Sawasdee australia issue13

Page 1

SAWASDEE

Recipe for

Success

FEATURE

Designing with Natural Stones

อุทStory าหรณ ...ชีวิต by Chaisuda Gaylard Queensland Consulate News

Tina Ratanavaraha

๑๓

i s s u e 13

THAI ENG

E D I T I O N

FREE magazine


                                        

 

      


Editor’s inbox and Contributors

Editor’s inbox ในบรรดาสิ่งดีงามหลาย ๆอยางที่เกิดขึ้นจากการที่ไดทำงานนิตยสาร ก็คือการมีโอกาสไดรับรูและไดเรียนรูเรื่องราวๆตางจากบุคคลที่นาสนใจจาก ปากคนคนนั้นอยางออกรส ที่พิเศษที่สุดเห็นจะเปนการทำงานหนาปกเลมนี้ ที่มีโอกาสไดเดินทางยอนวันเวลาไปกับพี่ติ๊ก คุณทีนา หรือคุณเจียรนัย รัตนวราหะ ที่เรียกวาพานองนั่ง "ไทมแมชชีน" กลับไปวันแรกที่รานไทยออรคิด เปดใหบริการเปนครั้งแรกเมื่อป 1986 สิริรวมคือ 30 ปที่แลว แตเหตุการณตางๆ สถานที่ และโมเมนทที่มีความหมายมากมายยังคงชัดเจน ในความทรงจำ ซึ่งพี่ติ๊กเลาใหฟงดวยความรูสึกที่ประหนึ่งวาเปนเรื่องที่เพิ่งเกิดขึ้นสดๆ เมื่อวานนี้ ทำใหรูสึกเหมือนไดไปยืนอยูในเหตุการณนั้นกับเขาดวย ระหวางเตรียมพรอมหนาปกและเรื่องราวขางในเลม เพื่อฉลองครบรอบ 30 ป ของไทยออรคิดนี้ ทำใหไดมีโอกาสที่จะพบเธอบอยขึ้น แตดวยภาระหนาที่ ของเราสองคน ทำใหเวลาที่คุยกันครั้งหนึ่งๆก็แคๆสั้นๆและไมครบทุกแงมุม แตทุกครั้งที่พบกันเราจะพูดคุยกันถึงประเด็นตางๆไมซ้ำกัน สิ่งที่ไดเรียนรูคือ การเดินทางของพี่ติ๊กและไทยออรคิด จากวันนั้นจนมาถึงวันนี้ ไมไดราบเรียบ และโรยดวยกลีบกุหลาบเสมอไป เปนการเดินทางที่มีทั้งขาขึ้น และขาลง บางเรื่องที่พี่ติ๊กเลา ก็ทำเอาน้ำตาซึมไดเหมือนกัน "อยากทำอะไรก็ตองเริ่มทำ ทำใหไดดีและใสพลังลงไปเต็มที่ แลวความสำเร็จก็จะอยูแคเอื้อม” Boom Buchanan Editor

I must say that one of many beauties of working with the magazine is to have the privilege to hear stories from the person I get to interview first hand. And I must say that too that what make me feel more special working on the cover of this edition is that I get to travel back in time with Khun Tina Ratanavaraha who had taken me back in her “time machine” to revisit the very first day of the Thai Orchid in Springwood as well as the journey of her restaurant legacy in the past 30 years. Different events, places and meaningful moments that she shared were all emotionally vivid almost as if I was standing there among many people who she said she was with. I feel more than just a storyteller. The past month during preparing for the story on this project, I got an opportunity to meet her more often to talk over different perspectives of her valuable stories. There were not all rosy and beautiful, she also shared the ups and downs time and there were many times that the stories brought tears to my eyes. The opportunity also present some life lessons for me to learn from her. The most important one that I would like to take with me for my entrepreneurial pursuit is her strength, wisdom and her perseverance that made her a successful entrepreneur today. She said, “ when you have a passion for something and you want to do it, just go and do it, work your hardest, do your best and success is just around the corner!”

Contributors ทา่นเจา้คณ ุ พระศรพ ี ทุธวิเิทศ เจา้อาวาสวดัไทยพทุธาราม

Phra Siphutthiwithet President & Abbot at Wat Tha Buddharam Forestdale Brisbane.

Supalagsana Sontichai: Old Tales Retold A Thai award winning author , a novelist, translator and a travel writer

พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting Professional education consultant in Brisbane

“ Nothing great was ever achieved without enthusiasm”

Frankie@skillpointconsulting.com.au

Jim Jirarnuttaruj Make up & Hair artist for Cover, Fashion & Trend 14 years experience in Australia & Thailand https://www.facebook.com/JimJirarnuttaruj

ณภัค โหมดหิรัญ (ปอ) Naphak Modhiran (Por) Photographer & Columnist

ปาริฉัตร กาญจนวัฒน์ Peta Art Director freelance grapic designer contact email: design.parichat.k@gmail.com

I considered myself as landscape photographer, but am also inspired by food, architecture and portrait photography as well. To those who might be interested in my works please feel free to visit my portfolio at: https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ Contact me at mailto: modhirann@yahoo.com

Santanee Otto slottochangprai@gmail.com. Columnist Design Trends

Chaisuda Gaylard อุทาหรณ์...ชีวิต True Story

Cover shoot by Paul Tran EMagine Photography View his images at: http://emaginephotography4.wix.com/ photography-showcase

A mother of one and a cancer survivor, Chaisuda Gaylard shares the stories of her battle with cancer and how she determines to live a happy life.

Benjawan Poomsan US-based Thai/Lao Translator and Interpreter and a writer

วสมน สาณะเสน Wasamon Sanasen East meets West

Sophon Pathumratworakun(Dee) โสภณ ปทุมรัตน์วรกุล (ดี)

Emma Drynan Registered Migration Agent Partner Visa Specialist emma@freedommigration.com

3


Contents Issue 13 July - August 2016

Cover talks 6-9 Recipe for Success, Tina Ratanavaraha

Brislife 18 สารจาก กงสุลกิตติมศักดิ์ แหงรัฐควีนสแลนด 20 Design Trend

24

True Story 12-13 True Story Thai-Lao interpreter 22-23 Old Tale Retold 24-25 True Story อุทาหรณ...ชีวิต

Real Community 3 Editor Inbox & Contributors รูจักทีมสวัสดีออสเตรเลีย 16 Money Talk รอบรูเรื่องอสังหาริมทรัพย 33 Horoscope ทำนายดวง

Did you know? ชองทางการเขาถึง

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ติดตามอาน Sawasdee E-Magazine ไดแลววันนี้ เพียงดาวนโหลด Application issue “ SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE ” https://www.facebook.com/sawasdee.au.mag

Contact us Sawasdee Australia Magazine 6/159 Gailey Road Taringa QLD 4068 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: + 61 7 3870 5427 +61 424 022 334


ผู้นำแห่งการนำเข้าและค้าส่งสินค้าไทย ASIAN IMPORTER AND WHOLESALER FOR 30 YEARS

TEL: (07) 3725 700 I SALES@TDTRADING.COM.AU FAX: (07) 3725 7077 I 28 BULLLOCKHEAD ST SUMNER QLD 4074

WWW.TDTRADING.COM.AU µÔ´µÒÁ¿§ÊÑÁÀÒɳ·ÕÁ§Ò¹ T&D

ทางสถานีวทิ ยุ FM98.1 ภาคภาษาไทย สวัสดีออสเตรเลีย Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ·Õè 21 ¡Ã¡¯Ò¤Á 2559 àÇÅÒ 6-7pm

หรือติดตามได้ท่ี

www.facebook.com/Sawasdee-Australia-Thai-Radio-in-Queensland-4EB-FM

Congratulations to The Thai Orchid on its 30 years anniverasary Our warmest congratulations to The Thai Orchid on its 30 years anniversary. It is a wonderful milestone to celebrete the management, staff, and the journey of service excellence to the restaurant industry, and business partners. We wish you all a memorable celebration and a greater success in the years to come.

ทีแอนดดี ขอแสดงความยินดีกับโอกาสครบรอบ 30 ปีของรานอาหาร ไทยออรคิด สปริงวูด และขอขอบคุณที่สนับสนุนกิจการและรวมเติบโตคูกันมากับทีแอนดดี ดวยดีตลอดระยะเวลา 30 ปี


Cover Talks

Tina Ratanavaraha

Recipe for

Success

“The success for restaurant businesses today is more than just the restaurants with good foods”

6

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE


nassuming from the outside, the interior of the restaurant was a treasure trove of delights. Warm lights, beautiful decorations, perfectly set tables and soft music- a slice of Thailand right here in Brisbane. As the smell of spices and fragrant jasmine rice whets your appetite, you cannot help but be entranced by the ambience of this multi award-winning restaurant. After 30 years of resilience and hard work, Tina Ratanavaraha sits at one of the tables, smiling with obvious pride and happiness as she talks about her restaurant. At the counter, little Iris, her granddaughter, answers the phone and books reservations with the aplomb of a well-trained staff. Tina’s daughter, Mandy, gracefully walk by her mother’s side. It was almost like having three generations of restaurateurs in one room, just the beginning of the legacy of the Thai Orchid.

Tina and the Vision As a young woman in the hospitality industry in Thailand, Tina harboured a secret dream. Far beyond the capabilities and realities of her status in her home country, she wanted above anything to own her own Thai restaurant. Knowing full well she would have very little success within the cultural constraints of traditional Thailand, in 1983 she migrated to Australia to pursue the vision. In 1986 and with very limited funds, the young entrepreneur attempted to establish a restaurant that would be worthy of her years of experience at Oriental, one of the world’s top hotels. Tina chose Springwood, the then a very quiet suburb of Logan City, as the perfect location for her first restaurant business venture. Although the building itself was plain, Tina was determined to give the ultimate dining experience. With Thai food a novel cuisine at the time, the first two months at the restaurant was quiet. Despite the momentary set back, Tina did not cut corners and concentrated on providing superior service and excellent food. Her perseverance paid off as a short while later a local newspaper featured the Thai Orchid with very favorable reviews and customers start flooding in. “I suddenly needed to have two seating arrangements every night,” Tina recalls. “During lunchtime peak hours, I had to ask customers to leave so that the staff had time to prepare for the busy dinner bookings.”

With the success of Thai Orchid heating up, Tina expanded and opened several more restaurants in Mt Gravatt, Browns Plains and in 1997 to Milton, which became the second most popular branch after the original Thai Orchid in Springwood. From a young woman with a big dream to an empire of Thai restaurants, it was no surprise that Tina gained attention for her business prowess. Among others, she won the Overall Business Achiever Award, Small Business Owner category of the Women's Network Australia awards as well as the overall 1996 Executive Woman of the Year Award from a field of 180 women. Managing director of Women's Network Australia, Lynette Palmen said in the interview with one of the media outlet many years back that …“Tina's award further underlined the valuable contribution immigrants made to Queensland's economy…” "People are either motivated or they are not," she said. "Whether they are successful and contribute to their community is not based on their colour or race."

With contagious excitement and energy, Tina shares stories and events as if they happened yesterday. Within two years, Thai Orchid was stocking up on awards. In 1989, it was the first Asian restaurant to be inducted into the American Express Hall of Fame and for the next decade it continued to raise the ranks to be named the Best Restaurant in Queensland and Best Asian Restaurant in Queensland several years in a row. Despite having served six mayors of Logan City and their families and being the only Thai woman ever to hold the position as one of the Lord Mayor’s Charitable Trust Ambassadors, Tina is always modest about her achievements.

7


Building a community

A new chapter

As an active member of the Thai community, Tina is always going back to her roots. She dedicated to serving the community and empowering member of Thai community to achieve their dreams of a better future and then continue to give back to the community. She contributes her time and efforts to build a stronger community through her contribution in the building of a Buddhist Thai Temple , Wat Thai Buddharam in Forestdale, which became a center for community activities. Her hard work and dedication to the community had earned her the highest and prestigious golden Sema Thammachak, which award to a community member who helps supporting and promoting Buddhism.

For Tina success, it measured by many factors and she keeps her many staff and customers as close friends. The journey has been anything but smooth sailing and having to deal with failures and financial difficulties, she has learnt that family is important as they will always be there to support you. “When we opened the Thai Orchid Hillcrest, we went through some trouble and I had to sit down with the bank credit manager to go through every cent I made,” she said. “Chasing your dream is not only having the love and passion, but it requires ongoing efforts.”

Tina is happy that her hard works and achievements both personal and in the hospitality industry has been an inspiration to her staffs, friends and community. More than 80% of Thai restaurant owners in Brisbane today, have, at one point in their restaurant business journey, worked with Tina and the Thai Orchid. “Usually when people work for me, they have dreams of starting their own restaurant like I did. I take them in and teach them how I run things and try to equip them with whatever they will need to be successful when they leave,” Tina said. "Many people especially woman in Thailand have heard about what I have been able to achieve and I think it has given them encouragement as well," she said. “I have always believed that if you want to achieve something in life, let nothing stop “Even if you are the owner of the business, you are there to you.” provide service, and it has to be the best one. You are the owner, but you there to also teach your staff that you are one of the staff.”

The recipe for success

After 30 years in the business, Tina shares that there are several rules that she lives by. Despite her achievements, Tina says that she is rarely involved with the preparation of the food. "To tell you a secret, I cannot cook at all," Tina said. "But I am a great manager, trainer and organizer which I believe is the key to success here. It is my stepfather, my brother in law and the chef we hired over the years that know the cooking side of things." “It is important to know that you only have one chance to make a good impression and it has to be the best. I want to make my customers feel welcome all the time. If they feel good, they will return,” she said.

6

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

From napkins on the table to the back kitchen, Tina strictly emphasized that no matter how small the restaurant is, everything in the restaurant must be of high standard, as the customer will feel it. Nodding her head in agreement, Mandy says that she has heard this personally several times over her own training. “I learn all the time from seeing what and how she does it from working with our team,” she said. “I work with her as a staff and I also got told off by my mother. The key to a business owner is that you need to be able to do everything, from doing the dishes, cleaning toilet, vacuum and mop the floor, before you ask a staff to do it for you. My mother treats every staff like family member, that’s why everyone loves her and respect her.”

Inspired by her mother, Mandy travelled to Switzerland to study Diploma of Hotel Management and Hospitality at Ecole Hotelier de Montreux. She made it her passion to follow her mother’s footstep in carrying her family’s restaurant empire. “Mandy always wanted to follow me to the restaurant and wanted to do some works here,” Tina said. “I wanted her to focus on her study and work hard so that she can pursue her dream career whether or not it was in a restaurant business.” After returning, Mandy went to work at the Hilton for 6 months and another 3 months with the Conrad Treasury where she gained valuable experience on different areas of running a hospitality business. She then started work at Thai Orchid, Milton where she was responsible for Food and Beverage before extending to private function and event management. Like mother, like daughter, Mandy has also been instrumental in the planning stages for the newest chapter of the Thai Orchid Empire. Hoping to start up a new branch in Newstead, Tina is eager for Mandy to continue the legacy. Despite big shoes to fill, Mandy says that with her mother’s guidance, she has learnt a lot about what it means to be a good hostess. “My mum is very determined and never afraid of an idea to try new things,” Mandy said. “As a successful business woman, I think the key to that is that mum treats all her customers who walk into the restaurant as if everyone is a VIP guest.” Looking at her daughter Iris, Mandy says that there is no pressure for her to follow in the footsteps of both herself and her mother. “I want Iris to be able to do whatever she wants as long as she loves what she does and has fun with it every day,” she said. “Do what you can do best and do it well, then success is just around the corner, that’s what my mother taught me.”


