เรื่อง รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อน ของ บจก. สยามไท (2017)
โดย ยลดา สื่อวงศ์สวุ รรณ
สารนิพนธ์นี้เป็ นส่วนหนึ่ งของการจัดการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาการประกอบการเพื่อสังคมมหาวิทยาลัยโพธิศาสตร์ สานักงานเขตการศึกษานครลอสแอนเจลิส มลรัฐแคลิฟอร์เนี ย สหรัฐอเมริกา ปี การศึกษา 2561
รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อนของ บจก. สยามไท (2017) The Executive Development Model in Sales of Electrical Appliances by Installment.
ยลดา สื่อวงศ์สวุ รรณ Yonladda Suewongsuwan
This Thesis is Partial Fulfillment Degree of Philosophy (Social Enterprise) Bodhisastra University, FL. USA. Academic Year 2017
หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริหารการขายเครือ่ งใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อนของ บจก.สยามไท (2017) ชื่อ นามสกุล ของนักศึกษา ยลดา สื่อวงศ์สุวรรณ
Bodhisastra University, Florida State, United State of America ปี ที่จบการศึกษา 2561 n
1. ความเป็ นมาและสาคัญของเรื่อง โดยภาพรวมคาว่า “มืออาชีพ” หรือ “Professional” มีคุณลักษณะทีส่ าคัญ ดังนี้ (1) ต้องเป็ น คนทีย่ งั ชีพด้วยงานนัน้ คือ ต้องมีรายได้หลักจากการงานในวิชาชีพทีท่ าและทุ่มเทเวลาให้กบั งานใน อาชีพนัน้ จริงๆ (2) ต้องมีการศึกษาและอบรม เพื่อให้มคี วามรู้ มีศาสตร์ มีหลักการ มีทฤษฎี มีการ วิจยั ค้นคว้าจนรูช้ ดั และรูจ้ ริง และมีการพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (3) ต้องนาศาสตร์ไปใช้ใน การบริหาร มีการฝึกฝนอย่างจริงจังในอาชีพนัน้ ๆ จริงๆ จนเกิดความเชีย่ วชาญ และมีประสบการณ์ ที่ม ากพอ (4) ต้อ งมีก ารรับ รองมาตรฐานแห่ ง วิชาชีพ โดยมีการออกใบรับรองหรือ ใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพ ซึ่งในการตัดสินใจการวิเคราะห์ และการดาเนินการในเรื่องทีเ่ กี่ยวข้ องกับวิชาชีพ ดังกล่าว จะต้องใช้ผมู้ ใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพเท่านัน้ (5) ต้องมีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ สาหรับ ยึดถือ และปฏิบตั ิโดยเคร่งครัด (6) มีอ งค์การหรือสมาคมวิชาชีพให้การรับรอง โดยการออกใบ ประกอบวิชาชีพ เพื่อควบคุมกากับดูแลคุณภาพ มาตรฐาน และจรรยาบรรณ รวมทัง้ มีม าตรการ ลงโทษเมือ่ มีการกระทาทีผ่ ดิ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ดัง นัน้ การที่จะได้ร บั การยกย่อ งว่ าเป็ นผู้บ ริห ารมือ อาชีพ และมีคุ ณ ลักษณะครบทัง้ 6 ประการเป็ นเรือ่ งยากยิง่ โดยเฉพาะการรับรองเป็ นมืออาชีพนัน้ ล้วนแต่อาศัยทฤษฎีหลักการและองค์ ความรูท้ ่รี ่าเรียนมา แต่นักบริหารการขายของเราน้อยรายนักที่จะใช้ศาสตร์ในการบริหาร ส่วนมาก มักบริหารโดยไม่ใช้ทฤษฎี ซึง่ อาจจะเป็ นเพราะการศึกษาอบรมไม่เข้มข้น ไม่มกี ารเชื่อมโยงทฤษฎี กับชีวติ การทางาน และขาดการฝึ กฝนอย่างเพียงพอ ทาให้การบริหารงานโดยไม่มแี บบแผนเป็ น ส่วนใหญ่ Sergiovanni et.al. (1987) ได้ศึกษาแนวคิดของอาร์กรี สิ และพาร์สนั ส์ เห็นว่า ความ รับผิดชอบของผู้บริหารองค์ก ารใดก็ตาม มี อยู่ 4 ประการ คือ (1) การบรรลุ เป้ าหมายองค์การ (Organizational Goal attainment) หมายถึง การไปถึงจุดหมายปลายทางความรับผิดชอบสาคัญ ประการแรกของผู้บ ริห าร คือ การบรรลุ เ ป้ าหมายองค์ก ร (2) การบูร ณาการภายใน (Internal Integration) หมายถึง การเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันของการประสานงานในแผนกและหน่ วยงานต่างๆ
ภายในองค์กร ส่วนในด้านจิตวิทยา การรักษาบูรณาการภายในองค์กร (3ป การปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอก (Adapting to external environment) คือ การปรับตัวองค์กรให้เข้ากับ สิ่ง แวดล้อ มภายนอก ถ้ า สัง คมเปลี่ย นไป องค์ก รต้ อ งเปลี่ย นไปด้ว ย และความก้ า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีแ ละการวิว ัฒ นาการทางการเมือ งมีผ ลต่ อ องค์ก ารเหมือ นกัน ในกรณีข องการขาย เครื่องใช้ไฟฟ้ าจะต้องเผชิญเกี่ยวข้องกับปั ญหาด้านการเมือง ด้านเศรษฐกิจและสังคม และด้าน สังคมจิตวิทยา (4) การอนุ รกั ษ์แบบแผนทางวัฒนธรรม (Maintaining cultural pattern) เกี่ยวข้อง กับการคุ้มครองป้ องกันและการหล่อหลอมปรุงแต่ง ขนบธรรมเนียมและปทัสสถานทางวัฒนธรรม ขององค์การ การพัฒนาผู้บริหารให้มคี ุณลักษณะผู้บริหารมืออาชีพ มีความสาคัญเป็ นอันดับแรกๆ อัน ก่ อ นให้เ กิด แกนน าในการเปลี่ย นแปลงที่จ ะไปผลักดันการปฏิรูปการท างาน นาพาองค์กรไปสู่ เป้ าหมายให้สาเร็จได้ ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมปั จจุบนั ซึ่งเป็ นกระแสแห่งความเป็ น โลกาภิวฒ ั น์ เป็ นสังคมทีต่ ้องอาศัยองค์ความรู้ และเศรษฐกิจ ฐานความรู้ ซึ่ งมีผลให้การบริหารต้อง อยู่ภ ายใต้เ งื่อ นไขของการแข่ง ขัน ดัง นัน้ ในการบริห ารจึง ต้อ งมีก ารปรับ เปลี่ย นและพัฒ นาให้ สอดคล้อ งกับ สถานการณ์ ด ังกล่ า ว ผู้บ ริหารจึงต้อ งสนใจใฝ่ เรีย นรู้ และต้อ งพัฒนาตนเองอย่า ง ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา เพื่อทีจ่ ะทาให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ ขององค์กร ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั ในฐานะกรรมการบริหาร บจก. สยามไท (2017) จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษา รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อน เพื่อให้การบริหารจัดการมี ประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่ง ประโยชน์ ท่ีผู้ ว ิจ ยั ได้ร บั จากการวิจ ยั ครัง้ นี้ คือ ท าให้ท ราบรูป แบบที่จ ะน ามาพัฒ นา ศักยภาพผู้บริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ า เงินผ่อนของ บจก. สยามไท (2017) เพื่อให้การบริหาร จัดการมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์การ
2. การพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริ หารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงิ นผ่อนของ บจก. สยามไท (2017) แผนที่ บจก. สยามไท (2017)
เทศบาล อ. ชุมแพ
ร.ร. ชุมแพศึกษา
ทางไป จ.ขอนแก่น
ทางไป จ.เลย สีแ่ ยกไฟแดง
วัดบุญบาลประดิษฐ์
บจก. สยามไท (2017)
ร้านขายของชา
ทางไป อ. ภูเขียว
ร้านส่งเสริมยนต์
บจก. สยามไท (2017) เป็ น บริษัท ที่จ าหน่ ว ยเครื่อ งใช้ ไ ฟฟ้ าทัง้ เงิน สดและเงิน ผ่ อ น ประกอบด้วยผูจ้ ดั การสาขา หัวหน้าหน่ วยรถ และพนักงานขาย ดูแลด้านงานขายสินค้าตามเกณฑ์ การขายที่ทางบริษทั กาหนดเป้ าหมาย ในส่วนของพนักงานบัญชี ดูแลด้านบัญชีรบั -จ่าย การสัง่ สินค้า สต๊อกสินค้า และงานบุคลากร โดยผู้วจิ ยั จะไปตรวจเยีย่ มงาน ให้ขอ้ คิด เสนอแนะแนวทาง การปฏิบตั ิงาน และเป็ นกาลังใจให้กบั พนักงานในการสร้างองค์กร ซึ่ งการดาเนินงานของบริษัท ประกอบด้วย 1. งานทีผ่ จู้ ดั การจะต้องตรวจประจาวัน ประกอบด้วย 1.1 ใบรายงานยอดประจาวัน 1.2 สัญญาเช่าซือ้ และคอเซ็นเตอร์ลกู ค้า
1.3 ตรวจรายงานการใช้ใบเสร็จประจาวันและเซ็นชื่อทีห่ วั ใบเสร็จด้วย 1.4 ใบรายงานสต๊อกสินค้าที่ธุรการตรวจเช็คทุกวันเสาร์ และผู้จดั การตรวจเช็คร่วม ด้วยเสาร์สุดท้ายของเดือน เซ็นชื่อร่วมกันทัง้ 3 คน ส่งถึงสานักงานกลางด้วย 1.5 อนุมตั เิ งินใช้จา่ ยประจาวัน (เงินสดย่อย) 1.6 ตรวจดูใบสรุปยอดขายประจาวันของรวมเขตทุกสาขา 1.7 ตรวจดูใบรายงานการเก็บเงินประจาวัน ให้ธุรการลงทุกวันและลงรับคืนกับค่างวด 1.8 อบรมพนักงานตรวจสอบและตัวแทนขายทีไ่ ม่มยี อดขาย 1.9 งานที่ธุ ร การท าเสร็จ แล้ว ธุ รการต้อ งส่ ง คืน ให้ผู้จดั การตรวจสอบทุ กเย็น แล้ว ผูจ้ ดั การตรวจแล้วก็จดั เก็บให้เรียบร้อย 1.10 สัมภาษณ์พนักงานใหม่ และตรวจสอบใบสมัครให้เรียบร้อย 2. งานทีต่ อ้ งให้ผจู้ ดั การเขตตรวจเวลาตรวจเยีย่ มสาขา เนื่องด้วยปั จจุบนั ทางบริษทั ฯ จะ ให้ผจู้ ดั การเขตออกตรวจเยีย่ มสาขาในแต่ละครัง้ ซึง่ จะให้ทางสาขาจัดเตรียมเอกสารไว้ให้ผจู้ ดั การ เขตตรวจ ดัง 2.1 สัญ ญาค้างเคลียร์ และสมุดคุ มค้างเคลียร์ สัญ ญาต้อ งเรีย บร้อ ย ผู้จดั การเซ็ น อนุมตั ิ 2.2 รายงานสต๊อกประจาสัปดาห์ ต้องมีลายเซ็นครบ 2.3 ใบส่งยอดแนบสลิปเงินโอนเข้าธนาคาร 2.4 เงินสดย่อยในการเบิกแต่ละวัน และใบเงินรับ-จ่าย แนบเป็ นวันๆ 2.5 สัญญาทีค่ ยี แ์ ล้วทีจ่ ดั เก็บใส่ซองสีน้าตาล 2.6 ใบเสร็จรับเงินแนบกับใบส่งเงินตอนเย็นทัง้ เก็บเงินและเช็คเกอร์ 2.7 ต้นเดือ นต้อ งนาใบรายเดือ นหรือ ที่ม ีรายการบัญ ชีลูกค้าให้ต รวจด้ว ย ให้ปริ้น รายงานทีม่ เี ก็บงวดแรกที่ธุรการ ผูจ้ ดั การ และเก็บเงินตรวจเช็คลูกหนี้ในวันที่ 1 ของทุกเดือน ตัด ออกหรือค่างวดเก็บภายในเดือนและจานวนการ์ดจะต้องเก็บ เพื่อนาส่งสานักงานกลาง 2.8 การ์ดยืด 2 เดือนขึน้ ไปส่งเพื่ออนุ มตั ิ และการ์ดทีจ่ ะส่งเร่งรัด (NPL) ถ้ามีการแลก ใบเสร็จของผูจ้ ดั การทีม่ สี ายเก็บเงินแล้ว หรือจัดส่งในวันประชุมทีส่ านักงานกลางก็ได้ เมื่อผู้จดั การเขตตรวจแล้วให้ธุรการจัดเก็บให้เรียบร้อย โดยให้จดั เป็ นหมวดหมู่ แยก เป็ นเดือนๆ ถ้าเป็ นใบเสร็จรับเงินต้องเรียงตามเลขที่ใบเสร็จ ของใครของมัน ห้ามกระโดดต้องให้ ครบ ถ้าเป็ นใบเสร็จยกเลิกต้องมีครบทัง้ 3 ใบ ถ้าหาย ต้องมีการแจ้งความใบเสร็จหายเป็ นหลักฐาน 3. เงื่อ นไขการเทินสินค้า เนื่อ งด้วยปั จจุบนั ราคาของสินค้าไม่ชดั เจนหรือไม่ปฏิบตั ิ ใ น แนวทางเดียวกัน บริษทั ฯ จึงมีนโยบายปรับเปลีย่ นในการเทินสินค้า ดังนี้
