Sawasdee australia mag issue10

Page 1

๑o issue 10

Summer is here

SPACE

Dharma Sawasdee

ปีชง ควรเข้าใจให้ชัด

สวน ผักไทย

เครือข่ายออนไลน์ สำหรับคนชอบกินผัก

by design Matika Vichitpannakul

Australian Gardening

SOPHISTICATED LIVING AT PINNACLE PORTSIDE WHARF MANAGED BY

your on-site management specialist

Rental & Sales Enquires

P: +61 7 3191 5602 E: pinnacle@apmoz.com


t e k c i t n r A retu B a n g k o k Brisbane-

Take a picture with Thai food

To join us just simply pick up your Smart phone or camera and head to find some Thai foods from any Thai restaurants around Brisbane to taste.

Post it

Post it on

Sawasdee Australia Magazine Facebook page with food name, description and the #FLYTHAI.

o be t s e z i Pr

won:

LIKE and SHARE LIKE and SHARE image to your friends and fans.

A return flights Brisbane - Bangkok Accommodation at Praseban Resort Pranburi Thailand Prizes include dining voucher, spa package and etc. Sawasdee Australia Magazine สวสัดอีอสเตรเลยี brislife - true story - real community

Eligibility: Open to all individuals age 18+ Terms and Conditions: • Activity period from December 2015 - 28 Febuary 2016. • Follow the judges’ decision results on the Facebook page of Sawasdee Australia Magazine Facebook and Sawasdee Australia Radio 4EB. • Sawasdee Australia reserves the right to change prizes without prior notice. • Winners of the awards will have to pay all relevant tax • Photos are copyrights of Sawasdee Australia. • Decision of the judges is final.


Editor’s inbox and Contributors

Editor’s inbox เลมนี้ตองขอขอบคุณทีมงาน อาสาสมัคร และนักเขียน คอลัมนิสตทุกทาน ที่ชวยทำใหหนาตาของสวัสดีออสเตรเลีย ที่ทานถืออยูในมือ ออกมาสวยงาม นาจับตองและลองอาน ขอบคุณคุณโอ Santanee Otto ที่เสนอไอเดียหนาปกเลมนี้ ขอบคุณนองเมย May Matika ที่ตอบรับคำเชิญและเดินหนา เตรียมตัวขึ้นปกใหเราอยางไมเกี่ยงงอน ขอบคุณ คุณมายา Mya Jindanu ดีไซเนอรชุดผาไหมแสนสวยสะดุดตา ที่นองเมยใสถายปก เชื่อมั่นวา ฝมือดีไซนที่เธอบอกวาเปนงานอดิเรกของเธอนั้น ผลงานที่โชวออกมาบน หนาปกนี้ไมแพฝมือดีไซเนอรมืออาชีพเลย ขอบคุณคุณจิม Jim Jirarnuttaruj ชางแตงหนาทำผมไทยชื่อดังของบริสเบน ที่ยอมเจียดคิวเต็มเหยียด แสนยุงใหงานเล็กๆ ของเราและมาเนรมิตนางแบบใหสวยพรอม ขึ้นปก ไดอยางมืออาชีพ ขอบคุณคุณตี้ รานเบตง 888 ที่ Hamilton Portside ที่เปดรอทีมงานที่ถายทำกันเลยเวลาอาหารเที่ยงจนหิวทองกิ่วและเตรียมอาหาร อรอยๆมาบริการ สุดทายตองขอบคุณผูอุปถัมถทุกทานที่ไววางใจและ เชื่อมั่นในการทำงานของเรา ขอบคุณผูอานที่รอคอยอานสวัสดีออสเตรเลีย เลมใหมดวยใจจดจอ สัญญาวาเราจะตั้งใจผลิตผลงานดีๆ ออกมาใหสมคากับที่ทานรอคอยคะ

There are many people to thank for of the work in this edition. First, to my team at Sawasdee Australia and to all volunteers and contributors who help make the contents inside and the cover come out as nicely as it looks. Special thanks to Santanee Otto, the interior designer who presented the idea of this cover and May Matika, the model on this cover who accepted the invitation and willing to go ahead with the idea. Read their stories on cover talks to find out more what the designer and the cover girl have done together to come up with beautiful décor of May’s apartment at the Pinnacle. Thanks to Mya Jindanu, a very talented designer who designed and made the beautiful silk dress May wear on the cover. Her haute-couture inspired dress is truly is truly a quality of a professional designer. Thanks to Jim Jirarnuttaruj, for squeezing us in his super busy schedules. Special thanks to the Betong 888 Thai Restaurant for providing scrumptious late lunch dishes to the shooting crew on the day. To our sponsors, we would like to thank you all for believing in us and have waited patiently for our new release. Lastly thanks to our reader and community member who always look forward to see, feel and read through every page. We promise to bring a bigger and better Sawasdee Australia Magazine to you for many more editions to come.

Boom Buchanan Editor

Contributors ทา่นเจา้คณ ุ พระศรพ ี ทุธวิเิทศ เจา้อาวาสวดัไทยพทุธาราม

Phra Siphutthiwithet President & Abbot at Wat Tha Buddharam Forestdale Brisbane.

พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting Professional education consultant in Brisbane

Supalagsana Sontichai: Old Tales Retold A Thai award winning author , a novelist, translator and a travel writer

“ Nothing great was ever achieved without enthusiasm”

Frankie@skillpointconsulting.com.au

Aras Saadati Photographer

ปาริฉัตร กาญจนวัฒน์ Peta Art Director

http://www.arasshots.net

freelance grapic designer contact email: design.parichat.k@gmail.com

ณภัค โหมดหิรัญ (ปอ) Naphak Modhiran (Por) Photographer & Columnist

I considered myself as landscape photographer, but am also inspired by food, architecture and portrait photography as well. To those who might be interested in my works please feel free to visit my portfolio at: https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ Contact me at mailto: modhirann@yahoo.com

Santanee Otto slottochangprai@gmail.com. Columnist Design Trends

Chaisuda Gaylard อุทาหรณ์...ชีวิต True Story A mother of one and a cancer survivor, Chaisuda Gaylard shares the stories of her battle with cancer and how she determines to live a happy life.

Benjawan Poomsan US-based Thai/Lao Translator and Interpreter and a writer

วสมน สาณะเสน Wasamon Sanasen East meets West

เ พญ ็ ปากกา Pennie Pennapa holistic health therapist A teacher turned holistic health therapist, Pennie made her way through health and beauty career and end up opening her own ideal day spa. She is keen on sharing what she learnt from 10 years experience in this industry through Health and Well-being column.

Jim Jirarnuttaruj Make up & Hair artist for Cover, Fashion & Trend 14 years experience in Australia & Thailand https://www.facebook.com/JimJirarnuttaruj

3


Contents tenth Issue January 2016

6-7

24

Cover talks 6-7 Cover talk “Living by Design”

Brislife 8-9

26-27

สวนผักไทย Australian Gardening

True Story

6-7

12-13 18-19 22-23 24-25 27

True Story Thai-Lao interpreter Through these wide eyes: Whitehaven Beach Old Tales Retold: ลูกไมนักเขียน True Story อุทาหรณ...ชีวิต Visa corner

Real Community

18-19

3 16 21 26 30

Editor Inbox & Contributors รูจักทีมสวัสดีออสเตรเลีย Money Talk รอบรูเรื่องอสังหาริมทรัพยกับ JB Palmer Dhama talk ปชง Health and Wellbeing Horoscope ทำนายดวง

Did you know? ชองทางการเขาถึง

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

8-9

ติดตามอาน Sawasdee E-Magazine ไดแลววันนี้ เพียงดาวนโหลด Application issue “ SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE ” https://www.facebook.com/sawasdee.au.mag

Contact us Sawasdee Australia Magazine 6/159 Gailey Road Taringa QLD 4068 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: + 61 7 3870 5427 +61 424 022 334

ake a picture while you taste your favorite Thai dishes to win a return ticket Brisbane-Bangkok from Thai Airways. Take a picture with Thai food

Sawasdee Australia Magazine and #FLYTHAI

LIKE and SHARE image to your friends


TAX AGENT &ACCOUNTANT TD Business Solutions assist both new and established business customers with accounting, bookkeeping, GST, tax and registration requirements. We are experianced and qualified and provide excellent customer service at all times Please call

Thamomwan 0430 129 259 (Thai Speaking) or Tony 0412 472 166 (English Speaking)

สำนักงานบัญชี • รับทำบัญชี ภาษีอากร • บริการ ดานจดทะเบียน

เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็ก ดวยประสบการณและเจาหนาที่ ที่มีประสิทธิภาพมีพนักงานพูดภาษาไทยบริการ TD Business Solutions www.tdbusiness.com.au myenquiry@tdbusiness.com.au

- Mechanical Repair - Log book service - Road Safety Certificate (RWC) - Air-condition

Please Contact

Nick / ติดต่อ หน่อง

4/8 Timms Court Underwood 4114

Mobile: 0412 880 999 Office: 07 3299 3222


Cover Talks

Living life by design

Sawasdee Australia Magazine sat in an interview with Matika Vichitpannakul (May) and her interior designer Santanee Otto, who assisted in creating the cover of this edition.

It was a bright and hot Queensland Sun that penetrated the tin roof of a Paddington boutique Café – Chapter IV, where we all agreed to meet for the interview that day. May arrived punctually with her father and their pet Huskie dog, Nam Taan (translation-brown). They had just been for a beautiful Sunday morning jog – their weekend ritual when both have free time, away from their busy lives in their many restaurant franchise business. Juggling school, work, and her commitment to the multicultural community , she still had time to go with Santanee on her spare time and weekends to shop for her new apartment in Hamilton. Reflecting back to the moment where the project to design May’s apartment began. One afternoon over lunch with lovely friends and JB from Homestates, Lattiya who is May’s mother, happened to call into JB’s phone and as the conversation grew, that began the collaboration for May’s newly obtained apartment at the Pinnacle. This project would become a first home for May, and the first Brisbane project for Santanee. May 6

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

had chosen a luxury boutique apartment project. Being that it is her first home away from home, the Pinnacle Apartments, rests riverfront at Portside Wharf, in exclusive Hamilton Precinct. The building is 16-storey high, topped with a refreshing infinity pool, gym, and recreation area that has an absolute gracious view of Brisbane CBD skyline. There are fashions to novelty shops, restaurants, cafes, supermarket, and a movie theater, plus a Cruise Liner dock. All conveniently located only by walking out the foyer area. We asked May a few questions to get to know her more and what drives her. What inspired you to want this design for your home? In school, I studied a little computer graphics, interior design and architecture. I also had an opportunity to travel to USA with my family, where I got to see and appreciated differ ent aspects in design and architecture. So when I got an opportunity to have an interior designer

to help me on my new home, I took it immediately. Having an interior design to guide me in realizing the design that suited my home was a fun process! What is your favorite piece of furniture and why? It would have to be the Ottoman/coffee table in the living room. I chose that piece the first day of shopping at Coco Republic/Max Sparrow. It’s a simple design, not too big or too small for the living room. It’s very versatile, with a hidden lid that opens the coffee table, to store things in it, and it has wheels to move around conveniently. It can go with anything even if the furniture changes in the future. We got a large round grey lacquered tray from West Elms to use when serving drinks to guests. Are you happy with the outcome? Definitely yes, it was a journey to get to this point, but I am so happy with it, from how it was designed to the little decorations. Santanee: The design choices were made after carefully selecting from many resources that were given to May, and then we would decide


Your space is an expression of your personal style About Santanee Otto We all want to be surrounded with the comforts and luxuries of life. But to enjoy a well decorated home, office or any space for that matter, a little helping hand of an interior designer like Santanee Otto can bring your imagination to life! As she says “your space is an expression of your personal style”. So she invites you to indulge for yourselves. Defining my professional style - Dedicated to translate your design aspirations into reality with quality a priority! What is your design philosophy? As Frank Lloyd Wright quotes Space is the breath of Art. Three must haves of the season? Jonathan Adler’s Delphine Desk, Max Sparrow Preston Occassional Chair, Jonathan Adler’s Large Mongolian Lamb Bench Smartest Business Choice? Moving to Sunny Brisbane. Worst Business Choice? Not moving to Sunny Brisbane sooner! Your favorite place to be? Home is where the heart is, so anywhere, where family is at arms reach. That being said, indoors and outdoors of the home. What does value mean to you? Good design creates value to your space you live or work in. Value is getting the best quality of those products.

together on what to get. Designers are there as a guide, so that your personality shines in your space, in a timeless presence. It was a good learning experience for her. In the design process, suggestion for a more modern ambience was presented, but it was clearly a contemporary luxury styles that was selected. As a designer, my task was to make the space a little more youthful by the suggestion of the photo frames on the bedroom wall. The rose gold accessories were a craze she admits openly, and we joke about. Any regrets? No, not one! Oh well there is one, I made a bump on the wall while moving in. Favorite area in your home? It’s my living room. The couch, it’s so relaxing. I could sit, talk, take a nap, or literally do anything there, it’s so comfortable. On a more personal note, what makes you smile? Seeing other people smile makes me smile. Seeing my little sister smile, my mum or my dad smile, having precious moments like that. It’s so simple, yet it brings a smile to me.

Favorite tunes on your Alarm Clock? I wake up with my iPhone alarm, but for the apartment, I bought a rose gold alarm clock to wake me up. I used to use Itunes, but it doesn’t wake me up. I would have to select embarrassing tunes that I don’t want anyone to hear, so I would quickly get up, to turn it off. What can't you live without? It’s my phone! It’s always on 24/7. I can contact my mum when she is overseas. So when there is no Wifi - that can be stressful (laughing out loud). On a more serious note, it would have to be my family. One word you use too much? Everyone has said that I say sorry too much. I can say it unnecessarily, even when I wasn’t in the wrong. It’s just me to feel that I had a part in the situation, whether right or wrong, it is right to say sorry. Though it used to be OMG when I was younger. Most Memorable moment? I have two memorable moments actually; the first being my grade 7 Graduation, when my mum and my dad, and all my friends were all there. The other time is when my family were the Royal representatives for the Royal Robe Ceremony at Wat Thai Buddharam, last November 2015. It was a very auspicious occasion, where my mother and our family were the honorary donors and fundraisers for the temple. Your favorite Bloggers, Intagram, Snapchat, Hashtag? I used to follow school alumni’s bloggers, who are very successful now, but I prefer Snapchat. My favorite hashtag would have to be #Dealwithit.

Where do you see yourself in 3 years? In three years I will be 18, my first year of University. I can see myself more independent, able to manage school, personal life and the family business, which I hope to expand to become a Family empire (spoken modestly) someday. What's next? My little chapter of adventure will need to hold while I concentrate on schoolwork for Year 11 and 12. Less work, more school! May tells me that she would wish to become a medical doctor so she can help people. But she has her options open to also becoming an Engineer or an Architect. There is a boldness, confidence about May, at only 16 years old, her future seems so bright and I wish her the very best in all she does. How important it is, that her good guidance from her mother, father, and family has kept her heritage strong. We should have more young girls like May, seeing her as a good example in the advantages of growing up in a multicultural environment. This is truly a good Thai-youth ambassador. She wishes to give back to the society of the under privileged children around the world, but especially in Thailand. Each visit back to Thailand, she visits the orphanages and elderly homes that need much more support. Her emphasis on participating in many multicultural community works, fundraising in school environments has already given her a foundation in achieving those goals. To creating peace and harmony, and give hope and joy to the disadvantage children and elders of the world. 7


Brislife

สวน ผักไทย เริ่มตนที่ผักที่เราอยากกินกอน แลวก็เขา ไปเปนสมาชิกของหนาเพจ DIY ซึ่งเปน เพจสำหรับคนที่รักและสนใจ การทำสวนทำศิลปะ เปนคนไทยที่เติบโตมาในสังคมตะวันตกเปนอยางไรบางคะ ก็มีขอดีหลายๆอยาง แตที่เราขาดไปคือเราไมไดรูวัฒนธรรมไทยเลย เราไมรูเรื่องวัด เรื่องการทำบุญ เราไมมีเพื่อนเปนคนไทยเลย จนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้เอง ที่ไดพบ เพื่อนคนไทย และไดมีโอกาสเรียนภาษาไทยจากเพื่อนๆทางโซเชียลมีเดีย และจาก การที่ไดนัดพบปะสังสรรคกันและพูดคุยกัน ตอนนี้สามีและลูกก็เรียนภาษาไทย เรา ใชวิธีเรียนจากการอานขอความแลวก็หาคำแปลเอาเอง บางคำที่ไมไดจริงๆ ก็มีเพื่อน เปนครูคอยสอนใหดวย

แตงหนาโดย Pui Uraiwan จากเพจ Beauty Your Styles https://www.facebook.com/ownyourbeautybyurawan

พื่อนๆคนไทยหลายคนที่ไดมีโอกาสพบและพูดคุยกับคุณปูหรือคุณ Fiona Duthie เปนครั้ง แรกมักจะพากันแปลกใจที่เธอบอกทุกคนวาเปนคนไทยแทๆแตพูดภาษาไทยไมไดและไม คอยชัดเจน “สวัสดีออสเตรเลีย” ไดมโี อกาสรูจ กั กับคุณปู ผานทางโซเชียลมีเดียและตองยอม รับวาครัง้ แรกก็แปลกใจเหมือนหลายๆคน แตพอรูว า คุณปูยา ยถิน่ ฐานมาอยูอ อสเตรเลียตัง้ แต ยังเปนเด็ก เมื่อพอไดสื่อสารกันทางอินบ็อกซและตอมาไดพูดกันทางโทรศัพท ยิ่งทำใหประหลาดใจมาก ขึ้นไปอีกที่รูวาถึงแมคุณปูจะพูดไทยกลางไมชัด แตสำเนียงไทยภาคใตของคุณปูยังคงชัดเจนมาก เมื่อได ฟงเรื่องราวคราวๆ เกี่ยวกับชีวิตของเธอและกิจกรรมตางๆที่ทำผานทางเฟซบุคเพจ “สวนผักไทย Australian Gardening” ทำใหเรายิ่งอยากรูจักกับคุณปูมากขึ้น และไดนัดไปพบเพื่อนั่งพูดคุยกันที่บาน สวนของเธอ ที่ Minden หางจากตัวเมือง Ipswich ออกไปประมาณ 30 นาที นับเปนเปนการพบกันที่ทำใหเราไดมีโอกาสฟงเรื่องราวตางๆ จากปากของคุณปู​ูเอง และคำถามแรก ที่ตองถามกอนเลยคือทำไมเปนคนไทย เกิดที่เมืองไทยแลวพูดไทยไมได Fiona: เราเกิดที่บานถ้ำเสือ จังหวัดพัทลุง พอแมยายไปทำงานที่รือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ตั้งแตเรายัง เล็กๆเลย พออายุ 8 ขวบ เราก็ไดยายไปอยูกับพอแมบุญธรรมที่ปนัง มาเลเซีย จนอายุ 13 ป พอแม บุญธรรมก็พาเรายายมาอยูออสเตรเลีย โตขึ้นมาเราแทบไมมีโอกาส ใชภาษาไทยเลยมีแตพูด Bahasa มาเลย ภาษาไทยที่ยังจำไดก็คือภาษาไทยสำเนียงใต ที่พูดตอนเล็กๆ ตอนนี้ถึงไดพูดใตไดชัดเจนกวา ภาษาไทยกลาง การมาอยูที่ออสเตรเลียในชวงวัยรุนแลวตองปรับตัวมากขนาดไหน ก็ตองปรับบาง เราก็เขาเรียนหนังสือกับเด็กฝรั่ง แตดีที่เราพูดภาษาอังกฤษไดอยูแลวก็ไมตองปรับตัว ในเรื่องการเรียนภาษาใหม 8