Continuing a Legacy

Although still young, Iris is demonstrating incredible promise and passion for hospitality and Tina recognises that running a restaurant business may run in their blood. In the meantime, Tina continues to be as hands on as ever and is continuously invested in building up the next generation of restaurant owners while emphasizing the importance of superior service. “Factors involved in the success for restaurant businesses today are more than just the restaurants with good foods,” she said. “There are other factors such as staffing and whether the owners treat them as if they are part of the restaurant ownership.” With 30 years and three generations, Tina says that Thai Orchid’s success if not just how much it has expanded but it is the people and the relationships she has made over the years. From customers, to family and to staff members, everyone is a treasured part of her journey. Tina emphasises that new business owners should not just follow others because they have made it, but to find something that works for them. “As long as you make the best impression possible, it will be good,” she said. “The customer who is happy with your restaurant, they will come back not just once or twice but they will come back for generations.”

7


Love, freedom and diversity aya Angelou once said that in diver- learn. With long hours and grueling tasks, Dee says “Western work culture is different because you have to that it was the thought of his family that kept him be more independent and Emma always asks us for sity, there is beauty and strength. Being in the business of reuniting couples from all over the world, Emma Drynan sees this first hand. Since 2009, she has recognized the strengths of multiculturalism and has molded a team at Freedom Migration with people from various different cultures and backgrounds. This year, she welcomes Dee into the company family.

going.

“My parents never had the opportunity to pursue their own education but they worked hard so that I could study.”

“No matter where I am, I want to be able to support them and repay them for the support they have given me. Even while I am in Australia, I send money back Growing up in Thailand, Sophon Pathumratworakun home and so I have to do a lot of jobs,” he said. (Dee) was always a driven person. Completing several internships and work experiences while studying in We are really happy to have university, Dee graduated with a Bachelors of Law and Arts from Chulalongkorn University and RamkhamDee on board as he can haeng University in 2014.

bring so much to the team

Unsatisfied with a life only in Thailand, the 26-year-old wanted to continue expanding his knowledge and challenging himself. “I have been fortunate enough to have travelled to other countries before coming to Australia. I’ve been to New Zealand and Macau and to Tokyo as delegate to a conference run by the Asian Law Students Association (ALSA),” Dee said. “I really love travelling as you get to experience many different cultures and learn a lot of new things.”

Just having

someone who can speak Thai is very useful in

preventing things from being lost in translation or when chasing up a wayward document

Going abroad for holidays and going abroad for work, however, are two very different things as Dee soon found out. After arriving in Australia in 2015 on a working holiday visa, Dee experienced the struggle of finding a place to work. “When I first got to Australia, I worked many odd jobs. In April this year, Dee was excited to join the Freedom I worked in Thai restaurants as a kitchen hand, I Migration team. With a good command of the English language and with useful knowledge of law, Dee worked as a chef, a cleaner, a factory worker.” assimilated into the role of Thai representative seam“I did whatever job I could find and joined with the Thai lessly. community in Brisbane to see if I could find more work. Sometimes, I would teach Thai language and “I am happy to be able to work with Freedom Migrafor a while I worked as a sales representative,” he said. tion because it really challenges my abilities,” he said. Smiling cheerfully, Dee exudes a sense of gratefulness that is not something commonly found. Despite being more than qualified for white collar jobs, the Thai national took every experience as an opportunity to

“Working with clients, translating documents, doing a bit of marketing in the Thai community. It’s challenging every day. There are also a lot of cultural differences in the office to work with and I am learning a lot.”

our opinions. It’s different from eastern culture that doesn’t give you as much of an opportunity to think differently about your role,” Dee said. As a partner visa specialist, Emma often works with couples in a very personal way. Having Dee in the office has allowed Freedom Migration to have a better connection with Thai clients. “We are really happy to have Dee on board as he can bring so much to the team. Just having someone who can speak Thai is very useful in preventing things from being lost in translation or when chasing up a wayward document.” Emma said. “The people who come to us are from countries all over the world. They have been separated from the ones they love for long periods of time and are facing uncertain futures. When talking about something so personal, cultural backgrounds can play a very big part.” “It is important to me that Freedom Migration gives the best care we can and it’s great that we have such a multicultural team because it allows us to understand our clients better. Having Dee means that we can give even better attention to our clients from the Thai community,” she said. Not looking forward to the day his visa expires, Dee says that Freedom Migration has been a very good experience. Having a heart for the Thai couples in Brisbane, Dee can see that Emma and the team genuinely care about their clients. “Emma is really nice and I am glad to be able to work with her. Although it is challenging at times, she is supportive and I want to do my best to help the Thai community.” “Our clients are always the priority and we have been talking about what might happen when I go back to Thailand. There is a possibility that I will start the Thai branch of Freedom Migration back home which is quite exciting,” Dee said. “I know that coming here from an eastern background and learning the way the western world works, has taught me a lot. Now, I want to be able to use what I have learnt to help families and couples even more.”


“ผมดีใจมากครับที่ไดรวมงานกับ Freedom Migration นอกจากจะเปนงานที่ทาทายความสามารถ ผมยังไดเรียนรูสิ่งใหมๆ ตั้งแตติด ตอกับลูกคา การแปลเอกสาร งานลาม งานดานการตลาด งานประชาสัมพันธ รวมไปถึงการจัด event” นทามกลางความหลากหลาย มีความสวยงามและความแข็งแกรง มายา แองเกลลู ไดกลาวไว เอ็มมา ไดรแนนไดเขามาชวยใหความรักของคูร กั ทีม่ าจากทัว่ ทุกมุมโลกใหสมบูรณ แบบอยางแทจริง ตั้งแตป 2009 เธอเขาใจถึงพลังแหงความหลากหลายในโลก พหุวัฒนธรรมเธอจึงไดริเริ่มและรวบรวมทีมงานที่มาจากความหลากหลายทั้งดาน เชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรม และกอตั้ง Freedom Migration ขึ้นมา และในปนก้ี ไ็ ดมโี อกาสตอนรับทีมงานคนใหมเขามาในครอบครัว Freedom Migration คือหนุมไทยวัย 26 ป ชื่อดี หรือ โสภณ ปทุมรัตนวรกุล ดี เกิดที่ประเทศไทย สำเร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะนิติศาสตรบันฑิต และควบ ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต เอกภาษาอังกฤษ โทภาษาฝรั่งเศส จากรั้วพอขุนราม คำแหง ในป 2014 หลังจากเรียนจบดีไดเขาฝกงานในบริษัทกฎหมายชั้นนำของ ประเทศไทย และประสบการณการทำงานตางๆมากมาย ดวยความที่เปนคนใฝรู และชอบความทาทายในชีวิต ดีจึงไมอยากใชชีวิตอยูแคในประเทศไทย หนุมวัย 26 คนนี้ จึงเดินทางทองเที่ยวหาประสบการณชีวิตในตางประเทศ ดวยเงินสะสม ของตัวเอง

มาในชีวิต ดีบอกวาเมื่อคิดถึงพอแมจะทำใหมีกำลังใจทำงานตอ “พอแมของผม ไมมีโอกาสไดเรียนหนังสือ ทานทำงานหนักมากเพื่อใหผมและ นองไดเรียน ไมวาผมจะอยูที่ไหน ผมคิดเสมอวาผมจะสงเสียดูแลทานใหดีที่สุด และตอบแทนทานที่ ทำใหเรามีทุกวันนี้ครับ” เดือนเมษาทีผ่ า นมา ดีตน่ื เตนมากทีไ่ ดรว มงานกับครอบครัวทีมงานของ Freedom Migration ดวยคุณสมบัติภาษาอังกฤษและความรูดานกฎหมาย ปจจุบันดีทำงาน ตำแหนง ผูประสานงานวีซาใหกับคนไทย “ผมดีใจมากครับที่ไดรวมงานกับ Freedom Migration นอกจากจะเปนงานที่ ทาทายความสามารถของผมแลว ผมยังไดเรียนรูสิ่งใหมๆหลายๆแงมุม ตั้งแตติด ตอกับลูกคา การแปลเอกสาร งานลาม งานดานการตลาด งานประชาสัมพันธ รวมไปถึงการจัด event” “การทำงานรวมกับชาวตะวันตก ตางกับการทำงานบริษัทในเอเชียอยางบานเรา ครับ คือเราตองทำงานโดยพึ่งตัวเองใหมากที่สุดครับ นอกจากนี้ คุณเอ็มมาจะ ถามความเห็นเราเสมอ คือเอ็มมาพรอมที่จะรับฟงความคิดเห็นของเราครับ” ในฐานะผูที่เชี่ยวชาญดานวีซาคูรัก เอ็มมามักทำงานกับคูรักในแบบเปนกันเอง การที่ดีมารวมงานในออฟฟศก็เปนการให Freedom Migration เอื้ออำนวยความ สะดวกใหลูกคาคนไทยไดงายขึ้น “เราดีใจมากที่ไดดีมารวมงานกับเรา เพราะเขาสามารถทำสิ่งตางๆมากมายใหกับ ทีมงาน ดีเขามาชวยดานงานรับเอกสาร การแปลและทีจ่ ะชวยใหคนไทยยืน่ เอกสาร ไดสะดวกมากยิ่งขึ้น สิ่งสำคัญที่สุดของสำหรับฉัน คือ การที่ Freedom Migration ไดใหการบริการลูกคาใหดีที่สุด การที่เรามีทีมงานหลากหลายและมีดีเขามา รวมทีม ทำใหเราสามารถบริการลูกคาไดดีมากขึ้น” เอ็มมากลาว “ผมไมไดคิดถึงเรื่องวีซาหมดเลยครับ การทำงานกับ Freedom Migration เปน ประสบการณที่มีคามากครับ ผมไดเห็นการทำงานการดูแลลูกคาของเอ็มมาอยาง ดีมากๆครับ ทุกรายละเอียด และขัน้ ตอน เปนกันเองทีส่ ดุ เอ็มมาเปนคนทีอ่ ธั ยาศัยดี มาก ผมดีใจมากที่ไดรวมงานกับเธอ เธอสนับสนุนผมมาตลอด ผมจะทำหนาที่ ของผมใหดีที่สุดเพื่อชุมชนคนไทยครับ”

“ผมโชคดีมากครับที่ไดโอกาสไปทองเที่ยวตางประเทศดวยเงินของผมเอง กอนที่ จะมาออสเตรเลีย ผมไดไปนิวซีแลนด มาเกา และมีโอกาสไปประชุมงานสัมนา กฎหมายที่โตเกียว ประเทศญี่ปุน โดยสมาคมนักเรียนกฎหมายอาเซียน”

“ลูกคาตองมากอนครับและที่สำคัญ ผมกับเอ็มมาไดคุยกันถึงรายละเอียดถึงการ เปดสาขา Freedom Migration ที่เมืองไทย ตอนเมื่อผมกลับไป มันทาทายมาก ครับ”

“ผมชอบมากเลยครับไดออกเดินทางเพื่อคนหาความแตกตางทางวัฒนธรรม และ สิ่งใหมๆที่ผานเขามาในชีวิต”

“ผมเขาใจดีวาการมาจากประเทศตะวันออกและไดมีโอกาสเรียนรูโลกการทำงาน รวมกับชาวตะวันตกในประเทศของเขานั้น เปนบทเรียนที่หาซื้อไมได เพราะมัน เปนบทเรียนทีเ่ ขียนโดยผมเองครับ สุดทายนีผ้ มอยากใชความรู และประสบการณ ที่ไดสั่งสม ไปชวยเหลือผูอื่น และดูแลพอแมครอบครัว ของผมใหดีที่สุดครับ”

ดีไดคนพบวาการไปเที่ยวตางประเทศกับการทำงานที่ตางประเทศนั้นแตกตางกัน อยางสิ้นเชิง หลังจากมาประเทศออสเตรเลียในป 2015 ดวยวีซา Working and Holiday Visa การหางานในประเทศออสเตรเลียตองดิ้นรนและอาศัยความอดทน อยางสูง “งานแรกที่ดีไดทำงานตอนมาออสเตรเลียครั้งแรกคืองาน Kitchen hand และ ตามมาดวยงานตางๆมากมาย เชน คนทำมัฟฟนเบคอนไข หนุมโรงงาน พนัก งานทำความสะอาด ครูสอนภาษาไทย คนขายพาย” “ผมไมเกี่ยงงานครับทำงานอะไรก็ได พี่ปนแนะนำผมใหไดมีโอกาสรูจักกับพี่บุม ซึ่งเปนพี่ที่วิเศษมากๆ ที่ใหโอกาสและคำแนะนำดีๆเกี่ยวกับการทำงานในหลายๆ เรือ่ ง โดยเฉพาะสิง่ ทีพ่ บ่ี อกดีเรือ่ งงานขาย ชีวติ ของเราในหลายแงมมุ จะตองเกีย่ วของ กับงานขาย ตั้งแตการเขียนอีเมลถึงเจานาย การนำเสนอไอเดียใหลูกคาหรือการ ติดตอกับหนวยงานภายนอก ก็ลวนแตเปนการขาย ความสำคัญอยูที่ใหเคาอาน แลวอยากเปดโอกาสใหเรา อยากคุยและอยากซื้อสินคาหรือบริการของเรา” แมวาดีจะมีคุณสมบัติครบถวนที่พอจะทำงานออฟฟศใหญๆได แตหนุมสัญชาติ ไทยคนนี้ ไมเคยเกี่ยงงอนในเรื่องการเรียนรูและเปดรับโอกาสงานทุกอยางที่เขา

07 3112 5204 Don't risk the future of your relationship Registered Migration Agent #0960361

Contact the Freedom Migration team today on

Website: www.freedommigration.com


At night we used oil lamps and candles for light. Dad built a squat-style toilet outside the house, which we flushed by dumping a bucket of water in the hole. In fact, water was a scarce and valuable commodity for everyone in the village, not just us. It definitely wasn’t to be wasted. The Chi River flowed near Yasothon town, and there were small lakes and ponds scattered around the area, but they were too far from the village. Dad hired someone to dig a well near the house, and we had to fetch water in a bucket. The well water was used for all purposes except drinking. We only used rainwater for drinking. It was collected from the roof of the house along a gutter and pipe, then stored in a large clay jar outside the front door. The first rains of the year in early May would clean the dust and dirt from the roof, so we didn’t use that water for drinking. From the second rains of May until late September we collected and stored the rainwater for the coming dry season. Mom often boiled the rainwater for drinking, but actually it tasted good and sweet as it was. I miss the old custom of drinking rainwater. Nowadays Thais drink bottled water, even inthe countryside, since it’s more convenient and reliable, but the large clay jars that were used for collecting rainwater can still be seen in some remote areas.

True story

The Interpreter’s journal Life In The Village Benjawan Poomsan Becker

Moving from Bangkok to the village was a huge change for all of us. My relatives had lived in Yasothon for many generations, and some played an important part in the social affairs of the region. At the time we moved back to the area, my maternal grandfather was the deputy district officer, a high rank in the local administration. Mom told me that her parents had inherited a substantial amount of farmland over the years, and later purchased quite a bit on their own, making them one of the more well-to-do families in the area. My maternal grandparents gave us some of their farmland in the village of Ban Donhaet, or “Land of Rhinoceroses,” about four kilometers from Yasothon town. According to the old folks, many years ago there were rhinoceroses roaming the local landscape, hence the village nickname. Here, Dad planned to start his livestock project. There was an existing small house on the property, which Dad and my older brother renovated and extended to accommodate our family of six. To say life here was totally different from life in Bangkok would be an understatement. There was running water and electricity in the central business district of Yasothon town, but not in our village. 12

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

Traditional Thai families are quite large, and I had about forty cousins in all, from both sides of the family. My maternal grandmother’s family had been large-scale rice producers and had many people working for them. At one point they decided to rent out some land to other farmers, and began to buy and sell land instead of doing the actual farming. The desire to own land is an ingrained characteristic in Thais that can be traced back to the feudal system during the Ayuthaya period about 600 years ago. Thais have extreme pride in land ownership whether or not the property generates income or appreciates in value. We had a typically large and extended family, so there were always plenty of hands to work the fields. I never knew much about my father’s side of the family. Dad’s parents died before I was born, and I knew only some of his siblings and cousins. Traditional Thai families are quite large, and I had about forty cousins in all, from both sides of the family. Almost all of them were living in Yasothon province at the time. The close-knit family and community is a very strong concept in Thai society, and people are usually born and raised, and then marry and settle down, in the same local area.