3.1 3.2 3.3 3.4
เทินสินค้าไม่ทนั นาเข้าบริษทั ฯ ให้พนักงานขายรับผิดชอบเอง ให้ระบุสนิ ค้าเทินมาว่าราคาเท่าไร ชนิดสินค้าอะไร ให้ระบุราคาสินค้าในการ์ดเก็บเงินดาวน์ พนักงานเก็บเงินต้องเข้าตรวจสอบงวดแรกทุกครัง้ ไม่ว่าจะเทินสินค้าหรือดาวน์
เงินสด 4. การขาด ลา มาสาย ทางบริษทั ฯ ได้กาหนดสิทธิการลาของพนักงาน ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้ 4.1 4.2 4.3 4.4
พนักงานทีไ่ ด้รบการบรรจุแล้วลาพักร้อนได้ไม่เกิน 6 วัน ลากิจไม่เกิน 6 วัน ลาบวชได้ไม่เกิน 15 วัน โดยแจ้งล่วงหน้า 45 วัน ลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 90 วัน (ถ้าลาคลอดเกิน 30 วัน จะไม่พจิ ารณาเงินเดือน
และโบนัส) 4.5 มาสายไม่เกิน 15 วัน (ถ้าเกินจะมีผลต่อสิน้ ปี ) 4.6 การลาทุกครัง้ จะต้องแจ้งผูบ้ งั คับบัญชาทุกครัง้ 4.7 ถ้าขาดงานจะไม่พจิ ารณาผลงานสิน้ ปี 4.8 ลาพักร้อนได้แต่ไม่เกิน 3 วัน (โดยแจ้งล่วงหน้า 15 วัน) โดยรวมวันหยุด 4.9 ลาป่ ายได้ 10 วัน (ถ้าเกิน 3 วัน ต้องมีใบรับรองแพทย์) 5. กฎระเบียบของบริษทั บริษทั ได้กาหนดกฎระเบียบของบริษทั ดังนี้ 5.1 เด็ดขาดลงเวลาห้ามเกินเวลา 08.30 น. ห้ามลงเวลาแทนกันโดยเด็ดขาด 5.2 ทุ ก สาขาต้อ งช่ ว ยกัน ท าความสะอาดภายในสาขา และอุ ป กรณ์ ส านัก งานให้ เรียบร้อยรวมทังหน่วยรถขายด้วย (5 ส) 5.3 ห้ามเล่นการพนันในบริษทั และสิง่ ผิดกฎหมายทุกชนิด 5.4 ห้า มบุ ค คลอื่น เข้า บริษัท ก่ อ นได้ร ับ อนุ ญ าต ห้า มทะเลาะวิว าทในบริษัท และ บ้านพัก 5.5 ห้า มขับ รถหน่ ว ยออกนอกพื้น ที่ก ารขาย และห้า มน ารถกลับ บ้า นก่ อ นได้ร ับ อนุญาตจากผูบ้ งั คับบัญชา 5.6 ห้ามดื่มสุราในเวลาทางาน ถ้าถูกจับบริษทั ฯ จะไม่รบั ผิดชอบใดๆ ทัง้ สิน้ 5.7 ห้ามขับรถเร็วเกิน 90 กม./ชม. ตามกฎหมายทีก่ าหนดเพื่อลดอุบตั เิ หตุ 5.8 การเติมน้ามันรถยนต์ ให้เติมน้ามันทีป่ ั ม้ ปตท. เท่านัน้ 5.9 ห้ามให้ตวั แทนขายเป็ นคนขับรถออกหน่วย
6. พนัก งานที่เ กี่ยวข้อ งในการใช้ย านพาหนะ (รถยนต์ -รถจัก รยานยนต์) บริษัทมีการ ดาเนินการดังนี้ 6.1 พนักงานเก็บเงินต้องมีใบอนุญาตขับขีร่ ถจักรยานยนต์ทไ่ี ม่หมดอายุ 6.2 เช็คเกอร์ต้องมีใบอนุ ญาตขับขีร่ ถยนต์ส่วนบุคคลที่ไม่หมดอายุ ถ้าหากพนักงาน คนใดทีไ่ ม่มใี บอนุญาตขับขีใ่ ห้ไปจัดการต่อมาให้เรียบร้อยก่อนวันที่ 1 สิงหาคม 2561 มิฉะนัน้ ท่าน จะถูกระงับเงินเดือน และให้ผู้จดั การสาขาไปตรวจสอบพนักงานทุกคน และส่งเอกสารใบขับขีถ่ ึง ผูจ้ ดั การ ภายในวันที่ 1 สิงหาคม 2561 7. การตรวจนับสต๊อกสัปดาห์-รายเดือน เนื่องด้วยปั จจุบนั สต๊อกสินค้า หมายเลขเครื่อง และรุ่นไม่ตรงกัน และสินค้าสูญหาญ จึงมีนโยบายให้ธุรการสต๊อก และธุรการบัญชีให้เช็คสต็อกทุก วันเสาร์ และวันเสาร์สุดท้ายของเดือน ให้ธุรการสต๊อก ธุรการบัญชี และผู้จดั การสาขา เช็ คสต๊อก พร้อมกัน แล้วลงชื่อให้ครบทัง้ 3 คน เพื่อเป็ นหลักฐานในการเช็คสินค้าและจัดส่งโดยแสกนทาง เมลล์ให้ส่วนกลาง 8. การกันเงินสดย่อยของสาขา เนื่องด้วยปั จจุบนั ที่สาขา ไม่มกี ารกันเงินสดย่อยประจา สาขา จึงทาให้พบว่ามีปัญหาเรื่องค่าใช้มไี ม่เพียงพอ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายให้สาขากันเงินสด ย่อยสาขา 2,500 บาท ถ้ามีเงินค่าขายเก็บมาต้องนามาฝากธนาคารทัง้ หมด แต่เงินสดย่อยให้เบิก จากเงินค่าขายให้ครบ 2,500 บาท และแนวทางปฏิบตั ผิ จู้ ดั การสาขาต้องตรวจนับเงินสดย่อยทุกครัง้ 9. วันนัดเก็บเงินงวดแรก เนื่องด้วยในการนัดเก็บเงินงวดแรกยังไม่ปฏิบตั ใิ นแนวทางเดียว กน บริษทั ฯ จึงมีนโยบายในการขายวันนัดเก็บเงินงวดแรกไม่เกิน 45 วัน นับจากวันทีข่ ายสินค้า ถ้า เกิน 45 วัน บริษทั ฯ จะไม่จ่ายค่าคอมมิชชันให้ ่ และห้ามนัดเก็บเงินงวดแรกภายในวันที่ 20 ขึน้ ไป เพราะพนักงานเก็บเงินจะไม่มเี