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

จริงๆก็มคี นไทยอยูใ นบริสเบนและIpswichทำไมไมมโี อกาสไดเจอเพือ่ นคนไทยหรือคะ เมื่อกอนทำงานประจำคะ ตั้งแตมาอยู ที่ออสเตรเลียก็ไมมีโอกาสไดเจอกับคนไทยเลย เรียนหนังสือจบ year 11 แลวก็ไมไดเรียนตอ ไปทำงานเก็บผลไม ทำงานไปก็เก็บ เงินไปเพื่อจะไดซื้อรถและเรียนขับรถใหได หลังจากนั้นก็แตงงาน เราแตงงานตั้งแต อายุ 18 ป กับหนุมออสเตรเลียน หลังจากนั้นก็ตองทำงานมาตลอด ทำงานอะไรมาบางคะ ทำตั้งแตงานเก็บผลไม ขับรถโฟลคลิฟ แลวก็มาทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรขนาดใหญและ มักจะทำงานกะกลางคืน เพราะเปนงานทีไ่ ดคา แรงสองเทา งานทีท่ ำมาก็จะเปนงานทีผ่ ชู าย ทำกันเปนสวนใหญ งานชางเชื่อมเครื่องจักร และประกอบเครื่องจักรขนาดใหญ จากนั้น ก็ไตบันไดมาเรื่อยๆ กระทั่งลาสุด ไดทำงาน ในบริษัทผลิตยา ในตำแหนงควบคุมเครื่อง จักรใหญ เราจะรูเรื่องเครื่องจักรพอๆกับ เพื่อนรวมงานที่เปนผูชาย


ทำงานทีเ่ ปนงานผูช ายเคยมีโดนเขมนจากผูช ายบางไหมคะ ไมมีนะ เคาก็ใหเกียรติเราและชื่นชมวาเราเปนผูหญิงแทๆแตทำงานหนักๆแบบนี้ไดตอนที่ ทำงานในบริษทั ยา เราตองไปอบรมชางเชือ่ มทีต่ อ งทำตอเนือ่ งเปนระยะเวลา 3 ป จนสำเร็จและ ไดรับประกาศนียบัตรรับรองอาชีพชางเชื่อมและเครื่องจักรกลใหญจาก ANI Engineering เปนคอรสฝกอบรมที่ไมเคยมีผูหญิงมากอน เราเปนคนแรกที่ไดรับประกาศนียบัตรนี้ และ เราก็ไดทำงานในตำแหนงที่มีเพื่อนรวมงานเปนผูชายลวน 300 คน แตตอนนีก้ ไ็ มไดทำงานหนักแบบนัน้ แลว มาปลูกผักทำสวนทีบ่ า น ใชคะ เพราะวาสามีทำงานที่เหมืองนอกเมืองบริสเบนออกไป ตองเดินทางบอยทุกๆสอง สัปดาห เราก็เลยพักชีวิตการทำงานกอน มีเวลาใหกับครอบครัวและลูกมากขึ้นกวากอน และไดมีโอกาสใชเวลาปลูกผักสวนครัวมากขึ้น เริ่มตนที่ผักที่เราอยากกินกอน แลวก็เขา ไปเปนสมาชิกของหนาเพจ DIY ซึ่งเปนเพจสำหรับคนที่รักและสนใจการทำสวนทำศิลปะ การแตงสวนแบบตางๆ เปนกลุมที่ตั้งขึ้นเพื่อแชรความรูเกี่ยวกับพืชผัก ผลไม ดอกไม ตก แตงบาน และแบงปนไอเดียตางๆ ในการปลูกดูแลสวน และตกแตงสวนและบาน นอกจากนีก้ ็มี การแลก เปลี่ยน ซื้อ ขาย แจกฟรี พันธุพืชผัก ตนไม ดอกไม และของตกแตงบานตางๆ การทำสวนครัวนัน้ ไดผลผลิตมาก จนมีการแบงผักและพันธุไ มหายากใหเพือ่ นคนไทยดวย พอไดอยูบานมากขึ้น ก็มีเวลาไดใชกับการปลูกผักผลไมของไทยๆที่อยากทานเอง และพอ ไดเขารวมเปนสมาชิกในโซเชียลมีเดีย เราไดรูจักเพื่อนคนไทยมากขึ้น นอกจากไดเรียน การพูดภาษาไทยและแงมมุ ทางดานวัฒนธรรมไทยตางๆเพิม่ มากขึน้ แลว ก็ยงั ไดเรียนรูแ ละ เปลี่ยนเคล็ดลับการปลูกพืชผักสวนครัวกับเพื่อนๆมากขึ้น เพื่อนๆที่สนใจเหมือนกันก็มี การจัดตั้งกลุมเฟซบุคเพจ ที่ชื่อ “สวนผักไทย Australian Gardening” ซึ่งเราเองก็ได มีโอกาสเปนแอดมินคนหนึ่ง นอกจากจะเปนเพจที่ไดมีโอกาสไดพูดคุยแลกเปลี่ยนความ รูเรื่องพันธุพืชตางๆแลว เรายังไดเรียนรูภาษาไทยและกิจกรรมคนไทยมากขึ้น ดีใจมากที่ ไดมาเปนคนไทยเปนสมาชิกคนไทยคนหนึ่ง ในชุมชนไทยในออสเตรเลีย ตอนนี้เราพูดได อานได และเขียนไทยไดแลวดวยคะ

โปรโมชั่น เปดรานใหม

Australian Gardening Many Thai friends who have first met Fiona Duthie often a little wonder why she tells everyone she is Thai but does not speak the language. Sawasdee Australia first get to know her via Facebook conversation and also very surprised to learn that in spite of her lack in the ability to speak Thai properly, Fiona can speak the Southern Thai dialect quite clearly. We’re invited to her home, which has beautiful and plentiful Thai herbs and rare tropical plants garden in Minden, a 30 minutes drive from Ipswich Central. We received a very warm welcome from the garden tour to a beautiful Thai luncheon, which she prepared for us. We sit and hear her reminiscent of the childhood time back in the Southern province of Thailand, where she was born and first learnt to speak Thai. Today, Fiona enjoys her Thai social media groups, “Suan Phak Thai (Thai Vegetables garden) and Australian Gardening”, which gives her an opportunity to learn about a variety of tropical rare plants that also seen grown in the Southern parts of Thailand. These social medias and the actual social groups which meet regularly also give her the opportunity to learn Thai from her friends and provide her with the avenue to learn to absorb the cultural aspects of being a Thai.


Being in love should not be this hard…

Freedom Migration. Australia's leading Partner Visa Specialist Every relationship is different, so a tailored solution is required to get the best possible outcome for each and every family we represent. With a team on the ground in Thailand, your partner and you will be supported every step of the way.

Freedom Migration

provides specialty migration services for:

· Visitor visas for your partner · Partner visas

· Spouse visas · Marriage visas

· Migration Review Tribunal (visa refusals and reviews)

07 3112 5204 Don't risk the future of your relationship Registered Migration Agent #0960361

Contact the Freedom Migration team today on

Website: www.freedommigration.com


Settling in Australia: Getting out there

Moving to a new country can sometimes make us feel like we are the new kids in school. Everything is foreign and we have to learn to make new friends and try our best to fit in all over again. When you have left everything you know behind, it can feel like we are facing this new world alone. Being a migration agent, Emma Drynan does not only understand the legal challenges of migrating to Australia but also the social ones. “In my work, I witness how difficult it can be for a family to settle in a new country, especially if they are unable to speak English well. It doesn’t help that sometimes the Aussie accent is hard to understand!” Emma said. “Customs can be very different across the world and knowing the ‘proper’ way to act in society is something that locals always take for granted.” Many migrants, especially those who become stay at home parents, experience feelings of isolation and loneliness. Emma says that unlike their working partners or their children who attend school, stay at home parents don’t have the same opportunities to interact with others. “People are social creatures and interaction with others helps us develop a bond or sense of belonging within the community,” Emma said. “It is important Asked that every member of the family gets a chance Frequently Questions to owncan support network in their new neighbourQ: Ifbuild I am intheir Australia I apply for another visa? A: The answer to this question completely depends on the conditions hood.” imposed on your current visa. Is condition 8503 stated on your visa grant letter? If it does, you are unable to apply for another substantive visa other than a protection visa. Weat suggest speaking to a migration or “Although, it is daunting first, making friends andagent contacts DIBP representative for information relating to your individual circumstances.

in the community is probably one of the most useful and effective Q: Howto long willyou it take for my visa application to beshe processed? ways help settle down in Australia,” said. A: Depending on the visa subclass you have applied for and other importAs where starttocan be adifficult, Emma can says ant finding factors, the time ittotakes process visa application takethat it anywhere 2 days months. The Department has a list Immediate of visa helps tofrom split yourto 18 approach into three stages: subclasses and standard processing times on their website that is neighbourhood, wider community and asfora more whole. regularly updated. You may wish to refer to thisAustralia information details on processing times: https://www.immi.gov.au/about/charters/client-services-charter/standards/2.1.htm

Emma, Freedommigration Immediate Neighbourhood

“Local businesses in your neighbourhood can be the most useful place to make new friends,” Emma said.“Everyone in your area would probably visit the corner grocery store or your local bank branch frequently, so it is a good chance to get to know your neighbours. Getting the business card of one of your bank’s staff is also a good idea as you would have a contact person in that area if you ever needed it.” “If you are religious, finding your local temple, church or mosque can also be a great way to help you settle down in Australia too,” she said.

Wider Community

“Another way to feel at home in Australia is to seek a bit of your home country in Australia. Finding something familiar can often make the transition easier. If you are from Thailand, it would be a great idea to get involved with the Thai community here,” Emma said. “Having several Thai festivals over the years, I am always warmed by how close knit the Thai community is. There are many different people who attend these events and it is perfect for new migrants to make connections.” “If you were interested in cooking or art back home try finding similar classes here and join them. The good thing about Australia is that there are usually many small community events going on every week and there is always something for everyone,” she said.

Australia

“Once you’ve made new friends and started feeling more comfortable in your neighbourhood, exploring Australia should be next on the list,” Emma said.“A great way to feel more at home is to make little trips and travel around the state or country. Australia is beautiful and travelling will help to remind you of the excitement you first felt when you were granted your visa.” “Getting stuck in the day to day tasks can make us feel like we haven’t really made much progress, but next time when you take a walk around your neighbourhood, you’ll notice that you feel a little bit more comfortable than before. Before you know it, you will be settled in Australia!” she said.


True story

The Interpreter’s journal How It Started Benjawan Poomsan Becker

I became a professional translator when I was 15 years old and a professional interpreter when I was 19. Here's how it started. “You must be the girl that people told me about.” She was a beautiful young woman with black hair down to her waist. Her colorful sarong made her a striking sight in the plain surroundings of the restaurant. “I’m looking for someone to help me,” she said. “And they told me to come here.” She was in her early twenties, and since I was the younger one, I instinctively greeted her with a wai – hands pressed together, prayer-like – to show respect. Her words carried a sense of need, and her eyes darted around to see if anyone was within earshot. “I was told that you speak good English,” she continued. “And that you teach kids. I’ve got these letters from my German boyfriend. He’s been writing me in English. I kind of understand them, but I want you to translate them properly for me, and I want you to help me write him back in English.” Moments before, I’d been in the room above my mother’s simple restaurant in Yasothon, northeast Thailand, studying for my high-school exams, but unbeknown to me, this event would open a new world of opportunity. How could I have known – this small-town Thai girl of fifteen – that this day would be the beginning of my career as a professional interpreter, and that this chance meeting would, years later, lead me to the Federal and State courts of California? I learned that her nickname was Oy, which means sugarcane, so I called her Pee Oy because she was older than me. In Thailand, where long first names and family names are the norm, almost everyone has a short nickname, often of only one syllable, and often with a colorful meaning. My formal name is Benjawan, meaning five colors, and my nickname is Ja-Ae, which means peek-a-boo – the same thing that people say to a baby to elicit a smile or a giggle. I was a rascal as a baby, so my parents decided that this name fit me perfectly. Thai society is highly stratified, and each person is regarded by his or her status, which is determined by factors like wealth, education, or family connections. The most obvious indicator is age; the older the person, the higher their status. The Thai word pee is used in front of a person’s name to politely address someone who is senior, to show that you respect that person like an older brother or sister. Oy, on the other hand, addressed me as Nong Ja-Ae, nong being the polite way to address a younger person. 12

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

Oy handed me three envelopes, each addressed in precise handwriting, and I couldn’t help but notice the beautiful foreign stamps. I opened each letter and read a paragraph at a time, then translated the meaning into Thai. The letters were filled with sweet words and promises to take care of Oy. I was lucky because they were quite simple, so I didn’t have any problems with the words. But they seemed the most romantic words I’d ever read, and I must have blushed a bit. I explained softly so that nobody could overhear her story and start gossiping. But after the final letter, I couldn’t contain myself any longer, and blurted out, “Sounds like you’ll be going to Germany soon.” Oy looked around to see if anyone had heard. “Yes, he wants me to go to live there. I think he wants to marry me. Can you help me write back? Okay?” I didn’t need to think for a second. “Sure, I can do that.” As the delicious aromas of Thai cooking filled the air, she revealed to me her hopes, her joys, and her love for her German boyfriend. I took notes, then excused myself and scurried upstairs to find the special writing paper I’d been given as a New Year present. Only the best paper would do for this letter. Back downstairs, Oy sat in amazement as I composed her reply in English, then rewrote it in my finest penmanship.


I used my newfound wealth to buy audiotapes and English-language books from ads in the Englishlanguage Student Weekly. I was inspired, and I set about my English studies more intensely. After the letter was finished, Oy and I talked for a long time as customers came in, ate their meals, left and were replaced by others. She told me that she had met her boyfriend when she left her village to go to work in the beach resort of Pattaya. I’d heard about girls from the area going to Pattaya and getting jobs. Many of them sent money back to their parents, and it seemed like a good and honorable thing to do. I was still quite innocent at this age. I had no idea what kind of work Oy was doing in Pattaya, but I was sure that she had been lucky to meet and fall in love with such a nice man. Her boyfriend eventually had to return to Germany, and had been sending her money so she could stay in her village and not have to work far from her home and family. I believed that he must be a wonderful person to send money and take care of Oy and her family – the kind of thing that earns much respect in Thailand. Nobody understood English in Oy’s village. That’s why she had to ask around for someone who could help her. And this was the first time I realized that I could “make merit” – do a good deed and accumulate good karma – by helping someone through my language ability. It also impressed me when Oy handed me 200 baht for the work. With the baht then at eighteen to the US dollar, my first translation job had earned me eleven dollars. It had only taken two hours, and at fifteen years old I had never earned so much money. Wow. A lot of people around there would have to work for days to earn that much. I started to get the idea that this might be a good career to pursue. I used my newfound wealth to buy audiotapes and English-language books from ads in the English-language Student Weekly. I was inspired, and I set about my English studies more intensely. Oy came back to see me one more time, about six weeks later, for another translation. It was during Songkran, in April – the traditional New Year water festival – and the hottest time of the year. I came home soaking wet from the water festivities in town, and saw her at one of the tables near the back of the restaurant. She was happy to see me, greeting me with a big smile, animated as she waved a new letter in the air. I ran upstairs and quickly changed into dry clothes. My mom had brought Oy some noodle soup, but she stopped eating as soon as I was ready for her. Yes, she had received a marriage proposal, and wanted to write back with her answer – an emphatic yes. She also wanted to make a note of her dowry requirements.

I never did see Oy again. I assumed she’d worked out all the details and was happily in the arms of her German husband. Not only did Oy provide me with my first translation assignment, she also gave me my first glimpse of a Thai-Western relationship. Before this, I’d never dreamed that a Thai girl could marry a Western man and live in another country.

SOME PUBLISHED BOOKS: The Interpreter’s Journal: Stories from a Thai and Lao Interpreter 2011 Asian Publishing’s Award for Best Book/Best Writer Thai for Beginners Thai-English English-Thai Dictionary for Non-Thai Speakers Speak Like a Thai Series Thai for Intermediate Learners Thai for Advanced Readers Improving Your Thai Pronunciation Thai Law for Foreigners Thai for Travelers Lao for Beginners Lao-English English-Lao Dictionary for Non-Lao Speakers SOME PUBLISHED APPS: Thai for Beginners for iOS and Android Talking Thai-English Dictionary for iOS and Android Talking Thai Phrasebook for iOS Talking Chinese Phrasebook for iOS Survival Thai for iOS and Android Survival Lao for iOS and Android Survival Chinese for iOS and Android 13


Christmas party : Casino Royale Night. There were 200 guests who attended the function

Homestates Realty Grand Opening at Teneriffe office

Overseas Property Seminar in Vietnam

5 Km Marathon to support Sandgate local community

Meeting with Matt Bekier; CEO of Echo Entertainment to discuss about Queen’s Wharf $3Billion Mega project that will change Brisbane forever.

Buying//Selling/Renting property should be hassle-free/less when you are having a team who put your benefits ahead of them. Homestates Realty pride themselves to be part of our clients journey, we have laughed and enjoyed amazing moments with our Big family; staff, friends, families, clients, and business associates.

