SCG Delight Magazine Nov-Dec 2012

Page 1

_SCG Water_Lumpang.pdf 1 13:38

ปีที่  11 ฉบับที่  5 พฤศจิกายน - ธันวาคม  2555

26/9/2555

SCG  Delight  Magazine

11/05 NOVEMBER - DECEMBER 2012 www.scg.co.th

พอเพียง... จากแม่แจ่ม สู่ ขุนวาง บนวิถีแห่งพอเพียง

Exotic Thai P.42

“แผ่นเสียง”

เส้นสายดนตรีที่มีชีวิต

Collection Room P.90



Editor’s Note

เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เหล่ า พสกนิ ก รได้ น ้ อ มร� ำ ลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค์ แ ละในนามของ คณะบรรณาธิการและผู้อ่านนิตยสาร SCG Delight ขอพระราชทานถวายพระพร ชัยมงคล ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โปรดอภิบาลให้ พระองค์ทรงพระเกษมส�ำราญ ทรงพระเจริญ มีพระชนมายุยงิ่ ยืนนาน มีพระพลานามัย แข็งแรง สถิตย์เป็นมิ่งขวัญของปวงประชาราษฎร์ตลอดกาล คราใดที่นึกถึงพระองค์ ก็จะนึกถึงหลักค�ำสอนเรื่อง “พอเพียง” ขึ้นมาเสมอ อย่างไรถึงจะเรียกว่าพอเพียง ค�ำถามนี้ท�ำให้สงสัย และนึกถึงสถานการณ์ตัวอย่าง ขึ้นมาเรื่องหนึ่งว่า “ถ้ามีคนสองคนที่ก�ำลังจะซื้อเสื้อ คนแรกซื้อเสื้อราคา 1,000 บาท เพราะค่อนข้างมีฐานะ ส่วนคนที่สองซื้อเสื้อราคา 100 บาท เพราะมีฐานะปานกลาง ค�ำถามคือ สองคนนี้ใครกันที่ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง” จึงเป็นที่มาของ SCG Delight ฉบับปลายปี 2555 ที่อยากชวนทุกท่าน มาท�ำความรู้จักกับค�ำว่า “พอเพียง” ให้มากยิ่งขึ้น เริ่มที่ Focus ไปฟังทัศนะดีๆ จาก สามผู้ใหญ่ใจดี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ที่จะมาเล่าให้ฟังว่า แท้จริงแล้ว “แก่นแห่ง ความพอเพียง” ต้องปูรากฐานกันตั้งแต่ “การศึกษา” จากนั้นไปต่อที่ 10 Things พาทุกท่านไปพบกับพระราชจริยวัตรอันงดงามของ “พ่อ” ต้นแบบแห่งความพอเพียง ของชาวไทยทุกคน ปิดท้ายกันด้วย Dining Out ที่จะพาทุกท่านไปพบกับสี่ร้านอาหาร ออร์แกนิกเพื่อสุขภาพ ที่นอกจากจะดีต่อสุขภาพแล้ว ยังช่วยให้ร่างกายและหัวใจ ทุกท่านยืนยาวขึ้นอย่างเปี่ยมสุขอีกด้วยค่ะ กลับมายังค�ำถามที่ว่า “แล้วใครกันในสองคนนั้นที่ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง” จึงได้คำ� ตอบว่า ทัง้ สองต่างมีความพอเพียงทัง้ คูค่ ะ่ เพราะเราไม่ได้วดั ความพอเพียงจาก เงินที่เราใช้ แต่เราวัดจาก “ตัวเราเอง” ว่าเราใช้อย่างประมาณตนและพอดีกับฐานะ หรือไม่ ซงึ่ คนทัง้ คูต่ า่ งใช้อย่างสมฐานะ ใช้เพราะรูว้ า่ ตนมีกำ� ลังและความสามารถเท่าไร ที่จะไม่เดือดร้อนกับทั้งตัวเองและผู้อื่น ไม่ต้องไปหยิบยืมใครมาใช้ให้เกินตัว ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นคนจนหรือคนรวย ถ้ารู้จักประมาณตนให้อยู่ในความพอดีแล้ว เราทุกคน ก็อยู่ในความพอเพียงได้เช่นกันค่ะ รชตพร  ปัทมะศิริ บรรณาธิการบริหาร เจ้าของ แผนกบริหารความสัมพันธ์หนุ้ กู้ สำ�นักงานการเงิน บริษัทปูนซิเมนต์ไทย  จำ�กัด (มหาชน)  บรรณาธิการผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา  จันทนิดา สาริกะภูติ บรรณาธิการบริหาร  รชตพร  ปัทมะศิริ  คณะบรรณาธิการ  วิสัชนา ฉายประเสริฐ, นิภาวรรณ สกุลวิริยะธรรม,  สุทธินุช กาญจนะวณิชย์,  อลิสา ด่านกลาง,  ภาวิณี ตะวันนาโชติ  กองบรรณาธิการ  บรรณาธิการอำ�นวยการ  ภัทราวรรณ  พูลทวีเกียรติ์  บรรณาธิการเล่ม  ณัฐวีณ ์ โชติกลุ สิทธิ์  กองบรรณาธิการ  ทัศนัย ขำ�ชื่น, สุทธินี ใจสมิทธ์

ครีเอทีฟไดเร็คเตอร์  ศิริธร พรศิวะกิจ  ศิลปกรรม จตุพล เกสรสุคนธ์ อิมเมจไดเร็คเตอร์  สุภทั รา ศรีทองคำ� หัวหน้าช่างภาพ  ชัยชนะ จารุวรรณากร ช่างภาพ  สุรพล พวงศรี, ศักยะ บุญเสมอ, ถนอมพงศ์ ชัยชนะ, วิภทั ร พันธ์นุ ราวิกจิ   นักศึกษาฝึกงาน  ภัทรีดา สิงหเศรษฐกิจ, วันวิสาข์ กฤตยวิรุฬห์ รีทัช  เอกฤทธิ์ โป๊ะคำ�, นรินทร์ มหัตธน ซับเอดิเตอร์และพิสจู น์อกั ษร  จริญญา เมฆธรรม ธุรกิจสัมพันธ์  ณัชชา พัฒนะนุกิจ แทรฟฟิก เยาวลักษณ์ ทองพูนแก้ว  โปรดักชั่น มานพันธ์ บุญประเสริฐ

จัดทำ�โดย  แผนกบริหารความสัมพันธ์หุ้นกู้ สำ�นักงานการเงิน บริษัทปูนซิเมนต์ไทย  จำ�กัด (มหาชน) 1 ถนนปูนซิเมนต์ไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทร. 0-2586-2112 โทรสาร  0-2586-4977  ออกแบบและพิมพ์โดย บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่   จำ�กัด  (มหาชน)  โทร. 0-2422-9000  ต่อ  1200, 1213  ขอขอบคุณภาพประกอบคอลัมน์  จาก  www.amarinphotobank.com หมายเหตุ  :  บทความ ทัศนะ และสถานที่ที่พิมพ์ในวารสาร  SCG  Delight เป็นความคิดเห็นและคำ�แนะนำ�ของผู้ประพันธ์ มิได้เกี่ยวข้องกับบริษัทปูนซิเมนต์ไทย  จำ�กัด (มหาชน)  แต่อย่างใด


CONTENTS Vol. 11 No. 05 November - December  2012

28

42

01 Editor’s Note 06 SCG Spotlight 10 SCG Insight

28 Focus เศรษฐกิจพอเพียงเข้มแข็ง

34 10 Things   10 รอยทางของ “พ่อ”

ปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล บริหารอย่างพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

16 Member’s Stage

ด้วยแรงผลักดัน ของภาคการศึกษา

ต้นแบบแห่งความพอเพียง

36 Techno for Life 37 App for Life 20 Money Tips 38 Did You Know? จัดสรรเงินออม 40 Hot Events จัดทัพพอร์ตลงทุน 42 Exotic Thai บนความผันผวนของเศรษฐกิจโลก  จากแม่แจ่มสู่ขุนวาง 23 Thai Zone   บนวิถีแห่งพอเพียง พอเพียง 46 The Journey 24 Cover Story ผลไม้ลับแล

พรพงษ์ พรประภา เพราะคิดต่างจึงส�ำเร็จ

พอเพียง...ที่เพียงพอ ตามรอยหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

คือวิถี คือชีวิต คือวัฒนธรรม

10 50

36 50 Around the World “ฮาร์บิน” เยือนเทศกาล

แกะสลักน�้ำแข็งระดับโลก

เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

56 Go Around พิพิธภัณฑ์การเกษตร


74

104 60

82

60 Smart Life

ร้อยเอก ชาล์ ศิริวรรณยา ชีวิตนี้เสียสละแด่แผ่นดิน

64 Green Project

“พะลวย” เกาะสีเขียวอย่างยั่งยืน

90 Collection Room “แผ่นเสียง”

เส้นสายดนตรีที่มีชีวิต

92 Trend Parade Prints เส้นเลือดส�ำคัญทีต่ อ้ งถนอมรักษา  94 Entertainment 70 Wine Curve   96 Book Shelf Beaujolais Nouveau 100 Tell Tales เสน่ห์ของไวน์สดในแบบผู้น�ำ ตะวัน 2 - 3 แสง  72 Healthy Up 104 Think White   “สโลว์ฟู้ด” สัมผัสความสุขเนิบช้า ว่าด้วยเรื่องกลัวตาย ผ่านต�ำรับอาหารดั้งเดิม 106 Mind & Spirit 74 Dining Out อย่ายอมจ�ำนนกับ “กรรมเก่า” 78 Chef at Home 108 Horoscope 82 Living with Style   110 Merit Room   แต่งบ้านสวยด้วย 3 ศิลปะ 111 Happy Time จาก 3 ศิลปิน 112 Delight Quiz 86 Better Pix 66 Talk to Doctor โรคหลอดเลือดสมอง

Selective View แค่บิดมุมมอง ภาพก็สวยได้

92


6

SCG Spotlight

SCG Spotlight

เพชรบุรี - หัวหิน เส้นทางแห่งมนต์เสน่ห์ ทะเล วัง ท่องเที่ยวตามรอยเสด็จฯ เดินทางระหว่าง วันที่ 6 - 8 กันยายน 2555

Workshop of the month การจัดสวนถาดแบบญี่ปุ่น 17 สิงหาคม 2555 ณ SCG Experience

สัมมนา รู้ทัน รักษา ปัญหา (โรค) หัวใจ 1 กันยายน 2555 ณ SCG บางซื่อ

7

เยือนเมืองมรดกโลกมณฑลเจียงซี... ดินแดนแห่งเขาสวรรค์ ในพื้นพิภพ เดินทางระหว่างวันที่ 17 - 22 กันยายน 2555


8

9

SCG Spotlight

SCG Spotlight

ข้อมูลผลตอบแทนจากตราสารหนี้และอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ตารางแสดงผลตอบแทนหุ้นกู ้ (ข้อมูล  ณ  วันที ่ 25  กันยายน  2555)* หุ้นกู้ อายุคงเหลือ  ราคาที่ตกลงครั้งล่าสุด   (ปี) (บาท/หน่วย)          SCC12NA 0.10 1,009.20 ครั้งที่  2/2551 SCC134A 0.51 1,009.18 ครั้งที่  1/2552 SCC13OA 1.01 1,018.18 ครั้งที่  2/2552 SCC144A 1.51 1,006.73 ครั้งที่  1/2553 SCC14OA 2.01 1,008.01 ครั้งที่  2/2553 SCC154A 2.51 1,009.79 ครั้งที่  1/2554 SCC15NA 3.10 1,032.46 ครั้งที ่ 2/2554 SCC164A 3.52 1,021.74 ครั้งที ่ 1/2555

วันที่ตกลง อัตรา แลกเปลี่ยนหุ้นกู้ ผลตอบแทนถึง ครั้งล่าสุด วันครบกำ�หนดไถ่ถอน 14  กันยายน  2555 3.15%

ส่วนต่างจาก  ราคาหน้าตั๋ว (บาท/หน่วย)  9.20

25  กันยายน  2555

3.19%

9.18

14  กันยายน  2555

3.20%

18.18

25  กันยายน  2555

3.35%

6.73

25  กันยายน  2555

3.41%

8.01

24  กันยายน  2555

3.56%

9.79

5  กันยายน 2555

3.55%

32.46

27  กรกฎาคม 2555

3.60%

21.74

* ท่านสามารถตรวจสอบราคาหุ้นกู้ประจำ�วันได้ท ี่ www.scg.co.th

ตารางแสดงอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ�  (ข้อมูล  ณ  วันที ่ 25  กันยายน  2555)

เยือนเมืองมรดกโลก กลุ่มประเทศบอลติก เดินทางระหว่างวันที่ 17 - 25 สิงหาคม 2555 และวันที่ 20 - 28 กันยายน 2555

ระยะเวลา 1  ปี 2  ปี 3  ปี

ธนาคารกรุงเทพ 2.750% 3.125% 3.250%

ธนาคารกรุงไทย 2.750% 3.125% 3.250%

ธนาคารกสิกรไทย 2.650% 3.000% 3.200%

ตารางอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล  (ข้อมูล  ณ  วันที ่ 25  กันยายน  2555) ระยะเวลา 3  เดือน 6  เดือน 1  ปี 2  ปี 3  ปี 4  ปี

อัตราผลตอบแทน 3.01% 3.04% 3.02% 3.18% 3.20% 3.28%

ธนาคารไทยพาณิชย์ 2.750% 3.100% 3.250%


10

SCG Insight

SCG Insight

เรื่อง : ชนาภา สุวงศ์ ภาพ : วิภัทร พันธุ์นราวิกิจ

11

ปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล

บริหารอย่างพอเพียง เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพียงแรกเห็นจากสายตา รอยยิ้ม และท่าทาง บ่งบอก ได้ว่าผู้ชายคนนี้เป็นผู้บริหารที่ใจดีและมีความสุขกับการ ใช้ ชี วิ ต โดยเฉพาะเมื่ อ เริ่ ม บทสนทนาด้ ว ยเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ฟุตบอลทีมโปรดเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด และการมีไลฟ์สไตล์ สบายๆ ทั้ ง การตี ก อล์ ฟ เล่ น ฟิ ต เนส และใช้ เ วลาว่ า ง กั บ ครอบครั ว เพราะเขายึ ด หลั ก การบริ ห ารจั ด การแบบ พอเพียง ไม่มากไม่น้อยจนเกินไป รู้จักให้และแบ่งปันแก่ผู้อื่น ในการบริหารงานที่เอสซีจีมาตลอดจนจวบใกล้วาระเกษียณ จึงเป็นการท�ำงานที่ท�ำให้เขาและคนรอบตัวมีแต่ความสุข

ปราโมทย์ เตชะสุพฒ ั น์กลุ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จ�ำกัด จบการศึกษา

ที่ ส� ำ คั ญ ๆ มากมาย อาทิ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัทผลิตภัณฑ์หลังคา ซิเมนต์ไทย จ�ำกัด ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ปริ ญ ญาตรี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ บริ ษั ท ปู น ซิ เ มนต์ ไ ทย จ� ำ กั ด (มหาชน) (อุตสาหการ) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท และ Advanced Management Program ปูนซิเมนต์ไทยอุตสาหกรรม จ�ำกัด (AMP) จาก Harvard University ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น หนึ่ ง ในที ม พอเพี ย ง = แบ่ ง ปั น เพื่ อ การ ผู้บริหารที่ดูแลธุรกิจปูนซีเมนต์มาตั้งแต่ พัฒนาอย่างยั่งยืน นอกจากหน้ า ที่ ใ นการบริ ห าร เริ่ม และร่วมสร้างความส�ำเร็จมาจนถึง ปัจจุบัน โดยร่วมงานกับเอสซีจีตั้งแต่ปี จัดการเรือ่ งธุรกิจซีเมนต์แล้ว คุณปราโมทย์ พ.ศ. 2518 เคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง บริ ห าร ยังดูแลในเรื่อง “การพัฒนาอย่างยั่งยืน”


12

SCG Insight

SCG Insight

ในมุมมองของผม การพัฒนาอย่าง ยั่งยืนก็คือ การแบ่งปันที่เกิดจาก ความพอเพียง ถ้าเรามีพอแล้ว เราก็ต้องแบ่งส่วนที่เกินความต้องการ ให้แก่คนอื่น ถ้าแบ่งให้ทุกฝ่าย เท่าๆ กันได้ก็จะยิ่งเกิดความยั่งยืน (SustainableDevelopment) ของทั้ ง องค์ ก ร ซึ่ ง เป็ น หลั ก ในการด� ำ เนิ น งาน ของบริษทั มาโดยตลอดด้วย คุณปราโมทย์ เล่าให้ฟังว่า “พู ด ง่ า ยๆ ในมุ ม มองของผม การพัฒนาอย่างยั่งยืนก็คือ การแบ่งปัน ที่เกิดจากความพอเพียง ถ้าเรามีพอแล้ว เราก็ ต ้ อ งแบ่ ง ส่ ว นที่ เ กิ น ความต้ อ งการ ให้แก่คนอืน่ ถ้าแบ่งให้ทกุ ฝ่ายเท่าๆ กันได้ ก็จะยิ่งเกิดความยั่งยืน ถ้าเราอยู่ดีกินดี แต่ข้างบ้านเรายังอดอยาก เราก็อยู่ไม่ได้ บางคนบอกว่าความพอเพียงคือการไม่ตอ้ ง ท�ำอะไรแล้ว ผมว่าไม่ใช่ เราต้องเติบโต ไปด้วยกัน แบ่งปันให้ทั่วถึง ทั้งผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้อง เพราะเราอยู่ ในสั ง คมเดี ย วกั น ไม่ ก ระทบทางตรงก็ ทางอ้อม ถ้าเราดีขนึ้ เขาก็จะดีขนึ้ เราก็จะมี ความสุขร่วมกัน จะอยู่กันได้นานอย่าง ยั่งยืน ซึ่งถือเป็นแนวคิดการด�ำเนินธุรกิจ ตั้งแต่ดั้งเดิม” คุณปราโมทย์กล่าวต่อว่า “หลัก การด�ำเนินงานนี้ได้เแรงบันดาลใจและ แบบอย่างมาจากแนวคิดในเรื่องความ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่พระองค์ทรงแบ่งปันให้แก่ราษฎรของ