วลาในการติดตามลูกค้า เพราะถ้าหากนัดข้ามเดือนจะเกิดความ เสียหาย มีผลกระทบกับเปอร์เซ็นต์ เก็บเงินต่าไม่ได้ตามมาตรฐานทีบ่ ริษทั ฯ ได้ตงั ้ ไว้ 10. การตัง้ รหัสทรัพย์สนิ ของบริษทั ปั จจุบนั ในการปฏิบตั แิ ต่ละสาขายังไม่ชดั เจน บริษทั ฯ จึงมีนโยบายจัดตัง้ รหัสทรัพย์สนิ ทุกอย่างของแต่ละสาขา โดยมีแบบฟอร์มให้จดั ตัง้ และจัดเก็บเข้า แฟ้ มไว้ในสาขา 1 ชุด และจัดส่งมายังสานักงานกลาง 1 ชุด วิธที าคือ ให้ใช้กระดาษกาวติดทรัพย์สนิ โดยใช้รหัสตาม TAS01/61 เป็ นต้นไป โดยมีการตัง้ รหัสทรัพย์สนิ ดังนี้ ตูเ้ ย็น รหัสคือ ST01/2561 เครือ่ งซักผ้า รหัสคือ ST02/2561 พัดลม รหัสคือ ST03/2561 หม้อหุงข้าว รหัสคือ ST04/2561 ทีว ี รหัสคือ ST05/2561 เครือ่ งคอมพิวเตอร์ รหัสคือ ST06/2561 เครือ่ งปริน้ รหัสคือ ST07/2561 เครือ่ งดูดฝุ่ น รหัสคือ ST08/2561 กระติกน้าร้อน รหัสคือ ST09/2561 แอร์ รหัสคือ ST10/2561
กล้องวงจรปิ ด รหัสคือ ST11/2561 กล้องถ่ายรูป รหัสคือ ST12/2561 โทรศัพท์มอื ถือ รหัสคือ ST13/2561 ถ้ามีการชารุดหรือเพิม่ เติมให้ใช้รหัสเดิมเปลี่ยนเฉพาะ พ.ศ. ปี ท่ซี ้อื ใช้แบบฟอร์มคุม สินค้าจัดเก็บเข้าไว้ 11. การกาหนดสินค้ารับคือ ปั จจุบนั การกาหนดสินค้ารับคืนยังไม่ชดั เจน เพื่อระบายสินค้า มือสอง ให้ได้อย่างรวดเร็ว บริษทั จึงมีนโยบายดังต่อไปนี้ 11.1 หมวดสินค้า TV LCD, TV LED, DVD, พัดลม หรือหมวดสินค้าใกล้เคียงกัน 1) ผูจ้ ดั การสาขา ลดได้ไม่เกิน 20% 2) ผูจ้ ดั การเขต ลดได้ไม่เกิน 30% 3) ผูจ้ ดั การภาค ลดได้ตามสภาพ 11.2 หมวดสินค้า สเตอริโอ, ลาโพง, แอมป์ , ตู้เย็น, เครื่องซักผ้า , เตาแก๊ส, เครื่องปั น่ ผลไม้,หม้อหุงข้าว, เตาไมโครเวฟ หรือหมวดสินค้าใกล้เคียง 1) ผูจ้ ดั การสาขา ลดได้ไม่เกิน 30% 2) ผูจ้ ดั การเขต ลดได้ไม่เกิน 40% 3) ผูจ้ ดั การภาค ลดได้ตามสภาพ จากการลดราคาสินค้าให้ยดึ ถือใบราคาใหม่เท่านัน้ เช่น ยึดสินค้าราคาเก่าต้องลดจาก ใบราคาใหม่ 12. การคิดคานวณรายงานผลการดาเนินงานประจาปี เนื่องจากทางบริษทั ฯ จาเป็ นให้สาขา คิดคานวณผลการดาเนินงานประจาเดือนเพื่อส่งมายังสานักงานกลางไม่เกินวันที่ 5 ของเดือน โดย ให้ผจู้ ดั การสาขาตรวจสอบความถูกต้อง ทาความเข้าใจให้ดี ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 12.1 ยอดขาย คือ ยอดขายประจาเดือนรวมทัง้ หมดยกเว้นขายสด รับคือ คือ รับคืนประจาเดือนทัง้ หมด คิดเปอร์เซ็นต์ คือ เอารับคืนทัง้ หมด ÷ ยอดขายทัง้ หมด x 100 12.2 ยอดขายเชื่อสุทธิ คือ เอารับคืน – ยอดขายทัง้ หมด ยกเว้นขายสด 12.3 ยอดขายสด/ ของแถม/ ในเครื่อง คือ ยอดขายสดประจาเดือนรวมของแถมและ การ์ดโอนรับเข้าจากสาขาอื่น 12.4 ยอดขายสุทธิ คือ เอายอดขายเชื่อสุทธิ + ขายสด/ ของแถม/ ในเครือ่ ง 12.5 ต้นทุนขายสด คือ ต้นทุนจากใบรายงานสินค้า (สต๊อก) ÷ ยอดขายสุทธิ x 100 12.6 ต้นทุนขายเชื่อ คือ ต้นทุนจากใบรายงานสินค้าที่....... มีการขายในเดือ น ถ้า สินค้ารับคิด 50% นาไป ÷ ยอดขายเชื่อสุทธิ x 100
12.7 ค่ า ใช้จ่า ย คือ ค่ า ใช้จ่า ยทัง้ หมด อาทิ ค่ า เช่ า ค่ า น้ า มัน เงิน เดือ น ค่ า คอมฯ ทัง้ หมด รวมกัน ÷ ยอดขายสุทธิ x 100 12.8 กาไรขาดทุน คือ ต้นทุนขายสด/ เชื่อ ค่าใช้จา่ ยรวม ÷ ยอดขายสุทธิ x 100 12.9 เร่งรัด คือ เอายอดคงเหลือที่ส่งเร่งรัดมาส่งแผนกกฎหมายของเดือนที่ผ่านมา (ห้ามเอาเดือนปั จจุบนั ) 12.10 ลูกหนี้ทุจริต คือ ยอดลูกหนี้ทพ่ี นักงานทุจริตประจาเดือนทีบ่ นั ทึกในเครื่องคอมฯ แล้ว 12.11 โอนการ์ดลูกหนี้ คือ สาขาโอนการ์ดไปให้สาขาอื่นแบบถาวร 12.12 ส่วนลด คือ ลูกค้ามีความประสงค์จะปิ ดบัญชี ลดให้ลูกค้า 10% แล้วเอาส่วนลด ให้ลกู ค้ามาลง 12.13 กาไรสุทธิก่อนคิดเปอร์เซ็นต์ คือ เอาเร่งรัด, ลูกหนี้ทุจริต, โอนการ์ด, ส่วนลด รวมกัน – กาไรขาดทุน 12.14 เปอร์เซ็นต์เพียว + เงิน คือ ผลงานเก็บเงินประจาเดือนทัง้ เพรียว + เงิน 12.15 กาไรสุทธิ คือ เอาเพียว + เงิน x กาไรสุทธิก่อนคิดเปอร์เซ็นต์ 13. การเร่งรัด หรือ NPL เนื่องด้วยบริษทั ไม่มคี วามชัดเจนในเรือ่ งการส่งเร่งรัด จึงให้ปฏิบตั ิ ในแนวทางเดียวกัน คือ การ์ดลูกค้าทีผ่ จู้ ดั การสาขาไม่สามารถติดตามได้ จึงส่งให้แผนกกฎหมายไป ตามนัดคือ ผู้จดั การต้องนาการ์ดและสัญญา และใบรายงานส่งเร่งรัดแล้วขออนุ มตั กิ บั ผู้จดั การเขต เพื่อจะตัดออกในเดือนต่อไปห้ามตัดในเดือน หลังจากนัน้ ส่งต่อให้แผนกกฎหมายเซ็นรับ สัญญาจะ เปลีย่ นรหัส N