๑๒ issue12
UP CLOSE &PERSONAL ANDREW PARK New Thai Honorary Consul
FEATURE
บรรยากาศ Songkran festival
True Story
The Interpreter’s Journal
Fares from Brisbane: ECONOMY ROYAL SILK BANGKOK 820 4010 PHUKET 827 4018 SAIGON 924 4188 SHANGHAI 1092 4556 DELHI 1113 4708 TOKYO 1129 4706 PARIS 1372 6820 LONDON 1470 6994
Ticketing : Now – 31 May 2016 Departure : Now – 30 Nov 2016
Terms and conditions apply. Fares shown are based on return travel from Brisbane and include all departure taxes and gov’t charges as calculated on 22 April ’16 in Australian Dollars. Economy Class is Low season in “W” class and Royal Silk is booked in “J” Class. Fares may vary depending on the itinerary booked and season travelled. Cancellation and change fees apply. Economy and Royal Silk Class must be booked by 31 May 2016 for travel until 30 November 2016. Blackout periods may apply. Fares are also available from Sydney, Melbourne and Perth.
Editor’s inbox and Contributors
Editor’s inbox สองสามเดือนที่ผานมา ถือไดวาเปนจุดแหงการเริ่มตนของหลายๆสิ่ง ของชุมชนคนไทยและชุมชนจากหลายประเทศที่มาจากเอเชียใตและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ยังไดมีการฉลองเทศกาลปใหมแบบดั้งเดิมกันในเดือนที่ผานมา เมษายนยังถือเปนจุดเริ่ม ตนของไตรมาสใหมของป (เผลอแปบๆจะเขากลางปแลวหรือนี่?) สำหรับชุมชนไทยในบริสเบนและควีนสแลนดก็ยังไดรับขาวใหมซึ่งเปนขาวดีที่มีประโยชน นั่นคือขาวที่สำนักงานกงสุลกิตติมศักดิ์แหงใหม ซึ่งไดเปดทำการขึ้นแลว เปนสำนักงานที่ตั้งอยูใจกลางยานธุรกิจที่เพิ่มความสะดวกสบายใหกับผูเขามาใชบริการมากขึ้น โดยกงสุลกิตติมศักดิ์คนใหม คุณแอนดรู พารค ใหเกียรติเปนนายแบบขึ้นปก และใหสัมภาษณกับทีมงานเราเปนฉบับแรก ติดตามอานเรื่องราวสนุกในบทสัมภาษณไดคะ สิ่งที่เราสนใจและตื่นเตนที่สุดในการที่ไดทำงานแตละฉบับคือ เราไดมีโอกาสสรางสะพานเชื่อม ตอทางธุรกิจและบุคคลจากชุมชนหลากหลายวัฒนธรรมไดรูจักกันและกัน แตละฉบับอาจจะ มีออกมาลาชาบาง จุดสำคัญที่เราเนนที่สุดคือ เราอยากรวมเรื่องราวใหม ๆ ของธุรกิจ บุคคล และสถานที่สวยๆมานำเสนอ และทำใหชุมชนของเรามีเรื่องราวที่นาสนใจมากขึ้นเราอยาก ไดยินเกี่ยวกับเรื่องราวของคุณ เพื่อนของคุณ หรือุธุรกิจที่คุณรูจักและใชบริการอยู เราอยากไดชื่นชมภาพสวยๆและอยากเปนตัวกลางแบงปนความสวยงามเหลานั้นออกไป ยังวงกวาง หากคุณหรือเพื่อนของคุณกำลังทำโครงการธุรกิจอะไรและ อยากใหใครตอใครไดรับรู เพื่อยกระดับธุรกิจใหประสบความสำเร็จโดยเร็ว อยาไดลังเลนะคะ เรามีที่วางสำหรับทุกทานคะ ติดตอเราไดเสมอทุกเวลา หวังวาทุกทานจะสนุกกับเรื่องราวภายในฉบับนี้ Boom Buchanan Editor
This pass few months is the beginning of a lot of things. Thai people and many countries from South and Southeast Asia also celebrate our new year in April, which is also the beginning of a new quarter of the year. For Thai community in Brisbane and Queensland, it is good to see the beginning of the new Royal Thai Consulate office opening for service with the new Honorary Consul, Andrew Park of whom we have a pleasure to feature him in this edition’s as a cover model. We hope you enjoy reading his up-close and personal in the cover talks. Speaking of community, it is the thing that we are most interested in and excited about. Our aim is to build connection and bridge Thai to Multicultural community and vice versa. We are working to include new stories of businesses, people and places of multicultural in every edition. You would have noticed we had a little down time between editions and that was to do some planning and re-working and try to bring more articles, stories, reviews and photos from different events so it make us more interesting. We would love to hear from you about your or your friend’ stories, see some nice photos that you take from different events that you have been to, or want us to help raise your profile, and get noticed and be the success person you were born to be, we always have space for you, please feel free to drop us a line anytime. Hope you enjoy this edition.
Contributors ทา่นเจา้คณ ุ พระศรพ ี ทุธวิเิทศ เจา้อาวาสวดัไทยพทุธาราม
Phra Siphutthiwithet President & Abbot at Wat Tha Buddharam Forestdale Brisbane.
พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting Professional education consultant in Brisbane
Supalagsana Sontichai: Old Tales Retold A Thai award winning author , a novelist, translator and a travel writer
“ Nothing great was ever achieved without enthusiasm”
Frankie@skillpointconsulting.com.au
Aras Saadati Photographer
ปาริฉัตร กาญจนวัฒน์ Peta Art Director
http://www.arasshots.net
freelance grapic designer contact email: design.parichat.k@gmail.com
ณภัค โหมดหิรัญ (ปอ) Naphak Modhiran (Por) Photographer & Columnist
I considered myself as landscape photographer, but am also inspired by food, architecture and portrait photography as well. To those who might be interested in my works please feel free to visit my portfolio at: https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ Contact me at mailto: modhirann@yahoo.com
Santanee Otto slottochangprai@gmail.com. Columnist Design Trends
Chaisuda Gaylard อุทาหรณ์...ชีวิต True Story A mother of one and a cancer survivor, Chaisuda Gaylard shares the stories of her battle with cancer and how she determines to live a happy life.
Benjawan Poomsan US-based Thai/Lao Translator and Interpreter and a writer
วสมน สาณะเสน Wasamon Sanasen East meets West
Emma Drynan Registered Migration Agent Partner Visa Specialist emma@freedommigration.com
Sophon Pathumratworakun(Dee) โสภณ ปทุมรัตน์วรกุล (ดี)
3
Contents twelfth Issue April - May 2016
Cover talks 6-7 Cover talk “UPCLOSE &PERSONAL” ANDREW PARK
Brislife 8 สารจาก กงสุลกิตติมศักดิ์ แหงรัฐควีนสแลนด 20 Design Trend
6-7 6-7 ANDREW PARK The new Thai Honorary Consul for QLD
with love and passion 6-7
Did you know? ชองทางการเขาถึง
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ติดตามอาน Sawasdee E-Magazine ไดแลววันนี้ เพียงดาวนโหลด Application issue
True Story 12-13 22-23 24-25 28
True Story Thai-Lao interpreter Old Tales Retold True Story อุทาหรณ...ชีวิต Visa corner
3 4 16 26-27 29
Editor Inbox & Contributors รูจักทีมสวัสดีออสเตรเลีย Content Money Talk รอบรูเรื่องอสังหาริมทรัพยกับ JB Palmer Social Scenes Horoscope ทำนายดวง
Real Community
โครงสรางพืน้ ฐาน
16 BRISBANE 28
“ SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE ” https://www.facebook.com/sawasdee.au.mag
Contact us Sawasdee Australia Magazine 6/159 Gailey Road Taringa QLD 4068 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: + 61 7 3870 5427 +61 424 022 334
24
22-23
เปนมนุษย สุดดีก็ที่ปาก
We Carter to your dreams Business Meetings • Receptions • Parties • Banquets • Celebrations • Wedding • Special Events
BRISBANE AIR PORT
Call
(07) 3268 5146 or (07) 3172 0259
Open 7 days 7 nights Monday - Sunday Dinner 5pm til Late
4/5 Zillman Road, Hendra, Brisbane, Queensland, Australia
Lunch 11.00 - 3.00pm
- Mechanical Repair - Log book service - Road Safety Certificate (RWC) - Air-condition
Please Contact
Nick / ติดต่อ หน่อง
4/8 Timms Court Underwood 4114
Mobile: 0412 880 999 Office: 07 3299 3222
Cover Talks
UPCLOSE
&PERSONAL itting at a glossy table in the new Brisbane office of the Royal Thai Consulate, the recently appointed honorary consul smiled in welcome. Despite being
established restauranteur, hands on father and skilled corporate advisor, his passion for his work as consul was at the forefront of his conversation. Growing up in Sherwood the son of an American father and Australian mother, Andrew Park has always been interested in politics. Since he was fifteen, a young boy drawn to current affairs, politics had been Andrew’s dream career. After graduating from Griffith University, Andrew was a regular around the scene, working with several state government members before eventually landing a position with Alexander Downer, the then Minister of Foreign Affairs. It was this position that introduced him to the world of consulate undertakings. “Our work as advisors to Alexander Downer was usually split into parts. I was working on the consular duties,” Andrew said. “The role gave me incredible experience and introduced me to so many people. I was travelling a lot and learned to deal with the trickier consular issues.” “As a consul, your primary role is to be there to support and help the people you represent. I learnt a lot about the different things that we could do to help,” he said. From 1999 to 2006, Andrew built up his career in politics. As with most people in the field, he decided to move to Canberra, the political hub of Australia. With a chuckle, Andrew says that the day before he moved was a memorable one. “I was out with some friends at a Thai restaurant in th Brisbane to celebrate my 25 birthday. Encouraged by a few drinks and my friends, I finally got the guts to approach my now wife, Wasana. She was working there as a waitress whilst studying accountancy,” Andrew said. “Her beautiful warm smile was what attracted me at first and I managed to get her phone number before heading home. I broke a rule they had because staff weren’t allowed to date customers.” He smiles at the memory. 6
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ANDREW PARK The new Thai Honorary Consul for QLD
“I was moving to Canberra the next day and was really worried that I wouldn’t see her again. After trying to reach her repeatedly, we finally got in contact and we had lunch on the way to the airport. That was our first date,” he said. After some time maintaining a long distance relationship, Wasana graduated and decided to join Andrew in Canberra. She got a job as an accountant there and the two eventually married in the same restaurant they had first fatefully met. “I had been working in politics for a while and living with Wasana really opened me up to Thai culture. I attended an AIDS conference in Bangkok, and met Kofi Annan and President Bush among others. The more I travelled to Thailand, the more I fell in love with the country and its people,” Andrew said. Despite his passion for the position, being an advisor was taxing. When the change in government occurred, Andrew and Wasana both decided that a change in scene was needed. Andrew said that Wasana had always wanted to start up a Thai restaurant, so the two of them decided to give it a shot. “We opened our first restaurant and then a second one in Kenmore. I was very busy and very hands-on. It gave me the experience of running a small business and it was my full time job for five years,” he said. “We had in total 25 Thai staff members and living and working with them really taught me the Thai way.”
Not only was life busy at work, Andrew also had his hands full with two young sons. For him, weekends were for family and Andrew maintains a laidback approach to bonding with his children. Although he did not get to see them much during the week when he began working as a corporate consultant, Andrew still took his sons to their various extra curricular activities including their swimming or golfing on the weekend.
We want the Consulate office to be somewhere Thais feel proud to have a real and professional place where they can come and call their home “I have two very active young boys who love sports. Having grown up in Australia, it is always easier for them to adopt the Aussie culture. That’s why Wasana and I make a conscious effort to teach them Thai culture too.” “When we go back to Thailand, we take them to visit their relatives. They love Thai food, and Muay Thai and of course, they’re at the temples on the weekends too. I want them to have the opportunities of both cultures when they grow up,” Andrew said.
ith no one more suitable for the role, Andrew Park was appointed Thai Honorary Consul for Queensland. Being in a position to help, the consul says that he wants to see the Thai community flourish . “It’s a bit of a passion of mine, trade and investment. My professional focus over the last 5 years has been helping businesses and in particular, foreign investment. There has a big imbalance with Thai and Australian investments,” he said. “Right now, there aren’t as many Australian companies investing in Thailand as they should be. My goal is to work really hard to leverage my corporate relationships across corporate Queensland to invest in Thailand.” Andrew says that locally, his primary role and priority is always the welfare of Thai nationals. “I don’t think we should be afraid to take on the tough issues too. We talked about the issues that happen such as domestic violence and there are people in the community that need our help in a way that is culturally appropriate.” “There are also a lot of Thai communities outside Brisbane and I'm very happy to jump on a plane and go visit a community and assist them in any way. We need to make things as accessible and convenient as possible,” Andrew said and added that a lot of care and thought has gone into the opening of the new Consulate office in Brisbane. “We want this to be somewhere Thais feel proud to have a real and professional place where they can come and call their home.”
7
Dear Thai community friends, Sawasdee Bee Mai! At the end of March I was honored to be officially appointed by His Excellency Mr Chirachai Punkrasin, Thailand’s Ambassador to Australia, to the role of Honorary Consul of Thailand for Queensland. And I’m delighted to advise that the new Royal Thai Consulate opened at level 19, 344 Queen Street on the 4th of May.April is always a busy month as the Thai community celebrates Songkran with a range of religious ceremonies and cultural activities. Wat Sangharatanaram Temple on the Gold Coast kicked off the celebrations with a typically fun day on the 10th of April. My wife, Wasana, and our two boys, Campbell and Lachlan enjoyed wonderful hospitality from the Gold Coast Thai community including some great food and a fair amount of water splashing too! The following weekend, Wat Thai Buddharam at Forestdale in Logan held a two-day celebration of Songkran which began on the Saturday with a Royal Sermon undertaken by senior monks visiting from Thailand and then the traditional Songkran festivities on the Sunday. Ambassador Chirachai joined the religious ceremony and the Songkran celebrations at Wat Thai Buddharam on both days, and I know he had a wonderful time catching up with Brisbane’s Thai community. We were also very happy to be joined on the Sunday by Logan’s new Mayor, Cr Luke Smith, with who the Temple has had a long and happy relationship. During April I also met formally with newly elected Gold Coast Mayor, Cr Tom Tate. As many would know, Mayor Tate is a dual Australia-Thai citizen and so he has a very real interest in the welfare of the Thai community on the Gold Coast. I outlined some of the challenges and opportunities for the community and Mayor Tate was very responsive to these matters. No doubt he is a real friend of Thailand. Another valued and hard-working member of the Thai community, Khun Serena Denis, invited a number of members of the community to support her cause for the Lions United Asia Club at a fundraising dinner for medical research on Saturday the 22nd of April. We enjoyed a great night out along with Khun Vinya Chantra, President of the Thai Australia Association of Queensland (TAAQ) and others. Congratulations to Khun Serena on her hard work for such a great cause. Speaking of TAAQ, I was delighted to join their regular committee meeting held on the Gold Coast on Sunday 23rd of April. The TAAQ are getting ready for their annual “Friendship Cup Golf Tournament’ as well as the extremely successful Brisbane Thai Festival to be held towards the end of the year. Finally, please don’t forget that Thai Embassy staff will be conducting a mobile passport office from the Brisbane Consulate from Monday 30th May through until Friday 3rd June for Thai nationals who require a new Thai passport. Appointments MUST be made through the Thai Embassy in Canberra on (02) 6206 0100 to guarantee your new passport can be produced.
สวัสดีปใหมครับ ผมรูสึกเปนเกียรติอยางสูงที่ไดรับการแตงตั้งอยางเปนทางการจาก ฯพณฯ นายจิระชัย ปนกระษิณ เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศออสเตรเลียให รับตำแหนงกงสุลกิตติมศักดิ์ แหงรัฐควีนสแลนด และผมยินดีที่จะเรียนวา สถานกงสุลไทยแหงใหมเปดใหบริการแลวเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 สำนักงานตั้งอยูที่ชั้น 19 เลขที่ 344 ถนน Queen Street เมษายนเปนเดือนทีก่ จิ กรรมเยอะมากเดือนหนึง่ เปนชวงทีช่ มุ ชนไทยพากัน จัดงานฉลองเทศกาลปใหมไทย งานสงกรานต รวมทั้งงานพิธีกรรมทาง ศาสนาและกิจกรรมเผยแพรวัฒนธรรม วัดสังฆรัตนาราม ที่โกลดโคสตจัด งานเฉลิมฉลองขึน้ ในวันที่ 10 เดือนเมษายนซึง่ ผมกับคุณวาสนาภรรยาและ ลูกชายทั้งสองคน ไดมีโอกาสไปรวมงาน เราไดรับการตอนรับอยางอบอุน จากชุมชนไทยในโกลดโคสต ไดรับประทานอาหารอรอยๆและเลนสาดน้ำ สงกรานตสนุกๆดวย
มอบรางวัลใหผูชนะเลิศเทพีสงกรานต ในงานสงกรานตวัดไทยพุทธาราม
สุดสัปดาหตอมา ผมและครอบครัวก็ไดไปรวมงานที่วัดไทยพุทธารามที่ Forestdale ในเขต Logan ซึี่งจัดขึ้นสองวัน วันแรกไดเขารวมทำบุญงาน เทศนมหาชาติ มีพระสงฆอาวุโสเดินทางมาจากประเทศไทย แลวก็มีงาน เทศกาลสงกรานตแบบดั้งเดิมในวันอาทิตย ทานทูตจิระชัยและภริยาก็ได เดินทางมาจากแคนเบอรราเพื่อรวมพิธีทั้งสองวัน ซึ่งผมทราบวาทานดีใจ มากที่ไดมีโอกาสไดพบและทำความรูจักกับสมาชิกชุมชนไทยในบริสเบน และไดมโี อกาสไดพบกับนายกเทศมนตรีของเทศบาลเมืองโลแกน ลุค สมิธ ซึ่งวัดไทยของเราคุนเคยกับทานดี หลังจากรับตำแหนงผมยังไดพบกับนายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองโกลดโคสต คุณทอม เทต ทีห่ ลายคนทีร่ จู กั ทานจะทราบวาทานเปนลูกครึง่ ไทยออสเตรเลียน ผมไดพูดคุยกับทานถึงเรื่องชุมชนไทย ในโกลดโคสตในประเด็นตางๆ และ ทานก็ใหความสนใจมากกับความเปนอยูของสมาชิก และความเปนไปของ ชุมชนไทยในโกลดโคสตอยางจริงจัง
ทานทูตจิระชัย ปนกระษิณ มีโอกาสไดพบปะกับผูมีเกียรติและนักการเมือง ทองถิ่น ที่งานที่วัดไทยจัดขึ้นในชวงเทศกาลสงกรานต
ผมไดรบั คำเชิญจากคนไทยทีช่ ว ยงานดานการกุศลของชุมชนอีกคน คือคุณ เซเรนา เดนิส ใหไปรวมในงาน เลี้ยงอาหารค่ำของ United Asia Club ซึ่งเปนงานการกุศลระดมทุนสนับสนุนการวิจัยทางการแพทย เมื่อวันเสาร ที่ 22 เมษายน งานนีค้ ณ ุ วิญญา จันทรา ประธานสมาคมออสเตรเลียนไทย ควีนสแลนด (TAAQ) และสมาชิกในชุมชนไทยทานอื่นๆ ก็ไดไปรวมดวย ตองแสดงความยินดีกับคุณเซเรนา ที่ทำงานหนักเพื่อชวยองคกรการกุศล จากนั้นผมก็ไดเขารวมประชุมกับคณะกรรมการสมาคมไทยออสเตรเลียน ในรัฐควีนสแลนดเมื่อวันที่ 23 เมษายน มีการพูดคุยกันในหลายประเด็น และสมาคมฯก็พรอมแลวทีจ่ ดั จัดการแขงขันกอลฟเพือ่ กระชับความสัมพันธ ในวันที่ 15 พฤษภาคม ที่จะถึงนี้ รวมทั้งงานเทศกาลไทยที่จะมีขึ้นในชวง ปลายปนี้
ในงานพิธีทำบุญสำนักงานกงสุลกิตติมศักด กอนเปดใหบริการ นำโดยทาน เจาคุณพระศรีพุทธิวิเทศ
อยาลืมกันนะครับ เรื่องบริการกงสุลสัญจรที่จะมาใหบริการจัดทำหนังสือ เดินทางใหกับคนไทยที่ควีนสแลนด เจาหนาที่จากสถานทูตไทยจะมาให บริการที่สถานกงสุลไทย ที่บริสเบน ในวันจันทรที่ 30 พฤษภาคม ถึงวัน ศุกรที่ 3 มิถุนายน สำหรับคนไทยที่ตองการหนังสือเดินทางไทยใหม จะ ตองโทรนัดหมายจองคิวกับสถานทูตไทยในแคนเบอรรา ที่หมายเลข (02) 6206 0100 ผมหวังวาทุกคนไดมีโอกาสพักผอนใชเวลาในชวงวันหยุดกับครอบครัวและ เพื่อน ๆ ในชวงงานฉลองสงกรานตที่ผานมานะครับ และหวังวาปนี้จะเปน ปทท่ี กุ ทานมีความสุข สุขภาพแข็งแรง และเจริญกาวหนาในกิจการของทานครับ
รวมงานเลี้ยงอาหารค่ำของ United Asia Clubที่จัดงานระดมทุนชวยงานวิจัย ทางดานการแพทย
ดวยความนับถือ แอนดรูว พารค
I hope everyone had a great time with their family and friends celebrating Songkran and I hope the (Thai) year ahead is one filled with much good health, prosperity and happiness for all. Warm regards Andrew Park
รวมประชุมกับสมาคมไทยออสเตรเลียนรัฐควีนสแลนด เพื่อหารือเรื่องกอลฟ กระชับมิตร ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 15 พฤษภาคม ที่จะถึงนี้ 8
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ม ร ร ก จ ิ ก ก า จ ี ด ค ช โ ู ผ ก แ ลั
บรรยา
ว ง า ร บ อ ม ร า ก ศ กา t e k c i t A returen- B a n g k o k Brisba
n
เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2556 ที่ผานมา บริษัทการบินไทย จำกัด มหาชน และ PRASEBAN RESORT ไดมอบหมายใหทางสวัสดีออสเตรเลียแมกกาซีน เปนตัวแทนมอบรางวัล ตั๋วเครื่องบินไป-กลับ กรุงเทพ บริสเบน และ รางวัลที่ พักจาก PRASEBAN RESORT แกผูชนะเลิศการประกวด Eat Thai -Fly THAI photo contest คุณ ธัญญาเรศ เอียะรัมย และมอบรางวัลที่พักจาก PRASEBAN RESORT แก รองชนะเลิศ คุณอรอนงค ทิพยพิมล ทั้งนี้ผูชนะเลิศเปดใจพูดคุยกับทางทีมงานผานรายการวิทยุ 4EB FM 98.1 ถึงการรวมกิจกรรมในครั้งนี้ ทางทีมงานขอขอบคุณผูที่ใหการสนับสนุน และ ผูรวมกิจกรรมทุกทานมา ณ ที่นี้ดวย
สวสัดอีอสเตรเลยี brislife - true story - real community
THAI WI-RAT Thai -Laos Food
Being in love should not be this hard…
Freedom Migration. Australia's leading Partner Visa Specialist Every relationship is different, so a tailored solution is required to get the best possible outcome for each and every family we represent. With a team on the ground in Thailand, your partner and you will be supported every step of the way.
Freedom Migration
provides specialty migration services for:
· Visitor visas for your partner · Partner visas
· Spouse visas · Marriage visas
· Migration Review Tribunal (visa refusals and reviews)
07 3112 5204 Don't risk the future of your relationship Registered Migration Agent #0960361
Contact the Freedom Migration team today on
Website: www.freedommigration.com
WHAT'S AN '8503' CONDITION? Visitor Visas & the "No Further Stay Condition" The No Further Stay Visa Condition Explained What does the no further stay condition attached to my visitor visa mean exactly?
So your visitor visa has been granted or your partner's visitor visa has been granted and in the conditions section it says 'Condition 8503'. This condition is known as the 'no further stay' condition which in everyday terms means you can come to Australia with that visitor visa but before the visa expires you must leave Australia. You cannot apply for an extension of that visitor visa while you are inside Australia and you certainly cannot apply for a partner visa when you are inside Australia. For some Australian visitor visas the 'no further stay condition' is mandatory, and it must be attached as a condition of that visa granted. For other visas the decision maker has discretion whether or not to attach the condition. Visitor Visa - Sponsored Family Stream _________________________________________ If your Thai partner applied for a visitor visa under the sponsored family visitor stream then this condition will definitely be attached to that visa as there is no discretion available to the decision maker to not impose it. Visitor Visa - Tourist Stream _________________________________________ If your Thai partner has applied for a visitor visa under the tourism stream then there is a chance that she/he may not have the condition attached to the visa granted. It is not compulsory for the decision-maker to impose the 8503 condition on visitorAsked visas applied for under the tourism stream. Frequently Questions
Why would Immigration put a 'no further stay condition' on my visa? _________________________________________ Putting this condition on the visa should be done where Immigration wants greater surety that a temporary visa holder will leave Australia before the expiry of their visa. It should only be used in 'exceptional circumstances' where the decision maker has concerns about the visa applicant's intentions to follow the rules and leave before visa expiry. Where the decision maker has some residual concerns that the applicant may not be intending to visit Australia as a genuine visitor only, yet there is not compelling evidence to suggest that she/he does not have a genuine intention they may impose this condition. Examples of circumstances where the decision-maker may be more likely to put the '8503' condition on the visitor visa: • Concern's the applicant may seek work in Australia • Concern's the applicant may seek to apply for a partner visa or another visa in Australia • Concerns about few reasons to return to their home country • Concerns about access to funds available for their trip
Can I ask Immigration to NOT impose the 8503 condition? _________________________________________ If you ask Immigration not to impose the 8503 condition they are likely to impose it. Our advice is to prepare a well documented visitor visa application with plenty of relevant evidence and then hope for the best. In exceptional circumstances beyond the control of the visa holder the no further stay condition may be waived after arrival; we repeat and reiterate this is ONLY in exceptional circumstances. Seek further advice from a Registered Migration Agent or the Department of Immigration if you need to request a waiver.
CONTACT FREEDOM MIGRATION WITH YOUR VISA QUESTIONS - (07) 3112 5204
True story
I grew up hearing my parents speaking Lao at home. Dad always used very traditional Lao words. However, my parents never spoke Lao to me
I was six years old at the time, and I don’t recall much about this journey back to Yasothon. According to Mom, we moved all our possessions in a used pick-up truck that Dad bought, plus another one borrowed from my uncle. Apparently we spent hours that day waiting by the roadside as our dilapidated truck was made drivable for the steep road up the Korat Plateau, the gateway to the Northeast. Four of us children were packed in that truck with all the household items. I’m the third oldest. My older brother, my older sister, and my younger brother and I were all born in those nice Bangkok hospitals. Our youngest brother was born in Yasothon after we resettled there.
The Interpreter’s journal Childhood memoir Benjawan Poomsan Becker I was six years old at the time, and I don’t recall much about this journey back to Yasothon. According to Mom, we moved all our possessions in a used pick-up truck that Dad bought, plus another one borrowed from my uncle. Apparently we spent hours that day waiting by the roadside as our dilapidated truck was made drivable for the steep road up the Korat Plateau, the gateway to the Northeast. Four of us children were packed in that truck with all the household items. I’m the third oldest. My older brother, my older sister, and my younger brother and I were all born in those nice Bangkok hospitals. Our youngest brother was born in Yasothon after we resettled there. 12
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
The fact is, more people speak the Lao language in Thailand than in Laos. The population of Laos is six million, but there are more than 25 million people in the northeast of Thailand alone. But the Lao spoken in Isaan has been, and continues to be, influenced by the Central Thai language. Many Lao words have been replaced by Thai words. This is worrying because fewer and fewer Isaan people speak pure Lao now. They substitute Thai words, but change tones to make it sound like Lao. I’d love to start a campaign to conserve the Lao language in Thailand. Although I was born in Bangkok, I grew up hearing my parents speaking Lao at home. Dad always used very traditional Lao words. However, my parents never spoke Lao to me – for two reasons. Until I was six years old, we’d lived in Bangkok, where they spoke Central Thai. At elementary school and kindergarten we all learned Central Thai. There are many regional dialects and accents, but Central Thai is the official language spoken in government, formal announcements, in schools, and any official communications.
The second reason why I wasn’t taught Lao is that my parents wanted to keep me from speaking Thai with a Lao accent. Isaan folk are stereotyped as poor and uneducated country bumpkins. Many of them go to Bangkok or other large cities to work as maids, laborers, taxi-drivers, and in other jobs in the service industry. Northeasterners are often looked down upon by other Thais, and being from that region implies a lower social status. To avoid this stigma, Isaan people tend to speak quietly when they’re on a bus or in public places in Bangkok. On the other hand, the Isaan people are not considered to be Lao by the citizens of Laos. So, we call ourselves Thai Isaan or khon Isaan to differentiate ourselves from the Lao people in Laos. But I still think that we are the same people. I consider myself ethnic Lao. My ancestors from Laos who settled in Thailand have the same cultural roots as our neighbors on the other side of the Mekong River. Lao and Isaan people learn Thai easily because they hear Thai in the soap operas and in Thai pop music. However, Thais don’t make any effort to learn Lao. Central Thai is the accepted standard for spoken Thai, and my parents always spoke Central Thai with me. Although I learned
Lao from friends in school, I can still speak Thai perfectly without any Lao or Isaan accent. Interestingly, my older brother and sister can hardly speak any Lao. They avoided learning it, since it was socially desirable for them to speak Central Thai when they were growing up in Bangkok. In Isaan, nobody spoke Central Thai, except in schools, where it was required. My parents always wanted us to speak only Thai. But I was stubborn. My schoolmates taught me Lao. It was a girl named Mali in Yasothon who first spoke Lao with me. She was my first real language teacher. The Lao language has its own writing system, which is very similar to Thai, and it took me only about three hours to learn to read. In two weeks I could read fluently and could translate things easily into Thai. Years later, I wrote a book called Lao For Beginners, and then a Lao dictionary for non-Lao speakers. Learning Lao has been a big help for me. Knowing languages can open doors to opportunities and to cultural and professional circles you might never have otherwise.