พระองค์เช่นกัน เวลาที่ราษฎรทุกข์ร้อน พระองค์ก็เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมตามชนบท ตลอด และพระราชทานทรั พ ย์ สิ น ส่ ว น พระองค์ชว่ ยเหลือ แม้จะได้รบั จากราษฎร และหน่วยงานต่างๆ ที่ถวายพระองค์มา พระองค์กท็ รงน�ำมาแบ่งปันให้ราษฎรของ พระองค์ด้วย รวมถึงวิถีชีวิตของพระองค์ ก็ไม่ได้ฟมุ่ เฟือยอะไรเลย ทุกอย่างพระองค์ ทรงนึกถึงคนที่ทุกข์ยากก่อนเสมอ ซึ่งผม ก็ น� ำ มาปรั บ ใช้ ทั้ ง การใช้ ชี วิ ต และการ ท�ำงาน”

สร้างฝายในใจคน

จากแนวพระราชด� ำ ริ เ รื่ อ ง ความพอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ที่คุณปราโมทย์ได้ยึดถือ และน� ำ มาปรั บ ใช้ โ ดยตลอด ได้ มี ก าร พั ฒ นาต่ อ ยอดการแบ่ ง ปั น ไปยั ง ชุ ม ชน ต่างๆ ที่ไม่ใช่แค่การให้ แต่ต้องให้เขา สามารถด�ำเนินการสิง่ ทีเ่ ราให้ตอ่ ไปได้เอง อย่างยั่งยืน คุณปราโมทย์เล่าให้ฟังถึง กรณี ที่ เ อสซี จี เ ข้ า ไปช่ ว ยเหลื อ ชุ ม ชน ในเรื่องต่างๆ ว่า “เวลาทีเ่ ราเป็นผูบ้ ริหารก็ตอ้ งลง ไปเจอผู้ใต้บังคับบัญชาและคนรอบข้าง

ของเรา ถ้าไม่ลงไปดูก็จะไม่รู้เลยว่าความ ต้องการของเขาจริงๆ คืออะไร บางทีเรา มานั่งคิดเอง แล้วก็จัดหาไปให้เขา แต่ สุ ด ท้ า ยหลายอย่ า งที่ เ ราคิ ด ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เขาต้องการมากทีส่ ดุ ในเวลานัน้ อย่างเช่น ตอนนั้นผมเคยเป็นผู้อ�ำนวยการโรงงาน ปูนซิเมนต์ในภาคใต้ ผมเห็นหมู่บ้านข้างๆ ไม่มีน�้ำประปาใช้ ผมเลยของบประมาณ สร้างระบบประปาหมู่บ้านให้ ใส่มิเตอร์ ให้ ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า นไปบริ ห ารจั ด การต่ อ ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า จะท� ำ ให้ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของเขา ดีขึ้น ด�ำเนินการอยู่ได้ 2 ปี หลังจากนั้น ก็ประสบปัญหา เพราะเขาไม่มีความรู้ใน เรื่องการจัดการระบบน�้ำประปา ถึงไม่มี น�้ำประปา เขาก็สามารถใช้น�้ำบาดาลหรือ น�้ำฝนแทนได้ ซึ่งไม่เดือดร้อน มันยังไม่ใช่ ความต้องการของเขาจริงๆ เราก็เลยพบว่า สิ่ ง ที่ เ ราท� ำ ให้ อ ย่ า งดี อ าจไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ เ ขา ต้ อ งการ จึ ง เกิ ด การเรี ย นรู ้ ว ่ า ที่ เ ราไป ช่วยเขา ต้องให้เขาช่วยตัวเองได้ สามารถ น�ำไปพัฒนาต่อยอดได้ ไม่ใช่การไปให้ อย่างเดียวแล้วจบ “แนวคิดใหม่ของเราคือ ทุกวันนี้ ถ้ า เราจะเข้ า ไปช่ ว ยชุ ม ชน ก็ จ ะให้ เ ขา รวมกลุ่มกันคิด แล้วเสนอโครงการที่เขา

ต้องการ ซึ่งเป็นโครงการที่เขาสามารถ ดูแลและพัฒนาต่อยอดต่อไปได้ อย่าง โครงการท�ำฝายชะลอน�้ำ เราเลือกที่จะ ไปคุยท�ำความเข้าใจกับพื้นที่ต่างๆ ก่อน ว่าคนในพื้นที่มีความต้องการไหม เพราะ พื้นที่ที่มีความพร้อมจะท�ำโครงการพวกนี้ ได้ ส� ำ เร็ จ เนื่ อ งจากเขาเป็ น คนในพื้ น ที่ ถ้าเขาได้เห็นประโยชน์เขาก็จะดูแลรักษา ต่อไป เพราะการสร้างฝายไม่ใช่แค่เอา ไม้ไปตอกๆ เอาหินเอาดินไปท�ำคัน แต่ คือการท�ำร่วมกัน เจ้าของคือชุมชน ท�ำให้ ชุ ม ชนนั้ น เกิ ด ความเข้ ม แข็ ง มี ก ารรวม กลุ่มกัน เพื่อต่อยอดผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น อย่ า งเช่ น ถ้ า น�้ ำ เหลื อ มากพอก็ น� ำ มา ท�ำไฟฟ้าได้ แถมยังขายให้การไฟฟ้าได้ดว้ ย เกิดวิสาหกิจชุมชน มีรายได้กลับเข้ามา เยาวชนในชุ ม ชนก็ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ ที่ จ ะอยู ่ ใ น ชุมชน เรียนรู้ที่จะดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

ขนบธรรมเนียมประเพณีของพวกเขา เกิด ความหวงแหนในถิ่นและอยากอยู่พัฒนา ท้ อ งถิ่ น มากขึ้ น ไม่ ย ้ า ยไปท� ำ งานที่ อื่ น เรียกว่าเป็นการสร้างฝายในใจคน นี่คือ เป้าหมายสุดท้ายที่เราต้องการ”

รับมือวิกฤติน�้ำท่วมหนัก

จากเหตุการณ์น�้ำท่วมหนักเมื่อ ปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมา ทางเอสซีจีก็ได้รับ ผลกระทบเช่นเดียวกัน แต่ด้วยวิสัยทัศน์ ของผูบ้ ริหารทีม่ องเห็นถึงคุณค่าของ “คน” มากกว่า “ทรัพย์สนิ ” ท�ำให้เอสซีจสี ามารถ ผ่านวิกฤติช่วงนั้นมาได้ ทั้งยังสามารถ ช่วยเหลือสังคมควบคู่กับการด�ำเนินธุรกิจ ต่อไปได้ด้วย คุณปราโมทย์เล่าให้ฟงั ถึงวิกฤติ ช่วงเวลานั้นว่า “ปกติโรงงานที่ต่างจังหวัด เราโดนเป็นประจ�ำทุกปี เราก็เรียนรู้แล้ว

13


14

SCG Insight

ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่มองเห็นถึง คุณค่าของ “คน” มากกว่า “ทรัพย์สิน” ท�ำให้เอสซีจีสามารถผ่านวิกฤติช่วงนั้น มาได้ ทั้งยังสามารถช่วยเหลือสังคมควบคู่ กับการด�ำเนินธุรกิจต่อไปได้ด้วย

สังคมและชุมชนอย่างเต็มตัว เป็ น การแบ่ ง ปั น คื น กลั บ ไป ให้สังคม ตามหลักพอเพียงที่ เรายึดถือ”

พอเพียงในครอบครัว

ว่าจะป้องกัน ช่วยเหลือ และฟื้นฟูอย่างไร แต่เมือ่ ปีทแี่ ล้วถือว่าหนักทีส่ ดุ แนวคิดการ บริหารจัดการตอนนั้นคือ เราจะค�ำนึงถึง เรือ่ งของคนก่อนเป็นอันดับแรก เรามองว่า พนักงานเราต้องรักษาไว้ก่อน ดูแลเขา ก่อน แล้วเขาก็จะสามารถไปดูแลชุมชน ต่อได้ เราเลยประกาศทันทีให้ปรับสถานที่ ท�ำงานใหม่ สามารถย้ายออฟฟิศไปท�ำ ตรงไหนก็ ไ ด้ ที่ ส ะดวก จั ด หาที่ พั ก ตาม โรงแรมให้ รวมทั้งย้ายไปต่างจังหวัดด้วย พอเราดูแลทัง้ พนักงานและครอบครัวของ เขาจนปลอดภัยแล้ว ทุกคนก็จะไม่กังวล แล้ ว จะมี ส มาธิ ใ นการหั น มาดู แ ลเรื่ อ ง ทรั พ ย์ สิ น และให้ ความช่วยเหลือ ชุม ชน ต่อไป ซึ่งตอนนั้นเราสามารถด�ำเนินธุรกิจ ควบคู่กับการช่วยเหลือสังคมไปได้ด้วย แต่ถ้าตรงไหนท�ำธุรกิจไม่ได้ เพราะโดน น�้ำท่วม เราก็เปลี่ยนไปเป็นการช่วยเหลือ

นอกจากคุณปราโมทย์ จะยึดหลักความพอเพียงในการบริหาร งานแล้ว เขายังน�ำมาปรับใช้ในการด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวัน รวมทั้งปลูกฝังไปยังลูกๆ ด้วยการท�ำให้ดเู ป็นตัวอย่างตัง้ แต่พวกเขา ยังเล็กๆ เพื่อให้เกิดการซึมซับและคุ้นเคย จนติดเป็นนิสัยเมื่อเขาเติบโตขึ้น “ในส่วนของครอบครัว ผมก็จะ ท�ำให้ลูกดูเป็นแบบอย่าง อย่างเรื่องความ ไม่ฟมุ่ เฟือย ผมจะมียนู ฟิ อร์มของผม อย่าง กางเกงก็ใส่ของบริษัท เสื้อเชิ้ตสีขาวก็ใส่ ของบริษัท ซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องฟุ่มเฟือย มาก ใช้เท่าที่มีก็ได้ หรืออย่างเรื่องการใช้ น�้ำและไฟฟ้าที่บ้าน ผมก็จะปลูกฝังลูกๆ ตั้งแต่เด็กว่า เวลาไม่อยู่ในห้องให้ปิดไฟ ปิดแอร์ เวลาเปิดแอร์กไ็ ม่ควรเร่งความเย็น จนเกิ น ไปนั ก หรื อ ปิ ด แอร์ ก ่ อ นตื่ น 1 ชั่ ว โมง เพราะความเย็ น จะยั ง คงอยู ่ หลังปิด 1 ชั่วโมง ผมมองว่า 1 ชั่วโมง

มั น มี ค วามหมายนะ แม้ เ ราจะมี ก� ำ ลั ง ในการจ่ายค่าไฟก็ตาม แต่กไ็ ม่สมควรต้อง สิน้ เปลือง ผมก็จะให้เขาท�ำเป็นประจ�ำ เพือ่ ให้ติดเป็นนิสัยและท�ำเองอย่างอัตโนมัติ เมื่อเขาโตขึ้น จะได้ไม่รู้สึกว่าเป็นเรื่อง ล�ำบากที่จะต้องท�ำ เป็นความพอเพียง ที่ค่อยๆ สร้างให้ลูกๆ และคนในครอบครัว “เรื่ อ งของขยะก็ เ ป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ เพราะตอนนี้กลายเป็นปัญหาใหญ่ของ เมืองไปแล้ว บางอย่างทีเ่ ราทิง้ ก็เป็นของที่ สามารถน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ต่อได้ ซึ่ง เราต้องฝึกวินัยในการคัดแยก เพราะบาง อย่างเป็นของมีพิษ ต้องแยกให้ถูก ผมก็ ต้ อ งให้ ค วามรู ้ แ ก่ ลู ก ๆ และสร้ า งนิ สั ย ไม่ มั ก ง่ า ย เมื่ อ แยกขยะอย่ า งถู ก ต้ อ ง แล้ว คนที่จัดการต่อก็สามารถน�ำไปใช้ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต ่ อ ได้ ต้ อ งสร้ า งนิ สั ย แบบนี้ตั้งแต่เด็กๆ อย่างจริงจัง” เรียกได้ว่าเป็นทั้งคุณพ่อ

แ ล ะ ผู ้ บ ริ ห า ร ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น ์ กว้ า งไกล ยึ ดถื อ แนวคิ ดความ พอเพียงควบคู่ไปกับการท�ำงาน และการด�ำเนินชีวติ ในทุกย่างก้าว เพือ่ ความสุขของคนรอบข้าง และ พัฒนาสังคมให้น่าอยู่ยิ่งๆ ขึ้นไป


16

Member’s Stage

Member’s Stage

เรื่อง : พิมพิดา กาญจนเวทางค์ ภาพ : สุภัทรา ศรีทองคำ�

พรพงษ์ พรประภา เพราะคิดต่างจึงสำ�เร็จ

เนื่ อ งจากคุ ณ พรพงษ์ พรประภา แห่ ง บริษัทสยามอินเตอร์เนชั่นแนลคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด ไม่ค่อยเปิดโอกาสให้สื่อใดสัมภาษณ์มากนัก จึงนับ เป็นโชคดีของทีมงาน SCG Delight ที่คุณพรพงษ์ ยินดีสละเวลามานั่งพูดคุยกับเราในครั้งนี้ เราจึง ได้เรียนรู้ถึงแนวคิดที่แตกต่างในการด�ำเนินธุรกิจ การปกครองพนักงาน ตลอดจนแง่คิดที่น่าสนใจ ต่างๆ อีกมากมาย

หลายคนคงคิดว่าห้องประชุม ใหญ่ของบริษัทสยามอินเตอร์เนชั่นแนล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด น่าจะเป็นห้องประชุม สีขาว เปิดไฟสว่าง พร้อมอุปกรณ์ส�ำหรับ การประชุมอย่างเป็นทางการ แต่ความจริง นั้ น ห้ อ งประชุ ม ที่ เ รานั่ ง อยู ่ นี้ ก ลั บ ให้ ความรูส้ กึ ผ่อนคลายไม่ตา่ งจากห้องประชุม ในโรงแรมหรู ไม่ว่าจะเป็นโทนสีน�้ำตาล อบอุ่นของห้อง หินน�้ำตกประดับต้นไม้ที่ ผนังด้านหนึ่ง ของสะสมแอนทีคที่ตกแต่ง อยู่ตามมุมต่างๆ หรือแม้แต่กระดานที่ถูก ซ่อนเก็บมิดชิดรอการถูกใช้งานได้ทุกเมื่อ “ห้องประชุมที่นี่ไม่มีอะไรที่เป็น ออฟฟิ ศ เลย ท� ำ ไมเราจึ ง ต้ อ งตกแต่ ง ออฟฟิศให้เป็นออฟฟิศ ผมใช้งบประมาณ การสร้างให้เท่ากับการสร้างออฟฟิศ แต่ เลือกโทนสี เลือกของให้เป็น ที่นี่ตกแต่ง

แบบนีต้ งั้ แต่วนั แรก นับจนวันนีก้ ป็ ระมาณ 15 ปีมาแล้ว” คุณพรพงษ์พดู ถึงการตกแต่ง ห้องประชุม พร้อมรอยยิม้ บางๆ บนใบหน้า

เรียนรู้เรื่องรากฐาน

“ผมเรี ย นจบด้ า นการบริ ห าร จัดการมาจากมหาวิทยาลัยรัฐแคลิฟอร์เนีย ลองบีช (California State University, Long Beach) ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เมื่อปี พ.ศ. 2516 ผมอยู่ที่ประเทศสหรัฐ อเมริกามาตั้งแต่มัธยมปลาย ทั้งหมดก็ ประมาณ 6 ปี อั น ที่ จ ริ ง ผมชอบเรื่ อ ง การออกแบบตกแต่งภายใน แต่ในเมื่อ ที่ บ ้ า นท� ำ การค้ า ผมก็ เ ลยเลื อ กเรี ย น ด้านธุรกิจ” คุณพรพงษ์ย้อนอดีต

17


18

Member’s Stage

Member’s Stage

และเมือ่ เป็นหนุม่ ไฟแรง ลูกชาย เจ้าของบริษทั สยามกลการ จ�ำกัด กลับมา ยังประเทศบ้านเกิดเมืองนอน เขาก็ไม่ได้ ปฏิเสธที่จะเริ่มต้นเรียนรู้การท�ำงานตั้งแต่ พื้นฐาน “ผมกลับมาฝึกงาน เรียนรู้ตั้งแต่ ข้างล่างขึ้นมาข้างบน นี่เป็นสิ่งที่ดี ผมเริ่ม ตั้งแต่เด็กเสิร์ฟน�้ำ ซึ่งท�ำให้ผมได้รู้ความ รูส้ กึ ของพนักงาน คุณแม่บอกว่าติดตรงไหน อยู่ตรงนั้น เก่งจริงก็ให้ผ่านขึ้นมาให้ได้ “บริษัทสยามกลการ จ�ำกัด มี บริ ษั ท ในเครื อ เยอะมาก มี ทั้ ง ประสบ ความส�ำเร็จและก�ำลังประสบปัญหา ผม มองว่าเป็นความโชคดีทผี่ มได้เข้าไปแก้ไข จัดการกับบริษัทที่มีปัญหา แม้จะต้องใช้ เวลาไปมาก แต่ก็ท�ำให้เรารู้ว่าท�ำไมถึง เสียหาย ต้องแก้ไขตรงไหน คิดง่ายๆ ว่า บริ ษั ท จะดี ห รื อ ไม่ ดี ขึ้ น อยู ่ ที่ ผู ้ บ ริ ห าร ผมก็เห็นบริษทั เวียนว่ายตายเกิดไปเรือ่ ยๆ หากจะถามว่าเราต้องเปลี่ยนแปลงอะไร

ค�ำตอบคือ เปลีย่ นผูบ้ ริหาร เปลีย่ นหลักการ เปลี่ยนวิธีคิดต่างๆ เวลาเราแก้ไขก็ต้อง ศึกษาว่าตรงไหนที่ ผิดพลาด เพราะถ้ า เข้าใจหลักการพวกนี้ การแก้ปัญหาก็จะ ง่ายขึ้น”

ไม่มีค�ำว่า “ยากเกินไป”

ประสบการณ์ ก ารศึ ก ษาและ ใช้ชีวิตในต่างประเทศ บวกกับการเรียนรู้ วิธีท�ำงานจริง อาจเป็นองค์ประกอบหลัก ที่ท�ำให้คุณพรพงษ์มีแนวคิดการท�ำงาน ที่แตกต่างออกไปจากคนอื่นๆ “ผมไม่ เ ชื่ อ ในธรรมเนี ย มที่ ว ่ า ผู้บริหารต้องนั่งอยู่ในบริษัทแม่ เพราะ การนั่งอยู ่ ใ นบริ ษั ท แม่ นั้ นเป็ น เรื่ องง่ า ย หากเกิดเรือ่ งผิดพลาดขึน้ มา เราจะไม่รเู้ รือ่ ง อะไรเลย เพราะโครงสร้างใหญ่จะป้องกัน เราไว้หมด ซึ่งถึงแม้เราจะนั่งอยู่ข้างบน และอาจคิ ด ว่ า ตั ว เราเองใหญ่ โ ตแล้ ว สุ ด ท้ า ยถ้ า เราแก้ ป ั ญ หาอะไรไม่ เ ป็ น

