BA_Supravee

Page 1

การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด)

Supravee Sameerat สุประวีน์ สมีรัตน์

This Thesis is Partial Fulfillment of Bachelor Degree of Philosophy In Social Enterprise

Bodhisattra University, FL. USA. Academic Year 2018


หัวข้อสารนิพนธ์ การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย ชื่อและนามสกุล นางสุประวีน์ สมีรัตน์ วิชาเอก Bachelor of Philosophy หลักสูตร การประกอบการสังคม อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง สารนิพนธ์นี้ ได้รับความเห็นชอบให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรการประกอบการ สังคม เมื่อวันที่ 3 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 คณะกรรมการสอบสารนิพนธ์ ................................................................ ประธานกรรมการ (ศ.ดร.ศักดิ์ ประสานดี) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.พระครูสุตธรรมวิวัฒน์) ................................................................ กรรมการ (ผศ.ดร.พระครูสุทธิปทุมกิจ) ................................................................ กรรมการ (ดร.พระมหาสุนันท์ จันทร์ดาศรี)


กิตติกรรมประกาศ การทาสารนิพนธ์ สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาอย่างดียิ่งจาก ผศ.ดร.สุระชัย พิชัยช่วง และ ศ.ดร.ศักดิ์ ประสานดี ที่กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา ตรวจแก้ไขข้อบกพร่องด้วยความเอาใจใส่ตลอด มา จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณผู้ประสานงาน ผู้ให้สัมภาษณ์ ชุมชนบ้านนาจาน หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนา เยีย จังหวัดอุบลราชธานี ที่ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครูอาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาแก่ผู้ศึกษา ขอขอบคุณทุกคนในครอบครัวและทุกท่านที่ ไม่ได้เอ่ยนาม เป็นกาลังใจให้การจัดทาสารนิพนธ์ครั้งนี้สาเร็จด้วยดี

สุประวีน์ สมีรัตน์ 3 พฤศจิกายน 2561


สารบัญ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5

หน้า ชีวิตและการเรียนรู้ ..................................................................................................... 1 การทาความดี งานจิตอาสา งานสาธารณประโยชน์ ........................................................ 6 ชุมชนศึกษา ..................................................................................................... 9 การดาเนินงานตามโครงการประกอบการสังคม .............................................................. 38 สรุปโครงการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย ............................................................... 50


คานา สารนิพนธ์เรื่อง โครงการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยไทย อินเตอร์ จากัด จังหวัดนครราชสีมา) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการบริหารธุรกิจรักษาความ ปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงเพื่อให้การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยขยายธุรกิจให้ เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น จึงหวังว่า สารนิพนธ์นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ตามหลักสูตรและผู้สนใจต่อไป

ไชยรัตน์ จันทเขต


บทคัดย่อ สารนิพนธ์เรื่อง โครงการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยไทย อินเตอร์ จากัด จังหวัดนครราชสีมา) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการบริหารธุรกิจรักษาความ ปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึง เพื่อให้การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยขยายธุรกิจให้ เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น พบว่า การพัฒนาระบบการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เห็นได้ จากอัตราเพิ่มการให้บริการบริษัทต่างๆ มากขึ้น ปี 2559 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 50 บริษัท ปี 2560 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 100 บริษัท และ ปี 2561 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 160 บริษัท และการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยขยายธุรกิจให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น มีเงินบริหาร จัดการ 240-300 ล้านบาท


1 บทที่ 1 ชีวิตและการเรียนรู้ ชีวิตตั้งแต่วัยเด็กถึงปัจจุบัน การศึกษาในระบบ การเรียนรู้นอกระบบและตามอัธยาศัย การ อบรม สัมมนา การศึกษาดูงาน การประกอบอาชีพ มีหลักแนวคิดมีบทเรียนชีวิตที่ดี มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ชีวิตตั้งแต่วัยเด็กถึงปัจจุบัน นางสุปะวีน์ สมีรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2513 อายุ 48 ปี สัญชาติ ไทย เชื้อ ชาติ ไทย นับถือ ศาสนาพุทธ เป็นบุตร นายสมศักดิ์ สมีรัตน์ กับนางแปูงหอม สมีรัตน์ เกิดมาใน ครอบครัวที่มีฐานะยากจน พ่อแม่มีอาชีพรับจ้างทุกชนิด รับจ้างทั่วไป ไม่มีที่ทากิน ต้องอาศัยอยู่กับ กับญาติๆ รับจ้างทานา ทาไร่ช่วยพ่อแม่หาเลี้ยงครอบครัว พออายุได้ 7 ปี เข้าเรียนหนังสือในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่โรงเรียนบ้านนาจาน ตาบลนาจาน อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี แม้ในวันหยุดก็ไม่ได้ออกไปเล่นเหมือนเด็กคนอื่น ในวัยเดียวกัน แต่ต้องออกไป ทางานจับจ้าง เช่น ถางปุา ทานา ทาไร่ ตามแต่ญาติพี่น้องจะตอบแทนค่าแรง ถ้าไม่มีใครจ้าง ก็จะ ออกไปหาปู ปลา กุ้ง หอย กบ เขียด หรือเก็บของปุา พืชผักในปุา เห็ด หน่อไม้ เหลือกินก็แบ่งปันพี่ ปูาน้าอา มีคนซื้อก็ขายเพื่อช่วยเหลือครอบครัว เป็นการแบ่งเบาภาระช่วยพ่อแม่ เมื่อเรียนจบชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 จึงออกมาหางานทาเลี้ยงพ่อแม่ครอบครัว รับจ้างทางานทุกอย่างที่เป็นอย่างาน บริสุทธิ์ จากการที่ตนเองลาบากยากเข็น จึงระลึกเสมอว่า พ่อแม่เลี้ยงเรามายิ่งลาบากกว่านี้หลายเท่า เมื่อเราเป็นผู้ใหญ่เราจะต้องตอบแทนพระคุณของพ่อแม่ให้อยู่สุขสบายให้จงได้ จากการที่ได้ประสบการณ์จากการออกหาสมัครงานทาให้คิดได้ว่า การศึกษาเท่านั้นที่จะช่วย ให้เราได้ทางานดีดี หาเงินสร้างฐานะให้มั่ นคงได้ จึงเข้าสมัครเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนแสนสิริอนุสรณ์ จังหวัดบุรีรัมย์ พร้อมกับทางานควบคู่ไปด้วย จากการ ขยัน พยายามตั้งใจในการทางานได้เลื่อนเงินเดือนสูงขึ้น และตาแหน่งสูงขึ้นแต่ด้วยเรายังมีการศึกษา น้อยอยู่ พอเข้าสู่วัย การมีครอบครัว เราต้องวางแผนร่วมกับสามีว่าจะสร้างฐานะครอบครัวอย่างไร นอกจากพ่อแม่แล้วยังต้องมีลูกอีก เปูาหมายหลักของชีวิตคือการสร้างสถาบันครอบครัวให้มีความสุข และมี ค วามมั่ น คง ที่ ส าคั ญ อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ทุ ก คนในครอบครั ว ต้ อ งมี สุ ข ภาพร่ า งกายแข็ ง แรง สุขภาพจิตดี มีจิ ตใจโอบอ้อม อารี รู้จักแบ่งปัน แบ่งกัน แบ่งใช้ แบ่งเก็บ ใช้ชีวิตแบบไม่มีประมาท หมั่นออกกาลังกาย เข้าทาบุญปฏิบัติธรรม เดินทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนา ปฏิบัติและยึด มั่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะทาให้ชีวิตเราเจริญรุ่งเรือง


2 2. การศึกษาในชุมชน ได้เข้าศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เมื่ออายุได้ 7 ปีบริบูรณ์ ที่โรงเรียนบ้านนาจาน ตาบลนา จาน อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งเป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้าน จนสาเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากครอบครัวมีฐานะยากจน จึงไม่สามารถเข้าเรียนต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาได้ ต้ องออกมา ประกอบอาชีพ ช่วยเหลือครอบครัว ทางานรับจ้าง ครอบครัวลาบากมาก ไม่มีแม้แต่ที่ทากิน ต้อง อาศัยทานา รับจ้างกับญาติพี่น้องในชุมชน เมื่อโตขึ้นพอที่จะออกไปรับจ้างทางานนอกพื้นที่ก็ต้องทา เพื่อหาเงินมาช่วยเหลือจุนเจือครอบครัว 3. การเรียนรู้นอกระบบและตามอัธยาศัย การอบรม สัมมนา การศึกษาดูงาน การศึกษาเรียนรู้นอกระบบและตามอัธยาศัย หลังจากเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จาก โรงเรียนบ้านนาจาน ตาบลนาจาน อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ได้ออกไปประกอบอาชีพ รับจ้างเพื่อช่วยเหลือครอบครัว เริ่มรับจ้างในชุมชนและเมื่อโตขึ้นพอที่จะดูแลตัวเองได้ ก็ออกไปสมัคร งานรับจ้างนอกพื้นที่ชุมชน เพื่อส่งเงินมาเลี้ยงดูพ่อแม่ ได้เรียนรู้ประสบการณ์ชีวิต การทางาน หาเงิน ได้อย่างยากลาบาก จึงเกิดความคิดว่า คนเรามีความรู้น้อยการศึกษาน้อยแล้ว การหางานก็ยากลาบา เงินเดือนน้อย งานหนัก สิ่งที่จะทาให้เรามีอนาคตได้ต้องมีความรู้ ต้องเรียนหนังสือให้มากขึ้น จึง ตัดสินใจสมัครเข้าเรียนที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) จากโรงเรียนแสนศิริอนุสรณ์ จังหวัด บุรีรัมย์ จบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตั้งใจในการทางาน จึงได้เลื่อนตาแหน่งจากลูกจ้างบรรจุเป็น พนักงาน หัวหน้างาน ตามลาดับ มีรายละเอียดดังนี้ ประวัติการทางาน ปี พ.ศ. ชื่อบริษัท/หน่วยงาน ตาแหน่งรับผิดชอบ 2532-2533 บริษัทแอดเดอร์รามไทย จากัด พนักงานฝุายผลิต 2534-2536 บริษัทแอดเดอร์รามไทย จากัด พนักงานฝุายตรวจสอบ 2537-2539 บริษัทแอดเดอร์รามไทย จากัด พนักงานฝุายปูองกันการสูญหาย LOSS PREVENTION 2540-2541 บริษัทรวมพลเซฟตี้การ์ด จากัด พนักงานรักษาความปลอดภัย ประจาหน่วยงาน ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี 2542-2545 บริษัทรวมพลเซฟตี้การ์ด จากัด หัวหน้าชุดรักษาความปลอดภัย ประจาหน่วยงาน ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี 2546-2549 บริษัทรวมพลเซฟตี้การ์ด จากัด บุคคล/ธุรการ


3 ประวัติการฝึกอบรม สัมมนา การศึกษาดูงาน ปี พ.ศ. ชื่อหลักสูตร/หน่วยงาน/เรื่อง/กิจกรรม 2559 หลักสูตรดับเพลิงเบื้องต้น สมาคมอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยแห่งประเทศไทย 2559 หลักสูตรดับเพลิงขั้นก้าวหน้า โรงเรียนดับเพลิงและกู้ภัยราชประชา 2559 หลักสูตรครูฝึกรักษาความปลอดภัย ศูนย์ฝึกอบรมรักษาความปลอดภัยขั้นสูง ADSECE 2559 หลักสูตรดับเพลิงเบื้องต้น ศูนย์ฝึกอบรมรักษาความปลอดภัยขั้นสูง ADSECE 2559 หลักสูตรการบริหารจัดการรักษาความปลอดภัยในอาคารและสถานประกอบการ บริษัทวีพีไฟร์อีควิปเม้นท์ จากัด 2559 หลักสูตรดับเพลิงขั้นก้าวหน้า Advance Fire Fighters Course ศูนย์ฝึกอาฟเฟอร์ 2559 หลักสูตรเทคนิควิทยากรดับเพลิงเบื้องต้น บริษัทวีพีไฟร์อีควิปเม้นท์ จากัด 2559 หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น บริษัทเซฟตี้แอนด์เทรนนิ่ง เซ็นเซอร์ จากัด 2559 หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น Basic First AIDCPR AED ศูนย์ฝึกอาฟเฟอร์ 2559 หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การช่วยฟื้นคืนชีพการเคลื่อนย้ายผู้ปุวย สถาบันSiam Ambulance Center 2559 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับหัวหน้างาน สถาบันฝึกอบรมด้วยความปลอดภัยในการทางาน บริษัทปินทองกรุ๊ปแมนเนจเม้นท์แอน์คอนซักแตนด์ จากัด 2559 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร บริษัทไวท์ เฮอวริเทจ จากัด 2559 หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย) 2560 หลักสูตรดับเพลิงขั้นก้าวหน้า Advance Fire Fighters Course ศูนย์ฝึกอาฟเฟอร์


4 ปี พ.ศ. 2560 2560 2560 2560 2560 2560

2560

2561 2561 2561 2561

ชื่อหลักสูตร/หน่วยงาน/เรื่อง/กิจกรรม หลักสูตรมาตรฐานครูฝึกสถานฝึกอบรม ตาม พรบ.รุ่นที่1 ศูนย์ฝึกอบรมรักษาความปลอดภัยขั้นสูง ADSECE หลักสูตรการรักษาความปลอดภัยตาม พรบ.ธุรกิจรักษาความปลอดภัย ชมรมครูฝึกรักษาความปลอดภัยไทย หลักสูตรการสร้างเสริมศักยภาพของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ศูนย์ฝึกอาฟเฟอร์ หลักสูตรการรักษาความปลอดภัย โรงเรียนนายร้อยตารวจ ผ่านกระโดดหอสูง โรงเรียนนายร้อยตารวจ หลักสูตรการเสริมสร้างศักยภาพของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานในที่อับ อากาศ บริษัทไทยเซฟตี้แอนด์เทรนนิ่ง จากัด หลักสูตรผู้ตรวจประเมินองค์กร ที่มีหน้าที่รับรองสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐาน วิชาชีพ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์กรมหาชน) หลักสูตรดับเพลิงเบื้องต้น โรงเรียนบริหารจัดการภัยอาฟเฟอร์ หลักสูตรดับเพลิงชั้นสูง บริษัทวังม่วงโพร์เซฟตี้ จากัด หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ศูนย์ฝึกรักษาความปลอดภัยไทยแลนด์เทรนนิ่ง หลักสูตร Technique for Building Management System บริษัทวังม่วงโพร์เซฟตี้ จากัด

4. การประกอบอาชีพ มีหลักแนวคิดที่ดี มีบทเรียนชีวิตที่ดี การประกอบอาชีพ เป็นนักธุรกิจ ประเภทธุรกิจ บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด สานักงานเลขที่ 123/13 หมู่ที่ 7 ถนนราชสีมา-จักราช ตาบลมะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา รับบริการรักษาความปลอดภัยทั่วราชอาณาจักรไทย และต่างประเทศไทย


5 ปัจจุบันเป็นเจ้าของธุรกิจ มีบริษัทดังนี้ พ.ศ.2552 – 2553 หจก.ไทยซีเคียวเซอร์วิส ตาแหน่ง หุ้นส่วนผู้จัดการ พ.ศ.2553-2558 บริษัทไทยอินเตอร์ซีเคียวริตี้การ์ด จากัด ตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ พ.ศ. 2559- ปัจจุบัน บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด ตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ หลักแนวคิดที่สาคัญ


6 บทที่ 2 การทาความดี งานจิตอาสา งานสาธารณประโยชน์ 1. การทาความดี งานจิตอาสา งานสาธารณประโยชน์ ข้าพเจ้าเกิดในครอบครัวเกษตรกร อาชีพทานา ทาไร่ ตามวิถีชีวิตชาวชนบท ได้สืบทอดจาก บรรพบุรุษ ด้วยวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น จารีตประเพณี ฮีตสิบสองคองสิบสี่ สอนให้คนปฏิบัติ แต่สิ่งที่ดีงาม สร้างความรัก ความสามัคคีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตลอดจนยึดมั่นใน การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข วัยเด็กได้ตามคุณพ่อ คุณแม่ คุณยายไปวัดเกือบทุกวัน ได้เรียนรู้การกราบ การไหว้ การพูด การเดิน และการปฏิบัติตนต่อผู้ใหญ่ ถือเป็นการเริ่มต้นการทาความดีให้กับตนเอง พ่อแม่ ปูุย่า ตายาย เมื่อวัยเข้าเรียน เริ่มได้ศึกษาเรียนรู้มากขึ้นจากเพื่อน ครู อาจารย์ เริ่มงานจิตอาสาเล็กๆ น้อย ตาม อายุวัยเรียน โดยไม่ทราบเลยว่านั่นคืองานจิตอาสา พอช่วยเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเริ่มชัดเจนใน ความหมาย คาว่าจิตอาสา และงานสาธารณประโยชน์ เช่นการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด รณรงค์ ยุงลาย ปลูกปุา ปลูกต้นไม้ ในวันสาคัญๆ ทาความสะอาดสถานที่สาคัญ แม่น้า ลาคลอง ต่อมาเข้าสู่วัยครอบครัว ได้แต่งงาน ยังใช้ชีวิตในวิถีชุมชนชนบท จึงได้มีโอกาสร่วมกิจกรรม สาธารณประโยชน์ต่างๆ การทาบุญประเพณี ได้เสียสละทรัพย์ส่วนตัว กาลัง ใจ กาลังกาย ตามกาลัง เหมาะสมขณะนั้ น จนต่ อมาชี วิต ครอบครั ว พลิ ก ผั น การประกอบอาชีพ ดีขึ้ น ฐานะมั่น คงขึ้น ได้ ช่วยเหลืองานสาธารณประโยชน์ในรูปแบบ ส่วนตัว ครอบครัว ในนามบริษัทอย่างสม่าเสมอ เช่น เสียสละทรัพย์สินส่วนตัว 2. ผลงานที่สาคัญและความสาเร็จในชีวิต ความสาเร็จในชีวิต ในปี พ.ศ.2553 ข้าพเจ้าร่วมกับสามี คุณวินัย ทองนาค ได้เปิดบริษัท รักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 123/13 หมู่ที่ 7 ถนนราชสีมา-จักราช ตาบล มะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาท ถ้วน) ในตาแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ (083-1250-704) รายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท ชื่อบริษัท บริษัท รักษาความปลอดภัย ไทยอินเตอร์ จากัด ที่ทาการสานักงานใหญ่ ที่ตั้ง เลขที่ 123/13 หมู่ที่ 7 ถนนราชสีมา-จักราช ตาบลมะเริง อาเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 300000 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน)


7 สาขากทม-สมุทรปราการ ที่ตั้ง 109/145 หมู่บ้านพฤกษาวิลล์ 66/2 บางนา-หนามแดง ตาบลบางแก้ว อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ สาขาจังหวัดอุบลราชธานี ที่ตั้ง 298/12 หมู่ 12 ถนนอุบล-ตระการ ตาบลไร่น้อย อาเภอ เมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี สาขาจังหวัดบุรีรัมย์ ทีต่ ั้ง 24 หมู่ 12 บ้านไผ่น้อย ถนนบุรีรัมย์ - คูเมือง ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ โทรศัพท์ 044-756112, 045-435068, 045-993818 แฟกซ์ 044-756112 โทรศัพท์มือถือ 083-738199. 083-1250704 E-mail : Thaiinter2014@hotmail.com นโยบายของบริษัท คุณภาพ มาตรฐาน บริการที่ดี มีความซื่อสัตย์ รายชื่อกรรมการฝ่ายบริหาร 1. นายวินัย ทองนาค กรรมการผู้จัดการ 2. นางสุประวีณ์ สมีรัตน์ รองกรรมการผู้จัดการ 3. ร้อยตรีสมชาย ศรีแก้วทอน ผู้จัดการสาขานครราชสีมา 4. นายจิรพงษ์ สถาวร ผู้จัดการสาขาอุบลราชธานี 5. สิบตารวจโททัณฑโชต ทองนาค ผู้จัดการสาขาสมุทรปราการ 6. นางสาวนฤมล ศรีทรัพย์ บัญชีสาขานครราชสีมา 7. นางสาวรฏาภร ทองนาค บัญชีสาขาอุบลราชธานี 8. นางสาวจุไรวรรณ วะสุรีย์ ธุรการ/บุคคล 9. นายวิสูตร์ ดวงปินตา สายตรวจสาขาอุบลราชธานี 10. นายพน มาถาวร สายตรวจสาขานครราชสีมา 3. เกียรติบัตร วุฒิบัตรและรางวัลที่ได้รับ - ได้รั บ โล่ ร างวัล “สถานศึกษาความปลอดภัยดี เด่น ครั้งที่ 1 ประจ า 2559” จาก หนังสือพิมพ์รักษาความปลอดภัย ในวันที่ 23 กันยายน 2559 - ได้รับเกียรติบัตร หลักสูตร “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร จาก บริษัทไวท์ เฮอริเทจ จากัด ในวันที่ 10 มกราคม 2559 - ได้รับวุฒิบัตร หลักสูตร “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค จาก สมาคมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย)


8 - ได้รับวุฒิบัตร โครงการพัฒนาเครือข่ายด้านการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อ เตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติ ปี 2559 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องใน โอกาสมหามงคลสมเด็จเถลิงถวัยราชสมบัติครบ 70 ปี “หลักสูตร การดับเพลิงขั้นก้าวหน้า ” จาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ระหว่างวันที่ 14 – 16 กรกฎาคม 2559 - ได้รับวุฒิบัตร “หลักสูตรดับเพลิงขั้นก้าวหน้า Advance Fire Fighters Course จาก ศูนย์ฝึกอาฟเฟอร์ ระหว่างวันที่ 26-28 สิงหาคม 2559 - ได้รับวุฒิบัตร หลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น Basic First AIDCPR AED จากศูนย์ ฝึกอาฟเฟอร์ วันที่ 26 สิงหาคม 2559 - ได้รับเกียรติบัตร หลักสูตรการดับเพลิงเบื้องต้น จากสมาคมอาสามัครบรรเทาสาธารณ ภัยแห่งประเทศไทย วันที่ 9 ธันวาคม 2559


9 บทที่ 3 การศึกษาชุมชน ประวัติศาสตร์และความเป็นมาของชุมชน ข้อมูลสาคัญ ของชุมชน ด้านประชากร เศรษฐกิจ สั งคม การเมือ ง และโครงสร้ างพื้นฐาน วัฒ นธรรมและประเพณีส าคัญ ของชุม ชน ทุนทางสั งคม เครือข่าย องค์กรชุมชน กองทุนชุมชนและกลุ่มองค์การสวัสดิการในชุมชน แผนที่ชุมชน ปัญหาสาคัญ ของชุมชน 1. ประวัติความเป็นมาชุมชนบ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี บ้านโนนแดง ตั้งขึ้นที่โนนปุาแดงรกทึบมาก และเป็นพื้นที่ปุาไม้แดงมาก โดยการนาของนาย สิงห์ โพธิ์ปัตย์ อดีตผู้ใหญ่บ้านนาจานและนายแสวง สิงห์เย็น เดิมอยู่รวมบ้านนาจาน ตาบลนาเยีย อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี และเมื่อปี พ.ศ.2527 ได้รับอนุมัติจากกระทรวงมหาดไทย ให้ แบ่งแยกหมู่บ้าน จากหมู่บ้านนาจานมาเป็นบ้านโนนแดง หมู่ที่ 15 ตาบลนาเยีย อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ต่อมาได้รับยกฐานะเป็นกิ่งอาเภอนาเยีย ได้มีการแบ่งพื้นที่ของอาเภอนาเยีย ออกเป็น 7 ตาบล ได้แก่ ตาบลนาเยีย ตาบลนาดี และตาบลนาเรือง ซึ่งบ้ านโนนแดง ซึ่งตรงกับ ตาบลนาเยีย ได้ปรับเปลี่ยนหมู่ที่ เป็นหมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีผู้ใหญ่บ้าน ปกครอง ดังนี้ 1. นายแสวง สิงห์เย็น ดารงตาแหน่ง พ.ศ.2527-2530 2. นายหนูจันทร์ มังคา ดารงตาแหน่ง พ.ศ.2530-2535 3. นายคาตัน คูณพงษ์ ดารงตาแหน่ง พ.ศ.2536-2547 (2 สมัย ดารงตาแหน่งกานัน ด้วย) 4. นายทองหล่อ ประสาทอทอง ดารงตาแหน่ง พ.ศ.2539-2547 (ลาออก) 5. นายคา จาศรี ดารงตาแหน่ง พ.ศ.2549-2555 6. นายสมชาย ศรีภักดี ดารงตาแหน่ง วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2555-ปัจจุบัน อาณาเขต ทิศเหนือ จด บ้านนาจาน หมู่ที่ 5, 11 ทิศใต้ จด บ้านแก่งยาง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเรือง ทิศตะวันออก จด บ้านปุา หมู่ที่ 9 ทิศตะวันตก จด ลาโดมใหญ่


10 1. ข้ อมูลสาคัญของชุมชนด้ า นประชากร เศรษฐกิจ สัง คมการเมือง และโครงสร้ า ง พื้นฐาน ข้ อ มู ล ส าคั ญ ของชุ ม ชนบ้ า นโนนแดง หมู่ ที่ 6 ต าบลนาเยี ย อ าเภอนาเยี ย จั ง หวั ด อุบลราชธานี มีรายละเอียดดังนี้ ข้อมูลประชากร อาชีพ รายได้ จานวนประชากร - จานวนครัวเรือน 193 ครัวเรือน - ประชากร 548 คน ชาย 276 คน หญิง 272 คน - อาชีพ (1) ทานา จานวน 77 ครัวเรือน ข้อมูลสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน - พื้นที่อยู่อาศัย 100 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตร 1800 ไร่ ทานาปีละ 1 ครั้ง - พื้นที่ทานา 1,000 ไร่ พื้นที่ทาไร่มันสาปะหลัง 200 ไร่ พื้นที่ทาสวนยางพารา 300 ไร่ - แหล่งน้าสาธารณะ 3 แห่ง - ประปา 2 แห่ง ผู้ใช้ 70 ครัวเรือน บ่อสาธารณะ (บาดาล) 5 บ่อ - โรงเรียน (ระดับ) ก่อนวัยเรียน 1 แห่ง (วัดระบุ) วัดปุา 1 แห่ง - จานวนผู้ใช้ไฟฟูา 111 ครัวเรือน ร้อยละ 100% - หอกระจายข่าว 1 แห่ง วิทยุชุมชน - แห่ง - ศาลาประชาคม 1 แห่ง ข้อมูลงานประเพณี/แหล่งท่องเที่ยว - บุญบั้งไฟ เดือนพฤษภาคม เดือนมิถุนายน ของทุกปี - แห่เทียนพรรษา เดือนกรกฎาคม - สงกรานต์ เดือนเมษายน - บุญออกพรรษา รายชื่อคณะกรรมการหมู่บ้าน - นายบุญมี พรเจริญ - นายสาลี ลอดเคน - นายสมัย วันตุ้ม - นายคา จาศรี - นายอุทัย โพธิปัด - นายทองลือ มังคา - นายนวน บุญลอย - นายไชยันต์ ประวาฬ


11 - นายเริ่ม สิงห์เย็น - นายพุทธา ทองศรี รายชื่อหัวหน้าคุ้ม - คุ้ม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หัวหน้าคุ้ม นายทองเสือ มังคา - คุ้ม กลางพัฒนา หัวหน้าคุ้ม นายอุทัย โพธิปัด - คุ้ม ใต้ไมตรีจิต หัวหน้าคุ้ม นายสาลี ลอดเคน - คุ้ม คาน้อย รวมใจ หัวหน้าคุ้ม นายทองพูล บุญยิ่ง รายชื่ออาสาพัฒนาชุมชน (อช.) - นายประไพร ประเสริฐ - นายไชยันต์ ประวาฬ - นางดวงตา ลอดเคน - นายพุทธา ทองศรี รายชื่ออาสาสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) - นางดวงตา ลอดเคน - นายคา จาศรี - นางอาพันธ์ ประวาฬ - นางอุดร ประวาฬ - นางพงษ์ บริบาล - นางสาวธัญวรัตน์ ดวงบุปผา - นางดอกรักษ์ สิงห์เย็น รายชื่ออาสาอื่นๆ - นายไชยา ประวาฬ (อปพร.) - นายจาลอง กุหลาบ (อปพร.) - นายสมบูรณ์ โสภี (อปพร.) - นายวิชัย แก้วเขียว (อปพร.) - นายไชยันต์ ประวาฬ (อปพร.) - นายคา จาศรี (อปพร.) - นายทองแดง เรืองพล (อปพร.) - นายเริ่ม สิงห์เย็น (อปพร.)


12 -

นายอุทัย โพธิ์ปัตย์ (อปพป.) นายแสวง โกสม (อปพป.) นายทองดี พรมปัญญา (อปพป.) นายทองพูล บุญยิ่ง (อปพป.) นายนวน บุญลอย (อปพป.) นายสมจิตร วันคุ้ม (อปพป.) นางสาวธัญวรัตน์ ดวงบุปผา (อปพป.)

ด้านกลุ่ม/องค์กร (ทุนด้านเศรษฐกิจ/สังคม) ปีที่ ก่อตั้ง 2544

กู้ยืม

84

2539

จาหน่ายสินค้า

99

เงินทุน กิจกรรมหลัก (บาท) 24,000,000 ให้กู้ประกอบ อาชีพ 306,900 ให้สมาชิกกูย้ ืม

ร้านค้าชุมชน

2544

96

20,000

4

กลุ่ม กช.คจ.

