๑๑ issue 11
Through these wide eyes
THE GREAT BARRIER REEF Page 9
ประกาศผล ผู้ชนะกิจกรรม
Riding
with love and passion
Sidi Pansean
Restaurant review
Editor’s inbox and Contributors
Editor’s inbox นับเปนครั้งแรกที่เรามีนายแบบหนุมหนาเขมมาขึ้นปกใหเรา ติดตามอานเรื่องราวของ Sidi Pansean หรือประสิทธิ์ พันธแสน ไดในคอลัมนปกดานใน ฉบับนี้เราไดรวบรวมรายชื่อผูไดรับรางวัลจากการสงภาพถายคุณคูกับอาหารไทย จากแคมเปญ “Eat Thai Fly Thai” และขอแสดงความยินดีกับผูไดรับรางวัล ทุกทาน โปรดอานกติกา เพื่อติดตอขอรับรางวัลไดตามขอมูลภายในเลมนี้คะ นอกจากนี้เรายังมีผูสนับสนุนการทำงานหนาใหมๆเพิ่มเขามารวมเดินทางกับเรา อีกหลายราย อยากฝากผูอานรวมสนับสนุนกิจกรรมดานธุรกิจของพวกเขา เพราะการเติบโตของธุรกิจใหมๆเหลานี้จะเปนแรงสนับสนุนการทำงานใน กิจกรรมชุมชนดวยกันในอนาคต ในทุกฉบับเราทำงานหนักดวยความยึดมั่นในคำสัญญาที่จะนำเรื่องราวดีๆ ที่นาสนใจมานำเสนอ เราคงความภาคภูมิใจที่ไดเปนสวนหนึ่งของนิตยสารชุมชน ที่เปดพื้นที่กวาง สำหรับเรื่องราวดีและรูปภาพสวยๆที่ทุกทานอยากใหเรานำเสนอ เราตั้งใจที่จะสรางสะพานเชื่อมโยงสมาชิกจากกลุมชุมชนเชื้อชาติตางๆไดพบกัน ไดแบงปนเรื่องราวและแลกเปลี่ยนสิ่งดีๆซึ่งกันและกัน เราจะยังคงมุงมั่น ที่จะสรางสรรคสิ่งดีๆ เพื่อชุมชนของเราตอไป
This is the first time ever that we have a single male model on the cover. Read inside who Sidi Pansean is and why we chose him to be our cover model. We hope you like him and his story. Finally we have all the winner of our “Eat Thai Fly Thai Photo Contest” campaign. Congratulations to all the winners.!!! We also like to thank our sponsors who have been part of this campaign and always supporting our activities. In this edition we also welcome some new sponsors
who will be taking part in the journey with us for the next few issues, support them and their business so that they can support us in our future community activities. We have pride in being a community magazine that offers opportunity for people and all active actors in the community. We are an open space so that all community members can share their stories, pictures and all things that matter to our multicultural community. We build bridges for all members to cross so that we can meet and exchange and share goodness of each other.
Boom Buchanan Editor
Contributors ทา่นเจา้คณ ุ พระศรพ ี ทุธวิเิทศ เจา้อาวาสวดัไทยพทุธาราม
Phra Siphutthiwithet President & Abbot at Wat Tha Buddharam Forestdale Brisbane.
พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting Professional education consultant in Brisbane
Supalagsana Sontichai: Old Tales Retold A Thai award winning author , a novelist, translator and a travel writer
“ Nothing great was ever achieved without enthusiasm”
Frankie@skillpointconsulting.com.au
Aras Saadati Photographer
ปาริฉัตร กาญจนวัฒน์ Peta Art Director
http://www.arasshots.net
freelance grapic designer contact email: design.parichat.k@gmail.com
ณภัค โหมดหิรัญ (ปอ) Naphak Modhiran (Por) Photographer & Columnist
I considered myself as landscape photographer, but am also inspired by food, architecture and portrait photography as well. To those who might be interested in my works please feel free to visit my portfolio at: https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ https://www.flickr.com/photos/modhirannphoto/ Contact me at mailto: modhirann@yahoo.com
Santanee Otto slottochangprai@gmail.com. Columnist Design Trends
Chaisuda Gaylard อุทาหรณ์...ชีวิต True Story A mother of one and a cancer survivor, Chaisuda Gaylard shares the stories of her battle with cancer and how she determines to live a happy life.
Benjawan Poomsan US-based Thai/Lao Translator and Interpreter and a writer
วสมน สาณะเสน Wasamon Sanasen East meets West
เ พญ ็ ปากกา Pennie Pennapa holistic health therapist A teacher turned holistic health therapist, Pennie made her way through health and beauty career and end up opening her own ideal day spa. She is keen on sharing what she learnt from 10 years experience in this industry through Health and Well-being column.
Jim Jirarnuttaruj Make up & Hair artist for Cover, Fashion & Trend 14 years experience in Australia & Thailand https://www.facebook.com/JimJirarnuttaruj
3
Contents eleventh Issue March 2016
Cover talks 6-7 Cover talk “Riding with love and passion” Sidi Pansean
Brislife 8 Design Trends 29-30 Restaurant review Thai Tanium
24
True Story
6-7
Riding with love
12-13 26-27 22-23 24-25 31
True Story Thai-Lao interpreter Through these wide eyes Old Tales Retold True Story อุทาหรณ...ชีวิต Visa corner
Real Community 3 Editor Inbox & Contributors รูจักทีมสวัสดีออสเตรเลีย 16 Money Talk รอบรูเรื่องอสังหาริมทรัพยกับ JB Palmer 30 Horoscope ทำนายดวง
and passion 6-7 Did you know? ชองทางการเขาถึง
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
ติดตามอาน Sawasdee E-Magazine ไดแลววันนี้ เพียงดาวนโหลด Application issue “ SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE ” https://www.facebook.com/sawasdee.au.mag
Contact us Sawasdee Australia Magazine 6/159 Gailey Road Taringa QLD 4068 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: + 61 7 3870 5427 +61 424 022 334
29-30 26-27
Thai Tanium
THE GREAT BARRIER REEF
ขายราน Asian Grocery ยาน Brisbane Southside สามารถเพิ่มธุรกิจอื่นๆไดอีก เชน รานนวด รับสงเงิน รับสงของ มีลูกคาประจำ คาเชาถูก เดินทางสะดวก ที่จอดรถสะดวกสบาย
สนใจติดตอสอบถามเพิ่มเติม
0411 618 105
- Mechanical Repair - Log book service - Road Safety Certificate (RWC) - Air-condition
Please Contact
Nick / ติดต่อ หน่อง
4/8 Timms Court Underwood 4114
Mobile: 0412 880 999 Office: 07 3299 3222
Cover Talks
There are many good reasons we ask Sidi Pansean to be our cover model. However, his equal love and passion for his restaurant business and the speed on motorbike is the most intriguing reason. We got to sit down with Sidi when he was off duty one afternoon and talk to us at his House of Siam over his recommendation of scrumptious dishes and few glasses of bubbles. Sidi is an owner and operator of House of Siam Thai restaurant on the Hope Island marina. Before having his own restaurant, he was not at all new to the hospitality industry. In Thailand he worked for Royal Cliffs Hotel in Pattaya. He had worked with The Thai Orchid, one of the first Thai restaurant and the most renowned for its multiple awards and accolades restaurant in Brisbane. Sidi worked in the restaurant industry in every area from the front to the back. Having his own restaurant, he places special emphasis on every single area from the kitchen, through to the napkins on the table. 6
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
How did you start your restaurant business? I was working with many restaurants before until one day I was ready to open my own but started of with a partnership. Although I know the business to some extend, but it is different working for someone else to running your own business. I learn new things everyday.
What is the most important thing in the restaurant business? To me, running a restaurant everything is important. Everything needs to be consistent from food, services, staff, owner etc. I pay attention to every customer. I will see them the minute customer walks in and know what they might want. If my staff can remember customer name, that will be even better and I encourage them to. Different customer will want different level and I am trying hard to cater the service for all levels.
How about the food, who design the menu? The menu and chef specialties are a collective effort by our kitchen team and myself. The foods here are cooked fresh everyday with freshest ingredients. We always work to please customer and introduce them with new dishes every now and again. Although some customer will want to come here for what they know and taste it before, but there are more and more customers that are willing to try new dishes and satisfied at the end.
Riding with love and passion What has been your greatest professional success and biggest setback? My greatest success has been I believe in myself and in what I do. What is my biggest setback? I don't think that way, I just keep moving forward. Of course there are challenging factors, especially in the restaurant business, if you want to make it successful, you want to keep improving and aim to make it better in every step of the way and that what keeps me working hard. What advice or suggestions would you give to people in restaurant business? Well, let’s not say it’s my advice or suggestion because I know that everyone understand the business, the competition and the environment. I think in this highly competitive restaurant business, we are all trying to make it work but sometimes we forget about the authenticity of the food. We have to remember that Thai food is one of the best in the world, we should not change the taste to suite the market because we want the restaurant to survive. Yes, we can reduce the spices or the amount of chilies as customer request. The genuine Thai dishes are like our culture that has been passing on from generation to generation so we should be proud. How about advice for new comers in the business? I always encourage my staffs to think highly about their roles. Even if they are waiters or waitresses, one day they can be restaurant owner. But as the role they are in they are the ambassadors. They represent the
restaurant; represent expert on Thai food. In a Thai restaurant, I would encourage staff to be well presented and represents the best service that Thai people are known for. We should aim to be ambassador of the best cuisine and bringing our best service and proudly present our culture. Sidi also has his love and passion for speed. He spends his time on Tuesday with his motorbike, a red flash and sexy Ducati, which he takes it for a ride weekly. It’s an expensive pleasure that he is willing to spend as it gives him that feeling of being free and fast.
Where is your love and passion for speed come from? I just love it. I used to have a sport car and I think it’s a boy thing. It has been said that driving a car is like watching a film – and riding a motorcycle is like starring in one, is that why you change from sport car to motorbike? That is the case too. But I love the feeling of being free on motorbike. While I am riding on the road, I feel like there is nothing between me and the bike just the road, the sceneries, mountains, trees, sky, otherwise it's only just the two of us, me and my sexy bike (Laugh out loud) You also join group activities with other motorbike lovers? Yes. We have a group who go on a ride regularly which comprise of people from various professions and background, and everyone has different motorcycles. We are part of the groups that do the work for a good cause as well. We were helping World Champion like Troy Bayliss with the charity event he involved in helping people from bicycle accident and it makes me so proud to be part of it. So it’s not just an expensive pleasure as people may think, we would like to be doing things that are benefiting the community and we would not hesitate to contribute to the community.
7
by Santanee Otto
Design Trend
4
3
2
6
1
Autumn Living 7
8 8
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
Easter Decoration
5
The closing of summer fun, and the arrival of autumn can be cold but comforting. Now that a wonderful new furniture shop has opened recently - Pottery Barn. This US import has given inspiration to creating your new space with abundance for the inside and out. Their showroom is nestled in the heart of the design world, in Fortitude Valley. A wonderfully contemporary with hints of the Hamptons (8) and hints of Asia in their Miaou Applique Embroidery (2)(3) items. Their scented showroom makes you want to buy everything to decorating your home or office! There are perfect sofas (1), that entice, and entertaining accessories that brings luxury at an affordable price. 1. Austin Leather Sofa w/Miaou Applique Embroidered Cushion Cover; 2. Miaou Applique Embroidered Cushion Cover; 3. Miaou Applique Embroidered Table Runner; 4. Copper Handled Cutlery - 5 piece place setting 5. Gold Rim Mirror Tray; 6. Palmetto All -Weather Wicker Sectional Component; 7. Malta Lantern - Silver (Website picture:Beach Pagoda Scene); 8. Hyannis Lanterns.; Easter Decoration. All items are in: www.potterybarn.com.au
ม ร ร ก จ ิ ก ก า จ ี ด ค ช โ ู ผ อ ่ ื ช ย า ร ศ า ก ะ ร ป t e k c i t A returen- B a n g k o k Brisba
n
A return ticket Brisbane-Bangkok
Plus free resort style 3 days 2 nights accommodation at Praseban ResortPranburi Thailand
• Pla Thanyaret Aiaram
Gift Voucher for 1 finalist Free resort style 3 days 2 nights accommodation at Praseban Resort Pranburi Thailand value at $800
• Saya Nanong Gift Voucher for 2 finalists for any 60 mins service to the value of $150 At Alisa Thai Massage, China town
• ครอบครัวสุขสันต จบปะ • Jessica Summerhill Gift Voucher for 1 finalist for Couple Massage to the value of $239 At Healing Hands Spa, East Brisbane
• Pui Puncharas
Gift Voucher for 4 finalists for Food and drink to the value of $100 at House of Siam on The Boardwalk, Hope Island
• Lee Walker • Tommy Komkrit
• Tanawat Langkapinth • Walun Ong
Gift Voucher for 1 finalist for Food and drink to the value of $100 at Thai Naramit, Hendra, Brisbane
• Linda Walsh Gift Voucher for 1 finalist for Food and drink to the value of $100 at Thai Wi-Rat, China town, Brisbane
• Suntinan Wongueawate
เงื่อนไขการรับรางวัล • ผูโชคดีกรุณาติดตอกลับมาที่ inbox Facebook Sawasdee Austrailaia Magazine เพื่อยืนยันสิทธิ์ในการรับของรางวัลภายในวันที่ 15 มีนาคม 2556 (จันทร-ศุกร เวลา 8:30-17:30 น.) มิฉะนั้นจะถือวาสละสิทธิ์ • รางวัลไมสามารถแลกเปลี่ยนเปนเงินสดได หรือของรางวัลอื่นได • คำตัดสินของทีมงาน สวัสดีออสเตรเลียแมกกาซีน ถือเปนที่สิ้นสุด
How to claim the prize: • All winner listed here must contact via inbox message on Sawasdee Australia Magazine Facebook page to confirm their acknowledgement of the winning by 15 March 2016 between Mon-Fri from 830am-500pm, otherwise your prize will be voided. • The prize cannot be exchanged to cash or other prizes • The result for the winner by Sawasdee Australia Magazine listed here is final. สวสัดอีอสเตรเลยี brislife - true story - real community
THAI WI-RAT Thai -Laos Food
Being in love should not be this hard…
Freedom Migration. Australia's leading Partner Visa Specialist Every relationship is different, so a tailored solution is required to get the best possible outcome for each and every family we represent. With a team on the ground in Thailand, your partner and you will be supported every step of the way.
Freedom Migration
provides specialty migration services for:
· Visitor visas for your partner · Partner visas
· Spouse visas · Marriage visas
· Migration Review Tribunal (visa refusals and reviews)
07 3112 5204 Don't risk the future of your relationship Registered Migration Agent #0960361
Contact the Freedom Migration team today on
Website: www.freedommigration.com
Love wins again this Valentine’s Day
Ambient lighting, clinking glasses and music that turned back the hands of time. These were only a few of the things that made this Valentine’s Day event so special. For the longest time, Brisbane migration agent Emma Drynan had dreamed of hosting a beautiful event that would celebrate the stories of her clients. As a partner visa specialist, Emma works with couples that have been separated by visa issues and she sees first-hand how hard they have to fight for their happily ever after. “Most people are lucky enough not to experience the pain of separation from their partners. But for the ones that are not so lucky, being reunited is a difficult process,” Emma said. “Working as a migration agent, the couples that I meet have often been separated for years. While most of us are coming home to our loved ones every night, my clients are limited to a computer screen or a phone call.” Frequently Asked Questions “With the buzz that surrounds Valentine’s Day, I think it is easy to forget that there are many people spending the occasion alone,” she said. This year, Emma decided it was time to make her dream of a Valentine’s Day event a reality. “I’ve always wanted to organise an event to acknowledge my clients and since we specialise in reuniting loved ones, Valentine’s Day could not be more special to us,” Emma said. “After enduring emotional stress, complex immigration processes and separation from their loved ones, finally being able to be together is cause for celebration!”