เราอาจจะดูเหมือนตัวตลก” คุณพรพงษ์ กล่าว เขาจึงเป็นผูท้ ลี่ งมาแก้ไขและพัฒนา บริษัทที่ก�ำลังมีปัญหา “ส่วนมากบริษทั ทีไ่ ม่มใี ครจะเอา เราก็เอามาพัฒนาจนเติบโต อย่างพวก ธุรกิจชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ เมื่อก่อนก็ เสียหายทั้งนั้น ผมก็มารื้อใหม่ โจทย์ไม่ ยากหรอกครับ เพราะผมเชือ่ ว่าไม่มปี ญ ั หา อะไรในโลกที่แก้ไม่ได้ ที่แก้ไม่ได้ก็มักจะ เป็นเพราะเราไม่รู้ว่าปัญหาคืออะไร หรือ แก้ผดิ ทาง ยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า หากวันนีม้ ี คนมาขอซือ้ กิจการทีเ่ จ้าของจะขายเพราะ คิดว่าไม่รอด ค�ำถามคือ เวลาคนมาซื้อ จะมาซือ้ เพือ่ อะไร ก็เพราะเขาคิดว่ากิจการ ยั ง มี ท างรอด ซึ่ ง ผมอยู ่ ต รงนี้ ผมรู ้ ว ่ า ต้องรอด แต่ในขณะเดียวกัน คนที่ขาย เขาคิดว่าไม่รอด เพราะถ้าเขาคิดว่าต้องรอด เขาก็คงไม่ขายง่ายๆ แบบนี้” ดูเหมือนว่าในพจนานุกรมของ ผู้ชายคนนี้จะไม่มีค�ำว่ายากเกินไป “ส� ำ หรั บ ผมแล้ ว หากคิ ด จะ ท�ำงานต้องกล้าเจอปัญหา ต้องกล้าเจอ อุปสรรค ต้องกล้ารับผิดชอบ คนส่วนมาก จะรับแต่ชอบ ไม่รับผิด และถ้าคุณยังไม่ กล้าเจอกับปัญหา ยังไงคุณก็ไปไม่รอด ดั ง นั้ น ค� ำ ว่ า ยากส� ำ หรั บ ผมแล้ ว ผมไม่ เข้าใจว่าคืออะไร”

ดูแลเพื่อนร่วมงาน

ในสังคมทีม่ แี ต่การแก่งแย่งและ เอาตัวรอดกันอย่างทุกวันนี้ การได้รับรู้ วิ ธี ก ารปกครองพนั ก งานในแบบของ คุณพรพงษ์จึงนับเป็นเรื่องน่าชื่นชมและ เป็นแบบอย่างที่ดี “ตามที่ท�ำงานส่วนมากเขาจะ แบ่งเป็นเจ้านายกับลูกน้อง แต่ส�ำหรับ ผม ผมชอบมีเพื่อนร่วมงาน และอีกเรื่อง

วันนี้เราจ้างพนักงานมา 1 คน แต่เรายังมีอีก 5 ชีวิตที่บ้านเขา ที่เราต้องดูแล คนส่วนใหญ่ ชอบคิดกันว่าพนักงาน 1 คน ก็แค่ 1 คน ดังนั้น ถ้าเรา ไม่เอาไหน อีก 5 ชีวิตที่บ้านเขา ก็จะเดือดร้อน แต่ถ้าเราเอาไหน เขาเอาไหนด้วยกัน ก็รอดทั้งคู่

ที่ ห ลายคนลื ม คิ ด ไปก็ คื อ วั น นี้ เ ราจ้ า ง พนักงานมา 1 คน แต่เรายังมีอีก 5 ชีวิตที่ บ้านเขาที่เราต้องดูแล คนส่วนใหญ่ชอบ คิดกันว่าพนักงาน 1 คน ก็แค่ 1 คน ดังนั้น ถ้าเราไม่เอาไหน อีก 5 ชีวิตที่บ้านเขาก็จะ เดือดร้อน แต่ถ้าเราเอาไหน เขาเอาไหน ด้วยกัน ก็รอดทั้งคู่ แล้วเวลาท�ำงานคือ ท�ำงาน เวลาเลิกงานผมจะเรียกผู้บริหาร มานั่งคุยกัน ถอดต�ำแหน่งออก ทุกคนคือ เพื่อนร่วมงาน นั่งกินข้าวกัน แต่ถ้าผมนั่ง

เป็นบอส 24 ชัว่ โมง ผมจะโง่ ไม่รู้อะไรเลย” คุ ณ พรพงษ์ ก ล่ า วถึ ง การพั ฒ นาความสามารถ ของพนักงานให้ทันกับโลก ทุกวันนี้ว่า “วันนี้เราต้องเข้าใจว่า โลกเปลี่ยนแปลงไปเร็วจน พวกเราเปลี่ยนไม่ทัน นี่คือ จุดใหญ่ วันนี้เราโกอินเตอร์ ไปแล้ ว ถ้ า เรายั ง ท� ำ แบบ ไทยๆ บริ ษั ท ก็ ไ ปไม่ ร อด ปัญหาคือจะท�ำอย่างไร ซึ่ง ในแง่ของผม ผมจะแก้โดย หนึ่ง พนักงานในโรงงานของผมต้องพูด ภาษาอั ง กฤษได้ และสองคื อ เรื่ อ งของ การแข่งขัน ณ เวลานี้เป็นสงครามโลก ครั้งที่ 3 เป็นสงครามเศรษฐกิจ เมื่อก่อนมี สงครามโลกครัง้ ที่ 1 - 2 พอสงครามโลกจบ ทุกคนก็มวี นั หยุด ลุกขึน้ มาสร้างบ้านสร้าง เมืองใหม่ แต่ตอนนีส้ งครามเศรษฐกิจคือมี 24 ชั่วโมง 365 วัน ไม่มีวันหยุด ปลาใหญ่ กินปลาเล็ก คุณจะอยู่ได้อย่างไร เราจึง พยายามพูดกับพนักงานทั้งหมดว่า นี่คือ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ต้องท�ำความเข้าใจ ต้องปรับตัว เราต้องอยู่อย่างแข็งแรง” คุ ณ พรพงษ์ ไ ด้ ย กตั ว อย่ า งถึ ง เหตุการณ์ที่ผ่านมาว่า “อย่างช่วงที่มีวิกฤติเศรษฐกิจ ต้มย�ำกุ้ง ผมก็เรียกประชุมพนักงานว่า เหตุการณ์เกิดขึ้นแบบนี้ เราจะท�ำอย่างไร ชาวบ้านขาดทุน แต่เราต้องก�ำไร ผมก็ใช้ สูตรง่ายๆ คือ ค่าแรงขึน้ วัสดุขนึ้ ราคาต้อง ลด ก�ำไรต้องเพิ่ม เด็กก็งงว่าสูตรอะไร คือ ถ้าเรายังท�ำเหมือนเดิมก็จะท�ำไม่ได้ แต่ถา้ เราปรับวิธีการใหม่หมด เราจะรอด ถ้าเรา ปล่อยให้ค่าแรงขึ้น วัสดุขึ้น ราคาต้องลด

19

ก�ำไรก็ต้องหาย เราก็ตายเหมือนคนอื่น ดังนั้นก็อย่าท�ำเหมือนคนอื่น”

เมื่อถึงเวลาพัก

“ณ เวลานี้ผมไม่ได้ท�ำงานแล้ว ใครๆ ก็คิดว่าผมยังท�ำงาน” คุณพรพงษ์ กล่ า ว สิ่ ง ที่ เ ขาก�ำลั ง จะพู ด ยิ่ ง ย�้ ำ ให้ เ รา เชือ่ ว่า เขามีแนวคิดการท�ำงานทีไ่ ม่เหมือน คนอื่น “วันนี้ผมบอกลูกน้องว่าผมรีไทร์ แล้ ว นะ คุ ณ ต้ อ งไม่ พึ่ ง ผม ถ้ า ไม่ มี ผ ม คุณต้องอยู่ได้ พวกคุณเก่งกว่าผม วันนี้ ผมเป็นโค้ช ผมก�ำลังสอนความรู้ที่ผมมี ให้พวกคุณ แต่ถ้าผมท�ำงานคือผมไปนั่ง สั่ง งาน สุด ท้ า ยผมมี ลูก น้ องมากมายที่ รับฟังค�ำสั่ง แต่ผมไม่ได้ต้องการแบบนั้น” ดั ง นั้ น เมื่ อ มี เ วลา คุ ณ พรพงษ์ ก็จะท�ำงานอดิเรก อย่างเช่น สะสมของเก่า หรือออกแบบบ้านอย่างที่เขาอยากท�ำมา นาน เขาพูดว่า “ถามว่าผมพักผ่อนอย่างไร ผม ปล่อยวางนะ ผมไม่ยึดติดกับอะไร อย่าง แรกคือ อย่าให้เงินเป็นนายเรา สอง ต้อง มีค�ำว่า พอ สาม ถ้าท�ำอะไรถูกต้อง ก�ำไร ก็มาเอง ไม่ใช่แสวงหาแต่ก�ำไร” เมือ่ พูดถึงเรือ่ งก�ำไรกับการลงทุน ก่ อ นจบบทสนทนาแสนพิ เ ศษกั บ คุ ณ พรพงษ์ในวันนี้ เขายังทิ้งท้ายว่า “SCG นับเป็นกระดูกสันหลังของ ประเทศ เป็นอุตสาหกรรมใหญ่ โครงสร้าง ของบริษัทก็เป็นระบบอยู่แล้วตั้งแต่ต้น มีการเดินไปข้างหน้าอยู่ตลอด ดังนั้น ถ้า ถามว่าผมสบายใจกับการเป็นลูกค้าหุ้นกู้ ของ SCG ไหม ผมสบายใจ”


20

Money Tips

Money Tips

เรื่อง : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

21

จัดสรรเงินออม จัดทัพพอร์ตลงทุน

บนความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ด้วยปัจจัยลบจากต่างประเทศ นำ�โดยวิกฤติหนีย้ โุ รปและการ ชะลอตัวของเศรษฐกิจหลักของโลก อันได้แก่ ทางฝัง่ สหรัฐอเมริกาและ จีน ได้สง่ ผลกดดันให้กระแสเงินทุนทัว่ ทัง้ โลกเคลือ่ นย้ายอย่างรวดเร็ว จนมีผลให้ราคาสินทรัพย์ทางการเงินต่างพากันปรับตัวผันผวน ไปทั่วโลก ซึ่งรวมถึงตลาดการเงินไทยที่ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยลบ ดังกล่าวด้วยเช่นกัน ในขณะที่เมื่อมองไปข้างหน้า สภาวะตลาดยังคง ถูกปกคลุมด้วยความกังวลต่อวิกฤติหนี้ยุโรปที่ยืดเยื้อและการชะลอ ตัวของเศรษฐกิจหลักของสองประเทศใหญ่ จึงทำ�ให้การคาดการณ์ ทิศทางไม่ใช่เรื่องที่ง่ายนัก

ย้อนกลับมาดูที่ปัจจัยเศรษฐกิจ ภายในประเทศของเรา มีการประเมินใน เบือ้ งต้นว่า ในกรณีทเี่ ศรษฐกิจของสหรัฐฯ และจีนสามารถควบคุมขอบเขต ไม่ได้ รุกล�้ำจนไปกระทบโมเมนตัมการขยายตัว ของเศรษฐกิจไทยอย่างมีนัยส�ำคัญแล้ว อาจท�ำให้เกิดการปรับเปลี่ยนในท่าทีใน การก�ำหนดนโยบายทางการเงินของคณะ กรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ให้มี โอกาสพิ จ ารณาปรั บ ขึ้ น อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายสู่ระดับที่เป็นปกติมากขึ้นในปี ข้างหน้า หลังจากที่คาดว่าอัตราดอกเบี้ย นโยบายจะคงอยู่ในระดับที่ยังเอื้ออ�ำนวย ต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจของปี 2555 ในขณะเดียวกัน ประเด็นเรื่องการขยาย

เวลาคุ้มครองเงินฝากบัญชีละไม่เกิน 50 ล้านบาทที่ถูกขยายออกไปอีก (จากเดิม ที่มีการประกาศคุ้มครองเฉพาะเงินฝาก บัญชีละไม่เกิน 1 ล้านบาท ให้มีผลบังคับ ใช้ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2555) น่าจะ ช่ ว ยเสริ ม ความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผู ้ ฝ ากเงิ น ในธนาคารพาณิชย์ได้ในระดับหนึ่ง นอกเหนือจากสภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจในภาพกว้างดังข้างต้นแล้ว ปัจจัยหรือตัวแปรส�ำคัญส�ำหรับการตัดสินใจ ในการออมและการลงทุน ยังคงขึ้นอยู่กับ ลักษณะเฉพาะตัวตามแต่ละบุคคลด้วย ซึ่ ง ปั จ จั ย ดั ง กล่ า วมี ห ลายด้ า น ไม่ ว ่ า จะเป็นเรื่องอายุของผู้ลงทุน ระยะเวลาใน การลงทุน ความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนยอมรับได้

รวมทั้งผลตอบแทนที่ผู้ลงทุนคาดหวัง จึง ท�ำให้เราเห็นตลาดเงินและตลาดทุนของ ไทยออกผลิตภัณฑ์ทางการเงินมาอย่าง หลากหลาย เพื่อให้นักลงทุนเลือกและ พิจารณาตามความต้องการของตนเอง เช่น เงินฝาก พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตร ออมทรัพย์ ตราสารหนี้ระยะสั้น ตราสาร หนี้ระยะยาว กองทุนรวม หุ้น ตราสาร อนุ พั น ธ์ แ ละหลั ก ทรั พ ย์ อื่ น ๆ ตามแต่ เงื่อนไขและผลที่คาดหวังของผู้ลงทุน ซึ่ง แต่ละผลิตภัณฑ์ก็จะมีลักษณะการลงทุน ผลตอบแทน และความเสีย่ งทีแ่ ตกต่างกัน ออกไป เห็นได้ จ ากตารางเปรี ย บเที ย บ การลงทุนประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้


22

Thai Zone

Money Tips

เรื่อง : อาจารย์ปิง ดาว้องก์ ระยะเวลาที่ลงทุน

ความเสี่ยง

สภาพคล่อง

ผลตอบแทนที่ คาดหวังสุทธิ* (เฉลี่ยต่อปี)

ลดหย่อน ภาษี

ฝาก / ถอนได้ทุกวันทำ�การ

ต�่ำ

สูง

0.56%

X

3 - 12 เดือน

ต�่ำ

ปานกลาง

1.32 - 1.62%

X

3. พันธบัตรออมทรัพย์

4 - 7 ปี

ต�่ำ

ปานกลาง

3.19 - 3.83%

X

4. ตราสารหนี้เอกชน (Rating A)

1 ปี

ต�่ำ - ปานกลาง

ต�่ำ - ปานกลาง

2.64%

X

โอนเปลี่ยนมือในตลาดรอง

ขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน ขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน 3 เดือน - 1 ปี 3 เดือน - 1 ปี ขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน ขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน ขึ้นอยู่กับนโยบายการลงทุน

ต�่ำ ต�่ำ - ปานกลาง ต�่ำ - ปานกลาง ต�่ำ - ปานกลาง มาก มาก ต�่ำ - มาก

สูง สูง ต�่ำ ต�่ำ ปานกลาง - สูง ต�่ำ ต�่ำ

1.62% 2.30% 0.75 - 3.00% 1.20 - 4.30% 12.94% 10.64% 6.27%

X X X X X √ √

ซื้อตามนโยบาย กองทุนก�ำหนด (LTF ต้องถือครอง 5 ปี ปฏิทิน และ RMF ต้องถือครอง จนครบ 55 ปีบริบูรณ์)

6. ดัชนีหุ้นไทย

ซื้อขายได้ทุกวันทำ�การ

มาก

ต�่ำ - สูง

15.42% (อ้างอิงจากผลตอบแทน ดัชนี SET INDEX)

X

ซื้อขายผ่านบริษัทหลักทรัพย์

7. ทองค�ำแท่ง 96.5% (บาทต่อน�้ำหนัก 1 บาท)

ซื้อขายได้ทุกวันทำ�การ

ต�่ำ - ปานกลาง

ปานกลาง

14.25%

X

อาจมีค่าใช้จ่ายเพื่อเก็บ รักษาทรัพย์สิน

1. เงินฝากออมทรัพย์ 2. เงินฝากประจำ�

5.