13
Money talks
JB Palmer (Jeab) : Project Marketing Division
Homestates Realty The London Offices, Suite 9c, 30 Florence St, Teneriffe QLD 4005 Tel: 1300 88 66 08 Mob: 0431 535 240 Email: jb.palmer@homestates.com.au
สวัสดีปใหมไทยเพื่อนๆพี่ๆทุกคนนะคะ เทศกาลสงกรานตเพิ่งผานไปที่ซิดนีย ดารวิน และ เพิรธ สวนบริสเบน ก็จัดขึ้นวันที่ 17ที่ผานมา เจี๊ยบดีใจที่ไดทักทายและพูดคุยกับหลายๆ คนในงานคะ นับเปนงานเทศกาลประจำปที่สนุกสนานรื่นเริงสำหรับคนไทยที่อยูไกลบาน ไดคลายความคิดถึงเมืองไทยไปไดบาง ในโอกาสนี้เจี๊ยบขอขอบคุณเพื่อนๆ และลูกคาทุก ทานดวยที่รวมกิจกรรมสนุกๆที่บูธของบริษัทโฮมเอสเตท สวนที่ยังคุยกันไมหนำใจและยัง มีคำถามคาใจเกี่ยวกับอสังหาฯ เขามาคุยกับเจี๊ยบไดเสมอคะ หลังจากที่ไดทำความรูจักตลาดและลูกคาที่ซิดนียมาไดระยะหนึ่ง ทำใหเจี๊ยบเขาใจมุมมองและ คำถามที่หลายๆคน อยากรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริสเบนที่อาจจะยังไมเห็นภาพวาเปนอยางไร ทำไม บริสเบนถึงนาสนใจขนาดนั้น ทำไมนักลงทุนทั่วออสเตรเลียตองมองบริสเบนตาเปนมัน เจี๊ยบ ขอสรุปคราวๆดังนี้คะ บริสเบนกำลังจะถูกแปลงโฉมครั้งใหญมากในประวัติศาสตรใหเจริญขึ้น อยางกาวกระโดด ดวยโครงการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานขนาดยักษมูลคากวา 134.2พันลาน เหรียญ นี่คือตัวเรงที่จะทำใหบริสเบนมีความเจริญไลตามทันซิดนียหรือเมลเบิรนในที่สุด เจี๊ยบอาศัยขอมูลอางอิงจาก PIE framework ของสำนักวิจัย Urbis ที่บอกวาหนึ่งในปจจัยที่ ชวยใหอสังหาเพิ่มมูลคาขึ้นคือตัว I หรือ Infrastructure นั่นเอง สิ่งนี้คือปจจัยสำคัญที่ทำให บริสเบนมีเรื่องราวนาลงทุนที่คนทั่วทั้งประเทศกำลังจับตามอง ในฐานะที่เปนเมืองที่ถูกขนาน นามวา Australian New World City โครงสรางพื้นฐานไมไดแคสรางรายไดกลับคืนแคตัวโครงสราง เชน การสรางสะพานหรือทาง ดวนแลวเก็บคาผานทาง หรือ สรางทาเรือแลวเก็บคาระวางจอดเรือ ทวาโครงสรางพื้นฐาน นำ มาซึ่งการสงเสริมการลงทุนในเศรษฐกิจดานอื่นๆ ของตัวเมืองในระยะยาวเชนการสรางสนามบิน การขยายรันเวย เปนการกระตุน การทองเทีย่ วและเพิม่ ปริมาณนักทองเทีย่ วที่จะเขามาพรอมกำลังจับ จายใชสอย และกระตุนกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ซึ่งนั่นคือการเปนตัวชวยสนับสนุนใน P – Population มีคนอพยพเขามาตั้งถิ่นฐานมากขึ้น และมี E – Employment คือการจาง งานมากขึ้นเพื่อรองรับคนและเพื่อใชงานโครงสรางพื้นฐานนั้นๆ สามสิ่งนี้จะเปนตัวขับเคลื่อน ใหมูลคาอสังหาบริเวณนั้นๆเติบโตยิ่งขึ้นเพราะเปนพื้นที่ซึ่งมีความเจริญเปนตัวคูณ เจีย๊ บอยาก เจาะลึกมากขึน้ เพือ่ พิสจู นวา อสังหาในบริสเบนกำลังจะไดรบั ประโยชนจากโครงการลงทุนโครง สรางพื้นฐานตางๆ หลายโครงการซึ่งนี่คือการลงทุนที่มูลคารวมแลวสูงที่สุดในประวัติศาสตร ของประเทศนี้เลยทีเดียว รายละเอียดตามตารางนี้คะ
โครงสรางพืน้ ฐาน
BRISBANE จะเห็นไดวาโปรเจคการลงทุนโครงสรางพื้นฐานนั้นมีบางเขตที่จะไดประโยชนอยางเห็นไดชัด ซึ่งเจี๊ยบขอ โฟกัสไปยัง 2 เขต ดังนี้คะ • South Bank/South Brisbane นี่คือเขตยอดฮิตติดอันดับตลอดกาลของบริสเบน ซึ่งเจี๊ยบเคยคุยใหฟง ไปในฉบับกอนๆแลววามีดีอยางไร แตก็ยังคงเนนย้ำไมแปรเปลี่ยนคะวาเขตนี้ดีจริงๆ เขตนี้จะมีบรรยากาศ คลายๆ แถบดารลิงฮาเบอรของซิดนีย และจากรายละเอียดขางบนที่มีทั้ง Queen’s Wharf project, Kurilpa Renewal project ที่กำลังจะเกิดขึ้น ลวนเปนโปรเจคระดับยักษ และนี่ยังไมรวมถึงโครงสราง พื้นฐานในปจจุบันที่ครอบคลุมสมบูรณเพียบพรอมอยูแลว เรียกไดวาซื้อไวลงทุนหรืออยูเองก็ลวนดีทั้งนั้น • Newstead เขตนี้ก็นับวามาแรงในชวงนี้เชนกันคะ ดวยความที่หางจากตัวเมืองชั้นในแคเพียงประมาณ 2 กิโลเมตร มีแหลงความบันเทิง เปนยานที่คนรวยอยูอาศัยกัน และมีรานอาหารนานั่งชิล มีบรรยากาศคลาย แถว Paddington ของซิดนียคะ ซึ่งโปรเจค Newstead Riverpark urban renewal precinctที่มีความตอ เนื่องยาวนาน ก็ทำใหเขตนี้นาดึงดูดใจ และยังรวมไปถึงการลงทุนของ Gaswork Retail Plaza Project ที่ดำเนินมาเสร็จสิ้นไปหลายสวนแลวก็ดึงดูดใหมีการจางงาน มีออฟฟซเปดใหม และมีผูคนโยกยายมาอยู อาศัยกันมากในชวงไมกี่ปที่ผานมา จึงเหมาะทั้งซื้ออสังหาไวปลอยเชาแตถาใครชอบไลฟสไตลกินดื่มก็อยูเอง ไดเชนกันคะ สาระเยอะหนอยนะคะฉบับนี้ แตเจี๊ยบอยากอธิบายใหเห็นภาพจริงๆ เลยตองยกตัวอยางและขอมูลมา อธิบายกันจัดเต็มขนาดนี้เพื่อใหเพื่อน ๆ ไดมั่นใจและอุนใจไดวาที่ โฮมเอสเตท นั้นเราทำงานกันอยางเต็มที่ ทุกอยางมีตัวเลขและขอมูลจากบทวิจัยของสำนักและบริษัทชั้นนำคอยสนับสนุนขอมูลการวิเคราะหให และที่สำคัญคือในบริสเบนนั้นเมื่อเทียบราคากับซิดนียก็ถือไดวาราคายังนาดึงดูดใจอยูมากเมื่อเทียบกับแผน การลงทุนที่จะมีของโครงสรางพื้นฐานในอนาคต แมในขณะที่ราคาอสังหาในปจจุบันของบริสเบนเทียบกับ ซิดนียนั้นจะยังถูกกวาหรือ พอๆกัน แตดวยเรื่องโครงสรางพื้นฐานที่จอคิวรอกอสรางกันอยูนี้นั้น อสังหาใน บริสเบนคงไมราคาถูกเชนนี้ตลอดไปหรอกคะ ตองมองวา ณ จุดที่เราเขาตลาดนั้น ปจจัยพื้นฐานในปจจุบัน และอนาคตเปนอยางไรและจะสามารถสรางความยั่งยืนในการเติบโตจากในอดีตใหดำเนินตอไปในอนาคต ไดหรือไม ในมุมมองของเจี๊ยบมองวาถาเราเขาตลาดในราคาที่ต่ำแตมีศักยภาพ ในระยะยาวเราจะสามารถ สรางกำไรเปนกอนใหญไดงายกวาไปซื้อในตลาดที่เติบโตรอนแรงแตราคาสูงแลวและไมแนใจจะโตตอไปได แคไหนคะ หากเรารีรอไมกลาลงมือทำในตอนชวงนี้ แลวคอยมาไลซื้อตอนที่โปรเจคโครงสรางพื้นฐานสราง ไปเสร็จหมดก็คงอาจชาไปแลวหรือสรางกำไรไดไมมากเทากับการตัดสินใจลองเสี่ยงภายใตหลักการและเหตุ ผลที่จะซื้อกอนที่โครงสรางพื้นฐานเหลานี้จะสรางเสร็จคะ นั่นคือวิถีทางของนักลงทุนที่ชาญฉลาดนั่นเอง ฉบับนี้พื้นที่หมดลงแลว ใครสนใจหรืออยากปรึกษาเพิ่มเติมก็ติดตอเจี๊ยบไดตลอดตามที่อยูที่ใหไวเลยนะคะ ขอบคุณและสวัสดีปใหมไทยอีกครั้งคะ
เขต
รายละเอียด
Queen’s wharf
CBD & South Bank
เปนโครงการลงทุนนับหลายพันลานที่จะสรางแหลงรวมความบันเทิงระดับโลก ซึ่งมีทั้งคาสิโน โรงแรมหกดาว รานอาหารเลิศหรูและศูนยชอปปงมากมาย จะเปนจุดสนใจแหงใหมระดับโลกเทียบเทาคาสิโนที่มาเกาหรือสิงคโปร
Brisbane Airport
Hamilton
การขยายรันเวยของสนามบินนานาชาติเปนรันเวยคู รวมถึงการขยายเลนถนนของ Kingsford Smith Drive จะนำมาซึ่งการเพิ่มปริมาณของเครื่องบินและการขนสง และเพิ่มมูลคาของภาคธุรกิจการทองเที่ยวของรัฐ ควีนสแลนดซึ่งมีบริสเบนเปนปากทางและอาจนำมาซึ่งการวาจางงานในภาคธุรกิจบริการการขนสงการอากาศยาน
Newstead Riverpark urban renewal precinct และ Gaswork Retail Plaza Project (Gasometer 1 & 2)
Newstead
มีโครงการการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญกวา 2พันลานเพื่อปรับปรุงภูมิทัศนของสวนสาธารณะริมแมน้ำ ในอีกทศวรรษขางหนา และในปจจุบันมีโครงการ Gaswork Retail Plaza (สรางเสร็จแลว) ที่เปนอาคารแหลง รวมความบันเทิง อาหาร และ สำนักงานธุรกิจ และประกอบดวย Gasometer1 (สรางเสร็จแลว) & Gasometer2 (เพิ่งสรางเสร็จแลวป 2014) ซึ่งมีพื้นที่สำหรับสำนักงานธุรกิจกวา 23,400 ตารางเมตร
South Brisbane
South Brisbane & South Bank
ขณะนี้ยานนี้มีโครงสรางพื้นฐานดั้งเดิมที่ประกอบดวยรานอาหาร ศิลปวัฒนธรรม การมีสถานีรถไฟถึงสองแหงใน เขตเดียว มีรถเมลดวนบริการทุก 5-10นาที และไดประโยชนจากการใกลเขตตัวเมืองชั้นในเพียงแคขามฝงแมน้ำ ในอนาคตเมื่อตัวเมืองขยายตัวก็ยอมเลือกเขตนี้เปนออฟฟซสวนขยาย และเขตนี้ยังไดประโยชนจาก Queen’s Wharf ที่จะมีสะพานขามไปอีกฝงหนึ่งที่ตั้งอยูตรงขามฝงแมน้ำ และในอนาคตอาจมีอควอเรี่ยมปลาระดับโลก มูลคาการกอสรางกวา 100ลานเหรียญ กอสรางที่บริเวณเขตนี้
Kurilpa Renewal Project
South Brisbane & South Bank
โปรเจคนี้คือการปรับปรุงภูมิทัศนและขยายประโยชนการใชงานพื้นที่ของเขตริมฝงแมน้ำ ใหสามารถใชงานได ทั้งภาคธุรกิจ เพื่อที่อยูอาศัย และ เพื่อการสาธารณะ จะมีการสรางสำนักงานระดับโลก มีสวนหยอม มีที่อยู อาศัยสวยงามริมแมน้ำ เปนการแปลงโฉมจากที่รกรางโรงงานอุตสาหกรรมใหกลายเปนพื้นที่นาอยูอยางถาวร
โปรเจคโครงสรางพืน้ ฐาน
Source: prepared by Urbis & Investment Opportunity Analysis, RPData, Agent Advice, realestate.com.au, and ABS Census. DISCLAIMER: Data is retrieved from an external source. We are not responsible for information we relied on. Terms and conditions apply.
16 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
Celebrating a 45 Year Milestone
Smooth as silk flights between Australia and Thailand, 01 April 1971-2016.Â
On 01 April 1971, Thai Airways International launched its first intercontinental route, flying from Bangkok via Singapore to Sydney, Australia utilsing a DC8-62 aircraft, at that time, the most advanced long-range jetliner in service. THAI operated a single weekly service every Friday from Sydney to Bangkok. Today, we're flying 39 times each week from 4 online cities in Australia to Thailand and onwards to Asia, India and Europe. We're proud to be celebrating 45 years of offering legendary hospitality and continual service to Australian travellers. THAI continued to expand operations in Australia with the introduction of flights to Melbourne in 1980, with two flights a week linked with Sydney and using a McDonnell Douglas DC-10 aircraft. Brisbane was the next city to come online with a weekly service that also linked Sydney. Over the last few years, THAI has upgrade existing aircraft and added the most modern aircraft including the Airbus A380, Boeing 777-300ER and Boeing B787 Dreamliner aircraft. These aircraft offer lie-flat beds, the latest audio visual 'on demand' entertainment systems with more choices and an overall enhanced customer experience. Together with our Star Alliance partners, THAI has the whole world covered, Smooth as silk.
นายกสมาคมนายวิญญา จันทรา และ คณะกรรมการสมาคมไทย ออสเตรเลียน รัฐควีนสแลนด รวมแสดงความยินดี กับทานกงสุลกิตติมศักดิ์ นครบริสเบน คนใหม คุณแอนดรูว พารค ซึ่งดำรง ตำแหนงเปนรองนายกสมาคมไทยฯ ดวยเชนกัน
by Santanee Otto
Design Trend
Salone del Mobile. Milano and
in Memory of Dame Zaha Hadid
1
5
2
6
Milan Design Week 2016 at Salone del Mobile was held on 12-17April,2016.This year marks 55 years of the latest furniture design and manufacturing that exhibits over 2,100 design companies from all over the world. There is over 150,000 square meters of display area and attracts over 310,840 people. Simultaneously, the International Furnishing Accessories Exhibition, EuroCucina and FTK introduce the latest innovative accessories for the kitchen. The International Bathroom Exhibition, Salone Satellite for young emerging designers, and a brand new xLux Sector all shared their exhibitors. Several items at the exhibition that caught my attention were: Credenza Collection by Patricia Urquiola and Federico Pepe for Spazio Pontaccio(6)
3
4
continue to remember her fluid forms. “I have always appreciated those who dare to experiment with materials and proportions.” Her buildings like Messner Mountain Museum Corones, 2015(South Tyrol, Italy)(1) Heydar Aliyev Cultural Center, 2012(Baku Azerbaijan(2) are clearly some examples of parametricism . But also it was her Rosenthal Center for Contemporary Art, 2003 (Cincinnati, Ohio)(3) project that jump started Zaha’s career. Having two projects in Queensland – Mariner’s Cove on the Gold Coast still waiting for DA approvals, and Grace on Coronation(4), has DA approval, but are currently in court due to a neighbouring property objection.
Woman in design have the same opportunities as men, it’s being fearless and daring. Raw Edges designers Yael Mer and Shay “You have to really believe not only in yourself; Alkalay’s home range(7) of new Atelier you have to believe that the world is actually Swarovski Home range, with contributions worth your sacrifices.” from the late Zaha Hadid. She also designed accessories for Georg Jenson(8)
7
20
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
On for women and her contribution to innovative architecture, Dame Zaha Hadid will be greatly missed by her passing on 31st March, 2016. Her creative structures all over the world will
8
We are the professional Thai massage & beauty salon in the heart of Toowong and Fortitude Valley. We have highly qualified therapists providing exclusive treatments and excellent services. From the moment you step into our salon, you can feel the Thai style experience, relax, refresh the mind and revitalizing the body seems to be what everyone needs nowadays. After a hectic schedule, most people have a busy lifestyle and a stressful day. At Alissa Thai Massage & Beauty, we promote good health and emotional well being, fix the knots, soothe the muscles, improve circulation, release the energy flow and make you feel rejuvenated. We use organic massage oils and luxurious Payot products. Our broad customer base include expatriates, office workers, housewives, university students as well as foreign customers who come from other states and territories of Australia to visit us.
