BA_Chairat

Page 1

การทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อการบริโภค

Chaiyarat Janthakhet ไชยรัตน์ จันทเขต

This Thesis is Partial Fulfillment of Bachelor Degree of Philosophy In Social Enterprise

Bodhisattra University, FL. USA. Academic Year 2018


หัวข้อสารนิพนธ์ การทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อการบริโภค ชื่อและนามสกุล นายไชยรัตน์ จันทเขต วิชาเอก Bachelor of Philosophy หลักสูตร การประกอบการสังคม อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง สารนิพนธ์นี้ ได้รับความเห็นชอบให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรการประกอบการ สังคม เมื่อวันที่ 3 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 คณะกรรมการสอบสารนิพนธ์ ................................................................ ประธานกรรมการ (ศ.ดร.ศักดิ์ ประสานดี) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.พระครูสุตธรรมวิวัฒน์) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.พระครูสุทธิปทุมกิจ) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.ไพชยนต์ จันทเขต)


กิตติกรรมประกาศ การทาสารนิพนธ์ สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาอย่างดียิ่งจาก ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง และ ศ.ดร.ศักดิ์ ประสานดี ที่กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา ตรวจแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอาใจใส่ตลอด มา จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณผู้ประสานงาน ผู้ให้สัมภาษณ์ ชุมชนบ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ที่ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ ขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ด ามารดา ครู อ าจารย์ ที่ ไ ด้ ป ระสิ ท ธิ์ ป ระสาทวิ ช าแก่ ผู้ ศึ ก ษา ขอขอบคุณทุกคนในครอบครัวและทุกท่านที่ไม่ได้เอ่ยนาม เป็นกาลังใจให้การจัดทาสารนิพนธ์ครั้งนี้ สาเร็จด้วยดี

ไชยรัตน์ จันทเขต 3 พฤศจิกายน 2561


สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5

หน้า ชีวิตและการเรียนรู้ ..................................................................................................... 1 คุณค่าของชีวิต ..................................................................................................... 4 ชุมชนบ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ .................................. 6 โครงงานการทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อการบริโภค............................................................. 38 สรุปโครงการ ..................................................................................................... 40


คานา สารนิพนธ์เรื่อง การทานาหว่านแห้งเพื่อการบริโภค เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร การประกอบการสังคมโดยผู้ศึกษาได้ปฏิบัติโครงงานนี้มากกว่า 10 ปี เกิดองค์ความรู้ใหม่ ในการ พัฒนา เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ได้เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559- 2561 สถานที่จัดทาโครงงาน เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 บ้านจรัส ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ จึงหวังว่า สารนิพนธ์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ตามหลักสูตรและผู้สนใจต่อไป

ไชยรัตน์ จันทเขต


บทคัดย่อ สารนิพนธ์เรื่อง การทานาหว่านแห้งเพื่อการบริโภค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีข้าวปลอด สารพิษ สาหรับ การบริ โภคได้ตลอดปี และเพื่อเพิ่มผลผลิตในการทานาหว่านข้าวแห้ ง โดยใช้ปุ๋ย อินทรีย์ พบว่า การทานาหว่านข้าวแห้ง เพื่อการบริโภคโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ สามารถเพิ่มผลผลิตมาก ขึ้น จากปี พ.ศ. 2560 พื้นที่ 10 ไร่ ได้ผลผลิตทั้งหมด 5,300 กิโลกรัม หรือ 530 กิโลกรัมต่อ 1 ไร่ ในปี พ.ศ. 2561 พื้นที่ 10 ไร่ ได้ผลผลิตทั้งหมด 6,000 กิโลกรัม หรือ 600 หรือ 700 กิโลกรัม ต่อ 1 ไร่ และมีข้าวปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคได้ตลอดปี


1 บทที่ 1 ชีวิตและการเรียนรู้ ชีวิตตั้งแต่วัย เด็กถึงปั จ จุ บั น การศึกษาในระบบ การเรียนรู้น อกระบบและตามอัธ ยาศั ย การอบรม สัมมนา ดูงาน การประกอบอาชีพ มีหลักคิดที่ดีหรือบทเรียนที่ดีอย่างไร มีรายละเอียดดังนี้ ชีวิตตั้งแต่วัยเด็กถึงปัจจุบัน ชีวิตของข้าพเจ้ าเกิดในครอบครัว จันทเขต คุณพ่อชื่อ ไพชยนต์ จันทเขต และคุณแม่ชื่อ จาตุรัตน์ จันทเขต รับราชการ ปัจจุบัน รับราชการบานาญ เป็นบุตรชายคนสุดท้าย มีพี่สาว 2 คน คุณตาคุณยายมีอาชีพทาการเกษตร คือทานา จึงได้มีโอกาสได้ติดตามคุณตาคุณยายไปที่ต่ างๆ เช่น ไปทางานที่ทุ่งนา และไปทาบุญที่วุดในงานประเพณี งานบุญอยู่เสมอ สิ่งเหล่านี้ได้ซึมซับในตัวของ ข้าพเจ้า อยากลองอยากรู้ ตามวัยเด็ก เรื่องการทานา การทาบุญ กิริยามารยาท ข้าพเจ้าเกิดวันที่ เดือ น พ.ศ. อายุ ปี ที่ บ้ า นเลขที่ หมู่ที่ 1 บ้า นจรัส ตาบลจรัส อาเภอบัว เชด จัง หวั ดสุ ริ นทร์ ปัจจุบันทางานที่บริษัทวิภาวรรณฟาร์ม อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ตาแหน่ง ผู้ช่วยช่าง แต่ก็ทานา ด้วย การทานาหว่านข้าวแห้ง โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งสืบทอดมาตั้งแต่คุณตาคุณยาย และข้าพเจ้าได้รับ มอบมรดกที่นาจานวน 10 ไร่ ถึงแม้ข้าพเจ้าจะทางานบริษัท ก็ทานาปลูกข้าวไปด้วย เพื่อบริโภคใน ครอบครัว เมื่อจะสิ้นปีถึงฤดูเก็บเกี่ยวข้าวยังเหลืออีกมาก จึงนาข้าวไปขายเพื่อเป็นทุนสารอง ซึ่งแต่ละ ปีจะได้ผลผลิตไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสภาพดินฟูาอากาศ ในช่วงปี 2559- 2561 นี้ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้นทุกปี การทานาปลูกข้าวกินเองนี้ ทาให้เราได้บริโภคข้าวปลอดสารพิษ ประหยัดรายจ่าย มีเงินออมเพิ่มขึ้น ทุกปี รวมทั้งสืบทอดวิถีชาวนาจากบรรพบุรุษ การใช้เวลาว่างในการทาปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ไว้ใช้ในฤดู การทานา และการทาน้าส้มควันไม้ ไว้สาหรับฉีดพ่นไล่แมลง เป็นการลดค่าใช้จ่ายและไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม การศึกษาในระบบเริ่มเข้าเรียนชั้นอนุบาลชุมชนบ้านลาดวน อาเภอลาดวน จังหวัดสุรินทร์ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จึงย้ายไปเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียน เมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีและเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ โรงเรียนมัธยมประจาจังหวัด โรงเรียนสุรวิทยาคาร อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ จบชั้นมัธยมศึกษา สอบได้โรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพฯ หลักสูตร ปวช. (ประกาศนียบัตรวิชาชีพ) จึงออกมาทางาน หลายบริษัท ได้มีโอกาสได้ใช้ความรู้ความสามารถที่โรงเรียนมาอย่างเต็มความสามารถ และได้แต่งงาน มีครอบครัว จึงขาดโอกาสที่จะศึกษาต่อในระดับสูงขึ้น เมื่อได้ทราบข่าวจาก ผศ.ดร.สุระชัย พิชัย ช่วง เรื่องมหาวิทยาลัยโพธิศาสตร์ ฟลอริด้า สหรัฐอเมริกา เป็นการศึกษาระบบทางไกล จึงตัดสินใจ เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้และจะศึกษาต่อจนจบหลักสูตรสูงที่สุดของสถาบัน