กองทุนรวม - ตลาดเงิน - ตราสารหนี้ - ตราสารหนี้ที่ลงทุนในประเทศ - ตราสารหนี้ที่ลงทุนในต่างประเทศ (FIF) - ตราสารทุน - LTF - RMF

หมายเหตุ ได้รับการคุ้มครองเงินฝาก กรณีต�่ำกว่า 50 ล้านบาท

* ผลตอบแทนสุทธิหลังหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% (สำ�หรับการออมการลงทุนที่ถูกกำ�หนดให้ผลตอบแทนต้องจ่ายภาษี) โดยคำ�นวณผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี (ตั้งแต่ปี 2551 - 13 ก.ย. 2555) ยกเว้นตราสารหนี้เอกชนที่คำ�นวณในช่วงปี 2552 - เดือนกันยายน 2555 (ที่มา: BOT/AIMC/SET/CEIC/Bloomberg/สมาคมค้าทองคำ�)

โดยข้อมูลผลตอบแทนจาก ตารางข้างต้น เป็นค่าเฉลี่ยจากสถิติ ในช่วงที่ผ่านมาเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อให้การ ออมและการลงทุนให้ผลตอบแทนอย่าง ที่ ค าดหวั ง ท่ า มกลางความเปราะบาง ของเศรษฐกิจโลกและความผันผวนของ ราคาสินทรัพย์อย่างปัจจุบันนี้ ผู้ลงทุน จึงควรหาความรู้เรื่องการเงินการลงทุน และติดตามข่าวเศรษฐกิจทั้งภายในและ ภายนอกประเทศอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การ จัดสรรพอร์ตการลงทุนเป็นไปอย่างเหมาะสม ยกตัวอย่าง หากผู้ลงทุนรับความเสี่ยงได้ ในระดับที่ต�่ำ อาจพิจารณาเลือกการออม ในรูปแบบเงินฝาก (ออมทรัพย์/ประจ�ำ) พันธบัตรรัฐบาล หรือกองทุนรวม ขึน้ อยูก่ บั วิ จ ารณญาณของผู ้ อ อม ในขณะที่

ถ้ า ผู ้ ล งทุ น สามารถยอมรั บ ความเสี่ ย ง ในระดับที่สูงขึ้นได้ อาจมองหาสินทรัพย์ ประเภททองค�ำ กองทุนรวมตราสารทุน และหุ้น เพื่ อให้ ไ ด้ รั บผลตอบแทนสุ ท ธิ ในระดับที่สูงขึ้นได้ เพียงแต่การลงทุนใน ผลิตภัณฑ์ทมี่ กี ารปรับตัวของราคาผันผวน สูงตามข่าวดีข่าวร้ายจากทั้งภายในและ ภายนอกประเทศเช่นนี้ นักลงทุนจะต้อง หมั่นติดตามข่าวสารเศรษฐกิจ และหา ความรู้เรื่องการเงินอยู่อย่างสม�่ำเสมอ นอกจากนี้ ผู้ลงทุนควร

จั ด พอร์ ต การลงทุ น (Asset Allocation) ของตน โดยกระจาย การลงทุ น ไปในหลั ก ทรั พ ย์ ที่ หลากหลาย มากกว่าการมุง่ ไปยัง หลั ก ทรั พ ย์ ใ ดหลั ก ทรั พ ย์ ห นึ่ ง

เพี ย งอย่ า งเดี ย ว (Portfolio Diversification) เพื่อช่วยลด ความผั น ผวนและความเสี่ ย ง ของการลงทุน อีกทั้งนักลงทุน ควรศึกษารายละเอียดของบริษทั อย่ า งละเอี ย ดถี่ ถ ้ ว นก่ อ นการ ตั ด สิ น ใจลงทุ น ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ ให้ การลงทุนของท่านเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพมากที่สุด

สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน

เผลอแป๊ บ เดี ย วก็ จ ะสิ้ น ปี อี ก แล้ ว วันเวลาเดี๋ยวนี้ไวจริงๆ เลยนะคะ ช่วงใกล้ สิ้ น ปี อ ย่ า งนี้ ดิ ฉั น ขอใช้ โ อกาสนี้ พู ด ถึ ง สิ่งที่ถือว่าดีมากถึงมากที่สุดถ้าเราท�ำได้ คือ ความพอเพียง กับเกร็ดเรื่องของความ พอเพียงเท่าที่พอจะหาได้นะคะ ในพระพุทธศาสนา หลักธรรมส�ำหรับ คนดีที่เรียกว่า สัปปุริสธรรม ๗ มีข้อ หนึ่ ง คื อ มั ต ตั ญ ญุ ต า ซึ่ ง หมายถึ ง เป็ น ผู้รู้จักประมาณ ในพระพุทธศาสนา ได้พูดถึงหนทาง หรือเส้นทางทีด่ ที เี่ รียกกันว่า มัชฌิมา ปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ไม่มากไป น้อยไป ตึงไปหรือหย่อนไป หลั ก ธรรมส� ำ คั ญ ของพระพุ ท ธ ศาสนาทีพ่ ดู ถึงความพอเพียงโดยตรง เลยคื อ ความสั น โดษค่ ะ (สั น โดษใน ทางพระพุ ท ธศาสนาไม่ ใ ช่ อ ยู ่ ค นเดี ย ว อย่างทีบ่ างคนเข้าใจนะคะ แต่หมายความ ถึงความพอใจในสิ่งที่เรามี เราเป็น ไม่ท�ำ อะไรเกินตัวหรือเกินความสามารถค่ะ) ไม่ ใ ช่ แ ต่ พ ระพุ ท ธศาสนาเท่ า นั้ น นะคะที่พูดถึงความพอเพียง ขงจื๊อ ศาสดาชื่ อ ดั ง ของจี น ก็ ไ ด้ ส อนในเรื่ อ ง ของทางสายกลางหรือความพอเพียงไว้ เช่นเดียวกันค่ะ

1 2 3

4

5

6 7

8

ซึ่งก็มีความหมายว่า นกน้อยท�ำรัง พอสองตัวผัวเมียอยูไ่ ด้ คนทีม่ กั ใหญ่ใฝ่สงู ย่อมถูกคนหัวเราะเยาะและโดนตะเพิด ขับไล่ (หวัว...ค�ำโบราณ หมายถึง หัวเราะ ส่วนไพเพิด หมายถึง ตะเพิด ขับไล่) ท�ำแต่ พอตัวดีกว่า อย่าให้ใครมาเย้ยหยันเราได้ ว่าท�ำอะไรเกินตัว ในสังคมของเฟซบุก๊ มีการส่งข้อความ ต่อกันเพือ่ ต่อว่าคุณผูช้ ายทัง้ หลายว่า “พยัญชนะไทยตัวเดียวที่คุณผู้ชายไม่รู้จัก คืออะไร” ดิฉันก็นั่งนึก ตัวไหนนะ ตัวไหน เขาเล่นมุกอะไรกันเนี่ย พออ่านค�ำเฉลย ก็ได้แต่ยิ้ม และนึกชมคนคิดว่า คิดได้ไง ค�ำเฉลยนะคะ พยัญชนะไทยตัวเดียวที่ คุ ณ ผู ้ ช ายไม่ รู ้ จั ก คื อ พ เป็ น มุ ก ที่ ทั้ ง ข� ำ ทั้ ง เจ็ บ ปวดจริ ง ๆ เลยนะคะ...ที่ พู ด ว่ า ผู้ชายไม่รู้จัก พ (พอ) ไม่ ว ่ า ดิ ฉั น จะไปรวมเกร็ ด เรื่ อ ง ความพอเพียงมาอีกกี่เกร็ด ทุกๆ เกร็ดก็ จะพูดตรงกันว่า คนเราควรรู้จักความพอ ไม่ท�ำอะไรเกินตัว เพราะการที่เราท�ำอะไร เกินตัวหรือเกินจุดทีเ่ ราสามารถท�ำได้ ผลที่ ออกมาคื อ ความบาดเจ็ บ ที่ เ ราต้ อ งรั บ จากการกระท�ำของเราที่ “เกินพอดี” ท�ำให้ เราและคนรอบข้างเดือดร้อนได้ ไม่มกี ฎใดๆ ในโลกทีเ่ ขียนว่า “คนรวยคือคนมีความสุข คนไม่รวยคือคนทุกข์” ทุกคนสามารถมี ความสุขได้ เพียงแค่เรารู้จักพอค่ะ ฉบับนี้ ดิฉันขอลาท่านผู้อ่านไปพร้อมบทกลอน ของหลวงปู่มหาอ�ำพันนะคะ หลวงปู่ท่าน บอกว่า “คนไม่ พ อพาจนเป็ น คนเข็ ญ พอแล้วเป็นเศรษฐีมหาศาล จนทั้งนอกจนทั้งในไม่ได้การ ต้องคิดอ่านแก้จนเป็นคนพอ”

เพียง 9

เศรษฐกิจพอเพียง คือสิ่งที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระราชด�ำรัส แก่ชาวไทยมาตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ แล้วค่ะ แต่นำ� มาใช้หรือพูดถึงกันมากช่วงภายหลัง ที่ เ มื อ งไทยเราเกิ ด วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ใน ปี ๒๕๔๐ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น ที่ จดจ�ำกันในหมู่คนไทยว่า “3 ห่วง 2 เงือ่ นไข” ซึง่ ก็หมายถึง ความพอประมาณ มี เ หตุ ผ ล มี ภู มิ คุ ้ ม กั น บนเงื่ อ นไขของ “ความรู้” และ “คุณธรรม” ค่ะ ในวรรณคดีไทย คนที่ได้รับผลจาก ความไม่รู้จักประมาณหรือพอเพียง คือ ชูชก ตาแก่ใจร้ายที่เฆี่ยนตีพระชาลี และพระกัณหาในเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก และพบจุ ด จบในชี วิ ต ด้ ว ยการตาย เพราะการกิ น แบบไม่ บั น ยะบั น ยั ง จน ธาตุแตก ชูชกต้องตายเพราะความโลภ รีบกินแบบไม่ประมาณตน ไม่รจู้ กั พอเพียง ในการกินค่ะ โคลงสุภาษิตชือ่ ดังของไทยเรา โคลง โลกนิติ พูดถึงความพอเพียงไว้ว่า นกน้อยขนน้อยแต่ พอตัว รังแต่งจุเมียผัว อยู่ได้ มักใหญ่ย่อมคนหวัว ไพเพิด ท�ำแต่พอตัวไซร้ อย่าให้คนหยัน

23


24

Cover Story

Cover Story

เรื่อง : พัดชา พาสธร

พอเพียง...ที่เพียงพอ

ตามรอยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เราคงเคยได้ยินค�ำว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” มาหลายต่อหลายครั้ง และทุกคนก็พูดเป็นเสียงเดียวกันว่ามาจากแนวพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นสิ่งที่ดีที่ควรปฏิบัติ แต่รู้หรือไม่ว่า “พอเพียง” คืออะไร แล้วอย่างไรจึงจะ “เพียงพอ” “...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขัน้ ต้องสร้างพืน้ ฐาน คือ ความ พอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบือ้ งต้นก่อน โดยใช้วธิ กี ารและใช้อปุ กรณ์ ทีป่ ระหยัด แต่ถกู ต้องตามหลักวิชา เมือ่ ได้พนื้ ฐานมัน่ คงพร้อมพอควรและปฏิบตั ไิ ด้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชด� ำ รั ส ว่ า ด้ ว ย เศรษฐกิจพอเพียงครัง้ แรกเมือ่ ปี 2517 ช่วง ที่ประเทศไทยอยู่ในระยะประชาธิปไตย เบ่งบาน หลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งมีการชุมนุมเรียกร้องบ่อยครั้ง สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาต่างๆ รวมทัง้ ด้าน เศรษฐกิจที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว แต่เกิดช่องว่างการกระจายรายได้ของ ประชาชน ความส� ำ คั ญ ของพระบรมราโชวาทนี้อยู่ที่ว่า แนวทางพัฒนาที่เน้น การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ เพียงอย่างเดียวอาจเกิดปัญหาได้ จึงควร สร้างพื้นฐานความพอมี พอกิน พอใช้ของ

ประชาชนส่ ว นใหญ่ ใ นประเทศเป็ น เบื้องต้นก่อน แล้วค่อยสร้างความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น

พอเพียง = พอประมาณ มีเหตุผล

มีคนเคยตีความค�ำว่า “พอเพียง” ไว้ว่า “ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อัน เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ภายนอก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่าง

25


26

Cover Story

Cover Story

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี

มีเหตุผล

ความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง

คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน

น�ำไปสู่ เศรษฐกิจ/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง

ยิ่งในการน�ำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด�ำเนิน การทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจ ของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และ นักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีส�ำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม...” ความพอประมาณ คือ ความพอดี ความพอเหมาะ ค�ำว่าพอ แปลว่า มี ไม่ได้ขาด แต่มีในลักษณะที่เหมาะสม ไม่มากไปหรือ น้อยไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ความมีเหตุผล คือ การพิจารณาปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องและผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ ด้วยความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน การมีภูมิคุ้มกัน คือ การเตรียมพร้อมที่จะรับผลกระทบและการ เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น คาดคะเนปัญหาที่จะเกิดในอนาคต และค�ำนึงถึงเหตุสุดวิสัยต่างๆ ด้วย

แค่ไหนถึงจะเพียงพอ

“...พอเพี ย งนี้ อ าจจะมี ม าก อาจจะมี ข อง หรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอ ประมาณตามอัตภาพ...” พระราชด� ำ รั ส เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541 มีค�ำถามมากมายเกิดขึ้นเมื่อกล่าวถึงการ ด�ำเนินชีวติ ด้วยความพอเพียง ซึง่ ในความเป็นจริงแล้ว เส้นแบ่งของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน บุคคลที่เพียบ พร้อมที่สุดอาจใช้ชีวิตเรียบง่ายที่สุด ดังเช่นพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ซึ่ ง ดร.สุ เ มธ ตั น ติ เ วชกุ ล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา เคยเล่าถึงความพอเพียง ของพระองค์ผ่านการสัมภาษณ์ในนิตยสารแพรวว่า “เมื่อปี 2524 ผมได้รับการมอบหมายจาก รั ฐ บาลให้ ไ ปตามเสด็ จ ถวายงานเป็ น ครั้ ง แรก ผม พยายามจ้องมองทุกสิ่งทุกอย่างถึงพระราชจริยวัตร ต่างๆ เครื่องใช้ต่างๆ ของพระองค์ท่าน จนกระทั่งทรง รู้สึกพระองค์ว่าผมจ้องดูข้อพระหัตถ์ว่าทรงใช้นาฬิกา อะไร ก็ทรงยื่นให้ดูเลย ผมจึงจ�ำแบบและรุ่นไว้ แล้วไป ดูทรี่ า้ นขาย ปรากฏว่า 750 บาทเอง นีค่ อื พระเจ้าแผ่นดิน ไทยนะ ผมตกใจว่าทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน สามารถ มีของใช้สารพัด ราคาแพงแค่ไหนก็ได้ แต่ไม่ทรงใช้ เวลาเสวย เครื่องเสวยก็เรียบง่าย ธรรมดา ไม่ทรงใส่ พระราชหฤทัยว่าบนโต๊ะเสวยมีอะไรบ้าง ไม่เคยทรงปรุง หรือแต่งเติมอะไร ดูๆ แล้วพระองค์ทา่ นทรงเหมือนพระ ละซึ่งอะไรต่างๆ แล้ว เสวยของเรียบง่าย อาจมีบ้างที่มี รับสั่งว่า นั่นอร่อยนะ” หรือคนที่เคยมีชีวิตสุขสบายบนธุรกิจหลาย พันล้านก็สามารถเลือกด�ำเนินธุรกิจด้วยความพอเพียง ไม่มงุ่ หวังแต่ผลก�ำไรโดยไม่คำ� นึงถึงผูบ้ ริโภค และเลือก ใช้ชีวิตที่สมถะ อย่างไรก็ตาม สิ่งส�ำคัญที่สุดคือการ ด�ำเนินชีวติ และธุรกิจแบบไม่เบียดเบียนผูอ้ นื่ ขึน้ อยูก่ บั วิถีที่จะเลือกเดิน ใช้ ชี วิ ต พอเพี ย ง...เริ่ ม ต้ น วั น นี้

ที่ตัวเรา

พัฒนาคนให้มีคุณธรรมก�ำกับความรู้ คือหัวใจของหลักพอเพียง เพราะเยาวชนคื อ อนาคต ของชาติ เราจึ ง ต้ อ งช่ ว ยกั น บ่ ม เพาะ เยาวชนคนรุ่นใหม่ให้มีคุณลักษณะที่ จะสามารถน�ำพาสังคมไทยให้ก้าวหน้า อย่างยั่งยืน ส�ำนักงานทรัพย์สินส่วน พระมหากษัตริย์ ร่วมกับมูลนิธิสยาม กัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ และ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ริเริ่มโครงการ เสริ ม ศั ก ยภาพขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ

นายศุภณัฐ ศศิพงศ์พนา (เฟรม) วิทยาลัยนาโนเทคโนโลยี พระจอมเกล้าลาดกระบัง นักเรียนทุนเศรษฐกิจพอเพียง รุ่นที่ 1 ปี 2554 “หลังจากที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม การพัฒนาชุมชน พัฒนาศักยภาพของ ตนเอง เข้าไปท�ำงานร่วมกับชุมชน เราไม่ เคยทราบปัญหาที่แท้จริงมาก่อน ตอนนี้ ได้สัมผัสจริง ได้เป็นส่วนหนึ่ง ผมได้เรียนรู้ หลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา เข้าถึง แก่นแท้ของสิ่งที่เราต้องการ และน�ำเอา สิ่งเหล่านั้นมาพัฒนาตัวเอง “หลายคนอาจมีความคิดความ เข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงแตกต่างกันไป แต่เราควรจะนิยามเศรษฐกิจพอเพียงของ ตัวเองเพือ่ เป็นหลักยึดถือ อาจเป็นแนวทาง การใช้ ชี วิ ต ให้ เ รามี ค วามสุ ข โดยที่ ไ ม่ เดือดร้อนใคร”

พอเพียงสู่สถานศึกษามาตั้งแต่ปี 2551 ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการคื อ การมอบทุ น การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ซึง่ ผูท้ ไี่ ด้รบั ทุ น จะมี โ อกาสได้ ศึ ก ษาพื้ น ที่ โ ครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ หลั ก การ ทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นสิ่งที่ช่วยเพิ่มคุณค่าให้กับชีวิต เพื่อ จะเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต

นางสาวพรสวรรค์ พฤกษาด�ำรงกาย (กิจา) คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นักเรียนทุนเศรษฐกิจพอเพียงรุ่นที่ 2 ปี 2555 “ที่ ไ ด้ รั บ เลื อ กเพราะท� ำ กิ จ กรรม โครงงานคุณธรรม ได้แข่งในระดับประเทศ มีการอบรมเกี่ยวกับการท�ำน�้ำยาสระผม สบู่ เริ่มจากตัวเราแล้วน�ำกลับมาเผยแพร่ให้คน ในโรงเรียนผลิตเอง จากนั้นก็ส่งตลาด เงินที่ได้ ก็นำ� มาพัฒนาโรงเรียนต่อไป ตัง้ ใจว่าจะพัฒนา ตนเอง พยายามเรี ย นให้ ไ ด้ เรี ย นจบแล้ ว จะกลับไปพัฒนาชุมชนค่ะ “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งที่ใกล้ตัว ทุกวันเราสามารถพอเพียงได้ ไม่จ�ำเป็นต้อง ปลูกผักหรือท�ำการเกษตรเท่านั้น” นี่ เ ป็ น เสี ย งสะท้ อ นจากเยาวชน ต้ น แบบที่ จ ะน� ำ พาประเทศไทยไปสู ่ ค วาม ก้าวหน้าในอนาคต ด้วยความพอเพียง

27


28

Focus

Focus

เรื่อง : ทัศนัย ขำ�ชื่น ภาพ : วิภัทร พันธุ์นราวิกิจ

เศรษฐกิจพอเพียงเข้มแข็ง ด้ ว ยแรงผลั ก ดั น ของภาคการศึ ก ษา

แม้ ค นไทยจะคุ ้ น เคยกั บ หลั ก ปรั ช ญา เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้าอยู่หัว แต่จะมีสักกี่คนที่เข้าใจและเข้าถึง แก่นแท้จนสามารถน้อมน�ำมาใช้กับชีวิตได้อย่าง มีประสิทธิผล เหนือสิ่งอื่นใด หัวใจส�ำคัญในการ ท�ำให้ปรัชญานี้เข้าถึงคนหลายกลุ่มได้อย่างเป็น รูปธรรม โดยเฉพาะกับลูกหลานของเราในภาย ภาคหน้านัน้ แน่นอนว่า ต้องมุง่ เน้นทีภ่ าคการศึกษา เป็นอันดับแรก