สาขาต้องเอาไปรายงานกลับแล้วเข้าแฟ้ มเร่งรัดให้เรียบร้อย 14. การจัดเก็บใบเสร็จรับเงินและการปฏิบตั ิ เนื่องด้วยปั จจุบนั การปฏิบตั อิ อกใบเสร็จรับเงิน ยังไม่ชดั เจน บริษทั ฯ จึงมีนโยบายการใช้ใบเสร็จ ดังต่อไปนี้ 14.1 ใบเสร็จใบแรก (ใบสีขาว) ให้ลกู ค้า 14.2 ใบเสร็จใบทีส่ อง (ใบสีเหลือง) ให้นากลับมารายงานรับเงินประจาวัน 14.3 ใบเสร็จใบทีส่ าม (ใบสีฟ้า) ให้เก็บไว้กบั ธุรการจัดเก็บ มิฉะนัน้ พนักงานทีใ่ ช้ใบเสร็จเวลาเคลียร์ต้องดึงออกจากเล่มทัง้ 3 ใบ และให้ผจู้ ดั การ ตรวจสอบทุกครัง้ ทีพ่ นักงานมาเคลียร์งานแต่ละวัน และเซ็นซื่อใบแรก และลงวันทีด่ ว้ ย และต้องคืน ซากให้กบั ธุรการเพื่อเป็ นหลักฐาน 15. การส่งใบรายงานเงินเดือน เนื่องด้วยทางสานักงานกลางจะส่งใบรายงานเงินเดือนให้ สาขาตรวจไม่เกินวันที่ 28 ของทุกเดือน มิฉะนัน้ ทางสาขาต้องตรวจสอบให้ถูกต้อง ซึง่ ในการปฏิบตั ิ ให้ธุรการเซ็นชื่อผู้ตรวจสอบ และให้ผู้จดั การเซ็นชื่ออนุ มตั ิ แล้วส่งคืนสานักงานกลางภายในวันที่
ได้รบั เอกสาร ถ้าสาขาไม่ต รวจสอบ และไม่เ ซ็นชื่อ เงินเดือ นจะไม่โอนให้ทุกคนของสาขานัน้ ๆ เพราะพนักงานมีการเข้าออกจะเกิดการผิดพลาดได้ และถ้าสาขาใดทีม่ พี นักงานมีปัญหา ให้ผจู้ ดั การ สาขาแจ้งด้วยการโทรแจ้งสานักงานกลางก่อน และเอกสารตามทีหลัง 16. เงื่อนไขการจ่ายคอมมิชชันตั ่ วแทนขาย เนื่องด้วยปั จจุบนั บริษทั ฯ ได้มกี ารปรับราคา เช่าซื้อขึน้ ตามความเหมาะสม มิฉะนัน้ ทางบริษัทฯ จึงขอมีการปรับเปลี่ยนการจ่ายค่าคอมมิชชัน่ ให้กบั พนักงาน เพื่อเป็ นขวัญ และกาลังใจให้กบั พนักงาน และเป็ นการกระตุ้นยอดขายให้ดขี น้ึ ซึง่ มี รายละเอียด ดังนี้ ตารางอัตราเงิ นดาวน์ ดาวน์ 100% จ่าย 8% ดาวน์ 50% จ่าย 4% ตารางจ่ายรายชิ้ นและเงิ นรางวัล ราคารวมไม่ถงึ 10,000 จ่าย 50 ราคารวมตัง้ แต่ 10,000 ขึน้ ไป จ่าย 100 หมายเหตุ สินค้ามือสองจ่ายรายชิน้ เพิม่ ขึน้ 2 เท่า และขายมาในวันเดียว 3 ชิน้ ได้อกี 100 บาท 17. ระเบียบการขายสด เนื่องด้วยปั จจุบนั มีหลายสาขาทีม่ กี ารสดให้กบั ลูกค้า ซึง่ ระเบียบใน การปฏิบตั ยิ งั ไม่ชดั เจน จึงทาให้สาขาปฏิบตั ไิ ม่ถูกต้อง ตามทีบ่ ริษทั ฯ ได้กาหนดราคาเงินสดทีข่ าย ให้กบั ลูกค้า จึงให้ทางสาขาปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้ 17.1 ในกรณีขายสดสามารถลดได้ไม่เกิน 28% แต่ต้องลดเป็ นส่วนสัด โดยลด 20% ก่อน แล้วค่อยมาลดอีก 8% แต่พนักงานขายจะไม่ได้ค่าคอมฯ แต่จะได้ยอดขายโบนัสการขายของ ยอดสิน้ เดือน 17.2 กรณีขายสดลดได้ 20% บริษทั ฯ จะจ่ายค่าคอมมิชชัน่ 8% และได้ยอดขายไปคิด โบนัสสิน้ เดือน 17.3 กรณีก ารขายสดจานวนเต็ม บริษัทฯ จ่ายคอมมิชชัน่ 8% และได้ยอดขายคิด คานวณเต็มในราคาขายสด 17.4 ถ้าในกรณีขายสดลดมากกว่า 28% พนักงานต้องรับผิดชอบในส่วนทีข่ ายผิดราคา 18. ระเบียบเงินสะสมของพนักงานประจา และพนักงานขาย เนื่องด้วยปั จจุบนั ทางบริษทั ฯ ได้มกี ารหักเงินสะสมพนักงานประจา และพนักงาน ซึง่ ตัวแทนขายได้มกี ารหักสะสมให้ครบ 10,000 บาท โดยหักจากค่าคอมมิชชัน่ 10% และพนักงานประจาหักเงินสะสม 3% ของเงินเดือนโดยได้ม ี กาหนดในการเบิกจ่าย ดังนี้
18.1 ตัวแทนขายทีพ่ น้ สภาพจากการเป็ นพนักงาน หรือเลื่อนตาแหน่ ง จากวันทีเ่ ปลีย่ น สภาพให้ครบ 90 วัน มีสทิ ธิเบิกเงินสะสมได้เต็มจานวนทีย่ อดสะสมคงเหลือ แต่ไม่เกิน 10,000 บาท 18.2 พนักงานประจาทุกตาแหน่ งที่พน้ สภาพ หรือลาออก โดยไม่มคี วามผิดใดๆ เมื่อ ลาออกครบ 30 วัน พนักงานสามารถมารับเงินสะสมได้เต็มจานวน ระบบในการจ่าย บริษัทฯ จะโอนเงินเข้าบัญ ชีของพนักงาน โดยให้พนักงานเข้าไป ติดต่อทีส่ าขา และสาขาต้องดาเนินเรือ่ งมาให้สานักงานกลางเพื่อโอนเงินให้พนักงาน 19. การโอนสินค้าระหว่างสาขา เนื่องด้วยปั จจุบนั สินค้าในบริษทั ฯ ไม่พอขาย ทางบริษทั ฯ จึงได้ให้สาขามีการยืมสินค้าระหว่างสาขา แต่ทางสาขาปฏิบตั ไิ ม่ถูกต้อง และเอกสารในการยืมสินค้า ยังไม่ชดั เจน ทางบริษทั ฯ จึงให้ปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ 19.1 สาขาที่โ อนออก (สาขาที่ถู ก ยืม ) ให้น าใบโอนระหว่ า งสาขา ระบุ รุ่ น ยี่ห้ อ หมายเลขเครือ่ ง ไปให้สาขาทีถ่ ูกยืม ให้ผจู้ ดั การอนุมตั ใิ นการยืม ถ้าหากผูจ้ ดั การไม่อยู่ให้ธุรการเซ็น แทนด้วย และให้ระบุราคาต้นทุนมาด้วย ถ้าหากเป็ นสินค้ามือสอง ให้ลดจากราคาต้นทุน 50% เมื่อ พนักงานนาสินค้าไปแล้วให้ธุรการสต๊อกตัดออกจากสต๊อกทันที แล้วนาเอกสารจัดเก็บเข้าแฟ้ มโอน ออกเพื่อเป็ นหลักฐานว่ามีสาขานัน้ ๆ มายืมสินค้า 19.2 สาขาที่ยมื สินค้า (สาขารับเข้า) เมื่อได้ใบยืมระหว่างสาขาแล้ว ให้ผู้จดั การเซ็น อนุ มตั ใิ นการไปยืมสินค้า แต่ถ้าหากผู้จดั การไม่อยู่ก็ให้ธุรการสต๊อกเซ็นแทน แล้วให้ธุรการสต๊อก นาไปบันทึกเข้าในสต๊อก และให้วงเล็บในระบบด้วยว่ายืมมาจากสาขาใด และถ้าเป็ นสินค้ามือสอง ให้บนั ทึกด้วยว่าเป็ นสินค้าราคาต้นทุนลด 50% แต่ถ้าหากได้ภายในวันที่ยมื สินค้า ไม่ต้องบันทึก เข้าสต๊อก และเอกสารต้องเก็บเข้าแฟ้ มโอนสินค้าระหว่างสาขาทุกครัง้ 19.3 การยืม สินค้าระหว่ างสาขาให้ผู้จดั การสาขาโทรเช็ค สิน ค้า ที่เ ราจะไปยืม นัน้ มี หรือไม่ จึงให้สาขาปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัดถ้าหากสาขาไหนไม่ปฏิบตั จิ ะต้องมีบทลงโทษ 20. การเบิกจ่ายอุปกรณ์สานักงานและเครื่องเขียนแบบพิมพ์ เนื่องด้วยปั จจุบนั ทางสาขาได้ มีการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการซือ้ อุปกรณ์สานักงานและเครื่องเขียนแบบพิมพ์ท่สี าขา แต่เนื่องด้วย อุปกรณ์บางอย่างเป็ นอุปกรณ์ส้นิ เปลือง ทางบริษทั ฯ จึงมีนโยบายให้ทางสาขาห้ามเบิกจ่ายในการ ซือ้ อุปกรณ์สานักงานและเครื่องเขียนแบบพิมพ์ ซึ่งหากมีการเบิกจ่ายให้ผู้จดั การและธุรการเคลียร์ เงินคืนทันที และให้ทางสาขาสังเบิ ่ กจ่ายอุปกรณ์สานักงานและเครื่องเขียนแบบพิมพ์จากส่วนกลาง เท่านัน้ โดยการเบิกให้ธุรการสังอุ ่ ปกรณ์สานักงานและเครือ่ งเขียนแบบพิมพ์ลงในแบบฟอร์ม และสัง่ มาพร้อมกับการสังสิ ่ นค้าทุกสัปดาห์ โดยให้สงเดื ั ่ อนละ 1 ครัง้ ทางส่วนกลางจะจัดส่งไปให้พร้อมกับ สินค้าทีส่ งั ่ หรือไม่กจ็ ะฝากให้ผจู้ ดั การเขตนาไปให้สาขา
21. การจ่ายเงินเป้ ายอดขายของพนักงานเช็คเกอร์ ปั จจุบนั บริษทั ฯ ได้ปรับเปลีย่ นการจ่าย เป้ าการขายให้กบั พนักงานเช็คเกอร์ เพื่อให้มคี ุณภาพในการตรวจสอบสินเชื่อในปั จจุบนั และแก้ไข ปั ญหายอดรับคืนสินค้าสูง ซึง่ มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 21.1 เช็คเกอร์ทม่ี อี ายุงานไม่ถงึ 6 เดือน 1) ยอดขายหักรับคืนแล้ว 400,000 ขึน้ ไป จะได้รบั เป้ า 1,500 บาท 2) ยอดขายหักรับคืนแล้ว ไม่ต่า 360,000 จะได้รบั เป้ า 1,000 บาท 3) ยอดขายหักรับคืนแล้ว ไม่ต่ากว่า 300,000 โดนหักเงิน 500 บาท 4) เปอร์เซ็นต์เพียว + เงิน จะต้องได้ 90% ขึน้ ไป 21.2 เช็คเกอร์ทม่ี อี ายุงานเกิน 6 เดือน ขึน้ ไป 1) ยอดขายหักรับคืนแล้ว 380,000 ขึน้ ไป จะได้เป้ า 1,500 บาท 2) ยอดขายหักรับคืนแล้ว ไม่ต่า 340,000 จะได้รบั เป้ า 1,000 บาท 3) ยอดขายหักรับคืนแล้ว ต่ากว่า 280,000 จะโดนหักเงิน 500 บาท 4) เปอร์เซ็นต์ เพียว + เงิน จะต้องได้ 85% ขึน้ ไป ถ้าจะได้รบั เป้ าการขายต้องผ่านทัง้ เปอร์เซ็นต์ เพียว + เงิน และยอดขายหักรับคืนแล้ว ให้เบิกจ่ายทีส่ าขาได้เลย ถ้าหากถูกหักทางสานักงานจะหักจากเงินเดือน มิฉะนัน้ ให้สาขาจัดส่งให้ไม่ เกิน วันที่ 5 ของเดือน 22. การคิดเปอร์เซ็นต์เพียวในกรณีท่เี ก็บไม่เต็มงวด เนื่องด้วยปั จจุบนั หลายสาขาเก็บค่า งวดไม่เต็มงวด และในการปฏิบตั ิยงั ผิดพลาด ทาให้การคิดเปอร์เซ็นต์เพียว + เงิน ไม่ถูกต้อง ใน กรณีเก็บการ์ดไม่เต็มงวดจะคิดเพียวให้ แต่ต้องเก็บเกินครึง่ งวดถึงจะคิดเพียวให้ ถ้าไม่ถงึ ไม่ครึ่ง งวดจะไม่ค ิดเปอร์เ ซ็นต์เ พียวให้ แต่ ถ้าพนักงานไปเก็บงวดเพิ่ม อีก (เก็บให้เ ต็มงวด) จะไม่ค ิด เปอร์เซ็นต์เพียวให้อกี จะคิดเฉพาะส่วนของเปอร์เซ็นต์เงินให้เท่านัน้ เปอร์เซ็นต์เพียวเก็บมาเท่าไร ก็ไม่เกิน 100% แต่ถ้าหากมีการเก็บเงินล่วงหน้าหรือเก็บก่อนวันนัดข้ามเดือน ต้องบอกจานวน การ์ดทัง้ หมดด้วย และคิดเปอร์เ ซ็นต์เงินให้ด้ ว ย ดังนัน้ จึงแนะนาให้สาขาเก็บค่างวดให้เ ต็มงวด เปอร์เซ็นต์เพียว และเงินก็จะไม่ห่างกันมาก ถ้าเปอร์เซ็นต์เพียวมากกว่าเปอร์เซ็นต์เงิน ต้องสรุปว่า เก็บไม่เต็มงวดจานวนมาก แต่ถา้ หากเปอร์เซ็นต์เงินมากกว่าเปอร์เซ็นต์เพียว สรุปว่า ลูกค้าจ่ายปิ ด บัญชีก่อนกาหนด หรือไม่กจ็ า่ ยล่วงหน้า ให้ผจู้ ดั การดูสถานะการ์ดแต่ละใบด้วยว่าลูกค้าขาดส่งกี่งวด และเก็บไม่เต็มงวด ต้องเอาการ์ดให้เก็บเงินไปตามเก็บอีก 23. การจ่ายค่าคอมมิชชันของพนั ่ กงานเก็บเงิน เนื่องด้วยปั จจุบนั การจ่ายคอมมิชชันของ ่ พนักงานเก็บเงินยังไม่ได้มาตรฐานตามระบบ บริษทั ฯ จึงได้ปรับเปลี่ยนในการจ่ายคอมมิชชันของ ่ พนักงานเก็บเงินใหม่ ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี้