Project Roadshow at Indooroopilly shopping centre

Thank you for being part of our family. Louis Vuitton VIP Night to celebrate Mother’s Day

Let’s have a look at those moments:

Project Roadshow at Garden City shopping centre

Function

Client Function: Exclusive project launch

Client Function: Brisbane CBD VIP launch at Homestates office in Teneriffe

Client Function for Brisbane CBD project launch

Homestates Realty First Auction from Re-Sale Team

property seminar

Overseas property seminar with translator

Overseas property seminar

Sydney Property Seminar

Contact us to receive a FREE consultation today

Call today on

0431 535 240


Thai Community Engagement

Songkran Festival

Brisbane Thai Festival Brisbane Thai Festival Brisbane Thai Festival

Louis Vuitton Exclusive function at it’s own private celebrity room

Featured on Sawasdee Australia cover

One of Sponsor for Thai Father’s Day

Thai Night in Gold Coast

Ri Maksirakul

PROPERTY SPECIALIST

Supporting Community Radio : Sawasdee Australia

One of the main sponsor for Mos & Tao Concert

M 0430 220 063 E ri.maksirakul@homestates.com.au

Dinner with Mos & Tao

JB Palmer (JB)

SALES MANAGER (Project Marketing Department)

M 0431 535 240 E jb.palmer@homestates.com.au


Money talks

ตั้งเปาหมายชีวิตใหเบ็ดเสร็จ เพื่อพิชิตความสำเร็จในอสังหาริมทรัพย

JB Palmer (Jeab): Project Marketing Division Homestates Realty The London Offices, Suite 9c, 30 Florence St, Teneriffe QLD 4005 Tel: 1300 88 66 08 Mob: 0431 535 240 Email: jb.palmer@homestates.com.au JB has extensive experience in property market from her previous years with Ironfish. She has unconditionally helped many ordinary individuals and family in achieving their dreams of creating multimillion-property portfolio in Australia. She is now focusing on assisting Thai community to invest, buy, sell and rent properties with Homestates Realty.

Greeting everyone and Happy New Year. I would like to share with you my New Year resolution relating to real estate industry, which I think it could be useful to think about. My first goal for this year is to be more self-conscious, be able to love and forgive. It’s all about positive attitude at the beginning of everything. I would let go the past and aim for the best days ahead.

วัสดีคะ พี่ๆ นองๆ เพื่อนๆ ทุกทาน เจี๊ยบขอใชพื้นที่นี้เริ่มแรก เลย กับการกลาวกราบสวัสดีปใหมกอนนะคะ มีใครไดไปเที่ยวที ไหนกันไหมคะ? ปใหมเปนชวงเวลาทีพ่ วกเราจะไดพกั ผอน ทอง เทีย่ ว ไดเดินทางกลับไปเยีย่ มบาน ทัง้ ทีไ่ ทยหรือตางเมือง เรียกไดวา เปนชวง ที่ไดชารจแบตเตอรี่ ใหชีวิตใหพรอมลุย กันใหมสำหรับปถัดไปที่มาถึงจริงๆ และในโอกาสขึ้นปใหมนี้ ก็นับเปนวารดิถีอันดีสำหรับหลาย ๆ คน ที่จะตั้งใจ ทำสิง่ ใหมๆ ดีๆ ใหแกชวี ติ ตนเอง ซึง่ หนึง่ ในหลากหลายวิธนี น้ั ก็คอื การตัง้ เปา หมายชีวิตตอนรับปใหม หรือ New Year Resolution นั่นเองคะ ซึ่งสำหรับ ตัวเจี๊ยบเองซึ่งอยูในฐานะ Sales Manager ของบริษัท Homestates Realty ทีอ่ ยูใ นวงการอสังหาริมทรัพย ทีม่ หี นาทีค่ อยดูแลพีน่ อ งชาวไทยในออสเตรเลีย เรื่องอสังหานั้น ก็อยากมีไอเดียมาแชรกันสำหรับเปาหมายที่เกี่ยวของกับ อสังหาริมทรัพยสำหรับปนี้กันคะ ก็ถือวาเอาไวเปนแนวคิดไวตอยอดกันตาม สไตลและลักษณะนิสัยของแตละคนเอาไปประยุกตละกันนะคะ ใชไดทั้งผูที่ หวังจะซื้ออสังหาไวอยูอาศัยเอง หรือ ซื้อไวเพื่อการลงทุนคะ มาเริ่มกันเลย

ตั้งเปาวาจะเขาใจตนเอง รักตนเอง และ ใหอภัยตนเองในอดีต สิง่ สำคัญประการแรกไมใ ชเรือ่ งของศาสตรในการจะ ซือ้ จะขายอสังหาเลยคะ แตคอื การรูจ กั ตนเองและมี ทัศนคติทด่ี ตี อ ชีวติ เจีย๊ บเชือ่ วาในปทผ่ี า นมา แตละ คนยอมมีโมเมนททม่ี ที ง้ั สุขและทุกข อาจสมหวังบาง ผิดหวังบาง คละเคลากันไป สิง่ ใดทีด่ กี เ็ ก็บไวเปน กำลังใจสำหรับปน้ี สิง่ ใดทีท่ ำพลาดไปก็ใหอภัยตนเอง และปลอยวางแลวกาวตอไป และทีส่ ำคัญคือมีสติรู เทาทันความคิดตนเองตลอดป 2016 นีค้ ะ

16 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ำเปนก็ ตั้งเปาวาจะใชจายเงินอยางมีสติ อะไรที่จ ย า ตองจาย อะไรที่ฟุมเฟอยก็อยาจ อครอง การจะประสบความสำเร็จในการลงทุนหรือถื นิ ารเง ห บริ การ ษะใน ก ั คือทั อสังหาไดน น้ั สิง่ สำคญ องมี ในกระเปา กอนเปน อันดับตน ๆ คะ นัน่ คือต อง ตนเ ของ น ยเงิ  า จ ใช การ ั ย ส นิ อ ต ชอบ ความรับผิด น เพราะสวนใหญนน้ั คนเรามกั จะซอ้ื อสังหาดว ยเงิ ก็ ชอบ ด ผิ บ รั วาม ่ ค ที  า กูจ ากธนาคาร ดังนัน้ ภาระหน ดอก า ยค า จ การ โดย พ ชี ิ ่ ง องย ตนเ คือการรักษาเครดิต รับ เบีย้ เงินผอนใหต รงเวลา และเปาอีกประการสำห  ดาวน น งิ ี เ ม ให บ คนทพ่ี ง่ึ เริม่ ตน คือการเก็บหอมรอมริ ะ นะค แรก ง ห แ ย สำหรับการซือ้ อสังหารมิ ทรัพ

ตั้งเปาวาจะพัฒนาตนเอง เรียนรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อสังหาริมทรัพย

มีคำกลาวมาแตโบราณวา “มีวชิ า เหมือนมีทรัพย นับแสน” หรืออยางของฝรัง่ ก็คอื “Knowledge is อยู power.” คะ นัน่ คือการจะประสบความสำเร็จในวง การอสังหาไดต อ งมีความรพู รอมกับเงินทุน ซึง่ จริ แลว ความรูส ำคัญและควรมากอนเงินดวยซ้ำ เจี งๆ ย๊ บ ตัง้ ใจวาจะเปดหูเปดตาตนเองอานหนังสือและบทควา เกีย่ วกับอสังหาทุกสุดสัปดาหหรือเขาสัมมนาในวงก ม วิชาชีพเพือ่ ใหทนั ตอเหตุการณและมีเรือ่ งราวนา รู าร อัพเดทดแู ลพีๆ่ นองๆ ได ซึง่ หนทางหนึง่ ทีส่ ามารม า ติดตามบทความนาสนใจได ก็คอื ทางเฟซบุค ของ ถ บริษทั นัน่ เอง ที่ facebook.com/HomestatesRealtyT ทีเ่ จีย๊ บและทีมงานจะมาแปะเรอ่ื งนาสนใจใหตามอhai/ าน กันบอย ๆ คะ

I would like to save and spend money wisely and responsibly. I think it’s important to be mindful that buying and holding a property normally requires a mortgage. So, putting aside enough money for deposit and monthly interest to maintain a good credit history is a must. Having a strong motivation to save for the deposit for acquiring the first property should also be the goal for anyone who wishes to step into the property journey. I also want to learn more about property because I believe that knowledge is power. So, reading interesting news and articles posted on the Homestates Realty – Thai Facebook fan page is something I would like to do more. My another goal is to walk more to explore and discover the hidden gems in various suburbs. I think reading interesting researches or articles on a screen alone can be tricky and numbers and figures may mislead us, therefore for a serious investor, physically examining the suburb is highly recommended. Lastly, one of my biggest goal for this year is to give back to the society, by looking after Thai community as much as I can. I want to build a long-term professional relationship to educate Thai people to understand and utilise property as a vehicle towards building their financial freedom. I am willing to help in any way I can and I always put my customers first. Let’s share your New Year Resolution and if you wish, come and share yours on the Homestates Realty – Thai Facebook fan page at www.facebook.com/HomestatesRealtyThai . I think dream creates hope, and hope creates a meaningful life. Anyone who is willing to take the first step into property please don’t hesitate or delay. Please find a time to talk with me. I think the more you delay, the higher of the opportunity cost. I can be contacted at: jb.palmer@homestates.com.au JB Palmer


Where Taste Meets Elegance

Open 7 days 4/5 Zillman Road, Monday - Sunday Hendra, Brisbane, Dinner 5pm til Late Queensland, Australia Lunch 11.00 - 3.00pm


Photos Naphak Modhiran

Through these wide eyes

Through these wide eyes

Words Naphak Modhiran & Chadapha Inthakun

more info : byron-bay.com

Heaven on Earth

Summer is here. It is great Australian summer ritual: packing up and heading for the beaches! The Whitsunday Islands known as one of the best islands in South Pacific are one of the choices. hey are a collection of islands off the central coast of Queensland, Australia that form part of the Great Barrier Reef. Whitsunday Islands has taken its Oscar-worthy as the winner in the South Pacific. It is 150 North of Mackay and 300 km south of Townville the stunning Whitsunday Island are set at heart of the World Heritage Listed Great Barrier Reef. More than 100 million year ago after volcanic activity formed the mountainous terrain that remained connected to the mainland coast. After the last Ice Age (approximately 30,000 to 50,000 years ago) the mountains were partially covered by the rising sea creating the network of islands that we see today. 18 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE


Accommodation

There are many options for accommodation; the cheapest way is to stay on Airlie beach and purchase one-day tour or multi-days tour from the company. Otherwise, you can spend thousands of dollars to stay in luxury hotel on Hamilton Island, which has their own airports and facilities. Among the 74 of tropical islands, the Whitsunday Islands is ranking as no.1 third year in a row (and the # 9 in the world) according to Tripadvisor’s 2015 (the world’s largest travel site). It is by far the most recognized of all the Whitsundays landmarks on Whitsunday Island itself. The most popular islands are Long Island, Hamilton Island, Hook Island and Daydream Island (We keep these for next issue)

Getting there to Whitsunday Islands •The fastest route is a direct flight from Brisbane domestic airport to Whitsunday Coast Airport (Proserpine airport) then catch the shutter bus or rent a car. These will take you around 45 min to 1 hour to arrive on Airlie beach. •Driving North from Mackay – Airlie Beach is 1 hour 45 minutes away on the Bruce Highway. •Driving South from Townsville – Airlie Beach is 2 hours 30 minutes away along the Bruce Highway

hitehaven Beach is a definite "must-see" in the Whitsundays. Stretching over 7 kilometers along Whitsunday Island with the crystal clear aqua waters and pristine silica sand of Whitehaven beach. It defines nature at its best and provides the greatest sense of relaxation and escape. As soon as you arrive, you shall see why it is the most photographed beach in Australia and rank the winning position for the byron-bay.com South Pacific's Best Beach by the 2015. At the northern end of Whitehaven Beach is Hill Inlet, a stunning cove where the tide shifts the sand and water to create a beautiful fusion of colors. You can take a short walk though some rainforest to an amazing lookout over the clear water. As the tide shifts, the white silica sand and turquoise shades of the inlet blend seamlessly to create a breathtaking view of swirling Whitsunday colors. You can do snorkeling at the beach as well. There are several ways to experience the beauty of Hill Inlet. Many companies offer day trips to Whitehaven Beach (We purchased one-day trip with ocean rafting as shown in photo) and Hill Inlet by ferry, power boat or luxury yacht (take off at Shute Harbor). Overnight sailing trips are also offered and stop here. Spending over 300 AUD, you can experience, the magical waters and sand dance by Scenic helicopter and seaplane flights over Hill Inlet Exploring Whitehaven Beach, it will be an experience that you will remember for a lifetime!

byron-bay.com

19


We are the professional Thai massage & beauty salon in the heart of Toowong and Fortitude Valley. We have highly qualified therapists providing exclusive treatments and excellent services. From the moment you step into our salon, you can feel the Thai style experience, relax, refresh the mind and revitalizing the body seems to be what everyone needs nowadays. After a hectic schedule, most people have a busy lifestyle and a stressful day. At Alissa Thai Massage & Beauty, we promote good health and emotional well being, fix the knots, soothe the muscles, improve circulation, release the energy flow and make you feel rejuvenated. We use organic massage oils and luxurious Payot products. Our broad customer base include expatriates, office workers, housewives, university students as well as foreign customers who come from other states and territories of Australia to visit us.

OPEN 7 DAYS

ราคานวดพิเศษ สำหรับคนไทย $60/ชม.

HOT DEAL

receive

10% discount

1st floor 201 Wickham St. Fortitude Valley 10am-10pm (Mon-Sun) Mobile : 0411 569 511

*on presentation of your card

1B/39 Sherwood St. Toowong 9am-8pm (Mon-Sat) 10am-5pm (Sun) Mobile : 0423 936 641

E-mail : alissa.tmb@gmail.com www.alissatmb.com.au

Like us Alissa Thai Massage & Beauty


Dharma Sawasdee โดย...ศรีพุทธิวิเทศ

“»‚ ª §” ¤ÇÃࢌÒã¨ãËŒªÑ´ มื่อกาวเขาสูปใหม หลายคนอาจจะไดยินคำวา “ปนี้ปชง” ทั้งจากคนใกลตัว หรือหมอดูดวงชะตา อยูบอยครั้ง จนทำใหหลายคนเกิดสงสัยอยูไมนอย เลยทีเดียววา “ปชงคืออะไร?” และคิดวาปชงเปน ความเชื่อตามหลักของศาสนาพุทธ แตแทจริงแลวมีนอย คนนักที่จะรูขอเท็จจริงและความเปนมาเกี่ยวกับปชง…

มายาวนานนับพันป โดยปชงเปนศาสตรความเชื่อที่เกี่ยว ของกับองคเทพไทสวย ซึ่งเปนเทพผูคุมครองดวงชะตาที่ มีอิทธิพลตอการดำเนินชีวิตของคน ในแตละปนักษัตร โดยเชื่อวาปนักกษัตรแตละปจะมีชงเกิดขึ้นในทุกๆ 6 ป ซึ่งจะทำใหเกิดปญหาและสงผลเสียตอการดำเนินชีวิต ของผูที่เกิดในปนักษัตรนั้น

ปชงคืออะไร…? “ปชง”

ปชงกับศาสนาพุทธ

เปนความเชื่อทางโหราศาสตรของจีนที่เกี่ยวกับเรื่อง ดวง ชะตา ซึ่งเปนศาสตรที่วาดวยเรื่องของความทุกข ทั้ง หลาย ไมวาจะเปนการเจ็บปวย อุบัติเหตุ หรือเรื่องราย ตางๆซึ่งเปนอุปสรรคและปญหาในการดำเนินชีวิตนั่นเอง โดยมีที่มาจากปรมาจารยจื้อเพง และกษัตริยฝูซีซึ่งเปนผู คิดคน ความเชื่อเรื่องปชงขึ้นมา และมีการสืบทอดตอกัน

ปชงเปนความเชื่อโบราณที่มาจากโหราศาสตรของชาวจีน ซึ่งไมไดเกี่ยวของ และไมมีปรากฏอยูในศาสนาพุทธแต อยางใด เพียงแตมีชาวพุทธบางกลุมนำมาเชื่อมโยงกับ ความเชื่อทางโหราศาสตรของไทยเทานั้นเอง แตแทจริง แลวการชงนั้นไมไดมีแคปชงอยางเดียว แตมันยังมีทั้ง เดือนชง วันชง และเวลาชงอีกมากมาย

ในปจจุบันเราจึงเห็นชาวพุทธหลายคนที่เชื่อเรื่องปชงและ มีการแกปชงกันตามวัดดวยหลายวิธีเพื่อความสบายใจ และสามารถใชชีวิตไดอยางไมประมาท ไมวาจะเปนการ ปลอยสัตว การทำบุญ การบริจาคสิ่งของ การถือศีล รวมถึงการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เพราะฉะนั้น ปชงจึงเปน ความเชื่อเรื่องดวงชะตาตามโหราศาสตรของชาวจีน ที่ไม เกี่ยวของกับศาสนาพุทธแตอยางใด โดยเชื่อวาดวงชะตาของคนในปนักษัตรแตละปจะมีปชง เกิดขึ้นทุก 6 ป ซึ่งทำใหเกิดอุปสรรคและปญหาในการ ดำเนินชีวิตตามมา ปชงจึงเปนความเชื่อที่มีความสำคัญ ตอการใชชีวิตเปนอยางมาก โดยสอนคนใชชีวิตอยาง รอบคอบไมประมาท และสามารถรับมือกับปญหาที่จะ เกิดขึ้นไดอยางมีสติ…

The Thai Buddhist Temple and community based organisation that administers to the spiritual, moral and cultural needs of the Thai Buddhist community. 21