วั น นี้ ที ม งานมี โ อกาสพู ด คุ ย ในประเด็นเรือ่ งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับภาคการศึกษา โดยเราได้รับเกียรติ เป็นอย่างสูงจาก ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ นายแพทย์ เ กษม วั ฒ นชั ย ประธาน คณะกรรมการมู ลนิ ธิ ปิ ดทองหลั ง พระฯ ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา กรรมการ มู ล นิ ธิ ป ิ ด ทองหลั ง พระฯ และ ม.ร.ว. ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล ประธานกรรมการ สถาบั น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นากิ จ กรรม ปิดทองหลังพระฯ ถึงแนวคิดและวิธีการ ปูรากฐานการศึกษาไทยให้เข้มแข็งอย่าง มั่นคงและยั่งยืน

29


30

Focus

Focus

ขับเคลื่อนปรัชญาด้วยหลักสูตร การศึกษา

ปัจจุบัน ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพี ย งได้ ถู ก น้ อ มน�ำไปใช้ ใ นองค์ ก ร ต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะ ภาคการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ปรัชญาอัน ทรงคุณค่านีเ้ ข้าถึงเยาวชนอย่างกว้างขวาง ศ. นพ.เกษมเล่าถึงเรื่องนี้ว่า “ตอนนี้ เ ราตั้ ง เป้ า หมายใน การกระจายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าสู่หลักสูตรการศึกษาไว้ 2 ระดับ ระดับ แรกคื อ มหาวิ ท ยาลั ย มุ ่ ง เน้ น การจั ด หลักสูตรและน�ำไปใช้ในรูปแบบที่หลากหลาย ตอนนี้มีสถาบันที่ด�ำเนินการอย่าง เป็ น รู ป ธรรมแล้ ว เช่ น สถาบั น บั ณ ฑิ ต พัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) มหาวิทยาลัย แม่โจ้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่วนระดับ ที่ 2 คือการน�ำแนวคิดและหลักสูตรเศรษฐกิจ พอเพียงไปเผยแพร่ให้เยาวชนในโรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อาชีวศึกษา” หากจุ ด เริ่ม ต้นในการเผยแพร่ ปรั ช ญานี้ สู ่ ชุ ม ชนและสั ง คมคื อ ภาค การศึ ก ษา การมี โ รงเรี ย นที่ เ สมื อ นเป็ น ศูนย์กลางการเรียนรู้ จึงเป็นกลยุทธ์ใน การด�ำเนินงานที่ช่วยกระจายแนวคิดและ หลักการต่างๆ ให้แตกสาขาออกสู่สังคม เป็นวงกว้าง ดร.จิรายุกล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพียงมีความส�ำคัญมาก เราต้องการ เผยแพร่ให้ได้ในวงกว้างที่สุด ไม่ใช่แค่ เชิงความคิดเท่านั้น แต่เราต้องผลิตคนที่ สามารถน�ำปรัชญานีไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างเป็นรูปธรรมทัง้ ในเวลานีแ้ ละอนาคต จึงเกิดการร่วมมือกันของหน่วยงานภาคี ประกอบด้วย ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการสนับสนุน

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมีความส�ำคัญมาก เราต้องการเผยแพร่ให้ ได้ใน วงกว้างทีส่ ดุ ไม่ใช่แค่เชิงความคิด เท่านั้น แต่เราต้องผลิตคนที่ สามารถน�ำปรัชญานี้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม ทั้งในเวลานี้และอนาคต การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงด้านการ ศึกษาและเยาวชน ส�ำนักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ และมูลนิธิสยาม กัมมาจล ร่วมก�ำหนดและคัดกรองโรงเรียน ทีส่ ามารถเป็นศูนย์การเรียนรูเ้ รือ่ งปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งขณะนี้ มูลนิธิ ปิดทองหลังพระฯ ได้เข้ามาช่วยดูแลเรื่อง การเชื่ อ มประสานโครงการของภาค การศึกษาสู่ชุมชน “ตอนนี้ เ รามาถู ก ทางแล้ ว มี โรงเรี ย นที่ พั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้ า นการศึ ก ษา 16 แห่ ง ซึ่ ง เป็ น ระดั บ

มัธยมศึกษาตอนปลาย ทีผ่ า่ นการประเมิน อย่างเข้มข้นเพื่อให้ได้มาตรฐานของศูนย์ การเรี ย นรู ้ ฯ และสอดคล้ อ งกั บ ระบบ การศึกษา โดยเราตั้งเป้าหมายว่า ภายใน 4 ปี ข ้ า งหน้ า จะเพิ่ ม ปริ ม าณศู น ย์ ก าร เรียนรู้ฯ ในทุกระดับชั้นประมาณ 84 แห่ง” ถึ ง ตรงนี้ ห ลายคนอาจมี ข ้ อ สงสั ย ว่ า สถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ป็ น ศู น ย์ การเรียนรู้ฯ นั้นจะช่วยส่งเสริมปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งอย่ า งไร ซึ่ ง ดร.จิรายุได้ไขข้อสงสัยในส่วนนี้ว่า “เราคิดเป็นระบบและท�ำการบ้าน อย่างหนัก หนึ่งศูนย์การเรียนรู้ฯ ที่ได้รับ เลือกนั้นจะช่วยโรงเรียนในบริเวณรอบๆ ได้ประมาณ 10 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้ฯ จะเป็นสถานที่ที่โรงเรียนอื่นหรือชาวบ้าน ละแวกนั้ น มาขอค� ำ แนะน� ำ และความรู ้ ต่างๆ ได้ นีค่ อื หนึง่ ในกระบวนการกระจาย องค์ ค วามรู ้ สู ่ ชุ ม ชน ขณะเดี ย วกั น ทาง มูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ก็จะดูแลในส่วน ของการพัฒนาและยกระดับชุมชนด้วย ไม่ได้รอให้โรงเรียนที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ เข้าไปจัดการอย่างเดียว เราท�ำควบคู่กัน”

“ทุนเศรษฐกิจพอเพียง” หนึ่งใน แรงผลักดันปรัชญาสู่ชุมชน การผลิ ต บุ ค คลที่ ส ามารถน�ำ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเผยแพร่สู่ ชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรมคือเป้าหมาย ส�ำคัญของการด�ำเนินงาน การมอบทุน การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง (ทพพ) จึง เสมือนแรงผลักดันที่ส่งเสริมให้ผู้ที่ได้รับ ทุนซึ่งมีใจคุณธรรมและจิตอาสาอยู่แล้ว ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ ก ลั บ ไปพั ฒ นา ภูมิล�ำเนาของตัวเอง หรือท�ำงานที่เป็น ประโยชน์ ต ่ อ สั ง คมหลั ง จบการศึ ก ษา พร้ อ มทั้ ง ให้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมบ�ำเพ็ ญ

31

ผมมองว่า ถ้ามีคนอย่าง เด็กเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ก็จะยิ่ง ส่งเสริมเจตนารมณ์ในการน�ำ เศรษฐกิจพอเพียงกระจายสู่ ชุมชนที่มีความหลากหลาย ให้แข็งแกร่งขึ้น

ประโยชน์ แ ก่ ชุ ม ชน ดร.จิ ร ายุ เ ล่ า ถึ ง ทุ น เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ซึ่ ง ต่ า งจากทุ น การศึกษาอื่นๆ ว่า “โรงเรียนที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ มี ค วามเข้ ม ข้ น ในการคั ด เลื อ กเด็ ก ที่ จ ะ ได้รับทุนมาก เด็กทั้ง 12 คนที่ได้รับทุน ในวันนีเ้ ขาไม่รมู้ าก่อนว่าจะได้รบั ทุนรุน่ ที่ 1 ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ เ ขาคิ ด และท� ำ ทั้ ง หมดล้ ว น มาจากใจ ซึง่ เขาก็ได้พสิ จู น์ตวั เองมา 5 เทอม แล้วว่ามีจิตอาสาด้านนี้ การมอบทุนใน กรณีอื่นจะวัดที่การสอบหรือเรียนได้เกรด เฉลีย่ ดี แต่สำ� หรับทุนเศรษฐกิจพอเพียงนัน้ ไม่ใ ช่ ทุกอย่า งเกิด จากเนื้อ แท้ของเขา ที่ ต ้ อ งการจะมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นา ชุมชนและสังคม” ขณะเดียวกัน ม.ร.ว.ดิศนัดดา ก็ได้เล่าเสริมถึงประเด็นนี้ว่า “เราเรียนรู้ที่จะพัฒนาทุกอย่าง ให้เป็นรูปธรรม ผมจึงรับเด็ก 12 คนนี้ จากโรงเรียนทีเ่ ป็นศูนย์การเรียนรูฯ้ ​ ส่งไปให้ มูล นิธิปิด ทองหลัง พระฯ เพื่อ ฝึกให้เ ขา เรี ย นรู ้ แ ละสั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า น

จากนัน้ น�ำมาสรุปเป็นแบบแผนในการเชือ่ ม สิ่งที่ต้องท�ำอย่างแรกคือ จะท�ำ ประสานโครงการต่างๆ ซึง่ ก็ตอ้ งยอมรับว่า อย่างไรให้พวกกู้กินกู้ใช้ยกระดับ เด็ก 12 คนนี้มีพื้นฐานองค์ความรู้ด้าน ขึ้นมาเป็นพวกพอกินพอใช้ การขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งปัญหานี้แน่นอนว่าแก้ ได้ด้วย จากโรงเรียนมาอย่างดี การที่เขาได้รับ เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญานี้ ทุนเศรษฐกิจพอเพียง ยิ่งเป็นแรงผลักดัน มีคุณค่าและช่วยแก้ ไขได้ ให้ เ ขามุ ่ ง เน้ น การกระท� ำ ทุ ก อย่ า งบน ทุกอย่าง แม้กระทั่งวิกฤติ เป้าหมายของความพอเพียง เขาจะไม่ เศรษฐกิจโลกที่ก�ำลังเผชิญอยู่ วอกแวก ทุกโครงการและกิจกรรมที่ท�ำ เน้ น การปฏิ บั ติ โ ดยน� ำ ชุ ม ชนเป็ น ตั ว ตั้ ง ผมมองว่า ถ้ามีคนอย่างเด็กเหล่านี้เพิ่ม มากขึน้ ก็จะยิง่ ส่งเสริมเจตนารมณ์ในการน�ำ ในเรือ่ งใด เพือ่ น�ำพาปรัชญาของเศรษฐกิจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกระจายสู่ พอเพี ย งเข้ า ไปสู ่ ชุ ม ชนอย่ า งเข้ ม แข็ ง ชุมชนทีม่ คี วามหลากหลายให้แข็งแกร่งขึน้ ” ศ. นพ.เกษมแสดงทรรศนะต่อเรื่องนี้ว่า “โดยส่วนตัวผมนิยามความหมาย ความสอดคล้องขององค์ความรู้ ของความรู ้ ไ ว้ ว ่ า คื อ ระบบการศึ ก ษา และภูมิสังคม ส่ ว นเทคโนโลยี คื อ ระบบงานวิ จั ย และ โลกในทุ ก วั น นี้ พั ฒ นาไปไกล การต่อยอด บ้านเมืองเราพัฒนามานาน สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลงตามกระแส หลายทศวรรษ เราได้สิ่งที่เรียกว่าความรู้ ทุ น นิ ย ม ค�ำถามคื อ ท่ า มกลางบริ บ ท มากมายหลายแขนง ก่ อ นหน้ า นั้ น เรา ของสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ใช้เทคโนโลยีจากชาวบ้านรุ่นปู่ย่าตายาย ระบบการศึกษาของเมืองไทยต้องแก้ไข หรือที่เรียกกันว่า ภูมิปัญญาชาวบ้าน แต่


32

Focus

ปัจจุบัน ระบบการศึกษาของบ้านเรารับ ความรู้และวิถีต่างๆ จากตะวันตกมาใช้ เสียส่วนใหญ่ ซึ่งบางครั้งก็ไม่สอดคล้อง กับภูมสิ งั คมทีส่ ร้างขึน้ โดยคนรุน่ ปูย่ า่ ตายาย ของเรา สถาบันการศึกษาไม่ได้ผลิตคนที่ มี ห ลั ก ความรู ้ ข องเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ออกมามากเท่าที่ควร บัณฑิตส่วนใหญ่ เรียนจบมาเพือ่ ท�ำงานให้คนทีร่ วยแล้ว เรา ต้องน�ำระบบการศึกษาที่มีหลักของความ สากลมาต่อยอดกับภูมิปัญญาคนรุ่นปู่ย่า ตายาย และเพิ่มคนที่จะผลักดันปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรมใน ภาพรวมของประเทศ ตั ว อย่ า งที่ ก� ำ ลั ง ด�ำเนินการอยู่ก็คือ จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ฯ และมอบทุ น เศรษฐกิ จ พอเพี ย งให้ เ ด็ ก ที่ มี ใ จอาสา ซึ่ ง จะท� ำ หน้ า ที่ เ ชื่ อ มโยง องค์ความรู้ด้านต่างๆ สู่ชุมชนและสังคม”

คือ เราจะสร้างสมดุลให้ความพอเพียง เติบโตอยู่ในโลกของทุนนิยมได้อย่างไร ดร.จิ ร ายุ แ สดงความเห็ น ต่ อ เรื่ อ งนี้ อย่างน่าสนใจว่า “จริ ง ๆ แล้ ว ทุ น นิ ย มมี ทั่ ว โลก นะครับ ไม่ใช่แค่ในประเทศไทย ความ ต้องการคนเรามีไม่จ�ำกัด บางครั้งก็มีการ แสวงหาผลประโยชน์ เ ข้ า มาเกี่ ย วข้ อ ง มากมาย แต่ความจริงคือ แม้เราจะท�ำให้ ทุ น นิ ย มหมดไปไม่ ไ ด้ แต่ เ ราสามารถ จัดการให้ความพอเพียงอยู่บนโลกของ ทุนนิยมได้ ถามว่าอยู่อย่างไร ตอบง่ายๆ คื อ ทุ น นิ ย มต่ า งๆ ต้ อ งอยู ่ บ นศี ล ธรรม ความดีงาม รูจ้ กั การแบ่งปัน ต้องยอมรับว่า หลายสิ่งหลายอย่างก้าวมาถึงทุกวันนี้ได้ ส่วนหนึ่งก็เพราะทุนนิยมที่มีการแบ่งปัน เราทุ ก คนสามารถสร้ า งศั ก ยภาพด้ ว ย ทุนนิยม แต่ทงั้ หมดต้องอยูภ่ ายใต้กฎเกณฑ์ ทุ น นิ ย มสร้ า งสรรค์ บ นความ ที่ไร้การเบียดเบียน รุกล�้ำ เรียกง่ายๆ ก็คือ พอเพียง ทุนนิยมแบบพอเพียงนั่นเอง” การสนทนาเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ค�ำว่าทุนนิยมท�ำให้เกิดค�ำถาม และภาคการศึ ก ษาในวั น นี้ ชวนให้ เ รา ต่อยอดไปถึงเรื่องช่องว่างระหว่างคนรวย นึกถึงค�ำว่าทุนนิยม ค�ำถามที่เกิดจากนั้น กั บ คนจน ปั ญ หานี้ ห ลายหน่ ว ยงาน

พยายามแก้ไขมาเป็นเวลานาน ทว่ายัง ไม่คลี่คลายเท่าใดนัก แน่นอนว่า หนึ่งใน ทางแก้ที่ยั่งยืนคือ พัฒนาระบบการศึกษา ทีม่ หี ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น หัวใจส�ำคัญ ศ. นพ.เกษมกล่าวถึงเรื่องนี้ ทิ้งท้ายก่อนจบบทสนทนาว่า “การแก้ปญ ั หาเรือ่ งความยากจน ไม่ใช่การท�ำให้คนรวยจนลง แต่เราต้อง คิดว่า จะท�ำอย่างไรให้คนจนใช้ชวี ติ อยูแ่ บบ ไม่ล�ำบาก ผมแบ่งฐานะออกเป็น 3 พวก ง่ายๆ คือ พวกกู้กินกู้ใช้ พวกพอกินพอใช้ และพวกอยู่ดีกินดี สิ่งที่ต้องท�ำอย่างแรก คือ จะท�ำอย่างไรให้พวกกูก้ นิ กูใ้ ช้ยกระดับ ขึ้นมาเป็นพวกพอกินพอใช้ ซึ่งปัญหานี้ แน่นอนว่าแก้ได้ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญานีม้ คี ณ ุ ค่า และช่วยแก้ไขได้ทกุ อย่าง แม้ ก ระทั่ ง วิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ โลกที่ ก� ำ ลั ง เผชิญอยู่ ข้อส�ำคัญอีกข้อคือ ระบบการ ศึกษาต้องให้ความส�ำคัญกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และผลิตคนที่สามารถ เรียนจบออกมาช่วยเหลือคนจนให้พน้ จาก วิกฤติกู้กินกู้ใช้ได้อย่างยั่งยืน ตรงนี้เองคือ ประเด็นที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศ และ อยากฝากให้ทุกคนเก็บไปคิด” แม้โลกและสังคมจะเผชิญ

กับความเปลีย่ นแปลงในลักษณะใด ทว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ก็ ส ามารถใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ อย่ า งเป็ น รู ป ธรรมได้ เ สมอ ซึ่ ง ภาคการศึกษาถือเป็นก�ำลังส�ำคัญ หน่วยหนึง่ ในการผลักดันปรัชญา อันล�้ำค่านี้สู่ทุกพื้นที่ของสังคม เพื่ อ สร้ า งดอกผลอั น ดี ง ามให้ คนไทยเก็บเกี่ยวได้ทุกฤดู


34

10 Things

10 Things

๑๐ รอยทางของ “พ่อ” เรื่อง : จักรวาล

ดิ น สอไม้ เ พี ย ง 12 แท่ ง ต่ อ ปี เ ท่ า นั้ น เรือ่ งดังกล่าวสอนให้เราใส่ใจรายละเอียด รอบตั ว ในชี วิ ต ให้ ม ากขึ้ น เพราะค� ำ ว่ า ประหยัดสามารถเริม่ ได้จากสิง่ เล็กๆ รอบตัว

ต้นแบบแห่งความพอเพียง

กล้องถ่าย ภาพ

เพราะนิยามของค�ำว่า “ความพอเพียง” ไม่ใช่การไม่ใช้อะไรเลย แต่คือการ “รู้จักใช้” ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ให้สิ้นเปลืองน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็น ไปได้ 10 Things ฉบับนี้ ขอหยิบยก 10 สิ่งจาก 10 เรือ่ งราวทีส่ ะท้อนแบบอย่างแห่งความพอเพียง ของ “พ่อ” พระบิดาของปวงชนชาวไทย มาเล่าเป็น แรงบันดาลใจสู่กันฟัง