ราคาคนไทย Special for Fortitude valley branch
OPEN 7 DAYS
$45 สำหรับ 30 นาที $60 สำหรับ 1 ทาน 60 นาที full body massage receive
10% discount
1st floor 201 Wickham St. Fortitude Valley 10am-10pm (Mon-Sun) Mobile : 0411 569 511
*on presentation of your card
1B/39 Sherwood St. Toowong 9am-8pm (Mon-Sat) 10am-5pm (Sun) Mobile : 0423 936 641
E-mail : alissa.tmb@gmail.com www.alissatmb.com.au
Like us Alissa Thai Massage & Beauty
Old Tales Retold
เรื่อง: ศุภลักษณ สนธิชัย
เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก านกวีเอกสุนทรภู ผูฝากปากฝากคำเปนกลอนแสนเสนาะและแฝง ความหมายลึกซึ้ง ไดรจนากลอนบทหนึ่งเอาไววา
ไปเปนนายหนาหาประกันชีวิตแทน ซึ่งก็เหมาะกับอุปนิสัยและคุณสมบัติสาลิกา ลิ้นทองของเขา การทำงานประกันชีวิตเจริญรุงเรืองขึ้นเปนลำดับ
“ถึงบางพูดดีเปนศรีศักดิ์ คนก็รักรสถอยอรอยจิต แมนพูดชั่วตัวตายทำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา”
ตอมาดวยความฉลาดเฉลียวอันเปนพรสวรรคทต่ี ดิ ตัวมาตัง้ แตกำเนิด คิง โอ’มอลลี่ เริ่มมองเห็นวาธุรกิจการขายที่ดินเปนธุรกิจที่ทำเงินไดดีเดียว เขาจึงทิ้งงานขาย ประกันชีวิต จัดตั้งสำนักงานซื้อขายที่ดินขึ้นที่แคนซัส เริ่มธุรกิจการซื้อขายที่ดิน ดวยการขึ้นปายตัวโตๆที่สำนักงานวา “ขายทุกอยางในโลกนี้”
ความหมายของกลอนบทนีเ้ ปนสัจธรรมทีเ่ ห็นกันอยูท ว่ั ไปในสังคมปจจุบนั ตัวอยาง ของคนที่ไดดีเพราะปากก็มีอยูทุกยุคทุกสมัย สมดังที่ทานกวีเอกของไทยเราได ฝากคำเตือนใจเอาไวอีกหนึ่งวา “เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา” วันนี้ไมไดตั้งใจจะแยงอาจารยประจักษ ประภาพิทยากร ผูมีความถนัดเปนพิเศษ ในเรื่องเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดี จนเปนที่เลื่องลือในยุทธจักรนักวิชาการนัก เขียน เขียนถึงทานกวีเอกสุนทรภูหรอก ที่ยกคำกลอนของทานสุนทรภูมากลาว อางก็เพราะวาความหมายลึกซึ้งของคำกลอนนี้ ชวนใหนึกถึงรัฐบุรุษคนสำคัญคน หนึ่งของออสเตรเลียขึ้นมาได ชีวิตของทานผูนี้มีอะไรหลายอยางที่นารูนาศึกษา ไมนอยเลย จึงขอนำเกร็ดประวัติชีวิตของทานมาเลาสูกันฟง คิง โอ’มอลลี่ เกิดที่แคแนดา เมื่อป ค.ศ. 1854 เรียนหนังสือไดแคอายุสิบสี่เทา นั้นก็เลิกเรียน เพราะลุงของเขาซึ่งเปนนายธนาคารอยูที่นิวยอรค ชวนไปทำงาน ธนาคาร เขาทำงานธนาคารกับลุงอยูไดพักหนึ่ง ความชางพูดชางเจรจาของคิงทำ ใหเขาอยูนิ่งๆไมได คิงเริ่มวิพากษวิจารณวิจารณการบริหารงานของธนาคาร เพราะเขาคิดวาเขารูเรื่องการธนาคารดีกวาลุงของเขาเสียอีก ลุงเห็นวาไอหลาน ชายคนนี้ชักกำแหงและพูดปากไปแลว ก็เลยตัดสินใจเขี่ยเขาออกไปจากวงการ ธนาคารเสียเลย พอหนุมชางพูดจากแคนาดาก็ตองเปลี่ยนงานจากหนุมธนาคาร 22 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ธุรกิจการขายที่ดินของคิง โอ’มอลลี่ ทำเงินใหเขามากโขอยู แตคนอยางเขาไม ยอมหยุดอยูแคนี้หรอก ดังนั้นพอไดขาววา รัฐเท็กซัส ประกาศจะยกที่ดินใหกับ องคกรทางศาสนาหนึง่ ศาสนาใจฟรีๆเขาก็รบี จัดตัง้ “วอเตอรลลิ ลีร่ อ็ คเบาวดเชิรช ” ขึ้นมาทันที โดยที่โบสถนี้มีตัวเขาเองเปนบิชอป คิง โอ’มอลลี่ ตองเทศนใหชาว คริสเตียนฟง ตองทำการกุศลตางๆและครองชีวิตบริสุทธิ์โดยไมแตะตองสุราและ ยาสูบโดยเด็ดขาด เขาปฏิบตั ติ นในฐานะพระผูน ำทางศาสนาไดดเี ยีย่ ม จนกระทัง่ วันหนึ่งเขาเริ่มรูสึกวาเขากำลังเปนโรคปอดเขาแลว ในสมัยนั้นวัณโรคเปนโรคที่ รายกาจนากลัวทีส่ ดุ ทีย่ ากจะรักษาหาย คิง โอ’มอลลี่ เขาไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล และที่นั่นเขาเจอกะลาสีเรือคนหนึ่ง ผูเคยเดินทางไปถึงเมืองร็อคแฮมพตัน ในรัฐ ควีนสแลนด ของออสเตรเลีย กะลาสีเรือคนนั้นคุยวาเมืองร็อคแฮมพตัน เปน เมืองที่อากาศดีที่สุดในโลกสำหรับคนที่เปนวัณโรค ไมรูวากะลาสีเรือคนนั้นพูด จริงหรือวาโกหก แตคิง โอ’มอลลี่ก็เชื่อและสนใจที่จะหาทางไปออสเตรเลียใหได ซึ่งก็คงเปนทำนองเดียวกับคนที่จะจมน้ำตาย แลวควาไดฟางเสนสุดทายเอาไว นั่นแหละ เขาตัดสินใจเดินทางไกลขามโลกไปออสเตรเลีย แตพอวันเดินทางใกลเขามา คิง โอ’มอลลี่ ก็เกิดความกลัววาเขาอาจจะไปตายใน ระหวางการเดินทาง เขาจึงเตรียมโลงศพทำดวยตะกั่วไปดวย เผื่อวาถาเขาตาย ไป ศพของเขาก็จะถูกบรรจุลงโลงกอนที่จะถูกทิ้งทะเล ไมเชนนั้นซากศพของเขา
ก็จะถูกทิ้งลงในทะเลโดยไมมีโลง เขากลัวปลาฉลามจะมารุมทึ้งฉีกกินเนื้อหนัง มังสาของเขา กัปตันเรือไมชอบใจนักที่คนโดยสารอยาง คิง โอ’มอลลี่เตรียมเอาโลงศพลงเรือ ไปดวย ราวกับรูต วั วาจะไปตายใหเปนราคีกบั เรือของเขา คิงโอ’มอลลีต่ อ งออนวอน และหวานลอมกัปตันเรืออยูนาน กวากัปตันจะยอมใหเขาเอาโลงศพไปดวย เขา สัญญากับกัปตันเรือวา ถาเขาตายบนเรือ เขาก็ขอยกสมบัติตางๆที่ติดตัวมาให กัปตันทั้งหมด เชน เสื้อผา แหวนเพชรกับเข็มเสียบเน็คไท กัปตันเห็นแกสินบน ก็เลยยอม การเดินทางไกลรอนแรมไปในทะเลกวางกินเวลานานเปนเดือน ไมมี อะไรเกิดขึ้นกับคิง โอ’มอลลี่ เขาไมตาย และเขาเดินทางไปถึงร็อคแฮมพตันโดย ปลอดภัย คิง โอ’มอลลี่ไปพักรักษาตัวอยูที่ อีมู ปารค ริมแมน้ำฟทซรอย เปนเวลานานถึง สองปเต็มๆ เขาใชชวี ติ อยูท า มกลางพวกคนปาอะบอริจนิ จนกระทัง่ ในไมชา อาการ โรคปอดของเขาก็ทุเลาลงจนกระทั่งหายขาด คิง โอ’มอลลี่เขียนจดหมายฉบับ หนึง่ ถึงบริษทั ประกันภัยในอเมริกาทีเ่ ขาเคยทำงานดวย ในจดหมายเขาขอใหบริษทั ประกันแตงตั้งเขาเปนผูแทนสาขาในประเทศออสเตรเลีย บริษัทประกันภัยตกลง แตงตั้งเขาเปนผูแทนสาขา ตามที่คิงเสนอ คิงเริ่มงานขายประกันไปทั่วออสเตรเลีย เขาประสบความสำเร็จในงานอาชีพเปน อยางดี เพราะคุณสมบัติ “เปนมนุษยสุดดีก็ที่ปาก จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา” นี่เอง ดวยลิ้นสาลิกาของเขา คิงสามารถทำใหคนที่เขาพูดดวยเชื่อคำพูดของเขา ทุกคน ครั้งหนึ่งเขาไปขายประกันที่ซิดนี่ย นักธุรกิจผูยิ่งใหญคนหนึ่งพูดกับคิงวา เวลาของเขามีคาเกินกวาที่จะมาเสียเวลาฟงคำพูดของนายหนาขายประกันอยาง คิง ในทันทีที่เขาพูดจบ คิงวางเหรียญทองคำตั้งหนึ่งลงตรงหนานักธุรกิจผูนั้น พรอมกับพูดวา “ใชครับ เวลาของคุณมีคามาก ผมขอซื้อเวลาของคุณสักหา นาทีไดไหมครับ” นักธุรกิจผูยิ่งใหญของซิดนี่ยคาดไมถึงวาจะเจอไมนี้ เขาพูดไมออก โอ’มอลลี่ ถือ เอาวาอาการอ้ำอึ้งของเขาคือคำตอบรับ จึงเริ่มงานขายของเขาทันที เพียงสี่นาที ผานไปนักธุรกิจก็เจราเรื่องการประกันภัยกับเขาอยางเต็มใจ จากซิดนี่ย คิงขาย เขตการทำงานของเขาไปถึงเมืองอะดิเลด เมืองหลวงของรัฐออสเตรเลียใต ในป ค.ศ.1896 คิงเริ่มสนใจในการเมืองและลงสมัครเขารับเลือกตั้งเปนผูแทนราษฏร ของรัฐสภาแหงรัฐออสเตรเลียใต เขาเลือกลงรับเลือกตั้งในเขตเอ็นเคานเตอร เบย ในนามของพรรคอิสระคริสเตียน โซเชียลลิสต ผูคนในแถบเอ็นเคานเตอร เบย ไปฟงโอ’มอลลี่หาเสียงแลวก็อดทึ่งในนักพูดฝปากเอกคนนี้ไมได เพราะไม เคยมีนกั การเมืองคนไหนออกไปพูดหาเสียงกับประชาชนดวยวิธพี ดู แบบ โอ’มอลลี่ มากอนเลย ทุกคนประทับใจในบุคลิกของนักการเมืองหนาใหมนี้มาก เวลาหา เสียง โอ’มอลลี่ยยีนผึ่งผายอยูตรงหนาคนเปนจำนวนมาก รางผอมบางของเขา ยึดตรงดวยความมั่นใจในตนเองเต็มเปยม เขาชอบสวมหมวกปกกวางอยางที่ พวกโคบาลใชกันเปนประจำ สวมเสื้อตัวในสีขาวผูกริบบิ้นลูกไมสีดำแถบเล็กๆที่ คอเสื้อ ใสเสื้อโคตตัวยาวสีน้ำตาล ชายกางเกงขายาวอยูในรองเทาบูต โอ’มอลลี่ ขึ้นตนคำปราศรัยของเขาวา “พี่นองคริสเตียนที่รักของผม” ถอยคำที่เขาปราศรัยแพรวพราวดวยวลีที่ไพเราะจับใจแตเมื่อพูดถึงฝายตรงขาม ซึี่งเปนคูแขงทางการเมือง คิง ก็สามารถใชคำพูดเชือดเฉือนคูตอสูไดอยางเจ็บ แสบที่สุด เขามักจะพูดถึงคูแขงทางการเมืองดวยการเปรียบเทียบเสียดสีอยางถึง แกน เชน ในคำปราศรัยตอนหนึ่ง เขาเรียกนักการเมืองที่อยูตางพรรคกับเขาวา “ฝูงสุนัขจิ้งจอกอดโซ ที่ยังชีพอยูไดดวยการเลียแผลเนาเฟอะของเสือลำบากที่ นอนรอวันตาย” และดวยสำนวนยียวนเชนนีแ่ หละทีท่ ำใหคงิ โอ’มอลลีช่ นะคูแ ขง เพราะประชาชน เทคะแนนใหเขาอยางลนหลาม แตก็นาเสียดายที่การเลือกตั้งในสมัยตอมาเขาไม ไดรับการเลือกตั้ง ชาวเมืองอะดิเลดเลือกโอ’มอลลี่ของเขาเพียงสมัยเดียวเทานั้น ความยั่วยวนของชีวิตนักการเมืองที่เคยลิ้มรสมาแลวสมัยหนึ่ง ทำใหคิง กระหาย ทีจ่ ะเขาไปนัง่ ในสภาผูแ ทนราษฏรอีกครัง้ และแลวเมือ่ การเลือกตัง้ ทัว่ ไปของประเทศ
คอมมอนเวลธ แบงค ออสเตรเลียเปดรับสมัครเลือกตั้งครั้งแรกเมื่อป ค.ศ.1901 ก็เปนโอกาสอันดีที่ เขาจะไดวัดดวงอีกครั้งหนึ่ง คราวนี้เขาโดดไปสมัครรับเลือกตั้งที่รัฐทัสมาเนีย รัฐที่เล็กที่สุดของออสเตรเลีย โชคเขาขางเขา โอ’มอลลี่ไดรับเลือกตั้งเปนหนึ่งใน หาคนของผูแทนจากรัฐทัสมาเนีย คิง โอ’มอลลี่ เปนคนมีความคิดสรางสรรค สมองของเขาคิดอยูตลอดเวลา สิ่งที่ เขาคิดและทำเปนเรือ่ งโลดโผนสำหรับยุคนัน้ แตเมือ่ เวลาผานไปทุกคนก็ตอ งยอม รับวาความคิดของคิง เปนความคิดกาวหนาล้ำยุค และเปนประโยชนกับคนทั้ง หลายไดจริงๆ ตั้งแตบัดนั้นจนถึงปจจุบัน ในการประชุมสภาสูงสุดและสภาลางของสหพันธรัฐครั้งแรก โอ’มอลลี่เปนคน เสนอใหกฏหมาย “สงวนที่ดินไมต่ำกวา 1,000 ตารางไมลไวเปนที่ดินในเขต สงวนของสหพันธรัฐ” และในปจจุบันนี้ “ที่ดินในเขตสงวนของสหพันธรัฐ” ก็คือ “เขตนครหลวงของ ออสเตรเลีย” ซึ่งมีฐานะเปนรัฐหนึ่งในหกรัฐของประเทศออสเตรเลีย ในป ค.ศ.1910 คิง โอ’มอลลี่ ไดดำรงตำแหนงเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวง มหาดไทย เขาเปนตัวตัง้ ตัวตีใหมกี ารประกวดการออกแบบสรางนครแคนเบอรรา นครหลวงของประเทศขึ้นในเขตนครหลวงออสเตรเลีย ซึ่งตองมา นายวอลเตอร เบอรบี่ กริฟฟนเปนผูชนะการประกวด นครแคนเบอรราเปนเมืองหลวงที่เนรมิต ที่เรียกกันวา “แมนเมดซิตี้” เพราะทุกอยางที่ประกอบขึ้นเปนเมืองขนาดยอมนี้ เกิดจากการวางผังของมนุษยทั้งนั้น ไมวาจะเปนทะเลสาบ ทุงโลง ภูเขา ตนไม แบะถนนหนทาง รวมทัง้ ทีต่ ง้ั ของตึกรามบานเรือนทีอ่ ยูอ าศัย ถูกจัดวางผังกำหนด ใหอยูเปนที่เปนทางไมกระจัดกระจายไปจนควบคุมไมไดอยางเมืองอื่นๆ นคร แคนเบอรราจึงเปนนครหลวงขนาดใหญ ที่รมรื่นดวยพันธุไมในสวนที่ควรจะมี ตนไม มีตึกที่ทำการของรัฐบาลตั้งสงางามอยูในตำแหนงที่เดนชัดเปนหมวดหมู และสวยงาม มีถนนตัดตามเสนทางที่แนนอน ไมคดเคี้ยวไปตามภูมิประเทศ กำหนดเอาไวแลววาจะตัดถนนตรงไหนบาง โอ’มอลลี่ เปนคนตอสูใหมีการจัดตั้งธนาคารกลางของสหพันธรัฐ และในที่สุด พระราชบัญญัติจัดตั้ง “คอมมอนเวลธ แบงค” ก็ผานมติของสภาเมื่อปค.ศ.1912 แมวา จะอยูใ นฐานะรัฐมนตรีมหาดไทย คิงก็ยงั ปากหวานอยูเ หมือนเดิม เขาเรียก ผูใ ตบงั คับบัญชาของเขาวา “นองชาย” เสมอ เขาเรียกพนักงานสงหนังสือวา“ผูพ นั ” และฉายาที่เขาใชเรียกนักการเมืองฝายคานขนาดเบาะๆที่สุดก็คือ “ไอพอเลา” รัฐบาลออสเตรเลียตองการใหมีการเกณฑทหารเพื่อเปนกำลังกองทัพแหงชาติ แตคิงซึ่งเปนนักตอตานสงครามหัวชนฝา เขาไมยอมใหกฏหมายฉบับนี้ผานสภา เด็ดขาด และนั่นคืออวสานแหงชีวิตนักการเมืองของโอ’มอลลี่ หลังจากนั้นแลว เขาก็ไมไดรับเลือกตั้งใหเขาไปบริหารประเทศอีกเลย โอ’มอลลี่ หันไปทำธุรกิจ การคา จนกระทั่งวาระสุดทายของชีวิต คิง โอ’มอลลี่ ถึงแกกรรมเมือ่ อายุ 98ป เขาทิง้ มรดกจำนวนหนึง่ แสนสีห่ มืน่ เหรียญ เอาไวเปนกองทุน สำหรับนักศึกษาสาขาคหเศรษฐศาสตร ภรรยาของเขามีเงิน เลี้ยงชีพ สวนหนึ่งตางหาก และไดจัดการใหทุกอยางเปนไปตามความประสงค ของโอ’มอลลี่ แตนาเสียดายที่เธอสิ้นชีวิตไปเสียกอนที่จะมีการมอบทุนดังกลาว ใหกับนักศึกษาผูโชคดี 23