2542

57

280,000

5

กองทุนพัฒนา

2555

หมุนเวียนเพื่อ ประกอบอาชีพ หมุนเวียนเพื่อ ประกอบอาชีพ หมุนเวียนเพื่อ ประกอบอาชีพ

ที่

กลุ่ม

1 2

กองทุนเงิน ล้าน กองทุนฉางข้าว

3

มีสมาชิก

คน

135 -

ประธานกลุ่ม

นายทองพูล บุญยิ่ง นายสมชาย ศรีภักดี สมาชิกซื้อสินค้า นางดวงตา ราคาถูก ลอดเคน ให้กู้ยืมประกอบ นางทองสือ อาชีพ มังคา ให้สมาชิกกูย้ ืม นางดวงตา ดาเนินการ ลอดเคน

วัตถุประสงค์ สมาชิกมีแหล่ง เงินทุนหมุนเวียน สมาชิกมีแหล่ง เงินทุนหมุนเวียน ชุมชนมีแหล่งซื้อ สมาชิกมีแหล่ง เงินทุนหมุนเวียน อยู่ระหว่าง บทบาทสตรี

ด้านทรัพยากรธรรมชาติ (ทุกด้านทรัพยากรธรรมชาติหมู่บ้าน/ชุมชน เช่น แหล่งน้า/ป่า สถานที่ท่องเที่ยว สาธารณะและการประโยชน์) ชื่อแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะการใช้ประโยชน์ หมายเหตุ - หนองภูกระแต - แหล่งน้า เพื่อการเกษตร - แหล่งน้าสาธารณะ - อ่างเก็บน้าห้วยไผ่น้อย - เพื่อการเกษตร - แหล่งน้าสาธารณะ - ฝายน้าล้นห้วยไผใหญ่ - เพื่อการเกษตร - แหล่งน้าสาธารณะ


13 ด้านภูมิปัญญาชุมชน ประเพณี/กิจกรรม - จักสาน - พานบายศรี - หมอลากลอน (ซิ่ง)

วัตถุประสงค์ - นายดวงตา ลอดเคน - นางลาไย แก้วเขียว - นางดอกรักษ์ สิงห์เย็น

ต้องทาอะไรบ้าง - เพิ่มรายได้ - อนุรักษ์ภูมิปัญญา - อนุรักษ์ภูมิปัญญา

ด้านประเพณี/วัฒนธรรม/กฎ ระเบียบ/ค่านิยมความสัมพันธ์ของชุมชน (เป็นลักษณะของ พื้นที่หล่อหลอมจากประสบการณ์ของรุ่นสู่รุ่น เป็นสานึกร่วมของคนในชุมชนที่สร้างขึ้นมาเพื่อกากับ ดูแลชุมชนให้ดาเนินชีวิตไปตามระบบคุณค่าแนวคิดของชุมชนนั้นๆ ประเพณี/กิจกรรม - บุญบั้งไฟ - ลอยกระทง - บุญมหาชาติ

วัตถุประสงค์ ต้องทาอะไรบ้าง - อนุ รั ก ษ์ สื บ สานประเพณี - เสริมสร้างความสามัคคี สามัคคีในชุมชน - สืบสานประเพณี - เสริมสร้างความสามัคคี - สืบสานประเพณี - เสริมสร้างความสามัคคี

ด้านประเพณี/วัฒนธรรม/กฎ ระเบียบ/ค่านิยมความสัมพันธ์ของชุมชน (เป็นลักษณะของ พื้นที่หล่อหลอมจากประสบการณ์ของรุ่นสู่รุ่น เป็นสานึกร่วมของคนในชุมชนที่สร้างขึ้นมาเพื่อกากับ ดูแลชุมชนให้ดาเนินชีวิตไปตามระบบคุณค่าแนวคิดของชุมชนนั้นๆ เรื่องที่เป็นจุดอ่อน มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างไร ควรทาอย่างไร - ขาดโอกาสทางการศึกษา - ไม่มีความรู้ในการเป็นผู้นา - ส่งเสริมการศึกษานอก โรงเรียน - ไม่มีอาชีพเสริม - รายได้ น้ อ ยไม่ เ พี ย งพอต่ อ - ฝึกอบรมกลุ่มอาชีพ การดารงชีวิต - ใช้สารเคมีเยอะ - เป็นอันตรายต่อชีวิตของคน - ดูแลการใช้สารเคมีให้ ในชุมชน น้อยลง - มั่วสุมการพนัน - ปัญหาครอบครัว - หาอาชีพใช้บุคคลเหล่านั้น


14 2. วัฒนธรรมและประเพณีชุมชน ชุมชนบ้านโนนแดง มีวัฒนธรรมชุมชนที่โดดเด่น และรายละเอียดของวัฒนธรรมประเพณีฮิต 12 เดือนดังนี้ เดือนอ้าย ทาบุญเข้ากรรม ชาวบ้ านเป็น ผู้ อุป ถัมภ์ปัจ จัย 4 และนิมนต์พระเข้ากรรม เป็นการประพฤติวัตรอย่าง เคร่งครัด เพื่อชาระจิตใจให้บริสุทธิ์ เพื่อปลดเปลื้องอาบัติสังฆาทิเสส สถานที่สาหรับอยู่ปริวาส กรรมนั้นส่วนมากเป็นที่สงบเงียบมีกุฏิเล็กๆอยู่ลาพังผู้เดียวเมื่อออกกรรมแล้วมีการทาบุญให้ทานฟัง เทศน์ตลอดวัน ภิกษุออกจาปริวาสกรรมแล้วถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ ผู้ใดได้ทาบุญบริจาคทานให้ท่าน ย่อมเป็นอานิสงส์มาก เดือนยี่ ทาบุญคูณลาน พิธีนี้บางที่ก็เรียกว่าทาบุญกองข้าว ส่วนมากจะจัดทาในเดือนยี่ซึ่งหลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จแล้ว ชาวนานาเอาข้าวเปลือกล้วนๆไปสู่ลานทาเป็นกองเหมือนจอมปลวก ทาพิธีบวงสรวงเจ้ าแม่โพสพ เลี้ยงพระภูมิเจ้าที่สู่ขวัญข้าว นิมนต์พระสวดพระพุทธมนต์และถวายอาหาร เดือนสาม ทาบุญข้าวจี่ ส่วนมากนิยมทากันในเดือนสามซึ่งได้แก่เอาข้าวเหนียวที่นึ่งสุกดีแล้วมาปั้นเป็นก้อน เอาไม้ เสียบตรงกลาง ใส่เกลือเล็กน้อย นาไปย่างไฟให้สุกหอม เสร็จแล้วนาไปถวายพระที่นิมนต์มาในงาน เดือนสี่ ทาบุญมหาชาติ ทาบุญมหาชาติบางทีก็เรียกทาบุญพระเวส มักทากันในเดือนสี่ต่อเดือนห้า มีพิธีแห่พระ เวสสันดรเข้าเมืองและฟังเทศน์เวสสันดรชาดกซึ่งมีอยู่ 13 กัณฑ์ โดยมีความเชื่อต่อๆกันมาว่าผู้ใด ฟังเทศน์สันดรชาดกจบในวันเดียว ในชาติต่อๆไปจะพบศาสนาพระศรีอารย์ เดือนห้า ทาบุญสรงน้า บุญสรงน้าเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าบุญตรุษสงกรานต์ นิยมทาในวันที่ 13-15 เมษายนของทุกปี โดยทาน้าอบน้าหอมไปสรงพระพุทธรูป พระสถูปเจดีย์ ต้นศรีมหาโพธิ์ พระภิกษุผู้อาวุโส สรงผู้เฒ่า ผู้แก่ เพื่อขอศีลขอพร นอกจากนั้นก็นิยมสรงกันเอง เดือนหก ทาบุญบั้งไฟ เมื่อถึงวันกาหนดทาบุญบั้งไฟในเดือนหก มีการจัดขบวนแห่บั้งไฟไปตามถนนสายต่างๆ ภายในชุ มชนแต่ ล ะชุ ม ชนจะมีข บวนฟู อนร าแห่ บั้ งไฟ จากนั้ น ก็ น าบั้ ง ไฟไปสู่ ส ถานที่ จุด โดยมี จุดประสงค์เพื่อบูชาเทวดาอารักษ์มเหศักดิ์หลักเมือง เพื่อให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เดือนเจ็ด บุญซาฮะ(บุญชาระ) พิธีกรรมนี้ได้แก่การชาระสิ่งสกปรกรุงรังภายในบ้าน ชาระเสนียดจัญไรต่างๆและชาระจิตใจ ให้ผ่องใส นิมนต์พระไปสวดชาระและสวดพระพุทธมนต์เสร็จแล้วนาหินกรวดทราบไปหว่านรอบบ้าน


15 เดือนแปด ทาบุญเข้าพรรษา ทาบุญเข้าพรรษา ในงานนี้มีการแห่เทียนพรรษา ถวายผ้าอายน้าฝนแดพระภิกษุสามเณร ซึ่งจะอยู่จาพรรษาในอาวาสนั้นด้วย นอกจากนี้ยังมีการทาบุญตักบาตร รักษาศีลอุโบสถ ฟังเทศน์ และเจริญเมตตาภาวนา เดือนเก้า ทาบุญห่อข้าวประดับดิน ในเดือนเก้าดับ หลังออกพรรษา 1 เดือน ชาวบ้านพากันเอาข้าวสุกและเครื่องคาวหวาน ตลอดทั้งหมากพลูบุหรี่ไปวางไว้ที่โคนต้นไม้จอมปลวก กาแพง ริมแม่น้าและที่บรรจุกระดุกของญาติ มิตรและบรรพบุรุษ ในวันเดียวกันนั้นมีการให้ทานรักษาศีลอุโบสถ ฟังเทศน์เจริญภาวนาเพี่ออุทิศ ส่วนกุศลถึงดวงวิญาณบรรพบุรุษ เดือนสิบ ทาบุญห่อข้าสาก ทาบุญห่อข้าสาก นิยมทากันในเดือนสิบเพ็ญ วิธีทาเอาเครื่องคาวหวานทาเป็นห่อแล้วเขียน ชื่อตนเองใส่สลากให้พระภิกษุจับถ้าภิกษุจับได้ของใครก็เอาไปถวายรูปนั้น และทาบุญฟังเทศน์เจริญ ภาวนาต่อที่วัด เดือนสิบเอ็ด ทาบุญออกพรรษา ท าบุ ญ ออกพรรษา เป็ น วั น สิ้ น สุ ด การจ าพรรษามี ขึ้ น ในวั น ขึ้ น 15 ค่ า เดื อ นสิ บ เอ็ ด พระสงฆ์ทาปวารณากรรมในอุโบสถ ญาติโยมทาบุญให้ทาน รักษาศีลฟังเทศน์และเจริญภาวนา อีก ด้านหนึ่งมีการแข่งเรือไฟและมีมหรสพคบงัน เดือนสิบสอง ทาบุญกฐิน ทาบุ ญกฐิน นิย มทาเมื่ออกพรรษาแล้ ว เริ่มตั้งแต่แรม 1 ค่า เดือน 11ไปจนถึงเดือน12 เพ็ญ กฐินมี 2ประเภท คือจุลกฐินและมหากฐิน ปัจจุบันยังนิยมทากันอยู่ทั้งสองประเภทการ ทาบุญกฐินคือการให้ทานอย่างหนึ่งนั้นเอง แต่มีเวลาจากัดเพียง 1 เดือน ไม่เหมือนการทาบุญ ทัว่ ๆไป ถ้าพ้นกาหนดไปเรียกว่าการทาบุญผ้าปุา 3. ทุนทางสังคม ทุนทางสังคมแต่ละอย่าง ที่ยกขึ้นมานาเสนอ มีดังต่อไปนี้ แนวคิ ดทุ น ทางสั ง คม และค าว่ าทุ นทางสั ง คมในประเทศไทย เริ่ มปรากฏขึ้น ในปี 2540 ภายหลังจากที่ได้มีการจัดตั้งสานักงานกองทุนเพื่อสังคม (SIF) โครงการของกองทุนเพื่อสังคมดังกล่าว ได้พยายามและทาให้ สั งคมไทยหั นกลั บไปมองคุณค่าที่เคยมีอยู่ที่เป็นทุนเดิม แต่อาจมองข้ามไป รวมทั้งสิ่งที่มีอยู่ในตัวบุคคล เช่น ความมีน้าใจ ความเอื้ออาทร การช่วยเหลือเกื้อกูล รวมไปถึงสิ่งที่ ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพชน เช่น ภูมิปัญญา ประเพณี ความเชื่อ และวัฒนธรรมที่มีอยู่ในชุมชน รวมทั้งสิ่งที่เป็นศักยภาพในการพัฒนาของชุมชน เช่น ผู้นา กลุ่ม องค์กรประชาชน เครือข่าย เป็นต้น


16 ซึ่งการดาเนิ นการดังกล่ าวได้เกิดการฟื้นฟูทุนทางสั งคมที่มีอยู่และเริ่มสู ญหายให้ มีการนากลับมา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาในระดับชุมชนสามารถจาแนกทุนทางสังคมออกเป็นแต่ละประเภทดังนี้ 1. ทุนทางธรรมชาติ คือ ปุาชุมชน ที่ดินทากิน แม่น้า น้าตก ห้วย บึง ภูเขา 2. ทุนด้านภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความคิดและความสามารถของบรรพบุรุษในแต่ ละท้องที่ที่สามารถปรับตัวและปรับวิถีชีวิต ให้เข้ากับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างดีและสืบทอด ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ให้แก่ลูกหลานเพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติเพื่อการดารงชีวิตที่มีความสุขต่อไป 3. ทุนการทางสั่งสอน คือ ทุนที่ได้รับจากความรู้ จากอาจารย์ ปราชญ์ชาวบ้าน พ่อแม่ ผู้ เฒ่าผู้แก่ รวมทั้งผู้รู้ในแต่ละด้านในชุมชน 4. ทุนวัฒนธรรม เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ วัด ผลงานทางศิลปะ ภาพเขียน รูปปั้น ทุนวัฒนธรรมที่สัมผัสได้นี้ไม่ได้ถูกจากัดในรูปแบบเฉพาะมรดกทางวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังขยาย ขอบเขตไปถึงทุนกายภาพ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น อาคาร สิ่งประดิษฐ์ ทุนวัฒนธรรมรูปแบบนี้ สามารถสึกหรอ ผุผังได้ ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษา และสามารถวัดมูลค่าในรูปของเงินได้ไม่ว่าจะเป็น ตัววัตถุเอง หรือการบริการที่ ใช้วัตถุนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการให้บริการ 4. แผนที่คนดี แผนที่คนดีรูปแบบสร้างคนดีในบริบทชุมชนคนอีสาน คุณค่า ความหมาย ความหลากหลาย ของคนดีและการสร้างแผนที่คนดีภายใต้ 4 ภูมินิเวศวัฒนธรรมในบริบทชุมชนอีสานในการศึกษานี้ได้ รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพโดยเน้นการมีส่ ว นร่ว มในการเรียนรู้การ ปฏิบัติการ การจัดการความรู้โดยชุมชน ชุมชนประเมินคุณค่าที่ตั้งอยู่บนฐานการยอมรับและการ สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชน การให้ ความหมายเฉพาะที่แตกต่างกันไปในแต่ละวัฒนธรรม การ สร้างคนดีในบริบทแต่ละวัฒนธรรมจะก่อให้เกิดคนดีที่หลากหลายมิติ ได้แก่ คนดีในมิติด้านการเมือง การปกครอง ด้านการพัฒนา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านศาสนา ด้านการศึกษา ด้านภูมิปัญญา และด้านเศรษฐกิจ การร่วมแบ่งปันและสืบทอดภูมิปัญญาชาวบ้านเหล่านี้ ก็คือการหวนคืนสู่วิถีชีวิต แห่งการพึ่งพาอาศัยกัน เอื้ออาทรต่อกันในสังคมที่ร่มเย็นสงบสุข ซึ่งบางคนอาจมองว่าเหมือนการถอย หลังเข้าคลอง เห็นได้ว่า แนวคิดเหล่านี้ ล้วนมุ่งเน้นให้ความสาคัญแก่การฟื้นฟูจิตวิญญาณอันดีงาม เพื่อแทนที่อารยะธรรมวัตถุนิยม บริโภคนิยม และเงินนิยม ที่นับวันก่อให้เกิดปัญหาลุกลามไปทั่วโลก เราจึงต้องหันกลับมาพิจารณาอย่างจริงจัง ซึ่งก็คือ การใช้ความดีนาหน้าความรู้ หรืออีกนัยหนึ่ง คือ ความรู้มีไว้เพื่อรับใช้ความดี โดยแนวทางแห่งความดี ได้แก่ 1. มีความหมั่นเพียร พึ่งตนเองได้ 2. มีความประหยัด อดออม 3. มีความซื่อสัตย์ สุจริต


17 4. มีน้าใจ และมีไมตรีต่อกัน 5. อนุรักษ์สิ่งแวดล้ม 6. อนุรักษ์วัฒนธรรม 7. พัฒนาจิตใจให้สูงขึ้น 8. มีการเรียนรู้เพื่อการเข้าถึงความดี บุคคลตัวอย่างแห่งความดีในชุมชน มีรายละเอียดดังนี้

1. นายอนันต์ บุญยิ่ง นายอนันต์ บุญยิ่ง เกิดวันที่ 18 มกราคม 2520 อายุ 41 ปี อยู่บ้านเลขที่ 491 หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สถานภาพ สมรส มีบุตร ธิดา 3 คน เป็นนักการเมืองที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีจิตอาสา และทางานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม คน ในชุมชนรักเคารพ มีความเชื่อมั่นที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้า ตาแหน่ง นายกเทศมนตรีตาบลนาจาน คติ ใ นการท างาน “การพั ฒ นาส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ พั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ นั่ น คื อ การให้ การศึกษา”