Many of my relatives were living in Yasothon town because they owned businesses there. They had shops close to each other. One uncle owned an auto body repair shop, one of my aunts had a restaurant, another aunt owned a camera shop, and another was the proprietor of a mini market. They were the new breed of Thai entrepreneur, working alongside the established Chinese businesspeople in town. People of Chinese descent ran most of the businesses at the time, and to the present day. It’s still the case that many Thais prefer to work for the government rather than establish their own businesses. In Thailand, government workers are guaranteed benefits for themselves and their families for life. Although the salaries are comparatively low, their social status is high. Many Thais still aspire for their children to work for the government as opposed to being farmers, which is harder work for less reward, or owning their own business, which might generate more money but is much riskier. After sixteen years as a flight planner with BOAC in Bangkok, Dad had given it up to risk becoming an entrepreneur farmer back in the village. But instead of rice farming, his dream was to raise animals like he’d seen during his trip to Hong Kong. He used all of his savings to buy piglets, chickens, and turkeys. These were the animals I saw every day, along with dogs, cats, scorpions, mosquitoes, ants, flies, and snakes. Growing up in the village was one of the most precious periods in my life. Even though we were there for only two years, I developed an affinity with the local people. Their lives were hard, and from them I learned what being poor was really like. I soon made friends with the other kids and their families, and I started learning how to speak the local Lao dialect. Back in Bangkok, I’d spoken only Thai, so my playmates took delight in hearing me speak Central Thai with my little brother, since it was foreign-sounding to them. Mom frowned upon my learning to speak Lao. If you spoke Lao, people in other parts of Thailand would look down on you, assuming you were just a poor Isaan farmer. I didn’t care about such things; learning Lao was interesting, and I could have more fun with my new friends.

The elementary school was in town, and it took about twenty minutes for Dad to drive my younger brother and me there on his motorcycle every day. He had sold his pick-up truck by this time, and had purchased two bicycles for my older siblings. That was our transportation in the village. Everybody I knew in the village was Buddhist, my entire extended family included. Theravada Buddhism is practiced by almost 95 percent of Thai people. It’s a religion and a way of life that Thais have followed for centuries, and it has a strong influence on the way Thais think, what they value, and how they conduct their lives. Just across the road from our house was a small temple or wat, where people from the village and the surrounding area came to make merit, give food to the monks, and hold religious and social events. The temple was and still is the center of the spiritual and social life of the village. The bodies of the dead were cremated there. Occasionally on the temple grounds a fair would be held, with food stalls and games and an open-air movie. Usually some drug company sponsored the movie, and tried to sell medicine to the audience during the intermission. I always enjoyed the temple fairs because they brought excitement and entertainment to our simple village life.

Need Asian massage therapists / assistants In Springfield shopping mall, male or female, age 18-55. Training provided, no experience needed. Must speak English. Higher commission if you have experience.

Contact 0415 888 698.

รับสมัครพนักงานนวดบำบัด และพนักงานงานประจำรานนวด ชาย หญิง อายุระหวาง 18-55 สามารถสื่อสารดวยภาษา อังกฤษได ไมจำเปนตองมีประสบการณ เพราะบริษัทมี ฝกอบรมให หากมีประสบการณจะมีคาคอมมิสชั่นพิเศษให รานตั้งอยูในหางสรรพสินคาสปริงฟลด

สนใจติดตอ 0415 888 698

บริการตอขนตาดวย เทคนิคสไตลญี่ปุน ตอขนตาเสนตอเสน ดวยขนมิงคแท อุปกรณและกาวตอจากญี่ปุนทั้งหมด

ชางสามารถไปหาที่บานลูกคาและเปดบาน ใหลูกคามาหาได ติดตอขอนัดเวลา สถานที่ รับบริการไดที่

คุณกั้ง 045 221 9395 13


พืน้ ทีใ่ นเขตตัวเมืองชัน้ ในทีห่ า มพลาด ขอมูลการเติบโตยอนหลังคือเครือ่ งพิสจู น

ราคาโดยเฉลีย่ ของอพารทเมนท ในเขต Newstead นัน้ เพิม่ ขึน้ ตลอดสิบปทผ่ี า นมากวา

ตอป

4 2 3 2

m098

notlimaH ,ecalP tesremoS 11

โปรโมชัน่ สุดพิเศษจาก Homestates

etatse doowekaL fo teerts laitnediser lufecaep eht nihtiw detacol si emoh ylimaf tcefrep sihT rojam lla raen detacol yltcefrep si nosnikraP .kcolb m qs098 evissam a no ,nosnikraP ni tcefrep ti sekam sihT .tropria s’ enabsirB ro hciwspI ,tsaoc dlog eht ot ssecca ysae rof syaweerf no hcaeb eht no xaler ot stnaw neht tub enabsirB ni stnemtimmoc krow sah ohw ylimaf a rof ,dlrow maerd ekil skrap emeht rojam eht lla ot evird setunim 03 revo tsuj s’tI .sdnekeew eht .dlrow eivom dna dlroW aeS .etatse doowekaL ot klaw m002 ,ecalptekraM elavmalaC ot klaw m004 ysaE ·

ไดรบั อิควิตท้ี นั ที

ประกันผลตอบแทนคาเชาที่ 6 เดือนแรก

ytinummoC )21rY – perP( elavmalaC gnidulcni ,sloohcs suoirav ot evird ’setunim weF · loohcS yramirP etatS retseglA ,egelloC ytinummoC )21rY - perP( nottertS ,egelloC cilohtaC s’nehpetS tS dna ,loohcS laicepS elavmalaC ,egelloC modsiW ,)6rY -perP( .)6rY-perP( loohcS yramirP .nehctik eht ediseb saera gnivil dna gninid denoitidnเดิoนcถึ-งriGasworks a nalp nepO · เดินถึงรถเมล หางจากตัวเมือง เดินถึง James St

.naf gniliec lanoitidda htiw egnuol lamrof ot tnecajda aera yduts/gninid etarapeS ·

YTLAER SETATSEMOH

nawahjiN i 751 156 50 ขับรถถึงสนามบิน ดวย Airport Link ua.moc.setatsemoh@naw

80 66 88 0031 | ua.moc.setatsemoh@enabsirb.ofni | 5004 DLQ effireneT ,tS ecnerolF 03 ,C9 etiuS ,secffiO no


4 2 3 890m2

11 Somerset Place, Hamilton บานอัperfect นอบอุน เหมาะสำหรั ครอบครัis วหลัlocated งนีต้ ง้ั อยูบ นถนนอั น้ ทีห่ มูบ า น residential Lakewood เขตstreet Parkinson ทด่ี นิ ใหญขนาด 890 ตรม. This family บhome withinนสงบในพื the peaceful of โดยมี Lakewood estate Parkinson นันon ้ อยูใ aกลmassive ทางดวนหลายสาย เดินblock. ทางไดอยParkinson างสะดวกสบายไปสู  Gold Coast,located Ipswich near หรือ สนามบิ น Brisbane inเขต Parkinson, 890sqจึงm is perfectly all major freeways for easy access to the gold coast, Ipswich or Brisbane’s airport. This makes it perfect for who has work commitments in Brisbane but then wants to relax onวงสุ the onน นีจ่ งึ aเปfamily นบานทีเ่ หมาะมากสำหรั บครอบครั วทีต่ อ งเดินทางไปทำงานที บ่ ริสเบน แต กอ็ ยากจะได พกั ผอนบนชายหาดในช ดสัปbeach ดาห บานนี ้ น้ั the over ก30 all the theme เพียweekends. งแคขบั รถไป 30It’s นาทีjust ก็ถงึ สวนสนุ ชือ่ ดัminutes งมากมายทัง้ drive DreamtoWorld Sea major World และ Movieparks World like dream world, Sea World and movie world. · Easyนอย 400m toยCalamvale Lakewood estate. - สามารถเดิ างสบายwalk ๆ ไปเพี ง 400 เมตร ก็Marketplace, ถึงตลาด Calamvale200m และ เดินwalk 200 to เมตร ถึงหมูบาน Lakewood · Few minutes’ drive to various schools, including Calamvale (Prep – Yr12) Community

Arti Nijhawan 0405 651 157 arti.nijhawan@homestates.com.au

- ขับรถเพียงไมกี่นาทีก็ถึงโรงเรียนตาง ๆ ซึ่งรวมถึง Calamvale (Prep – Yr12) Community College, Stretton (Prep - Yr12) Community College, Stretton (Prep - Yr12) Community College, Algester State Primary School College, (PrepAlgester Yr6), State Primary School (Prep- Yr6), Wisdom College, Calamvale Special School, and St Stephen’s Catholic Wisdom College, Calamvale Special School, and St Stephen’s Catholic Primary School (Prep-Yr6) Primary School (Prep-Yr6). - มีพื้น· ทีOpen ่เปด มีเplan ครื่องปรัair-conditioned บอากาศ สำหรับพื้นที่รdining ับประทานอาหารและห กผอนทีbeside ่อยูขางครัthe ว kitchen. and livingองพั areas - พื้นที· ่แSeparate ยกสวนสำหรัdining/study บรับประทานอาหารและอ งสืออยูขาto ง ๆformal สวนรับรองแขก มีพwith ัดลมแขวนเพดาน areaานหนั adjacent lounge additional ceiling fan.

The London Offices, Suite 9C, 30 Florence St, Teneriffe QLD 4005 | info.brisbane@homestates.com.au | 1300 88 66 08

HOMESTATES REALTY


สามารถเปรียบเทียบแข่งขัน Mount Gravatt กับเขต Chatswood ของรัฐ NSW ได้หรือเปล่า?

บทวิจัยตลาด และพัฒนา

จากการเคลือ่ นไหวซึง่ บงชีถ้ งึ ภาวะตลาดอสังหาริมทรัพยในปจจุบนั นัน้ พบวามีแนวโนมของนักลงทุนอสังหาริมทรัพยในซิดนียแ ละเมลเบิรนที่ พากันยายเม็ดเงินมายังบริสเบนสูอสังหาริมทรัพยที่มีราคานาสนใจ ทีมวิจัยของ Homestates ไดเปรียบเทียบหนึ่งในบรรดาเขตที่ไดรับความ นิยมมากในรัฐ NSW เทียบกับอีกเขตของรัฐ QLD เพื่อนำเสนอขอมูลแนวโนมสำคัญเกี่ยวกับบานและที่อยูอาศัย ดังตอไปนี้

Homestates ขอนำเสนอบทวิจยั ตลาดและพัฒนา เพื่อมอบสาระความรู และการวิเคราะหที่ทันตอ เหตุการณสำหรับตลาดอสังหาริมทรัพยในออสเตรเลีย ทีมวิจัยและพัฒนาถูกกอตั้งขึ้น เพื่อสนับสนุน นักลงทุนและลูกคาเพื่อนำเสนอมุมมองภาพกวาง อยางครบถวนของตลาดออสเตรเลีย

Chatswood (รัฐ NSW)

Mount Gravatt (รัฐควีนสแลนด์)

เขต Chatswood (รัฐ NSW) นี้คือหนึ่งในบรรดายานการคา อันใหญโตของซิดนีย และ เปนนับเปนยานทีม่ วี ฒ ั นธรรมหลากหลาย

Mount Gravatt (รัฐ QLD) นีเ้ ปนหนึง่ ในเขตสำคัญของบริสเบน โดยมีลักษณะเดนคือมีทำเลเปนเลิศสำหรับการจับจายใชสอย และแหลงรวมสถานศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกันแลว เขตนี้นับ วามีไลฟสไตลที่นาอยูอาศัยเชนกัน

พื้นที่นี้มีประชากรที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และมีพื้นที่ทั้งโซนทำงานและ มียานพักผอนหยอนใจ:

เราพรอมมุงมั่นนำทักษะและความเชี่ยวชาญของ เราเพือ่ ชวยใหคณ ุ มีขอ มูลในการตัดสินใจและสามารถ ซื้ออสังหาริมทรัพยไดอยางมั่นใจ การวิจัยและ พัฒนาถือเปนหนึง่ ในหลักสำคัญของ Homestates ซึ่งใหบริการโดยยึดลูกคาเปนศูนยกลาง: ในฐานะที่เปนผูนำในดานธุรกิจตัวกลางและการให คำปรึกษาในออสเตรเลีย เครือ Homestates พรอม ใหบริการอยางครบวงจรทั้งในดาน การลงทุนใน อสังหาริมทรัพย การขายอสังหาริมทรัพย การ บริหารจัดการอสังหาริมทรัพย การใหคำปรึกษา ยายถิ่นฐาน และ การใหบริการทางการศึกษา

ขอมูลและสถิตินำมาจาก realestate.com.au

Ri Maksirakul Property Specialist

HOMESTATES REALTY

—http://www.afr.com/real-estate/property-developers-follow-sydney-buyers-to-brisbane-20151217-glq53d

0430 220 063

SPECIALISATION IN PROPERTY INVESTMENT PORTFOLIOS MASTERS OF INTERNATIONAL BUSINESS (QUT) NATIVE IN THAI, FLUENT IN ENGLISH RI.MAKSIRAKUL@HOMESTATES.COM.AU

T 1300 88 66 08 | E info.brisbane@homestates.com.au | W www.homestates.com.au


Joining the celebration and congratulations to Tina Ratanavaraha, her families and staffs at the Thai Orchid Springwood for its 30 years anniversary. Wising you every success in many more years to come. Thai Naramit Team

BRISBANE AIRPORT

Call

(07) 3268 5146 or (07) 3172 0259

Open 7 days 7 nights Monday - Sunday Dinner 5pm til Late Lunch 11.00 - 3.00pm

4/5 Zillman Road, Hendra, Brisbane, Queensland, Australia


Honorary-Consul Andrew Park Queensland Consulate News

Dear Thai community friends,

สวัสดีครับ

It has been a busy period for the Thai Consulate in Brisbane in relation to all aspects of our operations on behalf of the Thai people– consular, community, trade and investment.