True story
อุทาหรณ...ชีวิต Story by Chaisuda Gaylard
ดิฉันตองตอสูเพื่อเอาชีวิตรอด และกลับคืนสูเหยาเพื่อพบกับครอบครัว ทุกคนรอดิฉันอยู จะตายตอนนี้ไมได
à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒà¢Õ¹ ¨Ò¡»Ò¡¼ÙŒà¢Õ¹ ©ÒÂÊØ´Ò à¡ËÅÒ´
ขอเรียนทานผูอานวา ดิฉันเปนเพียงนักเขียนสมัครเลน เรียนจบแคชั้น ประถม ไมเคยมีประสบการณดานงานเขียนใดๆมากอน ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต กลายเปนแรงผลักดันและแรงบันดาลใจใหดิฉัน ใชเปนโอกาสเริ่มงานเขียนขึ้นเปนชิ้นแรกในชีวิต หลายทานอาจสงสัยวา ดิฉันมีจุดประสงคสิ่งใด ทำไมคนจบชั้นประถม จึงอยากจะเปนนักเขียน นักละ? แนนอนวาทุกเรื่องราวยอมมีเหตุผล และมีที่มาที่ไป ขอสรุปงายๆในตอน นี้วาชะตาชีวิตลิขิตใหเปนแบบนี้ บวกกับความโชคดีที่มาพรอมกับความ โชคราย ดิฉนั จึงกลายเปนนักเขียนจำเปน สำนวนและศัพทอาจไมไพเราะ เสนาะอารมณ แตดิฉันก็เขียนออกมาจากใจและความรูสึกที่มี ทำไดเทา ที่จะทำ และจะทำใหดีที่สุดเทาที่จะทำไดคะ จุดประสงคสำคัญของงานเขียนชิ้นนี้ มีความเกี่ยวพันธฉันท ความรัก ระหวางแมกับลูกซึ่งก็มีเรื่องราวนาประทับใจเกิดขึ้นระหวางดิฉันและบุตร ชายเพียงคนเดียว ดิฉันขอเก็บเรื่องราวของเราไวนำเสนอในตอนตอไป ในหนังสือที่มีชื่อวา..เอารอยยิ้มของฉันคืนมา..ซึ่งจะเปนหนังสือเลมแรกที่ ดิฉันทุมแรงกายและแรงใจเขียนเพื่อเปนของขวัญสำหรับลูก และคงเปน เพียงอนุสรณแหงความรักเพียงชิ้นเดียว ที่ดิฉันสามารถและจะพยายาม ตั้งใจทำใหลูกกอนที่เวลาอันมีคาของดิฉันอาจจะหมดไปได ตอนนี้กำลัง ดำเนินงานอยูและหวังวา คงเขียนจบทันกอนวันเกิดลูก ภายในเวลาอีก สองปขางหนา อีกจุดประสงคหนึ่ง ก็เพื่อเปนการเผยแพร ใหเปนอุทาหรณและคติ เตือนใจ และเพื่อเปนแรงบันดาลใจใหกับทุกๆคน ดิฉันหวังวา เรื่องราว ที่นำมาเสนอตอไปนี้คงมีสวนชวยหรือเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุน ที่ สามารถชวยใหทาน รูสึกมีกำลังใจที่จะลุกขึ้นและรับมือกับปญหาตางๆได และหวังอีกวาคงเปนสาระประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันของทาน ไดอยางมีประสิธภิ าพและมีความสุขตลอดไปเชนกัน ดวยความปราถณาดี.. 24
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ารตอสูกับโรครายก็ไมตางจากการออกรบทำสงคราม ขั้นแรก ก็ฝก ฝนทนกับการบาดเจ็บ วางแผนรับมือกับการเขาสูส นามรบ อยางจริงจัง เวลาที่เคยคิดวายาวนาน กลับสั้นลงๆจนใกลถึงวัน รับคีโม กอนวันบำบัด ไปตัดผม เปลี่ยนทรง เปลี่ยนบุคลิก เปลีย่ นความคิดเดิมๆวาผมยาวนัน้ สวยกวา ไหนๆมันตองรวงจนหมด ก็ขอเปลีย่ น แนวสวย ขอสนุกกับวันเวลาที่ยังมีแรง จากที่เคยเศราหมอง รองไหเปนประจำ รูสึกเหนื่อยกับการตองรองไห บนพึมพำ คิดโนนนี่นั่น ซึ่งก็ไมไดเปลี่ยนหรือทำ อะไรใหดีขึ้น รองไหใหตายก็รักษามะเร็งไมได บนไปก็รักษามะเร็งไมได คิดไป ก็รักษามะเร็งไมไดเชนกัน ดิฉันเริ่มคนหาแรงบันดาลใจหันไปดูคนที่แยกวา เริ่มเห็นภาพที่แตกตาง ความ ทรงจำที่แสนทรมารในวัยเด็ก ตอนที่นอนพะงาบๆอยูร.พคนเดียวโดยไมมีใคร เหลียวแล นึกถึงตอนนัง่ รถบัสกลับบานแรงกระแทกกระทัน้ จากรถจนแผลแทบปริ นึกถึงตอนทีต่ อ งเดินทางขึน้ รถเมลเปนไปรับคีโมบำบัด นึกถึงเด็กนอยเพือ่ นรวมชะตา กรรมที่ตองจบชีวิตลง เพราะมะเร็งที่มาพรอมกับมฤตยูภาพเหลานั้นเตือนและ เรียกสติใหดิฉัน กลับมาทบทวนใหม ในเมื่อตอนนั้น เรายังผานสิ่งเลวรายมาได แลวทำไมวันนี้เราจะผานไปอีกไมได หากตองตายก็ขอตายอยางฮีโร ขอออกรบ เพื่อกูประเทศชาติ หากใหเปรียบก็คงไมตางจากรางกายและจิตใจของเรา ถาไม ตอสูเพื่อปกปองประเทศชาติของเรา แลวใครละ พลังบวกประกอบกับแรงบัลดาลใจกลับคืนสูจิตวิญญาณดิฉันอีกครั้ง ความตาย ไมใชสิ่งที่นากลัวอีกตอไป ดิฉันตองตอสูเพื่อเอาชีวิตรอดและกลับคืนสูเหยา เพื่อพบกับครอบครัว ทุกคนรอดิฉันอยู จะตายตอนนี้ไมได สองวันกอนไปรับ บำบัด ดิฉันไปเที่ยวไนทคลับ เตนสะบัดผมทรงใหมอยางไมอายใคร เสียงเพลง และอำนาจของพลังบวกทำใหหัวใจของฉายสุดาพองโต รูสึกกระปรี้กะเปรา ความสุขโลดแลนไปทั่วสรรพางคกาย บอกกับตัวเองวา เมื่อไหรที่หายดีจะกลับ มาเตนแบบนีอ้ กี คืนนัน้ สนุกอยางบอกไมถกู เตรียมตัวและเตรียมใจพรอมออก ทำสงคราม เดอะแบตเทิ่ล! คอรสแรกในวันบำบัดบรรยากาศภายในหอง มีเพื่อนรวมชะตากรรมหลายคน สวนมากจะเปนผูสูงอายุ เทาที่สังเกตุ มีดิฉันเพียงคนเดียวที่ดูกระปรี้กระเปรา หนาตาสดใส ทั้งๆที่กำลังจะโดนวางยา สองชั่วโมงผานไป อาการยังเหมือนเดิม วันนั้นอากาศรอนถึง40องศา รอนจนตองเดินทางไปบานอดีตเพื่อนซึ่งมีแอรตัว เล็กๆแตก็สามารถชวยบรรเทาและหลบรอนไดเปนอยางดี กอนมีอาการแพยา
กินทุกอยางที่ขวางหนา สมตำ ปกไกขาวเหนียวโนนนี่นั่น กินมันเขาไป เพราะ รูดีวา เดี๋ยวมันก็ออกมาหมดซึ่งก็เปนอยางที่คิด เพียงไมกี่ชั่วโมง ก็คลานเขา ออกประตูหองน้ำราวกับคนเมา เฝาโถสวม โฮกฮากๆ โอก อากก ครั้งแรกผานไป ไมไดไวเหมือนโกหก เหมือนดั่งคำพังเพย เวลามันดูยืดยาวราว กับเดินอยูกลางทะเลทราย ยิ่งเดินยิ่งเหนื่อย ยิ่งกระหายเหมือนจะตายแหลไม ตายแหล แตก็คลานไปเรื่อยๆ เพียงหวังวาคงจะพบบอน้ำหรือถนนที่มีผูคนมา ผานมาชวยเหลือได ครั้นเห็นบอน้ำ จะดื่มกินก็กลัวเปนพิษสูคลานตอไปเรื่อยๆ จะดีกวา แมจะเหนื่อยลาก็กลืนน้ำลายเอา เจ็ดวันผานไป คีโมเริ่มคลาย กินน้ำ มากเทาไหร สารพิษก็ออกจากรางกายมากเทานั้น ครั้นกินน้ำก็ผะอืดผะอม อาเจียนเปนวาเลน จำไดวา ชอบกินน้ำหวานๆตอนใหคีโม เปลี่ยนจากน้ำหวาน เปนแตงโม กัดกินเขาไปแทนซึ่งก็ชวยไดเปนอยางดี รบสนามแรกผานไปไดอยางฉิวๆ สองคอรสผานไป ตืน่ เชามาวันหนึง่ เสนผมกอง อยูบนหมอนเปนกระจุก สงสัญญาณวาถึงเวลาแลวที่ตองเปน “เหนง” ไมรีรอ หรือคิดหวงทรงผมทีเ่ คยสวย ใหสามีจบั เครือ่ งไถ ไถไปหัวเราะไปพาเราตลกลึกๆ คงสงสาร เราก็เศราแตก็แกลงทำหนาตลกๆเบะปากรองไห ฮือๆที่รักเธอใจราย ไถจนหมดหัวเปนเหนงสมชื่อ หลังโกนเสร็จออกไปชอปปงหาซื้อผาและเครื่อง ประดับสำหรับคน หัวโลน ไปแบบโลนๆ ไมหวงสายตาใคร เพราะวามั่นใจจึง ไมแคร หลังใชผาโพกหัวและเครื่องประดับทำใหดูฟรุงฟริ้ง ไมนานก็เริ่มเบื่อเพราะทน ความร อ นระอุ บ นหนั ง หั ว ไม ไ หว ตั ด สิ น ใจถอดออก ใส ห มวกเท ห ๆ แทน ครั้งหนึ่งตัดสินใจออกไปเดินหางสรรพสินคา ทดสอบความกลา ความบาหรือ แกรงไมรูจะใหชื่อไหน แตบอกไดเลยวา วันนั้นคือวันเปลี่ยนความคิด จากหวง กังวลกลายเปนไกลกังวลเขามาแทน แตงตัวสบายๆทาปากแดงแปรด ตุมหู ตุงติ้ง ประมาณวา ขามั่นใจเต็มรอย ผูคนชำเลืองมองแตไมถึงกับจอง เดินไป เรื่อยๆแวะรานแอปเปลที่ขายอิเลคโทรนิค กาวแรกที่เขาไป จูๆคนในรานก็ปรบ มือกันเสียงดังสนั่นหวั่นไหว นึกในใจ เฮยใครมาเซอไพรซ กรูวะ งงอยูแปบนึง จึงรูวา เขาปรบมือใหพนักงานคนนึงที่คงจะลาออกจึงปรบมือใหเปนการร่ำลา
วัด คือ ที่พึ่งทางใจ คือ สถานที่ ที่สงบ รมเย็นที่ดิฉันพบ หนทางแหงความสวาง กลับมาแอบกระหยิ่มยิ้มในใจ คิดไปวา สวรรคคงประทานเสียงปรบมือเปนการ ใหกำลังใจทางออม ที่ฉายสุดากลายอมรับความจริง แมจะเปนเพียงเหตุการณ ทีไ่ มคาดคิด แตกไ็ ดจดุ ประกายความหวังและกำลังใจใหดฉิ นั อยางเต็มปริม่ ประหนึง่ ดัง ไดรับเหรีญกลาหาญเปนสัญลักษณของการผานสงครามมาแลวครั้งหนึ่ง พลังบวกเพิ่มขึ้นในจิตวิญญาณพรอมที่จะตอสูกับมะเร็งและความทรมารที่กำลัง จะตามมา วัดคือที่พึ่งทางใจคือสถานที่ที่สงบรมเย็นที่ดิฉันพบหนทางแหงความ สวาง อาจไมถึงกับบรรลุแตก็ไมไดละเลยเฉยนิ่งตอคำสั่งสอนของพระพุทธเจา อีกสิ่งหนึ่งที่ขาดไมได คือการไดพบปะกัลยาณมิตร คนเฒา คนแก พี่ ปา นา อา เสียงหัวเราะของพวกเขา เปนอีกหนึ่งของแรงบันดาลใจ หลายคนที่ไมเคย เห็นหัวเหนงของคนชื่อเหนง ก็จะมองแบบฉงนสนเทห บางคนก็พอจะรูความ เปนไป บางคนเห็นหนากันทุกอาทิตยแตไมรูเรื่องอะไรเลย 25
Social scences
Songkran Festival
Wat Thai Bhutharam แขกผูมีเกียรติที่เขารวมงานเทศกาลสงกรานตที่ วัดไทยพุทธารามเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2559 มี ทัง้ ตัวแทนองคกรภาครัฐของรัฐบาลรัฐควีนสแลนด และผูนำองคกรทั้งภาครัฐและเอกชนของไทย โดยมี ฯพณฯ เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศ ออสเตรเลีย นายจิระชัย ปนกระษิณ เขารวม เปนประธาน
26 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
เก็บตกบรรยากาศงานสงกรานตกันอีกนิดกับภาพทีมงานอาสาสมัครชวยงานวัด ใหเปนไปอยางราบรื่น นอกจากทีมงานไทยและยังมีชาวตางชาติที่รักคนไทยเขา รวมชวยงานอยางแข็งขันอีกดวย เห็นนารักกันอยางนีค้ นไทยก็รกั คุณกลับคืนมาก มายคะ ทานทูตจิระชัย ปนกระษิณ ถายภาพรวมกับตัวแทนผูนำชุมชนในรัฐควีนสแลนด ในงานเลี้ยงรับประทานอาหารค่ำ ที่รานอาหาร Chili & Spice เมื่อปลายเดือน มีนาคม ที่ผานมา
Congratulations!! แสดงความยินดีกับคุณเจียรนัย รัตนวราหะ หรือคุณทีนา ที่เปน คนไทยคนแรกที่ไดรับคำเชื้อเชิญอยางเปนทางการใหเขารับตำแหนงและรวมทำงาน ในฐานะ Ambassador for Lord Mayor's Charitable Trust ทำหนาที่ประสานการ จัดงานการกุศลเพื่อระดมทุนและประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆที่กองทุนจะจัดใหมีขึ้น ตลอดทั้งป รวมทั้งการมอบเงินทุนสนับสนุนแกองคกรไมหวังผลกำไรตางๆที่ไดยื่น ขอทุนสนับสนุน
