡Œà˧Ò仡‹Í¹¡çä´Œ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¨Ñ¹·Ã ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ àÃ×Íè §à§Ô¹¹ÑºÇ‹Ò´Õ ÁÕà§Ô¹à¢ŒÒÁÒäÁ‹¢Ò´ ᵋà§Ô¹·Õäè ´Œ ÁÒºÒ§·ÕÁ¡Ñ ¨Ðà¡çºäÁ‹ÍÂÙà‹ ¾×Íè ¹½Ù§ÁÑ¡ãˌ⪤ ã¹ ¡ÒÃ·Õ¤è ³ Ø ¨Ð·ÓÍÐäáçµÒÁá¹Ð¹ÓÇ‹Ò¢ÍãËŒ¤³ Ø µÑ§é ã¨à¡çºà§Ô¹ãËŒ´æÕ áÅÐÍ‹Òà¾Ô§è ŧ·Ø¹Ë¹Ñ¡ àÃ×Íè §§Ò¹¶×ÍNjҤسÁÕ¤ÇÒÁ¢ÂѹËÁѹè à¾ÕÂÃ´Õ ·Ó ÍÐäÃÁÑ¡¡ŒÒÇ˹ŒÒ»ÃÐʺ¤ÇÒÁÊÓàÃç¨áÅФس¡ç äÁ‹ä´ŒËÂØ´¹Ô§è ¾ÃŒÍÁ·Õ¨è ÐÅØ¡ѹµ‹Íä» ÊÓËÃѺã¤Ã ·Õàè »š¹à¨ŒÒ¢Í§¡Ô¨¡ÒÃÃÐÇѧ¡Òö١ËÅÍ¡ ¶Ù¡â¡§ ¶Ù¡àÍÒà»ÃÕºàÍÒäÇŒºÒŒ § ÃÐÇѧÁÕ»Ò¡àÊÕ§¡Ñ¹ ¤ÇÒÁÃÑ¡ â´ÂÁÒ¡àÃ×Íè §¤ÇÒÁÃÑ¡ÁÑ¡·ÐàÅÒСѹ໚¹»ÃÐ¨Ó µ‹Ò§¤¹µ‹Ò§ÂÖ´ÈÑ¡´ÔÈì Ãբͧµ¹àͧ ¤Ø³µŒÍ§Å´·Ô°Ô ŧºŒÒ§ ÊÓËÃѺã¤Ã·ÕÂè §Ñ äÁ‹Á¤Õ ¤‹Ù Ãͧ ¢Íá¹Ð¹ÓãËŒ ¤Ø³ÍÂÙà‹ »š¹âʴ仡‹Í¹´Õ¡Ç‹Òà¾ÃÒШÐÁÕᵋàÃ×Íè §»Ç´ËÑÇ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
ÁÑ¡¨ÐµÔ´¢Ñ´àÃ×èͧ¡ÒÃà§Ô¹ ªÕÇÔµÁÑ¡ËÁعà§Ô¹ÍÂÙ‹ ໚¹»ÃÐ¨Ó ¢ÍãËŒ¤Ø³´ÙáÅàÃ×èͧÃÒ¨‹ÒÂãËŒ´Õæ à¾×è͹½Ù§¤¹Ãͺ¢ŒÒ§ÁÑ¡ÁÒ¾Ö觾ҡÒÃà§Ô¹¤Ø³ ËÃ×Í·ÓãËŒ¤³ Ø µŒÍ§à´×ʹÌ͹ á¹Ð¹ÓÇ‹ÒÍ‹Òŧ ·Ø¹Áҡ㹪‹Ç§¹Õé໚¹´Õ·ÕèÊØ´àÃ×èͧ§Ò¹ÁÑ¡«ºà«Ò áÅÐäÁ‹¤‹Í´ÕÍ‹ҧ·Õè¤Çà à¾×è͹½Ù§ÁÑ¡¡ÅÑè¹ á¡ÅŒ§ ÁÕàÃ×èͧÇØ‹¹ÇÒÂã¹àÃ×èͧ¡Ò÷ӧҹ ¢ÍãËŒ ¤Ø³Í´·¹àÍÒäÇŒáŌǷءÍ‹ҧ¨Ð¼‹Ò¹¾Œ¹ä»ä´Œ ´ŒÇÂ´Õ ©Ð¹Ñ¹é ¤Ø³¤ÇÃà¡çºà¹×Íé à¡çºµÑÇàÍÒäÇŒ ¡‹Í¹
¤ÇÒÁÃÑ¡
ã¤Ã·ÕèÁÕ¤Ù‹¤ÃͧÍÂÙ‹áŌǤÇÒÁÃÑ¡ÁÑ¡¨×´Ê¹Ô· ºÒ§·ÕÃÐÇѧ¨ÐÁÕÃÑ¡«ŒÍ¹à¢ŒÒÁÒ ËÒ¡ã¤Ã·ÕèÂѧäÁ‹ ÁÕ¤Ù‹¤ÃͧµÍ¹¹ÕéàËÁÒÐá¡‹¡ÒÃÍÂÙ‹¤¹à´ÕÂÇÁÒ¡ ¡Ç‹Ò à¾ÃÒе͹¹Õé¤Ø³ÂѧäÁ‹ÁÕ⪤·Ò§¤ÇÒÁÃÑ¡ ÃÐÇѧ¨Ð¼Ô´ËÇѧàÍÒä´Œ¤ÃѺ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍѧ¤Òà ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¹ÑºÇ‹Ò¡ÒÃà§Ô¹´ÕÁàÕ §Ô¹äÁ‹¢Ò´ ÁÕ¤¹¤Íª‹ÇÂàËÅ×Í áÅÐÍØ»¶ÑÁÀ ໚¹ª‹Ç§·Õàè ËÁÒÐá¡‹¡ÒÃà¡çºà¡ÕÂè Ç áÅСͺâ¡ÂࢌÒäÇŒ à¾ÃÒСÃÐáÊà§Ô¹ä´ŒäËÅà¢ŒÒ ÁÒÊÙ¤‹ ³ Ø áÅŒÇ ÍÐä÷Õäè Á‹¨Ó໚¹¡çäÁ‹¤ÇÃ㪌 ¤Ø³¨Ð ä´ŒÁàÕ §Ô¹à¡çºänj㪌ã¹Í¹Ò¤µ àÃ×Íè §¡Òçҹã¹à´×͹ ¹Õ¶é Í× Ç‹Ò´Õ áÁŒÀÒ¾ÃÇÁã¹»‚¹§éÕ Ò¹ÁÑ¡µÔ´¢Ñ´¡çµÒÁ ᵋã¹à´×͹¹Õ§é Ò¹¹ÑºÇ‹ÒÁÕ¤ÇÒÁ¡ŒÒÇ˹ŒÒ ÁÕ¤¹ ¤Íª‹ÇÂàËÅ×ÍáÅÐÍØ»¶ÑÁÀ ã¤Ã·Õàè »š¹à¨ŒÒ¢Í§ ¸ØáԨ ºÃÔÇÒÃÁÑ¡¨Ðãˌ⪤ãËŒ¤³ Ø ª‹ÇÂÊ‹§àÊÃÔÁ ¤Ø³à»š¹Í‹ҧ´Õ
¤ÇÒÁÃÑ¡
ã¤Ã·ÕÂè §Ñ äÁ‹Á¤Õ ¤‹Ù ³ Ø ÁÑ¡¨Ðà¨Íᵋ¤¹·ÕÁè ¹Õ ÊÔ ÂÑ ¹Ñ¡àŧ ËÒ¡¤Ø³¤º¤Ø³ÍÒ¨¨ÐµŒÍ§à˹×Íè Â˹‹Í ã¤Ã·Õè Áդ͋٠ÂÙዠŌǪ‹Ç§¹Õáé ¿¹¤Ø³¨ÐÍÒÃÁ³ ÃÍŒ ¹¤Ø³¤Çà ໚¹½†ÒÂÂÍÁà¢ÒáÅÐÅ´·Ô°ãÔ ¹µÑÇàͧŧáÅФÇÒÁÃÑ¡ ¨Ðä»´ŒÇ¡ѹ䴌
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÈØ¡Ã ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹàÊÒà ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¤ÇÒÁÃÑ¡
¤ÇÒÁÃÑ¡
¶×ÍNjҤسÁÕà§Ô¹äÁ‹¢Ò´ ä´Œà§Ô¹àÃ×èÍÂæäÁ‹à´×ʹÌ͹ ÍÐäà ᵋ´ÙàËÁ×͹NjҤس¡çÂѧˋǧæ ÍÂÙ‹ ºÒ§¤¹ ÍÒ¨¨ÐµŒÍ§àÊÕÂà§Ô¹ä»¡Ñº¡Òë‹ÍÁö ¡ÒûÃѺ »Ãا·ÕèÍÂÙ‹ÍÒÈÑÂᵋÍÂÒ¡ãËŒ¤Ø³áº‹§à§Ô¹Ê‹Ç¹Ë¹Öè§ äÇŒ·ÓºØÞºŒÒ§ ºÒ§·ÕªÇ‹ §¹Õ¤é ³ Ø ÍÒ¨¨Ð¨Ù¨Œ ¨éÕ ¡Ø ¨Ô¡ÊÑ¡ ˹‹Í ÃÐÇѧà¾×Íè ¹Ã‹ÇÁ§Ò¹¨ÐäÁ‹¾Íã¨àÍҹФÃѺ àÃ×Íè §§Ò¹¶ŒÒ¤Ø³ÁÕ˹ŒØ ʋǹ¤ÇÃẋ§§Ò¹ãËŒ¤¹Í×¹è à¢Ò·Ó ºŒÒ§ ᵋÃÐÇѧÁÕ»Ò¡àÊÕ§¡Ñ¹¡ÑºËعŒ ʋǹ ÁÕàÃ×Íè §¢Ñ´ã¨ ¡Ñ¹ ᵋäÁ‹ÃÒŒ ÂáçÍÐäÃÁÒ¡¤ÃѺ ã¤Ã·Õàè ¤ÂÁÕ»Þ ˜ Ëҡѹ¤ÇÒÁÃÑ¡ÁÕá¹Ç⹌Á·Õ¨è дբ¹éÖ áµ‹ ¡ç处 ÁÕàÃ×Íè §¢Ø¹‹ à¤×ͧ¡Ñ¹ºŒÒ§ÊÓËÃѺã¤Ã·ÕÂè §Ñ äÁ‹Á¤Õ ¤‹Ù Ãͧ ¨Ð໚¹ª‹Ç§·Õ¤è ³ Ø àʹ‹Ëá çᵋÇÒ‹ ¤ÇÒÁÃÑ¡ÍÒ¨¨ÐÂѧäÁ‹ ŧµÑÇ á¹Ð¹ÓÇ‹ÒÃÍÍա˹‹Í´աNjҤÃѺ
ดวงประจำเดือน สิงหาคม 2016
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾Ø¸ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