ลาดับ เพียว + เงิ น จ่ายคอมมิ ชชัน่ 1 80 0.50 2 82 1.00 3 85 1.50 4 88 2.00 24. ระเบียบคาสังที ่ บ่ ริษทั ออกหนังสือให้ทราบ เนื่องด้วยปั จจุบนั หลายสาขาทีบ่ ริษทั ฯ ออก ระเบียบคาสัง่ ทางสาขาไม่ให้ความสาคัญทาให้ปฏิบตั งิ านผิดพลาด และไม่เข้าใจระบบงาน และไม่ อ่านหนังสือทีบ่ ริษทั แจ้งไป จึงแนะนาให้ทางธุรการ และผูจ้ ดั การสาขาเมื่ออ่านแล้วให้ทาความเข้าใจ และลงชื่อในหนังสือด้านล่างเพื่อรับทราบในการอ่านข้อมูล แล้วให้จดั เก็บเข้าแฟ้ มให้เรียบร้อย แต่ถ้า หากอ่านแล้วไม่เข้าใจให้สอบถามผูบ้ งั คับบัญชา และถ่ายทอดให้กบั พนักงานรับทราบด้วย 25. หน้าทีข่ องธุรการสาขา เนื่องด้วยปั จจุบนั มีหลายสาขาทีธ่ ุรการยังทาหน้าทีแ่ ทนกันไม่ได้ ในกรณีท่ีธุ ร การอีก คนหนึ่ ง ลางานซึ่ง ปั ญ หาเหล่ า นี้ จ ะเกิด ปั ญ หาตามมาเมื่อ มีก ารส่ ง งานเข้ า สู่ ส่วนกลางในแต่ละวันทาให้เกิดความล่าช้า และผิดพลาดบ่อย ดังนัน้ ทางบริษทั ฯ จึงได้แจ้งให้ธุรการ สาขาไม่ว่าจะเป็ นธุรการสต๊อก หรือ ธุรการบัญ ชี ให้สอนงานแทนกันด้วย และให้สลับหน้ าที่การ ทางานทุก ๆ สัปดาห์ ซึ่งการสอนทางานแทนกันจะมีผ ลดีเ มื่อ มีค นใดคนหนึ่งลางาน อีกคนก็ จะ ทางานแทนได้ทุกอย่าง ถ้าหากสาขาไหนไม่ปฏิบตั ติ าม และธุรการทาแทนกันไม่ได้เมื่อมีอกี คนลา งาน จะให้ใบเตือนธุรการสาขาทัง้ 2 คน จึงแจ้งให้สาขาปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด 26. นโยบายให้พ นัก งานเก็บเงินมีส่ ว นร่ว มการขาย เนื่อ งด้ว ยปั จจุบนั หลายสาขายังไม่ เข้าใจหรือไม่ทราบว่าพนักงานเก็บเงินก็สามารถขายสินค้าให้กบั ลูกค้าได้เหมือนกัน มิฉะนัน้ ทาง บริษทั ฯ จึงมีนโยบายให้พนักงานเก็บเงินมีส่วนร่วมในการขายสินค้าด้วย โดยให้เซ็นผูข้ ายสินค้าใน สัญญา ซึ่งจะได้ค่าตอบแทน ได้คอมมิชชัน่ และโบนัสการขายสิ้นเดือน แต่จะไม่ได้รายชิ้น โดยจะ จ่ายค่าคอมมิชชันทุ ่ กวันเสาร์พร้อมกับตัวแทนขาย ถ้าพนักงานคนใดมียอดขายดี ทางบริษทั ฯ จะ พิจารณาเป็ นพิเศษหรือความดีความชอบ บริษทั ฯ จึงขอความร่วมมือให้มสี ่วนร่วมในการขายสินค้า ด้วย 27. การโอนเงินของแผนกตรวจสอบ (เร่งรัด) เนื่องด้วยปั จจุบนั ทางแผนกตรวจสอบได้ออก ตรวจงานสาขา และได้มกี ารเก็บค่างวดของลูกค้าเข้ามา และไม่ค่อยได้โอนเงินให้บริษทั ฯ ดังนัน้ เพื่อให้ปฏิบตั ไิ ปในแนวทางเดียวกัน จึงแจ้งให้ทางแผนกตรวจสอบโอนเงินเข้าบริษทั ฯ ทุกครัง้ ที่ม ี การเก็บค่างวดลูกค้าเข้ามา และให้แจ้งกับทางธุรการแผนกตรวจสอบทุกครัง้ ทีม่ กี ารเก็บค่างวดเข้า มา ส่วนเรื่องค่าใช้จ่ายต่างๆ ให้ทางแผนกตรวจสอบเบิกค่าใช้จ่ายได้จากสาขาทีเ่ ข้าตรวจสอบ และ ให้ทางสาขาลงเป็ นค่าใช้จา่ ยของสาขาได้
28. การเบิกค่าใช้จ่ายของผู้บริหาร และแผนกตรวจสอบ (เร่งรัด) เนื่องด้วยปั จจุบนั ในการ เบิกค่าใช้จ่ายของแผนกตรวจสอบ (เร่งรัด) ผู้จดั การภาค และผู้จดั การเขต ยังไม่มคี วามชัดเจน ดังนัน้ เพื่อให้ปฏิบตั ิไปในทิศ ทางเดียวกัน จึงออกระเบียบให้แผนกตรวจสอบ ผู้จดั การภาค และ ผูจ้ ดั การเขต ให้เบิกค่าแก๊ส/ ค่าน้ ามันรถ และค่าโรงแรม สามารถเบิกจ่ายที่สาขาทีอ่ อกตรวจเยีย่ ม ได้ โดยค่าน้ ามันรถให้เบิกตามความจริงได้ครัง้ ละ 400 บาท/ ครัง้ / สาขา แผนกตรวจสอบ (เร่งรัด) ถ้ามีความจาเป็ นทีจ่ ะเบิกนอกเหนือจากนี้ให้ขออนุ มตั จิ ากกรรมการก่อนเบิกเท่านัน้ 29. การเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงตัว แทนขายใหม่ เนื่อ งด้วยปั จจุบนั ได้มตี วั แทนขายใหม่เ ข้ามา ทางานทีบ่ ริษทั ฯ มากขึน้ และทางบริษทั ฯ ได้กาหนดการจ่ ายเบีย้ เลีย้ งให้กบั พนักงานขายเพื่อเป็ น ขวัญและกาลังใจในการทางานของพนักงาน ดังนัน้ ทางบริษทั ฯ จึงได้กาหนดการจ่ายเบีย้ เลีย้ งให้กบั พนักงานขายวันละ 50 บาท เป็ นระยะเวลา 60 วัน ซึ่งให้จ่ายเฉพาะวันที่พนักงานขายมาทางาน เท่านัน้ จันทร์-เสาร์ (ออกหน่ วยขายวันอาทิตย์กไ็ ม่จ่าย) ส่วนพนักงานขายทีล่ าออกแล้วกลับเข้ามา ทางานใหม่ทางบริษทั ฯ จะไม่จา่ ค่าเบีย้ เลีย้ งให้ 30. การจ่ายโบนัสประจาไตรมาส เนื่องด้ว ยปั จจุบนั บริษัทฯ จะมีการกาหนดจ่ายโบนัส ประจารายไตรมาส เฉพาะเปอร์เซ็นต์เงินทีผ่ ่าน 85% ขึน้ ไป ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ ไตรมาส 1 ให้คดิ 3 เดือน เช่น มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม ถ้าหากสาขาไหนทาเปอร์เซ็นต์เงินรวมกันแล้วผ่าน 85% สาขานัน้ ก็จะได้รบั