ขอแสดงความยินดีอีกครั้งกับคุณปุม วรัญญา ขออาพัด เจาของรานอาหาร Thai Naramit ในโอกาสทำบุญขึ้นบานใหม ที่ Hendra เมื่อเร็วๆนี้ ทีมงาน สวัสดีฯไดเขารวมงานบุญในวันนั้น สัมผัสไดถึงบรรยากาศอบอุนที่สมาชิก ในครอบครัว ทั้งลูกๆ และคุณพอคุณแมของคุณปุมไดเดินทางมาจากเมือง ไทยเพือ่ รวมงานในครัง้ นีด้ ว ย หลังเสร็จงาน คุณพอคุณแมคุณปุม วรัญญา ขออาพัด เขารวมออกรายการ วิทยุสวัสดีออสเตรเลีย ทางสถานี4EB FM98.1 ที ่ อ อกอากาศไปแล ว โดย เฉพาะคุณแมทเ่ี ลาใหทมี งานฟงถึงเรือ่ ง การเริ่มตนทำธุรกิจสินคาเพื่อสุขภาพ Giffarine จนประสบความสำเร็จ ทีมงานไดเรียนรูอ ะไรมากมายเกีย่ วกับ ความรูแ ละเคล็ดลับการทำงานใหประสบ ความสำเร็จในชีวติ
ทีมงานสวัสดีออสเตรเลีย ไดมีโอกาสไปเยี่ยม ชมออฟฟ ศ และโกดั ง เก็บ ของสินคาแบรนด "นองพร" ของบริษทั Nong Porn Food Industries Co., LTD ที่โกลดโคสต โดยมีคณ ุ Bill Thanhkam ตัวแทนการคาประเทศ ออสเตรเลีย ใหการตอนรับและแนะนำสินคา พรอมมอบตัวอยางสินคา 9 ชนิด มาใหสมาชิก Celebrating Indian New Year Navwarsh Mela 2016 organized by Brisbane Indian Times and Australian ในทีมไดลิ้มลอง ขอบพระคุณบริษัทนองพรและ Indian Radio คุณบิล มา ณ โอกาสนี้คะ 27
Visa corner
พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting ติดตอทีมงานของ Skillpoint Consulting ไดตามนี้เลยครับ สาขาบริสเบน ออสเตรเลีย : Suite 2224, Level 22 Pipe Networks Building127 Creek Street, Brisbane QLD 4000 Contact: 07 321 8744, 0451 257 979
OSHC
คืออะไร? มื่อมาเรียนตางประเทศแลวสิ่งสำคัญที่นักเรียนจะ ตองมีติดตัวเสมอก็คือ ประกันสุขภาพ เปนภาคบัง คับของรัฐบาลออสเตรเลีย Department of Immigration ทีน่ กั เรียนตางชาติทกุ คนตองทำประกันสุขภาพ (OHSC) สวัสดีแม็กกาชีนฉบับนีพ้ แ่ี ฟรงกีจ้ ะมาชีแ้ จง แฉลงไขขอ กำหนดและขอจำกัดตางๆของประกันสุขภาพตัวนี้ สวน ตัวพี่แฟรงกี้เองก็เคยปวยถึงกับหามสงเขาโรงพยาบาล แตประกันตัวนี้แหละชวยเราไดเยอะเลย เพราะเคลม ไดจริงถึง 100% นองๆ นักเรียนบางคนอาจจะยังไมรู ขอดีของประกันตัวนี้ อานและทำความเขาใจใหดเี พราะ เราอาจจะตองพึ่งเจา OSHC ในภายภาคหนานะครับ การประกันสุขภาพสำหรับนักศึกษาตางชาติ (Overseas student health cover - OSHC) คือประกันสุขภาพทีใ่ หความคุม ครองในคาใชจา ยตอไปนี:้ • การรักษาพยาบาลนอกโรงพยาบาล • การรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล • ยาตามใบสั่งแพทย • ความชวยเหลือฉุกเฉินดวยรถพยาบาล เหตุใด OSHC จึงมีความจำเปนสำหรับนักศึกษา ตางชาติ? เงื่อนไขในการขอวีซา Department of Immigration (กระทรวงการเขาเมือง)กำหนดใหผถู อื วีซา นักเรียนทุก คนคงไวซึ่ง OSHCขณะที่ตนอยูในประเทศออสเตรเลีย เงื่อนไข 8501 - การคงไวซึ่ง OSHCเปนเงื่อนไขบังคับ 28
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
OSHC คืออะไร? ขอหนึง่ สำหรับวีซา นักเรียน กระทรวงฯแจงวานักศึกษา ตางชาติที่ไมคงไวซึ่ง OSHC จะถูกยกเลิกวีซานะครับ เพือ่ ความสบายใจ การรักษาพยาบาลอาจแพงนักศึกษา ตางชาติไมมีสิทธิตามกฎหมายที่จะรับบริการ Medicare - ซึง่ เปนระบบประกันสุขภาพของรัฐสำหรับ ผูมีถิ่นที่อยูในออสเตรเลีย ดังนั้น เมื่อไมสามารถใช บริการMedicareได นักศึกษาตางชาติจึงอาจมีปญหา ดานการจายเงินคารักษาพยาบาล ในบางกรณี การรับ รักษาในโรงพยาบาล อาจตองเสียคาใชจา ยสูงกวา $600 ตอวันเลยทีเดียวเลยครับ OSHC ถูกนำมาใชเพือ่ ใหแนใจวา นักศึกษาตางชาติมกี ารเตรียมการดานการดูแลสุขภาพ ระหวางอยูในประเทศออสเตรเลีย OSHC ขอยืนยันวา นักศึกษาตางชาติจะสามารถเขาถึงบริการดานสุขภาพ ที่เหมาะสมได โดยปราศจากปญหาดานการเงินเกิน กวาที่ควร ใครบางที่มีสิทธิใช OSHC? คุณจะมีสิทธิใชกรมธรรมนี้ถาคุณเปน “นักศึกษาตาง ชาติ” (Overseas Student) “นักศึกษาตางชาติ” มี ความหมายเหมือนกับในกฏขอ 48 ของกฏเกณฑดา น สุขภาพแหงชาติ ป 1954 (National Health Regulations 1954) คือ: ผูถือวีซานักเรียนหรือผูที่:กำลังยื่นขอวีซา นักเรียน และถือวีซาบริดจิ้ง (bridging visa)และเคย เปนผูถือวีซานักเรียน ทันที่กอนที่จะไดรับวีซาบริดจิ้ง คูส มรสหรือผูท อ่ี ยูใ นความดูแล อาจไดรบั ความคุม ครอง จากกรมธรรม เมือ่ กรมธรรมทท่ี ำไวเปนแบบครอบครัว
(family plan) ผูที่อยูในความดูแลในกรณีที่เกี่ยวกับผู ที่อายุต่ำกวา 18 ป หมายถึงผูที่ตองพึ่งคุณทุกอยาง หรืออยางมาก ทั้งทางดานการเงิน จิตใจ หรือรางกาย อยางไรก็ตาม เมื่อผูนั้นอายุครบ 18 ปแลว เขา/เธอก็ จะสิน้ สุดสภาพการเปนผูท อ่ี ยูใ นความดูแลของคุณตาม จุดประสงคของ OSHC และอาจตองหาการประกันสุขภาพ แบบอื่น เราจะตองไดรับความคุมครองไปถึงเมื่อไหร? รัฐบาลออสเตรเลียกำหนดวาคุณตองมี OSHC ตลอด เวลาที่คุณอยูในประเทศออสเตรเลีย คุณสามารถซื้อ OSHC สำหรับตลอดชวงอายุวซี า นักเรียนของคุณ สำหรับ ระยะความคุมครองต่ำสุด 12 เดือน หรือตลอดชวง อายุวีซานักเรียนของคุณ แลวแตระยะใดจะสั้นกวา เราแนะนำใหคุณซื้อ OSHC สำหรับตลอดชวงอายุวีซา ของคุณ เนื่องจาก: • คุณจะมีสิทธิไดรับสวนลดรอยละ 5 เมื่อคุณซื้อ กรมธรรมที่ครอบคลุมนานกวา 12 เดือน • คุณจะไมตองกังวลเรื่องการเพิ่มขึ้นของราคาคาประกันใน อนาคต • คุณไมตองคอยกังวลวาคุณจะลืมตออายุกรมธรรม ฉบับหนาเรามาติดตามกันตอนะครับวา OSHC ครอบ คลุมบริการอะไรบางพี่แฟรงกี้ไมอยากใหพลาดอานกัน เพื่อประโยชนในการใชชีวิตในออสเตรเลียครับ
Horoscope
Monthly
โดย ชนินธิป tarot111@hotmail.com Id line: metroguy009
Horoscope
May
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍҷԵ ª‹Ç§¹ÕéÁÕ¢Öé¹ÁÕŧäÁ‹á¹‹äÁ‹¹Í¹à¤ÂÁÕ¡ÅѺäÁ‹ËÒäÁ‹ ä´Œ ¤Ô´Ç‹Ò¨ÐäÁ‹ä´Œ¡ÅѺ䴌ÁÒÍ‹ҧ¹‹Òá»Å¡ã¨ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ µŒÍ§ÃÐÇѧ¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§áºº©Ñº¾Åѹ ¡ÓÅѧ¨ÐÁÕ¡Òà à»ÅÕÂè ¹á»Å§ã¹Í§¤ ¡ÒÃËÃ×Í˹‹Ç§ҹ¢Í§·‹Ò¹¢Ö¹é ÍÂÙ¡‹ ºÑ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§·‹Ò¹ ¡ÒÃà§Ô¹äÁ‹¤ÇûÃÐÁÒ· ¤ÇÃà¼×Íè ÊÓÃͧÊÓËÃѺÍÐäÃ㹺ҧÊÔ§è ·ÕÂè §Ñ ÁÒäÁ‹¶§Ö ´ŒÇ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕàÃ×Íè §¤Ò´äÁ‹¶§Ö ãËŒ·Ò‹ ¹ä´Œ»ÃÐËÅҴ㨡Ѻ ·Õæè ·‹Ò¹¡ÓÅѧ¨Ðä» ¤ÇÒÁÃÑ¡ ¨ÐµÑ´¡Ñ¹¡çµ´Ñ äÁ‹¢Ò´¡ÅѺ¡ÅÒÂ໚¹¶‹Ò¹ä¿à¡‹Ò·Õè ¤ÍÂÇѹ¤Ø¡Ãع‹ ÍÂÙË Óè ä»·ÓãËŒµÍŒ §ÅӺҡ㨨ѧ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¨Ñ¹·Ã ÁÕ¤ÇÒÁͺÍØ‹¹ã¹ËÑÇã¨áµ‹¡çäÁ‹ÇÒÂâËÂËÒÍÐäà ·ÕèÁѹÁÒ¡¡Ç‹Ò¹Ñé¹áµ‹¡çµÍºµÑÇàͧäÁ‹ä´ŒÇ‹Ò·ÓäÁ ¡ÒÂ㨶֧໚¹àª‹¹¹Õé ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ÁÕ¾ÅѧàµçÁໂ›ÂÁ·Õè¨ÐÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÕèÁÕ¤‹Ò ÍÍ¡ÁÒáÅСÒÃá¡Œ»˜ÞËҢͧ§Ò¹ÍÒ¨¨ÐµŒÍ§ 㪌¨µÔ ÇÔÞÞÒ³¡Ñ¹Ë¹‹Í ¡ÒÃà§Ô¹äÁ‹ÅÓºÒ¡ÍÐäÃà¾Õ§ ᵋÍ‹Ò㪌¨‹ÒµÒÁ㨵ÑÇàͧÁÒ¡¹Ñ¡ ¡ÒÃà´Ô¹ ·Ò§¨Ð仡ѹ·Ñ駤Ãͺ¤ÃÑÇÁÒ¡¡Ç‹Ò¤¹à´ÕÂÇÃѺ ÃͧàÎÎÒÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ÁÒ¡¡Ç‹Ò ¤ÇÒÁÃÑ¡ ºÍ¡äÁ‹¶Ù¡Ç‹Ò·ÓäÁäÍŒ·ÕèÁÕÍÂÙ‹¡ç´Õáʹ´ÕᵋäÁ‹ ÇÒ¨Եã¨ÊѺʹÇØ‹¹ÇÒÂá»Ã»ÃǹÅÖ¡æ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ
âÍ¡ÒÊáÅШѧËÇЪÕÇÔµ·Õè´ÕÁÒ¶Ö§ÍÂÙ‹äÁ‹ä¡Åà¡Ô¹ àÍ×éÍÁ ᵋ·‹Ò¹àͧ¡çµŒÍ§´Ôé¹Ã¹ä¢Ç‹¤ÇŒÒ´ŒÇÂ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
àËÁ×͹¿‡ÒÇѹãËÁ‹Ê‹Í§Å§ÁÒãËŒ·‹Ò¹ä´ŒÁÕ¾Åѧá ÅÐäÍà´Õµ‹Ò§æ ÁÒ¡ÁÒ ¡Ô¨¡ÒÃËÅÒÂÍ‹ҧ ·Õè·‹Ò¹ÇÒ´ËÇѧäÇŒ¨Ð໚¹ÃٻËҧ¢Öé¹ÁÒ ¡ÒÃà§Ô¹ ¡ÓÅѧ¨ÐÁÕ⪤´Õ¨Ò¡¤ÇÒÁµÑé§ã¨¢Í§·‹Ò¹àͧ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁÕࡳ± à´Ô¹·Ò§ä¡Å仵‹Ò§»ÃÐ à·Èà¾×èÍ´Ù§Ò¹à¾ÔèÁ¾Ù¹¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ãËŒ·‹Ò¹
¤ÇÒÁÃÑ¡
¡ÓÅѧʴãÊ¡ÃлÃÕè¡ÃÐà»Ã‹ÒàµçÁ·ÕèÁͧµÒ¡Ñ¹¡ç ࢌÒ㨡ѹ䴌ᵋµŒÍ§ÃÐÇѧ¤ÇÒÁ਌Ҫٌ¢Í§·‹Ò¹ àͧ´ŒÇÂà¾ÃÒÐàËÁ×͹ÁÕã¤ÃÁҪͺ·‹Ò¹ÍÕ¡¤¹
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍѧ¤ÒÃ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾Ø¸
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
·ÓÍÐäõŒÍ§äµÃ‹µÃͧãËŒÃͺ¤Íº àËÁ×͹ÁÕ »˜ÞËÒÁÒ¡ÁÒÂࢌÒÁÒãˌ䴌¤´Ô áÅÐᡌ䢵Ŵ ÀÒÇС´´Ñ¹¹Õé¨Ð໚¹à¾Õ§ÃÐÂÐàÇÅÒÊÑé¹æ à·‹Ò¹Ñé¹Í‹ҤԴÁÒ¡ ¤§µŒÍ§à˧ÊÐÊÒ§§Ò¹·Õè¤Ñ觤ŒÒ§ãËŒËÁ´â´ÂàÃçÇ à¾ÃÒÐÁÕ§Ò¹ãËÁ‹ÇÔè§à¢ŒÒÁÒµÅÍ´ ¡ÒÃà§Ô¹ ÍÂÙ‹ ã¹à¡³± »Ò¹¡ÅÒ§·ÓÍÐäõŒÍ§Ãͺ¤ÍºÊÑ¡ ˹‹Í ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ à¾×Íè ¡ÃÒºäËnjʧèÔ ÈÑ¡´ÔÊì ·Ô ¸Ôì ¨Ð·ÓãËŒ·‹Ò¹ÁÕºØÞºÒÃÁÕà¾ÔèÁ¢Õé¹
¤ÇÒÁÃÑ¡
Âѧä»äÁ‹¶Ö§ä˹ÃÑ¡äÁ‹ä´Œ´Ñ§ã¨¹Ö¡äÍŒ·ÕèÇÒ´ËÇѧ Ç‹Ò¨Ðä´Œ¡ÅѺäÁ‹ä´Œä»«Ð¹Õé áŌǷ‹Ò¹àͧ¡çʹ㨠¤¹ä´ŒÂÒ¡àËÅ×Íà¡Ô¹
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÈØ¡Ã
ÁÕᵋàÃ×èͧ·Õè·ÓãËŒ·‹Ò¹µŒÍ§¢º¤Ô´Ç‹Ò¨Ð·ÓÍ‹ҧäà ´Õ¡Ñº¤ÇÒÁäÁ‹Å§µÑǵ‹Ò§æ ·Õè¡ÓÅѧࢌÒÁÒãËŒ·‹Ò¹ äÁ‹ÊºÒÂ㨠ᵋ´ÙàËÁ×͹»˜ÞËÒ·Õèà¡Ô´¢Ö鹡礧äÁ‹ ÂØ‹§ÂÒ¡à¡Ô¹¤ÇÒÁÊÒÁÒöä»ËÃÍ¡ ᵋÍ‹Ò㪌 ÍÒÃÁ³ ËعËѹ¾ÅѹáÅ‹¹
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
·‹Ò¹¨ÐµŒÍ§ÇҧἹâ¤Ã§Ã‹Ò§ÊÓËÃѺâ¤Ã§¡ÒÃãËÁ‹ ÍÕ¡ËÅÒÂàÃ×Íè §·Õà´ÕÂÇ ¡ÒÃà§Ô¹ äÁ‹¤ÇÃãËŒã¤ÃËÂÔº Â×ÁËÃ×Í˹ŒÒãËÞ‹ã¨âµà¡Ô¹à赯 ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÃÐÂÐ ¹Õ¤é ÇèеŒÍ§à»š¹ä»Í‹ҧ¾ÍàËÁÒоͤÇÃäÁ‹ ªçͺ» §œ ¨¹à¡Ô¹ä»¹Ñ¡
¤ÇÒÁÃÑ¡
ดวงประจำเดือน พฤษภาคม 2016
à¾ÃÒФÇÒÁà§Õº ËÃ×ÍäÁ‹àÍÒã¨ãÊ‹¢Í§·‹Ò¹¹Ñè¹ àͧ໚¹»˜ÞËÒÊÓ¤ÑÞÃÑ¡¹ÐÃѡ㪋ᵋäÁ‹¤ÇÃà¡çº à§Õº¨¹à¡Ô¹ä»¹Ñ¡
ÍÒÃÁ³ ¢Í§·‹Ò¹ã¹ÃÐÂйÕé´Ù¢Öé¹Å§á»Ã»Ãǹ Í‹ҧºÍ¡äÁ‹¶Ù¡´ÙáÅŒÇࢌÒã¨ÂÒ¡¨ÃԧᵋäÁ‹à»š¹ äà ʶҹ¡Òó ´ÙàËÁ×͹໚¹ÍÂÙ‹äÁ‹¹Ò¹¹Ñ¡ áÅШФÅÕè¤ÅÒÂä´Œàͧ µŒÍ§¼¨ÞÍÐäÃËÅÒÂæ¡Ç‹Ò·Ø¡Í‹ҧ¨Ð´Óà¹Ô¹ µ‹Íä»ä´ŒÍ¡Õ §Ò¹·Õàè ¡ÕÂÇ¢ŒÍ§¡Òë×Íé ¢Ò¹ÒÂ˹ŒÒ ´Ù¨Ð»ÃÐʺ¼ÅÊÓàÃ稴Õ໚¹¾ÔàÈÉ ¡ÒÃà§Ô¹ÁÕÃÒ 䴌¾àÔ ÈÉࢌÒÁÒ·ÓãËŒà´×͹¹ÕÅé Á× µÒ͌һҡÍ‹ҧ áÎ »»‚œ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§à¾×Íè à·ÕÂè ǪÁ¸ÃÃÁªÒµÔ¨Ð·Ó ãËŒ¨µÔ 㨢ͧ·‹Ò¹àÂç¹Å§
¤ÇÒÁÃÑ¡
à¾ÃÒÐÍÒÃÁ³ ¢Í§·‹Ò¹àͧ·Õè໚¹»˜ÞËÒÊÓ¤ÑÞ ¶ŒÒÅ´¤ÇÒÁ·Ô°Ôŧ䴌¨Ð´ÕÁÒ¡
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹàÊÒÃ
àËÁ×͹¿‡ÒËÅѧ½¹µŒÍ§¾º¾Ò¹¡ÑºàÃ×èͧäÁ‹´Õ ¡‹Í¹áŌǤ‹Í¡ÅѺÁÒÊÙ‹¤ÇÒÁÊØ¢¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ ã¹ËÅÒÂ洌ҹ·‹Ò¹¨Ð¾º¡Ñº¤ÇÒÁÂØ‹§Âҡ㨠¡‹Í¹·ÕèÁѹ¨Ð´Õã¹ÀÒÂËÅѧàÊÁÍ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¡Ô¨¡ÒÃ㹤Ãͺ¤ÃÑÇà¤Ã×ÍÞÒµÔ¨ÐÁÕ»Þ ˜ ËÒºŒÒ§ ÃÐÇѧ¤ÇÒÁäÁ‹à¢ŒÒã¨ËÃ×Í·Ô°¡Ô ¹Ñ µŒÍ§ÍÒÈѤÇÒÁ àª×Íè ÁѹáÅÐࢌÒ㨡ѹ ¡ÒÃà§Ô¹Ç‹Ò¨ÐäÁ‹¼Ò‹ ¹áµ‹¡Áç Õ à˵ØãËŒ·Ò‹ ¹¼‹Ò¹¾Œ¹ä»ä´Œ ¤Ãͺ¤ÃÑǾչè ÍŒ §·‹Ò¹ ¨ÐÂ×¹è Á×ÍࢌҪ‹Ç ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ÃÐÂÐä¡Åæ ¤§ µŒÍ§ÃÍÊÑ¡ÃÐÂÐË¹Ö§è ¡‹Í¹ ᵋäÁ‹á¹‹·Ò‹ ¹àͧÍÒ¨ ¨ÐµŒÍ§à´Ô¹·Ò§áººäÁ‹·¹Ñ µÑ§é µÑÇ