18

2. นายสงวน จุฬา นายสงวน จุฬา เกิดเมื่อวันที่ 20 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2514 อายุ 47 ปี อยู่บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษา จบชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 สถานภาพ สมรส มีบุตรธิดา 2 คน ชาย 1 คน หญิง 1 คน มีอาชีพทาการเกษตร มีนิสัยโอบอ้อม อารี คนในชุมชนให้ความเคารพ นับถือ เป็นแบบอย่างที่ดี ให้กับคนในชุมชน มีความซื่อสัตย์สุจริต หน้าทีท่ างสังคม กานันตาบลนาเยีย ประวัติการทางาน ได้รับตาแหน่งใหม่คือ กานันประจาอาเภอนาเยียในปี พ.ศ. 2551 ถึง ปัจจุบัน ได้ปฏิบัติหน้าที่ดูแลในรูปแบบการปกครองพร้อมทั้งปราบปรามยาเสพติด และยังกาชับ ผู้ใหญ่บ้านที่ตัวเองปกครองโดยการจัดอบรมรวมพลังต้านยาเสพติดตั้งด่านตรวจค้นทุกช่วงเทศกาล ปฏิบัติหน้าที่ มีความทุ่มเทเป็นอย่างมาก กับหน้าที่และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนในชุมชน คติในการทางาน “ปัญหาและอุปสรรคทุกอย่างมีทางแก้ไข ขอให้ ทุกคนอยู่ด้วยกันอย่างมี ความสุข”


19

3. นายสมบัติ สร้อยสิงห์ นายสมบัติ สร้อยสิงห์ เกิดเมื่อวันที่ 31 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2515 อายุ 46 ปี ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนบ้านนาจาน อาชีพ ทาการเกษตร เข้าดารงตาแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2548 ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 11 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ประวัติการทางาน ได้ปฏิบัติหน้าที่ดูแลการปกครองพร้อมทั้งปราบปรามยาเสพติด ปกครอง โดยการจัดอบรมรวมพลังต้านยาเสพติด ตั้งด่านตรวจค้นทุกช่วงเทศกาล ปฏิบัติหน้าที่ มีความทุ่มเท เป็นอย่างมากกับหน้าที่และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนในชุมชน


20

4. นายสมชาย ศรีภักดี นายสมชาย ศรีภักดี เกิดเมื่อวันที่ 29 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2508 อายุ 52 ปี ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 อาชีพ ทาการเกษตร เข้าดารงตาแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2555 ปัจจุบันอาศัยอยู่บ้านเลขที่ 21 หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี สถานภาพสมรส กับนางบุญอิ่ม ศรีภักดี มีบุตร 3 คน หญิง 1 คน ชาย 2 คน


21

5. นายทองพูล บุญยิ่ง นายทองพูล บุญยิ่ง เกิดเมื่อวันที่ 29 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2508 อายุ 52 ปี ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตาแหน่งทางสังคม ประธานกองทุนหมู่บ้าน ประวัติการทางาน ได้รับการเลือกตั้งให้เป็นประธานกรรมการกองทุนหมู่บ้าน วันที่ 1 ม.ค. 2550 จนถึงปัจจุบัน และได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง เป็ น ประธานเครื อ ข่ า ยกองทุ น หมู่ บ้ า นในกลุ่ ม ของอ าเภอนาเยี ย จั ง หวั ด อุบลราชธานี ผลงานที่โดดเด่น - พัฒนากองทุนหมู่บ้านจนได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 - เป็นกองทุนที่มีการออมทรัพย์มากที่สุดในกลุ่มอาเภอนาเยีย - ตัง้ ระเบียบกองทุนหมู่บ้านให้สมาชิกเข้าถึงในการบริการอย่างเป็นธรรม - มอบทุนการศึกษาให้แก่ลูกหลานสมาชิกกองทุน - มอบทุนส่วนที่เหลือช่วยสมาชิกที่เข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล - เป็ น ผู้ บ ริ ห ารกองทุน หมู่บ้ านที่เ ป็นแบบอย่ างให้ กั บสมาชิกและคอยเอาใจใส่ แ ก่ สมาชิกพร้อมให้คาแนะนาเวลาสมาชิกกลุ่มมีปัญหาและเป็นผู้บริหารที่ทาการพัฒนา กองทุนหมู่บ้านจนได้รับรางวัลชนะเลิศทุกปี และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนที่น้อง ในชุมชนและได้จัดตั้งกองทุนท้องถิ่นและช่วยเหลือ พี่น้องที่เกิดประสบภัยธรรมชาติ ในเขตที่ท่านบริหารได้เป็นอย่างดี


22 5) เครือข่ายองค์กรชุมชนที่มีอยู่ในชุมชน บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี มีรายละเอียดดังนี้ 1. กลุ่มจักสาน จัดตั้ง พ.ศ.2558 ประธานกลุ่ม คือ นางบุญตา รอดเคน วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน 2. ส่งเสริมให้ชุมชนมีอาชีพเสริม 3. สืบสานภูมิปัญญาของชาวบ้านและการพัฒนาให้ดีขึ้น ผลการดาเนินงาน ชุมชนได้รู้จักงานจักสานและพัฒนาสินค้าได้ดีและมีการจัดทาการสอนให้กับกลุ่มเด็ก วัยรุ่นในชุมชนได้เรียนรู้ในการทาจักสานและเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านที่สืบทอดกันมาและแนะนาให้ วัยรุ่นในชุมชนได้มีอาชีพ 2. กลุ่มแม่บ้านสตรีทอผ้า จัดตั้ง พ.ศ.2558 ประธานกลุ่ม คือ นางเต็ม ทังโส วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน 2. ส่งเสริมให้ชุมชนมีอาชีพเสริม 3. สืบสานภูมิปัญญาของชาวบ้านและการพัฒนาให้ดีขึ้น ผลการดาเนินงาน ชุมชนได้รู้จักการทอดผ้าแบบดั้งเดิม และเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีคงไว้และ พัฒนาสินค้าให้ดียิ่งขึ้นไป และเด็กรุ่นใหม่ได้เรียนรู้แบบภูมิปัญญาของชาวบ้านได้ดี 3. กลุ่มแม่บ้านสตรีตัดเย็บเสื้อผ้า จัดตั้ง พ.ศ.2550 ประธานกลุ่ม คือ นางสาวสาราญ ชนะพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน 2. ส่งเสริมให้ชุมชนมีอาชีพเสริม 3. สืบสานภูมิปัญญาของชาวบ้านและการพัฒนาให้ดีขึ้น ผลการดาเนินงาน


23 ทาให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและออกแบบในการตัดเย็บเสื้อผ้าและมีการบริโภคในกลุ่ม แม่บ้านสตรีตัดเย็บเสื้อผ้าและเป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็กรุ่นใหม่ ที่ให้ความอบใจในการเรียนรู้ ตัดเย็บ เสื้อผ้าและมีหัวหน้ากลุ่ม คอยสอนและแนะนาเด็กรุ่นใหม่มีอาชีพและพัฒนาการตัดเย็บได้ดี 4. กลุ่มเกษตรปลอดสารพิษ จัดตั้ง พ.ศ.2556 ประธานกลุ่ม คือ นายทวี ประสานพันธ์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ชุมชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเกษตรกรปลอดสารพิษ 2. ส่งเสริมให้ชุมชนในการประกอบอาชีพการปลูกข้าวปลูกผักให้ปลอดสารพิษ 3. สร้างความสามัคคีและมีชุมชนมาขอคาแนะนาจากหัวหน้าศูนย์การเรียนรู้ เพื่อให้ จานาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในพื้นที่ที่คนทาการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง ผลการดาเนินงาน ชุมชนได้รับคาแนะนาจากหัวหน้าศูนย์และนาไปปฏิบัติจนทาให้การปลูกพืชผักและข้าว ให้มีน้าหนักและเป็นข้าวที่มีคุณภาพ โดยไม่ต้องพึ่งสารเคมี ทาให้ชุมชนลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้เข้า มาในชุมชน และบริหารจัดการในชุมชนได้ดีโดยไม่สารเคมี 5. กลุ่มแม่บ้านสตรี ทาขนมมันรังนกทอด กล้วยฉาบ มันเส้นอบเชย จัดตั้ง พ.ศ.2545 ประธานกลุ่ม คือ นางสาววิจิตรา ใจตรง วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน 2. ส่งเสริมให้ชุมชนให้มีการประกอบอาชีพโดยใช้วัตถุดิบในแหล่งชุมชน นามาปรับทา ขนมกล้ วยทอด กล้วยฉาบ มันรังนกทอด มันอบเนย กล้ วยอบเนย มันเส้นและส่งขาย เป็นสินค้า OTOP ของชุมชน ผลการดาเนินงาน ทาให้ชุมชนเป็นแหล่งขายและส่งสินค้าที่ผลิตโดยกลุ่มสตรีแม่บ้านและผลิตจากวัตถุดิบ ที่ทางชุมชนได้จากการเพาะปลูกของกลุ่มชุมชนและเพิ่มรายได้ให้กลุ่มอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งออก สินค้าตามหมู่บ้านต่างๆ และอาเภอต่างๆ อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ 6. กองทุนเงินล้าน จัดตั้ง พ.ศ.2544 ประธานกลุ่ม คือ นายทองพูล บุญยิ่ง วัตถุประสงค์ 1. เงินทุนหมุนเวียนเพื่อประกอบอาชีพ 2. ส่งเสริมการออมด้วยวิธีถือหุ้น


24 3. เสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจ สังคมของสมาชิกกองทุน ผลการดาเนินงาน มีเงินทุนหมุนเวียนจานวน 2,200,000 บาท มีสมาชิกกู้ยืม ถึง 112 คน สมาชิกมีเงิน ออมด้วยวิธีถือหุ้นเพิ่มมากขึ้น ทาให้สมาชิกมีเงินทุนพอเพียง ชุมชนเข้มแข็งขึ้น 6) กองทุนชุมชนและกลุ่มองค์กรสวัสดิการในชุมชน สวัสดิการชุมชน สวัสดิการ หมายถึง บริการหรือกิจกรรมใดๆ ที่หน่วยงานราชการหรือองค์การธุรกิจเอกชน จัดให้มีขึ้นเพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์การนั้นๆ ได้รับความสะดวกสบาย ในการทางาน มีความมั่นคงในอาชีพ มีหลักประกันที่แน่นอนในการดาเนินชีวิต หรือได้รับประโยชน์ อื่นใดนอกเหนือจากเงินเดือน หรือค่าจ้างที่ได้รับอยู่เป็นประจา ทั้งนี้เพื่อเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานมี ขวัญและกาลั งในที่ดี เพื่อจะได้ใช้กาลั งกาย กาลั งใจ และสติปัญญาความสามารถของตนในการ ปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ไม่ต้องวิตกกังวล ปัญหายุ่งยากทั้งในส่วนตัวและครอบครัวทา ให้มีความพอใจใน งาน มีความรักงานและตั้งใจที่จะทางานนั้นให้นานที่สุด สาหรับสวัสดิการที่ สมบูรณ์แบบนั้นย่อม หมายถึง สวัสดิการที่ให้แก่ลูกจ้าง บริการหรือกิจกรรมใดๆ ที่หน่วยงาน ราชการหรือองค์การธุรกิจ เอกชนจั ดให้ มีขึ้นเพื่อให้ข้าราชการ พนักงาน หรือผู้ ที่ปฏิบัติ งานอยู่ใน องค์การนั้นๆ ได้รับความ สะดวกสบายในการทางาน มีความมั่นคงในอาชีพ มีหลักประกันที่แน่นอนในการดาเนินชีวิต หรือ ได้รับประโยชน์อื่นใดนอกเหนือจากเงินเดือน หรือค่าจ้างที่ได้รับอยู่เป็น ประจา ทั้งนี้เพื่อเป็นสิ่งจูงใจ ให้ผู้ปฏิบัติงานมีขวัญและกาลังในที่ดี เพื่อจะได้ใช้กาลังกาย กาลังใจ และสติปัญญาความสามารถ ของตนในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ไม่ต้องวิตกกังวล ปัญหายุ่งยากทั้ง ในส่วนตัวและครอบครัวทาให้มี ความพอใจในงาน มีความรักงานและตั้งใจที่จะทางานนั้นให้นานที่สุด สาหรับสวัสดิการที่สมบูรณ์แบบ นั้นย่อมหมายถึง สวัสดิการที่ให้แก่ลูกจ้าง สวัสดิการ หมายถึง “การกินดีอยู่ดี” ซึ่งถ้าจะขยายความ ออกไปก็อาจกล่าวได้ว่า คือภาวะของการมีสุขภาพดี มีความเจริญรุ่งเรือง และมีความสุข ถ้าเกี่ยวกับ ด้านแรงงานก็หมายถึง สิ่งหรือสถานการณ์ที่นายจ้างจัดให้เพื่อความสะดวกสบาย หรือความกินดีดอยู่ ดีของลูกจ้างนั่นเอง ซึ่งการดาเนินการเพื่อให้เกิดภาวะที่มีความสะดวกสบาย หรือความกินดีอยู่ดีของ ลูกจ้างนี้มิได้หมายความว่า เป็นความรับผิดชอบของนายจ้างแต่ฝุายเดียว รัฐบาลและสหภาพแรงงาน ก็ต้องมีส่วนร่วมตัวอย่างสวัสดิการชุมชน


25 กองทุนหมู่บ้าน บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ระเบียบข้อบังคับ เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านโนนแดง ซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและสร้างนิสัยกา รอดออม เสียสละ เอื้ออาทร ให้เป็นไปด้วยความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเอื้อประโยชน์ต่อ สมาชิกโดยรวม จึงเห็นสมควรกาหนดระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการดาเนินงานของกองทุนหมู่บ้าน โนนแดง หมู่ที่ 6 ไว้ดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อบังคับทั่วไป ข้อ 1. ข้อ 2. ข้อ 3. ข้อ 4.

ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบข้อบังคับกองทุนหมู่บ้านโนนแดง” ที่ตั้งของกองทุนหมู่บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ให้ยกเลิกระเบียบข้อบังคับ กองทุนหมู่บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ฉบับแก้ไขเพิม่ เติมทุกฉบับ และให้ใช้ระเบียบข้อบังคับนี้แทน ข้อ 5. ให้ประธานคณะกรรมการกองทุนเป็นผู้มีอานาจตีความ และวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติ ตามระเบียบ ตลอดจนการออกคาสั่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยไม่ขัดแย้งระเบียบกับระเบียบของ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ หมวดที่ 1 ข้อบังคับทั่วไป ข้อ 6. หลักสาคัญของกองทุน 1. เสริมสร้างสานึกความเป็นสังคมระดับหมู่บ้าน 2. กาหนดอนาคตและการจัดการหมู่บ้านด้านภูมิปัญญาของตนเอง 3. เกื้อกูลเด็กด้อยโอกาสในหมู่บ้าน 4. เสริมสร้างและพัฒนาประชาธิปไตยขั้นพื้นฐาน ข้อ 7. วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุน (1) เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนให้กับสมาชิก (2) เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ด้วยวิธีการถือหุ้น การฝากเงินสัจจะ และเงินรับฝาก


26 (3) เพื่อให้บริการเงินกู้แก่สมาชิก (4) เพื่อพัฒนาจิตใจสมาชิกในการเป็นเจ้าของกองทุน (5) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในด้านเศรษฐกิจ และสังคมของสมาชิกและกองทุน ข้อ 8. แหล่งที่มาของกองทุน ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินดังนี้ 1. เงินอุดหนุนที่รัฐบาลและสินทรัพย์ 2. เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ 3. เงินกู้ยืม 4. ดอกผลหรือประโยชน์ใดๆที่เกิดขึ้นจากเงินกองทุน 5. ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 6. เงินรับฝากสัจจะและเงินรับฝาก 7. เงินค่าหุ้น 8. เงินสมทบจากกลุ่มหรือองค์กรสมาชิก 9. เงินหรือทรัพย์สินอื่นๆที่กองทุนได้รับโดยไม่มีเงื่อนไขผูกพัน หรือภาระติดพันอื่นใด ข้อ 9. คุณสมบัติของสมาชิก 1. เป็นผู้มีภูมิลาเนาและถิ่นที่อยู่ในกองทุนหมู่บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอ นาเยี ย จั งหวัดอุบ ลราชธานี เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปีก่อนวันสมัครเข้าเป็น สมาชิกกองทุนฯ 2. เป็นผู้มีนิสัยอันดีงาม มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นชอบด้วยหลักการของกองทุน และสนใจ ที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของกองทุน 3. เป็นผู้พร้อมที่จะปฏิบัติตามระเบียบของกองทุน 4. เป็นผู้ที่คณะกรรมการกองทุน ได้มีมติเห็นชอบให้เข้าเป็นสมาชิก 5. เป็นผู้ที่มีความเสียสละ และเห็นแก่ประโยชน์ของกองทุนเป็นสาคัญ ข้อ 10. การสมัครเข้าเป็นสมาชิก 1. ต้องยื่นคาขอสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนได้ที่คณะกรรมการกองทุน 2. เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อ 8 3. คณะกรรมการพิจารณาและมีมติเห็นให้เข้าเป็นสมาชิก ข้อ 11. สมาชิกขาดหรือพ้นสภาพจากการเป็นสมาชิกตามเหตุต่างๆดังต่อไปนี้ 1. ตาย 2. ลาออกและได้รับอนุมัติให้ลาออกจากคณะกรรมการกองทุน 3. วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน หรือถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ 4. ที่ประชุมใหญ่สมาชิกมีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียงสองในสามของผู้ร่วมประชุม


27

ข้อ 12.

ข้อ 13. ข้อ 14.

ข้อ 15. ข้อ 16. ข้อ 17.

ข้อ18.

ข้อ 19.

ข้อ19.

5. จงใจฝุาฝืนระเบียบของกองทุนหรือแสดงตนเป็นปรปักษ์หรือไม่ให้ความช่วยเหลือหรือ ร่วมมือกับกองทุนไม่ว่าด้วยประการใด 6. จงใจปิดบังความจริงอันควรแจ้งให้ทราบในใบสมัครสมาชิก 7. นาทรัพย์สินของกองทุนไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 8. มีคาสั่งศาลดาเนินจนถึงที่สุด (จาคุก) สมาชิกผู้ไม่มีหนี้สินหรือภาระผูกพันใดๆกับกองทุนทั้งในฐานะผู้กู้หรือผู้ค้าประกันอาจขอ ลาออกจากการเป็นสมาชิกของกองทุนได้ โดยแสดงความจานงเป็นหนังสือต่ อคณะกรรมการ กองทุน เพื่อพิจารณาอนุญาตและให้ขาดจากสมาชิกภาพ ผู้ที่ขาดจากการเป็นสมาชิกภาพตามข้อ 10 อาจยื่นคาขอสมัครเป็นสมาชิกใหม่ได้เมื่อพ้นหนึ่ง ปี การคิดค่าธรรมเนียมแรกเข้า คณะกรรมการกองทุนคิดค่าธรรมเนียมแรกเข้ากับสมาชิก ทั้ง ปัจเจกที่เป็นรายบุคคล กลุ่ม และหรือองค์กรชุมชนเป็นรายๆ ละ 105 บาท ตามข้อ 9 และ จะต้องชาระภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้งจากคณะกรรมการกองทุน หุ้นๆ หนึ่งมีมูลค่า 105 บาท สมาชิกแรกเข้าจะต้องถือหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้น โดยสามารถ ชาระค่าหุ้นและเพิ่มหุ้นได้ละหนึ่งครั้งในวันประชุมใหญ่สามัญประจาปีของกองทุน วิธีการชาระหุ้น สมาชิกสามารถชาระหุ้นโดยใช้เงินสด เป็นเงินฝากสัจจะ สมาชิกทุกคนต้องส่งเงินฝากสัจจะทุกๆ ปี ละเท่าๆ กัน ในวงเงินไม่ต่ากว่า 240 บาท และสูงสุดไม่ เกิน 240 บาท และสามารถเพิ่มเงินฝากสัจจะได้ทุกปี พร้อมกันนี้ สมาชิกสามารถถอนและปิดบัญชีได้ต่อเมื่อพ้นจากสภาพการเป็นสมาชิก สมาชิกจะพิจารณาเลือกบุคคลธรรมดาที่เป็นสมาชิกกองทุนมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปีเข้าเป็น กรรมการกองทุน ฯโดยมีจานวนไม่น้อยกว่าเก้าคนแต่ต้องไม่เกินสิ บห้าคน ประกอบด้ว ย กรรมการทั้งชายหญิงในสัดส่วนเท่าเทียมกัน คณะกรรมการกองทุนประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก นาย ทะเบี ย นและประชาสั ม พั น ธ์ ทั้ ง นี้ ก องทุ น ฯจะแต่ ง ตั้ ง ที่ ป รึ ก ษากองทุ น ฯก็ ไ ด้ ต ามแต่ คณะกรรมการกองทุนฯเห็นสมควร กรรมการกองทุนมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ 2 ปี - ในกรณีที่กรรมการกองทุนพ้นจากตาแหน่งตามวาระ คณะกรรมการกองทุนจะจัดให้มี การคัดเลื อกสมาชิกเข้าดารงตาแหน่งแทนกรรมการกองทุนซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ภายในระยะเวลา 30 วัน


28 - ในกรณี ที่ ก รรมการกองทุ น พ้ น จากต าแหน่ ง ก่ อ นหมดวาระ คณะกรรมการกองทุ น สามารถคัดเลือกสมาชิกที่เป็นบุคคลธรรมดาเข้าดารงตาแหน่งแทนกรรมการท่านนั้นๆก็ได้ แต่จะมีวาระเท่าที่กรรมการท่านนั้นมีอยู่ - กรรมการกองทุนซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระอาจได้รับคัดเลือกอีกก็ได้ ข้อ 22. คุณสมบัติของคณะกรรมการกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการหมู่บ้านและชุมชน เมืองแห่ งชาติว่าด้ว ยการจัดตั้งและบริห ารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่ งชาติ พ.ศ. 2544 และระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติว่าด้วยการจัดตั้ง และบริหารกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่ งชาติ พ.ศ.2551 กับจุดการเปลี่ยนแปลงจาก ระเบียบเดิม ข้อ 23. คณะกรรมการกองทุนมีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. บริ ห ารจั ด การกองทุ น รวมทั้ ง ตรวจสอบ ก ากั บ ดู แ ล จั ด สรรดอกผล รายได้ ห รื อ ผลประโยชน์ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุนหมู่บ้าน 2. ออกประกาศ ระเบียบข้อบังคับ หลักเกณฑ์หรือวิธีการเกี่ยวกับการบริหารกองทุน 3. จัดการทุนจากแหล่งเงินทุนตามประกาศกาหนด 4. พิจารณาเงินกู้ยืมให้แก่สมาชิกหรือกองทุนตามประกาศกาหนด 5. พิจารณาเงินกู้ยืมให้แก่สมาชิกหรือกองทุนหมู่บ้านอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ที่คณะกรรมการกาหนด 6. ทานิติกรรมสัญญา หรือ ดาเนินการกาหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับภาระผูกพันของกองทุน 7. สารวจและจัดทาข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของครัวเรือน 8. พิจารณาดาเนินการใดๆ เพื่อสวัสดิภาพ หรือประโยชน์ส่วนรวมอื่นใดของสมาชิกและ หมู่บ้าน 9. ติดตามและดาเนินการใดๆ เพื่อสวัสดิการ 10. รายงานผลการดาเนินการปัญหาและอุปสรรครวมทั้งฐานะการเงินของกองทุนหมู่บ้านให้ คณะกรรมการอย่ างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตลอดจนรายงานเรื่องดังกล่าวให้ส มาชิกทราบ ตามที่คณะกรรมการกาหนด 11. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกาหนด ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคาสั่งตามที่คณะกรรมการ กาหนดหรือมอบหมาย ข้อ 24. ถ้าประธานกรรมการกองทุนมีอานาจหน้าที่ดังนี้ 1. เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการกองทุนหรือการประชุมใหญ่สมาชิกกองทุนฯ 2. เรียกประชุมคณะกรรมการกองทุน


29 3. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการกองทุนเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามมติหรือ ตามที่คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย 4. ปฏิบัติงานหน้าที่อื่นๆตามข้อบังคับและมติของคณะกรรมการกองทุน ข้อ 25. ให้ ร องประธานกรรมการกองทุ น ทาหน้า ที่ แทนประธานกรรมการกองทุ น เมื่ อประธาน กรรมการกองทุนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือเมื่อประธานกรรมการกองทุนมอบหมายให้ ทาการแทน ข้อ 26. ถ้าประธานกรรมการกองทุนและรองประธานกรรมการกองทุนไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ในการ ประชุม คราวหนึ่ ง คราวใดได้ ให้ ที่ ป ระชุ ม เลื อ กคณะกรรมการกองทุ น คนใดคนหนึ่ง เป็ น ประธานสาหรับการประชุมคราวนั้น ข้อ 27. เหรัญญิกกองทุนมีหน้าที่รวบรวมจัดเก็บ ดูแลรักษาเงินทุนและรายได้ของกองทุนรวมทั้งการ จัดทาบัญชี พร้อมทั้งควบคุมการใช้จ่ายเงินกองทุนให้เป็นไปอย่างรอบคอบและเกิดประโยชน์ สูงสุด ข้อ 28. เลขานุการกองทุนมีหน้าที่ติดต่อประสานงานทั่วไป นัดประชุมกรรมการกองทุนจดและทา บันทึกรายงานการประชุมตลอดจนรายงานผลการดาเนินงานของกองทุน ข้อ 29. ผู้ ต รวจสอบภายในมี ห น้ า ที่ ต รวจสอบบั ญ ชี ก ากั บ ดู แ ล เงิ น กองทุ น ให้ เ ป็ น ไปตามที่ คณะกรรมการกองทุนประชุมตลอดจนรายงานการดาเนินงานของกองทุน ข้อ 30. ประชาสัมพันธ์มีหน้ าที่ให้ข่าวสาร ผลิตเอกสาร สิ่ งพิมพ์ แก่ส มาชิกและหน่ว ยงานอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง ข้อ 31. ฝุายติดตามหนี้สินมีหน้าที่ประสานงานและติดตามเงินกองทุนหมู่บ้านเมื่อถึงเวลาที่กาหนด ข้อ 32. คณะกรรมการกองทุน ต้องมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่ถ้ามีความจาเป็น ประธานอาจเรียกประชุมได้มากกว่า 1ครั้ง และต้องมีกรรมการกองทุนเข้าประชุมอย่างน้อย กึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมดจึงครบองค์ประชุม ข้อ 33. การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุม ให้ถือเสียงข้างมากและกรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงลงคะแนน หนึ่งเสียงในกรณีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งหรือ เป็นผู้ชี้ขาด ข้อ 32. การพ้นสภาพจากตาแหน่งของกรรมการ 1. ตาย 2. ลาออก 3. ที่ประชุมสมาชิกมีมติให้ออกด้วยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของสมาชิกทั้งหมด ข้อ 34. ประเภทการกู้ยืม สมาชิกสามารถยื่นขอกู้เงินต่อคณะกรรมการกองทุนเพื่อนาไปใช้จ่ายใน กิจกรรม ดังต่อไปนี้


30

ข้อ 35. ข้อ 36. ข้อ 37.

ข้อ 38.

ข้อ 39.

ข้อ 40.

ข้อ 41. ข้อ 42.

(1) การพัฒนาอาชีพ (2) การสร้างงาน (3) การสร้าง และ/หรือ เพิ่มรายได้ (4) ลดรายจ่าย (5) บรรเทาเหตุฉุกเฉิน และจาเป็นเร่งด่วน การอนุมัติเงินกู้ สมาชิกที่จะขอกู้เงินจะต้องยื่นแบบคาขอกู้เงินตามประกาศกองทุนฯกาหนด ไว้ ลักษณะโครงการ สมาชิกสามารถยื่นขอกู้ เงิน สมาชิกต้องระบุข้อความในแบบคาขอกู้เงินให้ ครบถ้วน เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา ตามประกาศกองทุนฯกาหนดไว้ วงเงินกู้ เงินกู้ตามข้อ32(1),(2),(3)และ(4)ให้แก่สมาชิกรายหนึ่งในวงเงินไม่เกิน 75,000 บาท สมาชิกยื่นขอกู้ตามข้อ32(5) ต้องเป็นการกู้เฉพาะกรณี เพื่อการอันจาเป็น หรือมีประโยชน์ ตามที่คณะกรรมการกองทุนเห็นสมควร แต่จะให้เงินกู้เพื่อการสรุ่ยสุร่ายหรือการเก็งกาไร ไม่ได้ ในวงเงินรายละไม่เกิน 15,000 บาท การดาเนินการตามโครงการที่ขอกู้และการจัดทารายงาน สมาชิกต้องดาเนินโครงการที่ขอกู้ ให้ส าเร็จ เป็ น ไปตามวัตถุประสงค์ และจัดทารายงานความก้าวหน้าตามแบบรายงานที่ คณะกรรมการกองทุนกาหนด การทาสัญญา เงินกู้ทุกประเภทต้องมีการทาสัญญาไว้กับคณะกรรมการกองทุนตามแบบ และเงื่อนไขที่กาหนด โดยมีการเก็บค่าธรรมต่างๆ ตามประกาศกองทุนฯกาหนดไว้ข้อ 39. หลักประกันเงินกู้ มีข้อกาหนดดังนี้ 1. แบบคาร้องขอกู้ 2. โครงการ วัตถุประสงค์กิจกรรมที่ดาเนินการ 3. สาเนาทะเบียนบ้านของผู้กู้ 4. สาเนาบัตรประจาประชาชนของผู้กู้ การชาระคืนเงินกู้ เงินชาระหนี้สาหรับเงินกู้กาหนดไว้ดังต่อไปนี้ 1. เงินกู้ตามข้อ32(1),(2),(3)และ(4) ให้ผู้กู้ส่งคืนเงินต้นพร้อมด้วยดอกเบี้ยภายใน 1 ปี 2. เงินกู้ตามข้อ32(5) ให้ทาสัญญาและมีผู้ค้าประกันจานวน 1 คน ภายในระยะเวลาไม่เกิน หนึ่งปี คณะกรรมการกองทุนสามารถขยายระยะเวลาการกู้ยืมได้ตามประกาศกองทุนฯกาหนดไว้ วิธีการรับชาระหนี้ให้เป็นไปตามประกาศกองทุนฯกาหนดไว้ หลักประกันเงินกู้มีข้อกาหนดดังนี้ 1. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ไม่เกินร้อยละ15ต่อปี


31 2. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากสัจจะ/เงินรับฝาก ไม่เกินร้อยละ7.5ต่อปี ข้อ 43. ค่าปรับ ในกรณีที่ผู้กู้ผิดสัญญาเงินกู้ให้ผู้กู้เสียเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 0.5 ต่อวัน ข้อ 44. กรณี มีเ หตุ วิสั ย หรื อความจ าเป็ นที่ ผู้ กู้ ไม่ ส ามารถนาส่ ง ช าระได้ต ามกาหนดในสั ญญาให้ คณะกรรมการดาเนินการดังนี้ 1. ส่งหนังสือแจ้งเตือนชาระหนี้ 2. ให้ผู้ขอกู้แสดงเหตุผลในการมาส่งชาระเงิน 3. คณะกรรมการดาเนินการตามข้อบังคับในสัญญาที่มีในแบบคาขอกู้ 4. ให้บุคคล คณะบุคคลที่ค้าประกันแสดงเหตุผล 5. คณะกรรมการเปิ ด การประชุ มสมาชิก เพื่ อขอมติใ นการแก้ไ ขปั ญหาที่เ กิด ขึ้น มติ ที่ ประชุม 3 ใน 4 ของจานวนสมาชิกถือเป็นสิ้นสุด