นับเปนชวงเวลายุง ๆของงานแทบทุกดานภายในสถานกงสุล ณ นครบริสเบน ทั้งงานประสานงานกงสุลกับคนไทย งานชุมชน และงานดานการคาและ การลงทุน

We were honored to visit Thai Airways new offices in Brisbane to join Thai Airways management in paying respect to His Majesty King Bhumibol’s remarkable 70 years on the throne. His Majesty is the longest-reigning monarch in the world, someone we all love and respect deeply - and we wish him good health and a long life. The Consulate recently hosted visiting consular officials from the Thai Embassy in Canberra as part of their ‘mobile passport office’ service. Over 250 passport interviews were conducted over 5 ½ days. Normally Thais wishing to apply for or renew their passports are required to travel to Sydney or Canberra, however 1-2 times a year Embassy staff will visit Brisbane to offer this service. Please keep an eye on the Brisbane Consulate’s Facebook page or website for updates on when this service will be offered in Brisbane again. Thai Ambassador to Australia, HE Chirachai Punkrasin, led an agribusiness trade and investment mission to Thailand in late May. The delegation was made up of Queensland and West Australian agriculture businessmen and I was honored to be invited to join the trade mission. For those Queenslanders I accompanied they certainly were pleasantly surprised by the business opportunity which investing in Thailand represents, and the size of the market for the sale of Australian agricultural produce. I am optimistic we will see more investment by Queensland companies into Thailand even more trade flows between Queensland and the Kingdom. Congratulations to the Thai Australia Association of Queensland (TAAQ) for another very successful ‘Friendship Cup’ golf tournament held on the Gold Coast recently. I would particularly like to acknowledge the large donation made to Mater Hospital’s ‘Little Miracles’ charity by TAAQ from the Golf Day’s proceeds. Almost fifty students and farmers associated with the Highland Research and Development Institute (HRDI) from Chiang Mai visited South-East Queensland in early June under a study programme funded by the Royal Project. I was able to meet with the HRDI’s Chairman, Dr Ampon Kittiampon, who is also the Thai Government’s Cabinet Secretary. The delegation had a busy programme which consisted of a number of farm visits in the Gatton and Stanthorpe regions and also visited Mt Coo-tha Botanic Gardens and Wat Thai Buddharam for a briefing on the Ordination Hall project. Finally, I would like to congratulate Brisbane’s first Thai Restaurateur Khun Tina Ratanavaraha, who celebrates 30 years of trading in her Thai Orchid Restaurant in Springwood. Tina is not only a trailblazing restaurateur, but is also a much loved and respected leader of Queensland’s Thai community and a strong supporter of Wat Thai Buddharam. I know Tina still has great plans for more restaurant success, and backed up by her daughter Mandy I am sure they will enjoy, justifiably, more and more success in the future. Well done Khun Tina, we are all very proud of you! Warm regards, Andrew Park Honorary Consul of Thailand for Queensland 18

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

เรารูส กึ เปนเกียรติทไ่ี ดไปเยีย่ มสำนักงานการบินไทยแหงใหมและรวมกับทีม งานการบินไทยถวายความเคารพแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่พระ องคทรงครองราชยครบ 70 ป ทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย ยาวนาน ที่สุดในโลก ขอพระองคทรงมีพระสุขพลานามัย แข็งแรงและ ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน

ผมยังไดมีโอกาสตอนรับและรวมคณะนักเรียนและเกษตรกรจากเมืองไทย ที่ทำงานรวมงานกับสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง หรือสวพส (Highland Research and Development Institute-HRDI) ที่นำโดยดร.อำพน กิตติ อำพน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ซึง่ ไดเดินทางไปเยีย่ มชมพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ทีเ่ มือง Gatton และ Stanthorpe รวมทัง้ ไดไปดูสวนพฤกษชาติท่ี Mt Coo-tha และไปเยี่ยมวัดไทยพุทธาราม เพื่อเขารวมฟงรายละเอียดโครงการสราง พระอุโบสถอีกดวย

เมื่อเร็วๆนี้สถานกงสุลเปดบริการกงสุลสัญจรจากเจาหนาที่ที่มาจากสถาน ทูตไทย ณ กรุงแคนเบอรราที่มาใหบริการสัมภาษณและจัดทำหนังสือเดิน ทางไทยกวา 250 ฉบับ ตลอดระยะเวลา 5 วันครึ่ง จากเดิมคนไทยที่ตอง การใชบริกรดานหนังสือเดินทางไมวาจะทำเลมใหมหรือตออายุ จะตองเดิน ทางไปแคนเบอรราหรือไมก็ซิดนี่ย แตตอนนี้เจาหนาที่จากสถานทูตไทยจะ มาใหบริการที่บริสเบนปละ 1-2 ครั้ง ผมอยากใหทุกทานติดตามขาวสาร ทางหนาเฟซบุคของสถานกงสุล หรือเว็บไซตที่คอยอัพเดทขาวสารเกี่ยว กับบริการกงสุลสัญจรกันครับ

ตองขอแสดงความยินดีกับสมาคมไทย ออสเตรเลียน แหงรัฐควีนสแลนด ที่จัดงานกอลฟกระชับมิตร ‘Friendship Cup’ ที่โกลดโคสตเมื่อเร็วนี้ ได สำเร็จอีกครั้งหนึ่ง โดยเงินรายไดจากการจัดงานครั้งนี้ไดมีการมอบใหกับ โครงการการกุ​ุศล ‘Little Miracles’ภายใตการดำเนินงานของโรงพยาบาล Mater Hospital

สุดทายนี้ ผมขอถือโอกาสนี้แสดงความยินดีกับคุณทีนา รัตนวราหะ เจา ของรานไทยออรคิด ในการฉลองครบรอบ 30 ปรานอาหารไทยรานแรก ของบริสเบน นอกจากเปนผูบุกเบิกรานอาหารไทยแลวคุณทีนายังเปนที่ รักและเคารพนับถือในฐานะผูน ำชุมชนไทย เปนผูส นับสนุนการทำงานของ วัดไทยพุทธาราม ผมรูวาคุณทีนายังคงมุงมั่นที่จะสานตอความสำเร็จใน กิจการรานอาหารซึ่งมีคุณแมนดี้ ลูกสาวคนเกง ที่คอยเปนพลังและกำลัง สำคัญ ผมเชื่อวาทั้งคูจะยินดีในความสำเร็จในสิ่งที่กำลังจะเกิดขึ้น ขอแสดงความนับถือ แอนดรูว พารค กงสุลกิตติมศักดิ์ แหงรัฐควีนสแลนด


NEWSLETTER

สมาคมไทยออสเตรเลียนแหงรัฐควีนสแลนด

สมาคมฯขอรวมแสดงความยินดีกับ คุณทีนา รัตนวราหะ หรือคุณติ๊ก ครอบครัวและทีมงาน ของ รานอาหารไทยออรคิด สปริงวูด ในโอกาสการฉลองครบรอบ 30 ป ขอใหกิจการรุงเรืองกาวหนาตลอดไป On this auspicious occasion, TAAQ wish to congratulate and join the celebration with Tina Ratanavaraha, her family and staffs at Thai Orchid Springwood on its 30 years anniversary.

เมื่อเร็วๆนี้ คณะกรรมการสมาคมไทยออสเตรเลียนแหงรัฐควีนสแลนด ไดรับเชิญเขารวมประชุมที่สถานกงสุลกิตติมศักดิ์กับนายแอนดรูว พารค กงสุลกิตติมศักดคนใหมแหงรัฐควีนสแลนด ซึง่ ดำรงตำแหนงรองประธาน สมาคมฯดวย โดยนายวิญญา จันทรา ประธานสมาคม ไดเปนตัวแทน มอบชอดอกไม เพื่อแสดงความยินดีอยางเปนทางการในการเขารับ ตำแหนงกงสุลกิตติมศักดิ์ และในฐานะทีน่ ายแอนดรูว พารคไดทำงานรวม กับสมาคมฯและสนับสนุนการทำงานของชุมชนไทยดวยดีตลอดมา ในการประชุมครั้งนี้ไดมีการพูดคุยถึงการจัดกิจกรรมตางๆที่กำลังจะเกิด ขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง งานบริสเบน ไทยเฟสติวัล 2016 ที่กำลังจะมีขึ้น ในอีกไมกี่เดือนขางหนา หากทานอยากติดตามความเคลื่อนไหว และความคืบหนาในการจัดงาน สามารถเขาไปเยี่ยมชมเว็บไซตของสมาคมฯไดที่: http://www.taaq.org.au/brisbane-thai-festival-2016/

The Committee of Thai Australian Association in Queensland (TAAQ) was invited to chair a meeting at the Royal Consulate Office in Brisbane to discuss annual plan of activities. The President and committee of the association also took an opportunity to present bouquets to express their appreciation to the new Honorary Consul Mr Andrew Park for his appointment and support he provide to the work of TAAQ. The major annual activities such as the Brisbane Thai Festival 2016 is one of the upcoming event, please check the Association website for more details:

สมาคมไทยออสเตรเลียนแหงรัฐควีนสแลนด

http://www.taaq.org.au/brisbane-thai-festival-2016/


by Santanee Otto

Design Trend

Designing with Natural Stones 1 2

(FR 2XWGRRU ,PDJ

(FR 2XWGRRU ,PDJHV

3

The big bad wolf couldn’t blow this house down! That was my first impression, of the modest showroom entranceway-transcending economic and artistic success. It penetrates good craftsmanship, unique to Brisbane, with its contemporary lines. The stone decorated walls and strong wooden roof truss are raw and true to the showroom’s name, Eco Outdoor. With design shifts to spontaneity and unpredictability, all products are well prepared to “Everything we do has been developed with you in mind.” Walking through the timeless open plan, the array of designs that showcases the expanse of the high ceiling has deference to natural light and organic walls. The patterns, scars, veins, and fissures inherent in their displays of natural stone are imperfections that become perfect for the eye. The well proportion space has made for a warm and welcoming presence of rustic elegance and modern principles. Their varieties of displayed tactile stone finish on the walls and floors gives enhancement to the characteristics of the natural stone and richness of textures. I appreciate quality delivery to their products. Their selection of a rich variety of colours, are complimentary to the robust timeless design strategy. Such artistic prosperity can give refinement and a grand perspective, potentially for your home or business!

entertainer. Modern solid teak in a variety of finishes (my favorite-wire brushed), stainless steel and galvanized steel, outdoor resistant materials and luxuriously durable soft fabrics. The outdoor furniture ranges from chairs(1-3), tables(4), lounges, daybeds(5), beanbags, cushions, umbrellas and fans. “Our outdoor spaces are not an extension of what we do indoors, they’re a new space all of their own.” www.ecooutdoor.com.au

4

5

In combination to their product line, the outdoor furniture range is perfect for any

7 6

20

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE


OPEN NOW

ÊÓËÃѺ¼Ùʹ㨺ÃÔ¡ÒôÒ¹Ê§ÅÙ¡ËÅÒ¹ ÁÒÈÖ¡ÉÒµÍáÅзͧà·ÕèÂÇ·ÕèÍÍÊàµÃàÅÕÂ

¤ÍÃÊàÃÕ¹ÀÒÉÒ Cer Dip TAFE Uni ãËºÃÔ¡ÒûÃÖ¡ÉÒ¿ÃÕ áÅЪÇÂÂ×è¹ÇÕ«ҹѡàÃÕ¹ áÅÐÇÕ«ÒµÔ´µÒÁãË´ÇÂ

NEW OFFICE IN CBD พบกับออฟฟิศใหม่ ใจกลางเมืองบริสเบน

54/111 Eagle St Brisbane 4000 Mob no. 0419773321 Lines id. toncity88

ติดต่อ คุณต้น

Anocha Janrattana (Tonya) Exective Director I Inter Educational Counselor linksmartinter@gmail.com Office no. +61 07 3012 6417-8


Old Tales Retold

เรื่อง: ศุภลักษณ สนธิชัย

เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก านกวีเอกสุนทรภู ผูฝากปากฝากคำเปนกลอนแสนเสนาะและแฝง ความหมายลึกซึ้ง ไดรจนากลอนบทหนึ่งเอาไววา

ไปเปนนายหนาหาประกันชีวิตแทน ซึ่งก็เหมาะกับอุปนิสัยและคุณสมบัติสาลิกา ลิ้นทองของเขา การทำงานประกันชีวิตเจริญรุงเรืองขึ้นเปนลำดับ

“ถึงบางพูดดีเปนศรีศักดิ์ คนก็รักรสถอยอรอยจิต แมนพูดชั่วตัวตายทำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา”

ตอมาดวยความฉลาดเฉลียวอันเปนพรสวรรคทต่ี ดิ ตัวมาตัง้ แตกำเนิด คิง โอ’มอลลี่ เริ่มมองเห็นวาธุรกิจการขายที่ดินเปนธุรกิจที่ทำเงินไดดีเดียว เขาจึงทิ้งงานขาย ประกันชีวิต จัดตั้งสำนักงานซื้อขายที่ดินขึ้นที่แคนซัส เริ่มธุรกิจการซื้อขายที่ดิน ดวยการขึ้นปายตัวโตๆที่สำนักงานวา “ขายทุกอยางในโลกนี้”

ความหมายของกลอนบทนีเ้ ปนสัจธรรมทีเ่ ห็นกันอยูท ว่ั ไปในสังคมปจจุบนั ตัวอยาง ของคนที่ไดดีเพราะปากก็มีอยูทุกยุคทุกสมัย สมดังที่ทานกวีเอกของไทยเราได ฝากคำเตือนใจเอาไวอีกหนึ่งวา “เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา” วันนี้ไมไดตั้งใจจะแยงอาจารยประจักษ ประภาพิทยากร ผูมีความถนัดเปนพิเศษ ในเรื่องเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี จนเปนที่เลื่องลือในยุทธจักรนักวิชาการนัก เขียน เขียนถึงทานกวีเอกสุนทรภูหรอก ที่ยกคำกลอนของทานสุนทรภูมากลาว อางก็เพราะวาความหมายลึกซึ้งของคำกลอนนี้ ชวนใหนึกถึงรัฐบุรุษคนสำคัญคน หนึ่งของออสเตรเลียขึ้นมาได ชีวิตของทานผูนี้มีอะไรหลายอยางที่นารูนาศึกษา ไมนอยเลย จึงขอนำเกร็ดประวัติชีวิตของทานมาเลาสูกันฟง คิง โอ’มอลลี่ เกิดที่แคแนดา เมื่อป ค.ศ. 1854 เรียนหนังสือไดแคอายุสิบสี่เทา นั้นก็เลิกเรียน เพราะลุงของเขาซึ่งเปนนายธนาคารอยูที่นิวยอรค ชวนไปทำงาน ธนาคาร เขาทำงานธนาคารกับลุงอยูไดพักหนึ่ง ความชางพูดชางเจรจาของคิงทำ ใหเขาอยูนิ่งๆไมได คิงเริ่มวิพากษวิจารณวิจารณการบริหารงานของธนาคาร เพราะเขาคิดวาเขารูเรื่องการธนาคารดีกวาลุงของเขาเสียอีก ลุงเห็นวาไอหลาน ชายคนนี้ชักกำแหงและพูดปากไปแลว ก็เลยตัดสินใจเขี่ยเขาออกไปจากวงการ ธนาคารเสียเลย พอหนุมชางพูดจากแคนาดาก็ตองเปลี่ยนงานจากหนุมธนาคาร 22 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ธุรกิจการขายที่ดินของคิง โอ’มอลลี่ ทำเงินใหเขามากโขอยู แตคนอยางเขาไม ยอมหยุดอยูแคนี้หรอก ดังนั้นพอไดขาววา รัฐเท็กซัส ประกาศจะยกที่ดินใหกับ องคกรทางศาสนาหนึง่ ศาสนาใจฟรีๆเขาก็รบี จัดตัง้ “วอเตอรลลิ ลีร่ อ็ คเบาวดเชิรช ” ขึ้นมาทันที โดยที่โบสถนี้มีตัวเขาเองเปนบิชอป คิง โอ’มอลลี่ ตองเทศนใหชาว คริสเตียนฟง ตองทำการกุศลตางๆและครองชีวิตบริสุทธิ์โดยไมแตะตองสุราและ ยาสูบโดยเด็ดขาด เขาปฏิบตั ติ นในฐานะพระผูน ำทางศาสนาไดดเี ยีย่ ม จนกระทัง่ วันหนึ่งเขาเริ่มรูสึกวาเขากำลังเปนโรคปอดเขาแลว ในสมัยนั้นวัณโรคเปนโรคที่ รายกาจนากลัวทีส่ ดุ ทีย่ ากจะรักษาหาย คิง โอ’มอลลี่ เขาไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล และที่นั่นเขาเจอกะลาสีเรือคนหนึ่ง ผูเคยเดินทางไปถึงเมืองร็อคแฮมพตัน ในรัฐ ควีนสแลนด ของออสเตรเลีย กะลาสีเรือคนนั้นคุยวาเมืองร็อคแฮมพตัน เปน เมืองที่อากาศดีที่สุดในโลกสำหรับคนที่เปนวัณโรค ไมรูวากะลาสีเรือคนนั้นพูด จริงหรือวาโกหก แตคิง โอ’มอลลี่ก็เชื่อและสนใจที่จะหาทางไปออสเตรเลียใหได ซึ่งก็คงเปนทำนองเดียวกับคนที่จะจมน้ำตาย แลวควาไดฟางเสนสุดทายเอาไว นั่นแหละ เขาตัดสินใจเดินทางไกลขามโลกไปออสเตรเลีย แตพอวันเดินทางใกลเขามา คิง โอ’มอลลี่ ก็เกิดความกลัววาเขาอาจจะไปตายใน ระหวางการเดินทาง เขาจึงเตรียมโลงศพทำดวยตะกั่วไปดวย เผื่อวาถาเขาตาย ไป ศพของเขาก็จะถูกบรรจุลงโลงกอนที่จะถูกทิ้งทะเล ไมเชนนั้นซากศพของเขา