โบนัสประจาไตรมาส แต่ถ้าหากสาขาไหนทายอดเปอร์เซ็นต์ไม่ผ่าน 85% จะถูก หักเงินเดือน (ถ้าผ่านให้ผจู้ ดั การเบิกจ่ายได้ทส่ี าขาของตนเองได้เลย) ถ้ามีการเปิ ดสาขาใหม่ บริษทั จะมีการพิจารณาอีกครัง้ หนึ่ง ซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ 30.1 ตาแหน่งผูจ้ ดั การสาขา ถ้าทาเปอร์เซ็นต์เงินเฉลีย่ 3 เดือนไม่ผ่าน 85% จะถูกหัก เงินเดือน 1,000 บาท แต่ถา้ หากผ่าน 85% ขึน้ ไป จะได้รบั โบนัส 3,000 บาท 30.2 ตาแหน่ งผูจ้ ดั การเขต รวมเปอร์เซ็นต์เงินรวมเขตเฉลีย่ 3 เดือน ไม่ผ่าน 85% จะ ถูกหักเงินเดือน 3,000 บาท แต่ถ้าหากผ่าน 85% ขึน้ ไป จะได้รบั โบนัส 6,000 บาท (ให้เบิกจ่ายที่ สานักงานกลาง) 30.3 ฝ่ าย (ผูจ้ ดั การภาค) รวมทัง้ ฝ่ ายแล้วถ้าเปอร์เซ็นต์เงินรวมฝ่ ายเฉลีย่ 3 เดือน ไม่ ผ่าน 85% จะถูกหักเงินเดือน 5,000 บาท แต่ถ้าหากผ่าน 85% จะได้รบั โบนัส 10,000 บาท (ให้ เบิกจ่ายทีส่ านักงานกลาง) ** หมายเหตุ วิธกี ารคิด ให้เอาเปอร์เซ็นต์ทไ่ี ด้มาบวกกัน แล้วหาร 3 จะได้ผลลัพธ์
3. สรุป จากการดาเนินงานของ บจก. สยามไท (2017) สามารถสรุปรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ ผูบ้ ริหารการขาย ให้สามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพดังนี้ 1. การดาเนินงานของ บจก. สยามไท (2017) บริษทั มีนโยบายออกหน่ วยรถไปเคาะประตู บ้านเพื่อให้เข้าถึงลูกค้าได้ดี 2. ลักษณะโครงสร้างขององค์การ จะมีผู้บริหาร กรรมการ ผู้จดั การเขต บริษทั มีสาขาคือ ภาคเหนือ ภาคกลาง โดยหลัก สาคัญ ขององค์การ คือ มีว ตั ถุ ประสงค์ใ นการทางานให้ชดั เจน อานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบของผู้บงั คับบัญชา การประสานงาน หลักของการ ทางาน และเอกภาพในการทางานของผูบ้ งั คับบัญชา 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อน คือ ขาย ไปได้เท่าไรรับต่อรถ 1 หน่วยของไท แอส เซ็ท ตัง้ ไว้ท่ี 400,000 บาทต่อเดือน 4. การจัดการองค์การ มีการพัฒนาทักษะของบุคลากรให้ความรูพ้ ร้อมสู่การเปลีย่ นแปลง ในด้านต่างๆ ตลอดจนการบริหารค่าใช้จ่าย, บริหารการขาย การเก็บเงิน ต้องเก็บให้ได้ 85-100% ขายได้กต็ อ้ งเก็บได้ คนขายก็ม ี เช็กเกอร์คอื คนตรวจสอบลูกค้าให้สนิ เชื่อลูกค้า เซลล์จะเป็ นคนขาย แล้วก็มแี ผนเก็บเงินอีก มีผจู้ ดั การสาขาในการควบคุม มีจะมีการสรุปยอดขาย ยอดเก็บได้ต่อเดือน มีรถกี่หน่ วย ขายได้ก่แี สน เปอร์เซ็นต์เก็บได้ตามเป้ าหมายหรือไม่ มีการกาหนดวันนัดเก็บเงินงวด แรก เนื่องด้วยในการนัดเก็บเงินงวดแรกยังไม่ปฏิบตั ใิ นแนวทางเดียวกน บริษทั ฯ จึงมีนโยบายใน การขายวันนัดเก็บเงินงวดแรกไม่เกิน 45 วัน นับจากวันทีข่ ายสินค้า ถ้าเกิน 45 วัน บริษทั ฯ จะไม่ จ่ายค่าคอมมิชชันให้ ่ และห้ามนัดเก็บเงินงวดแรกภายในวันที่ 20 ขึน้ ไป เพราะพนักงานเก็บเงินจะ ไม่มเี วลาในการติดตามลูกค้า เพราะถ้าหากนัดข้ามเดือ นจะเกิดความเสียหาย มีผ ลกระทบกับ เปอร์เซ็นต์ เก็บเงินต่ าไม่ได้ตามมาตรฐานที่บริษทั ฯ ได้ตงั ้ ไว้ มีนโยบายในการตรวจนับสต๊อก สัปดาห์-รายเดือน เนื่องด้วยปั จจุบนั สต๊อกสินค้า หมายเลขเครื่อง และรุ่นไม่ตรงกั น และสินค้าสูญ หาญ จึงมีนโยบายให้ธุรการสต๊อก และธุรการบัญชีให้เช็คสต็อกทุกวันเสาร์ และวันเสาร์สุดท้ายของ เดือน ให้ธุรการสต๊อก ธุรการบัญชี และผู้จดั การสาขา เช็คสต๊อกพร้อมกัน แล้วลงชื่อให้ครบทัง้ 3 คน เพื่อเป็ นหลักฐานในการเช็คสินค้าและจัดส่งโดยแสกนทางเมลล์ให้ส่ วนกลาง และการกันเงินสด ย่อยของสาขา เนื่องด้วยปั จจุบนั ทีส่ าขา ไม่มกี ารกันเงินสดย่อยประจาสาขา จึงทาให้พบว่ามีปัญหา เรื่องค่าใช้มไี ม่เพียงพอ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีนโยบายให้สาขากันเงินสดย่อยสาขา 2,500 บาท ถ้ามี เงินค่าขายเก็บมาต้องนามาฝากธนาคารทัง้ หมด แต่เงินสดย่อ ยให้เบิกจากเงินค่าขายให้ครบ 2,500 บาท และแนวทางปฏิบตั ผิ จู้ ดั การสาขาต้องตรวจนับเงินสดย่อยทุกครัง้
5. การพัฒ นาระบบสารสนเทศ จะมีก ารประชุ ม ระดับ ผู้บ ริหารของพวกเรา เช่ น จะมี ผูอ้ านวยการ คือ ผอ. จะคุมพวกภาค ซึง่ บจก. สยามไท (2017) ก็มภี าคกลาง ก็จะคุมพวกเขตภาค กลาง เป็ นต้น (หัวใจหลักในการบริการต้องมีการประชุมย่อย จะได้รกู้ ารทางานและปั ญหา ถ้าเกิด ปั ญหาจะได้แก้ไขได้ทนั
ภาคผนวก ประมวลภาพแสดงรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ ผูบ้ ริหารการขายเครื่องใช้ไฟฟ้ าเงินผ่อน บจก. สยามไท (2017)