ÁÑ¡ÁÕà§Ô¹à¢ŒÒÁÒäÁ‹¢Ò´Á×Í ¤Ø³µŒÍ§¡Íºâ¡Âà§Ô¹àÍÒ äÇŒãËŒÁÒ¡æ áÅдÙàËÁ×͹¤Ø³¡çµ§éÑ ã¨áÊǧËÒà§Ô¹´Õ ºÒ§·ÕËÒ¡¤Ø³ÅعŒ à§Ô¹ÍÂÙ¤‹ ³ Ø ¤ÇÃ仵ԴÊÔ¹º¹¡ÑºÊÔ§è ÈÑ¡´ÔÊì ·Ô ¸Ôäì ÇŒºÒŒ § à¾×Íè ໚¹à¤Åç´ ã¤Ã·ÕËè Çѧã¹àÃ×Íè § µÓá˹‹§¤Ø³¡ç¨Ðä´ŒµÓá˹‹§à»š¹·Õáè ¹‹¹Í¹ ºÒ§ ·‹Ò¹¨ÐÃÔàÃÔÁè ·Ó¡Ô¨¡ÒÃãËÁ‹à»š¹¢Í§µ¹àͧ§Ò¹¶×Í Ç‹ÒàµÔºâµä»ä´Œ´Õ ºÃÔÇÒáçʧ‹ àÊÃÔÁ´Õᵋ¨Ð´×Íé ˹‹Í¹ФÃѺ
¤ÇÒÁÃÑ¡
ËÒ¡ã¤Ã·ÕèÁÕ¤Ù‹ÍÂÙ‹áŌǤً¤ÃͧÁÑ¡¨ÐËǧ¤Ø³ ºÒ§·Õ¤Ø³ÍÒ¨¨Ðàº×èͺŒÒ§ ᵋ¤Ø³¡çÂѧÃѺ䴌 ʋǹã¤Ã·ÕèÂѧäÁ‹ÁÕ¤Ù‹¤Ø³¹ÑºÇ‹ÒÁÕ⪤·Ò§¤ÇÒÁÃÑ¡ ä»·Õäè ˹¡çÁ¡Ñ ¨ÐÁÕᵋ¤¹ÁҪͺ¢ÍãËŒ¤³ Ø àÅ×Í¡´Õæ
ËÒà§Ô¹ä´ŒÁҡᵋÃÒ¨‹Ò¡çÁҡ໚¹à§ÒµÒÁµÑÇ ÃѺ «ŒÒ¨‹Ò¢ÇÒâ´ÂÁÒ¡ÁÑ¡ËÁ´à§Ô¹ä»¡Ñº¤Ù¤‹ Ãͧ ¢Í ãËŒ¤³ Ø ¶ÍÂË‹Ò§ÍÍ¡ÁÒÊÑ¡¾Ñ¡áŌǤ‹ÍÂ令Ø¡ѹãËÁ‹ ËÅÒ¤¹ËÁ´à§Ô¹ä»¡Ñº¡Òë‹ÍÁºŒÒ¹ «‹ÍÁö ËÅÒÂæ·‹Ò¹ÁÕâÍ¡ÒÊ·Õ¨è Ð⡌ҷÕÍè ÂÙ‹ ËÃ×Í⡠Œҧҹà¡Ô´¢Ö¹é ºÒ§·ÕÍÒ¨¨ÐµŒÍ§à´Ô¹·Ò§ä»µ‹Ò§ »ÃÐà·È¡çä´Œ ·ÓÍÐäÃÁÑ¡ÁÕᵋ਌ҹҤ͠ÍØ»¶ÑÁÀ áÅЪ‹ÇÂàËÅ×Í໚¹Í‹ҧ´Õ àÃ×Íè §§Ò¹¶×Í Ç‹Ò´ÕÁÒ¡¤ÃѺ ã¤Ã·ÕèÁÕ¤Ù‹ÍÂÙ‹áŌǪÕÇÔµã¹àÃ×èͧ¤ÇÒÁÃÑ¡ÁÑ¡ÁÕ»Ò¡ àÊÕ§ÁÕàÃ×èͧµŒÍ§¶¡à¶Õ§¡Ñ¹ÍÂÙ‹º‹ÍÂæ ËÒ¡ã¤Ã ·ÕèÂѧäÁ‹ÁÕ¤Ù‹¤Ãͧ¤Ø³ÁÑ¡¨ÐÁÕàʹ‹Ë µ‹Íà¾ÈµÃ§ ¢ŒÒÁ ᵋ¤Ù‹·Õèä´ŒÁÒâ´ÂÁҡ໚¹¤Ù‹©Òº©Ç·Ñ駹Ñé¹
33
Made in Australia
6th issue
Painted
a blank slate Aksarapacharah Harnmontri
Aug 2016
lifestyle
art We have worked to improve our quality and look to serve diverse member within our multicultural community. We would love to hear stories, interview interesting individuals and publish photos of you or your friends if they are willing to share. We will continue to adjust, make changes and perfecting our quality of content and look so we stay interesting and fresh. Enjoy us and feel free to share your enjoyment with others.