ก็จะถูกทิ้งลงในทะเลโดยไมมีโลง เขากลัวปลาฉลามจะมารุมทึ้งฉีกกินเนื้อหนัง มังสาของเขา กัปตันเรือไมชอบใจนักที่คนโดยสารอยาง คิง โอ’มอลลี่เตรียมเอาโลงศพลงเรือ ไปดวย ราวกับรูต วั วาจะไปตายใหเปนราคีกบั เรือของเขา คิงโอ’มอลลีต่ อ งออนวอน และหวานลอมกัปตันเรืออยูนาน กวากัปตันจะยอมใหเขาเอาโลงศพไปดวย เขา สัญญากับกัปตันเรือวา ถาเขาตายบนเรือ เขาก็ขอยกสมบัติตางๆที่ติดตัวมาให กัปตันทั้งหมด เชน เสื้อผา แหวนเพชรกับเข็มเสียบเน็คไท กัปตันเห็นแกสินบน ก็เลยยอม การเดินทางไกลรอนแรมไปในทะเลกวางกินเวลานานเปนเดือน ไมมี อะไรเกิดขึ้นกับคิง โอ’มอลลี่ เขาไมตาย และเขาเดินทางไปถึงร็อคแฮมพตันโดย ปลอดภัย คิง โอ’มอลลี่ไปพักรักษาตัวอยูที่ อีมู ปารค ริมแมน้ำฟทซรอย เปนเวลานานถึง สองปเต็มๆ เขาใชชวี ติ อยูท า มกลางพวกคนปาอะบอริจนิ จนกระทัง่ ในไมชา อาการ โรคปอดของเขาก็ทุเลาลงจนกระทั่งหายขาด คิง โอ’มอลลี่เขียนจดหมายฉบับ หนึง่ ถึงบริษทั ประกันภัยในอเมริกาทีเ่ ขาเคยทำงานดวย ในจดหมายเขาขอใหบริษทั ประกันแตงตั้งเขาเปนผูแทนสาขาในประเทศออสเตรเลีย บริษัทประกันภัยตกลง แตงตั้งเขาเปนผูแทนสาขา ตามที่คิงเสนอ คิงเริ่มงานขายประกันไปทั่วออสเตรเลีย เขาประสบความสำเร็จในงานอาชีพเปน อยางดี เพราะคุณสมบัติ “เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา” นี่เอง ดวยลิ้นสาลิกาของเขา คิงสามารถทำใหคนที่เขาพูดดวยเชื่อคำพูดของเขา ทุกคน ครั้งหนึ่งเขาไปขายประกันที่ซิดนี่ย นักธุรกิจผูยิ่งใหญคนหนึ่งพูดกับคิงวา เวลาของเขามีคาเกินกวาที่จะมาเสียเวลาฟงคำพูดของนายหนาขายประกันอยาง คิง ในทันทีที่เขาพูดจบ คิงวางเหรียญทองคำตั้งหนึ่งลงตรงหนานักธุรกิจผูนั้น พรอมกับพูดวา “ใชครับ เวลาของคุณมีคามาก ผมขอซื้อเวลาของคุณสักหา นาทีไดไหมครับ” นักธุรกิจผูยิ่งใหญของซิดนี่ยคาดไมถึงวาจะเจอไมนี้ เขาพูดไมออก โอ’มอลลี่ ถือ เอาวาอาการอ้ำอึ้งของเขาคือคำตอบรับ จึงเริ่มงานขายของเขาทันที เพียงสี่นาที ผานไปนักธุรกิจก็เจราเรื่องการประกันภัยกับเขาอยางเต็มใจ จากซิดนี่ย คิงขาย เขตการทำงานของเขาไปถึงเมืองอะดิเลด เมืองหลวงของรัฐออสเตรเลียใต ในป ค.ศ.1896 คิงเริ่มสนใจในการเมืองและลงสมัครเขารับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฏร ของรัฐสภาแหงรัฐออสเตรเลียใต เขาเลือกลงรับเลือกตั้งในเขตเอ็นเคานเตอร เบย ในนามของพรรคอิสระคริสเตียน โซเชียลลิสต ผูคนในแถบเอ็นเคานเตอร เบย ไปฟงโอ’มอลลี่หาเสียงแลวก็อดทึ่งในนักพูดฝปากเอกคนนี้ไมได เพราะไม เคยมีนกั การเมืองคนไหนออกไปพูดหาเสียงกับประชาชนดวยวิธพี ดู แบบ โอ’มอลลี่ มากอนเลย ทุกคนประทับใจในบุคลิกของนักการเมืองหนาใหมนี้มาก เวลาหา เสียง โอ’มอลลี่ยยีนผึ่งผายอยูตรงหนาคนเปนจำนวนมาก รางผอมบางของเขา ยึดตรงดวยความมั่นใจในตนเองเต็มเปยม เขาชอบสวมหมวกปกกวางอยางที่ พวกโคบาลใชกันเปนประจำ สวมเสื้อตัวในสีขาวผูกริบบิ้นลูกไมสีดำแถบเล็กๆที่ คอเสื้อ ใสเสื้อโคตตัวยาวสีน้ำตาล ชายกางเกงขายาวอยูในรองเทาบูต โอ’มอลลี่ ขึ้นตนคำปราศรัยของเขาวา “พี่นองคริสเตียนที่รักของผม” ถอยคำที่เขาปราศรัยแพรวพราวดวยวลีที่ไพเราะจับใจแตเมื่อพูดถึงฝายตรงขาม ซึี่งเปนคูแขงทางการเมือง คิง ก็สามารถใชคำพูดเชือดเฉือนคูตอสูไดอยางเจ็บ แสบที่สุด เขามักจะพูดถึงคูแขงทางการเมืองดวยการเปรียบเทียบเสียดสีอยางถึง แกน เชน ในคำปราศรัยตอนหนึ่ง เขาเรียกนักการเมืองที่อยูตางพรรคกับเขาวา “ฝูงสุนัขจิ้งจอกอดโซ ที่ยังชีพอยูไดดวยการเลียแผลเนาเฟอะของเสือลำบากที่ นอนรอวันตาย” และดวยสำนวนยียวนเชนนีแ่ หละทีท่ ำใหคงิ โอ’มอลลีช่ นะคูแ ขง เพราะประชาชน เทคะแนนใหเขาอยางลนหลาม แตก็นาเสียดายที่การเลือกตั้งในสมัยตอมาเขาไม ไดรับการเลือกตั้ง ชาวเมืองอะดิเลดเลือกโอ’มอลลี่ของเขาเพียงสมัยเดียวเทานั้น ความยั่วยวนของชีวิตนักการเมืองที่เคยลิ้มรสมาแลวสมัยหนึ่ง ทำใหคิง กระหาย ทีจ่ ะเขาไปนัง่ ในสภาผูแ ทนราษฏรอีกครัง้ และแลวเมือ่ การเลือกตัง้ ทัว่ ไปของประเทศ

คอมมอนเวลธ แบงค ออสเตรเลียเปดรับสมัครเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อป ค.ศ.1901 ก็เปนโอกาสอันดีที่ เขาจะไดวัดดวงอีกครั้งหนึ่ง คราวนี้เขาโดดไปสมัครรับเลือกตั้งที่รัฐทัสมาเนีย รัฐที่เล็กที่สุดของออสเตรเลีย โชคเขาขางเขา โอ’มอลลี่ไดรับเลือกตั้งเปนหนึ่งใน หาคนของผูแทนจากรัฐทัสมาเนีย คิง โอ’มอลลี่ เปนคนมีความคิดสรางสรรค สมองของเขาคิดอยูตลอดเวลา สิ่งที่ เขาคิดและทำเปนเรือ่ งโลดโผนสำหรับยุคนัน้ แตเมือ่ เวลาผานไปทุกคนก็ตอ งยอม รับวาความคิดของคิง เปนความคิดกาวหนาล้ำยุค และเปนประโยชนกับคนทั้ง หลายไดจริงๆ ตั้งแตบัดนั้นจนถึงปจจุบัน ในการประชุมสภาสูงสุดและสภาลางของสหพันธรัฐครั้งแรก โอ’มอลลี่เปนคน เสนอใหกฏหมาย “สงวนที่ดินไมต่ำกวา 1,000 ตารางไมลไวเปนที่ดินในเขต สงวนของสหพันธรัฐ” และในปจจุบันนี้ “ที่ดินในเขตสงวนของสหพันธรัฐ” ก็คือ “เขตนครหลวงของ ออสเตรเลีย” ซึ่งมีฐานะเปนรัฐหนึ่งในหกรัฐของประเทศออสเตรเลีย ในป ค.ศ.1910 คิง โอ’มอลลี่ ไดดำรงตำแหนงเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวง มหาดไทย เขาเปนตัวตัง้ ตัวตีใหมกี ารประกวดการออกแบบสรางนครแคนเบอรรา นครหลวงของประเทศขึ้นในเขตนครหลวงออสเตรเลีย ซึ่งตองมา นายวอลเตอร เบอรบี่ กริฟฟนเปนผูชนะการประกวด นครแคนเบอรราเปนเมืองหลวงที่เนรมิต ที่เรียกกันวา “แมนเมดซิตี้” เพราะทุกอยางที่ประกอบขึ้นเปนเมืองขนาดยอมนี้ เกิดจากการวางผังของมนุษยทั้งนั้น ไมวาจะเปนทะเลสาบ ทุงโลง ภูเขา ตนไม แบะถนนหนทาง รวมทัง้ ทีต่ ง้ั ของตึกรามบานเรือนทีอ่ ยูอ าศัย ถูกจัดวางผังกำหนด ใหอยูเปนที่เปนทางไมกระจัดกระจายไปจนควบคุมไมไดอยางเมืองอื่นๆ นคร แคนเบอรราจึงเปนนครหลวงขนาดใหญ ที่รมรื่นดวยพันธุไมในสวนที่ควรจะมี ตนไม มีตึกที่ทำการของรัฐบาลตั้งสงางามอยูในตำแหนงที่เดนชัดเปนหมวดหมู และสวยงาม มีถนนตัดตามเสนทางที่แนนอน ไมคดเคี้ยวไปตามภูมิประเทศ กำหนดเอาไวแลววาจะตัดถนนตรงไหนบาง โอ’มอลลี่ เปนคนตอสูใหมีการจัดตั้งธนาคารกลางของสหพันธรัฐ และในที่สุด พระราชบัญญัติจัดตั้ง “คอมมอนเวลธ แบงค” ก็ผานมติของสภาเมื่อปค.ศ.1912 แมวา จะอยูใ นฐานะรัฐมนตรีมหาดไทย คิงก็ยงั ปากหวานอยูเ หมือนเดิม เขาเรียก ผูใ ตบงั คับบัญชาของเขาวา “นองชาย” เสมอ เขาเรียกพนักงานสงหนังสือวา“ผูพ นั ” และฉายาที่เขาใชเรียกนักการเมืองฝายคานขนาดเบาะๆที่สุดก็คือ “ไอพอเลา” รัฐบาลออสเตรเลียตองการใหมีการเกณฑทหารเพื่อเปนกำลังกองทัพแหงชาติ แตคิงซึ่งเปนนักตอตานสงครามหัวชนฝา เขาไมยอมใหกฏหมายฉบับนี้ผานสภา เด็ดขาด และนั่นคืออวสานแหงชีวิตนักการเมืองของโอ’มอลลี่ หลังจากนั้นแลว เขาก็ไมไดรับเลือกตั้งใหเขาไปบริหารประเทศอีกเลย โอ’มอลลี่ หันไปทำธุรกิจ การคา จนกระทั่งวาระสุดทายของชีวิต คิง โอ’มอลลี่ ถึงแกกรรมเมือ่ อายุ 98ป เขาทิง้ มรดกจำนวนหนึง่ แสนสีห่ มืน่ เหรียญ เอาไวเปนกองทุน สำหรับนักศึกษาสาขาคหเศรษฐศาสตร ภรรยาของเขามีเงิน เลี้ยงชีพ สวนหนึ่งตางหาก และไดจัดการใหทุกอยางเปนไปตามความประสงค ของโอ’มอลลี่ แตนาเสียดายที่เธอสิ้นชีวิตไปเสียกอนที่จะมีการมอบทุนดังกลาว ใหกับนักศึกษาผูโชคดี 23


True story

อุทาหรณ...ชีวิต Story by Chaisuda Gaylard

คนหาทางออกจากจุดมืดบอด มองหาแรงบันดาลใจ หยุดทำอาชีพที่เคยรัก หันมาจับดินสอพูกันวาดสีสรร ลงบนหนาคน

à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒà¢Õ¹ ¨Ò¡»Ò¡¼ÙŒà¢Õ¹ ©ÒÂÊØ´Ò à¡ËÅÒ´

ขอเรียนทานผูอานวา ดิฉันเปนเพียงนักเขียนสมัครเลน เรียนจบแคชั้น ประถม ไมเคยมีประสบการณดานงานเขียนใดๆมากอน ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต กลายเปนแรงผลักดันและแรงบันดาลใจใหดิฉัน ใชเปนโอกาสเริ่มงานเขียนขึ้นเปนชิ้นแรกในชีวิต หลายทานอาจสงสัยวา ดิฉันมีจุดประสงคสิ่งใด ทำไมคนจบชั้นประถม จึงอยากจะเปนนักเขียน นักละ? แนนอนวาทุกเรื่องราวยอมมีเหตุผล และมีที่มาที่ไป ขอสรุปงายๆในตอน นี้วาชะตาชีวิตลิขิตใหเปนแบบนี้ บวกกับความโชคดีที่มาพรอมกับความ โชคราย ดิฉนั จึงกลายเปนนักเขียนจำเปน สำนวนและศัพทอาจไมไพเราะ เสนาะอารมณ แตดิฉันก็เขียนออกมาจากใจและความรูสึกที่มี ทำไดเทา ที่จะทำ และจะทำใหดีที่สุดเทาที่จะทำไดคะ จุดประสงคสำคัญของงานเขียนชิ้นนี้ มีความเกี่ยวพันธฉันท ความรัก ระหวางแมกับลูกซึ่งก็มีเรื่องราวนาประทับใจเกิดขึ้นระหวางดิฉันและบุตร ชายเพียงคนเดียว ดิฉันขอเก็บเรื่องราวของเราไวนำเสนอในตอนตอไป ในหนังสือที่มีชื่อวา..เอารอยยิ้มของฉันคืนมา..ซึ่งจะเปนหนังสือเลมแรกที่ ดิฉันทุมแรงกายและแรงใจเขียนเพื่อเปนของขวัญสำหรับลูก และคงเปน เพียงอนุสรณแหงความรักเพียงชิ้นเดียว ที่ดิฉันสามารถและจะพยายาม ตั้งใจทำใหลูกกอนที่เวลาอันมีคาของดิฉันอาจจะหมดไปได ตอนนี้กำลัง ดำเนินงานอยูและหวังวา คงเขียนจบทันกอนวันเกิดลูก ภายในเวลาอีก สองปขางหนา อีกจุดประสงคหนึ่ง ก็เพื่อเปนการเผยแพร ใหเปนอุทาหรณและคติ เตือนใจ และเพื่อเปนแรงบันดาลใจใหกับทุกๆคน ดิฉันหวังวา เรื่องราว ที่นำมาเสนอตอไปนี้คงมีสวนชวยหรือเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุน ที่ สามารถชวยใหทาน รูสึกมีกำลังใจที่จะลุกขึ้นและรับมือกับปญหาตางๆได และหวังอีกวาคงเปนสาระประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันของทาน ไดอยางมีประสิธภิ าพและมีความสุขตลอดไปเชนกัน ดวยความปราถณาดี.. 22

SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE

ชวงที่ฉายสุดาไวผมทรงโลนซา ปาคนนึงเขามาถาม อาว...ทำไม ถึงโกนหัวซะละ ไปบวชชีมาเหรอ ดิฉันจึงตอบกลับแบบหลอกๆ แกมหยอกวา เปลาคะ ไมไดไปบวชชี แคแพยาสระผมชนิดหนึ่ง รวงหมดหัวเลย หา ?? แพยาสระผม ยี่หออะไรวะ บอกปามั่ง จะไดไมซื้อมาใช นึกถึงทีไรเรา งี้ขำทุกที บทสนทนาเปนไปอยางสนุกสนาน เพื่อนๆเริ่มเขามารวมกลุมพูดคุย ระหวางรอพระฉันทเพล คงเพราะเราหัวโลน ผูคนจึงอยากรูเรื่องราวและความ เปนไป เพื่อนในกลุมเห็น ปา เชื่อหัวปกหัวป� จึงบอกเปรยๆวาดิฉันเปนมะเร็ง พอปารูความจริงเทานั้นแหละ ถึงกับน้ำตารวงเผาะๆ คนแกเนาะพูดอะไรก็เชื่อ ก็เลยไดออมกอดที่แสนอบอุนจากปา กลับมาสานเปนสัมพันธไมตรีเหนียวแนน แมจะมาตางแควนแดนไกล แตเมื่อมาอยูใตหลังคาวัดเราก็พี่นองกัน ผูค นเริม่ ตัง้ คำถาม ทำไมจึงเปนมะเร็ง รูไ ดยงั ไง และอีกหลายๆคำถามเราก็ตอบ ไปเทาที่จำได ไมลืมที่จะใหขอมูลในการระมัดระวังตัวและดูแลรักษาสุขภาพ หลังจากเสร็จสิ้นการอธิบาย หลายๆคนก็เริ่มแนะนำวิธีการรักษาในแบบตางๆ บางก็บอกไมตองไปหาหมอ ดื้มน้ำมะนาวกับโซดา กินใบทุเรียนเทศ กินเห็ด หลินจือ และอีกหลายๆวิธี กระบวนการรักษาแบบแผนโบราณประดังเขามาใน สมองฉายสุดา จะๆหนูจะลองดู คิดในใจ ที่ดิฉันรอดมาไดตอนเด็กๆก็ใชยาคีโม อยางเดียว ยาแผนโบราณที่วามา มันยังไมมีออกตลาดหรืออกสื่อที่ไหนมากอน เลย แตเพราะเชื่อวาพวกเขาหวังดีเรารับฟงไว คอรสที่สามสี่ผานไป รางกายรูสึกเหน็ดเหนื่อย ไมตางกับการอดหลับอดนอน ในสมรภูมิรบ ปากคอเหือดแหง เจ็บปวดไปทั่วสรรพางค เหมือนตายทั้งเปน ทองผูกเปนอาทิตยๆ บอกเลยวาเปนอาการทรมานที่สุดในสามโลก เล็บมือเริ่ม ขยับเขยื้อนเหมือนจะหลุดออกจากนิ้วแถมมีสีดำป บางทีตองใชเทปพันเพื่อปอง กันไมใหมันหลุด ลิ้นเริ่มเปลี่ยนสีมีจุดมวงๆ กินอะไรก็ไมรูรส แตงโมและนมถั่ว เหลืองคืออาหารที่ดื่มกินแทนน้ำ ผัดผักกับขาวตมคือเมนูหลัก แมจะไมรูรส ก็ อดทนฝนใจกิน เพื่อจะไดมีกำลังไวตอสูในวันตอไป ครั้นจะลุกขึ้นเพื่อเดินออก กำลังกาย ลองลางชามหนึ่งใบ ไมไหวเสียแลวขอคลานกลับมานอนตอ ระหวางรักษาตัว บางครั้งหลังคีโมบำบัด รอสามสี่วันจนยาหมดฤิทธิ์ ดิฉันก็หา โอกาสออกไปแดนซตามไนทคลับผับบาร สุราไมแตะแคเปปซี่กับน้ำสม ไมตอง ผสมอะไร ตืน่ แตเชาหาปลูกตนไม เปดยูทบู มองหาแรงบันดาลใจ ดูคลิปแตงหนา


เขียนคิ้วอยางไร ใหโคงดูดี เติมสีสรรเต็มที่ จัดเต็มทุกครา ไมปลอยให เวลา ผานไปอยางไรเรื่องราว อดีตเพื่อนก็คอยทา หาทางโจมตี พาออกเตี่ยวเตร แกลงเฮฮาพาถายรูป ไอเรา ก็หัวออน เขาใหทำอะไรก็ทำ สุดทายเพื่อนสั่งยกมือชูนิ้วกลางสูงๆ แชะ ไดไป รูปนึง ภาพที่สอง มีดเฉือนคอ แชะ ไดอีกรูป เฮยอยาโพสตภาพนั้นลงเฟสนะ มีการหันมาตวาดเรา ทำไม ถาโพสตแลวผัวจะขอหยารึ เปลาๆไมอยากใหพอ แมเคาเห็นลูกสะไภทำตัวเถื่อน เฮอ สั่งใหเราทำแตเจือกมาวาเราเอาเขาไป ไม เวนแมแตคนปวย อยากใหเราทำตัวซวยๆ และก็ชวยหนับหนุนซะอยางดี รุงเชา ภาพยกนิ้วกลาง ภาพเฉือนคอ วอนเน็ต เพื่อนที่แสนดีคงอยากใหเรา โดงดัง พี่คนนึงติมา หาวาภาพไมนารักเลย เราจึงเมนกลับไปบอกวา ก็บอกมัน แลวไมใหโพสต แตทำไมยังทำ สุดทายกลายเปนสงคราม ทำใหเริ่มคิด เฮย! เพื่อนที่ดีเคาคิด ทำอยางงี้ดวยเหรอ กวาฉายสุดาจะรูวาโดนหลอก อดีตเพื่อนที่ แสนดีก็เผาจนสุกแลวสุกอีก ลงแรงลงเงินชวยเหลือนางไปไมรูเทาไหร สิ่งที่ได คือความอัปยศของคนใจคดที่ดิฉัน จะไมมีวันลืม เผชิญกับโรครายก็ยังพอทนแตเผชิญกับคนใจทรามนี่รับไมได เจ็บปวดแสน สาหัสถึงกับตองพึ่งหมอจิตวิทยา ไปๆมาๆรักษาตัวอีกเปนป คนภายนอกก็คง ไมรู วาเราตองพบกับอะไรบาง เพราะคงมองเพียงผิวเผินหรือหมางเมินก็ไมอาจ เดาได บางคงสมน้ำหนา บางก็หาวาเราเปนคนเถื่อนเพราะความตรงและโผง ผาง กอบกับมีหลักฐานจากนองคนนึง ซึ่งก็เอาขอความที่เราเคยเขียนดาไปโชว คนโนนคนนี้ วาเราชั่วขนาดไหน แตเวลาตัวเองทำจัญไร พี่อยาบอกใครนะมัน ไมดี นี่แหละสังคม คนดีโดนดา คนชั่วลอยหนาลอยตา แตกลับถูกคนรักหลง เพราะจางเจรจาปากหวานปานน้ำตาลออย.. บุกบั่นกาวไปอยางเหนื่อยลา รักษาทั้งกายทั้งใจในเวลาเดียวกัน วันสุดทายใน การบำบัด แวะไปที่วัด เพื่อนๆปรบมือใหกำลังใจ ขั้นตอนตอไป ฉายแสงรังสี แคหานาทีแตสามสิบครั้ง ฉายทุกวันติดกัน6 อาทิตย สัปดาหแรกผานไป ไมมี มีปญหา ตอมาอีกสี่สัปดาห มันนากลัว ผิวหนังใตราวนมเริ่มลอก หลุด รวง หลน แตยงั ทนได อาบน้ำทีไร หนังหลุดไหลไปตามน้ำ จะดวยบุญทีย่ งั พอมีหรือ การดูแลรักษาแผลที่ดีก็เปนได เพราะแผลไมมีการเนา กลับทุเลาๆลง จะเปน บุญที่เคยทำแตชาติปางกอนหรือชาตินี้ก็ไมอาจเดาได แตก็ชวยใหดิฉันรอดตาย จากสมรภูมิรบไปไดอยางเฉียดฉิวอีกครั้งนึง หลังผานศึก ถึงเวลารักษาแผลใจ ใครจะทนได กินยาแกโรคซึมเศราพบจิตแพทย เปนเวลาเกือบสองป คนหาทางออกจากจุดมืดบอด มองหาแรงบันดาลใจหยุด ทำอาชีพที่เคยรัก หันมาจับดินสอพูกันวาดสีสรรลงบนหนาคน แรกๆกะวาจะ ทำเปนงานอดิเรก ทำไปทำมา รูสึกรัก จึงฝกฝนยึดเปนงานแทนอาชีพเชฟ โรค รายกลายเปนครู สอนใหเปนคนแกรงใหเปนนักสูส ว นคนใจรายสอนใหเรารูจ กั อภัย

เปนครู สอนใหเปนคนแกรง ใหเปนนักสู สวนคนใจรายสอนใหเรารูจักอภัย ตั้งแตเริ่มรักษาตัว จนวันสุดทายของการรักษา เพื่อนๆที่เคยไปกินไปเที่ยว ทำ กิจกรรมรวมกัน ที่เคยชมวาเราเกง เราสวย ใชเรายามเห็นผลประโยชน แต แปลก ที่ดิฉัน ไมเห็นหนาพวกเขาเหลานั้นสักคน เหมือนคำพังเพยที่เคยไดยิน เพื่อนแทจะอยูเคียงขางยามที่เราตกต่ำที่สุด สวนเพื่อนปลอมๆก็แคแถไปแถมา สรางภาพวามีน้ำจิตน้ำใจแตจริงๆแลวก็เห็นแกตัวกันทั้งนั้น เวลาปกวาๆผานไปสมรภูมิเดือดที่นาหวาดกลัวและเต็มไปดวยอุปสรรคก็สิ้นสุด สงครามไดยุติลงแลว ทิ้งไวซึ่งบาดแผลและเรื่องราวอันนาสะพรึงกลัวมากมาย ดิฉันผานการใหคีโมบำบัด ผานการรักษาจิตบำบัด ผานความเจ็บปวดหัวใจ จากมนุษยที่ใชคำวา เพื่อน มาอางอิงทิ้งไวดวยรอบแหลมคมกลางดวงใจ ชีวิต พลิกผันเมื่อเราเปลี่ยนลูทางความคิด คนเหลานั้นกลายเปนเพียงเศษธุลีที่ปลิว เขาตา แคลางดวยน้ำก็จางหายไป หากอยูใกลก็ใหระวัง เพงสายตาไปทางอื่น อยาใหผงธุลี เหลานั้น ลอยมาเขาตาเราอีก หลีกหลบไดก็หลบไป ผมที่เคย หรอมแหรมกลับยาวขึ้น เล็บที่เคยมีสีดำเริ่มจางหายไปทีละนอย ขนตาคอยๆ งอกกลับคืนมา ปญหามีแคคิ้วที่ดูจะเบาบางไมยอมงอก ไมเปนรัย ฉายสุดา วาดเขียนเองได ไมตองไปสักใหเสียเงิน เมื่อจิตเริ่มคลายรางกายเริ่มมีกำลัง ดิฉันไปหัดนั่งวิปสนาเขาวัดฟงธรรม หลาย ปกอ นไปลองนัง่ สมาธิ ไมถงึ สิบนาที มีอาการเวียนหัวคลืน่ ใส ปวดหลังปวดเอว ทนไมไดใจไมนิ่ง จากนั้นมาไมเคยคิดเขาไปนั่งสมาธิอีกเลย คิดไปวาเราคงไมมี บุญ บาปหนาเกิดมาไมคอยไดเขาวัดทำบุญ เต็มที่ก็แคเด็กลางจานแลกขาวกน บาตร สวดมนตก็ไมเปน ไดแคอะระหังสัมมา กับ นะโมตัสสะ พระใหม มา จากกาญจนบุรี หรือทานอาจารยมหาชิ มาพำนักอยูที่วัดไทยออสเตรเลียแรกๆ ไมคอยชอบ วิธีการพูดจาของทาน ฟงไมคอยไพเราะบาปหนักเขาไปอีกเรา แม แตพระก็ไมละเวนการคิดอัคคติ คงเปนจิตอกุศล ที่เรามัวแตนึกถึง พระที่ใชผา เหลืองบังหนา มีสีกามีกิ๊ก คุยกันหนุงหนิงดึกๆดื่นๆหรือที่เรียกกันอีกอยางวา พระปลอมก็คงไมผิด นี่แหละคงเปนเหตุที่ทำใหจิตใจเราฟุงซาน ถาจะบอกวา เปน มารก็คงใช กาลเวลาผานไปไดรูจักทานมหาชิมากขึ้น เริ่มเล็งเห็นคุณงามความดี และความ สามารถของทาน หลักธรรมตางๆที่ทานเอามาสอนเริ่มเดินทางเขาสูสมอง จิต เริ่มเปนกุศล เริ่มตนใหมคงไมสายเกินไป ดิฉันเห็นทางธรรมถองแทมากขึ้น จิตเริ่มสงบนิ่ง นั่งสมาธิไดนานขึ้น จาก 15นาทีจนถึง45นาที ไมเจ็บไมปวด กำหนดจิตตามคำสั่งสอนของทานอาจารย นั่งครั้งแรกผานแตรูสึกยังไมคอย ดีพอ ไปนั่งอีกครั้งที่สอง รูสึกดียิ่งขึ้น กลายเปนสิ่งที่อยากปฏิบัติใหมากขึ้นๆ ไมลองไมรู ไมไดคิดไปเอง หลังปฏิบัติไดสองครั้ง ชีวิตที่เคยเศราหมองดูริบหรี่ ราวกับแสงเทียนไขที่กำลังจะมอดดับไป ก็สวางไสวขึ้นมาราวกับปาฏิหารย 23


TUK TUK bar

FRESH AUTHENTIC THAI

Joining the celebration and congratulations to Tina Ratanavaraha, her families and staffs at the Thai Orchid Springwood for its 30 years anniversary. Wising you every success in many more years to come.

From Chiraporn Patterson & team at Healing Hands Thai Massage 978 Stanley St, East Brisbane QLD 4169 Tel: 07 3392 1151.

21 Park Road (Corner Gordon St) Milton Q 4064 Phone 07 3369 8822 http://www.templethaimilton.com.au


¢¶®³¬³¤Á £¤«¾ m ¾¦±½¢ º ¬¦³ ¬¦³£ ½ ¦n³ ¦µÅ ³¾ ¬®¢ ¤¹m ¤n®¢À¬n ¤µ ³¤¦º n³ ¹ ¨² ² ¤q · ®³ µ £q

Address: 156 boundary street, West End South Brisbane, QLD Tel: 07 3844 0013

¦µ Á¦ q½ ¹o ® ½¤³Á n ¶Å )DFHERRN $URL &DIH


Wishing Tina Ratanavaraha and her staffs at The Thai Orchid Springwood all the very best for its celebration of 30 years anniversary. From Saranya Thipchote and family at Ruk Thai Restaurant

http://www.rukthairestaurant.com.au/


Congratulations to Khun Tina Ratanavaraha, her extended families and staffs at the Thai Orchid Springwood for the 30 years anniversary. Best wishes for future success in many years to come. ขอแสดงความยินดีกับคุณทีน่า รัตนวราหะ (พี่ต๊ก ิ ) ครอบครัว และทีมงาน ร้านไทยออร์คด ิ สปริงวู้ด ในวาระครบรอบ 30 ปีของกิจการ ขอให้กจิ การขยายตัวก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไปในอนาคต

Chiangrai Thai - Norman Park, Norman Park, Brisbane, QLD 227 Wynnum Rd, Norman Park Brisbane, QLD

May's Thai Address: Burnett St, Manly West QLD 4179 Phone:(07) 3393 9999

Congratulations to Tina Ratanavaraha on celebrating your 30 years anniversary of the Thai Orchid Springwood. We wish you and your staffs many more years of success" From Patravee Wanasawage and Family (Bow Thai Restaurant and Bean Street Cafe)

Bean Street Cafe Shop 19, Birkdale Fair Shopping Centre. Corner of Birkdale Road & Mary Pleasant Drive, BIRKDALE, QLD 4159 Phone : (07) 3207 1199

Latthiya Thai Address: 1534 Wynnum Rd, Tingalpa QLD 4173 Phone:(07) 3390 5490


ขอแสดงความยินดีกับคุณทีนา รัตนวราหะ (พี่ติ๊ก) ครอบครัว และทีมงาน ในโอกาสครบรอบ 30 ป ของรานอาหารไทยออรคิด สปริงวูด ทีมงานไทยวิรัตนขอสงความปรารถนาดีและขอใหกิจการรานอาหาร ไทยออรคิดและกิจการในเครือ เจริญรุงเรืองกาวหนายิ่งๆขึ้นตลอดไป Our team at Thai Wi-Rat wish to send many congratulations and good wishes to Tina Ratanavaraha, her families and her wonderful staffs at the Thai Orchid Springwood on its 30 years anniversary! May you and your business continue to prosper during your many years ahead.