2 การศึกษานอกระบบและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย การอบรม สัมมนา ดูงานในความคิดของ ตนเองว่า ไม่มีใครแก่เกินเรียน เรียนรู้ได้ตลอดชีวิต ทุกสถานที่ ในทุกเวลา ทุกโอกาสขึ้นกับตัวเรา ว่า จะสนใจรับหรือไม่ การทางาน วิถีชีวิต ล้วนแต่ เป็นการเรียนรู้ทั้งสิ้น ในปัจจุบันสามารถที่จะศึกษา ค้นคว้าได้หลากหลายวิธี หลากหลายช่องทาง เช่น Internet วิทยุ TV ห้องสมุด เอกสาร E-book เป็น ต้น การอบรม ประชุมสัมมนา ศึกษาดูงานมีรายละเอียด ดังนี้ การอบรมหลักสูตรสาคัญ 1. หลักสูตรวิชาชีพชั้นสูง องค์การบริหารส่วนตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดอุบลราชธานี 2. หลักสูตรการเชื่อมใต้น้า โรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพฯ (โดยฝึกปฏิบัติจริงอู่ต่อเรือสัต หีบ จังหวัดชลบุรี หลักสูตร 3 เดือน) 3. หลักสูตรลูกเสือ BTC ค่ายเขาศาลา อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ การประชุมสัมมนา ทั้งในและนอกองค์กร ได้เข้าร่วมประชุม สัมมนาในนามของบริษัทวิภาวรรณฟาร์ม ในฐานะตาแหน่ง ผู้ช่วยช่าง และที่ได้รับมอบหมาย ได้นาความรู้ที่ได้รับจากการอบรม ประชุม สัมมนามาเผยแพร่ ให้กับเพื่อน ร่วมงาน พัฒนาตนเอง พัฒนางานในหน้าที่ ทาให้งานบรรลุตามเปูาหมายทางบริษัทกาหนดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ จากการที่ได้มีโอกาสไปศึกษาดูงานในประเทศ บริษัทจะเน้นไปดูงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาความรู้ที่ได้มาพัฒนาองค์กร พัฒนาพนักงาน ให้เจริญรุ่งเรือง ยิ่งขึ้น ส่วนการศึกษาดูงาน เช่น สปป.ลาว กัมพูชา จะเน้ นในเรื่องศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานต่างๆ เช่น นครวัดนครทม ทะเลสาบน้าจืด เป็นต้น การประกอบอาชีพ หลังจากข้าพเจ้าเรียนจบโรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพฯ ด้วยใจที่ อยากทางาน มีเงินเดือนได้เป็นของตน ชอบอิสระ จึงไม่เป็นทหาร ผ่านกระบวนการเกณฑ์ทหาร แล้ว กลับมาอยู่ที่บ้านมาช่วยคุณตาคุณยาย ทาการเกษตร ในพื้นที่ 10 ไร่ของตน เกิดรักหลงใหลในชีวิต เกษตรกร ด้วยการวิเคราะห์ว่า งานบริษัทและงานเกษตรกร สามารถทาควบคู่กันได้ โดยการบริหาร เวลาให้ได้การเป็นเกษตรกรได้มากกว่า 5 ปี การทางานคือการพิสูจน์ความรู้ความสามารถ ความดีงาม และอุดมการณ์ของเรา ซึ่งจะน ามาเพื่อความส าเร็จในชีวิตการงานและครอบครัว การทางานให้ ประสบผลสาเร็จคือเปูาหมายหลัก ซึ่งจะนามาซึ่งความสุขในชีวิต ทาให้เกิดการเรียนรู้ เทคนิควิธีการ กลยุทธ์ในการทางาน ให้มีประสิทธิภาพ เป็นเส้นทางสู่เปูาหมายชีวิต


3 ปัจจุบันทางานที่บริษัทวิภาวรรณฟาร์ม อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ตาแหน่ง ผู้ช่วยช่าง และเป็นเกษตรกร โดยแบ่งเวลาในการทานา ในวันหยุด การดูแลรักษา ใช้เวลาหลังเลิกงาน ตลอดจน ใช้เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์ ตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลด ละ เลิก อดออม เดินทาง สายกลาง ตามรอยพ่อหลวง ทาให้ชีวิตครอบครัวมีความสุข หลักแนวคิดที่สาคัญในการดารงชีพ คือ ประสบการณ์ที่ผ่านมาเป็นครูและจะไม่ให้เกิดกับ ชีวิตอีก แนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพ่อหลวง เดินทางสายกลางตามหลัก ของพุทธศาสนา ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ยั่งยืน มีความสุข


4 บทที่ 2 คุณค่าของชีวิต การทาความดี ผลงานและความสาเร็จในชีวิต เกียรติบัตร รางวัลที่ได้รับ มีรายละเอียดดังนี้ การทาความดี ในฐานะเราเป็นพุทธศาสนิกชนมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ศาสนาพุทธเข้าไปอยู่ในทุก อณูของร่างกาย จิตใจ พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาเอกของโลก ที่มีหลักคาสอนอันเปรียบเสมือนห้วง มหานทีแห่งสรรพศาสตร์ จึงมิใช่เพียงแค่ปรัชญาหรือทฤษฎีเท่านั้น หากแต่ยังมีเนื้อหาครอบคลุมถึงวิถี ชีวิต ความเป็นอยู่ ความนึกคิดทุกด้าน สิ่งสาคัญของพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งการกระทา ไม่ใช่ ศาสนาแห่งการอ้อนวอนปรารถนา การสั่งสอนธรรมของพระพุทธเจ้า ทรงมุ่งผลในทางปฏิบัติ ให้ทุก คนจัดการกับชีวิตกับความเป็นอยู่จริง ศาสนาทุกศาสนามีความสาคัญในการดาเนินชีวิตของคนใน สั ง คม มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ สั ง คมชี วิ ต เป็ น กลไกการควบคุ ม สั ง คม เป็ น แหล่ ง ก าเนิ ด ของจริ ย ธรรม ศิลปวัฒนธรรม ทาให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ย่อมก่อให้เกิดแนวคิด แนวปฏิบัติที่ดี มีธรรมในใจแล้วย่อมทาความดี ต่อตนเอง ต่อผู้อื่น บิดามารดา ปูุย่าตายาย ผู้มีพระคุณ พระสงฆ์ครูอาจารย์ ตลอดจนเพื่อสังคม เพื่อ องค์กร และประเทศชาติ ตัวอย่างการช่วยเหลือสังคม เช่น 1. เข้าร่วมกิจกรรมทาฝายชะลอน้าห้วยทับทัน ห้วยสาราญ อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ 2. เข้ารวมกิจกรรมแนวกันไฟห้วยทับทัน ห้วยสาราญ อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ 3. นาสิ่งของไปบริจาคช่วยเหลือทหารพราน 21 (ช่องพริก) 4. บริจาค ทาบุญ โดยใช้ทรัพย์สินส่วนตัว ช่วยเหลือ บารุงพระพุทธศาสนา ทาบุญในวัน สาคัญทางศาสนา วัฒนธรรมประเพณีอย่างสม่าเสมอ ตลอดจนช่วยเหลือภัยพิบัติต่างๆ เต็มกาลัง ความสามารถ ตนเอง และครอบครัว ความสาเร็จในชีวิตครั้งแรก คือ สอบเข้าโรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพฯ ด้วยความมุ่งมั่นที่ จะเป็นช่างในกองทัพไทย แต่เมื่อศึกษาจนสาเร็จกลับพบว่า ไม่ใช่เราจะไปอยู่ ในระบบทหาร ทางาน บริษัท เป็นนักธุรกิจ ได้ทางานหลายบริษัท และบริษัทวิภาวรรณฟาร์ม มีโอกาสได้สร้างผลงาน ทา กิ จ กรรมทั้ ง ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายโดยตรงและในนามของบริ ษั ท ท าให้ เ กิ ด ผลดี ความส าเร็ จ ความ ภาคภูมิใจให้กับตนเองและองค์กร ดังนี้ 1. มีส่วนร่วมปฏิบัติงานสาธารณะประโยชน์สร้างถนนคอนกรีตในหมู่บ้าน อาเภอต่างๆ ของ จังหวัดสุรินทร์มากกว่า 200 แห่ง 2. มีส่วนร่วมสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้กับชุมชนต่างๆ ในเขตจังหวัดสุรินทร์ เกียรติบัตรที่ได้รับ จากหน่วยองค์กร ภาครัฐและองค์กรเอกชน