ฉลองพระบาท

หลอดยาสีพระทนต์

หลอดยาสีฟนั ทีแ่ บนเรียบราวกับ กระดาษขาว อั น เป็ น ผลมาจากการใช้ ด้ามแปรงสีฟันช่วยรีดช่วยกดจนเป็นรอย บุ๋มลึกลงไปถึงคอหลอด เป็นตัวอย่างแรก ที่ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง พระราชจริ ย วั ต รที่ ตั้งอยู่บนหลักการของ “ความพอเพียง” มีเรื่องเล่าขานกันว่า ครั้งหนึ่งมหาดเล็ก ประจ�ำห้องสรงเห็นว่ายาสีพระทนต์ของ พระองค์ใช้หมดแล้ว จึงได้น�ำหลอดใหม่ มาเปลี่ยนให้ แต่เมื่อพระองค์ทรงทราบ ก็ให้มหาดเล็กน�ำยาสีพระทนต์หลอดเก่า มาคืน และทรงใช้ต่อไปได้อีกถึง 5 วัน พระราชจริยวัตรนี้ช่วยเตือนใจให้เรารู้จัก ประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือยเกินความจ�ำเป็น

รองเท้าหนังสีด�ำ ยี่ห้อผลิตใน เมืองไทย สนนราคาไม่นา่ แพง สภาพช�ำรุด ทรุดโทรมจากการถูกใช้งานมาอย่างหนัก หลายสิบปี ภายในรองเท้าผุกร่อนหลุด ลอกหลายแห่ง ถูกน�ำมาวางอยู่หน้าช่าง ท�ำรองเท้า หากเป็นคนทั่วไปแน่ใจได้เลย ว่ า คงเลื อ กที่ จ ะทิ้ ง ไปแล้ ว แต่ พ ระองค์ มีรับสั่งให้มหาดเล็กน�ำมาซ่อมเพื่อใช้งาน ต่อ ภายหลังช่างรองเท้าได้รู้ว่ารองเท้า คู ่ นี้ คื อ ฉลองพระบาทคู ่ โ ปรด ซึ่ ง ฉลอง พระบาทคู่นี้ได้ถูกส่งซ่อมครั้งแล้วครั้งเล่า จนไม่สามารถซ่อมได้อีก พระองค์จึงทรง เลิ กใช้ อั น เป็ น ตั วอย่ างของการใช้ ข อง ทุกชิ้นอย่างคุ้มค่าที่สุด

35

กระป๋องคนจน

นาฬิกา

นาฬิกาตัง้ โต๊ะขนาดเล็ก สามารถ เล่นเพลงได้ แต่เดินไม่ได้มาหลายปีแล้ว ได้ ถูกปลุ กให้ กลั บมามี ชีวิ ตใหม่ อีกครั้ง นอกเหนื อ ไปจากการใช้ ส อยทุ ก อย่ า ง ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดแล้ว เป็นเพราะ นาฬิกาที่ดูธรรมดาแต่แสนมีค่าส�ำหรับ พระองค์เรือนนี้ เป็นนาฬิกาทีพ่ ระราชบิดา และพระราชมารดาพระราชทานให้ เมื่อยังทรงพระเยาว์ พระองค์จึงทรงรัก นาฬิกาเรือนนี้มาก

จักรยาน

สมั ย ทรงพระเยาว์ ในหลวง กราบทู ล สมเด็ จ พระบรมราชชนนี ว ่ า อยากได้จกั รยาน สมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงตอบว่ า ให้ เ ก็ บ เงิ น ค่ า ขนมเพื่ อ ซื้ อ จั ก รยานด้ ว ยพระองค์ เ อง อี ก ทั้ ง ช่ ว ง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ในหลวงทรงใช้การปัน่ จักรยานแทนการประทับรถยนต์พระที่นั่ง เพื่อเสด็จฯ ไปโรงเรียน นอกจากจะเป็น ต้ น แบบการอดออมเพื่ อ อนาคตแล้ ว ยั ง ทรงเป็ น ตั ว อย่ า งของการประหยั ด พลังงานในเวลาวิกฤติอีกด้วย

Coronet Midget คือกล้อง ถ่ า ยรู ป ตั ว แรก ที่ ท ร ง ซื้ อ ด ้ ว ย เงิ น สะสมส่ ว น พระองค์ใ นขณะ ที่ มี พ ระชนมายุ เพียง 8 พรรษา และใครบ้างจะรูว้ า่ ทรงเคย เป็นช่างภาพของหนังสือพิมพ์สแตนดาร์ด ที่มีเงินเดือนเพียง 100 บาท เรื่องนี้สอนให้ คนทั่วไปอย่างเราๆ ได้มุ่งมั่นตั้งใจท�ำงาน มีความอดทน ไม่หมิ่นเงินน้อย

สมเด็ จ พระบรมราชชนนี ท รง สอนให้พระองค์รู้จักค�ำว่า “ให้” จะทรง ตัง้ กระป๋องออมสินทีช่ อื่ ว่า“กระป๋องคนจน” คื อ หากทรงน� ำ เงิ น ไปท� ำ อะไรแล้ ว ได้ ก�ำไรมา จะต้องถูกเก็บภาษี 10% ใส่ลง ในกระปุ ก ใบนี้ เมื่ อ ถึ ง สิ้ น เดื อ นสมเด็ จ พระบรมราชชนนีจะทรงถามว่า จะเอาเงิน ในกระป๋องนี้ไปท�ำอะไร เช่น บริจาคแก่ เด็ ก ก� ำ พร้ า ท� ำ กิ จ กรรมเพื่ อ คนยากจน อันเป็นต้นแบบของการแบ่งปันสิ่งที่เรา เรือใบซุปเปอร์มด มีเหลือ เผื่อแผ่แก่คนอื่นในสังคม พ ร ะ อ ง ค ์ โ ป ร ด กี ฬ า เ รื อ ใ บ เป็นพิเศษ ทรงต่อเรือใบด้วยฝีพระหัตถ์ ของพระองค์ เ อง ด้ ว ยเครื่ อ งมื อ ช่ า งไม้ ธรรมดาและวัสดุราคาประหยัดที่หาได้ ภายในประเทศ และทรงเป็ น ตั ว แทน ประเทศไทยลงแข่ ง ขั น เรื อ ใบในกี ฬ า แหลมทอง และพระองค์ทรงได้รับรางวัล ชนะเลิศเหรียญทองในการแข่งขันด้วย เรื่ อ งนี้ ช ่ ว ยสอนให้ เ ราใส่ ค วามมานะ บากบัน่ เต็มทีก่ บั สิง่ ทีเ่ รารักอย่างสุดก�ำลัง ความสามารถ ดินสอไม้ พระองค์ โ ปรดการใช้ ดิ น สอ กังหันน�้ำชัยพัฒนา พระองค์ทรงเป็นกษัตริยอ์ งค์แรก มากกว่าปากกา ด้วยเหตุทวี่ า่ เมือ่ เขียนผิด ยังสามารถลบออกได้ จะทรงใช้ดินสอจน ของโลก ทีไ่ ด้รบั สิทธิบตั รผลงาน “กังหันน�ำ้ สั้นกุด และที่น่าตกใจคือ พระองค์ทรงใช้ ชั ย พั ฒ นา” ที่ ช ่ ว ยในการบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย

ทรงคิดค้นและได้รับแรงบันดาลพระราชหฤทั ย จาก “หลุ ก ” ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น อันเรียบง่ายของชาวไทยล้านนามาปรับใช้ ซึ่ ง เป็ น ตั ว อย่ า งพระอั จ ฉริ ย ภาพของ พระองค์ทใี่ ส่พระราชหฤทัยต่อสิง่ แวดล้อม ดังพระราชด�ำรัสทีว่ า่ “พวกเรารักธรรมชาติ ธรรมชาติก็รักเรา”

บ้านไร่

บ้านเลขที่ 1 หมู่ที่ 5 บ้านหนอง คอกไก่ ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี เป็นบ้านพักส่วนพระองค์ที่มีลักษณะเป็น บ้านไม้แสนเรียบง่าย โดยทรงขึ้นทะเบียน เป็นเกษตรท�ำไร่ไว้ ซึ่งบ้านหลังนี้ตั้งอยู่ บนที่ดินของโครงการชั่วหัวมันฯ โครงการ ที่ บ ริ ห ารทรั พ ยากรแบบบู ร ณาการ ใช้ ทรั พ ยากรที่ มี อ ยู่ ใ ห้ คุ ้ ม ค่ า มากที่ สุ ด ที่ส�ำคัญพระองค์ตั้งพระราชหฤทัยอยาก จะให้เป็นแหล่งเรียนรู้การเลี้ยงชีพด้วย ความพอเพียงให้แก่ประชาชนของพระองค์ 10 สิ่งที่น�ำมาเสนอ ล้วน

เป็น 10 เรื่องราวที่สะท้อนให้เห็น ถึ ง ความพอเพี ย งในพระราชจริยวัตรและความเสียสละของ พระองค์ ที่ไม่เพียงแค่น�ำมาสอน แต่พระองค์ยงั ทรงปฏิบตั เิ พือ่ เป็น ต้นแบบให้แก่ประชาชนที่พระองค์ รั ก น� ำ ไปปรั บ ใช้ ต าม เพื่ อ ผล สุ ด ท้ า ยคื อ การเข้ า ถึ ง ค� ำ ว่ า “พอเพียง” อย่างแท้จริงนั่นเอง


36

App for Life

Techno for Life เรื่อง : ชวิศ เชษฐชัยยันต์

Aroma USB หน่วยความจ�ำอะไร ห้อมหอม

มาเพิม่ บรรยากาศในการท�ำงาน ของคุณด้วยกลิ่นหอมจาก Aroma USB กันดีกว่า แม้หน้าตาภายนอกจะดูเหมือน ทัมบ์ไดรฟ์ทั่วๆ ไป แต่คุณสมบัติของมัน มีมากกว่านั้นเยอะ เพราะเจ้า USB ตัวนี้ มีเครื่องสร้างกลิ่นบรรจุเอาไว้ที่จะท�ำให้ อากาศรอบๆ คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป และ แท็บเล็ต ของคุณสดชืน่ ขึน้ ด้วยกลิน่ น�้ำมัน หอมระเหย เพียงแค่คุณใส่น�้ำมันอโรมา ในแบบที่คุณชอบเข้าไปในช่องพิเศษของ ทัมบ์ไดรฟ์ จากนั้นเมื่อเสียบมันเข้ากับ พอร์ตของคอมพิวเตอร์ น�้ำมันจะถูกอุ่น จนระเหยกลายเป็ น ไอออกมาทางช่ อ ง ด้านบนของทัมบ์ไดรฟ์ ช่วยให้คุณรู้สึก ผ่อนคลายได้ดี ทั้งเซฟข้อมูลได้ แถมหอม ละมุนได้อีก น่าหามาใช้สักอัน (http:// www.aromausb.com/)

37

myBiKN แอพแจ๋ว ช่วยหาของได้

Sony PRS-T2: eReader ตัวเก่งส�ำหรับหนอนหนังสือ

ชั่ ว โมงนี้ ไ ม่ น ่ า จะมี อ ะไรที่ ดั ง ไปกว่ากระแสของแท็บเล็ตอีกแล้ว ยิ่งถ้า ใครชอบอ่ า นหนั ง สื อ ด้ ว ยวิ ธี นี้ ค งยิ่ ง อิ น เมื่อได้รู้จักกับ Sony PRS-T2 eReader ตั ว เก่ ง จากค่ า ยโซนี่ ที่ ถู ก ออกแบบมา ให้ โ ดนใจคนชอบอ่ า นมากถึ ง มากที่ สุ ด ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ใ กล้ เ คี ย งกั บ กระดาษ ไม่สะท้อนแสง จึงไม่แสบตาเวลาอ่าน แตกต่างจาก eReader ทั่วไปที่หากเพ่ง นานๆ แล้วอาจแสบตาได้ โดยเจ้าตัวเก่งนี้

Elite Real Tour สองล้อไฮเทค เพื่อคอจักรยาน

มีหน่วยความจ�ำภายใน 1.3 GB สามารถ เพิ่มความจุได้สูงสุดถึง 32 GB รองรับ ไฟล์ประเภท epub, txt, pdf, adobe DRM ซึง่ เป็นไฟล์มาตรฐานของ e-book ท� ำ ให้ โ หลดหนั ง สื อ มาอ่ า นได้ ห ลาก ชนิดไฟล์ ราคาค่าตัวก็พอรับไหวอยู่ที่ 5,490 บาท ใครสนใจไปหาของจริ ง ดูได้ มี 3 สีให้เลือกทั้งสีแดง ขาว และ ด�ำ (http://www.sony.com)

หากคุณเป็นคนทีช่ อบขีจ่ กั รยาน ผลาญแคลอรี ความชันของเส้นทาง และ แต่มเี วลาน้อย แถมไม่ได้อยูแ่ ถบชานเมือง ความเร็ ว ในการปั ่ น ครบสมบู ร ณ์ แ บบ ที่มีพื้นที่ให้ปั่น บรรทัดต่อไปนี้อาจถูกใจ (http://www.realaxiom.com) คุณ กับ Elite Real Tour อุปกรณ์ชว่ ยในการ ฝึกซ้อมจักรยานสัญชาติอติ าลี ทีจ่ ะช่วย ให้การออกก�ำลังกายของคุณง่ายขึ้น ที่ส�ำคัญ มันสามารถเชื่อมต่อเข้ากับ คอมพิวเตอร์เพื่อปั่นกับโปรแกรมจ�ำลอง ที่สร้างบรรยากาศทิวทัศน์ราวกับก�ำลัง ปั ่ น ร่ ม รื่ น อยู ่ ใ นยุ โ รปยั ง ไงยั ง งั้ น แถม ยั ง ท้ า ทายด้ ว ยโหมดการแข่ ง ขั น แบบ ทั ว ร์ น าเม้ น ท์ อี ก ด้ ว ย นอกจากนี้ ยั ง มี ฟ ั ง ก์ ชั น บอกอั ต ราการ เต้นหัวใจ อัตราการเผา-

เรื่องขี้หลงขี้ลืม หยิบนั่นลืมนี่ จะไม่ใช่ปัญหาใหญ่อีกต่อไป ถ้าคุณมี myBiKN แอพพลิเคชั่นสุดเจ๋ง ที่มาพร้อมกับ BiNK เคสโทรศัพท์สุดอัจฉริยะที่นอกจากจะช่วย ปกป้อง iPhone ของคุณแล้ว มันยังถูกดีไซน์ให้มีฟังก์ชันเชื่อมต่อระหว่าง iPhone ของ คุณกับแท็กชิน้ เล็กๆ ซึง่ เจ้าอุปกรณ์จวิ๋ ตัวนีน้ เี่ องทีจ่ ะช่วยให้คนขีล้ มื อย่างคุณหาของเจอ myBiKN ได้ภายในไม่กี่นาที เพียงคุณน�ำแท็กไปห้อยไว้กับสิ่งของที่คุณกลัวหายหรือชอบหา Category: Lifestyle Compatible with iPhone, iPod Touch, ไม่เจอ เมื่อถึงเวลาที่คุณลืมไปแล้วว่ามันอยู่ที่ไหน คุณก็แค่เปิดแอพพลิเคชั่น myBiKN และกดโทร.ให้มันส่งสัญญาณเพื่อแสดงต�ำแหน่ง แท็กจะส่งสัญญาณให้คุณรู้ว่าของ and iPad ชิ้นนั้นไปหลบอยู่ที่ไหน สามารถค้นหาได้ในระยะ 50 - 100 ฟุต (ภายในบ้าน) และเพิ่ม ระยะได้มากถึง 500 ฟุต (เมื่ออยู่นอกสถานที่) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.bikn. com คุณสมบัติสุดคุ้มขนาดนี้ จะไม่หามาแก้ลืมสักอันหรือ

IKEA Catalogue ความสุขของคนรักบ้าน

แล้วความสุขของคนรักการแต่งบ้านก็จะง่ายขึ้นกับ IKEA Catalogue ที่จะ ท�ำให้คุณลืมแค็ตตาล็อกหนาเตอะไปได้เลย เพราะแอพนี้ให้ความสนุกที่มากกว่า ด้วย ลูกเล่นแพรวพราวดึงดูดใจ ทั้งตัวอย่างเฟอร์นิเจอร์แบบสามมิติ และคลิปวิดีโอแนะน�ำ สินค้า ตื่นตาตื่นใจกว่าแค็ตตาล็อกเล่มเป็นไหนๆ แถมยังสามารถใช้เป็นเครื่องมือ เสริ ม ในการเลื อ กเฟอร์ นิ เ จอร์ จ ากฉบั บ ตี พิ ม พ์ ไ ด้ อี ก ด้ ว ย แค่ ไ ปดาวน์ โ หลดแอพ IKEA Catalogue จากนัน้ ก็ดาวน์โหลดแค็ตตาล็อก IKEA 2013 จาก Virtual Bookshelf มองหาไอคอนรูปโทรศัพท์มอื ถือทีม่ มุ ขวาบนหน้าแค็ตตาล็อกฉบับพิมพ์ ซึง่ จะมีเนือ้ หา ให้สแกนดูเพิ่มเติม จากนั้นเปิดแอพขึ้นมา แล้วเลือกปุ่มสแกน จะใช้สมาร์ทโฟนหรือ แท็บเล็ตก็ได้ แล้วรอชมคลิปอินเตอร์แอ็คทีฟเพิ่มเติมได้ทันที

Call Blocker ตัดร�ำคาญสายโทร.กวนใจ

Call Blocker

Category: Business Compatible with Android

IKEA Catalogue

Category: Lifestyle Compatible with iOS and Android

ปฏิเสธก็แล้ว บอกยกเลิกก็แล้ว แต่ท�ำไมพวกขายประกัน ขายตรง ชวนสมัคร บัตรเครดิต ฟิตเนส และอีกสายโทร.น่าเบื่อกวนใจ ยังมาตามตื๊อกันอีก วันนี้ไม่ต้องเสีย เวลาปฏิเสธให้หมางใจกัน จับบล็อกซะเลยดีกว่าด้วยแอพ Call Blocker ทีจ่ ะมาช่วยตัด ร�ำคาญให้คุณ สามารถตั้งได้ทั้ง Blacklist และ Whitelist จะท�ำให้คนที่อยู่ใน Whitelist เท่านัน้ ทีส่ ามารถติดต่อกับคุณได้ ไม่ใช่แค่บล็อกสายโทร.เข้า แต่ยงั บล็อก SMS ได้ดว้ ย ส่วนพวกเบอร์แปลกๆ ที่ไม่มีในเมโมรี่ก็บล็อกได้เช่นกัน วิธีตั้งค่าและใช้งานก็แสนง่าย ไม่ซับซ้อน หามาติดเครื่องไว้ แค่นี้ก็หมดปัญหารุงรังใจแล้ว