“Although they come to me for help, my clients are also so much more than just clients to me. Many of them have become my friends. They have taught me a lot by sharing their stories and I really wanted to show them how much they meant to me,” she said. Despite almost a decade in the business, Emma says that she is never bored of her work because every couple is different and each love story is unique. “I'm a hopeless romantic and basically every family that we assist for a partner visa has a beautiful love story. I have seen grown men cry after being reunited with their wives or girlfriends,” she said. “Getting a visa can be an agonizing process. We see people in their most vulnerable states and being able to help them or take away some of the stress makes all the hard work worthwhile.” “When a partner visa is granted, it is the most rewarding experience in the world. We get to call the applicants and tell them that they get to stay together or that their partner should book a flight because they’re coming home,” Emma said. Freedom Migration’s 2016 Valentine’s Day event reflected Emma’s work as it brought together people from all over the world. Different cultural community leaders, local business owners and many partner visa applicants attended to celebrate love. Through it all, Emma says that she has found a deeper appreciation for the occasion. “It’s not until you witness the challenges faced by these couples that you realise how much you take for granted being able to hold your partner’s hand,” Emma said. “Everyone deserves a happy ending and love shouldn’t be this hard for anyone. I am genuinely glad that we got to show the world the beautiful stories of these couples and how love wins again this Valentine’s Day.”
True story
Dad had been proficient in English, and I assumed that’s why I became interested too. Years had passed since I’d earned my first money by translating Oy’s love letters – by now I was a court interpreter in the US – and I was visiting Mom in Yasothon. I recalled that she had stored my old diaries for me. I’d written dutifully in my journal every day for three years straight as a teenager. This would be a nice trip down memory lane. It was early May, and although it was still only mid-morning, the sun was beating down and the heat was stifling. Mom was in the kitchen cleaning vegetables when I hurried in and almost fell on the newly washed tile flooring. “Mom, where are those old books and photo albums I left with you when I went off to school?” She had to think for a while, then said, “Oh, all that stuff’s in the storage shed out back. I haven’t looked in there for years. I don’t even remember what’s in there.” I dashed for the back door as Mom shouted, “Watch out for snakes!” The commotion and the screen door banging shut caused Brownie, Mom’s chocolate-colored dog, to leap alongside me, yelping and barking, as I went towards the dilapidated wooden shed. The weeds were almost waist high and I was glad to let Brownie lead the way, figuring that any snakes would see him coming first. The shed was leaning to one side, and it was a struggle to open the door. The weeds made it difficult to pry the door wide, so Brownie and I slipped through the narrow crack I was able to get open. Excitement turned to disappointment as I gazed upon a shelf of boxes and papers that were barely recognizable. The termites had turned my precious memories into dust. Returning to the kitchen, I told Mom the disappointing news. “Oh, yes, the termites. Your sister stored her bed back there for a while, and one night she and her husband fell on the floor. The thing collapsed because the termites had eaten through the wood.” “Mom, come sit with me for a while on the porch when you’re finished cooking. I want to ask you some questions.” Out on the porch, a breeze was starting to pick up, and we sat on the bench, like we had when I was a girl. Brownie curled up on the floor between us. I had always wondered where my love of languages came from, but memories of early childhood were too vague. I was hoping my diaries would have provided some clues. Now I wanted Mom to fill in some gaps that the termites had eaten. Dad had been proficient in English, and I assumed that’s why I became interested too. But how had he learned to
12
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
speak English so well, and with such a beautiful British accent? I asked Mom about Dad’s work in Bangkok when I was young. A smile came to her lips as she stared out into the rice fields. “You know, both your dad and I grew up right here in Yasothon. After our wedding, we moved to Bangkok to start a new life. I was only twenty, and Dad was 22. We were so young, we didn’t know much about anything, and the times were much different. I’d never even seen Bangkok. It was really beautiful back then. People used the old klongs and went by boat or walked. I hardly recall any cars or buses, and only a few tuk-tuks. We had friends in our neighborhood and many hospitals. You were born in a Bangkok hospital – not at home with a midwife.
The Interpreter’s journal Family life in Thailand Benjawan Poomsan Becker
“Dad was lucky to get a job as a flight planner with BOAC, which later became British Airways. There were no computers to figure out flight scheduling. It was a complicated process that had to be done manually. Your dad was very good at it, but I think he got hired because he could speak English and communicate with the British bosses. “Your dad had been in the army before we were married, and he learned English there. He enjoyed it so much, he carried on studying on his own. After a while, it was hard to find anybody who spoke English as well as he did. After serving his two years in the army, he applied for the job at BOAC.” I remembered seeing some black and white photos of my dad at Big Ben and the Palace of Westminster. “At some point didn’t he go to England for a while?” I asked. “Yes, he won a scholarship from the airline to study in London for six months. Everyone in Yasothon knew he was going. Only royalty or wealthy families went to study outside of Thailand. Nobody from Yasothon ever had the chance to do that.” These were new images. I was seeing my dad in a new light. “But it sounds like you were having a good life in Bangkok. Why did you and dad up and move back to Yasothon?” Mom was quick to answer: “I didn’t want to move back at all. Life was hard here, and I liked living in Bangkok. I didn’t want to go back to country life, but your dad was getting restless after sixteen years at the airline. He and some colleagues were sent to Hong Kong as part of their training, and they took your dad and his pals to see a farm where the people were growing vegetables, raising animals, and living a self-sufficient lifestyle. He was becoming despondent with his work, and this looked like a good idea for a life change to him. He wanted to be his own boss, without any supervisors. He fell in love with the idea, and spent over three hours talking to the Chinese farmers. When he got back to Bangkok, he resigned from his job. I was heartbroken and disappointed. I didn’t want to come back here with four children to care for, but I had to follow his decision.”
13
Money talks
แหลงลงทุน South Brisbane
สวัสดีคะเพื่อนๆ มาพบกันอีกครั้งกับเจี๊ยบเองคะ ฉบับนี้อัดแนนดวยสาระนิดนึงนะคะ เจี๊ยบขอเริ่มตรงประเด็นเลยละกันคะวามีอะไรที่เปนสาระประโยชนอยากใหพี่นองไดรูกัน ซึง่ กอนอืน่ นัน้ เจีย๊ บอยากถามเพือ่ นๆ กันใหชว ยกันเดาวา...ณ นาทีน้ี อะไรเปนตัวบงชีห้ ลัก ทีท่ ำใหบริสเบนเปนตัวเลือกทีด่ ที ส่ี ดุ สำหรับบรรดาเมืองใหญทง้ั สาม (Sydney Melbourne Brisbane) ในออสเตรเลีย หากคิดจะซื้ออสังหาริมทรัพย? สาเหตุสำคัญนั่นก็คืออัตราผลตอบแทนของคาเชาเบื้องตน (Indicative Gross Rental Yield) นั่นเองคะ ซึ่งเพื่อไมใหเปนการกลาวลอยๆ เจี๊ยบไปทำการบานมาโดยขออางอิง จากบทวิเคราะหของสำนัก Urbis ซึ่งเขาทำวิจัยนำขอมูลดิบมาจาก Market Trends, Core Logic และ RP Data เพื่อมาคำนวณหาวาในบรรดา 3 เมืองใหญนี้ โดยเฉลี่ยแลว อัตราผลตอบแทนคาเชาเบื้องตนเปนเทาใดบาง ซึ่งผลก็เปนไปตามตารางขางลางนี้คะ
Median sale price
Brisbane
Melbourne
Sydney
429,000
470,000
650,000
5%
4.1%
4.2%
Indicative Gross Rental Yield
Prepared by Urbis; Source: Market Trends, Core Logic, RP Data. Disclaimer: Data is from external sources. We are not responsible for information we relied on.
ซึ่งถาหากมองดูแลวก็จะพบวาบริสเบนนี่ราคาเฉลี่ยก็ถูกกวา แถมผลตอบแทนคาเชาก็ได เยอะกวา ขณะที่ตัวหองมีรูปแบบและพื้นที่ใชสอยใกลเคียงกับอีกสองเมือง เห็นแบบนี้แลว เรียกไดวาคุมคามากจริงๆ ใชมั้ยคะ? แตไมใชแคนั้นคะ การจะซื้ออสังหาริมทรัพยที่ชาญฉลาด อยาดูแคราคาหรือผลตอบแทน แตที่สำคัญที่สุด ซึ่งอันนี้เปนประสบการณสวนตัวจากมุมมองของเจี๊ยบเองเลยนะคะ เรา ควรจะซื้อเพราะอสังหานี้มันมีอนาคตคะ! มีอนาคตคืออยางไร? หลักๆ แลวคือตองอยูใน ทำเลที่ดี มีโครงสรางพื้นฐานและการคมนาคมขนสงสาธารณะเขาถึงอยางสะดวกสบาย อยูใกลใจกลางตัวเมืองชั้นใน (within 5km CBD radius) และเปนพื้นที่ซึ่งมีโครงการใน อนาคตอีกมากมายที่จะขยายการลงทุนหรือพัฒนาความเจริญใหมีขึ้นอยางตอเนื่องตอไป และยังตองสอดคลองกับไลฟสไตลของประชากรในอนาคอีกหลายสิบป ซึ่งก็เปนที่ทราบ วาคนรุน ใหมนน้ั ชอบทีจ่ ะใชชวี ติ อยูใ กลตวั เมืองและแหลงบันเทิง ตกเย็นเลิกงานก็ไปออกกำลังกาย และแฮงกเอาทกับเพื่อนฝูง และอยากเดินทางสะดวก ไมตองขับรถไปกลับเปนสิบๆ กิโล ทั้งเชา ทั้งเย็น รถติด เขาเมือง ออกเมือง เพื่อไปอยูบานใหญนอกเมืองกัน ดังนั้นแลวนี่ คืออีกสาเหตุ ที่อพารทเมนตเปนสิ่งที่ตอบโจทยสำหรับการลงทุนไดคะ
ขอยกตัวอยางเขต South Brisbane ที่เปนเขตฮ็อตฮิตติดชารทอันดับตนๆ ของเมือง บริสเบนติดตอกันมาหลายปวาเขตนี้มีอนาคตอันสดใสควรคาแกการจับตามองเพื่อรอ ซื้อโปรเจ็กตงามๆ เพราะอะไร? โดยสาเหตุสำคัญอยางแรกเลยก็คือ เขตนี้มีโครงการ การลงทุนขนาดยักษกวาหลายพันลานอยูต รงขามฝง แมนำ้ นัน่ ก็คอื Queen’s Wharf Project ซึ่งเปนโครงการของคาสิโน โรงแรมหรู 6 ดาว แหลงชอปปงบันเทิงขนาดมหึมา เทียบชั้นไดกับบรรดาโรงแรมสุดหรูที่เปนหนาเปนตาของมาเกาหรือสิงคโปรไดเลยคะ และอยางที่สองที่สำคัญคือ โปรเจ็กตการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่แถวริมแมน้ำ Kurilpa Riverfront Renewal ที่จะเกิดขึ้นเพื่อพัฒนาพื้นที่แถบลุมแมน้ำเบื้องซายของเขต South Brisbane สรางความเจริญเพิ่มเติม และอยางสุดทายทีส่ ำคัญก็คอื การเติบโตของการจางงานในแถบนี้ สวนใหญบริษทั ทีอ่ ยู ในฝง ตัวเมืองบริสเบนก็จะเลือกขยายหรือเชาออฟฟศในเขตทีไ่ มไกลจากตัวเมืองชัน้ ใน ซึ่งเมื่อพิจารณาเขต South Brisbane นี้แลวก็คือตัวเลือกที่เลิศมาก เพราะหางไปแค ขามฝงแมน้ำ หางแค 1 กิโลเมตร และยังถูกเชื่อมโยงเขาถึงดวยการขนสงสาธารณะ มากมาย มีไมกเ่ี ขตทีจ่ ะไดสทิ ธิม์ สี ถานีรถไฟถึง 2 แหง ในเขตเดียว (South Brisbane & South Bank train station) และยังมีรถบัสดวน City Glider วิ่งผานจุดตางๆทุก 15นาที โดยมีการทำนายกันวาจะมีการจางงานเพิม่ ขึน้ ถึง 108,894 ตำแหนง ระหวาง ป 2012-2031 (source: Urbis Residential Market & Economic Outlook 2015. Disclaimer: Data is from external sources. We are not responsible for information we relied on.Terms and conditions apply.)
มาถึงตรงนี้เจี๊ยบขอแชรเพิ่มวาเจี๊ยบเพิ่งไดฟงปรัชญาการลงทุนของเจานายเจี๊ยบเอง เลยสดๆ รอนๆ ที่ทานไดเลาในงานสัมมนาวา “หากเปนเรื่องของการลงทุนแลวมันไม สำคัญหรอกวา คุณจะชอบอสังหาริมทรัพยแหงนี้แคไหน แตที่สำคัญมากกวา คือเมื่อ ตอนคุณคิดจะขายมันในอนาคต มีกี่คนที่ชอบอสังหาริมทรัพย แหงนี้ของคุณ” นั่นคือการลงทุนนั้นจำเปนตองใชเหตุผลในการตัดสินใจและพิจารณาใหถี่ถวนครบทั้ง วงจรชีวติ ตัง้ แตการซือ้ การถือครองเพือ่ ปลอยเชา และ การขายออกทำกำไรเมือ่ สมควร ซึ่ง South Brisbane ก็ตอบโจทยทุกประการและเปนไมกี่เขตที่ไมวาเปดตัวโปรเจ็กต ไหนก็มักจะขายหมดเกลี้ยงอยางรวดเร็วติดตอกันมาหลายป ยังมีความตองการใน ตลาด ที่มองเห็นอนาคตอันสดใสและจับตองไดของเขตนี้อยูคะ ถาไหนๆ สนใจในบริสเบนแลว เพื่อนๆ ทานใดที่อยากมาดูสถานที่จริง มาเห็นกับตา ตนเองวาบริสเบนเปนยังไง และ เขตSouth Brisbaneมันมีอนาคตดีจริงอยางที่เจี๊ยบ เลาหรือไม? เจี๊ยบมีโปรโมชันพิเศษนำเสนอคะ หากเพื่อนๆ ไมอยูบริสเบน แตตัดสินใจบินมาจากเมืองใดก็ได ในออสเตรเลียเพื่อมา ทัวรสำรวจบริสเบนกันกับเจี๊ยบแลวตัดสินใจเซ็นสัญญาซื้ออสังหาริมทรัพยกับเจี๊ยบ เจีย๊ บยินดีขอชวยเหลือจายคืนคาตัว๋ เครือ่ งบินชดเชยใหในวงเงินรวมแลวไมเกิน $500 คะ ซึ่งในรายละเอียดของโปรโมชันนี้ ขอใหโทรหรือติดตอสอบถาม กับเจี๊ยบโดยตรง กอนนะคะเพื่อรับทราบและตกลงกันในรายละเอียด ทั้งหมดกอน ซึ่งนี่เปนอีกสิ่งหนึ่งที่เจี๊ยบ อยากคืนกำไรเปนการชวยเหลือ ใหพี่นองคน ไทยในออสเตรเลียที่อยูตางเมืองไดรับประโยชนและควาโอกาสใน South Brisbane ไวจริงๆ ขอเอาประสบการณการทำงานในวงการอสังหาริมทรัพยมาหลายปของเจี๊ยบการันตี คะวาโอกาสในอนาคตอยูที่นี่แลวคะ พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ
JB Palmer (Jeab): Project Marketing Division Homestates Realty The London Offices, Suite 9c, 30 Florence St, Teneriffe QLD 4005 Tel: 1300 88 66 08 Mob: 0431 535 240 Email: jb.palmer@homestates.com.au
Working closely in the real estate industry for many years, JB has established herself as the driving force behind property investment strategy in Australia and aims to expand her networks on a global scale. JB’s strong attention to detail and resources were achieved during her time at the Queensland University of Technology, where she successfully completed hers Masters degree in Integrated Marketing Communications. JB is a regular writer featured in Thai publications, assisting the local community with her witty and personable columns, and astute property investment strategies for strong wealth creation. JB is not only known for her smarts, but also for her eccentric personality, which is highly contagious. JB is an avid property investor herself, and has a passion to help ordinary people to invest wisely and secure bright futures for their families in Australia. To JB, it’s more than just a client, it’s family. 16 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
BRISBANE AIR PORT
Call
(07) 3268 5146 or (07) 3172 0259
Open 7 days 7 nights Monday - Sunday Dinner 5pm til Late Lunch 11.00 - 3.00pm
4/5 Zillman Road, Hendra, Brisbane, Queensland, Australia
Hugthailand www.tourismthailand.org/au
อนุมัติวงเงินสินเชื่อเพื่อจัดซื้ออุปกรณ เพื่อเริ่มทำธุรกิจไดทันที เพิ่งไดเอบีเอ็น มาใหม?