5 1. หลั ก สู ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง จากองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลจรั ส อ าเภอบั ว เชด จั ง หวั ด อุบลราชธานี 2. หลักสูตรการเชื่อมใต้น้า โรงเรียนช่างฝีมือทหาร กรุงเทพฯ 3. หลักสูตรลูกเสือ BTC ค่ายเขาศาลา อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์


6 บทที่ 3 ชุมชนบ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชีวิตสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ข้อมูลทางด้านศักยภาพ และทุนทาง สังคม ข้อมูลทางสุขภาวะ และทุกขภาวะของชุมชน มีรายละเอียดดังนี้ 1. ประวัติศาสตร์ชุมชน บ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ เมื่อ 100 ปีมาแล้ว นายมี สีดา รักษ์ ได้ย้ายครอบครัวเข้ามาตั้งบ้านเรือนในเขตบ้านจรัส หมู่ 12 ซึ่งเป็นเขตพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ต่อมา ญาติพี่น้องและคนอื่นๆ เห็นความอุดมสมบูรณ์ จึงทยอยเข้ามาอาศัยอยู่ และเพิ่มจานวนมากขึ้น จึงได้ ขอแยกหมู่บ้านจรัส หมู่ 12 และได้รับแต่งตั้งเป็นตาบลจรัส ณ บ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอ บัวเชด จังหวัดสุรินทร์ โดยนายมี สีดารักษ์เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ปัจจุบันมีนายมนูญ แก้วศิริ เป็น ผู้ใหญ่บ้าน 1) ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูง มีอาณาเขต ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านสะพาน ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านตระเวง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านจรัสพัฒนา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขาศาลา บ้านสะพาน 2) ประชากร จานวนครัวเรือน 148 ครัวเรือน ประชากรชาย 297 ครัวเรือน ประชากรหญิง 308 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 605 ครัวเรือน 3) การประกอบอาชีพ การประกอบอาชี พ ท าการเกษตร ปลู ก พื ช และเลี้ ย งสั ต ว์ การท านาหว่ า นข้ า วแห้ ง เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศส่วนมากเป็นที่ราบ 2. ข้อมูลทางด้านศักยภาพและทุนทางสังคมและท้องถิ่น 1) ข้อมูลการเมือง/การบริหาร (ผู้นาชุมชน/ผู้นาท้องถิ่น/อาสาสมัคร) ผู้ใหญ่บ้าน นายมนูญ แก้วศิริ


7 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายทวิทย์ สีเทา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางสารวย สุริยันต์ สมาชิก อบต. นายชัย แก้มศิริ สมาชิก อบต. นายสมบูรณ์ แรงรอบ อาสาพัฒนาชุมชน นางสาวสมใจ สุขปรั่ง อาสาพัฒนาชุมชน นางลาไย สุนทร อาสาพัฒนาชุมชน นายสวิน ลืมจิตร อาสาพัฒนาชุมชน นายสมบูรณ์ แรงรอบ อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางสารวย สุริยันต์ อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางรัศมี ลืมจิตร อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางเสวียน บุญเจริญ อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางสายทอง ช้างโต อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางสุธีรา บุญนอง อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางน้อย แก้วลึก อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นางเสงี่ยม เนียมงาม อาสาสมัครอื่นๆ (ระบุ) นายสาย หาญนึก 2) ข้อมูลสภาพโดยทั่วไป พื้นที่อยู่อาศัย 100 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตร 1,500 ไร่ ทานาปีละ 1 ครั้ง พื้นที่ทานา 1,000 ไร่ พื้นที่เลี้ยงสัตว์ 100 ไร่ อื่นๆ 400 ไร่ แหล่งน้า 2 แห่ง ประปาหมู่บ้าน 1 แห่ง บ่อบาดาล 20 บ่อ บ่อบาดาลสาธารณะ 3 บ่อ โรงเรียน 2 โรงเรียน ระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 1 โรงเรียน ระดับอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 1 โรงเรียน จานวนผู้ใช้ไฟฟูา 148 ครัวเรือน หอกระจายข่าว 1 แห่ง


8 ศาลาประชาคม 1 วัด 1 ที่พักสงฆ์ 1 โรงพยาบาลประจาตาบล 1 ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์ 1 ดอนปูุตา 1 3) ข้อมูลงานบุญประเพณี 1. งานบุญประเพณี 12 เดือน - งานเข้าพรรษา - งานออกพรรษา - งานสงกรานต์ - งานช้าง 2. งานบวช งานแต่งงาน 3. งานดอนปูุตา หลักเมือง

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง

สารทเขมร “แซนโฎนตา” คาว่า “แซนโฎนตา” เป็นคาที่มีรากศัพท์มาจากภาษาเขมร “แซน” แปลว่า การเซ่นไหว้ การอุทิศ หรือบวงสรวง ส่วนคาว่า “โฎนตา” แปลว่า ปูุย่าตายาย หรือบรรพบุรุษที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ความสาคัญ และประโยชน์ของการประกอบพิธีแซนโฎนตา ก็เพื่อถือปฏิบัติตามประเพณีที่ สืบต่อกันมานานของบรรพบุรุษชาวอาเภอขุขันธ์ ซึ่งมีความเชื่อว่าเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที ต่อบรรพบุรุษที่ได้ล่วงลับไปแล้ว เมื่อถึงวันแรม 14 ค่าเดือน 10 ลูกหลาน ญาติพี่น้องที่ไปประกอบ อาชีพหรือตั้งถิ่นฐานที่อื่นไม่ว่าจะใกล้หรือไกล ทั่วทุกสารทิศ จะเดินทางกลับมารวมญาติ และมา ทาบุญที่บ้านเกิดเพื่อทาพิธีแซนโฎนตา ร่วมกันทาบุญกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลไปให้บรรพบุรุษ และ ญาติของตนเองที่ได้ล่วงลับไปแล้ว เป็นโอกาสที่จะได้ทาดีตามหลักพระพุทธศาสนา โดยการบริจาค ให้ทาน และฟังเทศน์ ส่งผลให้จิตใจแจ่มใสปราศจากความเศร้าโศก ซึ่งสะท้อนให้เห็นความรัก ความผูกพันของสมาชิกในครอบครัว เครือญาติ และความสมัครสมานสามัคคีของคนในชุมชน พิธีการแซนโฎนตา มีขึ้นในวันแรม 14-15 ค่าของเดือน 10 ทุกปี ซึ่งตรงกับวันสารทใหญ่ ของชาวพุทธนั่นเอง บรรพ บุรุษชาวขุขันธ์มีความเชื่อว่า ช่วงนี้ในเวลากลางคืนจะเป็นช่วงที่มีลมพัด จากทางทิศเหนือ ไปทางทิศใต้ ซึ่งสอดคล้องกับที่จะได้ลอยเรือส่งอาหารไปถึงพวกเปรตที่อยู่ทาง ทิศ ใต้