¤ÇÒÁÃÑ¡
Í‹ÒàÍÒàÃ×èͧàÅç¡ÁÒ໚¹àÃ×èͧãËÞ‹¨Ð·ÓãËŒªÕÇÔµ ¤Ù¢‹ ͧ·‹Ò¹äÁ‹ÃÒºÃ×¹è ÍÐäÃÅ×Áä´Œ¡Åç Á× «ÐÍ‹Ҷ×ÍÁѹè
29
THAI COMMUNITY RADIO
M P 7 6 S R THU
e tenn Listbe.noorLgrgi.v a.auu/l/ilsiste
wwwwww.4.4eeb.
Made in Australia
4rd issue
AN INTUITIVE
HEALER
Feb 2016
lifestyle
art We have worked to improve our quality and look to serve diverse member within our multicultural community. We would love to hear stories, interview interesting individuals and publish photos of you or your friends if they are willing to share. We will continue to adjust, make changes and perfecting our quality of content and look so we stay interesting and fresh. Enjoy us and feel free to share your enjoyment with others.
music
Boom Buchanan Editor
Content
2-3 What’s on and Event Fest 4-5 inWe 6-8 East meets West
Contact us Sawasdee Australia Magazine St.lucia south, Brisbane, Queensland 4067 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: +661 424 022 334 or +661 451 057 063
cultu
re
What’s on
Kenji Uranishi: Momentary WHEN 19 Feb 2016 ‐ 22 May 2016, 10:00 - 17:00 A Japanese-born ceramic artist, Kenji Uranishi relocated to Brisbane more than a decade ago bringing with him ancient Japanese ceramic techniques and a deep understanding and respect for the surrounding environment. In his newest body of work, created especially for Museum of Brisbane, Uranishi’s delicate artistry draws on patterns and forms found in both the man-made and natural worlds and responds to their constant state of change. VENUE Museum of Brisbane
Living in the city : New architecture in Brisbane and the Asia-Pacific WHEN 19 Feb - 22 May 2016 , 2016, 10am – 5pm Architecture can reveal and define the personality of a city. As Brisbane establishes itself as an important city in the Asia Pacific, what do our buildings say about how we work, live and play? Friend of BrisAsia Festival. 10am-5pm each day. VENUE Museum of Brisbane
Triffid Roots WHEN Every Sunday, 2:00 pm Kick back with a cold beer every Sunday afternoon from 2:00 pm as Triffid Roots—presented by Sarah Howells (Roots N’ All)—takes over the venue and beer garden to bring you the best of Brisbane and Australia’s blues, roots, folk,contemporary jazz, soul, reggae and world music. Head to The Triffid website to view this week’s line-up. To top it off, entry is free. VENUE The Triffid
Brisbane Backyard Film Festival WHEN 27 May 2016, 18.00 pm Brisbane's most unique film networking and screening event is back for 2016. In 2015 over 300 emerging filmmakers, actors and industry professionals gathered to enjoy a night of local short films, music videos and trailers, under the stars. Once again in May 2016 we are inviting you to be part of what has become a very special gathering of the Brisbane film community. Every year we strive to provide an even better experience for our guests and our filmmakers. 2016 will be no different, the quality of the films submitted along with our lovely guests are what makes it such a special event. So we encourage you to send in your best work and bring your best selves to share in an amazing night of local cinema. Tickets will be sold online through eventbrite. The ticketing link will be released via email and facebook closer to the event. Please direct all your Film Submissions through Film Freeway https://filmfreeway.com/festival/BBFF
2
Culture Fest
26th May to 2nd June
“Experience Life Italian Style” at the Brisbane Italian Food and Wine Festival in 2016. FREE ENTRY Prepare to savour the tastes, sights and sounds of Italy when the Brisbane Italian Street Food and Wine Festival descends on New Farm Park on the 29th May 2016. Experience a taste of Italy, from fine Italian Street food and regional Italian wines accompanied by live music. Celebrated in Brisbane since 2007, the Italian Week Festival will once again paint the Town Red, White and Green. The event organisers are bringing the well-loved Italian food and wine festival to New Farm Park once again to celebrate the 10th anniversary of Italian Week. The festival will sit on the riverfront in beautiful New Farm Park where street vendors will be serving wood fired pizza, pasta and delicious gelato, with Italian wines coming from several regions around Italy. The Festival’s aims to promote Italian culture in Australia and around the world and highlight the influence of Italian Culture in Australia as a result of immigration and integration. The Festival will be an opportunity to showcase Italian food, wine and culture and to preserve and promote an appreciation of culture and the heritage of Italy.
In 2016 Brisbane’s famous Paniyiri Greek Festival will mark 40 years – a landmark cultural and celebratory milestone. Over four decades Paniyiri has grown to become Queensland’s signature celebration of all things Greek and the state’s largest cultural festival as well as the country’s longest running Greek festival – an admirable success story for the celebration that started in 1976 when a group of passionate Greek Australians wanted to share their cultural traditions with Brisbane. Fast forward to 2016 and this kaleidoscopic cultural explosion is now legendary. More than 60,000 are expected to celebrate a whole range of 40th anniversary markers and events in the lead up, and over the weekend of May 21 and 22. 3
inWE
AN INTUITIVE
HEALER
“Our works is only a drop in the ocean, we have to do more”
An Intuitive healer
The motivation to meet in person and talk to this lady came from when we heard about her solo walk from Brisbane-Gold Coast over the Christmas holiday last year. The driving force of her bravery journey was to raise fund for her Oasis Natural Health Foundation, the organization she found in September 2014. She has the passion and the determination to fulfill her vision of bringing team of volunteers to help disability children in the country she had visited and many more all over the world.
she wants to be able to bring her healing power to heal all the children on this planet. She envisaged her organization bringing therapists from all areas of the globe to work together and heal the children of their ailments, diseases and disabilities.
That was the beginning the Oasis Natural Health Foundation. The work of the organization is done voluntarily and the foundation organizes with the host organization in the countries such as Indonesia, Thailand and Bangladesh to work together to achieve the objectives.
Trained as a Bowen Therapist for 12 years, Eleni travelled to Bali to work with severely disabled children at a school called JemEleni is ninety percent blind. batan Senang, which saw the need for She calls herself a Natural Therapist, the severely disabled children to have access one who is gifted in using a unique combi- to schooling that would otherwise be nation of the healing modalities of Bowen impossible for them. On almost every Therapy, massage and medical and her occasion that she had to speak of her work, Eleni would share the story of how intuitive power to heal her patients. these unfortunate children are. In 2008, Eleni attended a seminar, which introduced her to Roger Hamilton, a social “In Bali, and as in many countries, being entrepreneur who spoke of his 2020 vision born with a disability, birth defect or acute for his organization. During the seminar, he illness means the children often do not invited members of the audience to share receive much needed medical help that visions of their future businesses. Eleni who could vastly improve their health and at that time was still working for herself as a lengthen their lives. Many children die soon Bowen Therapist had no plan for her busi- after birth due to complications and the ness’s future, but she stood in front of a lack of immediate medical assistance. room full of people and share her visions. Medical procedures and medicine are very costly and far beyond the reach of many It was an inspiration sent from the universe, families. Moreover, the stigma of having a she said, that gave her that vision in which child with a disability considered ‘bad 4
she wants to be able to bring her healing power to heal all the children on this planet. karma’ so they are kept behind closed doors”. Added to that, the lack of knowledge about an ailment creates a less than desirable life for these children.