เรื่อง: ศุภลักษณ สนธิชัย

Old Tales Retold

ลูกไมนักเขียน ลเอกสายหยุด เกิดผล อดีตผูบัญชาการทหารสูงสุด เคยกลาวไว เมื่อครั้งไปเยือนประเทศออสเตรเลียวา “ผมชอบคนออสเตรเลีย ชอบความเปนฝรั่งบานนอกของเขา” นี่เปนความรูสึกจากใจของชาย ชาติทหาร ซึ่งพูดตามที่ใจคิดและไมเห็นวามจำเปนที่จะตองเสแสรงแกลงชมชอบ ก็บอกวาชอบ ไมชอบก็โผงผางออกมาเลยวาไมชอบ รูสึกอยางไรก็พูดออกมา อยางนั้น คนสวนใหญที่ไดสัมผัสออสเตรเลียมักจะ “ซึ้ง” ในความเปนออสซี่ของคนที่นั่น คำวา “ฝรั่งบานนอก” ที่อดีตทานผูบัญชาการทหารสูงสุดพูดถึง เปนการให ภาพพจนของคนออสเตรเลียไดตรงและชดเจนที่สุด ทำใหเรานึกถึงภาพบานเล็ก กลางทุง หญา ทุง นากวางใหญไพศาลเหมือนอยางที่ ลอรา อังกัลล ไวเดอร พรรณนา เอาไวในเรื่องชุดบานเล็กในปาใหญของเธอ ฝรั่งบานนอกไมไดหมายถึงความลาสมัย เชย หรือเดอดา แตหมายถึงความซื่อ บริสุทธิ์ ความอบอุน ความจริงใจ และความรูสึกเปนมิตร ที่มนุษยพึงมีใหแกกัน และกัน โดยไมคำนึงถึงความแตกตางของเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรม หาก เปรียบเทียบกับคนชาติอน่ื ๆ ทีร่ จู กั คบหากับคนไทยแลว ก็เห็นจะเปนคนออสเตรเลีย นี่แหละที่มีลักษณะนิสัยคลายคลึงกับคนไทยมากที่สุด ไมวาจะเปนน้ำใจนิสัย ถาวรหรือการใชชีวิตตามสบายแบบอยางชีวิตไทยๆ ลองมาสัมผัสประวัตชิ วี ติ ของกวี-นักเขียนคนหนึง่ ของออสเตรเลียทีช่ อ่ื ฮิวพ แม็คเคร ดูก็ได แม็คเครเกิดที่เมลเบิรน เมื่อป ค.ศ.1876 เขาเปนหนุมหลอพราวเสนห ชีวิตในวัยหนุมของแม็คเคร สนุกสบายและลองลอยไปกับความรื่นรมยของชีวิต แบบพอพวงมาลัยไปวันแลววันเลา พอแมซึ่งมีฐานะพอมีอันจะกินเริ่มเปนหวงกับ การใชชวี ติ สนุกไปวันหนึง่ ๆของลูกชาย แลววันหนึง่ แมกต็ ดั สินใจเรียกแม็คเครมา เกลี้ยกลอมใหลูกชายรูจักทำมาหากินเสียบาง ไอที่จะมานั่งแบมือของเงินพอแม 22 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ไปเที่ยวไปเลนไปกินนั้นนะ พอแมไมรังเกียจหรอก แตพอแมไมรูจะเอาหนาไปไว ทีไ่ หนเวลาทีม่ คี นเขาถามวาลูกชายทำงานอะไร เพราะฉะนัน้ ถาลูกยังเห็นแกหนา พอแม ยังรักพอแมอยูละก็ ขอใหพอมหาจำเริญไปทำงานอะไรก็ไดสักอยางใหได ชื่อวามีงานทำก็แลวกัน วาแลวแมกแ็ นะนำใหไปทำงานทีโ่ บสถแหงหนึง่ งานนีเ้ ปนงานมีเกียรติจงึ ไมมเี งินเดือน แม็คเครยอมไปทำงานตามใจแม ทำไปทำมาแม็คเครเกิดซาบซึง้ ในพระศาสนาเขา ก็เลยตั้งตนศึกษาภาษากรีก และเขารวมกิจกรรมตางๆของโบสถมากขึ้นทุกทีๆ คนเราพอเขาวัด ก็ตอ งหางเพือ่ นฝูงและการสมาคมเปนธรรมดาเพือ่ นๆของแม็คเคร ขาดสปอนเซอร เอย! ไมใช ขาดเพือ่ นซีท้ เ่ี คยเทีย่ วหัวหกกนขวิดมาดวยกัน ก็เห็น วาจะไมไดการแน พวกนั้นไมอยากมีเพื่อนเปนพระหรือวานักเทศนหรอกและถา ขืนปลอยใหแม็คเครเปนยังงีไ้ ปเรือ่ ย ก็คงตองเสียเพือ่ นรักไปเปนแน เมือ่ ไดปรึกษา กันดีแลว เพื่อนของแม็คเครกลุมหนึ่งก็พากันไปซุมคอยอยูหนาโบสถคืนวันศุกร คืนหนึ่ง แม็คเครเปดประตูโบสถออกมาจะกลับบานก็ถูกเพื่อนกลุมนั้นลากตัวขึ้น รถมา เอาตัวไปกักไวที่โรงแรมแหงหนึ่งถึงสามวันสามคืน พวกนั้นกรอกเหลา แม็คเครแลวยังไมพอ ยังกรอกหูแม็คเครอีกวา ไอชวี ติ ในวัดในโบสถนะ มันเหมาะสม สำหรับคนแก เขาแสวงหาทางไปสวรรค หนุมๆอยางเรานี้นะสวรรคมันอยูบนดิน ไอที่เอ็งคิดจะเขาวัดนะ คิดผิดนะเพื่อน ชีวิตลูกผูชายนั้นเขาพิสูจนกันที่โลกภาย นอก ไมใชที่วัด ผลที่สุดแม็คเครก็พายแพแกมารผจญ ยอมใหเพื่อนๆลากไปใช ชีวิตสำมะเลเทเมา เชาถอน ตอนบายเติมใหม เปนวัฏจักรเชนนี้เรื่อยไป แม็คเครเลิกไปทำงานที่โบสถตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา เขาหันไปหางานอื่นทำเพื่อ ปองกันชาวบานนินทา เขาไปทำงานกับพวกสถาปนิกอยูพักหนึ่งก็เลิก หันไป ศึกษาวิชาศิลปะแทน นัยวามันเหมาะกับชีวิตอิสระเสรีเหมือนนกดีแท พอเรียน ไปไดสกั พักหนึง่ พระเอกของเราก็เกิดมีสจั ธรรมขึน้ มาเองเห็นเชียววาไอทเ่ี ขาไปร่ำเรียน


ชีวิตของเขา มีความสุขตลอดมา ก็เพราะเขาไมเคยใสใจ กับเรื่องเงินๆทองๆ และไมแยแส กับความสำเร็จเลย ทุกวันๆนั้นนะมันไมไดเสริมสรางสติปญญาอันเปรื่องปราดอยูแลวของเขาใหงอก งามขึ้นมาเลย แม็คเครก็เลยหยุดเรียน เขาหันมาทำงานโฆษณา แตนิสัยเหยียบ ขี้ไกไมฝอของเขาก็ปรากฏออกมาจนได มีงานใหเขาทำเพียงไมกี่ชิ้น แตแม็คเคร ก็ไมไดสนใจทำหรือตั้งใจทำมากนัก งานของเขาจึงอยูในลักษณะทรงกับทรุด ลม ลุกคลุกคลานเรือ่ ยมา เขาหันมาเขียนรูปบาง เขียนไดเพียง 2-3 รูป ก็เลิก ลองหัน มาแตงโคลงกลอนเลนๆพอไดโคลงสัก 2-3 บท ก็วางมือไปแตงงานกับสุภาพสตรี ฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากแตงงานไดสักพัก เขาก็พาเมียอพยพไปอยูที่ซิดนีย เขาพยายามทำมา หากินดวยวิชาศิลปะที่เขาร่ำเรียนมา แตนิสัยจับจดรักความสบายทำใหเขาทำเงิน ไดไมมากนัก แม็คเครหันมาเขียนหนังสือ แตก็รูสึกวาผลงานของตัว ยังไมถึงขั้น แมวาเพื่อนๆจะพากันชมเชยวาแม็คเครมีแววที่จะเปนนักเขียนที่ดีในอนาคต เขา ก็ยังไมปลงใจเชื่อนัก คิดแตวาเพื่อนมันยอใหสบายใจเทานั้นเอง ตอมาเพื่อนๆก็ เก็บเอาโคลงกลอนที่เขาเขียนเลนๆไปพิมพเปนเลม ตอนนั้นแม็คเครอายุสามสิบ สามป หนังสือรวมบทกลอนเลมแรกของเขาชือ่ “Satyre and Sunlight” แม็คเคร ไมไดลิขสิทธิ์ในการพิมพหนังสือของเขาแมสักสตางคเดียว แตเขาไมเห็นจะเดือด รอนอะไร โชคดีที่แม็คเครมีเมียรวย เขาจึงไมตองรับภาระคาใชจายในบาน เมียเขาเสียอีก ตองเปนธุระเอาเงินใสกระเปาใหพอเจาประคุณสามีเสมอๆ เวลาที่เขาจะออกไป ไหนๆ แม็คเครใชเงินอยางไมอินังขังขอบ มีเทาไหรก็ใชหมดเกลี้ยงกระเปาทุกที นึกอยากจะซื้ออะไรก็ซื้อ บางทีก็ทำหายบอยไป วันหนึง่ แม็คเครไปเจอเพือ่ นศิลปนเกาแกชอ่ื มิค ปอลเขาโดยบังเอิญ เขาเอยปาก ชวนเพือ่ นไปกินอาหารกลางวันดวยกันทันที ทัง้ ๆทีต่ วั เองไมเงินสักแดงในกระเปา มิค ปอล ซึ่งใสดวงตาปลอมขางหนึ่ง รีบตอบรับคำเชิญดวยความดีใจ ทั้งสองคน ไปกินอาหารกันที่ภัตตาคารแหงหนึ่ง สั่งพายเนื้อมากินกันอยางปรีเปรม ขณะที่ กินพายเนื้อชิ้นสุดทายคนละชิ้น แม็คเครชะโงกหนามาพูดกับปอลวา “มื้อนี้คุณจายนะ ผมถังแตกวะ” ปอลแทบสำลักพาย รีบบอกแม็คเครวา “เพื่อนเอย! ผมกำลังถังแตกเหมือนกันวะ !” แม็คเครไดยินคำตอบของเพื่อนแลวก็พึมพำวา “ไมเปนไร” แตมิคปอลนะสิกังวล เสียจนกลืนอะไรไมลงคอ แลวแม็คเครก็กระซิบขอยืมลูกกะตาปลอมของปอลพอ ปอลแกะจากนัยนตาสงให แม็คเครก็วางหมับลงบนชิ้นพายเนื้อในจานตรงหนา พลางสงเสียงโวยวายเรียกบอยเอ็ดตะโรลั่น “ทำยังงี้ใชไดเรอะ ทำอาหารประสาอะไร - หือ ดูนี่- มีลูกกะตาคนสงมาดวย ยัง งี้ใครจะกินเขาไปลง” บอยเห็นลูกนัยนตาประหลาดกลิง้ อยูบ นชิน้ พาย ก็ตาเหลือกผูจ ดั การกับพนักงาน

ในรานวิ่งกรูกันมาดูพายประหลาดกันทั้งราน กวาพวกนั้นจะรูวาอะไรเปนอะไร แม็คเครกับเพื่อนก็ลองหนหายตัวไปซะแลว ป ค.ศ. 1914 แม็คเครนึกอยากจะเดินทางทองเทีย่ วไปไกลๆ เพือ่ หาประสบการณ ชีวิต เขาชวนเมียไปดวย แตเมียหวงงานธุรกิจไปดวยไมได แม็คเครจึงตองไปคน เดียว เขามุงหนาไปลอนดอนกอน แลวก็ตอไปนิวยอรค เขาไปสมัครแสดงละคร ที่นิวยอรคและก็ไดเลนสมใจ ที่ไดเลนก็เพราะเขามีบุคลิกดี มีเสนหเตะตาคน งานละครของเขารุงเรืองดีจนกระทั่งไดเซ็นสัญญาไปแสดงที่ลอนดอน ดวยแตพอ เรือออกจากทา เขาเกิดคิดถึงบานขึ้นมาอยางรุนแรง จึงเปลี่ยนใจกะทันหัน แม็ค เครรีบความหีบหอของสวนตัวกระโดดขึ้นเรือ หอบของไปขึ้นรถไฟไปเมืองซาน ฟรานซิสโก แลวก็จบั เรือกลับออสเตรเลียบานเกิดเมืองนอนและทีซ่ านฟรานสิสโก นั่นเอง เรือลูซิตาเนียถูกเรือดำน้ำเยอรมันยิ่งถูกเรือดำน้ำเยอรมัน ยิงคนจมคน โดยสารบนเรือพันกวาคนตายเรียบ โชคดีที่แม็คเครเปลี่ยใจเสียกอนถึงรอด ชีวิตมาได พอกลับมาถึงออสเตรเลีย แม็คเครก็หากินทางแสดงละครตอไป เขาไดเลนหนัง หลายเรื่องดวยกัน ระหวางนั้นเขาแตงโคลงขึ้นอีกหลายบท แตก็เขียนทิ้งๆขวางๆ โดยไมใสใจนัก จนกระทั่งเพื่อนสนิทที่ซี้กันเอยปากถามวา “เพื่อนเอย! ตอนนี้ เพื่อนยังแตงโคลงแตงกลอนอีกหรือเปลา” นั่นแหละ แม็คเครถึงไดควักกระดาษ เกาๆปกหนึ่งออกมาสงให เพื่อนอานแลวก็ตาลุก ดีดนิ้วเปาะๆวายังงี้มันตองเอา ไปพิมพเปนเลมขายไดแหงๆ เขาบอกเพื่อนวา “เอ็งจะเอาไปทำอะไรก็ตามใจเอ็ง เหอะ (โวย) เขาไมสน” และแลวหนังสือคำรอยกรองชื่อ “นาวาแหงสวรรค” (The ship of heaven) และ “ลำนาจากพงพี” (Voice of the Forest) และ บทรอยแกวชื่อ “เพื่อนของพอ” (My father’s Friends) กับ “เรื่องอานเลนๆ” (Story Book Only) จึงไดเกิดมาใหมในบรรณพิภพ ในฐานะนักกวีและกวีผูมีเสียงหอมฟุง แม็คเครเคยตองรับมากมายที่สนใจ งานของเขา สวนมากเปนนิสิตนักศึกษาที่ตองการสัมภาษณชีวประวัติของแม็ค เครในการเขียนไปลงหนังสือพิมพหนังสือนิตยสารตางๆ แม็คเครไมชอบเลยที่ ตัวเองตกเปนขาว เรียกวาไมชอบเปนคนดังวางั้นเถอะ เวลามีแขกมาหาถาหลบ ไดเขาก็จะหลบไปเสีย ถาหลบไมทัน เขาก็จะวิ่งหนีไปแอบซอนอยูตามโตะบาง หลังตูบาง ขางซอกประตูบาง ปลอยใหเมียรับหนาทุกที แม็คเครตายเมื่ออายุ 81 ป กอนตายเขาพูดเสมอวาชีวิตของเขามีความสุขตลอด มา ก็เพราะเขาไมเคยใสใจกับเรื่องเงินๆทองๆ และไมแยแสกับความสำเร็จเลย เขาบอกวา “ผมคิดเสมอวาผมเปนคนไมคอยจะเต็มเต็งนัก” คำพูดของแม็คเครทำใหคิดนึกเขียนบานเรา โดยเฉพาะนักเขียนทีมตวย’ตูน ซึ่ง หลายคนคงมีโลกทัศนในการใชชีวิตเหมือนกับนักเขียนชาวออสเตรเลียคนนี้ 23


True story

True story อุทาหรณ...ชีวิต Story by Chaisuda Gaylard

à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒà¢Õ¹ ¨Ò¡»Ò¡¼ÙŒà¢Õ¹ ©ÒÂÊØ´Ò à¡ËÅÒ´

ขอเรียนทานผูอานวา ดิฉันเปนเพียงนักเขียนสมัครเลน เรียนจบแคชั้น ประถม ไมเคยมีประสบการณดานงานเขียนใดๆมากอน ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต กลายเปนแรงผลักดันและแรงบันดาลใจใหดิฉัน ใชเปนโอกาสเริ่มงานเขียนขึ้นเปนชิ้นแรกในชีวิต หลายทานอาจสงสัยวา ดิฉันมีจุดประสงคสิ่งใด ทำไมคนจบชั้นประถม จึงอยากจะเปนนักเขียน นักละ? แนนอนวาทุกเรื่องราวยอมมีเหตุผล และมีที่มาที่ไป ขอสรุปงายๆในตอน นี้วาชะตาชีวิตลิขิตใหเปนแบบนี้ บวกกับความโชคดีที่มาพรอมกับความ โชคราย ดิฉนั จึงกลายเปนนักเขียนจำเปน สำนวนและศัพทอาจไมไพเราะ เสนาะอารมณ แตดิฉันก็เขียนออกมาจากใจและความรูสึกที่มี ทำไดเทา ที่จะทำ และจะทำใหดีที่สุดเทาที่จะทำไดคะ จุดประสงคสำคัญของงานเขียนชิ้นนี้ มีความเกี่ยวพันธฉันท ความรัก ระหวางแมกับลูกซึ่งก็มีเรื่องราวนาประทับใจเกิดขึ้นระหวางดิฉันและบุตร ชายเพียงคนเดียว ดิฉันขอเก็บเรื่องราวของเราไวนำเสนอในตอนตอไป ในหนังสือที่มีชื่อวา..เอารอยยิ้มของฉันคืนมา..ซึ่งจะเปนหนังสือเลมแรกที่ ดิฉันทุมแรงกายและแรงใจเขียนเพื่อเปนของขวัญสำหรับลูก และคงเปน เพียงอนุสรณแหงความรักเพียงชิ้นเดียว ที่ดิฉันสามารถและจะพยายาม ตั้งใจทำใหลูกกอนที่เวลาอันมีคาของดิฉันอาจจะหมดไปได ตอนนี้กำลัง ดำเนินงานอยูและหวังวา คงเขียนจบทันกอนวันเกิดลูก ภายในเวลาอีก สองปขางหนา อีกจุดประสงคหนึ่ง ก็เพื่อเปนการเผยแพร ใหเปนอุทาหรณและคติ เตือนใจ และเพื่อเปนแรงบันดาลใจใหกับทุกๆคน ดิฉันหวังวา เรื่องราว ที่นำมาเสนอตอไปนี้คงมีสวนชวยหรือเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุน ที่ สามารถชวยใหทาน รูสึกมีกำลังใจที่จะลุกขึ้นและรับมือกับปญหาตางๆได และหวังอีกวาคงเปนสาระประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันของทาน ไดอยางมีประสิทธิภาพและมีความสุขตลอดไปเชนกัน ดวยความปรารถนาดี.. 24

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ดิฉัน ฉายสุดา ผานความราวฉาน มามากมาย กวาจะเขาใจอะไรๆ ก็เสียน้ำตา มาแลวเปนถังๆ