9 อันที่จริงก่อนจะถึงวัน ทาพิธีแซนโฎนตา หรือที่ชนเผ่าเขมรอาเภอขุขันธ์เรียกว่า “เบ็ญธม” ซึ่งตรงกับวันแรม 15 ค่าเดือน 10 ทุกปีนั้น ใน ช่วงระหว่างวันแรม 1 ค่า ถึงก่อนวันแรม 14 ค่าเดือน 10 (ชาวเขมรเชื่อว่า เมื่อถึงวันแรม 1 ค่า เดือน 10 ประตูยมโลกจะเปิดและอนุญาตให้ผีในยมโลก เดินทางมาเยี่ยมญาติได้) ชาวบ้ านจะพากันไปวัดเพื่อประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ทาบุ ญอุทิศส่ วนกุศลให้ แก่บ รรพบุ รุษและญาติที่ล่ วงลั บ ฟังพระสงฆ์แสดงธรรมเทศนา เป็นต้น เหลืออีก 1-2 วันก่อนจะถึงวันแรม 15 ค่า ชาวบ้านจะเตรียมการจัดทาพิธีแซนโฎนตา โดยทาขนม หลากหลายชนิด มีข้าวต้มมัด ขนมเทียน เป็นต้น เพื่อเอาไปทาบุญที่วัด และเป็นของฝากให้ญาติพี่ น้องที่อยู่ใกล้ชิดกัน ตอนเช้าของวันแรม 15 ค่า เดือน 10 ชาวบ้านจะทาอาหารและเครื่องสักการะต่างๆ นาไป ตักบาตรเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปยังบรรพบุรุษ และญาติที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ซึ่งในวันนี้ ญาติพี่ น้องลูกหลานที่อยู่ในต่างถิ่นต่างมารวมกัน และพบกันเป็นพิเศษเพื่อร่วมทาพิธีแซนโฎนตาด้วยกัน ตอนบ่ายในวันเดียวกันนี้ จะมีพิธีแซนโฎนตา ที่บ้านตระกูลตัวเอง โดยจัดให้มีการปูเสื่อ วาง ฟูก และหมอนวางบนส่วนท้ายของฟูกอีกด้านหนึ่ง และเอาผ้าขาวคลุมหมอนอีกชั้นหนึ่ง เพื่อวาง กระป๋องสาหรับจุดธูปเทียน ข้างล่างจะมีแก้วน้า 4 ใบ จัดเป็นแถว ถัดมามีพาน 1 คู่ ที่บรรจุหมาก พลู บุหรี่ แถวถัดมาจัดพานขนมและผลไม้ ส่วนถัดไปเป็นถาดใส่อาหารเซ่นไหว้ และใส่ข้าวในจาน ข้าวด้วย เมื่อญาติพี่น้องในครอบครัว และญาติจากที่อื่นๆมาพร้อมกันแล้ว ชาวบ้านจะทาพิธีเซ่นไหว้ โดยจุดธูปเทียนกล่าวอัญเชิญให้บรรพบุรุษ และญาติที่ได้ล่วงลับไปแล้วมารับประทานอาหารที่ได้ จัดเตรียมไว้ให้ โดยอัญเชิญเป็นระยะ ๆ จานวน ๓ ครั้ง การอัญเชิญในแต่ละครั้ง จะมีการเทน้าใส่ เเก้วเพื่อกรวดน้าทุกครั้ง เมื่อครบ 3 ครั้งแล้ว จะนาถ้วยชามมาตักอาหาร ใส่ขนมและผลไม้ที่เป็น เครื่องเซ่นไหว้ รวมทั้งบุหรี่และธูปเทียนแล้วนาไปเท หรือวางไว้บนดินนอกบ้าน เพื่อส่งไปให้ญาติที่ ล่วงลับไปแล้ว เพื่อเก็บไว้กิน และขณะเดียวกันก็จะกล่าวคาขอพรให้ลูกหลานมีความสุขความเจริญ ทามาค้าขายมีกาไร และประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน สุดท้าย ชาวบ้านจะจัดทาเรือ/กระทงเล็กๆ โดยใช้ต้นกล้วย บรรทุกข้าว ข้าวโพด ถั่ว และ เงิน เมื่อถึงเวลาใกล้จะถึงตี ๔ หรือตี ๕ จะนาเรือ / กระทงเล็กๆ ไปลอยตามกระแสน้า เพื่อส่งไปยัง พวกเปรตตามความเชื่อ โดยชาวบ้ านเชื่อว่า เปรตมี 4 ชนิด ได้แก่ 1) เปรตที่เลี้ยงตัวเองด้วยเลือด 2) เปรตที่หิวตลอดเวลา 3) เปรตที่ไฟไหม้ตลอด และ 4) เปรตที่เลี้ยงตัวโดยผลบุญกุศลที่เขาอุทิศให้ ซึ่งก็คือ การจัดพิธีแซนโฎนตาที่ญาติซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ทาบุญอุทิศให้นั่นเอง อย่างไรก็ตาม แม้พิธีแซนโฎนตา จะเป็นความเชื่อที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ แต่ก็เป็นโอกาสดีที่ ญาติพี่น้องจะ หาโอกาสมาพบปะกันปีละครั้ง โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ห่างไกล หรือไปทางานอยู่ต่างถิ่น จะ ได้แสดงออกถึงความรักห่วงใยกันโดยเฉพาะในสังคมปัจจุบัน ต่างก็ออกจากบ้านอันเป็นถิ่นกาเนิดไป


10 ทามาหากินอยู่ถิ่นอื่นๆ หากไม่มีประเพณีแซนโฎนตาแล้ว ในรอบหนึ่งปีอาจจะหาโอกาสกลับบ้าน เพื่อพบปะญาติพี่น้องในตระกูลเดียวกันอาจหาไม่ได้สารทเขมร “แซนโฏนตา” 3. วัฒนธรรมประเพณีชุมชน เดือนห้า ทาบุญสรงน้า บุญสรงน้าเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าบุญตรุษสงกรานต์ นิยมทาในวันที่ 13-15 เมษายนของ ทุกปี โดยทาน้าอบน้าหอมไปสรงพระพุทธรูป พระสถูปเจดีย์ ต้นศรีมหาโพธิ์ พระภิกษุผู้อาวุโส สรงผู้เฒ่าผู้แก่ เพื่อขอศีลขอพร นอกจากนั้นก็นิยมสรงกันเอง เดือนแปด ทาบุญเข้าพรรษา ทาบุ ญเข้ าพรรษา ในงานนี้มีก ารแห่ เที ยนพรรษา ถวายผ้ าอายน้ าฝนแดพระภิก ษุ สามเณร ซึ่งจะอยู่จาพรรษาในอาวาสนั้นด้วย นอกจากนี้ยังมีการทาบุญตักบาตร รักษาศีลอุโบสถ ฟังเทศน์และเจริญเมตตาภาวนา เดือนสิบเอ็ด ทาบุญออกพรรษา ทาบุญออกพรรษา เป็นวันสิ้นสุดการจาพรรษามีขึ้นในวันขึ้น 15 ค่า เดือนสิบเอ็ด พระสงฆ์ทาปวารณากรรมในอุโบสถ ญาติโยมทาบุญให้ทาน รักษาศีลฟังเทศน์และเจริญภาวนา อีก ด้านหนึ่งมีการแข่งเรือไฟและมีมหรสพคบงัน เดือนสิบสอง ทาบุญกฐิน ทาบุญกฐินนิยมทาเมื่ออกพรรษาแล้ว เริ่มตั้งแต่แรม 1 ค่า เดือน 11ไปจนถึงเดือน12 เพ็ญ กฐินมี 2ประเภท คือจุลกฐินและมหากฐิน ปัจจุบันยังนิยมทากันอยู่ทั้งสองประเภทการ ทาบุญกฐินคือการให้ทานอย่างหนึ่งนั้นเอง แต่มีเวลาจากัดเพียง 1 เดือน ไม่เหมือนการทาบุญ ทั่วๆไป ถ้าพ้นกาหนดไปเรียกว่าการทาบุญผ้าปุา 4. สภาพปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหาของหมู่บ้าน/ชุมชน สภาพปัญหาของหมู่บ้าน ที่ ประเภทปัญหา สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 1 ด้านโครงสร้างพื้นที่ - ถนนในหมู่บ้าน - ถนนลูกรังเป็นหลุมเป็นบ่อ - น้าเพื่อการเกษตรและเลี้ยง - มีความตื้นเขินในหน้าแล้ง สัตว์ - การติดต่อสื่อสาร - ไม่มีโทรศัพท์สาธารณะ - ไฟฟูา - ไฟฟูายังไม่ทั่วถึง

ผลกระทบจากปัญหา - การไปมาไม่สะดวก - ทาการเกษตรและเลี้ยง สัตว์ไม่เพียงพอ - การสื่อสารไม่ทันเวลา - ขาดความสว่างในจุด