THAI WI-RAT Thai-Laos Food

AUTHENTIC THAI CUISINE

Phone 3257 0884 Mobile 0412 327 095 shop48,Duncan st China Town Mall Fortitude Valley 4006


Thai Airways Brisbane OfďŹ ce wishes to join the celebrations and congratulations to Tina Ratanavaraha and the Thai Orchid team at Springwood on its 30 years anniversary. From General Manager and Thai Airways Staffs at Brisbane Office

New office Premises

All Phone, Fax, Email and P.O, Box Number remain unchanged.

www.thaiairways.com.au

Thai Airways International Brisbane Resevations 1300 651 960 brisbane@thaiairways.com.au Brisbane.sales@thaiairways.com.au


O

n behalf of Sawasdee Australia Magazine and Sawasdee Australia Thai Radio team, contributors and volunteers wishes to extend our heartiest congratulations to Tina Ratanavaraha, family and staffs at the Thai Orchid Restaurant Springwood for the glorious 30 years of success. You have always been on the top of the list for serving the customers and community with your services. With your commitment and sincerity you have time to time proven your much deserved recognition and fame. Wishing you all the success for many more years to come.

SAWASDEE AUSTRALIA


Horoscope

Monthly

โดย ชนินธิป tarot111@hotmail.com Id line: metroguy009

Horoscope

July

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍҷԵ ·ÓÍÐäõŒÍ§ÃÍãˌʶҹ¡Òó ´ÙÊ´ãÊÁÒ¡¡Ç‹Ò·Õè ໚¹ÍÂÙ‹Êѡ˹‹Í ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ¡ÒçҹÂѧ¹Ô§è 浌ͧ㪌¤ÇÒÁÊÒÁÒö 㹡Ò÷ӤÇÒÁ ࢌÒ㨡ѺµÑǧҹ·Õàè ¢ŒÒÁÒ áÅеŒÍ§»ÃÖ¡ÉҡѺ¼ÙËŒ ÅÑ¡ ¼Ù㌠ËÞ‹ ¡ÒÃà§Ô¹ÃÐÂйÕÁé àÕ ¢ŒÒÍ͡ẺäÁ‹¤Í‹ ÂŧµÑÇ ¹Ñ¡Í‹Ò㪌àµÔºà¡Ô¹Á×Íä»ÅÐ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕࡳ± ä» ´Ù§Ò¹ËÃ×Íà·ÕÂè ǪÁ§Ò¹á¿Ã µÒ‹ §æ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹¤ÇÒÁ ÃÙ㌠ˌ¡ºÑ µ¹àͧ ¤ÇÒÁÃÑ¡ ¤‹Í¹¢ŒÒ§¨ÐàÍÒᵋ㨢ͧµÑÇàͧä»Êѡ˹‹ÍÂäÁ‹¤Í‹  ãËŒ¤ÇÒÁʹ㨡ѹáÅСѹ෋ҷդè ÇÃ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¨Ñ¹·Ã ËÅÒÂÊÔè§ËÅÒÂÍ‹ҧÂѧäÁ‹ä´Œä»µÒÁ·Õ赌ͧ¡Òà ¹Ñ¡áµ‹Í‹ÒÌ͹ùã¨ä»ÃÍÊÑ¡ÃÐÂÐ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ¡Òçҹ¤‹Í¹¢ŒÒ§¨Ð¹‹Òàº×èÍäÁ‹ÁÕÍÐäÃá»Å¡ãËÁ‹ ÊÓËÃѺ·‹Ò¹¹Ñ¡ ¡ÒÃà§Ô¹¡Ç‹Ò¨ÐËÒ䴌ᵋÅкҷ ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÂÒ¡àÂç¹ÃÐÇѧÃÒ¨‹ÒÂãËŒÁÒ¡Êѡ˹‹Í ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕàÃ×èͧãˌʹءʹҹ¹‹Òµ×è¹àµŒ¹ÊÓ ËÃѺ·‹Ò¹¤ÇÃä»·ÕèÁÕ¤ÇÒÁËÁàÂç¹äÁ‹ÇØ‹¹ÇÒ¹ѡ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍѧ¤ÒÃ

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾Ø¸

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¨Ð·ÓÍÐäÃÃÐÂйÕéÁÕ¤¹¤Íª‹ÇÂàËÅ×ÍãËŒÃÒºÃ×è ¹ÁÒ¡¢Öé¹

¤ÇÒÁÃÑ¡ ´ÙͺÍØ‹¹áÅеŒÍ§ãªŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨡ѹÁÒ¹Ò¹¾Í ÊÁ¤ÇáNjҨÐÁÕÇѹ¹Õé¢Í§·‹Ò¹

¤ÇÒÁÃÑ¡

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ

àËÁ×͹àÃ×Íŋͧ㹹ÒÇÒäÁ‹ªŒÒäÁ‹àÃçÇᵋ·Ø¡ÍÂ‹Ò §¨Ð´Õ¢Öé¹àͧ ¡ÒçҹÍÒ¨¨ÐÁÕµÔ´æ ¢Ñ´æºŒÒ§ ᵋ¡ç¾ÍãËŒ·Ø¡Í‹ҧ¼‹Ò¹¾Œ¹ä»ä´ŒÍ‹ҧÃÒºÃ×è¹

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡ÒÃà§Ô¹ÁÕà·‹ÒäËË¡ç㪌෋ҹÑé¹äÁ‹ä´Œ«ÕàÃÕÂʡѺÁѹ ¹Ñ¡áµ‹µÍŒ §àËÅ×Íà¡çº´ŒÇ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕࡳ± ä´Œà´Ô¹·Ò§ä»Ê¶Ò¹·ÕÁè ¤Õ ÇÒÁÊǧÒÁµÒÁ¸ÃÃÁ ªÒµÔ»†Òà¢ÒÅÓà¹Òä¾Ã

¤ÇÒÁÃÑ¡

ดวงประจำเดือน กรกฎาคม 2016

ª‹Ç§¹ÕéÍÒ¨¨ÐÁÕäÁ‹ËÇ×ÍËÇÒäÁ‹¹‹Òʹء¹Ñ¡áµ‹¢Í ãˌʹ·¹¡Ñ¹áÅСѹÁҡ˹‹ÍÂ

ÁÕàÃ×èͧäÁ‹ÊºÒÂã¨ËÅÒÂÍ‹ҧᵋ¡çäÁ‹¤ÇÃ·Ó ÍÐä÷Õèà¡Ô¹µÑǢͧ·‹Ò¹ ¡ÒçҹÃÐÇѧ¤ÇÒÁ¼Ô´¾ÅÒ´ËÅÒÂÍ‹ҧ¡Òà ŧ·Ø¹ÁÕ¤ÇÒÁàÊÕ觵ŒÍ§ªÑè§ã¨äÇŒ´ŒÇ ¡ÒÃà§Ô¹ ÂѧµŒÍ§¤Ô´Ë¹ŒÒ¤Ô´ËÅѧ㪌Í‹ҧÃÐÁÑ´ÃÐÇѧ ໚¹·ÕèÊØ´ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ Í‹ҷ‹Í§à·ÕèÂÇ¡ÅÒ§ ¤×¹ÁÒ¡¹Ñ¡ÍÒ¨¨Ð·ÓãËŒ·‹Ò¹µŒÍ§àÊÕÂà§Ô¹â´Â à»Å‹Ò»ÃÐ⪹ ÂѧäÁ‹¤‹ÍÂࢌÒ㨡ѹ´Õ¹Ñ¡à¡Ô´¨Ò¡µÑÇ·‹Ò¹àͧ ´ŒÇ·ÕèÂѧäÁ‹¤‹ÍÂࢌÒ㨵ÑÇàͧ¹Ñ¡

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÈØ¡Ã

·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹàÊÒÃ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¤ÇÒÁÃÑ¡

¤ÇÒÁÃÑ¡

ºÃÃÂÒ¡ÒÈʺÒÂæ ໚¹ª‹Ç§àÇÅÒ·ÕèàµÔÁ¾ÅѧãËŒ ¡ÑºªÕÇÔµ¢Í§·‹Ò¹ ¡ÒçҹÃÐÂйÕÍé Ò¨¨ÐÇع‹ ÇÒÂÁÕàÃ×Íè §µŒÍ§ãËŒ¨´Ñ ¡Òà ÁÒ¡ÁÒÂᵋ¡äç Á‹¶§Ö ¡Ñºà¤ÃÕ´¨¹à¡Ô¹ä» ¡ÒÃà§Ô¹ µŒÍ§ãªŒ¡ºÑ ¤Ãͺ¤ÃÑÇËÃ×ÍÍÒ¨¨ÐµŒÍ§ËÂÔºÂ×Á¤¹ 㹺ŒÒ¹¢Í§·‹Ò¹àͧ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ã¹µÍ¹àªŒÒà¾×Íè ÍÍ¡¡ÓÅѧ¡ÒÂàµÔÁ¾ÅѧãËŒ¡ºÑ ·‹Ò¹ 䴌໚¹Í‹ҧ´Õ ËÅÒÂÊÔè§ËÅÒÂÍ‹ҧÂѧäÁ‹à¢ŒÒ㨡ѹᵋ¤Ò´Ç‹Ò·Ø¡ Í‹ҧ¨ÐŧµÑÇ ´ŒÇÂàÇÅҢͧÁѹàͧ

¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ

¡Òçҹ ÁÕäÍà´ÕÂãËÁ‹æ ãËŒ·Ò‹ ¹ä´ŒãªŒ¤ÇÒÁ¤Ô´ã¹ ¡Ò÷ӧҹ¢Í§·‹Ò¹à¾ÔÁè àµÔÁ ¡ÒÃà§Ô¹´ÕäÁ‹´ÍÕ ÂÙ·‹ èÕ ·‹Ò¹¨ÐºÃÔËÒÃãËŒ´áÕ ¤‹ä˹ÃѺÃͧ¼‹Ò¹©ÅØÂṋ¹ ͹ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ à¾×Íè Ã×Íé ¿„¹œ ¤ÇÒÁ·Ã§¨Óà¡‹Òæ 㹪‹Ç§àÂÒÇ ÇÂÑ ¡ç¹Ò‹ µ×¹è ൌ¹äÁ‹¹ÍŒ Â

¤ÇÒÁÃÑ¡

¤‹Í¹¢ŒÒ§¨Ð«ÕàÃÕÂÊáÅШÃÔ§¨Ñ§ÁÒ¡ä»Êѡ˹‹Í ¼‹Í¹¤ÅÒºŒÒ§¹‹Ò¨Ð´ÕäÁ‹¹ŒÍÂ

ÃÐÂйÕÍé Ò¨¨ÐäÁ‹¡Ãе×ÍÃ×ÍÅŒ¹ÁÒ¡¹Ñ¡ÍÂÒ¡¹Ô§è æ ʺÒÂÁÒ¡¡Ç‹Ò ¡ÒçҹÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢´Õ仵ÒÁ¨Ñ§ËÇТͧÁѹäÁ‹µÍŒ §Ë‹Ç§ÁÕ¤¹¤Íª‹ÇÂàËÅ×ÍÍÂÙá‹ ÅŒÇ ¡ÒÃà§Ô¹ÁÕ àÃ×Íè §µŒÍ§àÊÕÂà§Ô¹àÊÕ·ͧäÁ‹¤ÇÃãËŒã¤ÃËÂÔºÂ×Á ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÃÐÂйդé ÇÃä»·ÓºØÞ·Ó·Ò¹àÊÃÔÁÊ ÃŒÒ§¤ÇÒÁÁѹè ã¨ãËŒ·Ò‹ ¹ äÁ‹ä´ŒÁÕàÇÅÒÁÒʹã¨ÁÒ¡¹Ñ¡·‹Ò¹àͧÍÒ¨¨ÐÁÕà Ã×èͧÁØ‹§ÁÑ蹡Ѻ¤ÇÒÁµÑé§ã¨¢Í§·‹Ò¹¨¹Å×Áä»·Õè¨Ð ÁÒà·¤á¤Ã ¡Ñ¹

33


Made in Australia

5rd issue

Just a snip

July 2016


lifestyle

art We have worked to improve our quality and look to serve diverse member within our multicultural community. We would love to hear stories, interview interesting individuals and publish photos of you or your friends if they are willing to share. We will continue to adjust, make changes and perfecting our quality of content and look so we stay interesting and fresh. Enjoy us and feel free to share your enjoyment with others.

music

Boom Buchanan Editor

Content

2-3 inWe 4-5 East meets West

Contact us Sawasdee Australia Magazine St.lucia south, Brisbane, Queensland 4067 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: +661 424 022 334 or +661 451 057 063

cultu

re


EASTmeetsWEST EASTmeetsWEST

MEETS

MEETS

EAST EAST WEST WEST Love Me love my tulip

หากรักอิสตันบูล ก็จงรักทิวลิปดวย ดือนเมษายนของทุกป เปนชวงที่ประเทศตุรกีเริ่มเขาสูฤดู ใบไมผลิ ดอกไมตา งผลิบานอวดโฉม ตามสวนตางๆจะเต็ม ไปดวยบุปผาหลากสี โดยเฉพาะ “ทิวลิป”ที่พบไดทั่วทุก แหงในอิสตันบูลตลอดเดือน เพราะนี่คือชวง “เทศกาล ทิวลิป” (Lale Sergisi-Tulip Festival) ของชาวตุรกี วาแตเจา ดอกไมชนิดนี้สำคัญไฉนถึงกับตองจัดเทศกาลใหมันโดยเฉพาะ ซ้ำทิวลิปยังดูเปนสัญลักษณของประเทศเนเธอรแลนดมากกวา จะเปนของประเทศตุรกีเสียอีก ความสงสัยนีก้ ระตุกตอมเอะอะไร ของฉันใหวง่ิ ไปคนควาหาขอมูล แลวก็พบวาความจริงแลวทิวลิป ถือกำเนิดในดินแดนของชาวเติรก...พวกเขาเคยคลั่งไคลมัน อยางยาวนานจนกลายเปน“ยุคทิวลิป”...และยังเคยเปนพันธุไม ราคาสูงลิบ ดอกเดียวมีมูลคาเทียบเทาคฤหาสนทั้งหลัง! ทิวลิปถือกำเนิดขึน้ เมือ่ 2,000 ป กอนคริสตกาล ณ ทีร่ าบอนาโตเลีย เจาถิ่นเกาอยางชาวฮิตไทต (Hittites) เคยนิยมทิวลิปมากอน แลวชาวเติรกก็รับสืบมา เมื่อพวกเติรกอพยพจากเอเชียกลาง มุง ไปทางตะวันตก ก็ไมลมื ทีจ่ ะนำเอาหัวพันธุข องทิวลิปสุดโปรดมา ดวย และทันทีที่เขายึดกรุงคอนสแตนติโนเปลแลวเปลี่ยนเปน กรุงอิสตันบูลได ก็นำทิวลิปลงปลูกเพื่อแสดงความเปนเจาถิ่น คนใหมทันที ทิวลิปในภาษาตุรกีคือ “ลาเล” (lale) สวนคำวา “ทิวลิป” นัน้ ปรากฏครัง้ แรกในบันทึกของบุสเบค (Ogier Ghiselin de Busbecq)ราชทูตชาวดัตชที่ถูกสงมาเจริญสัมพันธไมตรีกับ อาณาจักรออตโตมันใน ค.ศ.1554 บุสเบคอาจเห็นดอกไมชนิด นี้วามีรูปทรงคลายสะระบั่นหรือผาพันศีรษะของชาวเติรกที่เรีย กวา “ทุลเบนท” (dülbend) จึงเรียกวาทุลเบนทแลวชนรุนหลัง จึงกรอนเสียงเปน “ทิวลิป” คาดวาราชทูตชาวตะวันตกนี้เองที่ นำทิวลิปจากออตโตมันกลับไปปลูกในยุโรปจนเกิดกระแสนิยม ทิวลิปขึ้นในแดนประจิมทิศ นับวาทิวลิปเปนหนึ่งในอารยธรรม ตะวันออกที่สงอิทธิพลใหกับชาวตะวันตก