38

Did You Know

Did You Know

เรื่อง : ชวิศ เชษฐชัยยันต์

หอมกลิ่นเฉพาะกายด้วย “น�้ำหอมกินได้”

คุณจะประหลาดใจเมือ่ ได้ยนิ ว่าตอนนีม้ นี ำ�้ หอมทีใ่ ช้ดว้ ยวิธี “กิน” แล้ว เจ้าของ ไอเดียในรอบนี้ไม่ใช่นักวิทยาศาสตร์ แต่กลับเป็นศิลปินชาวเนเธอร์แลนด์ ลูซี่ แมคเร ที่ จั บ มื อ กั บ นั ก ชี ว วิ ท ยามาร่ ว มกั น สร้ า งน�้ ำ หอมแบบใหม่ ที่ ชื่ อ ว่ า “Swallowable Parfum” เป็นเม็ดน�ำ้ หอมชนิดแคปซูล ทีเ่ มือ่ คุณกลืนลงไปแล้ว มันจะออกฤทธิผ์ สานกับ กระบวนการเผาผลาญของร่างกาย เพือ่ ขับให้อานุภาพของกลิน่ หอมฟุง้ กระจายไปทัว่ ร่าง ที่น่าสนุกคือ ด้วยร่างกายของแต่ละคนที่มีกลิ่นกายเฉพาะตัวต่างกันออกไป ท�ำให้ เมื่อกลิ่นน�้ำหอมนี้ได้ผสานเข้ากับเหงื่อและกลิ่นกายโดยธรรมชาติของแต่ละคนแล้ว กลิ่นหอมที่ออกมาจึงหอมแตกต่างกันออกไปด้วย เรียกได้ว่าน�้ำหอมนี้จะส่งความหอม แบบของใครของมันเลยทีเดียว

ค้นพบ “ข้อความที่เก่าที่สุดในโลก” อายุเฉียด 100 ปี

หลังจากลอยเคว้งในทะเลมานานเกือบครบศตวรรษ ข้อความในขวดแก้วที่ ได้ชื่อว่า “เก่าแก่ที่สุดในโลก” ได้ถูกค้นพบโดยแอนดริว ลีเปอร์ กัปตันเรือประมง ที่พบ ขวดแก้วดังกล่าวลอยมาติดแหทีเ่ ขาทอดไว้นอกชายฝัง่ ตะวันออกของหมูเ่ กาะเช็ตแลนด์ ในอังกฤษ ภายในบรรจุโปสการ์ดที่ถูกเขียนไว้ตั้งแต่เมษายน 1914 โดยระบุจะให้เงิน รางวัลจ�ำนวน 6 เพนซ์แก่ผู้พบ ลงชื่อผู้ลอยคือ กัปตันซีเอช บราวน์ ที่ปล่อยเพื่อใช้เป็น เครือ่ งมือทดสอบให้แก่คณะกรรมการประมงของสกอตแลนด์ กินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ดส จึงให้การรับรองความเก่าแก่ที่สุดในโลก ด้วยสถิติโลกใหม่ที่นานถึง 97 ปี 309 วัน ในทะเล และทีน่ า่ ตืน่ เต้นคือ จุดทีพ่ บนัน้ อยูห่ า่ งจากจุดทีเ่ คยปล่อยเพียง 9.38 ไมล์ทะเล เท่านั้น

เปิดแล้ว “แมคโดนัลด์มังสวิรัติ” ที่แรกในโลก

ร้านอาหารจานด่วนยักษ์ใหญ่ของโลกอย่าง “แมคโดนัลด์ “ เตรียมเปิดสาขา ที่ขายเพียงอาหารมังสวิรัติอย่างเดียวแห่งแรกในโลกที่ประเทศอินเดีย ซึ่งถือเป็นการ ปรับโฉมครั้งส�ำคัญของแบรนด์ใหญ่รายนี้ เพื่อรองรับความต้องการอาหารของชาว อินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู (ไม่ทานเนื้อวัว) และศาสนาอิสลาม (ไม่ทานเนื้อหมู) แมคโดนัลด์จึงหันมาปรับกลยุทธ์เพื่อตอบโจทย์ของทั้งประชากรจากทั้งสองศาสนา ได้อย่างชาญฉลาด โดยแมคโดนัลด์มังสวิรัตินี้จะเริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่กลางปี 2556 เป็นต้นไป ที่ Golden Temple เมืองอมฤตสา อันเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์ของชาวซิกข์ และ อีกสาขาหนึ่งจะอยู่ที่เมืองแคชเมียร์ ซึ่งมีศาสนสถานที่ในทุกปีจะมีชาวซิกข์จ�ำนวน มหาศาลเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจ เรียกได้ว่าเป็นแผนการตลาดเพื่อสุขภาพ ที่รอ ท�ำก�ำไรหลายเด้งได้อย่างงามเลย

39

“ซูเปอร์บัส” มิติแห่งการขนส่งยุคใหม่

หลังจากได้รับสมญานามว่าเป็นเมืองที่รถติดมากที่สุดในโลกอีกเมืองหนึ่ง จีนก็อดรนทนไม่ได้ คิดเร่งหาทางแก้ปัญหาจราจร จนได้เป็นนวัตกรรมการขนส่งใหม่ อย่าง “ซูเปอร์บัส” ที่สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้มากถึง 1,400 คน โดยซูเปอร์บัส จะวิ่งคร่อมถนน ในขณะที่พาหนะอื่นๆ ก็สามารถวิ่งบนถนนพร้อมๆ กันได้อย่างเดิม ซ่ง หยูว์โจว ประธานฝ่ายออกแบบของ Shenzhen Hashi Future Parking Equipment กล่าวว่า ซูเปอร์บสั นีจ้ ะวิง่ ในระยะทาง 180 กิโลเมตร โดยจะช่วยแบ่งเบาภาระทางจราจร ให้แออัดน้อยลงกว่าร้อยละ 30 และไม่แย่งพื้นที่ท้องถนน เพียงแต่อาจต้องสร้างสถานี ผู้โดยสารและสัญญาณไฟจราจรใหม่เท่านั้น ถือเป็นแนวคิดการใช้ถนนร่วมกันที่ สร้างสรรค์จริงๆ

ไฮเทคข้ามภพ ระลึกถึงญาติมิตรที่จากไปผ่าน QR Code

เดี๋ยวนี้ที่ไหนๆ ก็ใช้กันแต่ QR Code ที่มีให้เห็นอยู่ในทุกแวดวง ทั้งซื้อขาย ทัง้ ใช้เป็นช่องทางติดต่อสือ่ สาร ทีจ่ ะช่วยดึงข้อมูลได้งา่ ยแสนง่าย ไม่เว้นแม้แต่ใน “สุสาน ฝังศพ” โดยไอเดียล�้ำโลกนี้เป็นของสตีเฟน นิมโม ผู้จัดการสุสานในอังกฤษ ที่ได้ ท�ำเว็บไซต์ของผู้ตายที่มาฝังในสุสานนี้ บอกเล่าเรื่องราวของผู้ตาย ทั้งประวัติชีวิต ภาพถ่าย คลิปวิดีโอ ความทรงจ�ำดีๆ จากนั้นก็จะท�ำการเชื่อมโยงใส่ในบาร์โค้ด และ น�ำไปติดไว้บนแท่นสุสาน ครั้งต่อไป เมื่อมีใครไปเยี่ยมเยือนผู้ตายที่สุสาน พวกเขาก็ แค่หยิบสมาร์ทโฟนขึ้นมา แล้วก็สแกนไปที่ QR Code เว็บไซต์ของผู้ตายก็จะปรากฏ ขึ้ น มาให้ ญ าติ แ ละเพื่ อ นฝู ง ได้ ร ะลึ ก ความทรงจ� ำ แบบไม่ ต ้ อ งหลั บ ตานึ ก ถึ ง ในใจ กันอีกต่อไป โดยสนนค่าใช้จ่ายทั้งหมดอยู่ที่ประมาณ 20,000 บาท...ใครสะดวกใจ สะดวกกระเป๋าสตางค์ก็เชิญได้เลยนะจ๊ะ

มนุษย์โลกก�ำลังจะย้ายไปอยู่ดาวอังคารในไม่ช้า

อย่าเพิ่งคิดว่าเป็นเรื่องที่เพ้อเจ้อ ถ้าจะบอกว่ามนุษย์ก�ำลังจะมีโครงการส่ง “คน” ไปตั้งรกรากบนดาวอังคาร เรื่องนี้ก�ำลังจะเกิดขึ้นจริงในไม่ช้า เมื่อบริษัทสัญชาติ เนเธอร์แลนด์หลายแห่งร่วมกันลงขัน เพื่อหนุนโครงการส่งคนไปสร้างอาณาจักร บนดาวอังคารในปี 2023 โดยจะส่งหุ่นยนต์ไปล่วงหน้าก่อนระหว่างปี 2016 - 2020 เพื่อสร้างอาณาจักร ก่อนที่จะส่งคนไปเหยียบดาวอังคารในปี 2023 และมีแผนจะ ส่งไปเพิ่มทุกๆ 2 ปีหลังจากนั้น ซึ่งหัวหอกของโครงการนี้คือ บาส แลนส์ดอร์พ ผู้ที่เป็น ทัง้ เจ้าของไอเดียและเป็นประธานบริษทั นอกจากนี้ ยังมีการวางแผนถ่ายทอดสดแบบ เรียลิตี้ เหมือนรายการ Big Brother ให้ผู้ชมได้ติดตาม โดยจะเริ่มถ่ายทอดตั้งแต่ ปี 2013 ซึ่งเป็นปีที่เริ่มคัดเลือกมนุษย์อวกาศของบริษัทกันเลยทีเดียว ต่อไปเราคง ได้ดูเรียลิตี้อวกาศแทน AF ก็คราวนี้


40

Hot Events

Hot Events

30-04 พฤศจิกายน 2555

ไทยเท่...จากท้องถิ่นสู่อินเตอร์

(ณ หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร) นิทรรศการศิลปะในสมัยรัชกาล ที่ 9 ที่รวบรวมผลงานศิลปะอันโดดเด่น ในรอบ 7 ทศวรรษ มากกว่า 300 ชิ้น จาก ศิลปินชื่อดังกว่า 300 ท่าน อาทิ ศิลป์ พีระศรี, อังคาร กัลยาณพงศ์, ถวัลย์ ดัชนี, เฉลิ ม ชั ย โฆษิ ต พิ พั ฒ น์ , อภิ ช าติ พ งศ์ วี ร ะเศรษฐกุ ล และศิ ล ปิ น ต่ า งชาติ อี ก มากมาย ผลงานศิ ล ปะมี ทั้ ง จิ ต รกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย และ ศิ ล ปะแนวทดลอง แบ่ ง จั ด แสดงเป็ น 9 กลุ่ม ได้แก่ การแสวงหาความเป็นไทย, แรงบั น ดาลใจจากพุ ท ธศาสนา, พื้ น ที่ ทางสั ง คมและการอุ ป ถั ม ภ์ ศิ ล ปะ, จินตนาการกับความเหนือจริง, นามธรรม และปัจเจกชน, การต่อสูท้ างการเมืองและ สังคม, เพศสภาพและความเป็นชายขอบ, จากท้องถิ่น สู่อินเตอร์ และศิลปะทดลอง และสื่อทางวัฒนธรรม อย่าพลาดหาเวลา ไปชม “ที่สุด” ของผลงานศิลปะร่วมสมัย ทรงคุณค่า ที่นานทีปีหนจะมีโอกาสได้ยล กันสักครั้ง (http://www.bacc.or.th)

01-18 พฤศจิกายน 2555

FIFA FUTSAL WORLD CUP THAILAND 2012

(ณ บางกอก ฟุตซอล อารีน่า อินเดอร์ สเตเดียม หัวหมาก สนามกีฬานิมิบุตร และโคราช ชาติชาย ฮอลล์ ) ครั้ ง แรกของประเทศไทย กั บ การเป็นเจ้าภาพจัดฟุตบอลโต๊ะเล็ก ใน การแข่งขัน FIFA FUTSAL WORLD CUP THAILAND 2012 ครั้งที่ 7 งานนี้พบการ แข่ ง ขั น ชิ ง แชมป์ ข องสุ ด ยอดที ม บอล ไซส์ เ ล็ ก จาก 24 ประเทศทั่ ว โลก กั บ ทัวร์นาเม้นท์โม่แข้ง 52 แมตช์ โดยแบ่ง การแข่งขันออกเป็น 4 สนาม ที่ บางกอก ฟุตซอล อารีนา่ อนิ เดอร์ สเตเดียม หวั หมาก สนามกีฬานิมิบุตร และโคราช ชาติชาย ฮอลล์ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในประสบการณ์ ครั้งยิ่งใหญ่ และร่วมลุ้นแบบชิดติดขอบ สนามกันได้แล้ว (www.thaiticketmajor. com)

03

23-25 29-10

เอ็กซ์คลูซีฟคอนเสิร์ต แอ๊ด คาราบาว วันวานไม่มีเขา วันนี้ ไม่มีเรา

Thailand International Balloon Festival 2012

พฤศจิกายน 2555

(ณ บ้านแอ๊ด คาราบาว จังหวัดเชียงใหม่) ครั้งแรกกับการแสดงคอนเสิร์ต ในสถานที่ส่วนตัว ณ บ้านแอ๊ด คาราบาว เชียงใหม่ กับความเอ็กซ์คลูซีฟใกล้ชิด เป็นกันเอง ในบรรยากาศต้อนรับลมหนาว เคล้าเสียงเพลงที่หาฟังยาก และบทเพลง พิ เ ศษของ “คาราบาว” ที่ ป ระพั น ธ์ ขึ้ น ส�ำหรับคอนเสิร์ตครั้งนี้โดยเฉพาะ และยัง มีงานนิทรรศการภาพประวัติและผลงาน ของแอ๊ ด คาราบาว ในรอบระยะเวลา 31 ปีที่ผ่านมา ในชื่องาน Ad Carabao Exhibition ให้ได้ชมกัน พร้อมด้วย “ลานนา คัมมินส์” ศิลปินรับเชิญทีจ่ ะมาร่วมขับร้อง ในบทเพลง I don’t want to talk about it และทะเลใจ พลาดแล้วจะเสียดาย (www. carabaoexclusive.com)

พฤศจิกายน 2555

(ณ สนามกอล์ฟ สโมสรยิมคานา เชียงใหม่) เชิญเที่ยวงานเทศกาลบอลลูน นานาชาติประเทศไทย ชมหมูบ่ อลลูนยักษ์ หลากสีสนั ลอยละล่องตามล�ำน�ำ้ ปิง เหนือ เมืองเชียงใหม่ ผู้เข้าชมงานจะได้ตื่นตา ตื่นใจกับกิจกรรมมากมาย ไม่ว่าจะเป็น การปล่อยบอลลูน การแททเทอริง่ บอลลูน (หรือการลอยบอลลูน ขึน้ ชมวิวในอากาศ) การแสดงแสง สี เสียงในยามค�่ำคืน ใน รูปแบบของงาน “Glow Night & Festival of Light” รวมทัง้ การแสดงจากวงดุริยางค์ โยธวาทิตตระการตา พักผ่อนไปกับการ ทอดสายตาบนฟ้ากว้างในบรรยากาศเย็นๆ ของเชียงใหม่กันดีกว่า (www.thailand balloonfestival.com/2012)

พฤศจิกายน - ธันวาคม 2555

Thailand International Motor Expo 2012

(ณ ชาเลนเจอร์ 1 - 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี) กลับมาอีกครัง้ เป็นประจ�ำทุกๆ ปี กับงานมหกรรมยานยนต์ ครั้ง ที่ 29 ที่ คนรั ก รถไม่ ค วรพลาด ภายใต้ แ นวคิ ด ที่ว่า “ยานยนต์วันหน้า ที่มาวันนี้” เพื่อจุด ประกายให้ผู้ผลิตได้น�ำยานยนต์ที่เปี่ยม ไปด้ ว ยเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมล�้ ำ ยุ ค มาจั ด แสดงให้ ช ม เพลิ ด เพลิ น เดิ น ชม งานเทคโนโลยีใหม่ๆ เกี่ยวกับเครื่องยนต์ รถยนต์รุ่นใหม่ อุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์ทั้ง ภายในและภายนอกละลานตา เดินจุใจได้ ตัง้ แต่เวลา 11.00 - 22.00 น. แล้วคุณจะรูว้ า่ โลกยานยนต์แห่งอนาคตไม่ใช่สิ่งที่ต้อง รอคอยอีกต่อไป (www.motorexpo.co.th)

41

01-08 ธันวาคม 2555

มหกรรมเรือใบ “ภูเก็ตคิงส์คัพรีกัตต้า”

(ณ หาดกะตะ จังหวัดภูเก็ต) เปิดศึกกีฬาเรือใบแห่งต�ำนาน บนท้ อ งทะเลอั น ดามั น ต้ อ นรั บ เหล่ า นักกีฬาเรือใบกว่า 1,000 คนจากทั่วโลก ในการจั ด การแข่ ง ขั น เรื อ ใบชิ ง ถ้ ว ย พระราชทานภูเก็ตคิงส์คพั รีกตั ต้า รายการ แข่งขันรีกัตต้าอันทรงเกียรติและยิ่งใหญ่ ที่สุดแห่งซีกโลกตะวันออก เพื่อสานต่อ ความส� ำ เร็ จ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความน่าสนใจอยู่ที่ การแข่งขันในปีนี้ได้รวมสุดยอดนักกีฬา เรือใบจากทุกภูมิภาคทั่วโลกที่ให้ความ สนใจพากันสมัครเข้าร่วมการแข่งขันเป็น จ� ำ นวนมากในหลากหลายรุ ่ น จาก 35 ประเทศ ไปร่วมแรงร่วมใจเชียร์นักกีฬา ชาวไทย พร้อมกับพักผ่อนไปในตัวได้ที่ ภูเก็ตบ้านเรา (สอบถาม โทร. 0-7627-3380 www.kingscup.com)


42

Exotic Thai

Exotic Thai

เรื่องและภาพ : วรศักดิ์ จรุงรัตนาพงศ์

จากแม่แจ่มสู่ขุนวาง บนวิถีแห่งพอเพียง เป็ น เวลาเย็ น ย�่ ำ เต็ ม ที ที่ ผ มยั ง คงเดิ น ทางอยู ่ บ นถนนสาย คดเคีย้ ว ดวงตะวันในขณะนีเ้ ริม่ ยอแสงสีทองส่องประกายไปทัว่ ขุนเขา โดยรอบ ถนนลาดยางที่ไต่ไปตามเนินเขาลูกแล้วลูกเล่าพาผมมุง่ หน้า จากอ�ำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สูเ่ มืองเล็กๆ แห่งหนึง่ ทีโ่ อบล้อม ไปด้วยขุนเขา เป็นเมืองที่ผู้คนยังใช้ชีวิตแอบอิงกับธรรมชาติอย่าง ใกล้ชิด กับเมืองที่มีชื่อว่า “แม่แจ่ม”