ไมมีเงินทุน?
และอยาก เริ่มตน หรือกลับไปทำธุรกิจ เปนของตัวเอง?
บริการสินเชือ ่ และเช่าซือ ้ อุปกรณ์ สำหรับธุรกิจตัง้ แต่รา้ นอาหาร ร้านกาแฟ ก่อสร้าง ฟาร์มปลูกผัก ฯลฯ เราช่วยให้คณ ุ เริม ่ ต้นธุรกิจได้อย่าง สะดวก ง่ายดาย และรวดเร็ว
Avago finance offers commercial lease finance to all businesses. Our mission is to provide flexible finance for small to medium businesses who want to grow their business. We provide finance solutions to new ABN holders. No financials or Directors Guarantees required for most loans. We offer easy finance with same day approval, whether you are; • Starting a new business • Re starting a business • Expanding your existing business • Need equipment to win that Tender • Looking to trial a service and don’t want to pay costs up front Lease finance is 100% tax deductible, less risk than bank loans and frees up cash flow. We have access to a large range of suppliers and dealers to get you the best deals!
New ABN Holder? No Financials? and want to start or get back into running your own Business ? Easy unsecured equipment finance within 24hours (No directors guarantee required) We finance all new and used Construction equipment, Light Commercial, farming, trucks and more! Lease finance is 100% tax deductible, and frees up cash flow. Short term (12month) lease finance!
Call today for more information:
Audy Petchngam : 0403 222 306 Kevin Freeman : 0408 121 000 Email: info@avagofinance.com.au
µÔ´µÍ Audy Petchngam (ÍÍ) â·ÃÈѾ·: 0403 222 306 ÍÕàÁÅ: info@avagofinance.com.au
Aroi CAFĂˆ
Aroi Cafe Fresh Coffee Thai Cuisine Opening soon A new cafe with Thai Cuisine in the heart of West End 156 Boundary St, West End
We are the professional Thai massage & beauty salon in the heart of Toowong and Fortitude Valley. We have highly qualified therapists providing exclusive treatments and excellent services. From the moment you step into our salon, you can feel the Thai style experience, relax, refresh the mind and revitalizing the body seems to be what everyone needs nowadays. After a hectic schedule, most people have a busy lifestyle and a stressful day. At Alissa Thai Massage & Beauty, we promote good health and emotional well being, fix the knots, soothe the muscles, improve circulation, release the energy flow and make you feel rejuvenated. We use organic massage oils and luxurious Payot products. Our broad customer base include expatriates, office workers, housewives, university students as well as foreign customers who come from other states and territories of Australia to visit us.
OPEN 7 DAYS
ราคานวดพิเศษ สำหรับคนไทย $60/ชม.
HOT DEAL
receive
10% discount
1st floor 201 Wickham St. Fortitude Valley 10am-10pm (Mon-Sun) Mobile : 0411 569 511
*on presentation of your card
1B/39 Sherwood St. Toowong 9am-8pm (Mon-Sat) 10am-5pm (Sun) Mobile : 0423 936 641
E-mail : alissa.tmb@gmail.com www.alissatmb.com.au
Like us Alissa Thai Massage & Beauty
เรื่อง: ศุภลักษณ สนธิชัย
Old Tales Retold
เรื่องเหลือเชื่อ นออสเตรเลียคุยวาประเทศของเขาเปนประเทศเดียวในโลกซึ่งไม เหมือนใครเลย ออสเตรเลียเปนดินแดนของสัตวแปลกๆที่หาไมพบ ในประเทศอื่นๆ เชน จิงโจและนกอีมูที่กลายมาเปนสวนสำคัญของ ตราแผนดินประเทศออสเตรเลีย ประเทศอันกวางใหญไพศาลที่มีทั้งรองรอยของ อารยธรรมโบราณเกาแกนับแสนป ผสมผสานกับวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร สมัยใหมเจี๊ยบ ซึ่งพบไดทั่วไปในเมืองใหญ เชน นครซิดนี่ยและนครเมลเบิรน สภาพภูมิอากาศก็แปลกแยกแตกตางกันไปตามสภาพภูมิประเทศ ในขณะที่คน ในรัฐควีนสแลนด ซึ่งอยูทางตอนเหนือของประเทศรอนแทบตาย คนที่อยูซิดนี่ย ตองใสเสือ้ โอเวอรโคตเดินทางคางสัน่ ฝาลมหนาวไปทำงาน และในขณะทีช่ าวเมือง อเดเลดทางตอนใตของออสเตรเลีย กำลังเพลิดเพลินกับการเก็บองุนมาทำไวน ชาวเมืองอลิซสปริงส ซึง่ อยูต รงกลางประเทศตองผจญกับความแหงแลงของอากาศ แบบทะเลทรายอดอยาก จนถึงขนาดตองขุดแยกินเปนอาหารประทังชีวิตใหอยู รอดไปวันหนึ่งๆนี่คือออสเตรเลียที่คนออสซี่ภูมิใจนักหนาวาประเทศของเขาเปน ประเทศที่มีทุกฤดูกาลในขณะเดียวกัน
เมื่อป ค.ศ. 1848 ลุดวิก ลิคชฮารท ชาวเยอรมันเปนหัวหนาคณะพานักสำรวจ เจ็ดคนออกเดินทางจากรัฐควีนสแลนด สำรวจเสนทางไปยังชายฝงทะเลของ ออสเตรเลียตะวันตก ลุกวิกตั้งใจจะใชเวลาในการเดินทางสำรวจครั้งนี้นานเปน เวลาสองป สมัยครั้งกระโนนการคนหาเสนทางเดินทางบกจากรัฐหนึ่งไปยังรัฐ หนึ่ง เปนเรื่องยากเย็นแสนเข็ญ แตก็ทาทายใหคนมุมานะพยายาม เพราะการที่ ตองเสียเวลาเดินทางระหวางรัฐตอรัฐ โดยจะตองลัดเลาะเลียบไปทางชายฝง ทะเล ทุกครั้งนั้น สิ้นเปลืองเวลาและคาใชจายมาก ถาหากวามีการคนพบเสนทางเดิน ตัดผานทีร่ าบตอนกลางของประเทศไดสำเร็จละก็ นับวาเปนความสำเร็จทีย่ ง่ิ ใหญ ทีเดียว
มารค ทะเวน เขียนถึงออสเตรเลียวา “ประวัติศาสตรของออสเตรเลียไมเหมือน ประวัติศาสตรของประเทศใดๆในโลก ประวัติศาสตรของประเทศนี้งดงามพิสุทธิ์ บางตอนก็ตื่นเตนเต็มไปดวยเรื่องผจญภัย บางตอนก็เหลือเชื่อบางตอนก็ขัดแยง กันอยางเอาเปนเอาตาย แตสิ่งที่เกิดขึ้นแลวนี้เปนความจริงซึ่งจารึกเอาไวอยาง สวยงามในแตละบรรทัดของประวัติศาสตรประเทศออสเตรเลีย”
ลุดวิก ลิคชฮารท พาสมัครพรรคพวกออกเดินทางหายเงียบไปถึงสามป ขาดการ ติดตอเหมือนกับวาทั้งคณะไดหายสาบสูญไปจากโลกนี้แลวยังงั้นคนที่อยูขางหลัง เริ่มเปนหวง ยิ่งคอยนานเทาใดก็คอยหาย ไมมีวี่แววแมกระทั่งขาวคราวสักชิ้น หนึ่งกลับมา หลังจากคณะสำรวจของลุดวิกหายสูญไปแลว ไดมีคณะสำรวจคณะ อื่นออกไปทำงานในลักษณะเดียวกันอีกหลายคณะ เวลาผานไปหกปก็ยังไมมีใคร ไดขาวคราวของลุดวิก ลิคชฮารทกับคณะ แมแตซากศพก็ไมพบพวกเขาสาบสูญ ไปจากออสเตรเลียอยางไรรองรอย และแลวตอมาก็มีเรื่องเลาลือเลาขานกันใน รัฐควีนสแลนดวา มี “คนปาผิวขาว” คนหนึง่ ใชชวี ติ เยีย่ งคนปาอยูก บั พวกอะบอริจนิ ชาวปาพื้นเมืองดั้งเดิม ซึ่งอาศัยอยูในทวีปออสเตรเลียมานานนับพันป กอนที่ชน ผิวขาวจะเขายึดครองตั้งเปนประเทศออสเตรเลีย
การคนพบประเทศอันกวางใหญไพศาล ซึ่งกินอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นที่ทั้ง หมดของทวีป แมจะไดชอ่ื วาเปนทวีปทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ในโลก ออสเตรเลียก็ยงั มีอาณาเขต มหาศาลถึงขนาดที่ยังมีพื้นที่หลายสวนที่ยังสำรวจไมทั่วถึงอยูมาก
22 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
จากแผนที่ของประเทศออสเตรเลีย จะเห็นวารัฐควีนสแลนดอยูคอนไปทางเหนือ สวนรัฐออสเตรเลียตะวันตกนั้นอยูในทิศตรงกันขาม ถาจะหาเสนทางบกจาก ควีนสแลนดไปยังออสเตรเลียตะวันตกแลวละก็ หมายถึงวาคณะสำรวจจะตอง สำรวจพื้นที่จากฝงหนึ่งของทวีปผานใจกลางทวีปไปยังอีกฝงหนึ่งของทวีป
ในปค.ศ.1871 ยีส่ บิ สามปตอ มา นักโทษคนหนึง่ ชือ่ แอนดรูว ฮูม ซึง่ ตองโทษจำคุก สิบปฐานขโมยมา ไดเขียนถึงพัสดีเรือนจำพารามัตตาโกล เลาวาเมือ่ หาปทแ่ี ลวมา เขาพบตาแกผิวขาวหนวดเฟมคนหนึ่ง ที่ในปารัฐควีนสแลนด อางวาเปนคนเดียว ในคณะของลุดวิก ลิคชฮารท ที่รอดตายจากการสำรวจครั้งนั้น ตาแกคนนี้คุยวา ชาวอะบอริจิ้น ชวยชีวิตเขาไวและยอมรับใหเขาอยูในเผา อีกทั้งยังหาเมียใหเขา ดวย ตาแกแกมีความสุขอยูกับเมียสาวชาวอะบอริจิน จนไมคิดจะกลับมาสูโลก ของคนผิวขาวอีกแลว สาระสำคัญของจดหมายที่นักโทษแอนดรูวเขียนขึ้นก็คือ เบาะแสที่ตาแกคุยใหฟงวาแกยังเก็บ “หลักฐาน” ของคณะสำรวจที่ลมหายตาย จากไปแลวไวดวย ผูเชี่ยวชาญในการสำรวจไปพบแอนดรูว ฮูม ในคุกหลังจากไดซักถามเขาจนช่ำใจ แลว ก็เขียนรายงานวาเรื่องที่ฮูมเลามาในจดหมายนั้นเปนความจริง นักโทษจำ คุกสิบปก็เลยไดรับการอภัยโทษชั่วคราว โดยมีเงื่อนไขวาแอนดรูว ฮูม จะตอง เดินทางไปติดตามการคนพาตาแกผิวขาวคนนั้นใหพบ ฮูมออกเดินทางทันทีที่เตรียมตัวพรอม เขารอนเรพเนจรไปคนเดียวในดินแดน เปลาเปลีย่ ว สิบแปดเดือนผานไป แอนดรูว ฮูม ก็ไปปรากฏตัวทีท่ ท่ี ำการไปรษณีย โทรเลข ณ ตำบลแมน้ำโรเปอร เขาสงขาวมาวา เขาพบตาแกคนนั้นแลว ตาแก คนนั้นชื่ออดอลฟ คลัสเสน ชาวเยอรมันลูกพี่ลูกนองของลิคชฮารท เปนคนหนึ่ง ที่รวมไปกับคณะสำรวจ ฮูมถามคลัสเสนถึงคนอื่นๆ คลัสเสนเลาวาลิคชฮารทถูก พวกนั้นฆาตาย ตัวเขาหนีรอดมาได แตก็หลงปาอยูนานจนกระทั่งไปพบพวก อะบอริจนิ เขาอยูก บั คนปาเผาอะบอริจนิ มานานจนลืมไปแลววา คนผิวขาวทีศ่ วิ ไิ ลซนน้ั เขาอยูกินกันอยางไร คลัสเสนบอกดวยวาเขาขอตายอยูกับพวกอะบอริจินในปา นี่แหละ แลวคลัสเสนก็มอบถุงยามใบหนึ่งใหฮูม ในนั้นมีบันทึกการเดินทางที่ ลิคชฮารทเขียนขึ้น มีกลองสองทางไกลและนาิกาเรือนทอง 1 เรือน พนักงานสงโทรเลข ณ ที่ทำการไปรษณียแมน้ำโรเปอรสนใจเรื่องนี้มาก ตลอด เวลาเขาสงโทรเลขเรือ่ งราวทีฮ่ มู คนพบไปยังซิดนีย่ แรนเดล นัคกี้ พนักงานไปรษณีย หนุมนอยตื่นเตนมาก เขาขอดูถุงยามที่แอนดรูว ฮูม ไดมาจากตาแกคลัสเสนขอ ดูของตางๆที่ฮูมบอกไปในโทรเลข แตฮูมไมยอมใหดู เขาบอกวาไดสัญญาไวกับ ตาแกคลัสเสนวาจะไมเปดถุงยามใบนี้ใหใครจนกวาจะถึงซิดนี่ย แอนดรูว ฮูม ออกเดินทางตอ มุงไปยังเมืองดารวิน เพื่อหาทางไปขึ้นเรือกลับซิดนี่ย เมื่อเรือที่ แอนดรูว ฮูม โดยสารออกจากดารวินไปถึงซิดนี่ย พวกนักขาวก็ไปรอเขาอยูเต็ม ทาเรือ เจาหนาที่ของรัฐบาลที่เกี่ยวของกับเรื่องนี้ก็ไปรอฮูมอยูดวย ฮูมยืดอกให ขาวเยี่ยงบุรุษที่กลับมาจากสงคราม แตพอเขาบอกวาถุงยามพรอมบันทึกของ ลิคชฮารทกับกลองสองทางไกล และนาิกาเรือนทองหายไป พวกนักขาวและ เจาหนาที่บานเมืองก็ผิดหวังไปตามๆกัน พวกนั้นไมเชื่อหรอกวาฮูมทำหายขณะ เดินทาง แอนดรูว ฮูม เลาวามีคนขโมยเอาถุงยามสำคัญนั้นไป ขณะที่เขาขึ้นบก ทีบ่ ริสเบนตอนทีเ่ รือไปจอดพักทีน่ น่ั พวกหนังสือพิมพเริม่ ตัง้ ขอสงสัยวาฮูมจะเลน ตลกเสียแลว แตฮูมสบถสาบานวาเขาพูดความจริง เขาเสนอวาถามีคนออกทุน ใหเขาเดินทางใหม เขานี่แหละจะเปนคนพาคนที่สนใจเรื่องนี้ไปพบกับอดอลฟ คลัสเสน เจาหนาที่ของรัฐบาลหมดหนทางที่จะพิสูจนความจริงในเรื่องที่ฮูมไป ประสบมา หนังสือพิมพก็ไมเชื่อขี้หนาหนุมขี้คุกคนนี้อีกแลว แตฮูมก็ยังยืนยันวา เขาไมไดโกหกหรือวาปนน้ำเปนตัวอะไรทำนองนั้น นอกจากนี้เขายังปาวประกาศ หาคนสนับสนุนใหเงินทุนเขาเดินทางไปพิสูจนครั้งใหมอีกดวย เรื่องการสำรวจของลุดวิก ลิคชฮารท นี้ เปนเรื่องดังที่สุดในสมัยนั้น มีคนสนใจ กันมาก ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน การสูญหายไปอยางลึกลับของคณะสำรวจ ลิคชฮารทเปนความลับดำมืดที่ทุกคนอยากรูขอเท็จจริง ดังนั้นคำประกาศของฮูม จึงไดรับการสนองตอบในไมชา ลวงเขาเดือนกรกฎาคมของปที่เขากลับมา แอนดรูว ฮูม ก็เตรียมตัวเดินทางอีกครัง้ หนึง่ คราวนีเ้ ขามีเพือ่ นรวมเดินทางไปดวย สองคน คนหนึ่งชื่อ โอ’เฮีย ทหารผานศึกผูไดรับเหนียญกลาหาญมาจากสมรภูมิ และเพิ่งเดินทางมาเหยียบแผนดินออสเตรเลียไดไมนานนัก อีกคนชื่อ ลูอิส ทอมพสัน คนขายเครื่องดนตรีเรรอนผูรับจางปรับเสียงเปยโนดวย คณะของฮูมออกเดินทางไปยังเกรแฮมส ครีค ทางตะวันตกเฉียงใตของควีนสแลนด
จากนั้นก็เดินทางมุงไปสูคูเปอรส ครีค การที่คณะสำรวจยึดเสนทางมุงไปตาม ครีคหรือลำน้ำนั้น ก็เพื่อจะอาศัยน้ำในลำธารเล็กๆดื่มกินไปตลอดทางแตโชคราย เหลือเกินทีว่ า ปนน้ั เปนปทฝ่ี นแลงขนาดหนัก แหลงน้ำทุกแหลงไมวา จะเปนลำธาร ธารน้ำ หรือบอธรรมชาติลวนแหงผากทุกแหลง ในไมชาไมนาน เมื่อน้ำดื่มที่เอา ติดตัวไปหมดลงและไมมที างหาแหลงน้ำธรรมชาติพบ คณะสำรวจซึง่ ประกอบดวย แอนดรูว ฮูม โอ’เฮีย และลูอิส ทอมพสัน ก็มีอาการย่ำแยไปตามๆกัน อดน้ำได สองวันเทานั้น โอ’เฮีย ก็ตกมาวันละหลายๆครั้ง สวนฮูมนั้นเกิดอาการนัยนตา เจ็บ เพราะฝุนละอองสกปรกเขาตาเกือบบอดอยูแลว เปนอันวาเหลือนักดนตรี ลูอิส ทอมพสัน คนเดียวเทานั้นที่ยังแข็งแรงและอยูในสภาพที่สมบูรณกวาเขา เพื่อน ฮูม ซึ่งเปนหัวหนาจึงสั่งใหทอมพสันกลับไปเอาน้ำที่เกรแฮม ครีค ลูอสิ ทอมพสนั ใชเวลาเดินทางกลับไป เกรแฮม ครีคถึงสามวัน เขาจึงไปถึงลำธารน้ำที่ มีแตโคลนตม แตถึงกระนั้นเขาก็ตะกรุมตะกรามดื้มน้ำโคลนเขาไป เพราะอดน้ำ ขนาดหนักมาแลว หลังจากสวาปามน้ำโคลนเขาไปจนทองกาง ทอมพสันก็เกิด อาการปนปวนไมสบายขึ้นมากะทันหัน ในที่สุดก็เปนลมหมดสติไป พอทอมพสันรูสึกตัวขึ้นมาอีกครั้ง เขาก็จำทางไมไดเลย เขาจำไดวาทิ้งเพื่อนอีก สองคนไวที่ไหน ทั้งไมรูดวยวาตนจะเดินทางจากไหนไปไหน ปาเหมือนกันหมด ไมวาจะเปนตนไม ภูเขา หรือลำธาร ทอมพสันหมดสภาพของการเปนนักสำรวจ โดยสิน้ เชิง ตอนนีเ้ ขากลายเปนคนหลงปาไปแลว แตเขาก็ยงั ขีม่ า ได ทอมพสนั ขีม่ า เดินกะโผกกะเผลกเหมือนมาขาเป ซมซานไปอยางไมรจู ดุ หมาย ออนเพลียอดขาว อดน้ำทัง้ มาทัง้ คน เดินทางเปะปะไปในราวปา เทีย่ วตามหาเพือ่ นนักสำรวจอีกสองคน ลูอสิ ทอมพสนั ฟุบไปบนหลังมาซึง่ พาเขาเตลิดเปดเปงไปอยางไมรทู ศิ ทาง และใน สภาพเชนนี้เขาไปถึงคอกปศุสัตวน็อคตุงกา ดานสุดทายของชาวผิวขาวซึ่งออกไป ตั้งอยูไกลที่สุดของรัฐควีนสแลนด คอกปศุสัตวนี้อยูหางจากคูเปอรสครีคถึงกวา รอยไมล เมื่อมีคนไปพบทอมพสันนั้น เขาพลัดตกลงจากอานมา ริมฝปากไหม เกรียม ลิ้นพองบวมคันปาก พูดอะไรไมไดเลย จนกระทั่งคนงานที่คอกวัวเอา ขนมปงทีแ่ ชในน้ำชาจนนิม่ ปอนเขาทีละคำๆ จนกระทัง่ ทอมพสนั สามารถเคีย้ งเอง ไดนั่นแหละเขาจึงเปดปากเลาถึงเหตุการณที่เขาประสบมาใหทุกคนฟงได พอพักฟนจนคอยยังชั่วแลว วันรุงขึ้นทอมพสันก็พาคนที่คอกวัวกลุมหนึ่งออกไป คนหาฮูมกับโอ’เฮีย แตพวกเขาไปถึงชาไป จึงไดพบคนทั้งสองเปนศพไปแลว กอนตายฮูมยิงมาและกินเลือดมาแทนน้ำ แตเลือดจากมาชวยพยุงชีวิตของเขา ไดเพียงสองวันเทานั้น คนขายเครื่องดนตรี ลูอิส ทอมพสัน กลับจากการผจญภัยครั้งยิ่งใหญในชีวิตมา ถึงซิดนี่ย เรื่องเศราที่เขาประสบมาและเปดเผยตอสาธารณชนทำใหขอกลาวหา วาแอนดรูว ฮูม เลาเรื่องโกหกก็คอยๆเงียบไป จะอยางก็ตามลูอิส ทอมพสัน ยืนยันวาเขาเชื่อสนิทใจวาแอนดรูว ฮูม ไดไปพบอดอลฟ คลัสเสน มาแลวจริงๆ และทอมพสันก็พรอมแลวที่จะออกไปคนหาตัวคลัสเสนอีกครั้งหนึ่งกับใครก็ไดที่ สนใจเรื่องนี้และประสงคจะไปกับเขา จนปานนี้เรื่องของคณะสำรวจลุดวิก ลิคชฮารท ที่สูญหายไปไรรองรอยก็ยังเปน ความลับดำมืด ทาทายใครตอใครใหไปพิสูจน ใครๆก็อยากรูวาคณะสำรวจเสน ทางทางบกชุดนี้มีชะตากรรมเปนเชนไร มีอะไรเกิดขึ้นกับลิคชฮารท? แอนดรูว ฮูม ไดไปพบอดอลฟ คลัสเสน คนปาผิวขาว ญาติผูรวมเดินทางไปกับลิคชฮารท จริงหรือไม ทั้งนี้ทั้งนั้น เราไมมีทางรูไดเลยวา แอนดรูว ฮูม ไดเปดรายการแหกตาคนทั้ง ประเทศหรือเปลา และเขาทำเชนนั้นเพื่ออะไร แตเราก็ชักสงสัยตงิดๆแลววาฮูม เลือกผูรวมทางไดเหมาะสมแลวหรือถึงไดพากันเอาชีวิตไปทิ้งยังงั้น มารค ทะเวน นักเขียนชื่อดังของอเมริกาเองก็ยังเขียนเอาไวเลยวาประวัติศาสตร บางตอนของออสเตรเลียเปนเรื่องที่เหลือเชื่อ แตมันก็เกิดขึ้นแลวจริงๆใน ประเทศออสเตรเลีย
23
True story
อุทาหรณ...ชีวิต Story by Chaisuda Gaylard
ไมรูน้ำตาเจากรรม มันมาจากไหน ไหลออกมาดัง สายธารเชี่ยว
à¡ÕèÂǡѺ¼ÙŒà¢Õ¹ ¨Ò¡»Ò¡¼ÙŒà¢Õ¹ ©ÒÂÊØ´Ò à¡ËÅÒ´
ขอเรียนทานผูอานวา ดิฉันเปนเพียงนักเขียนสมัครเลน เรียนจบแคชั้น ประถม ไมเคยมีประสบการณดานงานเขียนใดๆมากอน ปญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต กลายเปนแรงผลักดันและแรงบันดาลใจใหดิฉัน ใชเปนโอกาสเริ่มงานเขียนขึ้นเปนชิ้นแรกในชีวิต หลายทานอาจสงสัยวา ดิฉันมีจุดประสงคสิ่งใด ทำไมคนจบชั้นประถม จึงอยากจะเปนนักเขียน นักละ? แนนอนวาทุกเรื่องราวยอมมีเหตุผล และมีที่มาที่ไป ขอสรุปงายๆในตอน นี้วาชะตาชีวิตลิขิตใหเปนแบบนี้ บวกกับความโชคดีที่มาพรอมกับความ โชคราย ดิฉนั จึงกลายเปนนักเขียนจำเปน สำนวนและศัพทอาจไมไพเราะ เสนาะอารมณ แตดิฉันก็เขียนออกมาจากใจและความรูสึกที่มี ทำไดเทา ที่จะทำ และจะทำใหดีที่สุดเทาที่จะทำไดคะ
าพแหงความเจ็บปวด ความทุกขทรมานและความทรงจำในอดีต กลับมาหาดิฉนั อยางหลีกเลีย่ งไมได ถามตนเองวาทำไมจึงโชคราย เพียงนี้ เหมือนเพือ่ นในอดีตเขามาหา ทราบขาวคราว แลวเดินจาก ไป วันนั้นรูสึกแปลกๆ นี่หรือเพื่อน ทำไมเขาไมอยูชวยซับน้ำตาให เรา ทำไมจากไป แวบนึงก็คิดไปวา เขามีหนาที่ตองรับผิดชอบ ไมเปนไรรองไห ตอดีกวา เดินเขาหองน้ำมองใบหนาตนเองในกระจก ไมรูน้ำตาเจากรรมมันมา จากไหน ไหลออกมาดังสายธารเชี่ยว รอสามี เพื่อนแทเพียงคนเดียวที่พึ่งไดใน ยามนั้น กลับมา ขาวการเปนมะเร็งแพรสะพัด หลายคนสงกำลังใจทางเฟซบุค ดิฉันโพสตบอก เพื่อนๆในกลุมชุมชนคนไทยซึ่งก็ไดการตอบรับและสงกำลังใจมาอยางลนหลาม ในเวลาเดียวกันก็เทียวไปเทียวมาอยูร.พตามกระบวนขั้นตอนการรักษา ขณะที่ เผชิญปญหากับโรคราย ปญหาสวนตัวก็เริ่มประดังเขามา อดีตเพื่อนสนิทที่เคย กินเทีย่ วนอน เคยงอเคยงอนกันมาในอดีต ก็พาสรวลเสเฮฮาเพือ่ ใหคลายเครียด ทำดีกับเราทุกอยาง แสดงใหเห็นถึงความรักและความมีน้ำใจ แสดงจนคนโงๆ อยางดิฉันตามไมทัน
จุดประสงคสำคัญของงานเขียนชิ้นนี้ มีความเกี่ยวพันธฉันท ความรัก ระหวางแมกับลูกซึ่งก็มีเรื่องราวนาประทับใจเกิดขึ้นระหวางดิฉันและบุตร ชายเพียงคนเดียว ดิฉันขอเก็บเรื่องราวของเราไวนำเสนอในตอนตอไป ในหนังสือที่มีชื่อวา..เอารอยยิ้มของฉันคืนมา..ซึ่งจะเปนหนังสือเลมแรกที่ ดิฉันทุมแรงกายและแรงใจเขียนเพื่อเปนของขวัญสำหรับลูก และคงเปน เพียงอนุสรณแหงความรักเพียงชิ้นเดียว ที่ดิฉันสามารถและจะพยายาม ตั้งใจทำใหลูกกอนที่เวลาอันมีคาของดิฉันอาจจะหมดไปได ตอนนี้กำลัง ดำเนินงานอยูและหวังวา คงเขียนจบทันกอนวันเกิดลูก ภายในเวลาอีก สองปขางหนา
ตอนนั้นไมรูหรอกวาที่แท มันคือการสรางภาพใหเราตายใจ ใหเชื่อวา เขาเปน คนดี กวาจะรูอะไรเปนอะไร เชฟฉาย ฉายาที่เขาตั้งให ก็ถูกตมจนสุก ทั้งถูก หลอกใหดาคนนั้น ดาคนนี้ เราเองก็ไมดี เชื่อคนงาย ใครไมเจอกับตนก็คงไม เขาใจ เชื่อวาหลายคนก็คงผานประสบการณถูกเพื่อนแทงขางหลังกันมาบาง และคงรูวา ฉากการแทงขางหลังนั้นเขาทำกันอยางไร ทั้งปญหาเรื่องเพื่อนและ โรคราย ดิฉนั กลายเปนนางยักษไปไดยไมรตู วั อารมณขนุ มัว ขึน้ ลงราวกับอากาศ ที่คาดเดาไมได อดีตเพื่อนก็ชางใจราย ไดจังหวะ นำเรื่องใหเราดา แถมมีการ อัดเทปไวเปนหลักฐาน เกิดมาไมเคยพานพบ คนแบบนี้ก็มีในโลก กลาวไปก็ เหมือนเอาเข็มมาทิ่มแทงใจ อธิบายยังไงก็คงไมมีวันจบ เรื่องราวมันซับซอน ซอนเงื่อน ยิ่งอธิบายเหมือนเปนการแกตัว
อีกจุดประสงคหนึ่ง ก็เพื่อเปนการเผยแพร ใหเปนอุทาหรณและคติ เตือนใจ และเพื่อเปนแรงบันดาลใจใหกับทุกๆคน ดิฉันหวังวา เรื่องราว ที่นำมาเสนอตอไปนี้คงมีสวนชวยหรือเปนสวนหนึ่งของแรงกระตุน ที่ สามารถชวยใหทาน รูสึกมีกำลังใจที่จะลุกขึ้นและรับมือกับปญหาตางๆได และหวังอีกวาคงเปนสาระประโยชนในการดำเนินชีวิตประจำวันของทาน ไดอยางมีประสิธภิ าพและมีความสุขตลอดไปเชนกัน ดวยความปราถณาดี..