music
Boom Buchanan Editor
Content
2-3 inWe 4-5 East meets West
Contact us Sawasdee Australia Magazine St.lucia south, Brisbane, Queensland 4067 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: +661 424 022 334 or +661 451 057 063
cultu
re
inWE
Painted a blank slate A one-year experience teaching Burmese children Aksarapacharah Harnmontri
The one-year experience I had as a volunteer teacher with the Labor Rights Promotion Network Foundation or LPN was one of the most wonderful and unforgettable experiences of my life. My role was to teach Thai language to the children of Burmese migrant workers and to fight for their rights. My first day with LPN I had to go into a prison! That was the first and last time in my life! While I was walking into the jail cell I was very excited and nervous and was just like being in a movie. While teaching I often encountered the questions “Why do you help Burmese kids? Don’t you remember their ancestors burned our Ayutthaya Kingdom?” At the time I remained quiet and smiled because I thought if I said something it would result in an argument. In my mind the Ayutthaya kingdom was many centuries ago, we could not return to the Ayutthaya period as it is just history, we are not living in the past, we are living in present. Nowadays there are many Burmese migrants in Thailand that work in the fishery industry and live in 1
they really want their beloved daughter to go to school but they had no choice. They have no money to buy food
rarely happen with Burmese migrant children! Most of these kids have to work in small factories peeling the shells off shrimps to get money to feed their family members. Some children are just 14-15 years old, but on their documents they are declared as 18 year olds so they could work. If they don’t work they would not have any food to eat. There was one case that was very the same community with Thai. Wouldn’t it close to my heart. be better if we just help each other and live together in peace and harmony? Should There was one smart girl (she was about we give support to the education of Burmese 12-13 years old) absented from my class. children, raising literacy and teaching them So I went to see her parents, the parents to be good people? Children are a blank slate said with tears in their eyes, that they really no matter what nationalities they belong to. want their beloved daughter to go to school but they had no choice. They have One Burmese kid told me “I want to see no money to buy food; their income was the King; I want to tell him that I love him only enough to pay the debts they owed to and I love Thailand”. See how much this the agency who brought them to work in Burmese kid loves our majestic country. Thailand. Should we disdain them? Lastly I would like to say please do not For most children they prepare themselves disdain Burmese children. Please give them to go to school in the morning, study support for education and protect them during the day and go home to do their from child labor, slave labor and child trafficking. homework and play. However this would They are the potential for our future.