ลายปพ.ศ 2556หลังจากพานพบประสบกับมรสุม โดนมิตรรุม ทำราย รางกายก็เจ็บปวย ซวยซ้ำ ซวยซอน ครั้นจะโทษโชค ชะตาก็หาใชไม ตัวเรานี่แหละตองทำใจ จะโทษใครไดนอกจากตัว เราเอง ปญหาทุกอยางเราคือคนสราง แมบางครั้งจะเปนแควาสนา ที่พาไป เมื่อเกิดปญหาตองแกที่ใจ ไมวาเรื่องใดๆจะชาจะเร็วก็ตอง มีทางแก เจ็บปวยทางกายรักษาไมนานก็หาย แตเจ็บปวยทางใจ ตองใชสติ ทบทวน บวกลบคูณหารประมาณใหได แลวตอบโจทย ไมจำเปนตองตอบถูก ทุกขอแตขอใหสอบผาน จะจบชั้นประถมหรือมัธยม ปญหาก็มีใหแกเทาเทียม กัน จะมากจะนอยก็อยูที่วา จะหาทางแกหรือหาทางออก จะใหดีกวานั้น ควร หาทางรอด เพื่อมีชีวิตที่สามารถอยูไดอยางสุขสดใส ดังตะวันทอแสงในยามเชา เจิดจรัสในยามบายและมืดดับไปในยามค่ำคืน เมื่อจิตสงบ เราก็มีสติ ทุกอณูของรางกายเริ่มผลิตสารเอ็นดอรฟน รอยยิ้มผุด บนใบหนาของ ฉายสุดา อีกครั้ง ฝรั่งขอแตงงาน เขาไมหวานปานน้ำผึ้ง ไม ทะลึ่งจนนาเกลียด หนาตาพอใชไดแตก็ไมใชปญหาใหญที่ตองวอรี่ นอกเหนือ จากความดีและความเสมอตนเสมอปลายแลว เขายังเปนคูทุกขคูยาก ลำบาก ตรากตรำ ทำดีตอเรามาโดยตลอด ยามเราลมเขาคอยฉุด ยามเราหยุดเขาคอย จูงมือ ยามเราดื้อเขาสอน ยามนอนก็หมผา ยามมีน้ำตาก็ซับให ยามเราบา เขาหัวเราะ ไมเคยกระเทาะใจ ที่เคยบอบช้ำของหญิงคนนี้ จะเปนเพราะบุญ เกาที่เคยมี หรือความดีที่เคยสะสม ก็ไมอาจเดาได แมสวรรคจะประทานโรค รายมาให แตในเวลาเดียวกัน ทานก็สงนางฟาประจำใจมาใหไวครอบครองได อยางเสียอยาง...นี่แหละสัจธรรมของชีวิต ฉายสุดา หรือเหนง คนนี้ไมเคยนึกเคยฝน วาวันหนึ่งจะไดเปนเจาหญิง พบเจอ กับเทพบุตรตัวจริงที่อิงมาจากนิยาย สายใยรักฟูมฟกเราสอง หาใชมนตเสนห เลหลวงหรือลุมหลงเหมือนในอดีตไม เพราะเปนรักที่ชวยกันปรุงแตง เปรียบ ไดดั่งการปรุงอาหารจานโปรด ใสโนนนิดนี่หนอย ผลัดกันชิม ผลัดกันใส เธอ ชอบแบบไหน ฉันชอบแบบนี้ หากเผ็ดไปก็ยอมลดพริก แมจะไมใชรสชาดที่ เราอยากกินจนลิ้นแตกน้ำลาย แตก็สามาถกินไดดวยกันอยางเอร็ดอรอยเพราะ ความรัก เราตองรูจักคำวา เสียสละชีวิตคูมันถึงจะไปกันรอด ชายดีนะมี หญิงดีก็เยอะ แลวแตบุญวาสนา จะคบกับใครก็ตองมองใหออกวา เขาดีแคไหน ดีอยางไร ใชเวลาทบทวน ไมใชสืบสวนสอบสวน จนเขากลัวจน หัวฟูวิ่งแจนหนีเขาปา แลวจะมานั่งบน นั่งวา หาวาเขาใจดำ กล้ำกลืนกินน้ำตา ดิฉัน ฉายสุดา ผานความราวฉานมามากมาย กวาจะเขาใจอะไรๆ ก็เสียน้ำตา


มาแลวเปนถังๆ รักนั้นไมจีรัง หากยังขาดองคประกอบมากมายคำพังเพยกลาว ไววา ฟาหลังฝน ยอมมีความสวยสดใส ความรักนั้นไซร ตองใชเวลา สมัยนี้ ความรักมันรุนแรง รีบแซงไฟเขียว เห็นเลี้ยวซายคิดวาผานตลอด สุดทายตอง จอดเพราะขับเร็วเกิน เผลอๆเสียหลัก พลิกคว่ำคะมำจนเจ็บ บาดแผลคมลึก ฝงใจตรอมตรม บางรายหาทางออกไมได ดวนตัดชองนอยแตพอตัว ยังไมทันที่ จะมีโอกาสไดพบใครใหมที่อาจ ดียิ่งกวา ความรักตองใชเวลา มันถึงจะมีคาจึง เรียกไดวา รักยืนยง งานแตงก็แคภาพลักษณเพื่อเปนที่เชิดหนาชูตา ถาจะใหดีอยูดวยกันนานๆรัก กันนานๆงานแตงเมื่อไหรก็ได อยางนอยเราก็รูแลววา หัวใจของเราพรอมที่จะ มอบใหกันและกัน ปสองปไมพอ ขอเปนสี่หาหก หากยังไมตกลง ก็จงตัดสินใจ วาจะอยูหรือจะไป บางครั้งเราตองเปนฝายรุกบุกใหถึงที่ พี่คะพี่รักหนูไหมเอา ยังไงชวยบอกมา อยามัวรอชา เพราะหนูกลาไปนะจะบอกให ไมแตงก็ใหมนั รูไ ป… กอนสามีขอแตงงาน วางแผนกันวาจะมีลูกนอยกลอยใจไวเปนเพื่อนเลน แมนิด พอหนอยคงนารักดี แตโชคไมเขาขาง หนทางไมเปนใจ วัยทองกำเริบอารมณ ขึ้นๆลงๆ อยูดีๆก็เหงื่อแตก เดี๋ยวรอนเดี๋ยวหนาว รอบเดือนมาไมปกติ เดี๋ยวก็ เศรา เดี๋ยวก็ยิ้ม หนักเขาก็ตองพึ่งหมอ เพราะขาดฮอรโมนเอสโตรเจนเปนโรค กระดูกพรุน สุดทายหมอใหยามากิน ดิ้นรนตอ ใหหมอทำกิ๊ฟ หาเรื่องเสียเงิน ชะตาฟามักลิขิต ใหชีวิตพลิกผลัน คนอยากมี มักไมได คนไมอยากได มักไมมี สรุป ฟาประทานใหแคเทพบุตร แตไมยอมใหบุตรหรือธิดาตัวนอยๆมาเกิด สามีไมเคยแตงงานไมเคยมีลูก เพราะความรักคือการให ดิฉันบอกเขาใหเขาใจ เธอจะไปเพื่ออนาคตใหมฉันจะยอม แมจะตรอมตรม ขมขื่นแตไมขื่นขม ไมรั้ง ไมเหนี่ยว ใจดวงเดียวที่มี เพราะรักจึงยอมพลี เพื่อเธอไดสุขใจ มารคบอกวา ผมรักคุณ และจะขออยูรวมทุกขรวมสุขกันจนกวาจะแกเฒา เรางี้น้ำตาซึม ฉากรักจึงเริ่มตน พระเอกหนามนคุกเขาในครัว ใชกระดาษอลูมิเนียมพับเปน เสนๆแลวมวนเปนรูปแหวนแทนของจริง ขอผูหญิงชื่อ ฉายสุดาแตงงานในที่สุด หกปในการใชชีวิตอยูรวมกัน พรอมคำมั่นสัญญา ไมเสียเวลาที่ศึกษารวมกัน มานาน วิมานฉิมพลีเริ่มจากตรงนี้เปนตนไป ลูกมากยากจนดั่งที่เคยเห็นมาแลวจากชีวิตของแมและญาติพี่นอง ดิฉันไมยอม ใหอดีตซ้ำรอย ไมปลอยปละละเลย จะเที่ยวสนุกสุดเหวี่ยงหรือเมามันสแคไหน ก็ไมยอมใหกิเลสครอบงำ จนลืมความรับผิดชอบ ถึงจะไมไดมีความรูดานการ วางแผนครอบครัวแตประสบการณที่เคยเลี้ยงนองตาดำในวัยเด็กก็สอนเสมอวา หากยังเอาตัวไมรอดก็อยาริที่จะมีลูก อยาทำใหเขาเกิดมาเพราะเหตุผลโงๆอยา ทำใหเขาเกิดเพราะอารมณชั่ววูบตัณหาพาไป หากไมเคารพตัวเองก็โปรดจง เห็นใจชีวิตนอยๆที่ตกเปนเหยื่อของความมันสเพียงชั่วคราว ลืมตามาไมทันไร ก็ไมรูจักพอเสียแลว หลายรายยังไมทันไดเกิด ก็ถูกมนุษยที่เรียกชื่อวาแม ทำลายชีวิตคิดเอาตัวรอด สรางบาปสรางกรรม คนเดียวไมพอ มีสองสามสี่ อยางงี้ไมเรียกวาเห็นแกตัวแลวจะเรียกวาอะไร ไมมีลูกไมมีปญหา สองตายายพากันไปฮันนีมูน ดื่มน้ำผึ้งพระจันทรอันแสน หวานฉ่ำ พากันย่ำทั่วอเมริกา ฉายสุดาเกิดมาไมเคยนึกเลยวา จะไดมาเหยียบ ย่ำแดนใกลถึงเพียงนี้ ไปเที่ยวดิสนี่ยแลนด ดินแดนแควนสนธยา ดีใจนักหนา นี่หรือชีวิต ฉายสุดา ไดมาพบเจาชาย ขณะที่ชีวิตกำลังโลดแลนราวกับรุงทอ แสง เปลงประกายในยามเชา เหมือนดวงดาวระยิบระยับในยามราตรี สุขไปทุก ที่ สุขีไปทุกครา เหมือนสายธาราเย็นฉ่ำชื่นใจ ฟาประทานความสุขมาใหเพียงแคลิ้มลอง เปนเพียงบททดสอบวาเราจะรับมือ กับความทุกขเข็น ใหอยูอยางสงบรมเย็นไดอยางไร ดังพระพุทธเจาทานไดสอน ไว เมื่อมีสุขไดก็ยอมมีทุกขได นั้นจริงแนนอน รอยยิ้มของฉายสุดาที่เคยบาน รา ถูกสั่งปดชั่วคราว ราวกับโดนมนตดำ ตอนมีความสุข ลืมทุกขสนิทหลังจาก คิดเปนคนดี เลิกสูบบุหรี่กินเหลาและเมายา พาเดินออกกำลัง ทำดีมักไดชั่ว ทำชั่วมักไดดี คงเปนคำพังเพยใหม ที่ตั้งใหกับตนเอง กินยาเสริมฮอรโมนไดไม ถึงป อาการปวยเปนโนนนี่นั่น ทั้งวัยเงินวัยทองยังไมบวกับวัยอลวน ที่เคยผาน มา สมองเริ่มทำงานอยางเชื่องชา เพราะมัวแตกังวล บนกับตัวเองโทษเบื้องบน ทำไมชางโหดราย ขออยูอยางสบายๆสักครั้งมั่งไมไดหรืองัย หลังจากเขาๆออกๆโรงพยาบาล ตั้งแตเริ่มตนทำกิ๊ฟหรือ IVFคำยอมาจาก อินวิ โทร เฟอรติไลเซชั่น หมั่นทองจนจำได สุดทายพลาดหวังไมไดลูกแตไดโรค วัยทองไมทันจะหาย วัยชราก็มาแทรก เดี๋ยวปวดหลังปวดเอว ปวดนม เอาเขา ไป ชีวิตตรู ยาฮอโมนสที่กินชุดแรกประสิธิภาพไมแรงพอ หมอจึงเพิ่มปริมาณ ตัวนี้ถาจะแรงจัด ซัดไดไมกี่อาทิตย หนาอกบวมเตงราวกับคนทองแถมมีอาการ ปวดหนัก ชักสงสัยแตก็อดทนกินจนหมดแผง กลับไปหาหมอ ใหยาตัวใหม รูปแบบใหม ไมถึงสองอาทิตย หนาอกลดลง แตดันแถมกอนเนื้อตะปุมตะป�

เปนล้ำๆอยูดานใน เหนือทรวงอกขางซาย กดดูทีไรรูสึกเจ็บแปลบๆทุกที เพราะเปนคนชางสงสัย เปนอะไรปุปก็หาหมอปป ไมยอมรอรีเพราะอดีตเคย เปนมะเร็ง กอนไปหาหมอ เปดเน็ตหาขอมูล ศึกษาหาอาการมะเร็งเตานม ในเน็ตบอกวา อาการของเนื้องอกหรือมะเร็ง หากกดลงที่จุดของเนื้องอกแลว ไมรูสึกเจ็บ นั่นคือสัญญาณอันตราย ของเรารูสึกเจ็บจี๊ด ก็เลยรูสึกผอนคลาย คิดบวกอยางเดียววา คงเปนกอนเนื้อธรรมดาที่พบไดตามรางกายของคนเรา ครบกำหนดวันไปหาหมอ จิตใจไมคอ ยดี ขัน้ ตอนการตรวจตัง้ แตหมอจับๆคลำๆ จนไปถึงถายแมมโมแกรม เครื่องมือทันสมัยที่สามารถบงบอกไดเลย วาเปน อะไร ระหวางรอผลใชเวลาเปนอาทิตย จึงหาเวลาเขาวัดฟงธรรม ปฏิบัติไดมั่ง ไมไดมั้ง แตไมพลั้งจิตคิดเลวทราม เจอเพื่อนๆพี่ปานาอา ที่วัดก็ถามอาการ ดวยความเปนหวง อธิบายเสร็จ บางก็บอก โอยไมเปนอะไรหรอก อยาคิดมาก แตละกำลังใจก็แตกตางกันออกไป บางก็แนะนำใหกินโนนนี่นั่น งดกินของหมัก ของดอง สมตำปูปลาราปูดอง ตองงดทันใด หันมากินผักเตาหูปลานึ่งตำลึง คำแนะนำที่ดูจะเยอะจนเราก็ละเหี่ยใจ ตอบคะๆๆบอกเขาไป วาหนูจะลองดู วันฟงผลตรงกับวันศุกร สามีไปทำงาน ทุกคนตางยุงกับชีวิตประจำวัน ดิฉันไป หาหมอคนเดียว เสียวสันหลังวาบๆแตทำใจดีสูเสือ คิดอยางเดียววา ทุกอยาง จะตองผานไปดวยดี เดินเขาไปพบหมอ ลมหายใจเริ่มติดขัด อึดอัดในทรวง พยายามหายใจลึกๆเขาออก เพื่อผอนคลายความตึงเครียด หมอเดินเขามาทัก ทายพรอมกับรอยยิ้ม จากนั้นเอาแผนฟลมไปเปดดู เวลาผานไปหานาที หมอ กดเครื่องพิมพ มีกระดาษออกมา ไมทันที่จะพูดอะไร ความรูสึกของเรานั้นไป เสียแลว บอน้ำตาเริ่มเออลน จนหมอตองนั่งยองๆประคองไหลกุมมือ น้ำตาเจา กรรมก็พรั่งพรูออกมาตามสันชาติญาณ หมอบอกวา ดิฉันเปนมะเร็งเตานม ระยะแรก กอนเนื้อใหญประมาณ สองเซ็นต ตองทำการผาตัดโดยเรงดวน เพื่อเอาเซลลรายออกไป ดั่งฝนรายกลายเปนจริง เมื่อหมอบอกตออีกวา ฉายสุดาตองรับการบำบัดดวยยาคีโมยังไมทันที่หมอจะพูดตอ ดิฉันก็รองไหโฮ สะอึกสะอื้น จิตตก เนื้อตัวเบาหวิว สายรุงที่เคยทอแสงประกาย ไดดับวูบไป พรอมๆกับความมืดมิดของโลกใบสวยที่ดิฉันเคยเห็นมา ความรูสึกตอนนั้น มันเจ็บปวดจนบรรยายไมถูก เดินออกจากหองอยางเลื่อนลอย น้ำตาไหล ตลอดเวลา ไมมีคนกอดหรือใหซบไหล เดินขึ้นรถนั่งรองไหอยางหนัก สักพัก ตั้งสติโทรหาสามี จากนั้นขับรถกลับบาน รองไหตอเปนระยะๆ 25


© reddangelo พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting ติดตอทีมงานของ Skillpoint Consulting ไดตามนี้เลยครับ สาขาบริสเบน ออสเตรเลีย : Suite 2224, Level 22 Pipe Networks Building127 Creek Street, Brisbane QLD 4000 Contact: 07 321 8744, 0451 257 979

Visa corner

ÇÕ«ҹѡàÃÕ¹ แบบไหน

ทำงาน

เหมาะที่จะ

ท ี ่ อ อ สเต รเ ล ี ย

วัสดีครับนองๆ พี่ๆ ในบริสเบน อากาศรอน แบบนี้ ใจอยารอนไปดวยนะครับ ใจเย็นๆ สบายๆชิวๆ เดียวฤดูหนาวก็กลับมา ใชฤดู รอนนี้ใหเปนประโยชน ไปทะเล ชายหาดรับลม อาบ แดดชิวๆกันนะครับ ฉบับนี้พี่แฟรงจะมีชี้แจงแถลงขัย เกี่ยวกับการทำงาน ที่เหมาะกับวีซานักเรียนที่นองๆ ถืออยูหลายๆ คน สงสัยวา การยื่นวีซานักเรียนนั้นมี กี่ประเภทและวีซานักเรียนแบบไหนที่เหมาะกับการมา ทำงานที่ออสเตรเลียมากที่สุด เรามาดูกันกอนวาวีซา นักเรียนแบงเปนกี่ประเภทบาง เรามาทำความรูจักกับ ประเภทของวีซานักเรียนกันนะครับ เราจะแบง Sub class ของวีซานักเรียนเปน 3 ประเภทหลักๆ ที่นัก เรียนไทยยื่นขอวีซาเปนประจำ สวน Subclass อื่นไม ตองสนใจครับ แตถาอยากรู ก็ไปหาดูที่เวบนี้ครับ www.immi.gov.au 1.570 เปนSubclass ที่มาเรียนภาษา 2.572 เปน Subclass ที่มาเรียนระดับ Diploma 3.573 เปน Subclass ทีม่ าเรียนระดับ High Education หลังจากที่เรารูเกี่ยวกับ Subclass แลว คราวนี้ เราก็ จะมาดูวา Subclass ตัวไหนที่เหมาะสมกับการทำงาน และเราเหมาะสมที่จะยื่นวีซาแบบไหน ระหวางยื่นวีซา แบบปกติ หรือ ยื่นวีซาแบบออนไลน การยื่นวีซาแบบปกตินั้น จะยุงยากในเรื่องเอกสารและ เอกสารเกี่ยวกับแบงคสเตทเมนทยอนหลัง 6 เดือน ซึง่ จะเปนขอยุง ยากและนักเรียนไทยสวนใหญจะมีปญ  หา เกี่ยวกับหลักฐานการเงิน แตจะมีขอดีที่วาการยื่นวีซา แบบนี้จะประหยัด และหากวีซาหมดก็สามารถตอวีซา ไดเรื่อยๆ ในราคาถูกและประหยัดกวา การยื่นแบบ ออนไลน หรือ Subclass 573 การยืน่ วีซา แบบปกตินน้ั เราจะตองมีหลักฐานทางการเงินที่สามารถชี้แจงที่มา ของเงินได และแสดงบัญชียอนหลัง 6 เดือนได หาก เรามีสเตทเมนท มีเงิน 4 แสนบาท เราก็สามารถจะ ยื่นขอวีซาเรียนภาษาระยะเวลา 6 เดือน ได และหาก ไมตดิ 8534 เราก็สามารถยืน่ ตอวีซา ทีป่ ระเทศออสเตรเลีย ไดเลย โดยไมตอ งบินมาตอวีซา ทีป่ ระเทศไทย หรือหาก วาเรามีสเตทเมนท มากกวา 8 แสนบาทขึ้นไป ที่ สามารถแจงที่มาของเงินได เราสามารถจะทำเรื่องเปน แบบแพคเกจ คือ ภาษา + ดิปโพลมา ซึง่ จะเรียนภาษา 20-24 สัปดาห และบวก คอรสดิปโพลมาอีก 2 ป ก็จะไดวีซายาว 2.6 ป ขึ้นไป ขึ้นอยูกับตามคอรส และโรงเรียนที่เรียน และหากไมติด 8534 แลว หลัง จากที่เราเรียนจบเราก็สามารถทำการลงเรียนตอไดอีก 26