11 ที่

ประเภทปัญหา

สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น

2 ด้านเศรษฐกิจ - การอบรมอาชีพ - รายได้และหนี้สิน -

3 -

4

- ประชาชนขาดอาชีพเสริม - ค่าใช้จ่ายมากแต่รายได้ไม่มี ทาให้ต้องกู้หนี้ยืมเงิน การประกอบอาชีพของคน - หลังจากอาชีพหลักหมดไป ในชุมชน ประชาชนส่วนมากจะวาง งาน ผลิตผลทางการเกษตร - ผลิตออกมาไม่มีแหล่ง จาหน่าย ราคาต่า การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ - ประชาชนมีการใช้จ่ายที่ ฟุ​ุมเฟือย การประหยัดและอดออม - ยังไม่มีการออมรายเดือน ด้านสังคม การเมือง การปกครอง กลุ่มองค์กรในชุมชน - กลุ่มองค์กรไม่เข้มแข็ง การสงเคราะห์ - ไม่มีกลุ่มสงเคราะห์ การปูองกันยาเสพติด - ไม่มีซื้อขายยาเสพติดใน หมู่บ้าน การเสริมสร้างประชาธิปไตย - ไม่มีการขายสิทธิ์ขายเสียง เมื่อมีการเลือกตั้ง อาจทาให้ได้ตัวแทนไม่มี ความสามารถ

ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม - การสนับสนุนการศึกษา - การศึกษาภาพรวมอย่างต่า - การสนับสนุนประเพณี

ผลกระทบจากปัญหา ล่อแหลม - ทาให้ไม่มีรายได้ - การศึกษาต่า

- ทาให้การบริหารกองทุน ไม่มีความเข้มแข็ง

- เมื่อมีการขายสิทธิ์ขาย เสียง

- ทาให้ประชาชนอาจมี การถูกหลอกลวงได้ง่าย - การมีหนังสือประจาหมู่บ้าน - ประเพณีรวมของชุมชน สูญหาย - ไม่มีศูนย์ถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิ่น รัฐยังน้อย


12 ที่ ประเภทปัญหา 5 ด้านสาธารณสุข - สุขภาพ

สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น - ประชาชนขาดการดูแลสุขภาพ

ผลกระทบจากปัญหา

- ทาให้สุขภาพร่างกาย - ไม่มีการออกกาลังกาย แข็งแรง - มีพฤติกรรมบริโภคไม่ถูกต้อง - ทาให้เกิดโรคได้ง่าย - สภาพแวดล้อมไม่ดี - การควบคุมปูองกันโรคไม่ - ยังมีโรคติดต่อที่ต้องควบคุม - เมื่อมีการเจ็บปุวยต้อง ติดต่อ เสี่ยงกับการเสียชีวิต - โรคไข้เลือดออก - โรคท้องว่าง โรคเอดส์ - การควบคุมโรคไม่ติดต่อ - มีการเกิดโรคเบาหวาน - เสียเวลาเสียเศรษฐกิจ - โรคความดันโลหิตสูง - ทาให้สุขภาพไม่ดี - โรคอ้วน - เป็นภัยเงียบในการ ดารงชีวิต - สิ่งแวดล้อม - สภาพบริเวณหมู่บ้านไม่สะอาด - ทาให้เกิดโรคระบาด - การปูองกันอุบัติเหตุ - ขับขี่จักรยานยนต์ไม่สวม - เมื่อเกิดอุบัติเหตุทาให้ หมวกนิรภัย เกิดอันตรายถึงชีวิต 6 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ - หนองน้า - หนองน้ามีการตื้นเขิน - ทาให้ไม่มีแหล่งทา การเกษตรและอาหาร ตามธรรมชาติ - รักษาปุาตามธรรมชาติ - สภาพปุามีน้อย - ทาให้ชุมีชุมชนมีการเกิด โรคระบาดได้ง่าย - ชุมชน - ชุมชนสะอาด

5. องค์กรชุมชนและเครือข่ายองค์กรชุมชน บ้านจรัส ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ 1) กลุ่มเกษตรปลูกข้าวปลอดสารพิษ จัดตั้ง พ.ศ.2554 ประธาน นายมนูญ แก้วศิริ สมาชิก จานวน 52 ครัวเรือน


13 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ชุมชนได้บริโภคข้าวปลอดสารพิษ 2. เพื่อส่งเสริมการสร้างรายได้จากการปลูกข้าวปลอดสารพิษ 3. สร้างความรัก ความสามารถและความปรองดองในชุมชน 4. ส่งเสริมการออม 5. แหล่งเงินกู้ให้กับสมาชิก มีปันผลคืนทุกปี 6. มีเงินทุนหมุนเวียน 500,000 บาท 2) กลุ่มทอผ้าพื้นเมือง จัดตั้ง พ.ศ.2550 ประธาน นางลาไย สุนทร สมาชิก จานวน 48 ครัวเรือน วัตถุประสงค์ 1. เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. สร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ 3. ส่งเสริมการออม 4. แหล่งเงินกู้ให้กับสมาชิก มีปันผลคืนทุกปี 5. สร้างความรัก ความสามัคคี 3) กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าพื้นเมือง จัดตั้ง พ.ศ.25 ประธาน นางสาวสมใจ สุขปรั่ง สมาชิก จานวน 35 ครัวเรือน วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมการทอผ้าพื้นเมือง 2. สร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ 3. ส่งเสริมการออม มีปันผลคืนทุก 15 ธันวาคมของทุกปี 4. สร้างความรัก ความสามัคคี 5. มีเงินทุนหมุนเวียน 600,000 บาท


14 4) กลุ่มกองทุนเงินล้าน จัดตั้ง พ.ศ.2554 ประธาน นายมนูญ แก้มศิริ สมาชิก จานวน 140 ครัวเรือน วัตถุประสงค์ 1. มีเงินหมุนเวียนเพื่อประกอบอาชีพ 2. ส่งเสริมการออมด้วยวิธีถือหุ้น 3. สร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจ 4. ลดปัญหาหนี้นอกระบบ 5. มีเงินทุนหมุนเวียน 1,900,000 บาท 6. ทุนทางสังคม ทุนทางสังคมแต่ละอย่าง ที่ยกขึ้นมานาเสนอ มีดังต่อไปนี้ แนวคิ ดทุ น ทางสั ง คม และค าว่ าทุ นทางสั ง คมในประเทศไทย เริ่ มปรากฏขึ้น ในปี 2540 ภายหลังจากที่ได้มีการจัดตั้งสานักงานกองทุนเพื่อสังคม (SIF) โครงการของกองทุนเพื่อสังคมดังกล่าว ได้พยายามและทาให้ สั งคมไทยหั นกลั บไปมองคุณค่าที่เคยมีอยู่ที่เป็นทุนเดิม แต่อาจมองข้ามไป รวมทั้งสิ่งที่มีอยู่ในตัวบุคคล เช่น ความมีน้าใจ ความเอื้ออาทร การช่วยเหลือเกื้ อกูล รวมไปถึงสิ่งที่ ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพชน เช่น ภูมิปัญญา ประเพณี ความเชื่อ และวัฒนธรรมที่มีอยู่ในชุมชน รวมทั้งสิ่งที่เป็นศักยภาพในการพัฒนาของชุมชน เช่น ผู้นา กลุ่ม องค์กรประชาชน เครือข่าย เป็นต้น ซึ่งการดาเนิ นการดังกล่ าวได้เกิดการฟื้นฟูทุนทางสั งคมที่ มีอยู่และเริ่มสู ญหายให้ มีการนากลับมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาในระดับชุมชน สามารถจาแนกทุนทางสังคมออกเป็นแต่ละประเภทดังนี้ 1. ทุนทางธรรมชาติ คือ ปุาชุมชน ที่ดินทากิน แม่น้า น้าตก ห้วย บึง ภูเขา 2. ทุนด้านภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความคิดและความสามารถของบรรพบุรุษในแต่ละ ท้องที่ที่สามารถปรับตัวและปรับวิถีชีวิตให้เข้ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างดีและสืบทอด ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ให้แก่ลูกหลานเพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อการดารงชีวิตที่มีความสุขตลอดไป 3. ทุนการสั่งสอน คือ ทุนที่ได้รับจากความรู้ จากอาจารย์ ปราชญ์ชาวบ้าน พ่อแม่ ผู้เฒ่า ผู้ แก่ รวมทั้งผู้รู้ในแต่ละด้านในชุมชน 4. ทุนวัฒนธรรม เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัด ผลงานทางศิลปะ ภาพเขียน รูปปั้น ทุนวัฒนธรรมที่สัมผัสได้นี้ไม่ได้ถูกจากัดในรูปแบบเฉพาะมรดกทางวัฒ นธรรมเท่านั้น แต่ยังขยาย ขอบเขตไปถึงทุนกายภาพ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร สิ่งประดิษฐ์ ทุนวัฒนธรรมรูปแบบนี้