เกีย่ วกับผูเ ขียน กลวย อักษราภัส หาญมนตรี กลวยเพิ่งยายมาอยูออสเตรเลียไดไมนาน และดวยความรักและใฝฝนที่จะ ไดทำงานสืบสานประสบการณ ทีม่ อี ยู กลวยพาตัวเองออกไปหาโอกาสดวย การเสนอตัวอาสาชวยงานดานตางๆ ตอนนีก้ ลวยทำงานใหกบั Aged care and Disability care และเขามารวมเปนสมาชิกกลุม รายการวิทยุภาคภาษา ไทยทาง คลื่นวิทยุชุมชน 4EB FM 98.1 กลวยเกิดที่ สกลนคร เปนลูกอีสานของแทและสามารถเวาลาวอีสานไดชัด ชอบกินตำปูปลารา ตำโคราช และแกงออมปูนา เรียนจบมัธยมที่โรงเรียน สกลราชวิทยานุกูล ชวงเรียน ม.4 - ม.5 ไดเขารวมโครงการนักเรียนแลก เปลีย่ น A.F.S. ที่ Cheviot Area School ประเทศนิวซีแลนด เปนเวลา 1 ป พอจบชั้นมัธยมไดเขาศึกษาตอคณะศิลปศาสตร (เอกภาษาอังกฤษ) ที่ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ชวงเรียนมหาวิทยาลัยกลวยชอบทำ กิจกรรมมาก พอเรียนจบเลยสมัครเปนครูอาสาใหกบั มูลนิธเิ ครือขายสงเสริม คุณภาพชีวิตแรงงาน เพื่อสอนภาษาไทยใหเด็กๆลูกหลานแรงงานขามชาติ ชาวพมาในพื้นที่มหาชัย จ. สมุทรสาคร คะ กลวยรับทำงานฟรีแลนซเปนนักแปลเอกสารตั้งแตชวงเรียน มหาวิทยาลัย จนกระทั่งกอนยายมาอยูออสเตรเลีย แมแตตอนเดินเรื่องวีซาพารทเนอร ยายมาอยูออสเตรเลีย กลวยก็แปลเอกสารทุกอยางและเดินเรื่องเอง พอ เรียนจบมหาวิทยาลัยไดประมาณ 1 ป กลวยไดเขารวมโครงการแลกเปลีย่ น วัฒนธรรม Darmasiswa ของรัฐบาลอินโดนีเซีย ที่ State University of Malang ประเทศอินโดนีเซียคะ งานลาสุดกอนกลวยยายมาอยูที่ออสเตรเลีย กลวย ไดทำงานเปนเลขาใหผูเชียวชาญญี่ปุน JICA (Japan International Coo peration Agency) ในโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Self-Sustainability and Dissemination of Land Readjustment System Project หรือ SSD Project) ซึ่งเปนโครงการรวมระหวางรัฐบาลญี่ปุนและรัฐบาล ไทยคะ งานนี้ใหโอกาสกลวยไดแปลเอกสารงานวิชาการดานการจัดรูปที่ดิน เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีแ่ ละแปลหนังสือราชการเยอะมากคะ ตอนนีเ้ องกลวยก็กำลัง เตรียมตัวสอบ NAATI อยูคะ เผื่อจะไดรับงานแปลอีก และในระหวางที่รอ โอกาสดีๆที่จะเขารวมทำงาน กลวยอยากแบงปนประสบการณการทำงาน ครั้งหนึ่งในชีวิตที่ไดมีโอกาสสอนเด็กพมาใหเรียนรูภาษาไทย หวังวาจะเปน ประโยชนกับผูอานไมมากก็นอยคะ
หนึง่ ปกบั เด็กๆพมา วิตหนึ่งปกับการเปนครูอาสาสมัครกับมูลนิธิเครือ ขายสงเสริมคุณภาพชีวิตแรงงานหรือ LPNนี่คุมคา สุดๆ คะ ทั้งไดสอนภาษาไทยใหเด็กๆลูกหลานแรง งานขามชาติชาวพมา ดิฉันยังไดสูเรื่องสิทธิเด็ก ดวยคะ วันแรกที่ไปรวมงานกับมูลนิธิฯ ดิฉันก็ไดเขาคุกเลย 555 ครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตเลยนะคะที่ไดเขาคุก ตอนกาวขาเขา ขางในเรือนจำนี่ตื่นเตนมากๆ เหมือนในหนังเลยคะ ลูกพมารามัญนะไปชวยเคาทำไม? จำไมไดเหรอวาบรรพบุรุษเคานะเผากรุงศรีอยุธยาบานเรา? เปนสองคำถามที่ดิฉันโดนถามบอยมาก ตอนที่โดนถามดิฉันก็ได แตเงียบและยิ้มเพราะถาตอบไปก็คงไมจบสักที ดิฉันไดแตคิดในใจ วานัน่ คืออดีตผานมาหลายรอยปแลว เรายอนเวลากลับไปแกไขหรือ ทำอะไรไมไดแลว และที่สำคัญคือเราไมไดอยูกับอดีตแตเราอยูกับ ปจจุบันตางหาก แลวปจจุบันคือแรงงานขามชาติชาวพมาอพยพเขา มาทำงานในอุตสาหกรรมประมงประเทศไทยเยอะมากและเคาก็อยู รวมในสังคม เดียวกันกับคนไทย จะไมดีกวาหรือหากเราหันมาอยู รวมกันแบบสงบสุข และชวยเหลือเกือ้ กูลกัน? สนับสนุนและสงเสริม เด็กๆลูกหลานเคาใหมีความรูอานออกเขียนได และสอนเคาใหเปน คนดีตอสังคม เพราะเด็กๆเองไมวาจะสัญชาติหรือเชื้อชาติไหนจะ ไทยหรือพมา เคาก็คือผาสีขาวเคาคะ
ลูกพมารามัญนะ
ไปชวยเคาทำไม?