สรุปเราไมดี เหมือนคำโบราณไดวาไว คบเพื่อนผิดคิดจนตัวตาย กอรปกับอดีต ของเราที่ดูจะมืดมน ระคนความชั่วมัวหมอง คนจึงมองแตจุดสีดำ คร่ำเครง มองแตจุดเสียๆไมสนใจวาเหตุผลจะเปนอยางไร หลายคนในสังคมก็คงจะพอ รูเรื่องราวและตีความกันไป และคงขึ้นอยูกับวา อดีตเพื่อนจะเอาไปโฆษณา แบบไหน ใหเครดิตหรือทำลายชือ่ เสียงก็ไมอาจเดาได อีกหนึง่ บทเรียนราคาแพง ที่ตองจำใหขึ้นใจ วาจะคบใครใหดูที่สันดาน
24
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
แมจะเจ็บกระดองใจแตก็เปนบทเรียนที่ดี นี่แหละบททดสอบจากเบื้องบน วา ความอดทนของเรามีคาเทาไหร อยางนอยก็ทำให เห็นลึกซึ้งถึงใจคน วาจริงๆ แลวมันไมใชสีแดง หากแตเปนสีดำและบอดมืด ดิฉันไมใชคนดีเลิศเลอ แตก็ ไมใชคนใจราย ทีต่ ง้ั ทาคอยจะทำลายผูอ น่ื ใหเกิดความเสียใจหรือหวังผลประโยชน ทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ กิดขึน้ เพราะมีเหตุผลของมัน ไมมใี ครเกิดมาเพือ่ ตัง้ ใจเปนคนไมดี นอกเสียจากคนๆนั้น จะเลวโดยกมลสันดาน
อยางนี้สิชีวิตกรู
เคยคิดวาบางครั้งชีวิตไมมีทางเลือก นั่นไมใชคำตอบที่ถูก เราทุกคนตางมีทาง เลือก แตจะเลือกถูกหรือผิดนั้นเปนอีกเรื่องนึง ในบางครั้ง ทางเลือกก็ดูจะหมิ่น เหมราวกับควาทอนไม เล็กๆตอนเรากำลังจะจมน้ำ ความาก็ไมอาจทำใหเราลอย ตัวอยูเหนือน้ำได ไมควาเลย เราก็คงจมดิ่งหรือไหลไปตามกระแสน้ำที่เชี่ยวแรง บางทีทอ นไมเล็กๆก็ยงั ดีกวาไมมอี ะไรเลย ตัดสินใจ เซ็นรับรองยอมผาครัง้ ทีส่ อง ผีซ้ำด้ำพลอย กอนผาตัดเพียงสองอาทิตย สะบัดขาอีทาไหนก็ไมรู หัวเขาซน แมจะตองเสียความรูสึกใตวงแขนไปตลอดชีวิตก็ตาม เดินไมได ตองใชไมเทาพยุง หมอวินิจฉัยคราวๆวา หากเสนเอ็นหัวเขาขาด ตองทำการผาตัดและเยียวยาใหหาย จึงจะผาตัดเตานมได โอ...แมเจา นี่มัน หมอดึงตอมน้ำเหลืองออกไป 19 ตอม รวมกับสามตอมครัง้ แรก ทัง้ หมด 22 ตอม กรรมเวรอะไร ดิฉันคิด บททดสอบรอบแรกผานไป สวรรคใหโอกาสเพราะเรา หลังจากนำไปตรวจไมพบเซลลมะเร็งสักตอมเดียว นับวายังโชคดีที่โชคราย คงตอบโจทนถกู หลังจากเอกเรยหมอบอกวา แคเสนยึดไมถงึ กับขาด เฮอโลงอก คือการเสียความรูสึกไตวงแขนตลอดชีวิตอยางฟรีๆ แตก็ไมใชความผิดของหมอ ไปที! เพราะหากไมผา ถามีเซลลอยูในตอมใดตอมหนึ่ง มันก็อาจเดินทางไปเรื่อยๆ ครบกำหนดถึงวันผา ดิฉันกับสามีไปร.พ.แตเชาตรู นั่งรอคิว ผูคนเดินไปมาคน ตามแตที่ที่มะเร็งมันชอบ นั่นก็หมายถึง ชีวิตของฉายสุดาคงดับดิ้นสิ้นใจเพราะ ชรารองเสียงโอดโอย เสียงรถเข็นดังเปนจังหวะ แตไมแรงเทาเสียงของหัวใจของ โรคมะเร็งราย ที่รักรางกายของดิฉันเปนชีวิตจิตใจ การผาตัดจบไปพรอมๆกับ ฉายสุดาคนนี้ หาชํ่วโมงผานไป ทองเริ่มรองจอกๆ หิวทองกิ่วเพราะอดอาหาร การเยียวยา ที่แสนจะยาวนาน บอกไดเลยคะ วาไมใชหนทางที่งายดาย ตั้งแตเที่ยงคืน แตตองเปน ท.ทหาร อดทน เพราะเราเปนคนจนไมไดเสียคาใช จายอะไร แคคายานิดๆหนอยๆก็พอจะเสียได เวลาผานไป ถึงคิวของเรา กอน หลังผาตัดครั้งที่สอง หมอตองเจาะรูใตราวนมเพื่อเปนการถายเทน้ำเหลือง ไม ฉีดยาสลบ ผูชวยแพทย ตั้งคำถาม ตั้งแตชื่อสกุล อายุ เคยแพยาอะไรมั้ย เคย แนใจวามันชวยอะไรบาง รูแตวา ตองคอยหิ้วถุงที่มีน้ำเลือดน้ำหนองไปทั่วทุก ผาตัดตรงไหนบาง มีโลหะอะไรในรางกายมัย้ เคยฉีดยาสลบหรือเปลาและฯลฯ หนทุกแหง ฉันคงเปนนอตี้เกิรลตลอดป แซนตาจึงลงโทษ มอบมะเร็งใหเปน จากนั้น อธิบายใหฟงถึงผลขางเคียงของยาสลบ จบดวยคำถามวามีคำถามจะ ของขวัญกอนวันคริสมาสต ถามไหม ไมมีคะ เยสไออันเดอสแตนด ไอเราก็หิวเนาะ คิดในใจดวยอารมณ หงุดหงิด พากรูเขาหองผาเสียทีเถอะ กรูอยากหลับและอยากใหทุกอยางมัน ทุกอาทิตยนางพยาบาลจะมาเปลี่ยนถุงน้ำเลือดน้ำหนอง หลังจากดึงสายไตราว นมออก ซึ่งก็สรางความเจ็บจี๊ดกอนที่จะมีอิสรภาพ รอวันแผลหาย กอนจะรับ เสร็จๆไป คีโมบำบัดตอไป โรงพยาบาลกลายเปนสถานที่ๆดิฉันศึกษาหาความรู ไมวาจะ หลังลงจากเขียงเลยเที่ยงถึงเย็นคอยๆลืมตาอันพรามัว อาการผะอืดผะอมเริ่ม เปนการเจาะเลือด เอกซเรย ฉีดยาสลบ ผาตัด และอีกหลายๆขั้นตอน ศัพท กอตัว ไมตางจากตอนเปนเด็ก สิ่งที่แตกตางในครั้งนี้คือการที่ไดลืมตาและเห็น ทีใ่ ชในวงการแพทยเปนภาษาอังกฤษ ทีส่ ะสมเพิม่ พูนความรู ใหนกั เรียนประถม คนที่รักเรานั่งกุมมือและคอยปรนนิบัติอยูขางๆพรอมกับดอกไมชอใหญ ยาม อยางดิฉันเขาใจอยางเที่ยงแท นี่แหละคือผลบวกที่เกิดจากความเลวราย ทุกขยากลำบากใจ ไมมีใครที่ไหนจะดีไปกวาครอบครัว เพื่อนรอบตัวที่เคยกิน เคยเที่ยว เคยคุย ดูจะยุงจนไมมีเวลาเขียนการดหรือเดินทางมาเยี่ยม กวาแผล จะหายก็กินเวลานานนับเดือน เหมือนโดนฟาผาซ้ำแลวซ้ำเลา แตไมตายพอจะ หลังแผลใตวงแขนเริ่มเยียวยา ตอมาคือการบำบัด ยกขึ้นยกลงตามลำดับ หมอ หายใจไดอีกสักครั้ง ก็โดนอีก สั่ง วันหนึ่งขณะพยายามชวยเหลือตนเอง โดยการใสเสื้อใน แตยกแขนเทาไร ก็ยกไมขึ้น กลามเนื้อมันไมขยับ สุดทายนั่งรองไหสะอึกสะอื้น เสื้อในคาอยูใต กลับไปฟงผล หมอบอกวา ผลการผาตัดเปนไปดวยดี แตเนื่องจากแพทยตรวจ วงแขน ทีแรกคิดวาตนเองพิการและคงขยับแขนไมไดตลอดชีวิต ไมพนสามีที่ พบวา หนึ่งในสามตอมน้ำเหลืองที่ผาออกมา มีเซลลมะเร็งอยูในนั้นหนึ่งตอม ตองมาชวยใสให นั่งรองไหสะอึกสะอื้นบนพึมพำวารับไมได ยังโงน ยังงี้ แพทยจึงตองวางแผนทำการผาตัดอีกครั้ง เพื่อดึงเอาตอมน้ำเหลืองไปตรวจให แนใจ วา เซลรายตัวนี้เดินทางไปถึงไหน หมอบอกตออีกวาผลขางเคียงจากการ สามีก็ปลอบ เธอตองหายดี เชื่อผมสิ คุณเกงจะตาย ผมรักคุณนะ นั่นแหละ ผาตัดในครั้งนี้ จะทำใหดิฉันเสียความรูสึกไตวงแขนตลอดไป เออ! ใหมันได คือน้ำทิพยชโลมใจ ฮึดลุกขึ้นใสเสื้อในจนสำเร็จ ทอแทแตไมเคยทอถอย 25
Through these wide eyes
Credit http-//www.thesun.co.uk/.jpg
THE GREAT BARRIER REEF Indulge in one of the Natural Wonders of the World
aid to be the world largest living structure, composed of 900 islands and over 2,900 individual reefs the Great Barrier Reef is the world’s largest coral reef system. Covering an area of approximately 344,400 square kilometers the reef is larger than the Great Wall of China and is the only one visible from outer space, the World Heritage listed Great Barrier Reef is one of the seven natural wonders of the world. The Whitsunday region benefits from being located as the closest point off the Queensland coast to the Great Barrier Reef, which ensures it is the ideal hub from which to explore this aquatic wonderland. Stretching over 2000 kilometers in length, the Great Barrier Reef protects the Whitsunday Coast and Islands from huge ocean swells providing the region with some of the safest sailing and cruising waters in the world.
Built by billions of tiny organisms, known as coral polyps the reef supports a huge ecosystem that impacts much of the marine life around the globe. 26 SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
Photos Naphak Modhiran
Through these wide eyes
Words Naphak Modhiran & Chadapha Inthakun
Activities • Snorkeling- The easiest, cheapest and most popular way to have eye-to-eye contact with the creatures that make the Great Barrier Reef famous. Pull on your mask, put your snorkel in your mouth, your fins on your feet and head off for an aqua adventure you’ll remember for the rest of your life. The company will provide you wet suit and snorkel as well. A rope is provided to anyone who is not comfortable to swimming around.
Getting there You can get there from Airlie beach, Whitsunday by enjoying one day trip. Only one company (Cuisewhitsundays) runs the business, the cost is 100-250 (depending on options of activities). Or accessing from Cairns or Port Douglas on a catamaran cruise. You can indulge in any of the 2- to 7-day passenger cruises available. The Coral Princess is one, which sails from Cairns and Townsville. You can take a scenic flight from both Cairns and Port Douglas.
• Scuba driving- Going deeper and feeling more freedom only comes with scuba driving. It may seem a little unnatural breathing air under the waves but byron-bay.com once you’ve learnt to equalise, control your buoyancy and propel yourself around it’s simply one of the most awe-inspiring things you’ll ever do. • Dive boat- If you not confident you can just relax in the dive boat that will show you the thousands of fishes and coral. • Helicopter- Only when you take to the air can you start to understand the vastness of the Great Barrier Reef. It’s no wonder it can be seen from space! Strap yourself in, put your headphones on and take helicopter up into the air. Landing on a remote coral cay with nothing around you but the ocean and a million fish is a truly indulgent affair. The magical, naturally formed Heart Reef is located in the Whitsundays and is a sight to behold when viewed from the air. Take a seaplane or helicopter flight to admire this beautiful sight, or surprise a loved one with the ultimate romantic gesture over the region's most romantic natural icon.
27
Restaurant review
Fresh barramundi steamed and accompanied with two type of sauces. This is a star of the menu, a must try and a highly recommended dish.
Thai Tanium Mix Entree
Authentic Thai cuisine on the bayside
My ideal dining out to Thai Tanium, the Thai restaurant in Wynnum West, given its location, would have been a half-day trip walking along Wynnum Mangrove boardwalk or bayside parkland. Perhaps I would go a little further to spend some good afternoon time stroll around Manly Harbour, enjoy nice cafĂŠ and a little fish and Prawn Cakes chip as a light meal before a beautiful Thai dinner. I will also call the restaurant to book and order my favorite dishes in advance and check with them if all fresh seafood is available. Seafood is my favorite. On the day our team went to Thai Tanium for a photo shoot, Chef Golf, the head chef of the the Mushroom Salad restaurant had prepared the entire menu to be photographed and we had a pleasure of tasting every one of them afterwards. Although some of the dishes were spontaneously prepared as per request, every one of them was authentically done.
Larb Duck Salad (minced duck salad) 28
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
Chef Golf loves to welcome you to his delectable creations at Thai Tanium
We were sitting at the table in the outdoor dining area, surrounded by beautiful Thai herbs garden, enjoying great dishes on the table with the afternoon cool sea breeze, I was thinking for a moment if I was in Thailand. While writing this article, I still taste the freshness and sweet meat of the blue swimmer in the herbal chili sauce.