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ที่ออสเตรเลีย โดยทั่วไปแลวดิฟโพลมา ในSubclass 572 นี้ คาใชจา ยจะถูกมาก ตกแลวประมาณ $1100 -1500 ตอ 3 เดือน และจะเรียน 1-2 วันตอ 1 สัปดาห ซึ่ง เหมาะกับการทำงานมากทีส่ ดุ เพราะเปนคอรสทีป่ ระหยัด และเวลาเรียนนอย ครับ และหากมาเปนคู หรือวีซาติด ตามดวยแลว ก็เทากับวา ลดคาใชจา ยคาเรียนไปไดอกี ครึง่ นึง สรุปวาหากไมมีปญหาเรื่องแบงคสเตทเมนทแลว วีซานัก เรียน subclass 572 จะเหมาะกับการมาทำงานมากที่สุด เพราะราคาประหยัด เวลาเรียนนอย และสามารถตอวีซา ได หากไมติด 8534 การยืน่ วีซา แบบออนไลน Subclass 573กำลังเปนทีฮ่ ติ และ นิยมสำหรับเด็กไทยอยูนะตอนนี้ เพราะดวยเหตุที่วา ยื่น งาย เอกสารนอย และบางครัง้ ก็ไมตอ งยืน่ ใชแบงคสเตทเมนท หรือหากอิมฯ สงสัยตองการขอหลักฐานทางการเงิน ก็ยื่น แบงคการันตี โดยไมตอ งแจงทีม่ าของเงิน หรือใชสเตทเมนท ยอนหลัง 6 เดือน แตอะไรมางายๆ ก็ตองแลกกับคาใช จายที่สูงขึ้นดวย เพราะการยื่นวีซาแบบออนไลนนั้น จะ เปน Subclass 573 คาเรียนนั้นจะแพงกวา Subclass 572 หลักการสวนใหญแลว จะทำการยื่นโดย ภาษา + High Dip หรือ ภาษา + ป.ตรี โดยสถาบันสวนมากจะ ใหจายคาเรียนภาษาเปนจำนวนเต็มและมัดจำระดับ ป.ตรี ซึ่งคามัดจำนี้ จะแตกตางขึ้นอยูกับสถาบัน โดยความเห็น สวนตัวแลวผมถือวาเปนเงินกินเปลา เพราะหากเรายื่น ภาษา + ดิป ของ subclass 572 โดยการยื่นวีซาแบบ ปกตินั้น คาใชจายคือจายเต็มสำหรับคาเรียนและมัดจำ 1 เทอมของดิป เมื่อเราเรียนภาษาจบแลว ก็สามารถเรียน เทอมแรกของ ดิปโพลมาไดเลย แตหากเรายืน่ วีซา ออนไลน ภาษา + ป.ตรี หรือ ภาษา + high dip นั้น คาเรียนตอ เทอมจะแพงมาก จะอยูระดับราคา $4000-7500 ขึ้นอยู กับสถานบัน ซึ่งราคาคาเรียนนั้นจะแพงกวา ดิฟโพลมา Subclass 572 มากกวา 300% หรือสามเทาครับ และ ทำไมพี่ถึงวาเปนเงินกินเปลาหรือเสียทิ้ง พี่จะอธิบายใหฟง เงินมัดจำของ ป.ตรี หรือ high Dip ของ Subclass 573 นั้น สามารถนำมาใชไดก็ตอเมื่อเราเรียนจบภาษาแลว มา เรียนตอ ป.ตรี หรือ High Dip ที่เราไดทำการลงเรียน แพคเกจไวตั้งแตแรก หากความตั้งใจเนนที่จะมาเรียนนั้น และเราเรียนจริงก็ไมมีปญหาครับ แตหากความตั้งใจ เรา มาทำงานนั้น การที่เรียนตอระดับยูหรือ High Dip นั้น คาเทอมก็แพงมาก ก็ไมเหมาะสมกับวัตถุประสงคที่จะมา ทำงาน ซึ่งโดยสวนใหญ เด็กไทยที่มีวัตถุประสงคมาออส เพื่อเนนมาทำงานโดยที่ยื่นวีซาแบบออนไลน 573 นั้นก็ เพราะวาจะเลีย่ งการยืน่ แบงคสเตทเมนทหรือไมมสี เตทเมนท

ยอนหลัง 6 เดือน หรือหากอิมฯ ตองการเอกสารดาน การเงิน ก็จะหายืมเงินหรือ กูเงินแลวมาเดินบัญชี เพื่อขอ แบงคการันตี เมื่อวีซาผานแลวนั้น ก็จะเรียนภาษาจนจบ คอรสที่ลงเรียนไว และจะทำการเปลี่ยนคอรส High dip หรือ ป.ตรี มาเปนดิปโพลมาธรรมดา 2 ป เพราะคาเรียน จะถูกเหมือนกับ ดิปโพลมา subclass 572 ครับ แตจะ เรียนไดแค 1 หลักสูตรเทานั้น ไมสามารถตอ ดิปโพลมา หลักสูตรอืน่ ไดอกี เพราะจะตองกลับไปเรียนหลักสูตรหลัก ที่ยื่นขอวีซาแบบออนไลนจนจบครับ ไมสามารถเปลี่ยน มาเรียนดิปโพลมา subclass 572 หากวีซาที่ยื่นออนไลน นัน้ ติด 8516 แตหากวีซา ไมตดิ 8516 นัน้ การทีจ่ ะเปลีย่ น คอรส จาก subclass 573 มา 572 นั้น จะตองเรียน คอรสหลัก คือ ยู หรือ High dip ที่ลงเรียนเปนแพคเกจ จากเมืองไทย ใหไดอยางนอย 6 เดือน ถึงจะเปลี่ยนคอรส ใหมได ซึ่งเทากับวา เราจะตองเสียเงินคาเรียนไปถึง 2 เทอม จนกวาจะเปลี่ยนคอรสได ซึ่งจะเสียคาใชจายในการ เรียนเยอะมากกวาจะทำเรื่องเปลี่ยนคอรสได และการยื่น เปลี่ยน 573 มา 572 นั้นก็เทากับวาเราจะตองทำการยื่น วีซา ใหมหมด ตองเสียคาธรรมเนียมวีซา และยืน่ เอกสารใหม เหมือนครั้งที่ยื่นวีซาจากเมืองไทยครับ #เพิ่มเติม สำหรับ ผูที่ยื่นออนไลนวีซา 573 นั้นหากติด 8516 นั้น ไมสามารถจะเปลี่ยนมาเปน 572 ได ซึ่งเมื่อ เราเรียนจบภาษาแลว ก็สามารถเปลีย่ นมาลงเรียนดิปโพลมา ธรรมดาได 1 คอรส โดยที่เมนหลักนั้นยังเปนคอรสระดับ Higher Education อยู ซึ่งหมายความวา พอเราจบดิป ธรรมดาแลวก็ตองกลับไปเรียน คอรสหลักที่เราลงมา โดย ไมสามารถเรียนดิปโพลมาธรรมดา หรือยายไป 572 ได ทางออกก็จะมีอยู 3 ทาง สำหรับผูที่มีวัตถุประสงคตอง การมาทำงานแตมาดวยการยื่นวีซาออนไลน 573 คือ 1.ตองทนจายคาเรียนที่แพงตอไปจนจบคอรสและก็ตอง เรียนตอระดับเดียวกันที่คาเรียนแพงตอไป ไมมีทางเลือก 2.กลับไทย 3. โดดวีซา ดังนั้นนองๆควรปรึกษาและหาขอมูลใหดีกอนจะตัดสินใจ เลือกประเภทของวีชานักเรียน ถาจะใหดีควรปรึกษา เอเจนต ผูเชียวชาญโดยเฉพาะนะครับ พี่แฟรงหวังวา ฉบับคงไดชวยนองๆหลายคนไมมากก็นอยแลวฉบับหนา พี่แฟรงสัญญาวาสาระจะยังคงครบครัน ครบเครื่องเรื่อง วีชาครับ พี่แฟรงกี้ สกิลลพอยท


Health & Wellbeing

เพ็ญ ปากกา

สมุนไพร ในปจจุบันคนไทยเริ่มใหความสนใจกับพืชสมุนไพรมากขึ้น ทั้งที่ใชเปนยาบำรุง สุขภาพ และเปนยา รักษาโรค ซึ่งเราถือวาการนำสมุนไพรมาใชประโยชนนั้น นับเปน "ภูมปิ ญ  ญาชาวบาน" ทีส่ มควรแกการอนุรกั ษ อีกทัง้ ในปจจุบนั วิทยาศาสตร การแพทยสมัยใหม ก็หันมาใหความสนใจ กับพืชสมุนไพรดวย ขอดีประการ หนึ่ง ของการนำพืชสมุนไพรมาใชคือ ทำใหเราเริ่มตระหนักถึง ความสำคัญ ของพืชสมุนไพร ที่มีอยูในประเทศ หลายหนวยงาน เริ่มทำการวิจัย และรวบ รวมขอมูล ของสมุนไพรไทย ตั้งแตลักษณะ ทางกายภาพ ของพืชสมุนไพร และสรรพคุณทางยา ซึ่งมีการรวบรวม และตีพิมพ เปนหนังสือ เกี่ยวกับสมุน ไพรหบายๆชนิดมากมาย ซึ่งวันนี้เรามาลองทำชาตะไครเอาไวใชในรานนวด แบบงายๆกันดีกวาวิธีการทำแบบงายๆ ใชสะดวก ใหหาตนตะไครแกสด มา หลายๆตน ลางน้ำใหสะอาด สลัดไลน้ำออก ปลอยใหแหง

Health & Wellbeing เพ็ญ ปากกา

แลวซอยตะไครโดยเลือกเอาเฉพาะสวนหัวหรือเหงา หรือถาหายากก็ใชสวนตน แตใบไมใช นำหัวหรือตนมาซอยหรือหั่นเปนชิ้นบางๆ แลวตั้งกระทะใชไฟออน นำตะไครซอยลงไปคั่ว ใหรอนและสังเกตเปลี่ยนเปนสีออกเหลืองๆ ตะไครจะแหงมีกลิ่น รอตะไครเย็นเก็บในขวด โหลไวใชได แบงตะไครออกมาสัก 1-2 หยิบมือ ชงกับน้ำเดือดรอนๆ 1 แกว ปดฝาแกวรอ อุนๆ แตงน้ำผึ้งน้ำตาลไดตามชอบใจ ดื่มกินเปนยาแกความหนาว แกไขและชวยแกอาการ ปสสาวะขัดไดดี บางคนมีเวลาพิถีพิถัน ก็อาจหั่นซอยตะไครเปนแวนๆแลว นำไปตากแดด ใหแหง ยิ่งแดดฤดูหนาวจัดนักแหงเร็ว ทำครั้งละมากหนอยแบงกินแบงใชหรือจำหนาย สรางเศรษฐกิจฐานรากก็ยงั ได เวลาใชกเ็ หมือนกับทีท่ ำแบบคัว่ ใช 1-2 หยิบมือ ชงน้ำเดือด ปดฝาทิ้งไวรออุนๆคอยกิน แนะนำใหกินยังรอนๆอุนๆ จะอรอย ถาปลอยใหเย็นแลวรสชาติ แยนะจะบอกให แตถาบางคนไมอยากรอ ไมอยากยุงยาก ตองการทำอะไรไวๆ ในยุค 4G ใหใชตะไครแกสด ลางน้ำแลวนำมาหั่นเปนแวนๆ บางๆ เชนกัน นำมาสัก 1 กำมือ นำไป ตมกับน้ำเลย แบงกินวันละ 3 มื้อๆ ละ 1 แกวก็ได อาจเก็บในกระติกน้ำรอน หรือกอน กินก็อุนยา แนะนำใหกินกอนอาหารนะ วิธีที่แนะนำนี้ยังใชแกไขหวัด ไขเปลี่ยนฤดูจากฤดู ฝนเขาสูฤดูหนาว หรือฤดูหนาวเขาสูฤดูรอน หรือฤดูรอนจะเขาสูฤดูฝนก็ไดทั้งหมด นอก จากภูมิปญญาไทยใชเครื่องดื่มรอนนี้แกไข ไลอาการหนาวแลว ในตำราโบราณของชาว อินเดียก็ยนื ยันวา ยาชงจากตะไครนค้ี วรกินในขณะอุน ๆ ขับเหงือ่ ในคนทีเ่ ปนไขไดผลดีมากๆ โดยเฉพาะใครที่เปนไขออนเพลียยิ่งควรใชยาชงตะไคร ยาชงตะไครมีชื่อเสียงเปนที่รูจักกัน ดีในการแกไขหวัดและที่นาสนใจยิ่งในการดูแลหรือบำรุงไต ซึ่งทำหนาที่ขับปสสาวะขับของ เสียออกจากรางกาย เครือ่ งดืม่ รอนๆ เมนูตะไครทท่ี ำไดเองนี้ ชวยแกอาการขัดเบาหรือใคร ที่ปสสาวะไมคลองติดๆขัด แตยังไมถึงกับมีอากาการบวมนะ ใหมาดื่มชาชงตะไครรอนๆ เปนประจำ ชวยทำใหปสสาวะคลอง และนาจะเหมาะกับผูสูงวัยที่กำลังมีอัตราเพิ่มขึ้นใน สังคมไทย จะไดชวยสุขภาพบำรุงธาตุไฟ ขับลมในทอง ชวยยอยอาหาร กินอรอยยอย อาหารสะดวก รางกายก็แข็งแรงมีอายุยืนยาว ฉะนั้นถาหากรานอาหารหรืรานนวดหรือ คุณแมบานที่สนใจลองทำดูนะคะประหยัด ปลอดภัยและไดคุณคา ขอบคุณขอมูลดีๆจาก มูลนิธิสุขภาพไทย

Shopping IN BRISBANE

Student Agent & Airline Ticket

www.facebook.com/nadia.bestfriends

มองหาตัว๋ เครือ่ งบินราคาถูก และเอเจนสำหรับนักเรียน นักศึกษา ดวยประสบการณกวา 9 ป ในบริสเบน ควีนสแลนด ใหคำปรึกษาดานการศึกษาใหกบั นักเรียน-นักศึกษาในทุกระดับการ ศึกษา และตัวแทนจำหนายตั๋วเครื่องบินการบินไทย ราคาถูก สอบถามโปรโมชั่นและราคา สุดพิเศษไดตลอดนะคะ ยึดหลักการใหบริการชุมชนไทย ดวยความจริงใจใหกบั ลูกคาทุกทาน รวดเร็ว ตอบทุกคำถาม พรอมทัง้ ใหราคาทีส่ ดุ พิเศษสำหรับคนไทย

27


Horoscope

Monthly

โดย ชนินธิป tarot111@hotmail.com Id line: metroguy009

Horoscope

Jamuary

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍҷԵ ª‹Ç§¹ÕéÁÕ¢Öé¹ÁÕŧäÁ‹á¹‹äÁ‹¹Í¹ à¤ÂÁÕ¡ÅѺäÁ‹ ËÒ äÁ‹ä´Œ¤Ô´Ç‹Ò¨ÐäÁ‹ä´Œ¡ÅѺ䴌ÁÒÍ‹ҧ¹‹Ò á»Å¡ã¨ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ¡Òçҹ¡ÓÅѧ¨ÐÁÕ¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ã¹Ë¹‹Ç §Ò¹¢Í§·‹Ò¹ ¢Öé¹ÍÂÙ‹¡Ñº¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§ ·‹Ò¹à»š¹ËÅÑ¡ ¡ÒÃà§Ô¹äÁ‹¤ÇûÃÐÁÒ·¤Çà à¼×Íè ÊÓÃͧÊÓËÃѺÍÐäÃ㹺ҧÊÔ§è ·ÕÂè §Ñ ÁÒäÁ‹¶§Ö ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕàÃ×Íè §¤Ò´äÁ‹¶§Ö ãËŒ·Ò‹ ¹ä´Œ»ÃÐËÅÒ´ 㨡Ѻ·Õèæ·‹Ò¹¡ÓÅѧ¨Ðä» ¤ÇÒÁÃÑ¡ ¨ÐµÑ´¡Ñ¹¡çµ´Ñ äÁ‹¢Ò´¡ÅѺ¡ÅÒÂ໚¹¶‹Ò¹ä¿à¡‹Ò ·Õ¤è ÍÂÇѹ¤Ø¡Ãع‹ ÍÂÙË Óè ä» ·ÓãËŒµÍŒ §ÅӺҡ㨨ѧ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¨Ñ¹·Ã ÁÕ¤ÇÒÁͺÍØ‹¹ã¹ËÑÇã¨áµ‹¡çäÁ‹ÇÒÂâËÂËÒÍÐäà ·ÕèÁѹÁÒ¡¡Ç‹Ò¹Ñé¹áµ‹¡çµÍºµÑÇàͧäÁ‹ä´ŒÇ‹Ò·ÓäÁ ¡ÒÂ㨶֧໚¹àª‹¹¹Õé ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ÁÕ¾ÅѧàµçÁໂ›ÂÁ·Õè¨ÐÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÕèÁÕ¤‹Ò ÍÍ¡ÁÒáÅСÒÃá¡Œ»˜ÞËҢͧ§Ò¹ÍÒ¨¨ÐµŒÍ§ 㪌¨ÔµÇÔÞÞÒ³¡Ñ¹Ë¹‹Í ¡ÒÃà§Ô¹äÁ‹ÅÓºÒ¡ ÍÐäÃà¾Õ§ᵋÍ‹Ò㪌¨‹ÒµÒÁ㨵ÑÇàͧÁÒ¡¹Ñ¡ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§¨Ð仡ѹ·Ñ駤Ãͺ¤ÃÑÇÁÒ¡¡Ç‹Ò¤¹ à´ÕÂÇÃѺÃͧàÎÎÒÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ÁÒ¡¡Ç‹Ò ¤ÇÒÁÃÑ¡ ºÍ¡äÁ‹¶Ù¡Ç‹Ò·ÓäÁäÍŒ·ÕèÁÕÍÂÙ‹¡ç´Õáʹ´ÕᵋäÁ‹ ÇÒ¨Եã¨ÊѺʹÇØ‹¹ÇÒÂá»Ã»ÃǹÅÖ¡æ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ

âÍ¡ÒÊáÅШѧËÇЪÕÇÔµ·Õè´ÕÁÒ¶Ö§ÍÂÙ‹äÁ‹ä¡Åà¡Ô¹ àÍ×éÍÁ ᵋ·‹Ò¹àͧ¡çµŒÍ§´Ôé¹Ã¹ä¢Ç‹¤ÇŒÒ´ŒÇÂ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

àËÁ×͹¿‡ÒÇѹãËÁ‹Ê‹Í§Å§ÁÒãËŒ·‹Ò¹ä´ŒÁÕ¾Åѧ áÅÐäÍà´Õµ‹Ò§æ ÁÒ¡ÁÒ ¡Ô¨¡ÒÃËÅÒ Í‹ҧ·Õè·‹Ò¹ÇÒ´ËÇѧäÇŒ¨Ð໚¹ÃٻËҧ¢Öé¹ÁÒ ¡ÒÃà§Ô¹¡ÓÅѧ¨ÐÁÕ⪤´Õ¨Ò¡¤ÇÒÁµÑé§ã¨¢Í§ ·‹Ò¹àͧ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ÁÕࡳ± à´Ô¹·Ò§ä¡Åä» µ‹Ò§»ÃÐà·Èà¾×èÍ´Ù§Ò¹à¾ÔèÁ¾Ù¹¤ÇÒÁÊÓàÃç¨

¤ÇÒÁÃÑ¡

¡ÓÅѧʴãÊ¡ÃлÃÕè¡ÃÐà»Ã‹ÒàµçÁ·ÕèÁͧµÒ¡Ñ¹¡ç ࢌÒ㨡ѹ䴌 ᵋµŒÍ§ÃÐÇѧ¤ÇÒÁ਌Ҫٌ¢Í§·‹Ò¹ àͧ à¾ÃÒÐàËÁ×͹ÁÕã¤ÃÁҪͺ·‹Ò¹ÍÕ¡¤¹

28 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍѧ¤ÒÃ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾Ø¸

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

·ÓÍÐäõŒÍ§äµÃ‹µÃͧãËŒÃͺ¤Íº àËÁ×͹ÁÕ »˜ÞËÒÁÒ¡ÁÒÂࢌÒÁÒãˌ䴌¤´Ô áÅÐᡌ䢵ÅÍ´ ÀÒÇС´´Ñ¹¹Õé¨Ð໚¹à¾Õ§ÃÐÂÐàÇÅÒÊÑé¹æ à·‹Ò¹Ñé¹Í‹ҤԴÁÒ¡ ¤§µŒÍ§à˧ÊÐÊÒ§§Ò¹·Õè¤Ñ觤ŒÒ§ãËŒËÁ´â´ÂàÃçÇ à¾ÃÒÐÁÕ§Ò¹ãËÁ‹ÇÔè§à¢ŒÒÁÒµÅÍ´ ¡ÒÃà§Ô¹ ÍÂÙ‹ã¹à¡³± »Ò¹¡ÅÒ§·ÓÍÐäõŒÍ§Ãͺ¤Íº Êѡ˹‹Í ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ à¾×èÍ¡ÃÒºäËÇŒÊÔè§ ÈÑ¡´ÔìÊÔ·¸Ôì¨Ð·ÓãËŒ·‹Ò¹ÁÕºØÞºÒÃÁÕà¾ÔèÁ¢Õé¹

¤ÇÒÁÃÑ¡

Âѧä»äÁ‹¶Ö§ä˹ÃÑ¡äÁ‹ä´Œ´Ñ§ã¨¹Ö¡äÍŒ·ÕèÇÒ´ËÇѧ Ç‹Ò¨Ðä´Œ¡ÅѺäÁ‹ä´Œä» ·‹Ò¹àͧ¡çʹ㨤¹ä´Œ ÂÒ¡àËÅ×Íà¡Ô¹

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÈØ¡Ã

ÁÕᵋàÃ×èͧ·Õè·ÓãËŒ·‹Ò¹µŒÍ§¢º¤Ô´Ç‹Ò¨Ð·ÓÍ‹ҧäà ´Õ¡Ñº¤ÇÒÁäÁ‹Å§µÑǵ‹Ò§æ ·Õè¡ÓÅѧࢌÒÁÒãËŒ·‹Ò¹ äÁ‹ÊºÒÂã¨áµ‹´ÙàËÁ×͹»˜ÞËÒ·Õèà¡Ô´¢Ö鹡礧äÁ‹ÂØ‹§ ÂÒ¡à¡Ô¹¤ÇÒÁÊÒÁÒöä»ËÃ͡ᵋÍ‹Ò㪌ÍÒÃÁ³ ËعËѹ¾ÅѹáÅ‹¹à·‹Ò¹Ñé¹

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡Òçҹ·‹Ò¹¨ÐµŒÍ§ÇҧἹâ¤Ã§Ã‹Ò§ÊÓËÃѺâ¤Ã§ ¡ÒÃãËÁ‹æÍÕ¡ËÅÒÂàÃ×èͧ·Õà´ÕÂÇ ¡ÒÃà§Ô¹ äÁ‹¤Çà ãËŒã¤ÃËÂÔºÂ×ÁËÃ×Í˹ŒÒãËÞ‹ã¨âµà¡Ô¹à赯 ¡Òà à´Ô¹·Ò§ã¹ÃÐÂйÕé¤ÇèеŒÍ§à»š¹ä»Í‹ҧ¾ÍàË ÁÒоͤÇÃäÁ‹ªçͺ» œ§¨¹à¡Ô¹ä»¹Ñ¡

¤ÇÒÁÃÑ¡

ดวงประจำเดือน มกราคม 2016

à¾ÃÒФÇÒÁà§ÕºËÃ×ÍäÁ‹àÍÒã¨ãÊ‹¢Í§·‹Ò¹¹Ñè¹ àͧ໚¹»˜ÞËÒÊÓ¤ÑÞ ÃÑ¡¹ÐÃѡ㪋ᵋäÁ‹¤ÇÃà¡çº à§Õº¨¹à¡Ô¹ä»¹Ñ¡

ÍÒÃÁ³ ¢Í§·‹Ò¹ã¹ÃÐÂйÕé´Ù¢Öé¹Å§á»Ã»Ãǹ Í‹ҧºÍ¡äÁ‹¶Ù¡ ࢌÒã¨ÂÒ¡¨ÃÔ§ ᵋäÁ‹à»š¹äà ʶҹ¡Òó ´ÙàËÁ×͹໚¹ÍÂÙ‹äÁ‹¹Ò¹¹Ñ¡áÅШР¤ÅÕè¤ÅÒÂä´Œàͧ µŒÍ§¼¨ÞÍÐäÃËÅÒÂæ ¡Ç‹Ò·Ø¡Í‹ҧ¨Ð´Óà¹Ô¹ µ‹Íä»ä´ŒÍÕ¡ §Ò¹·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Òë×éÍ¢Ò¹Ò ˹ŒÒ´Ù¨Ð»ÃÐʺ¼ÅÊÓàÃ稴Õ໚¹¾ÔàÈÉ ¡Òà à§Ô¹ÁÕÃÒÂä´Œ¾ÔàÈÉࢌÒÁÒ·ÓãËŒà´×͹¹ÕéÅ×ÁµÒÍŒÒ »Ò¡ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ à¾×èÍà·ÕèÂǪÁ¸ÃÃÁªÒµÔ¨Ð ·ÓãËŒ¨Ôµã¨¢Í§·‹Ò¹àÂç¹Å§

¤ÇÒÁÃÑ¡

à¾ÃÒÐÍÒÃÁ³ ¢Í§·‹Ò¹àͧ·Õè໚¹»˜ÞËÒÊÓ¤ÑÞ ¶ŒÒÅ´¤ÇÒÁ·Ô°Ôŧ䴌¨Ð´ÕÁÒ¡

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹàÊÒÃ

àËÁ×͹¿‡ÒËÅѧ½¹µŒÍ§¾º¾Ò¹¡ÑºàÃ×èͧäÁ‹´Õ¡‹Í ¹áŌǤ‹Í¡ÅѺÁÒÊÙ‹¤ÇÒÁÊØ¢¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ ã¹ ËÅÒÂæ ´ŒÒ¹·‹Ò¹¨Ð¾º¡Ñº¤ÇÒÁÂØ‹§Âҡ㨠¡‹Í¹·ÕèÁѹ¨Ð´Õã¹ÀÒÂËÅѧàÊÁÍ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡Ô¨¡ÒÃ㹤Ãͺ¤ÃÑÇà¤Ã×ÍÞÒµÔ¨ÐÁÕ»Þ ˜ ËÒºŒÒ§ ÃÐÇѧ¤ÇÒÁäÁ‹à¢ŒÒã¨ËÃ×Í·Ô°¡Ô ¹Ñ µŒÍ§ÍÒÈѤÇÒÁ àª×Íè ÁѹáÅÐࢌÒ㨡ѹ ¡ÒÃà§Ô¹ Ç‹Ò¨ÐäÁ‹¼Ò‹ ¹áµ‹ ¡çÁàÕ ËµØãËŒ·Ò‹ ¹¼‹Ò¹¾Œ¹ä»ä´Œ ¤Ãͺ¤ÃÑǾչè ÍŒ § ·‹Ò¹¨ÐÂ×¹è Á×ÍࢌҪ‹Ç ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ÃÐÂÐä¡Åæ ¤§µŒÍ§ÃÍÊÑ¡ÃÐÂÐË¹Ö§è ¡‹Í¹ ᵋäÁ‹á¹‹·Ò‹ ¹àͧ ÍÒ¨¨ÐµŒÍ§à´Ô¹·Ò§áººäÁ‹·¹Ñ µÑ§é µÑÇ

¤ÇÒÁÃÑ¡

Í‹ÒàÍÒàÃ×èͧàÅç¡ÁÒ໚¹àÃ×èͧãËÞ‹¨Ð·ÓãËŒªÕÇÔµ ¤Ù‹¢Í§·‹Ò¹äÁ‹ÃÒºÃ×è¹ ÍÐäÃÅ×Áä´Œ¡çÅ×Á«Ð


L i b e ra te Yo u r Senses

A s m a l l l u x u r y re s o r t , o n a n exo t i c s e c l u s i v e b e a c h i n Pra n b u r i , a l l ro o m s b o a s t i n g s e a v i e w s . We l c o m e s y o u to “ s to p t i m e ” a n d i m m e r s e i n u t te r re l a x a t i o n .

PR A S EB A N R ES O RT H u a H i n – Pr a n bu r i , T h a i l a n d . Te l: +66 3263 0590- 1 E – m a i l : s a l e s @ p r a s e b a n re s o r t . c o m www. pr a s e ba n re s o r t.co m


t e k c i t n r u t e Ar Bangkok Brisbane-

า ล ว เ ย า ขย

ย ท ไ น ิ บ ร า ก บ ั ก ี ร ฟ น ิ บ ว ้ ล แ ย อ ่ ร อ ม า ว ร่วมส่งภาพค


t e k c i t n r u t A re Bangkok Brisbane-

Eat Thai - Fly THAI to Thailand Photo Contest Take a picture while you taste your favorite Thai dishes to win a return ticket Brisbane-Bangkok from Thai Airways. To join us just simply pick up your Smart phone or camera and head to find some Thai foods from any Thai restaurants around Brisbane to taste.

แชะ แชะ ชิม ชิม มาบินไปรับประทานอาหารที่ประเทศไทย กับเราฟรี ฟรี !!! กับกิจกรรม Eat Thai - Fly THAI รวมกิจกรรมงายๆ

เพียงเตรียม Smart phone หรือกลองถายรูปของทานใหพรอม แลวไปหา อาหารไทยทานกันเลย

3. Post it on Sawasdee Australia Magazine Facebook page with the #FLYTHAI.

กติกางายๆ 1. ถายภาพ ทานคูกับอาหารไทยจานโปรดหรือเมนูเด็ดของรานโปรด เลือกมุมที่ใชไดแลวเริ่มแชะเลย 2. ใหภาพที่ถายบอกเลาเรื่องคุณกับอาหารไทยจานโปรดไดดีที่สุด 3. ตกแตงไดดวยแอพสและเทคนิคตางๆอยางไมจำกัด ที่จะทำใหภาพ ถายของคุณ ออกมาสรางสรรคและสวยงามเลอคาที่สุด 3. โพสตลง Facebook Sawasdee Australia Magazine ใสขอความโดนใจ พรอมพิมพ #FLYTHAI 4. คุณและเพื่อนเขาไป LIKE และ SHARE ภาพนั้น เพื่อใหเพื่อนๆและ แฟนคลับของคุณเขามาชมภาพ 5. รอลุนรับรางวัลไดเลย

4. LIKE and SHARE image to your friends and fans.

รางวัล

Contest rules: 1. Take a picture of yourself with any of your favorite Thai dishes. 2. Feel free to use any applications to enhance quality of your photo to make it more beautiful and interesting.

Prizes to be won: · ·

Plus free resort style 3 days 2 night accommodation at Praseban Resort Pranburi Thailand value at AUD$800 Total 1st prize: $AUD1,800 Prizes include dining voucher and spa package

Eligibility: Open to all individuals age 18+ Terms and Conditions: - Participant must be residing in Queensland ONLY - Activity period from December 2015 - 28 Febuary 2016 - Follow the judges’ decision results on the Facebook page of Sawasdee Australia Magazine Facebook and Sawasdee Australia Radio 4EB. - Sawsdee Australia reserves the right to change prizes without prior notice. - Winners of the awards will have to pay all relevant tax. - Photos are copyrights of Sawasdee Australia. - Decision of the judges is final.

• รางวัลที่หนึ่ง ตั๋วเครื่องบินไปกลับหนึ่งใบพรอมกับรางวัลที่พักฟรีที่ Praseban Resort Pranburi • อาหาร spa voucher และรางวัลอื่นๆอีกมากมาย เงื่อนไข - ผูเขารวมจะตองมีถิ่นพำนักอาศัยในรัฐควีนสแลนดเทานั้น - ระยะเวลากิจกรรมตั้งแต ธันวาคม 2558- 28 กุมภาพันธ 2559 - ติดตามประกาศผลรางวัลไดที่ Facebook Sawasdee Australia Magazine and Sawasdee Australia Radio 4EB ยืนยันสิทธิ์ภายใน 7 วัน หลังประกาศผล - สงวนสิทธิ์เปลี่ยนแปลงของรางวัลโดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา - ผูโ ชคดีทไ่ ี ดรบั รางวัล ตองชำระภาษี ณ ทีห่ กั จาย ดวยตนเอง - ลิขสิทธิ์ภาพถายเปนของบริษัทสวัสดีออสเตรเลีย - คำตัดสินของคณะกรรมการถือเปนที่สิ้นสุด

Sawasdee Australia Magazine สวสัดอีอสเตรเลยี brislife - true story - real community

THAI WI-RAT Thai -Laos Food


Prizes to be won:

First Prize A return ticket Brisbane-Bangkok from THAI Airways

t e k c i t n r u A ret B a n g k o k Brisbane-

Total value $1,800 Plus free resort style 3 days 2 nights accommodation at Praseban Resort Pranburi Thailand

Complimentary Prizes for 10 finalists House of Siam

Thai Naramit Restaurant

Thai Wi-Rat

THAI WI-RAT Thai -Laos Food

Gift Voucher for 4 finalists for Food and drink to the value of $100 at House of Siam on The Boardwalk, Hope Island

Gift Voucher for 1 finalist for Food and drink to the value of $100 at Thai Naramit, Hendra, Brisbane

Alissa Thai Massage

Gift Voucher for 2 finalists for any 60 mins service to the value of $150 At Alisa Thai Massage, China town

Gift Voucher for 1 finalist for Food and drink to the value of $100 at Thai Wi-Rat, China town, Brisbane

Healing Hands Spa

Gift Voucher for 1 finalist for Couple Massage to the value of $239 At Healing Hands Spa, East Brisbane

Praseban Resort Pranburi Thailand Gift Voucher for 1 finalist free resort style 3 days 2 nights accommodation at Praseban Resort Pranburi Thailand value at $800


Made in Australia

3rd issue

realising

the dream Yuri ChanG

Jan 2016


lifestyle

art We have worked to improve our quality and look to serve diverse member within our multicultural community. We would love to hear stories, interview interesting individuals and publish photos of you or your friends if they are willing to share. We will continue to adjust, make changes and perfecting our quality of content and look so we stay interesting and fresh. Enjoy us and feel free to share your enjoyment with others.

music

Boom Buchanan Editor

Content 2-3 inWe 4-5 East meets West

Contact us Sawasdee Australia Magazine St.lucia south, Brisbane, Queensland 4067 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: +661 424 022 334 or +661 451 057 063

cultu

re


inWE

Yuri Chang’s Collection by a new born designer Yuri Chang

The Yuri Chang’s Collections is a brand of handmade dresses that designed and produced in her home workshop right in the heart of Brisbane China Town. Yuri spends days and nights and hours and hours working with her selection of fabrics, sewing machine and over locker. Her pieces are created with the sense of fun and craftsmanship, elegance and sensuality. Each piece is inspired by her love and passion for fashion that she said one who wears them would feel sexy, youthful, comfortable and chic. Born and raised in Seoul, South Korea, Yuri graduated in Arts specialized in Computer Graphic Design, Animation and Illustrations. After graduation, Yuri completed her nails design course to serve the demand of a growing business in South Korea and ventured on a sea change to become a nail technician. However, the new qualification gave her the opportunity to travel to New York and spent 3 years working in a nail salon in Brooklyn. We met Yuri for the first time last year at the Multicultural Red Carpet and found her humble friendly and very lively personality to be very attractive. Once she has completed her many dresses for a new real business venture and the photo-shoot to prepare for marketing material, we got to join her down time relaxing and talk about her new journey in becoming a fashion designer. 2


My design is a mixture of feminine, simplicity yet fun to wear; there is also a sense of sensuality in my design When did your interest in becoming a fashion designer begin? I always have a dream of becoming a fashion designer. I think when I was about 13 I started to think seriously about it and at that time I could have gone to study at a fashion design school then but I didn’t. Because you know at the back of my mind thinking maybe I should do something that could be more academic. So at university, I didn’t choose to do fashion designer course but I did Arts, which cover very broad subjects. But when you came to live to Australia, you were here as a qualified nail technician? Yes, after I have worked 3 years in New York, my little brother wanted to study overseas so we chose Australia, I came with him because then I supported him financially. I got a job in nail salon working long hours six days a week. I did that for many years plus the time I spent working in nails salon in Korea and New York, my eyes got damaged from too much exposure to chemical, I was looking at changing my career. Then you realize that the fashion designer dream is calling? I have always been dreaming of it that one day I will start doing it for commercial. In fact, I did started from sewing beautiful dresses for myself and sell some to my friends, because when I make dresses and wear them, my friend asked me where I got it from and I told them I made it myself, they couldn’t quite believe it so that was almost the drive for me to think yes, I should do something sooner than later so I made it an sell them online, but again I knew nothing about marketing so it was just like a hobby.