หมวดที่ 4 การจัดสรรผลกาไร ข้อ 45. การจัดสรรกาไรสุทธิประจาปี เมื่อสิ้นปีทางบัญชีของกองทุนและได้ปิดบัญชีตามมาตรฐาน การบัญชี ที่รับรองโดยทั่วไปแล้ว ปรากฏว่ากองทุนมีกาไรสุทธิ คณะกรรมการกองทุนจะนา กาไรสุทธิมาจัดสรรได้ดังนี้ 45.1กองทุนเงินล้าน บัญชี 1 ดาเนินการจัดสรรผลกาไร ดังนี้ 1. เป็นเงินประกันความเสี่ยง ในอัตราร้อยละ 5% 2. เงินเฉลี่ยคืนให้แก่ผู้กู้ ในอัตราร้อยละ 10% 3. เป็นเงินค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการกองทุน ในอัตราร้อยละ 30% 4. เงินสมทบกองทุน อัตราร้อยละ 10% 5. เงินทุนสวัสดิการให้แก่สมาชิก ในอัตราร้อยละ 10% 6. เป็นทุนเพื่อสาธารณประโยชน์ ในอัตราร้อยละ 15% 7. ค่าใช้จ่ายในกองทุน อัตราร้อยละ 20% 45.2กองทุนบัญชีออมทรัพย์ (สัจจะ) บัญชี 2 ดาเนินการจัดสรรผลกาไร ดังนี้ 1. เป็นเงินประกันความเสี่ยง ในอัตราร้อยละ 10% 2. เงินเฉลี่ยคืนให้แก่ผู้กู้ ในอัตราร้อยละ 20% 3. เป็นเงินค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการกองทุน ในอัตราร้อยละ 10% 4. เงินสมทบกองทุน อัตราร้อยละ 20%


32 5. เงินทุนสวัสดิการให้แก่สมาชิก ในอัตราร้อยละ 10% 6. เป็นทุนเพื่อสาธารณประโยชน์ ในอัตราร้อยละ 20% 7. ค่าใช้จ่ายในกองทุน อัตราร้อยละ 20% 45.3กองทุนบัญชี บัญชี 3 ดาเนินการจัดสรรผลกาไร ดังนี้ 1. เป็นเงินประกันความเสี่ยง ในอัตราร้อยละ 5% 2. เงินเฉลี่ยคืนให้แก่ผู้กู้ ในอัตราร้อยละ 10% 3. เป็นเงินค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการกองทุน ในอัตราร้อยละ 30% 4. เงินสมทบกองทุน อัตราร้อยละ 10% 5. เงินทุนสวัสดิการให้แก่สมาชิก ในอัตราร้อยละ 10% 6. เป็นทุนเพื่อสาธารณประโยชน์ ในอัตราร้อยละ 15% 7. ค่าใช้จ่ายในกองทุน อัตราร้อยละ 20% ข้อ 47. อาจเปลี่ยนได้ตามมติที่ประชุมใหญ่สามัญประจาปี แต่ต้องดาเนินการแก้ไขระเบียบกองทุน หมู่บ้านภายใน..............วัน ข้อ 48. กองทุนจะจัดทาบัญชีเงินฝากและบัญชีค่าใช้จ่ายของกองทุนอย่างรอบคอบเดือนละหนึ่งครั้ง แล้วติดประกาศอย่างเปิดเผย ณ ที่ทาการกองทุนให้สมาชิกทราบ โดยมีประเภทบัญชีที่ จะต้องดาเนินการจัดทาดังนี้ (1) บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ (2) รายรับและรายจ่ายของกองทุน (3) สินทรัพย์และหนี้สินของกองทุน ข้อ 49. คณะกรรมการกองทุน แต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชีประจากองทุนเพื่อ ตรวจสอบบัญชีของ กองทุนและรายงานการตรวจสอบบัญชี ต่อสมาชิก เพื่อทราบถึงความก้าวหน้า ฐานะทาง การเงินและผลการดาเนินงานของกองทุน ทุกหกเดือนและทุกรอบปีบัญชี พร้อมทั้งแสดง บัญชีกาไร ขาดทุน และงบดุลในปีบัญชีที่ล่วงมาภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันสิ้นปีบัญชี กองทุนฯต้องจ่ายค่าตอบแทนการตรวจบัญชีทุกครั้งตามประกาศกองทุนฯกาหนดไว้ ข้อ 45. ให้คณะกรรมการกองทุนนัดประชุมใหญ่สมาชิกอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยมีวาระการ ประชุมดังนี้ (1) เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ (2) รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา (3) พิจารณาเรื่องที่ค้างในที่ประชุมครั้งก่อน (4) เหรัญญิกรายงานฐานะทางการเงิน (5) วาระที่ต้องพิจารณา


33 (6) เรื่องอื่นๆ(ถ้ามี) (7) สรุปผลและปิดการประชุม บทเฉพาะกาล ข้อ 51. บรรดาประกาศ คาสั่ง ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ ให้ใช้บังคับต่อไป จนกว่าจะได้มีการแก้ไขหรือยกเลิก ข้อ 52. ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับให้คณะกรรมการกองทุนประเมินการดาเนินงาน ตามระเบียบนี้ เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมต่อไป ข้อ 53. ให้คณะกรรมการกองทุนเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ให้ใช้ ณ วันที่ ..............เดือน..........................................พ.ศ. 2555 (ลงชื่อ)……………………………….. (นายทองพูล บุญยิ่ง) ประธานคณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี

7) แผนที่ชุมชนและภูมิสถาปัตยกรรมชุมชน แผนที่ที่ชุมชน คือ จุดอ้างอิงของทุกภาคส่วนในการระบุทรัพยากร ทางวัฒนธรรม อันเป็น ทุนทางสังคมที่สาคัญของชุมชน โดยมีพื้นฐานมาจากแนวคิดเรื่องการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่มี ชีวิต เน้นการพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม โดยมีเนื้อหาครอบคลุม อย่างครบถ้วนตั้งแต่พัฒนาการ ประวัติศาสตร์ของเมือง สภาพองค์ประกอบทางกายภาพในปัจจุบัน รวมไปถึงองค์ประกอบที่สาคัญอื่นๆ เช่น บ้านเรือนเก่าแก่ ระบบคูคลอง ต้นไม้ใหญ่ พันธุ์ไม้พื้นถิ่น ฯลฯ อันเป็นส่วนหนึ่งที่ประกอบกันเป็นคุณค่ารวม ของสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม ซึ่งมิใช่มีแต่ โบราณสถาน วัด วัง ที่มีคุณค่าสูงเท่านั้น แผนที่ชุมชนมีรูปแบบและลักษณะที่เข้าใจง่ายสามารถ เข้าถึงได้โดยคนทุกระดับมีลักษณะเป็นพลวัต ยืดหยุ่น สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามบริบททางสังคม และวัฒนธรรมในอนาคต โดยจะเป็นหนึ่งในมาตรการและเครื่องมือสาคัญสาหรับหน่วยงานท้องถิ่น และประชาชน ในการร่วมกาหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไปในอนาคต


34


35 8) ปัญหาของชุมชน ชุมชนบ้านโนนแดง หมู่ที่ 6 ตาบลนาเยีย อาเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี มีสภพาปัญหา วิเคราะห์ปัญหาได้ดังนี้ สภาพปัญหาและการวิเคราะห์ปัญหาของหมู่บ้าน/ชุมชน สภาพปัญหาของหมู่บ้าน ที่ ประเภทปัญหา สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น 1 ด้านโครงสร้างพื้นที่ - ถนนในหมู่บ้าน - ถนนลูกรังเป็นหลุมเป็นบ่อ - น้าเพื่อการเกษตรและเลี้ยง - มีความตื้นเขินในหน้าแล้ง สัตว์ - การติดต่อสื่อสาร - ไม่มีโทรศัพท์สาธารณะ - ไฟฟูา - ไฟฟูายังไม่ทั่วถึง 2 ด้านเศรษฐกิจ - การอบรมอาชีพ - รายได้และหนี้สิน -

3 -

ผลกระทบจากปัญหา - การไปมาไม่สะดวก - ทาการเกษตรและเลี้ยง สัตว์ไม่เพียงพอ - การสื่อสารไม่ทันเวลา - ขาดความสว่างในจุด ล่อแหลม

- ประชาชนขาดอาชีพเสริม - ทาให้ไม่มีรายได้ - ค่าใช้จ่ายมากแต่รายได้ไม่มี - การศึกษาต่า ทาให้ต้องกู้หนี้ยืมเงิน การประกอบอาชีพของคน - หลังจากอาชีพหลักหมดไป ในชุมชน ประชาชนส่วนมากจะวาง งาน ผลิตผลทางการเกษตร - ผลิตออกมาไม่มีแหล่ง จาหน่าย ราคาต่า การลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ - ประชาชนมีการใช้จ่ายที่ ฟุ​ุมเฟือย การประหยัดและอดออม - ยังไม่มีการออมรายเดือน ด้านสังคม การเมือง การปกครอง กลุ่มองค์กรในชุมชน - กลุ่มองค์กรไม่เข้มแข็ง - ทาให้การบริหารกองทุน ไม่มีความเข้มแข็ง การสงเคราะห์ - ไม่มีกลุ่มสงเคราะห์ การปูองกันยาเสพติด - ไม่มีซื้อขายยาเสพติดใน


36 ที่

ประเภทปัญหา

สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น หมู่บ้าน - การเสริมสร้างประชาธิปไตย - ไม่มีการขายสิทธิ์ขายเสียง เมื่อมีการเลือกตั้ง อาจทาให้ได้ตัวแทนไม่มี ความสามารถ 4 ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม - การสนับสนุนการศึกษา - การศึกษาภาพรวมอย่างต่า - การสนับสนุนประเพณี

5 ด้านสาธารณสุข - สุขภาพ

ผลกระทบจากปัญหา - เมื่อมีการขายสิทธิ์ขาย เสียง

- ทาให้ประชาชนอาจมี การถูกหลอกลวงได้ง่าย - การมีหนังสือประจาหมู่บ้าน - ประเพณีรวมของชุมชน สูญหาย - ไม่มีศูนย์ถ่ายทอดภูมิปัญญา ท้องถิ่น รัฐยังน้อย - ประชาชนขาดการดูแลสุขภาพ

- ทาให้สุขภาพร่างกาย - ไม่มีการออกกาลังกาย แข็งแรง - มีพฤติกรรมบริโภคไม่ถูกต้อง - ทาให้เกิดโรคได้ง่าย - สภาพแวดล้อมไม่ดี - การควบคุมปูองกันโรคไม่ - ยังมีโรคติดต่อที่ต้องควบคุม - เมื่อมีการเจ็บปุวยต้อง ติดต่อ เสี่ยงกับการเสียชีวิต - โรคไข้เลือดออก - โรคท้องว่าง โรคเอดส์ - การควบคุมโรคไม่ติดต่อ - มีการเกิดโรคเบาหวาน - เสียเวลาเสียเศรษฐกิจ - โรคความดันโลหิตสูง - ทาให้สุขภาพไม่ดี - โรคอ้วน - เป็นภัยเงียบในการ ดารงชีวิต - สิ่งแวดล้อม - สภาพบริเวณหมู่บ้านไม่สะอาด - ทาให้เกิดโรคระบาด - การปูองกันอุบัติเหตุ - ขับขี่จักรยานยนต์ไม่สวม - เมื่อเกิดอุบัติเหตุทาให้ หมวกนิรภัย เกิดอันตรายถึงชีวิต 6 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ - หนองน้า - หนองน้ามีการตื้นเขิน - ทาให้ไม่มีแหล่งทา การเกษตรและอาหาร ตามธรรมชาติ


37 ที่

ประเภทปัญหา - รักษาปุาตามธรรมชาติ

สภาพปัญหาที่เกิดขึ้น - สภาพปุามีน้อย

- ชุมชน

- ชุมชนสะอาด

ผลกระทบจากปัญหา - ทาให้ชุมีชุมชนมีการเกิด โรคระบาดได้ง่าย


38 บทที่ 4 โครงงาน การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยกับไทยอินเตอร์ จากัด) จังหวัดนครราชสีมา 1. สภาพโดยทั่วไป และประวัติความเป็นมา สภาพครอบครัวมีความลาบากมากในสมัย 20 ปีที่ผ่านมา ได้ยึดหลักอาชีพพนักงานรักษา ความปลอดภัยมาโดยตลอด ในปี 2552 ได้ปรึกษากันเพื่อทาธุรกิจรักษาความปลอดภัยของตนเองขึ้น ในรูปแบบห้างหุ้นส่วน จากัด ภายใต้ชื่อว่าไทยซีเคียวเซอร์วิส ด้วยทุน 5,000 บาท ผู้รับจดทะเบียนคือ ทนายวีระ ครุฑนุนทด สานักงานทนายความจังหวัดนครราชสีมา ธุรกิจ เริ่มขยายตัวขึ้น ต่ อ มาปี 2553 ได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ไทยอิ น เตอร์ ซี เ คี่ ย วซี ตี้ จ ากั ด อี ก บริ ษั ท เพื่ อ รองรั บ การ เจริญเติบโตมีผู้ใช้บริการมากขึ้น กิจการรุ่งเรืองมียอดขึ้นถึง 16.20 ล้านบาท วงการธุรกิจสังคมเริ่ ม รู้จักในนามบริษัทมากขึ้น มีโอกาสเข้าหาผู้คน ในสังคมทุกระดับ ปี พ.ศ.2558 ได้เปลี่ยนชื่อและจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด ให้ถูกต้องตาม พรบ.กฏหมายใหม่ ได้รับรองมาตรฐาน ISO 9001-2015 มีการขยายตัวแบบ ยั่งยืนในปี พ.ศ.2560 มียอดขายอยู่ 240 ล้านบาท 2. กระบวนการทางาน การบริ ห ารธุร กิ จ รั กษาความปลอดภัย (บริษัทรั กษาความปลอดภัยไทยอิ นเตอร์ จากัด ) จังหวัดนครราชสีมา ข้าพเจ้าดารงตาแหน่ง รองประธานกรรมการผู้จัดการยึดหลักการบริหารโดยใช้ หลักธรรม อิทธิบาท 4 (Basis for Success) หรือพื้นฐานแห่งความสาเร็จ 4 ประการ อันได้แก่ 1. ฉันทะ (Wish Desire) 2. วิริยะ (Effort Exertion) 3. จิตตะ (A Thought) 4. วิมังสา (Measurement) 1. ฉันทะ (Wish Desire) คือ การใส่ใจ สนใจในกิจการที่ทาอยู่เพื่อให้กิจการงานนั่นลุล่วง ไปตามเปูาหมาย หัวหน้างาน ผู้บริหารที่เอาใจใส่ในงาน ย่อมเกิดความรู้สึกอยากทางาน และพลอยให้ ผู้ร่วมงานเอาใจใส่ตามไปด้วย เพราะรู้สึกว่าตนไม่ได้ถูกทอดทิ้ง ให้ทางานแต่ฝุายเดียว ฉันทะจึงมี