Fresh Blue Swimmers in herbal, lime and chilies sauce
Thai style pork ribs served with your choice of steamed vegetables or chips with Thai BBQ sauce
And then I also think about the tastiest “num jim” or the house special sauce on the grilled barramundi with banana leaves and herbs as well, I think it’s calling me back again for some more. Your ideal dinner or lunch at Thai Tanium can be different to mine. You can also go in a big group for a birthday celebration or treat it as a get together place over nice lunch or dinner. You shouldn’t just stick with seafood like me, the Massaman Lamb Shanks sounds absolutely nice by my friend’s experience. If it’s after a long day and you want to enjoy beautiful food in your own home, call them or order online for a home delivery is another option. The restaurant is only over 30 minute drives from Brisbane. Pictured here are only some of the chef specialties, if you’d like you can call to order in advance to make sure the fresh seafood is available on the day.
Thai Tanium 99 Wondall rd Wynnum West QLD For booking or home delivery call: (07) 3172 3213 Order online: http://www.thaitaniumwynnumwest.com.au/ 29
© reddangelo
Visa corner
พี่แฟรงกี้ / Skillpoint Consulting ติดตอทีมงานของ Skillpoint Consulting ไดตามนี้เลยครับ สาขาบริสเบน ออสเตรเลีย : Suite 2224, Level 22 Pipe Networks Building127 Creek Street, Brisbane QLD 4000 Contact: 07 321 8744, 0451 257 979
ขอมูลการขอวีซา และ ตรวจลงตรา ดูกาลเปลี่ยนแปลงอีกแลวนะครับฤดูใบไม รวงกำลังจะมาอีกครั้ง และถือวาเปนฤดูที่ อากาสสบายๆ ชิวๆ ทีส่ ดุ สำหรับนครบรินเบน ของเรา สวัสดีแม็กกาชีนฉบับนี้พี่แฟรงจะ มาแฉลง ชี้แจง ขยายความสำหรับวีชาประเภทอื่นๆ นอกจากวีชานักเรียน และประเทศที่คนไทยอยางเราๆ สามารถเดินทางไปโดยไมตองใชวีชานะครับ กอนอื่นเรามาทราบความหมายของเจาวีชากันกอน ... วีซา (Visa) คือเอกสารทีแ่ สดงวา บุคคลนัน้ ไดรบั อนุญาต ใหเขาสูเขตแดนหรือพื้นที่ ซึ่งไดระบุไวในวีซา นั้นภาย ในกรอบเวลาที่กำหนด เอกสารอนุญาตอาจอยูในรูป ของเอกสารสำคัญ แตโดยสวนใหญจะเปนตราประทับ อยูใ นหนังสือเดินทาง ซึง่ โดยสวนใหญจะมีเงือ่ นไขตางๆ ของวีซา แตละประเภทติดมาดวย เชน เขตพืน้ ทีท่ อ่ี นุญาต ใหเดินทางเขาไปได, อายุของ Visa,ชวงเวลาที่เดินทาง เขาออกได แมกระทัง่ อนุญาตใหเดินทางเขาออกประเทศ ไดกค่ี รัง้ เปนตนโดยทัว่ ไปแลว วีซา จะไมใหสทิ ธิตา ง ๆ กับผูที่ไดรับวีซามากนัก รวมถึงการไดรับวีซานั้นไมได เปนการรับประกันวา ผูที่ไดรับ จะสามารถเดินทาง เขาประเทศนั้นๆ ไดเสมอไป และวีซาดังกลาวนี้ สามารถถูกยกเลิกเมื่อใดก็ได นอกจากนี้ ผูมีวีซาอาจ ถูกตรวจสุขภาพเพิ่มเติมหรือตรวจสอบประวัติในชวง กอนเขาประเทศนั้นๆ ดวย โดยสรุปแลววีซา(ในความหมายดานความสัมพันธระห วางประเทศ) ก็คือ เอกสารสำคัญในการขออนุญาต เขาประเทศใดประเทศหนึ่งหรือเขตปกครองเขตใดเขต หนึ่งโดยคนที่ไมไดมีสัญชาติของประเทศนั้นๆ ในบาง ประเทศ ผูที่เปนประชากร หรือนักทองเที่ยวตางชาติ จะตองขอวีซา ประเภท Exit Visaเพื่อขออนุญาตกอน ที่จะออกจากประเทศนั้น ๆ ดวย
ประเภทของวีซา
ในหลายๆประเทศจะมีวีซาหลากหลายประเภทดวยชื่อ เรียกที่แตกตางกัน แตหากแบงตามวัตถุประสงค โดย สวนใหญจะแบงได ดังนี้ 1.Transit Visa (วีซาเปลี่ยนเครื่อง) ปกติจะมีอายุ ประมาณ 5 วัน เพื่อเปนทางผานไปยังประเทศที่ เปนจุดหมาย 2.Tourist Visa (วีซาทองเที่ยว) เพื่อจุดประสงคใน การทองเที่ยวหรือสันทนาการ โดยไมมีกิจกรรมทาง ธุรกิจมาเกี่ยวของระหวางการเดินทาง 30
SAWASDEE AUSTRALIA MAGAZINE
3.Business Visa (วีซา ธุรกิจ) เปน Visa ทีม่ ไี วเพือ่ วัตถุประสงค ในการทำการคาในประเทศนั้นๆ หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยว ของกับการทำธุรกิจ ซึ่งVisaประเภทนี้ ในบางประเทศจะมี การรวมเอาการจางงานอยางถาวรไวดวย 4.Teporary Worker Visa (วีซา ทำงาน ชัว่ คราว) เพือ่ ยืนยัน การไดรับอนุญาตใหทำงานในประเทศนั้นๆ ได โดยสวนใหญ Visaชนิดนี้ ขอไดคอนขางยาก และมีชวงเวลาการไดรับ อนุญาตที่ยาวกวา Visa ธุรกิจ 5.On-Arival Visa (วีซา ทีไ่ ดรบั เมือ่ เดินทางถึงสนามบินทีเ่ ปน จุดหมายการเดินทาง) Visa ชนิดนี้ จะไดรบั ตรงจุดตรวจคนเขาเมือง 6.Spousal Visa หรือ Partner Visa (วีซา แตงงาน) อนุญาต ใหคูแตงงาน (เพศชายหรือหญิงก็ตาม) ที่เปนคูชีวิตของประ ชากรของประเทศนั้นๆ สามารถเดินทางมาอยูดวยกันได 7.Student Visa (วีซานักเรียน) อนุญาตใหผูถือ วีซาชนิดนี้ สามารถทำการเรียนในประเทศที่ไดรับ วีซานักเรียนได ตาม เงื่อนไขที่กำหนด แตบางประเทศก็ใช วีซาทองเที่ยว แทน วีซาชนิดนี้ 8.Working Holiday Visa (วีซาทองเที่ยวและทำงาน) เปน วีซาที่อยูภายใตขอตกลงระหวางประเทศ โดยมีสาระสำคัญ คือสามารถทองเที่ยวและทำงานเพื่อหาประสบการณภายใน เงือ่ นไขทีก่ ำหนดได วีซา ประเภทนี้ โดยสวนใหญมกั เปดโอกาสให กับ บุคคลในวัยเรียนและวัยทำงานที่มีอายุไมเกินกวา 30 ป 9.Diplomatic Visa (วีซาทูต) เปนวีซาที่ออกใหกับผูที่ถือ หนังสือเดินทางทางการทูต 10.Jounalist Visa วีซาสำหรับนักเขียน หรือนักขาวจาก หนวยงานที่ไดรับการยอมรับ 11.Immigration Visa เปนวีซา อนุมตั ใิ หกบั ผูท ต่ี อ งการอพยพ ไปตัง้ ถิน่ ฐาน ซึง่ กฎเกณฑและเงือ่ นไข ขึน้ อยูก บั ประเทศนัน้ ๆ เปนผูกำหนด 12.Pensioner Visa (Retirement Visa) ออกใหในบางประเทศ สำหรับผูที่แสดงใหเห็นวามีรายไดในตางประเทศที่เพียงพอ และไมมีความประสงคที่จะทำงานแลว โดยสวนใหญ มักมี การจำกัดอายุดวย 13.Electronics Visa เปนระบบวีซาที่ใชการบันทึกขอมูลใน คอมพิวเตอร ซึง่ เชือ่ มโยงกับหมายเลขหนังสือเดินทาง บารโคด โดยจะไมมีปาย หรือ สติ๊กเกอรติดลงในหนังสือเดินทาง
รายชื่อประเทศ ที่คนไทย สามารถเดินทางไปขอตรวจลง ตรา ณ จุดตรวจคนเขาเมือง (Visa on Arrival) ได โดย ไมตองขอวีซาจากประเทศไทยไปกอน (อัพเดทลาสุด 20 กุมภาพันธ 2558 จาก กรมการกงสุล) ระยะเวลาพำนักได ไมเกินระบุในวงเล็บ สำหรับผูถือหนังสือเดินทางธรรมดา 1. อารเจนตินา (90) 15. มองโกเลีย (30) 2. บาหเรน * (14) 16. มาเลเซีย * (30) 3. บราซิล (90) 17. มัลดีฟส * (30) 4. บรูไน * (14) 18. ปานามา* (180) 5. กัมพูชา (14) 19. เปรู (90) 6. ชิลี (90) 20. ฟลิปปนส * (30) 7. เอกวาดอร * (90) 21. รัสเซีย (30) 8. จอรเจีย * (90) 22. เซเชลส * (30) 9. ฮองกง (30) 23. สิงคโปร * (30) 10. อินโดนีเซีย * (30) 24. แอฟริกาใต * (30) 11. ญี่ปุน* (15) 25. ตุรกี * (30) 12. สาธารณรัฐเกาหลี (90) 26. วานูอาตู * (90) 13. ลาว (30) 27. เวียดนาม (30) 14. มาเกา (30) 28. เมียนมาร (14) *** เฉพาะการเดินทางเขาประเทศผานทาอากาศยานนานาชาติ เทานั้น หมายเหตุ 1.) * หมายถึง ประเทศที่ประกาศยกเวนการตรวจลงตราแกไทยฝายเดียว ที่เหลือนอกจากนั้นคือ ประเทศที่ทำความตกลงทวิภาคีกับไทย 2.) ตัวเลขในวงเล็บหมายถึง จำนวนวันที่สามารถพำนักอยูได เชน ผูถือหนังสือเดินทางราชการของไทย สามารถเดินทางเขากัมพูชาโดยไมตอ งขอรับการตรวจลงตรา โดยจะไดรบั อนุญาตใหพำนักอยูไ ดไมเกิน 30 วัน 3.) เอกวาดอรประกาศยกเวนการตรวจลงตราแกคนทุกสัญชาติเพื่อการทองเที่ยว เมื่อ มิ.ย. 2551 ซึ่ง สอท. ณ กรุงลิมา ไดแจงเพิ่มเติมวาครอบคลุมถึงผูถือหนังสือเดินทางทุกประเภท 4.) ไตหวันอนุญาตใหผถู อื หนังสือเดินทางไทยทีม่ ถี น่ิ ทีอ่ ยูถ าวร หรือไดรบั การตรวจลงตราแบบเดิน ทางเขา-ออก ไดหลายครัง้ จากสหรัฐอเมริกา แคนาดา ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ญีป่ นุ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนดไดรบั การยกเวนการตรวจลงตราในการเดินทางเขาไตหวัน สามารถขอหลักฐานเขาไตหวันไดที่เว็บไซต https://nas.immigration.gov.tw/nase/ และนำหลักฐานทีไ่ ดรบั แสดงตอสายการบินและเจาหนาทีต่ รวจคนเขา เมืองไตหวัน (กรณีที่ผูแสดงหลักฐานแตไมสามารถแสดงวีซาของประเทศดังกลาวในขอ 1 จะถูกปฎิเสธการ เขาไตหวัน) 5.) รัสเซียยกเวนการตรวจลงตราใหผูถือหนังสือเดินทางธรรมดาของไทยที่ประสงคจะเดินทางเขารัสเซียเพื่อ การทองเที่ยวเทานั้น หากเปนดวยวัตถุประสงคอื่น ก็อาจถูกปฏิเสธไมใหเขาเมืองได ดังนั้น คนไทยที่จะเดิน ทางไปรัสเซียควรขอรับการตรวจลงตราใหถูกตองตามวัตถุประสงคในการเขาประเทศทุกครั้ง 6.) ผูถือหนังสือเดินทางธรรมดาของไทยจะไดรับการยกเวนการตรวจลงตราในการเดินทางเขาคอสตาริกา หากไดรับการตรวจลงตราประเภทนักทองเที่ยว ลูกเรือ หรือธุรกิจเขาสหรัฐฯ แคนาดา Schengen ญี่ปุน หรือเกาหลีใต และการตรวจลงตราดังกลาวมีอายุเหลืออยางนอย 3 เดือนนับจากวันที่เดินทางเขาคอสตาริกา หรือเปนผูที่มีถิ่นพำนักถาวรในสหรัฐฯ แคนาดา หรือสหภาพยุโรปที่มีระยะเวลาอนุญาตใหพำนักในฐานะผูมี ถิ่นพำนักถาวรในประเทศดังกลาวเหลืออยางนอย 6 เดือน นับจากวันที่เดินทางเขาคอสตาริกา สามารถติด ตอขอขอมูลเพิ่มเติมสถานเอกอัครราชทูตคอสตาริกาประจำสิงคโปร หมายเลขโทรศัพท +65 6738 0566 อีเมล info@costaricaembassy-sg.net
กอนเดินทางออกนอกประเทศ เราควรไตรตองและเตรียม พรอมสำหรับวีชา ทีเ่ ราจะใชเดินทางไปในประเทศนัน้ ฉบับนี้ พีแ่ ฟรงหวังวา พีๆ่ นองๆชาวไทยไกลบาน อยางเราๆจะไดประโยชน ในเรือ่ งเกีย่ วกับวีชา ไมมากก็นอ ยนะครับ สวนฉบับหนาจะเปน เรือ่ งเกีย่ วกับอะไร ติดตามกันตอนะครับ พีแ่ ฟรงกี้