Well, when I got the opportunity to model for many occasion around Brisbane, sometimes as volunteers and sometimes a paid work. I told my friends, models and the organizer that if they want, I can design something for them for models to wear and I have made some of them and they liked it, got a lot of admirations so in a way that is a booster for me to start doing it for serious commercial purposes. Where do you source materials? Actually they are from everywhere. Sometimes I buy them locally, some of them I order from China, Korea and Thailand. I like materials from Thailand, the price is reasonable but the quality is very good, I reckon it’s better than anywhere else. Can you describe your fashion design style? My design is a mixture of feminine, simplicity yet fun to wear; there is also a sense of sensuality in my design because it shows a little of curves and cuts, which I think all women should have on some occasion. I think when we dress up, we should express our feminine side, it is about beauty and what look s good on our body but as long as you don’t wear it to the point of flaunting it about. Where can we find or buy your design? At the moment, I don’t make enough to have my own big store, so I am displaying them and sell them at My Cube Store in Myer Center. I need to make more and that require so many things. Starting from small is good so I know how the market receives me. The next step will be working with bigger fabric suppliers and manufacturer who can help me

produce a bigger amount of order so that I don’t have to make it myself. My dream is to have a shop of my own and expand the product line to other stuffs like accessories, and home wares etc. I know it’s a big dream and it might not happen easily, but I do want to realize my dream. Who is you favorite designer? Vera Wang is my favorite of all time. She is my idol of a designer. Her design is simple yet very elegant and use luxurious materials. There are some collections of hers that I really like and I remember living in New York, I used to have to walk pass many of the famous designers boutique shop and see the dresses on the display calling out “buy me…buy me”. I was dreaming one day I could make those beautiful dresses myself and display in a shop like that so it give that same feeling to others who see them. *My Cube is a new innovative retail concept store in Australia where entrepreneurs can start their business from as little as $5 per day. You'll always find something unique at My Cube.

3


EASTmeetsWEST

เรื่องและภาพโดย วสมน สาณะเสน story and photo by Wasamon Sanasen

MEETS

EAST WEST และเพื่อไมใหติดมือเขาจึงคลุกดวยไอซิ่งตบทาย สำหรับเตอร กิชดีไลทที่ไดรับแจกมาครั้งนั้น เปนไสพิสตาชิโอ แปงดานนอก สีน้ำตาล กลิ่นคลายชา หวานกวาขนมไทยเล็กนอย แตสหาย ตุรกีที่รูจักกันบอกวา ยังมีขนมชนิดอื่นที่หวานกวานี้หลายเทา จะเปนอยางไรนัน้ รอเก็บตอมเอะอะไรของเราไปลองชิมของจริงกัน อนึง่ ชาวตุรกีเรียกเตอรกชิ ดีไลทวา “ลอคคุม ” (Lokum) เตอรกชิ ดีไลท เปนคำสากลทีช่ าวตางชาติใชเรียก แปลตรงตัววา “ความเบิก บานแหงตุรกี” เปนขนมทีค่ ดิ คนโดยพอครัวในวังของสุลตานทีเดียว เชียว แคชอ่ื และทีม่ าก็นา สนใจแลวใชไหมละ ไวโอกาสหนาจะขยาย ความตอใหฟง หลังจากไดเตอรกชิ ดีไลทมาเรียกน้ำยอยแลว อีกไม นานก็ถงึ เวลาทีฉ่ นั รอคอย นัน่ คือเวลาอาหาร จากการโดยสารเครือ่ ง บินมาหลายสายการบิน ฉันพบวาอาหารของเตอรกชิ แอรอรอยทีส่ ดุ การันตีดว ยการทีส่ ายการบินนีไ้ ดรางวัลสายการบินคุณภาพระดับโลก และทีน่ า ยินดีกวานัน้ คือฉันจะไดทานอาหารของเตอรกชิ แอร 2 มือ้ เพราะใชเวลาบิน 10 ชัว่ โมง จานทีช่ อบทีส่ ดุ ในวันนัน้ คืออกไกเนือ้ นุม เสริฟพรอมเชฟเฟรด สลัด (Shepherdis Salad-Çoban Salatası) ที่ เต็มไปดวยแตงกวาและมะเขือเทศสับ ผักของเขาสดมาก ทานแลว สดชืน่ เปนกำลัง

“มหานครแหงสุลตาน”... “จุดพบพานสองทวีป”… “หนึ่งในสิบสุดยอดเมืองฮันนีมูน” ฯลฯ นิยามเหลานี้ยอมหมายถึงสถานที่ใดไปมิไดนอกจาก “สาธารณรัฐตุรกี” ผูคนทั่วโลกตางปรารถนา ที่จะมาดื่มด่ำสุนทรียรสของดินแดนแหงนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่ง “อิสตันบูล” เมืองที่เปนจุดบรรจบของ ยูเรเชีย (Eurasia-รอยตอระหวางทวีปยุโรปและเอเชีย) ดวยสวนหนึ่งของเมืองทอดตัวอยูบนคาบสมุทร อนาโตเลียของเอเชีย และอีกสวนหนึ่งอยูบนคาบสมุทรบอลขานของยุโรป โดยมีชองแคบบอสฟอรัส กั้นกลาง อารยธรรมแหงบูรพทิศและประจิมทิศจึงหลั่งไหลเขามาหลอมรวมกันที่อิสตันบูล มเพียงเพราะตำแหนงที่ตั้งของประเทศตุรกีเทานั้น ที่ นาสนใจ หากแตยังเปนเพราะตุรกี เต็มไปดวยรองรอย ประวัติศาสตรของนานาอาณาจักร นับตั้งแตฮิตไทต กรีก โรมัน ไบแซนไทน เซลจุก และออตโตมัน ตุรกีจึงเปนขุม คลังอารยธรรมอันยิง่ ใหญแหงหนึง่ ของโลกสถานทีป่ ระวัตศิ าสตรตา งๆ ในประเทศตุรกีก็ดึงดูดนักเดินทางนานับประเทศใหเขามาเยี่ยม เยือนเปนจำนวนมาก ฉันเองก็เปนคนหนึ่งที่หลงใหล ในประเทศตุรกีมานานแสนนาน และไมเคยคาดคิดวาวันหนึ่งจะไดมายืนอยู ณ ผืนแผนดินของ ชาวเติรกในที่สุด ทวาการมาของฉันในครั้งนี้มิไดมาในฐานะ นักทองเที่ยว แตมาในฐานะ “นักศึกษา” เรื่องมีอยูวาฉันสนใจ ศึกษาศิลปะอิสลามมาตั้งแตเรียนปริญญาตรี หลังจากเรียนจบ ปริญญาโทดวยวิทยานิพนธเกี่ยวกับมัสยิด ฉันก็ยังคงตองการ พัฒนาความรูในดานนี้ตอไป จึงหอบดวงใจอันเปยมรักในศิลปะ มุสลิมไปแสวงหาชองทางในการเรียนตออยางจริงจัง แลวใน ทีส่ ดุ ความฝนก็กลายเปนจริง ฉันไดรบั ทุนจากรัฐบาลสาธารณรัฐตุรกี เพื่อศึกษาตอระดับปริญญาเอก สาขาประวัติศาสตรศิลปะ ณ มหาวิทยาลัยอิสตันบูล เมืองอิสตันบูล

ตัวเลือกทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ สำหรับผูท ต่ี อ งการเรียนรูศ ลิ ปะอิสลาม และทุนนี้ยังเปนทุนใหเปลา ที่ครอบคลุมระยะเวลาถึง 5 ป มากพอที่จะทำใหฉันมีโอกาสไดเที่ยวตระเวนทุกซอกมุมของ ประเทศตุรกี ดินแดนในฝนของหลายๆ คน และการเที่ยวใน ฐานะนักศึกษาก็เปนโอกาสที่ดีที่สุด เพราะในมหาวิทยาลัย พวกเราตองเรียนวิชาอิสตันบูลวิจัย (ISTANBUL ARAŞTIRMALARI) ซึง่ จะชวยใหฉนั ไดเห็นวิถชี วี ติ ของผูค น ประวัตศิ าสตร รายละเอียดและมุมมองตางๆ ในตุรกีทแ่ ี ตกตางจากนักทองเทีย่ วทัว่ ไป นอกจากนัน้ นักศึกษายังไดรบั สวนลดในการเขาชมสถานทีต่ า งๆ พรอมกับคาโดยสารรถสาธารณะ ที่ถูกกวาคนทั่วไปอีกดวย (อันนีส้ ำคัญทีส่ ดุ ) ดวยโอกาสทองทีไ่ ดรบั มา ฉันสัญญากับตัวเองวา จะเก็บเกี่ยวความรูและประสบการณในสาธารณรัฐตุรกีใหมาก ที่สุดดวยตอมสัญชาตญาณ “เอะอะไร” ที่ฉันใชในการเรียนรู สิ่งตางๆ อยูเสมอ

ทันทีที่เครื่องบินเหินฟาอำลากรุงเทพมหานคร มุงสูอินตันบูล ตอมเอะอะไรของฉันก็เริ่มทำงานทันที เมื่อแอรโฮสเตสนำขนม อันเปนสัญลักษณของชาวเติรกคือ “เตอรกิช ดีไลท” (Turkish Delight) ออกมาตอนรับผูโดยสาร ฉันรีบยกกลองขึ้นถายรูป (ตามประสาคนไทยที่ไปไหนก็ตองถายภาพอาหาร) อันวา แนนอนวาญาติมติ รและเพือ่ นพองของฉันตางก็ปต ยิ นิ ดีเปนอยางยิง่ เตอรกิชดีไลทนี้เปนขนมทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศกขนาดดานละ 1 เพราะอาณาจั ก รออตโตมั น หรื อ ตุ ร กี ใ นอดี ต เป น 1 ใน 3 นิ้ว ดานในเปนถั่วหรือผลไมอบแหงแปงดานนอกเนื้อเหนียวนุม อารยธรรมมุสลิมทีย่ ง่ิ ใหญทส่ี ดุ ในโลกอิสลาม ดังนัน้ ตุรกีจงึ เปน มักผสมกลิ่นผลไมหรือกลิ่นกุหลาบลงไปใหหอมหวนชวนทาน 4

และดวยเปนคนทีส่ นใจศิลปะ ตอมเอะอะไรของฉันจึงหันไปสนใจ เมนูแผนพับทีแ่ อรโฮสเตสแจกมาดวย ดานบน di-cut เปนรูปคลาย ทิวลิป ชวนใหนกึ ถึงหนังสือเลมหนึง่ ทีเ่ คยอาน กลาวถึง “ยุคทิวลิป” ในอาณาจักรออตโตมัน ทิวลิปดูเหมือนจะเปนดอกไมประจำชาติ และเปนแรงบันดาลใจในงานศิลปะของศิลปนตุรกีมาจนทุกวันนี้ นอกจากนี้แกวน้ำของเตอรกิชแอร ยังพิมพลายเรขาคณิตแบบ อิสลามไวโดยรอบอีกดวย หลังจากสนุกกับการสังเกตสังกาสิง่ ตางๆ แลวก็ถงึ เวลาเขานอน แต ฉันหลับไมดนี กั เพราะผูโ ดยสารดานหนาเอนเบาะลงมาเบียดขา ซ้ำ คนขางหลังก็กรนอีก ทำเอาหลับไมลง ครัน้ จะเขียนบันทึกก็ตอ งเปด ไฟรบกวนคนขางๆ ระหวางนัน้ ฉันเลยไมรจู ะทำอะไร ไดแตมอง สจวตกับแอรโฮสเตสทีเ่ ดิน ผานไปมาคิดวาหลายคนตองเปนชาว ตุรกี สังเกตไดวา หนาตาของชาวตุรกีนน้ั เปนลูกผสมระหวางเอเชีย กับยุโรปอยางละครึง่ คือจมูกไมโดง ผิวขาว บางก็ผมสีดำ บางก็ผม สีทอง ตาสีดำบาง สีฟา บาง เปนตน คือจะเปนเอเชียสุดๆ ก็ไมใช และจะเปนยุโรปจาก็ไมเชิง ก็สมแลวละทีเ่ ขาเกิดบนดินแดนสองทวีป แคอยูบ นเครือ่ งบินสัญชาติเติรก ยังไมทนั จะถึงถิน่ ของเขาจริงๆ ก็ สัมผัสกลิน่ อายของตะวันตกพบตะวันออกไดอยางชัดเจน และแลว 21 นาิกา 47 นาที ตามเวลาทองถิน่ ของตุรกี เครือ่ งบินก็ลงจอด ที่ทาอากาศยานอะตาเติรกโดยสวัสดิภาพ ฉันมองออกไปนอก หนาตางเห็นแสงไฟยามค่ำคืนของอิสตันบูล เหมือนแสงไฟของ กรุงเทพฯในคืนที่จากมาไมผิด จนอดคิดถึงบานเกิดไมได หลัง จากหยิบกระเปาแลว ฉันก็ไดพบกับนักเรียนคนอืน่ ๆ ทัง้ ชาวไทย และชาวตางชาติที่ไดรับทุนเดียวกัน ณ จุดนับพบที่ทางทีมงาน ทุนรัฐบาลตุรกีจะมาตอนรับพวกเรา ระหวางนั้นลมหนาวของ ฤดูใบไมผลิในตุรกีก็พัดมาสัมผัสหนา...กลิ่นบุหรี่คลุง...รานขาย เครื่องดื่มแอลกอฮอลล...ภาษาตุรกีที่ใชอักษรโรมันแตบิดอักษร บางตัวเพือ่ ความแตกตาง...คนขายขนมปงหาบเรรอ งเรียกลูกคา วา “ซิมิต ซิมิต ซิมิต ซิมิต!” แบบรัวๆ เร็วๆ คลายคนขาย น้ำตามรถไฟไทยที่ตะโกนวา “น้ำมิ น้ำมิ น้ำมิ น้ำมิ!” ดูทา ประเทศนี้จะมีอะไรที่นาดูและนาสนุกกวาที่คิด เอาละ นับแต วินาทีนไ้ี ปชีวติ ของฉันในอิสตันบูลไดเริม่ ตนขึน้ แลว คุณละพรอม ที่จะเปดตอมเอะอะไร และพรอมที่จะทองไปในตุรกี-ดินแดน สองทวีปกับฉันหรือยัง


Some people say different things about Turkey "The great city of Sultan," ... "The meeting point of two continents" ... " Top ten cities for honeymooner," etc. However, put the rating and quoting aside, I personally think tourists travel from around the world to Turkey because they want to see the beauty of this land. Especially Istanbul, the city with the confluence of Eurasia, the boundary between Europe and Asia, lies on the Anatolian peninsula of Asia and the other part of Europe on the Balkan Peninsula, with the Bosphorus separating them. Oriental civilizations of East and West sides so fused together that poured into Istanbul created the charm for this city that visitor from around the globe want to come and see this wonderful city. y visit to Istanbul is not as a tourist but a "student". After graduated a master degree in Islam Studies, I wanted to expand my knowledge and further my study in this area. I have my heart full of love for the arts of Muslim mosques, which I think it was from studying in-depth knowledge in my Master degree thesis. So after graduated I seriously seek opportunity to study more in this area. I am fortunate and very privilege to receive a scholarship from the government of Turkey to study for a PhD in Art History at the University of Istanbul. It really is a dream come true for me.

come to visit. I have long been in love with this country and still pinching myself sometimes that I am actually standing on the land I have always been dreaming of visiting.

As soon as the plane took off from Bangkok airport heading to Istanbul, my sense of wonder kicks in when the flight attendant brought the sweet symbol of the Turks "Turkish Delight" to greet passengers. I quickly picked up the camera and took a shot of the pinkish rectangular cube with the nuts or dried fruit inside. The Turks called Turkish delight “Lokum”. To me, the look and the taste of it is truly the joy of Turkey Apart from its geo-location, which makes this just like the name of this dessert. It was such a country very unique, to me, Turkey is one of the delight taste of welcoming me to Turkey. very attractive countries I have always wanted to visit. It filled with numerous traces of history of I am very certain there will be a lot of interesting the former great empires from the Hittite, Greek, stories await me in Turkey and I will use this Roman, Byzantine and Ottoman. Turkey is a space to share my stories and experience of the treasure of the world's greatest civilizations. The time I spent in Turkey in which I would like to historical places in Turkey tempt travelers to invite you to follow this space. Until next time… 5



Skillpoint is your first choice พบกับทีมงานคุณภาพที่มีประสบการณ ดานแนะแนวการศึกษา ยาวนานกวา 5 ป

T A E H & T HO

n o i t o m ro

p

ติดตอกับทีมงานเราเขามาไดเลย ไมวาคุณจะอยากเรียน ที่ไหน เมืองไหนในประเทศออสเตรเลีย ขอใหบอก สกิลพอยทจัดให ตามใจชอบ เรียนภาษา/ ภาษา+ดิปโพลมา เรียนตอมหาวิทยาลัย หาคอรสเรียนราคาถูก ทำวีซานักเรียน,วีซาติดตาม หรือวีซาทองเที่ยวฯลฯ เรียนเพื่อ Apply PR หรือทำ Sponsor visa(457)

Brisbane office

Brisbane office: ติดตอ คุณ ปตณ ิ ชั เตะชัน (แฟรงกี)้ Address: Suite 2224, Level22, 127 Creek Street Bisbane QLD 4000 Mobile: 0451 257 979 Email: Frankie@skillpointculting.com.au Website: www.skillpointconsulting.com.au

Sydney office address : Suite 1712/87-89 Liverpool Street, Sydney NSW 2000. Tel: 02-8096 7073 Fax: 02-9261 1955 Mobile: 0426 838 989 Mobile: 0450 503 119 Mobile: 0425 299 111 Email: info@skillpointconsulting.com.au

Thailand office contact : 87/23 Village no.5 ( Indy Bang Yai Village ) Soi. Kaew In , Saothonghin Sub-District Bangyai District , Nonthaburi 11140, Thailand Tel: +66-2 192 2731 Fax: +66-2 192 2732 Mobile: +66-8-1822 7454 Mobile: +66-9-2828 7454 Email: info@skillpointconsulting.com.au


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.