จำไมไดเหรอวาบรรพบุรุษเคานะ เผากรุงศรีอยุธยาบานเรา? ชาติชาวพมานั้นนอยมากที่เด็กๆจะไดมีชีวิตแบบเด็กทั่วไป คือเคา ตองทำงานคะ เลิกเรียนเคาก็ไปทำงานแกะเปลือกกุง ที่รูเพราะชวง เย็นๆคะทางมูลนิธฯิ ใหลงไปเยีย่ มบานเด็ก เด็กบางคนอายุแค 14 -15 ป แตเคาก็กรอกลงเอกสารวาเคาอายุ 18 ป เพราะวาเคาอยากทำงาน คือถาเคาไมทำงานเคาก็ไมมีเงินซื้อกับขาวกินคะ มีเคสนึงสะเทือนใจดิฉนั มากตอนนัง่ คุยกับผูป กครองเด็กก็นำ้ ตาไหล ไปดวย คือเด็กคนนี้เปนเด็กฉลาด เรียบรอย ชอบมาโรงเรียน มา เรียนหนังสือ แตอยูๆเคาก็ขาดเรี 4 ยนไปหลายวัน ทางมูลนิธิฯใหไป ตามดูสวิ า เกิดอะไรขึน้ กับเด็ก ไปก็เจอวาเด็กไปทำงานแกะเปลือกกุง ดิฉันไดคุยกับพอและแมเด็ก พยายามชักจูงใหเคาอนุญาติใหลูกมา โรงเรียน แตคำตอบที่ไดพรอมกับน้ำตาของพอและแมเด็กคือ เคา เองก็อยากใหลูกไปโรงเรียน ไปเรียนหนังสือลูกจะไดมีความรูติดตัว แตเคาไมมีทางเลือก คือเงินที่เคาทั้งสองหาไดก็พอแตใชหนี้ใหนาย หนาที่พาเคามาทำงานไทย เคาไมมีเงินเหลือซื้อกับขาวกินเลย เคา เลยตองใหลูกไปทำงานเพื่อที่จะเอาเงินที่ลูกหาไดมาซื้ออาหารกิน
มีเด็กพมาคนหนึ่งบอกกับดิฉันวา “ครูผมอยากเจอในหลวง ผม อยากจะบอกในหลวงวาผมรักในหลวง ผมรักประเทศไทย” ลองคิด ดูสิเคารักประเทศไทยเรามากขนาดไหน เราจะยังไปรังเกียจเดียจ สุดทายนี้ดิฉันอยากบอกวาอยาดูถูกดูแคลนเด็กๆลูกหลานแรงงาน ฉันทเคาอยูเหรอ? ขามชาติชาวพมาเลยคะ เคาคือผาสีขาวและเคาคืออนาคตของเราคะ เราควรสนับสนุนหรือใหโอกาสใหเคาไดเรียนหนังสือมีความรูติดตัว เด็กโดยทั่วไปคือตื่นเชามาเตรียมตัวไปโรงเรียน หลังเลิกเรียนก็ อยางนอยก็ใหเคาสามารถอานออกเขียนได เคาจะไดลดความเสี่ยง กลับบานวิ่งเลนทำการบานแคนั้น แตเด็กๆลูกหลานแรงงานขาม ตอการตกเปนเหยื่อแรงงานเด็ก แรงงานทาส และการคามนุษยคะ 25
EASTmeetsWEST
เรื่องและภาพโดย วสมน สาณะเสน story and photo by Wasamon Sanasen
MEETS
EAST WEST From Constantinople to Istanbul
จากคอนสแตนติโนเปลสูอ ส ิ ตันบูล ในตำราประวัติศาสตรและประวัติศาสตรศิลปะ “คอนสแตนติโนเปล” เปนคำที่พบไดบอย ๆ เพราะเปนชื่อของนครที่มีความ เจริญทางศิลปกรรมมากที่สุดแหงหนึ่งของโลกตะวันตก และ มักพบคูกับคำวา “อิสตันบูล” เสมอ เพราะคอนสแตนติโนเปล ก็คืออิสตันบูลในปจจุบัน
อาณาจักรโรมันตะวันออกทีข่ ณะนีเ้ ปนทีร่ จู กั ในนาม “อาณาจักร ไบแซนไทน” มีไบแซนทิอมุ เปนนครหลวงทีย่ ง่ิ ใหญ และ ร่ำรวย ทีส่ ดุ ในยุคกลางเปนศูนยกลางของศาสนาคริสตนกิ ายออโธดอกซ ทัง้ ยังเปนศูนยรวมของวิทยาการดานตางๆโดยเฉพาะดานศิลปกรรม ที่ยังคงสืบสานรูปแบบตะวันตกตอไป แตเพราะตั้งอยูในแดน บูรพทิศจึงยอมไดรบั อิทธิพลของอารยธรรมตะวันออกไมมากก็นอ ย นี่คือตนกำเนิดของการเปนดินแดนสองทวีป ศิลปกรรมหลาย ชิ้นจึงมีลักษณะผสมผสานระหวางสองอารยธรรม ตัวอยางที่ เห็นไดชัดคืองานชิ้นเอกอยางวิหาร “ฮาเกีย โซเฟย” (Hagia Sophia)
กลาวกันวาทันทีทพ่ี ชิ ติ คอนสแตนติโนเปลได สิง่ ทีส่ ลุ ตานเมหเม็ด ทรงทำเปนสิ่งแรกคือ ตรงไปยังวิหารฮาเกียโซเฟย เพื่อเขาไป ละหมาดขอบคุณพระผูเ ปนเจาสำหรับชัยชนะในครัง้ นัน้ จากนัน้ ก็เปลีย่ นวิหารดังกลาวเปนมัสยิดเพือ่ ประกาศชัยชนะของอิสลาม พร อ มกั บ เปลี ่ ย นชื ่ อ คอนสแตนติ โ นเป ล เป น “อิ ส ลามบุ ล ” (Islambul) แปลวา “เมืองของมุสลิม” แตชนรุนหลังออกเสียง เพีย้ นไปเปน “อิสตันบูล” (Istanbul) คอนสแตนติโนเปล-เมืองของ คอนสแตนติน จึงกลายเปนอิสตันบูล-เมืองของมุสลิมดวยประการฉะนี้ ชาวเติรกฟนฟูบานเมืองขึ้นใหมตามแบบวัฒนธรรมของมุสลิม อยางไรก็ตามทุกอยางมีขึ้นก็ตองมีลง อาณาจักรไบแซนไทน พระราชวัง มัสยิด โรงเรียนศาสนา (madrese) ทีพ่ กั กองคาราวาน เริม่ เสือ่ มลงในชวงตนคริสตศตวรรษที่ 14 ครัง้ นัน้ เกิดโรคระบาด (caravanserai) และโรงอาบน้ำ (hamam) จำนวนมากจึงเกิดขึน้ ที่คราชีวิตชาวไบแซนไทนไปเกือบครึ่งหนึ่งของจำนวนประชากร นอกจากนี้สุลตานเมหเม็ดยังทรงอนุญาตใหชาวเมืองที่อยูมาแต ถูกชนชาติตา งๆ บุกโจมตีครัง้ แลวครัง้ เลาและเสียเมืองไปมากมาย เดิ ม นั บ ถื อ ศาสนาของตนต อ ไปได โบสถ ข องชาวคริ ส ต จนเหลือเพียงหัวใจหลักคือคอนสแตนติโนเปล แตอาณาจักร และ ซินนาก็อก (synagogue) ของชาวยิวอันทรงคุณคาหลายแหง ไบแซนไทนก็ยังยืดหยัดอยูไดเพราะมีกำแพงเมืองอันแข็งแกรง ในอิสตันบูลจึงยังเหลือใหชนรุนหลังไดศึกษาจนทุกวันนี้