Eleni also work in Thailand brining her volunteered therapists and closely with an organization that operates schools for children with multiple disabilities. The work in Bangladesh in the past years saw more than 300 children benefit from her collaborative work with volunteers from relevant fields. Although to her it became blindingly obvious that her initiative was just a drop in the ocean, “we have to do more!” she said. With some help from the Bangladesh Government, a Natural Medical Centre for Women and Children in the Narsingdi District is about to get of the ground. The Oasis Natural Health Foundation is working on raising more funds to help the project so that it can be ready and open in February 2017. This center will be able to help more children and train local people to help the women and children in the areas of health, natural medicine, nutrition, social interaction, life skills, work skills, employment and education.
EMPOWERING TODAY’S CHILDREN TO BECOME TOMORROW’S FUTURE WORLD LEADERS The Oasis Natural Health Foundation is an empirical organisation so vast it encompasses the whole world in its ability to heal all the children on this planet. The organisation unites and recruits therapists from all areas of the globe, to work seamlessly together, healing children of their ailments, diseases and disabilities, creating an otherwise impossible reality for them to reach their full potential. This work is done voluntarily by these gifted souls.
are taught the basic skills of these therapies, to continue performing the techniques on the children in their own time.
When the children of the world are given the capacity to live at their full potential, they can then help others, and we will teach them to free other children they encounter from their lives of sickness and limits. The Oasis Natural Health Foundation aims to work with the world’s children to break the cycles of sickness and poverty that are so rife, to The organisation pays for travel, accommoda- change the world for the generations to come. tion and food expenses to assist the therapists whilst they perform their miracles. Parents, Find out how you can help the work of the foundation and for donation, go to: carers, and school teachers http://www.oasisnaturalhealthfoundation.org/
5
EASTmeetsWEST
MEETS
EAST WEST
6
เรื่องและภาพโดย วสมน สาณะเสน story and photo by Wasamon Sanasen
อาหารเชา แบบชาวตุรกี ณเคยรูสึกแบบนี้ไหม ยามเชาตื่นขึ้นมาอยางสดชื่น ไมซกุ หนากลับเขาหาหมอนอยางคนขีเ้ กียจตืน่ เพราะ มีบางสิ่งที่ทำใหอยากลุกจากเตียง เพื่อมุงไปหามัน สิ่งนั้นชวยใหคุณเริ่มตนวันใหมดวยความสุข ทั้งยัง มอบพลังในการทำงานใหคุณ ใชแลว...”อาหารเชา” ยังไงละ ทุกเชาของฉันทีอ่ สิ ตันบูลก็เชนเดียวกัน ทันทีทต่ี น่ื นอน ยืดเหยียดแขนขาเสร็จแลวฉันจะรีบลุกขึ้นไปอาบน้ำ แตงตัว แลวมุงไปหาสิ่งที่ฉันรอคอย นั่นคือ “อาหารเชาแบบตุรกี” การ ทานอาหารเชาเปนชวงเวลาที่ฉันมีความสุขที่สุด เพราะทานใน ปริมาณมากไดโดยไมรูสึกผิด อยางที่ทราบกันดีวาในบรรดา สามมื้อ มื้อเชาสำคัญที่สุดควรทานใหไดสารอาหารครบ 5 หมู ของหวานก็สามารถทานในมื้อเชาได ขอนี้นักโภชนาการหลาย ทานยืนยันเพราะน้ำตาลชวยกระตุน การทำงานของสมองเหมาะ กับการเริ่มตนวันใหม (แตไมใชวาใหทานเคกทั้งปอนดนะ!) และอาหารเชาแบบตุรกีก็แสนจะพิเศษ ถึงแมจะบางอยางจะ คลายกับ breakfast ของชาวตะวันตก แตก็มีเอกลักษณที่แตก ตางจากอาหารเชาแบบยุโรป ดวยอาหารเชาของชาวเติรกนั้นมี อาหารและเครื่องทาหลายชนิด ราวกับเปนบุฟเฟตขนาดยอม แบบนี้จะไมใหรีบวิ่งไปหาไดอยางไร มาดูวามีอะไรบาง และมา อรอยไปพรอมๆ กันเลย! อรุณสวัสดิ์ มื้อเชา! เริ่มดวยการจิบชารอนสักแกวเพราะการดื่มชาที่มีประโยชนตอ รางกายที่สุดคือดื่มขณะทองวางหลังจากนั้นจึงเริ่มขยับไปหา อาหาร อยางแรกที่มักจะหยิบมาเรียกน้ำยอยกอนคือขนมปง ขนมปงเปนสิ่งที่ชาวตุรกีขาดไมได เขาทานเปนอาหารหลัก เหมือนคนไทยทานขาว ขนมปงมีใหเลือกหลายชนิด แตที่นิยม ที่สุดคือ ซิมิต (simit) เปนขนมปงทรงวงแหวนเคลือบงาตลอด ชิ้น ทานตอนรอนๆ จะกรอบนอกนุมใน และหอมกลิ่นงาสุดๆ อรอยแบบไมตองทาอะไรเพิ่ม อรอยจนถึงขั้นที่วาถาตองรีบ ออกไปทำงานในชั่วโมงเรงดวน บางทีแคซิมิตชิ้นเดียวก็เอาอยู เพียงพอ นอกนั้นก็เปนขนมปงฝรั่งเศสกับขนมปงโฮลวีททั่วไป จากนัน้ อาจเปลีย่ นมาทานโพชา (poğaça) พัฟเนือ้ นุม ทรงครึง่ วงกลม หรือพายอยางโบแร็ค (börek) สองอยางนีม้ ที ง้ั แบบธรรมดาและ แบบไสชีส มะกอกดอง และเนื้อบด สวนแปงทอด (kızarmış hamur) นัน ้ อารมณเหมือนปาทองโก-ซาลาเปาทอด แตเนือ้ แนน กวา อรอยไมแพปาทองโกเสวยเจาดังของเราเลย มีอีกอยางที่ อยากแนะนำคือกอซเลเม (gözleme) เหมือนโรตี แตโรตีสญ ั ชาติ เติรกนี้สอดไสชีสและมันบด สำหรับคนไทยจึงแสนจะเลี่ยน ตองทานแกลมกับอยางอื่น
สมุนไพรปน รสชาติคลาย sour cream ทานกับไสกรอกหรือ แฮมจะออกรสมาก และสิ่งที่ไมมีถือวาผิดคือชีส (peynir) กับ คุยมัก (kuymuk) ที่ทำจากนม เนยและชีส คุยมักดูเหมือน กอนไขมันอะไรสักอยาง ไมนากิน แตลองแลวจะติดใจ เพราะ นุมๆ หยุนๆ คลายมาชเมลโลและไมเลี่ยนอยางที่คิด สำหรับเครื่องทาหวานๆ มีอาทิเชนแยม (reçel) ชอคโกแลต นูเทลลา และน้ำผึ้ง (bal) บางทีแคน้ำผึ้งอาจธรรมดาไป ชาว ตุรกีเลยนำน้ำผึ้งมาคลุกกับชีสและนม กลายเปนเครื่องทาตัว ใหมเรียกวาบาลคัยมัก (bal kaymak) หวานมันอยาบอกใคร ตอมาในถวยขางๆ คุณอาจเห็นน้ำจิม้ สีดำหนืดๆ เหมือนยาแกไอ ดูไมนา กินแตมปี ระโยชนสงู ตัวนีค้ อื เพ็กเมซ (pekmez) ทำจาก องุน รสหวานกำลังดี ในฤดูหนาว ชาวตุรกีจะทานเพ็กเมซวัน ละชอนชาเพือ่ บำรุงรางกายและแกหวัด ทัง้ องุน ยังมีสารอนุมลู อิสระ และฟรุกโตสที่ใหพลังงานสูงอีกดวย ดีตอสุขภาพแบบนี้ตองรีบ กินดวนๆ! ความจริงยังมีเครือ่ งทาชนิดอืน่ อีก แตถา อธิบายหมด ผูอานคงจุก งั้นขอจบที่ทาฮิน (tahin) ก็แลวกัน ทาฮินทำจาก งาชนิดหนึ่ง สีและเนื้อเหมือนเนยถั่วแตเปนกลิ่นงา ใครชอบงา มากแนะนำใหทานคูกับซิมิต แลวก็มาถึงหมวดโปรตีนสักที โดยทั่วไปคือไข ไสกรอก และ แฮม ไขในมื้อเชาของชาวตุรกีมีทั้งไขตม ไขกวน (menemen) และที่หรูหนอยคือไขกระทะ (sahanda yumurta) เปนไขดาว ทอดรวมกับไสกรอก เสริฟในกระทะทองเหลืองแบบตุรกี ไขดาว กับไสกรอกกลมๆ ที่กระจายอยูทั่ววงไขในกระทะ ดูนารักนา ทานเสียจริง ไสกรอกที่วานี้เปนไสกรอกคุณภาพดีเรียกวาซุจุก (sucuk) ทำจากเนื้อหมักกับเครื่องเทศ สวนแฮม (jambon) จะทานเปลาๆ หรือทำเปนแซนวิช (sandviç) หรือขนมปงปง (tost) ก็ได เอ...ดูเหมือนเราจะทานเนื้อ นม ไขกันเยอะแลว เดี๋ยวจะกลาย เปนเด็กไมดี ไมทานผัก อาหารเชาของตุรกีก็มีผักเพื่อชวยเติม ความชุม ฉ่ำใหรา งกาย หลักๆ ก็มแี ตงกวา (salatalık) มะเขือเทศ (domates) และมะกอก (zeytin) ตัวนี้ขอบอกวาหามพลาด เพราะมะกอกของตุรกีมีคุณภาพมาก มาถึงตรงนี้ ชาของเรา คงหมดแกวแลว พรอมกับจานอันวางเปลา (เพราะสิ่งที่เคยอยู ในนั้นลงมาอยูในทองของเราเรียบรอย) จึงถึงเวลาที่ตองจบมื้อ เชาแบบชาวตุรกีดว ยกาแฟ (kahve)เคียงดวยคัพเคกหรือคุกกีส้ กั ชิน้ เทานี้ก็มีพลังพอที่จะเริ่มตนวันใหมอันสดใสแลว ถามวากาแฟ หลังมื้อเชาจำเปนไหม ตอบเลยวาไมจำเปน แตเปนธรรมเนียม ที่ชาวเติรกทำกันมาตั้งแตรุนคุณปูจนกลายเปนที่มาของคำวา อาหารเชาในภาษาตุรกีคือ kahvaltı ซึ่งเกิดจากการสนธิคำ 2 คำเขาดวยกัน คือ kahve (coffee) กับ altı (under, before) แปลตามตัวอักษรคือกอนกาแฟ กลาวคืออาหารเชาในความ หมายของชาวตุรกีคือ “สิ่งที่มากอนกาแฟ” นั่นเอง
และอยาลืมวาขนมปง พัฟ และพายทั้งหลายจะอรอยยิ่งขึ้น เมื่อทานคูกับเครื่องทาที่เหมาะสม เจาเครื่องทานี่แหละคือ เสนหของอาหารเชาแบบตุรกี เขาจะตักใสถวยเล็กๆวางไวรอบ จาน เครือ่ งทาหลากสี หลากรส ชวยเพิม่ สีสนั ใหโตะอาหารเปน อยางดี หลักๆไดแกซอสอาหารเชา (kahvaltılık sos) คือ ซอส มะเขือเทศปรุงรสที่โฆษณาวาเผ็ดถึงใจแตสำหรับคนไทย...เผ็ด นี่แหละ ความอัศจรรยของอาหารเชาแบบตุรกี Afiyet Olsun! แคนี้จิ๊บๆ งั้นมาลองโยเกิรตผัก (cacık) บาง เปนโยเกิรตผสม (ทานใหอรอยนะ)
7
W
Waking up freshly in the morning, there is something I always looking forward to, yes, it’s breakfast! After brief stretching, then to the bathroom take a shower and get dressed, and I will head straight to have my Turkish breakfast which is the happiest moment each day. Turkish breakfast is very unique. Although it is similar to western breakfast, but its uniqueness makes it different from European breakfast. I usually start off with sipping a cup of warm tea, which they say it’s a healthy way to drink warm tea on empty stomach. Then I would move to the real Turkish breakfast dishes, the first one is bread. Turkish bread is just like rice to Thai people, which means it is part of almost every meal. There are various categories of bread, but the most popular is Simit. Simit is circular bread encrusted with sesame seeds, which can be eaten without dipping any sauces. It is so delicious that if you are morning rush and no time for a full breakfast, only a piece of Simit is more than enough. Next is Pogača or Pogacha. It is soft puff with the semicircle size or you can have Börek. They both have a regular one and the one with cheese, kalamata olive or minced beef inside. Also, Hamur Kizartma'Si, which is a very simple Turkish, bread-like, fried dough snack. Then this Gözleme, which is a traditional savory Turkish flat bread and pastry dish, made of hand-rolled leaves of yufka dough that are lightly brushed with butter and eggs, filled with various toppings, sealed, and cooked over a griddle. These breads, puffs and pie will be even more delicious with different dip and sauce. The different dips and sauces are the charming of Turkish food breakfast served in small plate making your table vividly colorful. The Kahvaltılık sos is spicy breakfast sauce. Cacık or yogurt has cucumbers and herbs, which tastes like sour cream if you eat with sausages and ham, it will be even more yummy. Peynir cheese and kuymuk made from milk, butter and cheese. Kuymuk looks terrible but their taste is terrific. Having been describing up to now, the tea is nearly empty in my cup and it is time to finish breakfast with Turkish coffee style (Kahve) together with cupcakes or cookies. It is marvelous to start the day. Tukrish has also been traditionally essential since long time ago because the word breakfast in Tukrish 'kahvaltı' comes from two words connected. Kahve means coffee and alti means under or before so when they are mixed. It means literally breakfast first and then coffee. All these are only some example of my Turkish breakfast, which is something I love to wake up to everyday.
8
Skillpoint is your first choice พบกับทีมงานคุณภาพที่มีประสบการณ ดานแนะแนวการศึกษา ยาวนานกวา 5 ป
Autumn Promotion
เรียนภาษาอังกฤษงายๆ แค 3 วันตอสัปดาห หลักสูตรปริญญา ราคาสบายกระเปา เรียนดิปโพลมา หลากหลายสาขาตามใจชอบ คอรสเรียนเพื่อ apply PR / visa 457 ราคาไมแพง ทำวีซานักเรียน วีซาติดตามชาย – หญิง หรือ same sex วีซาทองเที่ยว พาเพื่อน หรือ ครอบครัวมาเที่ยว ไมยากอยางที่คิด
Visa นักเรียนยาวกวา 3 ป อยูกันยาวๆ ไปเลย
มาที่นี่ที่เดียวครบ !!!
Skillpoint Consulting Brisbane Suite 2224, Level22, 127 Creek Street Brisbane office
Brisbane office: ติดตอ คุณ ปตณ ิ ชั เตะชัน (แฟรงกี)้ Address: Suite 2224, Level22, 127 Creek Street Bisbane QLD 4000 Mobile: 0451 257 979 Email: Frankie@skillpointculting.com.au Website: www.skillpointconsulting.com.au
Sydney office address : Suite 1712/87-89 Liverpool Street, Sydney NSW 2000. Tel: 02-8096 7073 Fax: 02-9261 1955 Mobile: 0426 838 989 Mobile: 0450 503 119 Mobile: 0425 299 111 Email: info@skillpointconsulting.com.au
Thailand office contact : 87/23 Village no.5 ( Indy Bang Yai Village ) Soi. Kaew In , Saothonghin Sub-District Bangyai District , Nonthaburi 11140, Thailand Tel: +66-2 192 2731 Fax: +66-2 192 2732 Mobile: +66-8-1822 7454 Mobile: +66-9-2828 7454 Email: info@skillpointconsulting.com.au