15 สามารถสึกหรอ ผุพังได้ ยังไม่ได้รับการดูแลรักษา และสามารถวัดมูลค่าในรูปของเงินได้ไม่ว่าจะเป็น ตัววัตถุเอง หรือการบริการที่ใช้วัตถุนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการ 7. สวัสดิการชุมชน สวัสดิการ หมายถึง บริการหรือกิจกรรมใดๆ ที่หน่วยงานราชการหรือองค์การธุรกิจเอกชน จัดให้มีขึ้นเพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์การนั้นๆ ได้รับความสะดวกสบาย ในการทางาน มีความมั่นคงในอาชีพ มีหลักประกันที่แน่นอนในการดาเนินชีวิต หรือได้รับประโยชน์ อื่นใดนอกเหนือจากเงินเดือน หรือค่าจ้างที่ได้รับอยู่เป็นประจา ทั้งนี้เพื่อเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานมี ขวัญและกาลั งในที่ดี เพื่อจะได้ใช้กาลั งกาย กาลั งใจ และสติปัญญาความสามารถของตนในการ ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ไม่ต้องวิตกกังวล ปัญหายุ่งยากทั้งในส่วนตัวและครอบครัวทา ให้มีความพอใจใน งาน มีความรักงานและตั้งใจที่จะทางานนั้นให้นานที่สุด สาหรับสวัสดิการที่ สมบูรณ์แบบนั้นย่อม หมายถึง สวัสดิการที่ให้แก่ลูกจ้าง บริการหรือกิจกรรมใดๆ ที่หน่วยงาน ราชการหรือองค์การธุรกิจ เอกชนจั ดให้ มีขึ้นเพื่ อให้ข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ ที่ปฏิบัติงานอยู่ใน องค์การนั้นๆ ได้รับความ สะดวกสบายในการทางาน มีความมั่นคงในอาชีพ มีหลักประกันที่แน่นอนในการดาเนินชีวิต หรือ ได้รับประโยชน์อื่นใดนอกเหนือจากเงินเดือน หรือค่าจ้างที่ได้รับอยู่เป็น ประจา ทั้งนี้เพื่อเป็นสิ่งจูงใจ ให้ผู้ปฏิบัติงานมีขวัญและกาลังในที่ดี เพื่อจะได้ใช้กาลังกาย กาลังใจ และสติปัญญาความสามารถ ของตนในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ไม่ต้องวิตกกังวล ปัญหายุ่งยากทั้ง ในส่วนตัวและครอบครัวทาให้มี ความพอใจในงาน มีความรักงานและตั้งใจที่จะทางานนั้นให้นานที่สุด สาหรับสวัสดิการที่สมบูรณ์แบบ นั้นย่อมหมายถึง สวัสดิการที่ให้แก่ลูกจ้าง สวัสดิการ หมายถึง “การกินดีอยู่ดี” ซึ่งถ้าจะขยายความ ออกไปก็อาจกล่าวได้ว่า คือภาวะของการมีสุขภาพดี มีความเจริญรุ่งเรือง และมีความสุข ถ้าเกี่ยวกับ ด้านแรงงานก็หมายถึง สิ่งหรือสถานการณ์ที่นายจ้างจัดให้เพื่อความสะดวกสบาย หรือความกินดีดอยู่ ดีของลูกจ้างนั่นเอง ซึ่งการดาเนินการเพื่อให้เกิดภาวะที่มีความสะดวกสบาย หรือความกินดีอยู่ดีของ ลูกจ้างนี้มิได้หมายความว่า เป็นความรับผิดชอบของนายจ้างแต่ฝุายเดียว รัฐบาลและสหภาพแรงงาน ก็ต้องมีส่วนร่วมตัวอย่างสวัสดิการชุมชน 8. แผนที่ชุมชนและภูมิสถาปัตยกรรมชุมชน แผนที่ที่ชุมชน คือ จุดอ้างอิงของทุกภาคส่วนในการระบุทรัพยากร ทางวัฒนธรรม อันเป็น ทุนทางสังคมที่สาคัญของชุมชน โดยมีพื้นฐานมาจากแนวคิดเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่มี ชีวิต เน้นการพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม โดยมีเนื้อหาครอบคลุม อย่างครบถ้วนตั้งแต่พัฒนาการ ประวัติศาสตร์ของเมือง สภาพองค์ประกอบทางกายภาพในปัจจุบัน รวมไปถึงองค์ประกอบที่สาคัญอื่นๆ เช่น บ้านเรือนเก่าแก่ ระบบคูคลอง ต้นไม้ใหญ่ พันธุ์ไม้พื้นถิ่ น


16 ฯลฯ อันเป็นส่วนหนึ่งที่ประกอบกันเป็นคุณค่ารวม ของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม ซึ่งมิใช่มีแต่ โบราณสถาน วัด วัง ที่มีคุณค่าสูงเท่านั้น แผนที่ชุมชนมีรูปแบบและลักษณะที่เข้าใจง่ายสามารถ เข้าถึงได้โดยคนทุกระดับมีลักษณะเป็นพลวัต ยืดหยุ่น สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามบริบททางสังคม และวัฒนธรรมในอนาคต โดยจะเป็นหนึ่งในมาตรการและเครื่องมือสาคัญสาหรับหน่วยงานท้องถิ่น และประชาชน ในการร่วมกาหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไปในอนาคต บ้านจรัส หมู่ที่ 1 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์


17 บทที่ 4 โครงงาน การทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อการบริโภค 1. สภาพโดยทั่วไป ลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบ ภูมิอากาศร้อนชื่น เกษตรกรมีอาชีพในการเพาะปลูก (ปลูกข้าว) และ เลี้ยงสัตว์ ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ ร้อยละ 90 การทานาปลูกข้าวของเกษตรกรจะมีวิธีการปลูกข้าว ตามความเหมาะสมกับบริบทแปลงนาของตนเอง และกาลังในการลงทุนของตนเอง ลักษณะของโครงงาน โครงงานนี้เป็นโครงงาน การทานาหว่านเพื่อบริโภคในครอบครัว มี พื้นที่ในการทางานจานวน 10 ไร่ ซึ่งได้รับการแบ่งปันเป็นมรดก จึงได้จัดทาโครงงานนี้มากกว่า 3 ปี โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไว้บริโภคเหลือกินก็แบ่งขายเพื่อเป็นทุนและเก็บเป็นเงินออม ระยะเวลาในการทาโครงงาน ครั้งละ 1 ปี เมื่อจบโครงงานก็มีการประเมินโครงงาน สรุปผล วางแผน เพื่อพัฒนาปรับปรุงในครั้งต่อไป และวางแผนปฏิบัติการไว้ในฤดูการที่จะมาถึง สาหรับการทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อบริโภค ในพื้นที่ 10 ไร่ เริ่มโครงการในเดือนพฤษภาคม ในระยะต้นเดือนพฤษภาคมเริ่มไถดะ เตรียมเมล็ดพันธ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่เหมาะในสภาพดิน ร่วนปนทราย จานวน 200 กิโลกรัม ต่อ 10 ไร่ (20 กก./ไร่) การปลูก (หว่านแห้ง) การบารุงดูแล รักษา ตลอดจนถึงฤดูเก็บเกี่ยว ได้วางแผนการปฏิบัติ ซึ่งจะเสนอในลาดับต่อไป สภาพปัญหาที่ผ่านมาที่ผลกระทบต่อเกษตรกรในการทานา มีหลายปัจจัย เช่น สภาพดินฟูา อากาศไม่เอื้ออานวย ฝนตกไม่ตรงตามฤดูกาล บางปีก็ท่วม บางปีก็แล้ง สภาพการณ์แบบนี้ก่อให้เกิด ผลกระทบ เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อเกษตรกร ในปีที่ได้ข้าวที่มีผลผลิ ตอุดมสมบูรณ์ ราคา ข้าวก็ต่าไม่คุ้มกับการลงทุน ข้าพเจ้าได้ปรับแนวคิดใหม่ ด้วยการผลิตข้าวนาหว่านเพื่อบริโภค และเป็น ข้าวอินทรีย์ด้วยการลด ละ เลิกและหมดไป ความคาดหวัง ให้มีข้าวปลอดสารพิษสาหรับบริโภคตลอดปี และเพิ่มผลผลิตในการทานา หว่านข้าวแห้ง โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ในอนาคตนี้ได้วางแผนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพ ผลผลิต ดังนี้ 1. สร้ างและขยายเครื อข่ายทั้งในและนอกองค์กรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกชุมชน 2. รัฐให้ความรู้ ความช่วยเหลือ ตรงตามความต้องการของเกษตรกร 3. สร้ างอาชีพเสริ ม เพิ่มรายได้ ให้ ตรงกับ ความต้องการและบริบทของพื้นที่ ตลอดจน ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนที่มี