อิสตันบูลถือกำเนิดขึน้ เมือ่ ใดนัน้ ปจจุบนั ยังไมมหี ลักฐานระบุได แนชดั มีเพียงตำนานทีเ่ ลาตอกันมาวา เมือ่ 667 ปกอ นคริสตกาล ชาวกรีกกลุมหนึ่งนำโดยกษัตริยไบซาส (Byzas) ไดเดินทาง ขามชองแคบบอสฟอรัสมายังฝง ทวีปยุโรปของอิสตันบูลในปจจุบนั และกอตัง้ เมืองไบแซนทิออน (Byzantion) ขึน้ ตามชือ่ ของไบซาส ตอมาราว 64 ปกอนคริสตกาล ไบแซนทิออนก็ตกเปนของ อาณาจักรโรมันและถูกขนานนามตามสำเนียงละตินวา “ไบแซน ทิอมุ ” (Byzantium) ขณะทีอ่ าณาจักรไบแซนไทนกำลังออนแอ อาณาจักรออตโตมัน ของชาวเติรกไดผงาดขึ้น บุกยึดดินแดนตางๆในเขตอนาโตเลีย ในชวงนีไ้ บแซนทิอมุ ยังเปนแคจงั หวัดเล็กๆ ในอาณาจักรโรมัน และ รุกเขามาใกลคอนสแตนติเปลขึน้ ทุกขณะ กระทัง่ ค.ศ.1452 แต ภ ายหลั ง จะกลายเป น เมื อ งใหญ ท ี ่ ม ี บ ทบาทสำคั ญ ยิ ่ ง ใน สุลตานเมหเม็ดที่ 2 ก็นำทัพเขาโจมตีกรุงคอนสแตนติโนเปล ประวัติศาสตรโลกในชวงคริสตศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันขยาย กองทัพออตโตมันถึงกับเตรียมปนใหญขนาดใหญที่สุดมาใชใน ดินแดนไปกวางขวาง จนเกินกำลังการปกครองของจักรพรรดิ การรบครั้งนี้ดวยแตก็ไมอาจทำลายกำแพงเมืองลงได เพียงองคเดียว จึงตองแบงการปกครองเปน 2 ฝง คือ อาณาจักร โรมั น ตะวั น ตก และ อาณาจั ก รโรมั น ตะวั น ออก ค.ศ.324 สุลตานเมหเม็ดจึงเปลีย่ นกลศึกใหม พระองคพบวาจุดออนทีส่ ดุ จั ก รพรรดิ ค อนสแตนติ น (Constantine The Great) ของกำแพงกรุงคอนสแตนติโนเปลนั้นอยูใกลเชิงเขา จึงบัญชา แหงโรมันตะวันออก ไดโคนลมจักรพรรดิโรมันตะวันตกลง ใหนำเรือรบขึ้นไปไวบนเนินเขา ขึงโซและซุงไวใตน้ำทำเปน สถาปนาตนเองเปนจักรพรรดิเพียงผูเดียว แลวยายเมืองหลวง สะพานพรอมกับทาไขมันแกะเพื่อหลอลื่น จากนั้นปลอยเรือลง จากกรุงโรมไปยังไบแซนทิอุมที่ฝงตะวันออกโดยเปลี่ยนชื่อเปน จากเนินเขา กองทัพออตโตมันมุง ตรงเขาสูต วั เมืองไดอยางงายดาย “โนวาโรมา” (Nova Roma-โรมใหม) ทวาผูคนนิยมเรียกวา ทำลายกำแพงและบุกเขาสูใจกลางกรุงคอนสแตนติโนเปลไดใน “คอนสแตนติโนเปล” (Constantinople-เมืองของคอนสแตนติน) ที่สุด และแลวในวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ.1453 4
คอนสแตนติโนเปล ก็ตกเปนของอาณาจักรออตโตมันโดยสมบูรณ
ในสมัยอาณาจักรออตโตมันนัน้ อิสตันบูลเจริญรุง เรืองเปนอยางยิง่ ควบคูไ ปกับแสนยานุภาพของอาณาจักร ทีข่ ยายไปจนถึงคาบสมุทร บอลขาน ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ความจริงแลวความเปนมาของอิสตันบูลยังมีรายละเอียดอื่นๆ ทีน่ า สนใจอีกมากมายจนไมสามารถบรรยายไดหมดในตอนเดียว แตอยางไรก็ตามสรุปไดวา นครสองทวีปนี้ มีความเปนมาทีย่ าวนาน และ เปนศูนยรวมของอารยธรรมสำคัญตางๆ ของโลก
I
ขียนเกี่ยวกับอิสตันบูลมาก็หลายตอนแลว แตยังไมเคย กลาวถึงประเด็นสำคัญของนครสองทวีปนี้เลย นั่นคือ ประวัติความเปนมาของอิสตันบูล ครั้งนี้เปนโอกาสดีที่ จะไดเลาใหฟงสักที
กองทัพออตโตมันบุกทำลายกำแพงเมืองกรุงคอนสแตนติโนเปล Ottoman army destroyed The Great Wall of Constantinople
อิสตันบูลจึงเปรียบเสมือนอาหารสูตรพิเศษทีป่ ระกอบดวยเครือ่ ง ปรุงหลากชนิด หลายรสชาติ คุณจะพบการผสานทางอารยธรรม ที่ไมเหมือนใครไดที่นี่ เปนเสนหของอิสตันบูลที่คุณตองมา สัมผัสดวยตนเอง!