39 ความจาเป็นในการบริหารกาลังคน (Man) จะบริหารคนอย่างไรให้บรรลุเปูาหมายที่วางไว้ โดยแบ่ง พนักงานบริษทั รักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์จากัด ออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ฝุายบริหาร ประกอบด้วยผู้จัดการทั่วไป ผู้จัดการสาชา ฝุายปฏิบัติการ ฝุายตรวจ บัญชี-การเงิน ธุรการสายตรวจ มีหน้าที่ กากับดูแลและควบคุมการทางาน ค่าจ้าง สวัสดิการของ พนักงานรักษาความปลอดภัย ตลอดจนให้ บริการลูกค้าที่ให้บริการ ให้ปฏิบัติตามข้อตกลงสัญญา เพื่อให้เกิดความประทับใจ เชื่อมั่นในการให้บริการ และดูแลค่าจ้าง สวัสดิการ ประกันสั งคมของ พนักงานและสิทธิประโยชน์ของลูกจ้าง 2. พนั กงานความปลอดภัย ที่ออกปฏิบัติห น้าที่บริการดูแลความปลอดภั ย อาคาร สถานที่ ทรัพย์สินประจาหน่วยงานต่างๆ ตามสัญญาจ้าง ในหน่วยงานนั้นๆ จะต้องผ่านการอบรมตาม หลักสูตรวิชาชีพรักษาความปลอดภัย ตามกฏหมาย พรบ.รักษาความปลอดภัย ทั้งภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ จานวน 40 ชั่วโมง และได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพรักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง ในฐานะผู้บริหารตาแหน่งรองประธานกรรมการ มีหน้าที่บริหารจัดการองค์กรให้เป็นไปตามนโยบายที่ ถูกต้องตามกฏหมายโดยเคร่งครัดไม่ให้เกิดความเสียหาย รวมถึงการสร้างรายได้ให้เกิดความมั่นคงต่อ องค์การ นอกจากนี้ยังเอาใจใส่ฝุายบริหารและพนักงานความปลอดภัย ที่ออกไปปฏิบัติหน้าที่ บริการ ดูแลความปลอดภัย อาคารสถานที่ ทรัพย์สินประจาหน่วยงานต่างๆ ตามสัญญาจ้างโดยให้ ความรัก ความอบอุ่น ความจริงใจ ในหน้าที่อย่างเท่าเทียม ให้คาแนะนาส่งเสริมในการปฏิบัติหน้าที่ ให้อภัย ช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาด้วยเหตุและผลด้วยความเป็นธรรม พนักงานรักษาความปลอดภัยทุ กคน จะต้องผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพ รักษา ความปลอดภัยตามกฏหมาย พรบ.รักษาความปลอดภัย ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จานวน 40 ชั่วโมง และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ รักษาความปลอดภัยอย่างถูกต้อง เมื่อผ่านการฝึกอบรม จานวน 40 ชั่วโมง และได้รับวุฒิบัตร นาไปยื่นคาขอขึ้นทะเบียนพนักงานรักษาความปลอดภัย จึงจะ ได้ รั บ ใบอนุ ญ าต (ภธ.6) ตาม พรบ.ธุร กิ จ รั ก ษาความปลอดภั ย 2552 ต่ อ นายทะเบี ยนจั ง หวั ด ส่ว นกลาง ที่ส ถานี ตารวจนครบาล ส่ ว นภูมิภ าคที่ส ถานที่ตารวจภูธ รจังหวัดนั้นๆ เพื่อตรวจสอบ คุณสมบัติ เอกสาร ประวัติอาชญากรรมภายใน 60 วัน แล้ วเขียนคาร้องขอรับใบอนุญาต (ภธ.7) จึง จะได้เป็นพนักงานรักษาความปลอดภัยที่ถูกต้องตามกฏหมายโดยสมบูรณ์ 2. วิริยะ (Effort Exertion) คือความอุตสาหะพากเพียรในการประกอบกิจการงานให้ ลุล่วงไปด้วยดี ผู้นาที่ขาดความพากเพียรย่อมก่อให้เกิดความรู้สึกถูกเหยียดยามจากผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ ที่ตั้งใจทางานก็จะเสียขวัญกาลังใจในการทางาน เกิดการเบื่อหน่าย ละเลยหน้าที่ ที่รับผิดชอบอยู่ ความเสียหายก็จะเกิดขึ้นได้ ในฐานะผู้บริหาร จะต้องมีความพากเพียร อุตสาหะในการติดตาม ในการ ประกอบการงานของผู้ใต้บังคับบัญชาให้ลุล่วงไปด้วยดี ด้วยกัลยาณมิ ตร ตั้งแต่ผู้บริหารถึงปฏิบัติการ


40 พนักงาน รปภ.ให้มีความรู้สึกว่า บริษัทคือส่วนหนึ่งของชีวิต สินค้าของบริษัทคือ พนักงาน รปภ. เมื่อ พนักงานทุกคนทุกฝุายมีความรู้สึกเดียวกัน สินค้าของบริษัทก็มีทั้งคุณภาพและประสิทธิภาพ การใช้ วัสดุ เครื่องมือ ประจาตัว เครื่องมือ เครื่องใช้ในห้องสานักงาน ใช้ฝึกอบรม ทุกคนจะใช้อย่างคุ้มค่า สินเปลืองน้อยที่สุด เกิดประโยชน์สูงสุด พนักงานก็จะปฏิบัติตามแบบอย่าง ผู้บังคับบัญชาด้วยความ ศรัทธา เชื่อมั่นทางานด้วยความสบายใจ มีความสุข ทาให้บริษัทได้รับรางวัลชนะเลิศ บริษัทรักษา ความปลอดภัยดีเด่น ประจาปี 2559 ผ่านการรับรอง ISO : 2010 Certification THAoaD/03979 3. จิตตะ (A Thought) การเอาใจใส่ติดตามงานที่ทา กาลังปฏิบัติอยู่ไม่ปล่อยปะละเลย จนเกิดความเสียหาย เป็นการกระทาที่เป็นแบบอย่างได้ เป็นแรงกระตุ้นให้ผู้อื่นมีความรอบคอบเอาใจ ใส่ต่องานของตนด้วย การเอาใจใส่ติดตามงานด้วยกัลยาณมิตรแล้ว ผู้ใต้บังคับบัญชาย่อมเกิดความรัก ความศรัทธา ความอบอุ่น ทางานด้วยความสุขเหมือนกับทางานที่บ้านของตนเอง การบริหารงาน การเงินของบริ ษัทดีขึ้น เจริญรุ่งเรืองขึ้น มีผ ลกาไรมากเพิ่มขึ้น องค์กรเจริญเติบโตมีผลกาไรมาก พนักงานก็จะได้รับสวัสดิการ เงินเดือนเพิ่มขึ้นเช่นกัน แสดงให้เห็นว่า ทุกคนร่วมกันเห็นคุณค่าของ การพัฒนาส่วนรวม องค์กรก่อนเมื่อองค์กรเจริญรุ่งเรือง ทุกคนก็จะได้รับผลประโยชน์ตามไปด้วย 4. วิมังสา (Measurement, Judgment) การหมั่นตรึกตรองค้นคว้า ทดลองริเริ่มหาเหตุผล ต่างๆ ให้กิจการดาเนินต่อไปด้วยความเรียบร้อย และเจริญก้าวหน้า ก่อให้เกิดความมั่นคงในกิจการ ผู้ ป ฏิบั ติง าน จะเกิด ความมั่น ใจในสถาบัน องค์ กรมากขึ้ นและผลประโยชน์ อัน เกิ ดจากกิจ การที่ ก้ า วหน้ า ก็ มี ส่ ว นสร้ า งขวั ญ และก าลั ง ใจแก่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ย ในการบริ ห ารจั ด การ เป็ น กระบวนการจั ด การบริ ห ารควบคุ ม เพื่ อ ให้ ง านทั้ ง หมดเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิ ด ประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ ด้วยหลักธรรม วิมังสา คือการหมั่นตรึกตรอง ค้นหา ด้วยปัญญาเหตุผลและ ผลว่า เป็ น ไปตามนโยบาย เปู าหมาย หรื อไม่ อย่างไร และมีแผนการกลยุ ทธ์ใ นการแก้ ไข พัฒ นา ส่งเสริม ปรับปรุงอย่างไร ในเหตุผลที่เป็นจริงต่างเพื่อให้ธุรกิจดาเนินการไปด้วยความเรียบร้อย และ ตรึกตรองอย่างรอบคอบ การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด ยึดหลักธรรมเป็นหลัก ควบคู่กับ การบริหารที่มีนโยบายเปูาหมายที่ชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบได้ โครงสร้างการบริหารมีดังนี้


41 โครงสร้างการบริหาร บริษัทรักษาความปลอดภัยกับไทยอินเตอร์ จากัด กรรมการผู้จัดการ

รองกรรมการผู้จัดการ

ผู้จัดการสาขา

ปฏิบัติการ

ผู้จัดการทั่วไป

แผนกบัญชีการเงิน

การตลาด

บุคคล/ธุรการ

สายตรวจ หัวหน้าชุด รปภ.

สรรหาบุคคลากร

ประเมินราคา/สัญญา

ฝึกอบรม

ประเภทธุรกิจ บริษัท รักษาความปลอดภัย ไทยอินเตอร์ จากัด ใบอนุ ญาตประกอบกิ จ การรั ก ษาความปลอดภัย เลขที่ ภธ.2 นม.2600010 หมายเลข ประจาตัวผู้เสียภาษี 030 555 3002 726 จดทะเบียนตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2533 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน)


42 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง 1. เพื่อเป็นการแบ่งเบา ภาระ โดยแยกงานด้านการรักษาความปลอดภัย ออกมาบริการ จัดการความเสี่ยงต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น แทนผู้ว่าจ้าง 2. ดาเนินการคัดเลือกบุคลากรที่มีคุณสมบัติ มีความรู้ ความสามารถ ตรงตามที่ผู้ว่าจ้าง ต้องการ เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อรักษาผลประโยชน์ให้กับฝุายผู้ว่าจ้าง 3. ดาเนิ น การฝึ กอบรมพนักงานรักษาความปลอดภัย หลั กสู ตรวิช าชีพงานรักษาความ ปลอดภัย ตามสถานที่ฝึกอบรม (สตช.) ที่ได้รับอนุญาต เพื่อให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติธุรกิจรักษา ความปลอดภัย 2558 โดยบริษัทเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเองทั้งสิ้น 4. ด าเนิ น การส่ ง ตั ว พนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย ขึ้ น ทะเบี ย น กั บ นายทะเบี ย น โดย ตรวจสอบประวัติอาชญากรรม ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท 5. ดาเนินการเรื่องขอรับใบอนุญาตเป็นพนักงานรักษาความปลอดภัย ได้รับอนุญาต ตาม กฏหมาย โดยบริษัทจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายเอง 6. ดาเนินการรับผิดชอบเป็นผู้จัดหาเครื่องแบบ ทีใช้ในการทางานของพนักงาน รวมถึงวัสดุ สิ้นเปลืองต่างๆ ที่เกิดจากการทางาน 7. ดาเนินการรับผิดชอบ การจ่ายค่าจ้าง สวัสดิการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ตามกฎหมายแรงงาน 8. รับผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้น ภายใต้เงื่อนไข ข้อตกลงในสัญญา ขั้นตอนการทางาน 1. ระดับหัวหน้าชุด รับนโยบายจากผู้ว่าจ้างหรือบริษัท รวมแถม ฝึกอบรม ชี้แจงแนวทาง การปฏิบัติก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่ประจาจุด เป็นประจาทุกวัน 2. ควบคุมการทางานพนักงานรักษาความปลอดภัยประจาจุด ให้ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยลาย ของผู้ว่าจ้างและบริษัท 3. วางแผนปูองกันเหตุ ปูองกันความเสียหาย ในเวลาปกติ และในช่วงเวลาเร่งด่วน โดยการ ตรวจสอบ ตรวจค้น 4. ประสานงาน แจ้งเหตุ ภาวะฉุกเฉิน และสรุปรายงานเหตุประจาวัน 5. เจ้าหน้าที่ สายตรวจ ผู้ประสานงาน เข้าทาการสนับสนุน ฝึกอบรม การตรวจสอบการทางาน 1. เจ้าหน้าที่สายตรวจของบริษัทเข้าตรวจเยี่ยม ตรวจสอบ ฝึกอบรม สลับกลางวันและ กลางคืนโดยไม่บอกกาหนดเวลา 2. ปฏิบัติการสายตรวจ ครูฝึก เข้าทาการฝึก อบรมพนักงานประจาสัปดาห์ ประจาเดือน


43 3. ฝุายบริหารของบริษัทเข้าตรวจเยี่ยมประเมิน การทางานของพนักงานรักษาความ ปลอดภัย 4. ฝุายบริหารเข้า พบ ฝุายผู้ว่าจ้าง ประเมินผลงาน ของพนักงานรักษาความปลอดภัย รับ ข้อเสนอแนะเพื่อนามาปรับปรุงคุณภาพ 5. ฝุายบริหารเข้าประชุมร่วม สรุปรายงาน ประจาเดือน กฎระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ 1. ต้องแต่งกายด้วยเครื่องแบบ ติดเครื่องหมาย ติดบัตร สัญลักษณ์ของบริษัทฯตลอดเวลา ขณะปฏิบัติหน้าที่ 2. ต้องมีภาวะความเป็นผู้นา มีความน่าเชื่อถือแก่ผู้พบเห็น การยืน หรือ นั่งจะต้องอยู่ใน ลักษณะสง่า ผ่าเผย 3. ต้องให้เกียรติ แสดงการทาความเคารพ ผู้บริหารระดับสูง บังคับบัญชา รวมถึงบุคคลผู้มา ติดต่อ 4. ต้องให้การ คุ้มครอง ดูแล รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของ “ ผู้ว่าจ้าง” และ ผู้มาติดต่องาน 5. ต้องรักษาความลับของบริษัทฯ และ “ผู้ว่าจ้าง”เป็นสาคัญ 6. ต้องตรงต่อเวลาอย่างเคร่งครัด โดยเข้าปฏิบัติหน้าที่ก่อนเวลาไม่น้อยกว่า 10 – 15 นาที 7. ต้องดูแลรักษาความสะอาด ปูอมยามบริเวณโดยรอบให้สะอาดอยู่ตลอดเวลา 8. ต้องให้ความร่วมมือ แจ้งเหตุ ช่วยเหลือสังคม เด็ก คนชรา หรือประชาชน ผู้ได้รับความ เดือดร้อน 9. ห้ามหรือนาพาบุคคลภายนอกเข้าไปในหน่วยงานหรือจุดที่จัดไว้สาหรับ รักษาการณ์ โดย มิได้รับอนุญาต 10. ห้ามทาตัวสนิทสนม กับคนงานของ “ผู้ว่าจ้าง”หรือ บุคคลที่มาติดต่อ อันจะก่อให้เกิด ความเสียหาย 11. ห้ามดื่มสุรา ยาดอง ของมึนเมา ก่อนเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ หรือ ในขณะปฏิบัติหน้าที่ 12. ห้ามเล่นการพนันทุกชนิด และ ห้าม ค้า หรือ ขาย หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดให้ โทษทุกชนิด 13. ห้าม ดูหนัง ฟังเพลง หรือ เสียบหูฟัง เล่นเฟส เล่นไลน์ เล่นเกมส์ ในขณะปฏิบัติหน้าที่ โดยเด็ดขาด 14. ห้ามขับเคลื่อน หรือขึ้นไปนั่งบนรถยนต์ ในเวลาปฏิบัติหน้าที่ โดยมิได้รับอนุญาต