18 แผนปฏิบัติงานประจาปี พ.ศ.2561 ที่

กิจกรรม

1 2 3 4 5 6

การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว การเตรียมพื้นที่ (ดิน) การปลูกข้าว (หว่าน) การดูแลรักษา การเก็บผลผลิต สรุป เสนอแนะ

ระยะเวลาการดาเนินงาน ปี พ.ศ.2561 ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค

หมาย เหตุ

2. กระบวนการทางาน 2.1 การเตรียมเมล็ดพันธุ์ การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ควรมีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์แท้บริสุทธิ์สูงตรง ตามสายพันธุ์ ไม่ควรมีเมล็ดข้าวพันธุ์อื่นมาปน ตลอดจนเมล็ดวัชพืช ข้าวลีบ ฟางข้าวหญ้าแห้งออกให้ หมด และควรมีการทดสอบความงอก เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดีควรมีความงอกตั้งแต่ 80% ขึ้นไป การเตรียม เมล็ดพันธุ์ข้าวดอกมะลิ 105 ให้เพียงพอเหมาะสมกับพื้นที่แปลงนาที่จะปลูก สาหรับข้าพเจ้าใช้อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นค่าเฉลี่ย หรือประมาณ 200 กิโลกรัมต่อ 10 ไร่


19

การคัดเลือกพัน ธุ์สาหรับปีต่อไป นิยมเลือกข้าวรวงที่มีความสมบูรณ์ เมล็ ดโต สมบูรณ์ มี น้าหนักและเลือกเกี่ยวด้วยมือ


20

แล้วนามามัดรวมกัน มัดหรือฟุอน (ภาษาถิ่น) นากองรวมกันที่ลานข้าว ตีข้าวด้วยมือ]


21

นามาตากให้แห้งพอเหมาะแล้วเก็บใส่ถุงหรือกระสอบ เก็บไว้ในยุ้งฉาง แยกเก็บอีกที


22 2.2 การเตรียมพื้นที่ ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด เศษใบไม้ หญ้าฟางแห้ ง อัตราประมาณ 1,000 กก./ไร่ ควรใส่ปุ๋ยก่อนหว่านข้าวประมาณ 2 สัปดาห์ หรือพร้อมกับไถดะ กระบวนการได้มาซึ่งปุ๋ยอื่น วิธีการทาปุ๋ยหมัก วิธีการทาปุ๋ยพืชสด 1) ไถดะ คือการไถหลังฝนตกแรก ในช่วงปลายเดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน เพื่อไถกลบ ตอซัง หญ้าให้กลายเป็นปุ๋ยในดิน


23 2) ไถแปร คือการไถหลังไถดะ ประมาณ 2-4 สัปดาห์ การไถแปรจะไถไปในทิศทางตรงกัน ข้ามกับไถดะ เพื่อเป็นการย่อยสลายดิน ให้เหมาะสมต่อการงอกของเมล็ดข้าว ควรเก็บหญ้า ต้นวัชพืช ออกจากแปลงนาให้สะอาด เท่าที่จาเป็น เพื่อลดปัญหาวัชพืชที่จะงอกขึ้นมาแข่งกับต้นข้าว


24 3) คราด คือการย่อยดินให้ละเอียดขึ้น และเป็นคราดหญ้า เศษไม้ วัสดุ ปรับพื้นที่นาให้มี พื้นที่ราบ การเตรียมแปลงนาที่มีการเตรียมดินที่ดี จะช่วยให้ต้นหญ้า ตอซังย่อยสลายเป็นปุ๋ยในดิน ทาให้ดินเป็นดินร่วน และเป็นการยับยั้งการเจริญเติบโตของวัชพืชอีกทางหนึ่ง


25

การคราดแปลงที่นาเตรียมปลูกข้าว


26 2.3 การปลูกข้าว (การหว่านข้าวแห้ง) หลังจากการเตรียมเมล็ดพันธุ์ การเตรียมดินพร้อมการปลูกข้าวนาหว่านแห้ง พันธุ์ข้าวขาว ดอกมะลิ 105 ระยะเวลาของการหว่านสามารถรอฝันได้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงระยะฝนทิ้งช่วง ประมาณ เดือนกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม ขึ้นอยู่กับสภาพดินฟูาอากาศแต่ละปี อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าว ต่อการหว่าน ขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ ความงอกของเมล็ดพันธุ์ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป การเตรียมดิน ศัตรูที่จะทาลายเมล็ดข้าวในแปลงนาหลังหว่าน อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าว ข้าวดอก มะลิกับสภาพดินร่วนปนทราย ประมาณ 16-20 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ 160-20 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 10 ไร่


27

การหว่านข้าวและหลังการหว่านข้าว


28

ข้าวเริ่มงอก


29 2.4 การดูแลรักษา หลังการหว่านข้าวไปแล้ว ไม่ควรให้มีน้าขังในที่นา เพราะจะทาให้เมล็ดข้าวเน่า การระบาย น้าเข้ามาได้จะกระทาเมื่อข้าวงอกได้ประมาณ 1 สัปดาห์ จะเป็นผลดีในการกาจัดวัชพืช และเป็นการ ควบคุมวัชพืชได้

1) การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ การใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ ยพืชสด เศษหญ้าเศษไม้ ฟางแห้ง ใช้ในอัตราส่วนประมาณ 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ และควรใส่ก่อนหว่านข้าว หรือพร้อมกับไถดะ ประมาณ 1-2 สัปดาห์ ควรหมั่นตรวจดูแปลงนาอย่างสม่าเสมอ เมื่อพบโรคหรือแมลงทาลายต้นข้าว ให้รีบทาลายทันที และวัชพืชสามารถดูดอาหารได้เร็วกว่าต้นข้าว การใช้แรงงานในการถอนวัชพืช จะ สามารถดูแลต้นข้าวได้อย่างทั่วถึง รายละเอียดการเจริญเติบโตของต้นข้าวได้ดี


30 2) การถอนวัชพืชด้วยมือ การถอนวัชพืชด้วยมือ เป็นวิธีการกาจัดวัชพืชโดยใช้แรงคนในนา หว่านข้าวแห้ง โดยใช้มือถอนหรืออุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้จอบถาก ในสภาพที่วัชพืชขึ้นอยู่อย่าง หนาแน่น จะกระทาในช่วง 30-40 วัน หลังจากข้าวงอก อย่างไรก็ดี การถอนวัชพืชด้วยมือ เป็นการใช้ แรงงานในครัวเรือนที่มีที่นาไม่มากเกินไป ในสภาพการทานาหว่านแห้ง นาน้าฝน การตกของฝนในฤดู ปริมาณน้าฝนพอเพียงจะเป็นตัวกาหนดให้เกษตรกรมีการปฏิบั ติ และการกาจัดวัชพืชที่เป็นปัญหา สาคัญที่สุดในนาข้าว


31

การทาลายวัชพืช โดยใช้เครื่องตัดหญ้าตัด ไม่ใช้สารเคมีฉีดพ่น และดูแลไม่ให้สัตว์ เช่น หนูนา ปูนา หอยเชอรี่ ตั๊กแตนมาทาลายต้นข้าว