have been writing about Istanbul in various articles but never stated the importance and history of this bi-continental city. It is now a good time. Because it was one of the most civilized cities in Western world, Constantinople is often mentioned in historical and art history books. Today it is called Istanbul. When Istanbul was built? Although there isn’t any explicit evidence, but it is said that in 667 B.C. a Greek group led by king Byzas crossed the Bosphorus, the strait between the Sea of Marmara and the Black Sea, to European continent. They built a city and named it Byzantion after Byzas’s name. Around 64 B.C. Byzantion was colonized by the Roman Empire and was called Byzantium in which during that period it was only a small province of Roman Empire. Later it became the world historical gigantic city. During 4th century, the Romans expanded their territory so large that one emperor could not govern the whole empire. It was then necessary to divide into two administrations; the eastern and western Roman. During 324 B.C. the great emperor Constantine of eastern Roman Empire conquered the emperor of western Roman and nominated himself as a sole emperor. He moved the capital from Roman to Byzantion and renamed it Nova Roma (New Rome). Some people then still called it Constantinople. The Eastern Roman was known as the Byzantine Empire. Byzantium was the great and the most affluent capital during the Middle Age. The city
was the center of Christian Orthodox and was the center of knowledge particularly work of arts. It was the origin of two continental territories city. Their work of arts was a mixture of two civilizations as we can see explicitly from Church of Hagia Sophia. Everything never last for too long, Byzantine Empire slowly declined. The Black Plaque was one significant factor that killed half of Byzantine’s people. Various tribes also attacked the empire. Only Constantinople could survive thanks to its great wall. While Byzantine Empire was at weak, the Ottoman Empire was powerful. The Turks invaded and conquered many territories in Anatolia. After a long siege, Ottoman army eventually destroyed that great wall owing to Sultan Mehmed II’s war strategy. On May 29, 1453 Constantinople was totally under the Turks.
จักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชแหงไบแซนไทน Constantine the Great of Byzantine Empire
It is said that after conquest of Constantinople, Sultan Mehmed II directly headed to Hagia Sophia to pray and thanked to Allah for this victory. He then turned Hagia Sophia into mosque as a declaration of victory of Islam and renamed Constantinople to “Islambul” which means the city of Islam. The name was distorted after generations to “Istanbul” and remains what it is until today. There are however other interesting details of Istanbul’s history that cannot describe in few pages. For now, we can see that Istanbul is a cradle of world civilization. You have to come to Istanbul to see, feel and experience it for yourself.
สุลตานเมหเม็ดที่ 2 แหงอาณาจักรออตโตมัน Sultan Mehmed II of Ottoman Empire
5
Revised Flight Schedules for BNE and PER from 30 October 2016 Dear Valued Business Partners, Thai Airways International would like to announce an improved schedule for the BRISBANE to BANGKOK and PERTH to BANGKOK route effective from Sunday, 30 October 2016. Both flights are operated with state of the art B787-8 Dreamliner aircraft.
BRISBANE TO BANGKOK FLIGHT
DAYS
DEPARTS
ARRIVES
TG474
MON, WED, FRI, SUN
14:00
20:10
TG478
TUE, THU, SAT
23:40
05:50 + 1
BANGKOK TO BRISBANE FLIGHT
DAYS
DEPARTS
ARRIVES
TG473
MON, WED, FRI, SUN
00:01
12:05
TG477
TUE, THU, SAT
09:00
21:05
PERTH TO BANGKOK FLIGHT
DAYS
DEPARTS
ARRIVES
TG484
TUE, THU, SAT
09:15
15:10
TG482
MON, WED, FRI, SUN
16:30
22:25
BANGKOK TO PERTH FLIGHT
DAYS
DEPARTS
ARRIVES
TG483
TUE, THU, SAT
00:01
07:55
TG481
MON, WED, FRI, SUN
07:20
15:15
These new schedules show improved connectivity on the THAI network into key markets of India, Indochina and Europe
RESERVATIONS/AGENCY DESK/ROYAL ORCHID PLUS: SYDNEY Admin: (02)9844 9844 0969 Admin: (02) 0969 sales@thaiairways.com.au sales@thaiairways.com.au
MELBOURNE Admin: (03) (03)8662 8662 Admin: 22662266 melbourne@thaiairways.com.au melbourne@thaiairways.com.au
BRISBANE Admin: (07)3215 3215 Admin: (07) 47004700 brisbane@thaiairways.com.au brisbane@thaiairways.com.au
1300 651 960 PERTH Admin: 9265 8200 Admin: (08) (08) 9265 8200 perth@thaiairways.com.au perth@thaiairways.com.au