Horoscope
Monthly
โดย ชนินธิป tarot111@hotmail.com Id line: metroguy009
Horoscope
March
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍҷԵ ÁÕ¤ÇÒÁÁØ‹§ÁÑè¹áÅеÑé§ã¨Í‹ҧÊ٧ᵋ¡çäÁ‹¤Çà ·ÓãËŒÁѹ¡ÅÒÂ໚¹¤ÇÒÁ·Ô°Ô¢Öé¹ÁÒä´Œ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ÁÕà˵ØáÅмŴŒÇ¡ѹ·Ø¡½†ÒÂᵋÍÒ¨¨ÐäÁ‹àËÁ×͹¡Ñ¹ «Ö§è ÍÒ¨¨Ð¹ÓÁÒ«Ö§è ¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ä´Œ á¡Œ»Þ ˜ ËÒ´ŒÇ ʵÔÍ‹Ò㪌ÍÒÃÁ³ à´ç´¢Ò´ ¡ÒÃà§Ô¹¨Ð㪌¨Ò‹ ÂÍÐäà µŒÍ§äµÃ‹µÃͧ´ŒÇ¤ÇÒÁÃͺ¤Íº ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ·Õµè ÍŒ §ãªŒ¤ÇÒÁÍ´·¹ÁҡẺÊÁºØ¡ÊÁºÑ¹¨Ð·Ó ãËŒ·Ò‹ ¹ä´ŒÃºÑ ÃʪҵԷÊèÕ ¹Ø¡ã¹ªÕÇµÔ ¤ÇÒÁÃÑ¡ µ‹Ò§¤¹µ‹Ò§ÁØÁÁͧᵋäÁ‹ãª‹ËÁÒ¤ÇÒÁÇ‹Ò·‹Ò¹¨ÐäÁ‹ ÁÕÇ¹Ñ Å§ÃÍ¡ѹᵋµÍŒ §ÁÕ¤ÇÒÁࢌÒ㨡ѹáÅСѹ໚¹ ¾×¹é °Ò¹
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¨Ñ¹·Ã ¤Ø³ÂѧÍÂÙ‹¡ÑºÍ´ÕµáÅÐÂÖ´µÔ´¤ÇÒÁࢌÁ§Ç´ã¹ ¡ÒôÓà¹Ô¹ªÕÇÔµÁÒ¡¨¹à¡Ô¹ä» ¤ÇÃËÒÊÔ觷Õè·Ó ãËŒËÑÇ㨷‹Ò¹ªØ‹Áª×è¹¢Öé¹ÁÒºŒÒ§ ¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ ໇ÒËÁÒ·Õ褋͹¢ŒÒ§¨ÐÊ٧㹡ÒþѲ¹Òͧ¤ ¡Ã áÅСÒ÷ÓÂʹ໚¹ÊÔ觷Õè¡´´Ñ¹·‹Ò¹Í‹ҧ˹ѡ ˹‹Ç§Âѧ䧡çˋǧÊØ¢ÀÒ¾ºŒÒ§ ¡ÒÃà§Ô¹äÁ‹¶Ö§¡Ñº µÔ´¢Ñ´áµ‹¡çäÁ‹ÊдǡàËÁ×͹¡‹Í¹·ÓÍÐäõŒÍ§ ¤Ô´Ë¹ŒÒ¤Ô´ËÅѧäÇŒãËŒ´Õ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ÃÐÂйÕé ¤ÇÃà¤ÅÕÂà ·¡Ø àÃ×Íè §ãËŒ¨º¡‹Í¹¤‹ÍÂÇҧἹ¡Òà à´Ô¹·Ò§¡Ñ¹ÍÕ¡·Õ ¤ÇÒÁÃÑ¡ ʹյ໚¹ÊÔ觷Õ輋ҹä»áÅŒÇ äÁ‹¤ÇèÐÃ×éÍ¿„œ¹ãËŒ àÊÕÂÍÒÃÁ³ à»Å‹Òæ ¶ŒÒ¤Ô´¨Ð¡ÅѺä»Í‹ҴաNjÒ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ
ËÅÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¤ÇÒÁµÑé§ã¨¾Ã‹Ò§¾ÃÙÍÍ¡ÁÒÁÕ ÁØÁÁͧáÅзÑȹ¤µÔãËÁ‹æ ࢌÒÁÒ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
ÁÕâ¤Ã§¡ÒÃãËÁ‹æ ࢌÒÁÒáÅеŒÍ§¤ÍÂãËŒ¤Ó »ÃÖ¡ÉÒáÅкÃÔËÒçҹ¢Í§·‹Ò¹ãËŒ´Õ´ŒÇ ¡ÒÃà§Ô¹ ÂѧµŒÍ§ºÃÔËÒÃãËŒ´ÕࢌҫŒÒÂÍÍ¡¢ÇÒÃÐÂйÕéÂѧ ¤§¤Ò´ËÇѧÍÐäÿÅؤæ äÁ‹ä´Œ¹Ñ¡ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ÊäµÅ ÅØÂä˹ÅØ¡ѹ¹‹Ò¤Œ¹ËÒáÅз´Åͧ´Ù àËÁ×͹¡Ñ¹¹Ð
¤ÇÒÁÃÑ¡
໚¹ÍÐä÷ÕèÁÕ¤ÇÒÁÊآᵋ¡çäÁ‹ÇÒµŒÍ§ÁÕàÃ×èͧ à˧Òæ ࢌÒÁÒú¡Ç¹¨Ôµã¨·‹Ò¹à»š¹»ÃШÓ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÍѧ¤ÒÃ
¨Ðä´Œ¾º¡Ñº»ÃÒ¡¯¡Òó á»Å¡æ ãËÁ‹æ à¢ŒÒ ÁÒ㹪ÕÇµÔ ¢Í§·‹Ò¹ ᵋµÍŒ §ÃÐÇѧ¤ÇÒÁÂا‹ ÂÒ¡ ËÃ×Í¡ÒõѴÊԹ㨷Õè¼Ô´¾ÅÒ´àÍÒäÇŒºŒÒ§
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¨ÐµŒÍ§à¼ªÔÞ¤ÇÒÁÂÒ¡ÅÓºÒ¡áÅеŒÍ§µÑ´ÊÔ ¹ã¨ãˌṋÇṋ¾ÃŒÍÁÃѺ¡Ñº»˜ÞËÒ·ÕèÍÒ¨¨Ð ¡‹ÍµÑÇ¢Öé¹ÁÒã¹äÁ‹ªŒÒ ¡ÒÃà§Ô¹ ࢌÒÁÒãˌʺÒ ã¨à¾Õ§ªÑèǤÃÙ‹áÅÐÁÕÍѹµŒÍ§Íѹµ¸Ò¹ËÒÂä» àµÃÕÂÁÃÐÇѧäÇŒºŒÒ§ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§à¾×èÍ令Œ¹ËÒ áÅÐ༪ÔÞ⪤ã¹ÊÔ觷Õ跋ҹ㽆½˜¹ÁÒ¹Ò¹¹‹Ò¨Ð ·´Åͧ´Ù
¤ÇÒÁÃÑ¡
ÁÑÇᵋ¹Ñè§ËÅÍ¡µÑÇàͧä»ÇѹæÇ‹ÒäÁ‹ÃÑ¡à¢Òᵋ·Õè ¨ÃÔ§ËÑÇ㨵ÑÇäÁ‹ÊÒÁÒöËÅÍ¡µÑÇàͧ䴌àÅÂ
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹÈØ¡Ã
Áͧ价ҧä˹¡çÁÕᵋàÃ×èͧ¹‹Òàº×èÍ˧ش˧ԴÂÑ§ä§ ªÍº¡Å ¡Òçҹ àËÁ×͹¾ÃÐÈءà ࢌҾÃÐàÊÒà á·Ã¡·ÓãËŒÁÕàÃ×èͧäÁ‹ÊºÒÂã¨ÍÂÙ‹àÃ×èÍÂàÅÂÃÐÇѧ »˜ÞËÒàÃ×èͧºÃÔÇÒÃ਌ҹÒÂäÇŒºŒÒ§¡ç´Õ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
äÍŒ·¤èÕ ÇèÐä´Œ¡Âç §Ñ äÁ‹ä´Œáµ‹·äèÕ Á‹¤ÇèÐàÊÕÂ¡ç´¹Ñ ÁÒ àÊÕ«йÕè ÃÐÂйնé ÒŒ ãËŒ´äÕ Á‹¤ÇûÃÐÁÒ·àÃ×Íè §à§Ô¹ àÃ×Íè §·Í§à´ç´¢Ò´ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ¶ŒÒ໚¹ã¡ÅŒæ¡ç¤§ äÁ‹à»š¹äùѡËÃ×ÍäÁ‹¡µç ÍŒ §ÇҧἹ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ãËŒ´Õ
¤ÇÒÁÃÑ¡
ऋ͹¢ŒÒ§ª‹ÇÂàËÅ×Íẋ§»˜¹¡Ñ¹à»š¹Í‹ҧ´Õ ʋǹ ·‹Ò¹·ÕèÂѧâÊ´¨Ð¤º¡Ñºã¤Ã¾Ô¨ÒóҡѹãËŒ´Õ´ŒÇÂ
ดวงประจำเดือน มีนาคม 2016
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´Çѹ¾Ø¸
»š¹ª‹Ç§¹ÕéÍÒ¨¨Ð¹Ôè§æ ä»Êѡ˹‹ÍÂäÁ‹¤‹ÍÂËÇ×Í ËÇҹѡ ᵋäÁ‹¶Ö§¡ÑºäÁ‹Ê¹Ø¡ä»«Ð·Õà´ÕÂÇ
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
ÂѧµŒÍ§·Ó§Ò¹à¡‹Òá¶ÁÂѧ¤Ô´¨Ð¢ÂѺ¢ÂÒ¸ØáԨ ÍÐäÃÍÍ¡ä»ÍÕ¡µÑé§ËÅÒÂÍ‹ҧ àŵŒÍ§ÇÒ§ á¼¹¡Ñ¹ãËŒÃͺ¤ÍºÊѡ˹‹Í ¶Ö§áÁŒ¨ÐµŒÍ§ à˹×Íè Âᵋ¡äç Á‹à¤Â·ŒÍá·ŒàÅ à¡çºà§Ô¹à¡çº·Í§ ¡Ñ¹Í‹ҧà´ÕÂÇʺÒÂã¨´Õ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ »ÅÍ´ÀÑ ÍÒ¨¨Ðࢌһ†ÒࢌҴÍÂà¾×èÍà·ÕèÂǪÁ¸ÃÃÁªÒµÔ¡Ñ ¹Áҡ˹‹ÍÂã¹ÃÐÂйÕé
¤ÇÒÁÃÑ¡
¡çͺÍØ‹¹äÃŒ»˜ÞËÒã´æ ʋǹ·‹Ò¹·ÕèÂѧâÊ´ÍÂÙ‹ÁÕ áÇÇÇ‹ÒÍÒ¨¨Ðä´Œ¾ºÃÑ¡ã¹àÃçÇÇѹá¶Á໚¹Ë¹Ø‹Á µÕëËÅ‹Í¢ÒǵçÊ໡ÍÕ¡´ŒÇÂÍÂÙ‹äÁ‹ÃٌNjҤس¨Ð àÍÒÍ‹ҧäà Í‹ҹÔè§à©ÂÁÒ¡
·‹Ò¹·Õèà¡Ô´ÇѹàÊÒÃ
ºÃÃÂÒ¡ÒÈáË‹§¤ÇÒÁà§Õºà˧ÒÊѹâ´É¾ÍÊÁ ¤Çà ¨Ôµã¨ÍÒ¨¨Ð¿Ø†§«‹Ò¹¤Ô´ä»àÃ×èÍÂໂ›ÍÂä´Œ àËÁ×͹¡Ñ¹
¡ÒÃà§Ô¹¡Òçҹ
¨Ò¡¡ÒäŒÒ¢Ò¹ÒÂ˹ŒÒʋǹµ‹Ò§·‹Ò¹¨Ðä´Œ¡Óäà ´Õ¾ÍÊÁ¤ÇÃᵋµÍŒ §¢ÂѹÁҡ˹‹Í ¡ÒÃà§Ô¹ äÁ‹¶§Ö ¡ÑºµÔ´¢Ñ´à·‹ÒäË˹¡Ñ ᵋµÍŒ §ãªŒ´ÇŒ ¤ÇÒÁà ͺ¤Íº´ŒÇ ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ·‹Ò¹·ÕÇè ҧἹàÃ×Íè § ¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ä´ŒÃºÑ ¤ÇÒÁÊÓàÃ稴ÕäÁ‹µÍŒ §Ë‹Ç§ àÃ×Íè §ã´
¤ÇÒÁÃÑ¡
ÃÑ¡ã¤ÃªÍºã¤ÃäÁ‹µŒÍ§ÁÒÁÑÇÍéÓÍÖ觤¹Í×蹨Р¤Òºä»¡Ô¹áŌǨÐËÒÇ‹ÒäÁ‹àµ×͹ ÃѺÃͧ¼Å·Õè ÍÍ¡ÁÒ·‹Ò¹àͧ¨ÐÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢
31
Made in Australia
3rd issue
Back into it in Full swing
Mar 2016
lifestyle
art We have worked to improve our quality and look to serve diverse member within our multicultural community. We would love to hear stories, interview interesting individuals and publish photos of you or your friends if they are willing to share. We will continue to adjust, make changes and perfecting our quality of content and look so we stay interesting and fresh. Enjoy us and feel free to share your enjoyment with others.
music
Boom Buchanan Editor
Content 2-3 inWe 4-5 East meets West
Contact us Sawasdee Australia Magazine St.lucia south, Brisbane, Queensland 4067 email : sawasdeeaustraliamag@gmail.com Tel: +661 424 022 334 or +661 451 057 063
cultu
re
What’s on
Madonna Rebel Heart Tour Wed 16 & Thurs 17 March 2016 https://premier.ticketek.com.au
Date: Friday March 18, 8PM Venue: Eatons Hill Hotel and Function Centre Ticket: tickets.oztix.com.au
1
inWE
Back into it in Full swing Photographer His interesting aspects in the photography and life in general brought us to meet for a coffee one morning. Roger gave up his photography for a while during his full time employment, he is now getting back into it in full swing. What is your signature style of photography? At the moment I am taking sports, fitness, boxing running. I also take landscapes photography, people, portraits, objects, painting anything really. Have you always been a photographer? I used to do a lot more a long time ago then had stopped for a while because I was working full time with Media Monitoring service. I am getting back to do more now and invested my time learning more about it as well. What do you do in your free time? I exercise to get my heart rates up and blood circulation up. I read. I cook. Are any of your kids interested in photography? No, none my two kids have any interest in it.
2
In this ever-changing digital world, what values do you teach your kids? Being independent, not to rely too much on others people or things. I think it is important that kids being taught to be independent and with survival skills. So when you get stuck on your own or in a situation you are self-sustainable. I also think that it is very important to spend your time around good people, surround yourself with successful people, someone you can learn from, so you can get some inspirations. You also need to set your goals in life, short term and long-term goal is very important. Don’t drift through life. I have done it, drift through life from job to job. I would say to young people, don’t look for a job, look for a career, don’t choose something you do because this company pay better than that company.
After an hour of our conversation, I realized we talked very little about his photography. I guess there was so much we talked about especially life in general that the conversation got carried away. Only after I got the chance to look at the link to his photography work he gave me that I wish I could turn back time. Had I realized well before the meeting that his great works won multiple awards and are on sell at one of the biggest photo websites, I would have liked to ask him to talk more on photography. I could have learnt more and get inspiring tips and technique to pick up a camera once again.
Follow Roger and his great shots at: http://www.pixoto.com/roger.arnaud.12#5840593698684928 3
EASTmeetsWEST
เรื่องและภาพโดย วสมน สาณะเสน story and photo by Wasamon Sanasen
MEETS
EAST WEST
ใจสิ่งที่ครูพูดแตคนอื่นเขาใจ สรุปคือฉันกลายเปนคนที่หัวชาที่ สุดในหอง เกิดมาไมเคยรูสึกวาหัวทึบขนาดนี้มากอน ทำไม ทำไม และทำมาย! นี่มันอะไรกัน!?