32

โดยเฉพาะข้าวขณะออกรวง ต้องหมั่นเอาใจใส่ดูแลทุกด้าน เช่น ระบบน้า วัชพืช สัตว์หรือ แมลงที่จะมาทาลายต้นข้าว ต้องดูแลให้ทั่วถึง เมื่อเกิดปัญหาต้องรีบแก้ไขทันทีและจดบันทึก ปัญหา วิธีการแก้ไข ผลสาเร็จเพื่อพัฒนาการปลูกข้าวในปีต่อไป


33 2.5 การเก็บเกี่ยว การเก็บ เกี่ ย วหลั ง ข้ าวออกดอกประมาณ 30 วัน สั ง เกตจากเมล็ ดในรวงข้ า ว ส่ ว นใหญ่ เปลี่ยนเป็นสีฟางเรียกว่าระยะข้าวพลับพลึง การตากข้าว ขณะเก็บเกี่ยวจะมีความชื้นประมาณ 18-24 เปอร์เซ็นต์ จาเป็นต้องตากให้เหลือความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์ เพื่อให้เหมาะสมกับการนาไปแปรสภาพ เก็ บ รั ก ษาและมี คุ ณ ภาพในการสี ที่ ดี การรั ก ษาผลผลิ ต ต้ อ งเก็ บ รั ก ษาผลผลิ ต ด้ ว ยวิ ธี ก ารจั ด สภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เช่น เก็บในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิ การใช้ภาชนะเก็บมิดชิด หรือการใช้ เทคนิคการใช้ก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์ ในการเก็บรักษา การเก็บในห้องที่มีอุณหภูมิต่า จะปูองกันการ เจริญเติบโตของโรคและแมลงได้

ข้าวมีสีเหลืองพลับพลึง แสดงว่าพร้อมที่จะเก็บเกี่ยวได้


34

ในปัจจุบันนิยมใช้เครื่องจักรในการทางาน เพราะประหยัดเวลา ซึ่งเครื่องจักรยนต์หรือรถ เกี่ยวข้าวมีหลากหลายรูปแบบและขนาด


35

มีทั้งรูปแบบรถเกี่ยวและได้ผลผลิตบรรจุกระสอบ

หรือแบบเกี่ยวด้วยมือแล้วจ้างรถมาเฉพาะสีข้าวก็มี


36

เมื่อสี ข้าว แล้ วน ามาตากแดดไว้ประมาณ 2 แดดจัดก็พอ ถ้ามากกว่านี้ เวลาแปรรูปเป็น ข้าวสาร เมล็ดข้าวก็จะหักไม่สวย


37

หลักการตากแดดได้ประมาณ 2 แดด นามาตรวจดูว่าข้าวแห้งได้ระดับหรือยัง ถ้าได้นามา บรรจุภาชนะ


38

ภาชนะบรรจุ กระสอบปุาน กระสอบปุ๋ย เพื่อนาไปเก็บไว้ในยุ้งฉาก เพื่อบริโภค หรือนาไปขาย


39 3) ผลผลิต ผลลัพธ์ และการเกื้อกูลสังคม ผลผลิตจากการทานาหว่านแห้งในเนื้อที่ จานวน 10 ไร่ ด้วยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์รองพื้น และให้ ปุ๋ยในระยะต่างๆ มีการควบคุมวัชพืช มีผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558-60 จานวนเฉลี่ย 365396 กิโลกรัม/ไร่ ในปี 2561 ผลผลิตนาจะได้มากกว่าทุกปี สรุป 1. ผลผลิตทั้งหมด 600 x 10 = 6,000 กิโลกรัม ผลผลิตต่อไร่ = 600 กิโลกรัม 2. ต้นทุนทั้งหมด 6,300 x 10 = 63,000 บาท ทุนต่อไร่ = 6,300 บาท 3. ผลลัพธ์ ลงทุนทั้งหมด 61,000 บาท ผลผลิตได้ 6,000 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 17 บาท ขายได้เงิน 6000 x 17 = 102,000 บาท ได้กาไร 102,000 – 63,000 = 39,000 บาท การเกื้อกูลต่อชุมชน สังคม ด้วยการสร้างและขยายเครือข่ายให้ความรู้ด้านวิชาการ ข่าวสาร ปฏิบัติเป็นแบบอย่างให้ความช่วยเหลือกันและกัน ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ทาให้ชุมชนอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ พึ่งพากันแบบยั่งยืน 4. แผนงานในอนาคตและการรายงานแบบยั่งยืน แผนงานพัฒนาแปลงนาข้าวหว่านแห้ง ในอนาคตคือ การรวมกลุ่มกันปลูกพื ชหมุนเวียน เพื่อ เป็นการลดวัชพืชหรือทาให้วัชพืชเปลี่ยนไป โดยปลูกก่อนหรือหลังการทานาและเป็นการเพิ่มรายได้ การใช้เวลาว่าง พื้นที่ว่างให้เกิดประโยชน์ การรวมกลุ่มสมาชิก เป็นการสร้างความปรองดองสามัคคี ของคนในชุมชน การอยู่ร่วมกันด้วยความรัก เอื้ออาทรต่อกันและอยู่อย่างสันติยั่งยืน 5. ข้อคิดสาคัญที่ได้จากการทาโครงงานนี้ การทานาให้ได้ผลผลิตสูง ไม่ใช่ต้องขยายพื้นที่ แต่เพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการ การเอาใจใส่ดูแล ในทุกขั้นตอนและผลผลิตที่ได้ต้องบริสุทธิ์ ปลอดภัยต่อสุขภาพของทุกคน


40 บทที่ 5 สรุปผลโครงการ การทานาหว่านข้าวแห้งเพื่อการบริโภค วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ได้ข้าวปลอดสารพิษ สาหรับการบริโภคได้ตลอดปี เห็นได้จาก 1.1 กระบวนการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ 1.2 การเตรียมดิน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ 1.3 ไม่ใช้สารเคมีตลอดฤดูการทานา 1.4 การกาจัดศัตรูข้าวใช้วิธีธรรม จากการเก็ บ ผลผลิ ต เมื่ อ วั นที่ 20 ตุ ล าคม พ.ศ.2561 ได้ ผ ลผลิ ต ทั้ ง หมด ได้ 6000 กิโลกรัม ต่อ 10 ไร่ (600 กิโลกรัม/1 ไร่) ในปี พ.ศ.2560ได้ผลผลิต 5,300 กิโ ลกรัม/10 ไร่ (530 กิโลกรัม/1 ไร่) ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2560 จานวน 700 กิโลกรัม/10 ไร่ (70 กิโลกรัม/1 ไร่) สามารถเก็บข้าวปลอดสารพิษไว้บริโภคได้ตลอดปี และขายเพื่อนาเงินมาเก็บไว้เป็นทุนสารองได้ 2. เพื่อเพิ่มผลผลิตในการทานาหว่าน ข้าวแห้ง โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เห็นได้จาก ผลผลิตในปี พ.ศ.2560 ได้ข้าวจานวน ผลผลิต 5,300 กิโลกรัม/10 ไร่ (530 กิโลกรัม/1 ไร่) ในปี พ.ศ.2561 ได้ข้าว 6,000 กิโลกรัม/10 ไร่ (600 กิโลกรัม/1 ไร่) จากสถิติพบว่า มีผลผลิต เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2560 จานวน 700 กิโลกรัม/10 ไร่ (70 กิโลกรัม/1 ไร่) แผนงานในอนาคต แผนงานในอนาคตจะพัฒนาต่อยอดการปลูกข้าวปลอดสารพิษ ดังนี้ 1. เพิ่มผลผลิตให้ได้ 650-700 กิโลกรัม/ไร่ 2. ขยายการตลาดกลุ่มปลูกข้าวปลอดสารพิษ โดยส่งเสริมการตลาดให้กลุ่ม มีรายได้เพิ่ม มากขึ้น 3. เชิญวิทยากร ให้ความรู้เรื่อง การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ 4. เพิ่มเงินออม เงินกู้เพื่อการเกษตรกับสมาชิกในกลุ่ม ให้มีความเข้มแข็งแบบยั่งยืน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.