44 15. ห้ามหลับเวร-ยาม ในขณะปฏิบัติหน้าที่ โดยจะต้องเดินตรวจพื้นที่และเขียนรายงานแจ้ง เหตุทุกครั้ง 16. ห้ามละทิ้งจุด หยุดงาน หรือ ละทิ้งหน้าที่ โดยเด็ดขาด จนกว่าจะมีคู่กะมาเปลี่ยนเวร 17. หากมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น หรือคู่กะไม่มาเปลี่ยนเวร จะต้องรีบแจ้งผู้บังคับบัญชา โดยด่วนทันที 18. ห้ามมีพฤติกรรมลวนลาม ชู้สาว ใช้วาจาหยาบคาย ทะเลาะวิวาท ทาร้ายร่างกาย และ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น 19. ห้ามชี้ไปที่ตัวบุคคล อันจะเป็นเหตุให้เกิดอันตราย 20. ห้ามรับฝากสิ่งของ หรือทรัพย์สินใด ๆ จากบุคคลภายนอกที่ไม่รู้จักเป็นอันขาด 21. ห้ามรวมตัว ชุมนุม หรือ ชักชวน ยุยง ปุกปั่น ให้เกิดความแตกแยกในหมู่คณะ 22. ห้ า มนิ น ทาให้ ร้ า ยผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาและ“ผู้ ว่ า จ้ า ง”หรื อ คณะบุ ค คลที่ ม าติ ด ต่ อ อั น จะ ก่อให้เกิดความแตกแยก 23. ต้องไม่กระทาการใด ๆ อันเป็นการเสื่อมเสีย ชื่อเสียง ต่อภาพลักษณ์ของบริษัทฯและ “ผู้ว่าจ้าง” 24. จะต้ อ งให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ ทางราชการ ในการดู แ ลรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยของ ประเทศชาติ 3. ผลผลิตผลลัพธ์และการเกื้อกูลสังคม การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด) จังหวัดนครราชสีมา มีหน่วยงานบริษัทที่ลูกค้าไว้วางใจรับบริการ 157 บริษัท ดังนี้ 1. บริษัท ไอ.ซี.ซี อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด (มหาชน) 2. บริษัท โคราชวัฒนา จากัด 3. บริษัท บริหารสินทรัพย์สุขุมวิท จากัด(มหาชน) 4. อาคารซันทาวเวอร์ เขตจตุจักร 5. อาคารฟอรั่วทาวเวอร์ เขตห้วยขวาง 6. อาคารคันทรี่คอมเพล็กซ์ เขตบางนา 7. อาคารซีพี่ ทาวเวอร์ บางรัก 8. บริษัท ไทยนากาโน่ จากัด (japan) 9. บริษัท BGP อินท์ไชน่า คอร์ปอเรชั่น ปิโตรเลี่ยม (china) 10. บริษัทไทยคาจิมา จากัด (Japan) 11. บริษัทไทยเทค คอนสตรัคชั่น จากัด


45 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42.

บริษัท โคราชส่องแสง เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด บริษัท สุขเกษมทรัค แฟคตอรี่ จากัด บริษัท คูโบต้าบุรีรัมย์ จากัด บริษัท คูโบต้าบุรีรัมย์-นางรอง จากัด บริษัท ศรีไพศาลสุรินทร์ จากัด บริษัท แสงอุดมไลท์ติ้ง เซ็นเตอร์ จากัด บริษัท เกษตรรุ่งเรืองแทรกเตอร์ แอนด์ คอมไบน์ จากัด บริษัท แสงอยุธยาจากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด นางรองบุญยังคอนสตรั๊คชั่น ห้างหุ้นส่วนจากัด บุญยังคอนกรีต โรงงานอุตสาหกรรมผลิตขนมปังโชคดี เบเกอรี่ โรงงานอุตสาหกรรม ผลิต น้าส้ม บิ๊กโจ โรงแรม แสงรุ้ง พลาซ่าส์ บี บี เอ็ม อพาร์ตเม้นท์ สระแก้ว อพาร์ตเม้นท์ ทองพูน แมนชั่น โรงแรมเอราวัณ ฮอปอินน์ เขตคลองเตย อพาร์ตเมนท์ พุฒิประทุมเฮ้าส์ หอพักชุติกาญจน์ อยู่เจริญแมนชั่น โรงแรมบอสส์ โรงแรม จินตนา รีสอร์ท หอพักจินตนาเพลส บริษัท เบส-แพค คอนกรีต (2) จากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด จักรกริชเชื้อเพลง ห้างหุ้นส่วนจากัด เฉลิมโชค แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ห้างหุ้นส่วนจากัดกิจเจริญอาณาจักรภัณฑ์ โรงแรมกิจตรงอุบลรีสอร์ท ห้างหุ้นส่วนจากัด อุบลอนันต์พาณิชย์ ห้างหุ้นส่วนจากัด อุบลไอเฟค หมู่บ้านสาริน 1 มหาชัยแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์


46 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52. 53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73.

บริษัท เมโทรทาวน์ จากัด บริษัท ศรีเมืองยนต์ จากัด (TATA MOTER) โครงการคอนโดมิเนียมนครราชสีมา บริษัท ทาทามอร์เตอร์ โครงการเอื้ออาทร นครราชสีมา บริษัท โรงแปูง เพชรธารา จากัด บริษัท บี บี อินเตอร์ฟูด จากัด บริษัทคิดถึงเบอเกอรี่ จากัด บริษัท แหลมทอง อุตสาหกรรม จากัด อาคารสุนีย์แกรนด์ บริษัท ทาทามอร์เตอร์(อุบลราชธานี) บริษัท ปางไม้ จากัด บริษัท ชิโนเปค เจียงซู ออย คอร์ปอเรชั่น ปิโตรเลี่ยม จากัด(China) บริษัท หยางฉาง ปิโตรเลี่ยม (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไชน่า ปิโตรเลี่ยม(ประเทศไทย) จากัด บริษัท ซี.พี.แลนด์ จากัด(มหาชน) บริษัท ทาทามอร์เตอร์(ศรีสะเกษ) บริษัท บ้านทองคอนกรีต จากัด อาคารบางกอกทาวเวอร์ ถนนเพชรบุรี กทม งานระบบวางท่อน้ามัน สายเอเชีย นครสวรรค์-สิงห์บุรี-อ่างทอง-อยุธยา ฐานขุดเจาะน้ามัน ทุ่งกุลาร้องไห้ สุรินทร์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.แคนคง จ.บุรีรัมย์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.จตุรัส จ.ชัยภูมิ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธ์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์ ฐานขุดเจาะน้ามัน อ.วิเชียรบุรี จ.เพชรบูรณ์ อาคารชินวัตร ทาวเวอร์ พหลโยธิน


47 74. บริษัท ซี พีแลนด์ จากัดมหาชน 75. Y’Loft Big อุบลฯ 76. บริษัท SME LINE จากัด 77. ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จากัด 78. บริษัทซุปเปอร์ เอเยอรี่ จากัด 79. บริษัทพีที ไดร์ว (ประเทศไทย) จากัด 80. บริษัทฮิวเมอริค จากัด 81. บริษัทเจเพ็น จากัด (พลังงานแสงอาทิตย์) 82. โครงการหมู่บ้านปิ่นดาว 83. บริษัทราชสีมาเคนวู๊ด จากัด 84. บริษัทมอลแรลลี่ จากัด 85. บริษัทพลังงานไฟฟูาแสงอาทิตย์ นครราชสีมา 86. บริษัทไทยยามาฮ่า มอเตอร์ จากัด 87. โรงงานผลิตพนักงานไฟฟูาแสงอาทิตย์ อุบลราชธานี 88. กัลปพฤกษ์คอนโดมิเนียม 89. บริษัทเอราวัณ ฮ็อบอินจากัด 90. บริษัท เค เอฟ ซี จากัด 91. บริษัทซันนี่ เอ็นเนอร์ยี่ จากัด 92. โรงแรม ฮ็อปอินน์ นครราชสีมา 93. บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์ บุรีรัมย์ 94. โรงแรม ฮ็อปอินน์ อุบลราชธานี 95. บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์ มุกดาหาร 96. บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์ นครพนม 97. บริษัทพลังงานแสงอาทิตย์ อานาจเจริญ 98. บริษัท พี.วี.ดี.อินเตอร์เนชั่นแนล จากัด 99. บริษัท พลังงานคาร์บอน จากัด (นครราชสีมา) 100. ห้างหุ้นส่วนจากัด เคียวภูเก็ต คอนสตรั๊คชั่น 101. บริษัท เช็คโก้ คอนสตรั๊คชั่น (ประเทศไทย) จากัด 102. บริษัท เพาเวอร์ลิ้งค์ เอ็นจิเนียริ่ง จากัด 103. บริษัท ชานาญกิจ วิศวกรรม จากัด 104. บริษัท อาสา เฟอร์เดด จากัด


48 105. บริษัท ท็อปมาร์เก็ต จากัด 106. บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จากัด (มหาชน) 107. บริษัท ธันย์แอนด์ที ทรานสปอร์ต จากัด 108. บริษัท ไทยซันอินเตอร์ แมชชีน จากัด (นครราชสีมา) 109. บริษัท ไทยซันอินเตอร์ แมชชีน จากัด 110. บริษัท เอส อาร์ ที พาวเวอร์ เพลเลท จากัด 111. บริษัท ไทยสงวนโภชนา จากัด 112. บริษัท มอร์ เอสเตท เอ็นจิเนียริ่ง 113. บริษัท ธนะวัฒน์ อินเตอร์ 114. บริษัท แมคทริค จากัด 115. บริษัท ธนพล อินโนเวชั่น จากัด 116. บริษัท ศิริมหาชัย จากัด 117. ศูนย์รถยนต์ MG ศรีสะเกษ 118. บริษัท พรอสเพอร์ เอ็นจิเนียริ่ง จากัด 119. บริษัท เค พี คอน จากัด 120. บริษัท ตรีทัช เอ็นจริเนียริ่ง จากัด 121. บริษัท ซี พี ทาวเวอร์ จากัด นครราชสีมา 122. ห้างโฮมมาร์ท มุกดาหาร 123. บริษัท สระบุรีคอนกรีต เอ็นจิเนียริ่ง จากัด 124. ห้างโฮมมาร์ท ศรีสะเกษ 125. ห้างโลตัส นครราชสีมา 126. ห้างโฮมมาร์ท อุบลราชธานี 127. ห้างโลตัส มหาสารคาม 128. ห้างโลตัสพิมาย นครราชสีมา 129. โครงการ เดอะ คอร์ท ยาร์ท คอนโด เขาใหญ่ 130. ศูนย์รถยนต์ MG ศรีสะเกษ 131. โครงการเดอะ พาร์ค คอนโด ดรีม นครราชสีมา 132. บริษัทซีพี ทาวเวอร์ จากัด นครราชสีมา 133. โครงการเดอะริเวอร์ อุบลราชธานี 134. ห้างอินเด๊กซ์ ลิฟวิงมอร์ สุรินทร์ 135. บริษัท EGV เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จากัดมหาชน


49 136. โครงการสาริน สวนบัว คลังอาวุธ อุบลราชธานี 137. บริษัท เอ็นเอชแอล เทรลเลอร์ จากัด นครราชสีมา 138. บริษัท สระบุรี เทคนิค คอนกรีต จากัด 139. บริษัทแอมเวย์ ประเทศไทย 140. ห้างบิ๊กซี่ ด่านขุนทด 141. คลังกระจายสินค้าดัชมิลล์ 142. อิฟแอนบอย สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น 143. สตาร์คาร์ฟ 144. สานักงานอัยการ จังหวัดศรีสะเกษ 145. บริษัท เจเอ็ดม ซัพพลาย จากัด 146. อิฟแอนบอย นครราชสีมา 147. บริษัท เอ อาร์ เอส คอน จากัด 148. เซ็นทรัล นครราชสีมา 149. ธนาคารแห่งประเทศไทย จังหวัดขอนแก่น 150. ห้างโกลบอลเฮ้าสท์ สาขาโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 151. ห้างโกลบอลเฮ้าสท์ สาขาด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 152. ศูนย์กระจายสินค้า คลังโทลล์ โลจิติก อุบลราชธานี 153. หมู่บ้านจัดสรรเมโททาวน์ อุบลราชธานี 154. หมู่บ้านภูมิใจนิเวศน์ บางบ่อเทพารักษ์ 155. บริษัทเอสดี เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จากัด 156. หมู่บ้านอรุณโฮม อุบลราชธานี 157. โรงแรมเดอะซาร่าดับเบิ้ล จังหวัดอุบลราชธานี การเกื้อกูลต่อสังคม บริษัทเติบโต เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นที่รู้จักในเครือข่ายธุรกิจ มีโอกาสได้ ร่วมงานสังคม งานสาธารณประโยชน์ ร่วมสร้างสิ่งที่เป็นสาธารณประโยชน์ โรงเรียน โรงพยาบาล วัด ด้านการบริการปัจจัยวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เงิน ทั้งในนามส่วนตัวและในนามบริษัท การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้บุคคลในชุมชน ผู้ขาดโอกาส ได้มีโอกาสเข้าทางาน ช่วยเหลือเกื้อกูลครอบครัวของพนักงาน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ให้ทุนการศึกษาที่มีผลงานดีเด่น ด้านความซื่อสัตย์ ขยัน หมั่นเพียรในการทางาน บริษั ทให้โอกาสสาหรับผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ขอให้คุณเป็นคนดีของสังคม มีความขยันซื่อสัตย์ก็พอ


50 บทที่ 5 สรุปโครงการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย (บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด จังหวัดนครราชสีมา)

สรุปผล 1. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัย ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เห็นได้ จากอัตราเพิ่มการให้บริการบริษัทต่างๆ มากขึ้นดังนี้ ปี 2559 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 50 บริษัท ปี 2560 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 100 บริษัท ปี 2561 ให้บริการบริษัทต่างๆ จานวน 160 บริษัท 2. เพื่อให้การบริหารธุรกิจรักษาความปลอดภัยขยายธุรกิจให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้น เห็นได้จาก ปี 2552-2553 เปิดห้างหุ้นส่วนจากัด ไทยซีเคียวเซอร์วิส ตาแหน่ง หุ้นส่วนผู้จัดการ ปี 2554-2558 บริษัทไทยซีเคียวเซอร์วิส ตาแหน่ง กรรมการผู้จัดการ ปี 2559- ปัจจุบัน บริษัทรักษาความปลอดภัยไทยอินเตอร์ จากัด ตาแหน่ง รองประธาน กรรมการผู้จัดการ มีเงินบริหารจัดการ 240-300 ล้านบาท แผนงานในอนาคต 1. ขยายตลาดให้ครอบคลุมที่ประเทศมากขึ้น 2. ขยายการตลาดสู่ต่างประเทศ ปัจจุบันมีบริษัทเป็นของตนเอง จานวน 3 บริษัท วงเงิน บริหาร 240-300 ล้านบาท 3. พัฒนาบุคลากรฝุายต่างๆ ให้พัฒนาตนเองสูงขึ้น โดยศึกษาในมหาวิทยาลัยโพธิศาสตร์ สายงานส่งเสริมสนับสนุนให้ทุนการศึกษาเพื่อเป็นการยกระดับพนักงานบุคลากรแบบยั่งยืน ข้อคิดที่ได้จากการทาโครงงานนี้ การพัฒนาใดๆ สาคัญที่สุดคือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะต้องศึกษา เรียนรู้ตลอดชีวิต


51

ภาคผนวก


52 การฝึกอบรมดับเพลิงเบื้องต้น


53


54 การฝึกทาความเคารพ


55 การฝึกการพยาบาลเบื้องต้น


56


57 การฝึกดับเพลิงเบื้องต้น


58


59


60 การอบรมการดับเพลิงขั้นต้น


61 การอบรมการดับเพลิงขั้นต้น


62 การฝึกการต่อสู้ป้องกันตัว


63 การฝึกการใช้ตะบอง


64 การฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้น


65 การฝึกดับเพลิงก้าวหน้า


66 การฝึกดับเพลิงก้าวหน้า


67 การฝึกการดับเพลิงก้าวหน้า


68


69


70


71


72


73


74


75


76


77


78


79


80


81


82


83


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.