เรียนภาษาตุรกีวันแรก ลังจากพวกเรานักเรียนทุนเดินทางมาถึงอิสตันบูล ทีมงานทุนรัฐบาลตุรกีก็ตั้งซุมตอนรับรอไวแลว พร อ มแจกขนมป ง งากั บ น้ ำ ผลไม ใ ห ค ลายหิ ว นอกจากนี้กลุมนักเรียนไทยในตุรกีก็มารอรับนักเรียนไทยที่มา ใหมดวย (นอกจากฉันแลว ยังมีนักเรียนไทยคนอื่นๆ อีกราว 20 คนที่ไดทุนเหมือนกัน) ไดคุยกันก็ชวยใหหายคิดถึงบานไป ชั่วขณะ เขาดูดีใจมากที่มีคนไทยดวยกันมาอยูเพิ่ม อา...ไดยิน เสียงภาษาบานเกิดในอิสตันบูลแลวอุนใจ เพราะรูวาตอจากนี้ ถาไมไดพบปะคนไทยดวยกัน จะไมไดใชภาษาไทยอีกแลว ตอไปนี้ จะมีแตภาษาตุรกีเทานัน้ คิดแลวก็ใจหายและกลัวดวย เพราะเทาที่ รูมาภาษาตุรกีมีตรรกะที่ตางกับภาษาอื่น เทียบเคียงกับภาษา อังกฤษไมได การเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยก็เปนภาษาตุรกีกวา 97% ยิง่ ฉันมาเรียนปริญญาเอกยิง่ ตองใชภาษาวิชาการทีไ่ วยากรณ ตองเปะ ดวยเหตุนี้รัฐบาลตุรกีจึงกำหนดใหนักเรียนทุนทุกคน เรียนภาษาตุรกีกอ น 1 ป เมือ่ สอบวัดระดับภาษาผาน ในปถดั ไป จึงจะไดเขาเรียนในมหาวิทยาลัยที่เลือกไว คิดแลวมึนจนอยาก แกะพารามาทานสักสามเม็ด นองๆ คนไทยที่อยูมากอนก็ พยายามพูดใหกำลังใจวา “พวกเราผานมาได พี่ก็ตองผานได” จะ...พี่ก็ขอใหเปนอยางนั้นจากนั้นพวกเราก็ไปขึ้นรถบัสที่ทาง ทีมงานจะพาไปสงที่หอ ทุกคนหลับตลอดทาง (ยกเวนคนขับ) เพราะเหนื่อยลาจากการนั่งเครื่องบิน ราวตี 1 รถก็พามาสงที่ หอพักนักศึกษาหญิงแหงหนึ่งในยานชานเมือง หองของฉันเปน หองสำหรับ 4 คน ดีที่มีนองคนไทยมาอยูดวยคนหนึ่ง สวน สหายรวมหองอีก 2 คนเปนชาวตูนเิ ซีย สองสาวพูดได 2 ภาษา คืออาหรับและฝรัง่ เศส เพราะประเทศตูนเิ ซียเคยเปนของฝรัง่ เศสมา กอน หองของเราเลยกลายเปนหอง 4 ภาษาเพราะคุยกันดวย 4
ภาษาไทย อังกฤษ อาหรับ และฝรัง่ เศส โดยเราใชภาษาอังกฤษ เปนภาษากลาง ถาเริ่มคลองภาษาตุรกีเมื่อไหรก็จะกลายเปน หอง 5 ภาษาสินะ ถึงตอนนั้นคงสนุกนาดู ขณะเดียวกันฉันก็พยายามเรียนภาษาตุรกีลวงหนาไปดวย กอนเปดเรียนหนึง่ สัปดาห ฉันซือ้ นิทานเด็กของตุรกีมาอานแลว เขียนตามเพื่อสรางความคุนเคยกับรูปประโยค หรือฟงเพลง ตุรกีทม่ ี ซี บั ไตเติล้ ภาษาอังกฤษ ไดยนิ แมบา นในหอคุยกันก็พยายามฟง ถาคุยกับเขาไมรูเรื่องก็ใชภาษามือไปกอน และแลวก็ถึงวันเปด เรียนภาษาวันแรก นักเรียนในหองมาจากหลากหลายเชื้อชาติ สวนใหญมาจากแถบตะวันออกกลาง เชน ปาเลสไตน อิหราน โซนแอฟริกามีเยอะหนอยคืออียปิ ต เอธิโอเปย ตูนเิ ซีย อัลจีเรีย ซัมเบีย ไนจีเรีย ซูดาน และเคนยา แถบเอเชียกลางไดแก คาซัคสถานยังมีจากยุโรปมาแจมอีกประเทศหนึ่งคือมาซิโดเนีย ใกลประเทศไทยเขามาก็คืออินเดีย และใกลที่สุดคือโซนเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตดว ยกันคือ มาเลเซีย สิงคโปร และอินโดนีเซีย แนนอนวากลุมหลังสุดนี่ฉันคุยดวยแลวเขากันไดอยางรวดเร็ว เพราะเราเปนเพื่อนบานกัน ตางคนตางรูสึกคุนเคยราวกับมา จากประเทศเดียวกันก็ไมปาน หลังจากทำความรูจักกันพอหอม ปากหอมคอแลว ครูกเ็ ริม่ สอนพอเปดหนังสือเรียนเทานัน้ แหละ ตอมเอะอะไรของฉันก็เปนอัมพาตไปชั่วขณะดวยความช็อคเขา แทรก เพราะในหนังสือเปนภาษาตุรกีทั้งสิ้น! มีอธิบายเปน ภาษาอังกฤษแบบนับประโยคได แถมครูยงั สอนดวยภาษาตุรกีลว น คุณพระ! แลวฉันจะเรียนรูเรื่องไดอยางไร ยังไมพอ! ทำไม นักเรียนคนอื่นๆ พูดภาษาตุรกีได ทำไมนองคนขางๆ เริ่มเรียน พรอมกันแตเรียนรูเร็วเหมือนเคยเรียนมา กอนทำไมฉันไมเขา
เรียนไปได 2 ชั่วโมงก็ถึงชวงพัก ฉันออกจากหองมาสูดหายใจ ลึกๆ เพือ่ ใหหายช็อค แตชว ยไมคอ ยไดเทาไหรเลยหันไปคุยกับ เพื่อนรวมหองที่มาจากคาซัคสถาน เพราะสงสัยวาเหตุใดเธอจึง พูดภาษาตุรกีได และพูดไดอยูแลวทำไมยังตองมาเรียน “ออ ภาษาของคาซัคสถานนะคลายกับตุรกีมากมาก เวลาพูด ฉันแคบดิ สำเนียงนิดหนอยก็เหมือนภาษาตุรกีแลว แตทม่ี าเรียน เพราะมันเปนเงื่อนไขของทุน” เธอตอบแบบชิลๆ และยังแถม ทายดวยวา “บางทีเราก็ใชภาษารัสเซียดวยนะ ฉันก็พดู รัสเซียได” จากนัน้ ก็ลองไปถามนองชาวอัลจีเรีย เขาตอบวา“คำศัพทในภาษา ตุรกีหลายคำเหมือนของภาษาอาหรับครับ แตผมก็พูดไดแคนิด หนอยเอง เพราะแกรมมามันไมเหมือนกัน”ไดยินอยางนั้นแลว ถึงเขาใจวาทำไมพวกเขาเรียนรูเรื่องเร็วกวาเรา เพื่อนสาวชาว มาเลเซียเห็นฉันดูเครียดๆ เลยเขามาปลอบบอกวา “เอานา ฉันก็ไมรูเรื่องเหมือนกันวาครูพูดวาอะไร ก็ภาษาเราไมเหมือน ตุรกีนี่นา อีกอยางนี่ก็แควันแรก เดี๋ยวเรียนไปเรื่อยๆ เราก็จะ เขาใจเอง เธอสังเกตดูสิวาครูเขาพยายามใช Body Language ดวยเพื่อใหพวกเราเขาใจ ไดยินวาครูเขาจบดานการสอนภาษา ตุรกีเพือ่ ชาวตางชาติโดยเฉพาะเลยนะ เพราะงัน้ อยาหวงเลยจะ” เปนความจริง เพราะหลังจากนั้นฉันพยายามตั้งสติในการเรียน ตัดความกังวลออกไป สังเกตทาทางควบคูไปกับสิ่งที่ครูพูด ก็ พบวาฉันสามารถเขาใจไดจากภาษากายของครูไดจริงๆ คือถาฟง ไมรูเรื่องก็ใหดูทาทางของเขาเอา แลวจำไววาออ เขาหมายถึง คำนี้ๆ หลังเลิกเรียนวันนั้นใจเลยเบาขึ้นหนอย อยางไรก็ตาม คำพูดของเพือ่ นรวมหองทำใหฉนั สนใจภาษาของชาวเติรก มากขึน้ ทันทีท่ ถ่ี งึ หอพักฉันจึงเปดอินเตอรเนตเพือ่ หาขอมูลเพิม่ เติม ไดความยอๆ วาดังนี้ ภาษาตุรกี (Türkçe) นัน้ มีรากมาจากภาษา อาหรับและภาษาอิหราน เปนภาษาในตระกูลอัลไตอิก เดิมคือ ภาษาออตโตมัน (Osmanlıca) ของอาณาจักรออตโตมันซึง่ เขียน ดวยตัวอักษรอาหรับ เพิง่ เปลีย่ นมาใชอกั ษรละตินเมือ่ ค.ศ.1928 ดวยนโยบายของอะตาเติรก โดยตัดตัว Q, W และ X ออก แลวเพิ่มอักษรใหมเขามาอีก 7 ตัวไดแก Ç, Ğ, I, İ, Ö, Ş และ Ü ปจจุบันเปนภาษาราชการของสาธารณรัฐตุรกี หลาย ประเทศโดยรอบทีเ่ คยเปนของอาณาจักรออตโตมันมากอนอยาง ในแถบเอเชียกลาง ยุโรปตะวันออกและไซปรัสก็ยงั ใชภาษาตุรกีอยู เชนกันดังนั้นนักเรียนที่มาจากประเทศเพื่อนบานของตุรกีและ ประเทศทีใ่ ชภาษาอาหรับจึงเรียนภาษานีไ้ ดสบายๆ สวนลักษณะของ ภาษาตุรกีคือการใชสวนตอทาย (suffix)เปนตัวบงชี้ไวยากรณ ทัง้ สรรพนาม, คำนามเอกพจน-พหูพจน, เวลาอดีต-ปจจุบนั -อนาคต ฯลฯ ลวนขึ้นกับสวนตอทายทั้งสิ้น เจาตัวนี้เองที่ทำใหภาษาตุรกียาก เอาการเพราะสวนตอทายของเขามีเยอะจนจำกันไมหวาดไมไหว โครงสรางประโยคก็ตา งจากภาษาอืน่ คือ ประธาน+กรรม+กริยา นอกจากนั้นยังมีกฎในการใชใหจำอีกเปนกระบุงและที่หินคือใน บางกฎก็มขี อ ยกเวนแบบไมมเี หตุผล ซึง่ เราไมมที างจำได ถาไม ไดฝกใชมันบอยๆ อยางไรก็ดี พออานมาถึงลักษณะของภาษาตุรกี ขอสุดทายก็พบวา เปนภาษาทีไ่ มมกี ารแบงเพศ เฮอ คอยยังชัว่ ! รูอ ยางนีแ้ ลวเลยนึกถึง คำพูดเกาแกทว่ี า ในดียอ มมีรา ยและในรายก็ยอ มมีด.ี ..เพราะฉะนัน้ ภาษาตุรกีถงึ จะยากแตกค็ งไมยากเกินไป อยางที่นองๆ บอกวา พวกเขาผานมาได ฉันก็ตองผานได และยิ่งเหลือบไปมองตำรา ภาษาตุรกีที่มีเนื้อหาล้ำคาตอวิทยานิพนธในอนาคตก็ยิ่งทำใหฉั นกระหายทีจ่ ะรูภ าษาตุรกียง่ิ ขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะไดเขาใจเนือ้ หาในหนังสือ ใชแลว...ตองใชสิ่งนี้เปนแรงผลักดันหนทางยังอีกยาวไกล และ เพือ่ อนาคตทีย่ าวไกล ฉันจะสู จะควาปริญญาเอกจากตุรกีกลับ บานเกิดใหได!
The first Turkish lesson After we arrived in the Turkish capital city, Istanbul. The government set out the welcoming party with decorated welcome arch. The welcoming snack was sasame bread and fruit juice. Apart from new group of student, there were some Thai students from previous scholarship round joint us at the party. It was nice to hear people speak Thai, it helps healing my homesick just a tiny bit. I need to master Turkish language by studying it for a full 1 year so that I can study my PhD which means a perfect grammar for writing in Turkish and all that. The accomodation I was placed into is a shared unit for four people. There is a Thai student who is already there before I arrived. The other two who also younger roomates are from Tunisia. They speak in Arabic and French. So our room is multi-lingual comprise of 4 languages. I am thinking when we are good enough with Turkish, it will be used in our room as the 5th language. On the first day at Turkish lesson, I met fellow students from various countries such as Iran Palestine, South Africa, Egypt, Ethiopia, Tunisia, Algeria, Saudi Arabia, Nigeria, Sudan and Kenya Central Asia, including Kazakhstan. Some are from European country and Thailand of course.
I was trying to learn Turkish before my first lesson in class. I learn to read a children book Tales of Turkish so I can get familiar with reading, the writing and learn how the sentence being constructed. I also listen to Turkish music that has English subtitles. Turkish (Türkçe) has its roots in the Arabic and Iran. A family of Altaic.It’s original language Ottoman (Osmanlıca) of the Ottoman Empire, written with Arabic script. It is a language family that also includes Azerbaijani, Uzbek and Kazakh. There is basically no cross-over between English and Turkish in terms of vocabulary or grammar. However, because it uses the same Latin alphabet as English (with a few extra diacritic marks thrown in) I switch my computer to Latin alphabet for my convenient. The characteristics of the Turkish language is the use of the suffix (suffix) as an indication of grammar. and pronouns, nouns, singular - plural, the past - present - future, etc are all based on the suffix. This makes it a little difficult as I have to remember all of them. But it’s a challenge that I am willing to try my hardest. The road I am travelling to my future will be long, but I will fight to acheive a doctorate degree from Turkey back to my homeland and bring it!
5
Skillpoint is your first choice พบกับทีมงานคุณภาพที่มีประสบการณ ดานแนะแนวการศึกษา ยาวนานกวา 5 ป
Autumn Promotion
เรียนภาษาอังกฤษงายๆ แค 3 วันตอสัปดาห หลักสูตรปริญญา ราคาสบายกระเปา เรียนดิปโพลมา หลากหลายสาขาตามใจชอบ คอรสเรียนเพื่อ apply PR / visa 457 ราคาไมแพง ทำวีซานักเรียน วีซาติดตามชาย – หญิง หรือ same sex วีซาทองเที่ยว พาเพื่อน หรือ ครอบครัวมาเที่ยว ไมยากอยางที่คิด
Visa นักรียนยาวกวา 3 ป อยูกันยาวๆ ไปเลย
มาที่นี่ที่เดียวครบ !!!
Skillpoint Consulting Brisbane Suite 2224, Level22, 127 Creek Street Brisbane office
Brisbane office: ติดตอ คุณ ปตณ ิ ชั เตะชัน (แฟรงกี)้ Address: Suite 2224, Level22, 127 Creek Street Bisbane QLD 4000 Mobile: 0451 257 979 Email: Frankie@skillpointculting.com.au Website: www.skillpointconsulting.com.au
Sydney office address : Suite 1712/87-89 Liverpool Street, Sydney NSW 2000. Tel: 02-8096 7073 Fax: 02-9261 1955 Mobile: 0426 838 989 Mobile: 0450 503 119 Mobile: 0425 299 111 Email: info@skillpointconsulting.com.au
Thailand office contact : 87/23 Village no.5 ( Indy Bang Yai Village ) Soi. Kaew In , Saothonghin Sub-District Bangyai District , Nonthaburi 11140, Thailand Tel: +66-2 192 2731 Fax: +66-2 192 2732 Mobile: +66-8-1822 7454 Mobile: +66-9-2828 7454 Email: info@skillpointconsulting.com.au