ตางประดับดวยลายทิวลิป รวมถึงสิ่งของเครื่องใช ตั้งแตเสื้อผา เครื่องครัว เครื่องเรือน ไปจนถึงชุดเกราะ ในจิตรกรรมรูปทิวลิปก็จะมีกลอนยอความงามของมันประกอบ ดวย รูปแบบของลายทิวลิปนั้นแตกตางกันไปตามสมัยแบงเปน ยุคไดดังนี้ • ลายทิวลิปยุคตน ดอกเปนทรงรูปไข ใบยาวและลอมขึ้นมา คลุมรอบตัวดอกไมสมจริง ดูเปนสัญลักษณมากกวาจะเปนรูป ทิวลิปจริงๆ • ลายทิวลิปยุคกลาง ดอกผอมสูง ตอนปลายแยกออกเปน ปลายแหลม 3 แฉก กานยาว • ลายทิวลิปยุคปลาย คลายของยุคกลางแตยาวกวาและปลาย แยกออกมากกวา 3 แฉก แสดงความงามที่ “เกินพอดี”แบบศิลปะ บาโรค (Baroque) ในยุโรป เพราะในชวงนี้เปนยุคที่ศิลปะ ออตโตมัน ไดรับอิทธิพลจากศิลปะบาโรคเปนอยางมาก นอก จากนีย้ งั ดูสมจริงมากขึน้ เหมือนงานศิลปของชาวตะวันตกอีกดวย แมในปจจุบันทิวลิปก็ยังไมเคยหายไปจากใจของศิลปนตุรกี ยัง คงพบเห็นไดในสิ่งของทั่วไป ตัวอยางงายๆ เชน แกวชาที่คอด ตรงกลางเปนทรงทิวลิป ในงานศิลปะรวมสมัยของศิลปนตุรกี ก็ยังคงมีทิวลิปสอดแทรก รวมถึงลายทิวลิปบนเครื่องบินของ สายการบินเตอรกิชแอรไลนส สำหรับเทศกาลทิวลิปในอิสตันบูลนั้นมีมาตั้งแตคริสตศตวรรษ ที่ 16 ตามสถานที่ตางๆ จะประดับทิวลิปอยางสวยงาม แตบาง แหงก็จำกัดใหชนชั้นสูงเขาชมเทานั้น จนสรางความไมพอใจให กับชนหลายกลุม ความฟุงเฟอของชนชั้นสูงในชวงดังกลาว(ซึ่ง รวมถึงการใชจายไปกับทิวลิปดวย) ไดกอใหเกิดการปฏิวัติขึ้น ในค.ศ.1730 สุลตานถูกบีบใหสละราชบัลลังก สวนที่จัดแสดง ทิวลิปก็ถูกทำลายลงดวย แมหลังจากนั้นจะมีการจัดเทศกาล ทิวลิปอีกครั้งแตก็ไมไดรับความนิยมเชนในอดีต

ทวาโชคดีที่รัฐบาลตุรกีไดรื้อฟนเทศกาลทิวลิปขึ้นมาใหม ใน ค.ศ.2005 เพื่อสงเสริมการทองเที่ยว สวนทิวลิปที่สวยที่สุดคือ ที่จัตุรัสสุลตานอะหเม็ด ที่นั่นจะคลาคล่ำไปดวยกอทิวลิปหลาย อยางไรก็ตาม สำหรับชาวตุรกีไมมีคำใดมาแทนคำวา “lale”ได ชนิดจำนวนกวาหาแสนดอกที่อัดแนนจนมองไกลๆ ดูคลายผืน เพราะเปนคำที่มีความหมายสูงสง ดวยวาอักษรแตละตัวในคำ พรมสีสวยที่ชวนใหลมตัวลงไปนอน จะถายภาพมุมไหนก็สวย คำนี้ หากนำมาเรียงใหมจะกลายกลายเปนคำวา “อัลลอฮ” ไปหมดจนอาจเซลฟกันจนเหนื่อย นอกจากนี้ยังมีการแสดง และชาวตุรกียงั เปรียบทิวลิปเปนดอกไมในสวรรคของอิสลามอีกดวย ดนตรี การละเลน และนิทรรศการศิลปะอีกมากมายใหชมอีก ดวย นับเปนชวงหนึ่งของปที่อิสตันบูลมีสีสันที่สุด ความคลัง่ ไคลทวิ ลิปในหมูช าวเติรก เกิดขึน้ อยางจริงจังในสมัย สุลตานอะหเม็ดที่ 3 ซึง่ ถูกขนานนามวาเปน “ยุคทิวลิป”(Tulip จะเห็นไดวาทิวลิปเปนหนึ่งในอัตลักษณและจิตวิญญาณของชาว Period ค.ศ.1718-1730) ในเวลานั้นพระราชวังและเคหสถาน ตุรกีอยางแทจริง หากเราเขาใจความเปนมาและความสำคัญ ของชนชั้นสูงตางประดับดวยทิวลิป ใครไมมีก็ตองดิ้นรนไปหา ของทิวลิปในมุมมองของชาวตุรกีแลว เราจะเห็นความงามของ มาปลูกใหได อาชีพทีท่ ำเงินทีส่ ดุ ในชวงนัน้ คือนักเพาะพันธุท วิ ลิป มันอยางที่ไมเคยเห็นมากอน การเที่ยวชมเทศกาลทิวลิปก็จะ ในสมัยนั้นมีมากถึง 1,800 สายพันธุและยุคนี้เองที่ทิวลิป เปน สนุกขึ้นอีกเปนกอง และเรายังอาจตกหลุมรักทิวลิปเชนเดียว แรงบันดาลใจหลักของชางศิลป ตามผนังมัสยิดและพระราชวัง กับชาวตุรกีก็เปนได 4


เรื่องและภาพโดย วสมน สาณะเสน story and photo by Wasamon Sanasen

their favorite Tulip rhizome with them. After they had conquered Constantinople and changed it to Istanbul, they immediately planted the Tulip to show their new possession of this land. Tulip in Turkish is “Lale”. Lale firstly appeared in Busbecq’s record (Ogier Ghiselin de Busbecq), the Dutch royal ambassador who was sent to make relationship with the Ottoman empire in 1554. Busbecq might see that this flower looked like the Turks’ turban which is called “Tulbent” (dülbend). That is why it was called “Tulbent”, and then the later generations changed it to “Tulip”. This Western royal ambassador seemed to be the one who brought back Tulip from Ottoman to plant it in Europe, so that there was Tulip’s popularity in the west land. Tulip is one of the Eastern civilizations that had an influence on the Western people. For Turkish, there is no word to replace “Lale, because its meaning is highly respected as each letter in this word can be rearranged into “Allah”. Also, Turkish compared Tulip as flower of heaven in Islamic concept.

E

very year in April is the beginning of Tukey spring season. Lots of flower blossom magnificently. There are a lot of colorful flower blooming in the garden particularly tulip, which can be found everywhere in Istanbul throughout this month.This is the Turkey tulip festival. Why is this flower so important that there is particular festival for it? Literally, tulip seems to be the symbol of Netherland more than Turkey. This curiosity had me dig deep for more details. I found the truth that this flower originated in the land of Turk.They had been crazy about it for so long until it became “Tulip Era” and its price was so skyrocket as compared as whole luxurious mansion price! Tulip originated 2000 years B.C. on the plain of Natolia. The previous local people like the Hittites had fond of Tulip before the Turks inherited their fondness. When the Turks emigrated from middle Asia to the Western, they did not forget to bring

The fondness of Tulip amongst the Turks appeared in the reign of Sultan Ahmed III, which was nominated as “Tulip Period”. (1718-1730). In that time, Royal palaces and elites’ premises were all decorated with Tulip. Everyone had to find one and planted it. The highest earning job in that time was the Tulip horticulturists. At that time there are 1,800 breeds and the Tulip period inspired many artists, as we can see through the wall of Mosque and many palaces decorated by Tulip pattern including cosmetic, clothes, kitchenware, home ware and amour. Tulip painting also had poems narrating its beauty, too. There are some differences in Tulip pattern in each period, which can be categorized in 3 periods. 1. Tulip pattern in the first age; Tulip flower is in oval shape and its leaves is so long which is covered its flower make it look more artificial like a symbol than genuine tulip 2. Tulip pattern in the middle age; Tulip flower is

thin and tall, on its tip separated into three pointed edges 3.Tulip pattern in the last age; it is similar to middle age but it is longer and on its tip separated more three pointed edges. It shows the excessive luxurious beauty like baroque in Europe as this period is the age of Ottoman got lots of influences from baroque. It is genuine art like western art style. Until present time, tulip can never be deprived of Turkish artists mentality, Tulip can still be seen everywhere even on teacups. In the contemporary art of Turkish artist tulip was still appeared including the tulip pattern on the Turkish airlines Tulip festival has been holding since the 16th century. Most of places are decorated magnificently by tulip. In some places allow only elite class to access to. These made many people feel unsatisfied. Due to the extravaganza of elite class (including the expense on decorating tulip as well), the revolution was conducted in 1730. Sultan was forced to resign from the royal throne. The garden which tulip exposition was held was destroyed as well. Although there is an attempt to rearrange the tulip exposition, the popularity is not the same as previously. Fortunately the Turkish government made an effort to rehabilitate the tulip exposition in 2005 in order to boost tourism industry. The most beautiful tulip garden is the Sultan Amed Square where five-hundred- thousand of various kinds of tulips were planted gloriously as we can see from such as long way as if was a colorful carpet as I want to sleep on it. Every angle can be taken a photo without hesitation. Selfie until we were fatigued. There are also various performances such as music, Traditional Children’s Games and art exposition. This is the best colorful year in Istanbul. Tulip is truly an identity and a spirit of Turkish people. If we understand its history and the importance of the Tulip in Turkish views, we can see the beauty of it in the way we never seen before. Participating tulip festival will be much more meaningful and we might falt in love with tulips as the Turks.

5


inWE

Tom McGaffin Owner, Creative Director and Colour Expert at Mirror Mirror Hair Artistry Shop 3, 18 Pickwick Street, Cannon Hill, QLD http://www.mirrormirrorhair.net.au/

With artistic flair and deft hands, Tom McGaffin is making waves in the world of hairstyling and beauty. The owner of Mirror Mirror Hairstyling Studio has a knack for knowing what suits a person and his energy and friendliness has us curled around his fingers. Growing up, the 29- year- old was always fascinated by the profession. As a child, Tom used to sit at a family friend’s hair salon and watch the hairdressers at work. “I used to spend hours at the salon just watching people get their hair cut. I wanted to even help them sweep up all the hair,” he said. “I think at eight years old, I knew that this was my passion.” With fourteen years of experience under his belt now, Tom says that it was not always smooth sailing. Making the decision to pursue his dream was a difficult thing to tell his family. “After high school I went to university to study nursing. But at night I would go to hairdressing classes,” he said. 2

I love what I do and I love making people feel special

“Owning your own studio is exhausting. It’s a lot of hard work and all of it is hands on, but I absolutely love it. I love what I do and I love making people feel special,” Tom said.

“There is nothing greater than making someone feel beautiful. Their face just “When I told my parents that I wanted to lights up when they love your work, espepursue hairdressing as a career they were cially if it’s something that they have never more than a little shocked. I think at first my thought of doing before.” dad took it a bit hard and it really impacted our relationship for a time.” “I’m famous for saying ‘have you thought of…?’ because I’m always offering some“But with something like hairstyling, you thing different. It’s important to get to know have to put in the hard yards and you have your clients and what they like or dislike. to show that you’re passionate about what But every person is open to some amount you do. I think my family came to under- of change. If you don’t offer them the stand me and my father and I are a lot opportunity, then you’re not doing the best closer now. My mother was the last person job you can,” he said. to let me do her hair, but now she won’t let anyone else do it,” Tom said. Ever smiling, Tom and his team are always friendly and approachable, something that Starting his own hair salon had been a sets the boutique studio apart from its dream of his for the longest time. Starting competitors. Sometimes getting a new Mirror Mirror allowed him to take everything hairstyle can be intimidating and Tom is Tom had learned and create a space full of quick to set his clients at ease. colour and fun.


Just a snip A hairdresser’s passion

“I think it’s important to have a good relationship with your clients too. From the moment they walk in to the minute they walk out, I work hard to ensure that they feel welcomed and comfortable.” “Most of my clients are close friends now and I treat them all like family. I’ve actually been invited to a few events and parties by my clients and I’m glad that we have such a close connection,” Tom said. Professionally, Mirror Mirror is just one layer in the grand scheme of things for Tom. The hairstylist wants to eventually expand to other areas in the beauty industry. “I want to create something like a day spa; where people can come in and get all their beauty treatments in one place. Make up, hair, nails, I want to pamper them from head to toe,” Tom said. “I’ve learnt that difference is a beautiful thing as well and it should not be discouraged. We should accept people for who they are, get rid of labels, dare to do what we want to do and not make excuses about it. I know that expanding the studio will be hard but if you’re passionate about it, people will get excited about it too!” “Working with my clients at the salon and sometimes as a volunteer in the community, I’ve had the chance to share my work and talent with the world. I’ve learnt that absolutely nothing beats the feeling of making someone feel beautiful.”

3


We are the professional Thai massage & beauty salon in the heart of Toowong and Fortitude Valley. We have highly qualified therapists providing exclusive treatments and excellent services. From the moment you step into our salon, you can feel the Thai style experience, relax, refresh the mind and revitalizing the body seems to be what everyone needs nowadays. After a hectic schedule, most people have a busy lifestyle and a stressful day. At Alissa Thai Massage & Beauty, we promote good health and emotional well being, fix the knots, soothe the muscles, improve circulation, release the energy flow and make you feel rejuvenated. We use organic massage oils and luxurious Payot products. Our broad customer base include expatriates, office workers, housewives, university students as well as foreign customers who come from other states and territories of Australia to visit us.

OPEN 7 DAYS

$65 for 1 hour of your choice of massage from Traditional Thai , Royal Thai, Swedish or Sport ( Deep tissue)massage.

1st floor 201 Wickham St. Fortitude Valley 10am-10pm (Mon-Sun) Mobile : 0411 569 511

1B/39 Sherwood St. Toowong 9am-8pm (Mon-Sat) 10am-5pm (Sun) Mobile : 0423 936 641

E-mail : alissa.tmb@gmail.com www.alissatmb.com.au

Like us Alissa Thai Massage & Beauty


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.