• ทะเลหมอกเหนืออำ�เภอแม่แจ่ม

แม่ แ จ่ ม เป็ น อ� ำ เภอที่ ใ นอดี ต มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวลัวะ ก่อน ที่ ช าวไทยพวนจะเริ่ ม อพยพเข้ า มา จึ ง ได้ชื่อว่าเป็นเมืองที่มีความหลากหลาย ทางชาติ พั น ธุ ์ ม าอย่ า งยาวนาน ผู ้ ค น ส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ เกษตรกรรม นับถือพระพุทธศาสนา และยังมีความเชือ่ เรื่องผี ท้ อ งฟ้ า มื ด ลงเป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย เมื่อผมเดินทางมาถึงแม่แจ่ม และแม้จะมี สถานะเป็นอ�ำเภอหนึ่งของเชียงใหม่ แต่ ตัวเมืองกลับมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก สถานที่ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นที่ว่าการอ�ำเภอ ตลาด ธนาคาร สถานีต�ำรวจ ต่างกระจุกตัวอยู่ บนถนนสายเล็กๆ สายหนึง่ หลังจากติดต่อ ทีพ่ กั เรียบร้อย ผมเลือกมาเดินเล่นชมเมือง ยามค�่ำ แต่กลับต้องแปลกใจเพราะเพียง แค่ 2 ทุ่ม ร้านรวงในเมืองก็เริ่มทยอยปิด จนเงียบเหงา เราอาจไม่พบเห็นร้านกาแฟเก๋ๆ ไม่มีร้านขายของที่ระลึก แต่ที่นี่กลับเต็ม ไปด้วยเสน่ห์ของความเป็นเมืองล้านนาที่ เรียบง่าย งดงาม และเนื่องจากท�ำเลที่ตั้ง เป็นหุบเขา โอบล้อมไปด้วยภูสูงรอบด้าน ในเวลาเช้า ของฤดูห นาวเช่น นี้ ภายใน เมืองจึงถูกปกคลุมไปด้วยหมอกหนา ผม ขับรถออกจากที่พักในเวลาเช้ามืด เพื่อ มายั ง จุ ด ชมทะเลหมอกที่ อ ยู ่ น อกเมื อ ง มาไม่กี่กิโลเมตร ถนนลาดยางสภาพดีแต่ คดเคี้ยวพาผมค่อยๆ ไต่ระดับความสูงขึ้น เรื่อยๆ สภาพโดยรอบมีแต่หมอกจนแทบ

43

ไม่เห็นทาง กระทั่งผมหลุดขึ้นมาเหนือ ระดับของสายหมอก จึงสามารถมองเห็น เบื้องล่างที่เป็นทะเลหมอกสีขาวโพลน ปกคลุมเมืองทั้งเมืองเอาไว้จนมิด หลั ง จากนั่ ง ชมทะเลหมอก บนกระท่อมข้างทางของชาวไร่จนสาย หมอกเริม่ เลือนหาย จึงได้เวลากลับเข้าสู่ ตัวเมืองอีกครั้ง ผมตั้งใจจะไปสักการะ พระเจ้าตนหลวง พระพุทธรูปคู่บ้าน คู่เมืองแม่แจ่ม ที่ประดิษฐานเป็นพระ ประธานอยู่ที่วัดกองกาน ซึ่งวัดแห่งนี้ ในอดีตมีชื่อว่า วัดศรีเมืองมา เป็นวัด ที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เชียงแสน และเชียงราย ได้ร่วมกันสร้างขึ้นใน ราวพุทธศตวรรษที่ 19 - 20 ต่อมาได้ เกิ ด การอพยพของผู ้ ค นในดิ น แดน แห่ ง นี้ จ นวั ด ศรี เ มื อ งมาได้ ถู ก ทิ้ ง ร้ า ง และทรุดโทรมลง แต่พระเจ้าตนหลวง ก็ยังคงประดิษฐานอยู่ภายในซากปรัก หักพังของพระอุโบสถ ล่วงมาถึงช่วง พุทธศวรรษที่ 23 ได้มีชาวบ้านอพยพ ย้ า ยถิ่ น กลั บ เข้ า มาพร้ อ มกั บ ท� ำ การ ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ด และบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ พระเจ้ า ตนหลวงให้ ง ดงามดั ง เดิ ม ว่ากันว่ามีผู้คนมากมายหลั่งไหลมา สักการะพระเจ้าตนหลวง จนไม้คาน ที่ ใ ช้ ใ นการหาบสิ่ ง ของบู ช าถู ก วาง กองทิง้ ภายในวัดจ�ำนวนมาก ชาวบ้าน จึงเรียกวัดแห่งนีจ้ นติดปากว่า “วัดก๋อง กาน” ที่แปลว่า “กองไม้คาน” ก่อนจะ กลายเป็นวัดกองกานในปัจจุบัน


44

Exotic Thai

Exotic Thai

01

วั ด พุ ท ธเอ้ น วั ด อายุ เ ก่ า แก่ ที่ สร้างขึน้ มากว่า 200 ปี เป็นวัดส�ำคัญอีกแห่ง ในแม่แจ่มที่ไม่ควรพลาดจะไปเยือน ที่นี่ มีงานสถาปัตยกรรมชิน้ หนึง่ ทีม่ เี อกลักษณ์ อันโดดเด่น นัน่ คือพระอุโบสถกลางสระน�ำ้ ล้อมรอบด้วยศิลาแลง อันเป็นการก�ำหนด เขตสังฆกรรมที่เรียกว่า “อุทกสีมา” ต่าง จากพระอุโบสถบนบกทั่วไปที่จะเรียกว่า “ขั ณ ฑสี ม า” ซึ่ ง การสร้ า งพระอุ โ บสถ กลางน�้ำนี้เป็นไปตามคติความเชื่อที่รับ มาจากลังกาว่าน�ำ้ เป็นสิง่ ทีบ่ ริสทุ ธิ์ การบวช พระภิกษุสงฆ์ในพระอุโบสถกลางน�้ำจึง ถือว่ามีความบริสุทธิ์มากที่สุด ซึ่งปัจจุบัน การบวชภายในพระอุโบสถกลางน�้ำได้ถูก ยกเลิกไปแล้ว พระอุโบสถหลังเล็กแห่งนี้ สร้างด้วยไม้ ดูเรียบง่ายและงดงาม สะท้อน ภู มิ ป ั ญ ญาของช่ า งท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า งมี เอกลักษณ์ จากแม่แจ่ม ผมเดินทางต่อไป บนเส้นทางที่มุ่งหน้าสู่อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ โดยมีจุดหมายคือ “ศูนย์ พั ฒ นาโครงการหลวงขุ น วาง” อั น เป็ น สถานทีท่ ไี่ ด้ชอื่ ว่าเป็นจุดชมดอกนางพญา

เสือโคร่งที่สวยงาม ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของ เมืองไทยเลยทีเดียว เส้นทางจากแม่แจ่มน�ำผมสู่ถนนลาดยาง ที่ ค ดเคี้ ย วไปบนดอยสู ง ผ่ า นที่ ท� ำ การ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ก่อนจะแยก เข้าสู่พื้นที่ของศูนย์พัฒนาโครงการหลวง ขุนวาง ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง ได้รับการจัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยสื บ เนื่ อ งจากการที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด�ำเนินมายัง บ้านขุนวางในปี พ.ศ. 2525 และทอด พระเนตรเห็ น ว่ า พื้ น ที่ แ ถบนี้ ยั ง มี ก าร ปลู ก ฝิ ่ น จ� ำ นวนมาก จึ ง เห็ น ควรให้ มี การส่ ง เสริ ม การปลู ก พื ช ชนิ ด อื่ น ๆ เพื่ อ ทดแทนการปลู ก ฝิ ่ น ซึ่ ง ในครั้ ง นั้ น ทาง สถานทูตสหรัฐอเมริกาได้ให้การสนับสนุน งบประมาณสมทบ จึงเกิดเป็นโครงการ หลวงขุนวาง ที่เปลี่ยนชีวิตของชาวเขา ในพื้นที่ จากที่เคยลักลอบปลูกพืชเสพติด ให้กลับมาปลูกพืชพรรณเมืองหนาวที่ให้ ผลตอบแทนทีด่ กี ว่า ส่งผลให้คณ ุ ภาพชีวติ

45

01 วัดกองกาน อำ�เภอแม่แจ่ม 02 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง 03 ถนนภายในศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง 04 ดอกนางพญาเสือโคร่งภายในศูนย์ฯ ขุนวาง

ดีขึ้น อยู่ได้อย่างพอเพียง ในวั น ที่ ผ มเดิ น ทางมาถึ ง ศู น ย์ พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง บริเวณโดยรอบ ได้รับการตกแต่งด้วยไม้ดอกเมืองหนาว อย่ า งสวยงาม โดยมี เ ทื อ กเขาสู ง ของ ดอยอินทนนท์เป็นฉากหลัง และที่ถือว่า เป็ น จุ ด เด่ น ของที่ นี่ ค งต้ อ งยกให้ กั บ ต้ น นางพญาเสือโคร่งที่ก�ำลังออกดอกสีชมพู เต็มต้น นับเป็นโชคดีที่ผมเดินทางมาถูก จังหวะเวลา เพราะในปีหนึง่ ๆ ต้นนางพญา เสือโคร่งจะผลิดอกสีชมพูเต็มต้นให้ได้ชม ความงามเพียงหนึ่งสัปดาห์เท่านั้น ถนน สายเล็กๆ ภายในโครงการฯ ขณะนี้ขนาบ ไปด้ ว ยต้ น นางพญาเสื อ โคร่ ง ที่ เ รี ย งตั ว เป็ น แนวยาว จนกลายเป็ น ถนนสี ช มพู อันงดงามทีห่ ลายต่อหลายคนร�ำ่ ลือถึงเสน่ห์ ของถนนสวยเส้นนี้ ต้นนางพญาเสือโคร่งเป็นพืชที่ พบได้ทั่วไปในดอยสูงทางตอนเหนือของ เมืองไทย ออกดอกในช่วงเดือนธันวาคม

การเดิ น ทางในครั้ ง นี้ ถึ ง กุ ม ภาพั น ธ์ โดยก่ อ นออกดอก ต้ น นางพญาเสือโคร่งจะมีการทิง้ ใบเหลือเพียง ส ะ ท ้ อ น ใ ห ้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง กิ่งก้าน หลังจากนั้นจึงผลิดอกสีชมพูบาน ผู ้ ค นที่ ยั ง ด� ำ รงชี วิ ต แนบชิ ด กั บ เต็มต้น ลักษณะคล้ายกับต้นซากุระของ ธรรมชาติ บนความเรียบง่ายและ ญี่ปุ่น นางพญาเสือโคร่งจึงถูกเรียกขาน พอเพี ย ง ถึ ง แม้ ส ถานที่ ทั้ ง สอง ว่า “ซากุระเมือ งไทย” ซึ่ง เมื่อ เทียบกับ แห่ ง นี้ มิ อ าจเปรี ย บเที ย บความ ซากุระของญีป่ นุ่ แล้วพบว่าเป็นพืชในสกุล เจริ ญ ทางวั ต ถุ กั บ เมื อ งใหญ่ ๆ ่ ว่าความ เดียวกัน และเคยมีบรรพบุรุษร่วมกันก่อน หลายแห่งได้ แต่ผมก็เชือ ทีจ่ ะมีการแตกสายพันธุอ์ อกไปดังปัจจุบนั สุขของผู้คนที่นี่มีอย่างล้นเหลือ นอกจากการชมดอกนางพญา จนอาจจะมากกว่าผู้คนหลายๆ เสือโคร่งภายในโครงการหลวงขุนวางแล้ว คนที่ อ าศั ย อยู ่ ใ นเมื อ งใหญ่ เ สี ย ทีน่ ยี่ งั มีแปลงไม้ผลเมืองหนาวให้ได้ชมกัน ด้วยซ�้ำ ผมเดินทางจากมาด้วย อีกด้วย เช่น แปลงดอกท้อที่จะออกดอก ความอิ่มเอมในความงดงาม ทั้ง สีขาวบริสุทธิ์ในช่วงฤดูหนาว แปลงดอก จากทิ ว ทั ศ น์ แ ละวิ ถี ชี วิ ต ผู ้ ค นที่ เบญจมาศหลากสี และแปลงปลู ก ผั ก ได้พบเจอ บนเส้นทางแห่งขุนเขา นานาชนิด หรือใครที่ชอบนั่งจิบกาแฟ ที่นี่ ที่ ท อดยาวจากเมื อ งงามอย่ า ง ก็มีร้านกาแฟที่น�ำวัตถุดิบมาจากผลผลิต แม่ แ จ่ ม สู ่ ดิ น แดนแห่ ง ดอกไม้ ที่ ของโครงการฯ เพราะโครงการหลวงขุนวาง ขุนวาง เป็นหนึ่งในหน่วยศึกษาวิจัยกาแฟพันธุ์ อะราบิกาที่ส�ำคัญของเมืองไทย

การเดินทาง สามารถใช้เส้นทางได้ดังนี้ อ�ำเภอแม่แจ่ม • จากอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เมื่อ ผ่านด่านเข้ามาถึงจุดตรวจที่ 2 จะมีทางแยก สูอ่ �ำ เภอแม่แจ่มตามเส้นทางหลวงสาย 1192 • จากอำ�เภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ขับมาตาม เส้นทางหลวงสาย 108 ผ่านอุทยานแห่งชาติ ออบหลวง จนถึ ง ทางแยกเข้ า ทางหลวง สาย 1088 ให้เลี้ยวขวาเพื่อมุ่งหน้าสู่อำ�เภอ แม่แจ่ม • จากอำ � เภอขุ น ยวม จั ง หวั ด แม่ ฮ่ อ งสอน เดินทางไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1263 ผ่านบ้านปางอุ๋ง บ้านแม่นาจอน มุ่งหน้าสู่ อำ�เภอแม่แจ่ม ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงขุนวาง การเดินทางใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 108 เชียงใหม่ - ฮอด ก่อนถึงอำ�เภอจอมทองมีทาง แยกขวามือขึ้นดอยอินทนนท์ มุ่งหน้าตาม เส้นทางหลวงหมายเลข 1009 บริเวณหลัก กิโลเมตรที่ 30 - 31 จะมีแยกขวาผ่านบ้าน ขุนกลาง ตรงไปประมาณ 16 กิโลเมตร จะถึง บ้านขุนวาง สังเกตป้ายโครงการทางด้านขวามือ


46

The Journey

The Journey

เรื่องและภาพ : ธีรภาพ โลหิตกุล

02 04

01

ผลไม้ลับแล

คือวิถี คือชีวิต คือวัฒนธรรม ผมเคยถามคนท�ำฟาร์มโคนมว่า วัวแต่ละตัวในฟาร์ม ของเขามีชื่อไหม เขาบอกมีชื่อทุกตัว แล้วจะจ�ำได้ยังไงว่า ตัวไหนชือ่ อะไร ในเมือ่ หน้าวัวเหมือนๆ กันไปหมด สีกค็ ล้ายกัน ไม่ขาวก็ด�ำ ไม่ด�ำก็น�้ำตาล เขาบอกผมว่าจ�ำหน้าไม่ได้หรอก ต้องจ�ำที่เต้า เพราะเขาคล�ำมันทุกเช้าเพื่อรีดนม ก้มดูก็รู้เลย ว่ า เต้ า มี ป านด� ำ แบบนี้ คื อ นั ง แต้ ม มี ขี้ แ มลงวั น แบบนั้ น คื อ นังล�ำดวน ฯลฯ

01 ลับแล...มหัศจรรย์หมู่บ้าน หลังเขา 02 รถมอเตอร์ไซค์ขึ้นไปบรรทุก ผลไม้ลงมาจากภูเขา 03 ขนทุเรียนมีค่าดั่งทอง 04 เนื้อทุเรียนพันธ์ุหลิน เหลืองอร่าม ชวนชิม 05 “หลิน” ทุเรียนสายพันธุ์ใหม่ ความภูมิใจของชาวลับแล

47

03

05

วันหนึ่ง ผมถามชาวสวนผลไม้ เมืองลับแลอุตรดิตถ์ว่า ไปเที่ยวชิมผลไม้ สวนไหนๆ ก็ไม่เห็นมีรั้วแบ่งอาณาเขต ว่า นี่สวนใคร นั่นสวนใคร สมมติทุเรียนสวน เราหล่นลงไปในสวนเขาล่ะจะท�ำไง คน ลับแลตอบว่า ก็ไม่ต้องท�ำอะไร เดี๋ยวสวน โน้นเขามาดู ถ้าไม่ใช่ของเขา เขาก็เอามา คืนเราเอง คนที่นี่เขาท�ำสวนมาหลายชั่ว อายุ ค น ทุ เ รี ย นหล่ น ตรงไหน ยกขึ้ น ดู รูปพรรณสัณฐานอึดใจเดียวก็รู้ แล้วทุเรียนหลง - หลินลับแล แพงราวกับทองค�ำอย่างนี้ ไม่มีกรณีขโมย ทุเรียนกันบ้างเลยรึ เขาบอกว่ามี แต่สว่ นมากเป็นคน ต่างถิ่นมาขโมย ถ้าจับได้ตอนกลางคืน

ก็ จั บ มั ด ติ ด กั บ ต้ น ทุ เ รี ย นไว้ อ ย่ า งนั้ น จนกว่าจะรุง่ เช้าจึงส่งตัวให้ต�ำรวจ ก่อนส่ง ก็ถ่ายรูปไว้ให้สวนอื่นคอยระวัง ผลไม้ลับแลท�ำรายได้มหาศาล อย่ า งนี้ ไม่ มี เ ศรษฐี ม าทุ ่ ม ทุ น กว้ า นซื้ อ ที่ดินกันบ้างหรือ ค�ำตอบที่ได้รับน่าสนใจ ยิง่ นัก คือ ชาวบ้านทีน่ อี่ ยูก่ นั มานานหลาย ชั่วอายุคน ที่ดินจึงไม่มีเอกสารสิทธิ์ แต่มี สวนผลไม้ที่ท�ำกินกันมาหลายชั่วอายุคน เป็นหลักฐานแสดงสิทธิท์ สี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ส่งผล ให้ที่ดินไม่เปลี่ยนมือ เพราะไม่สามารถ ซื้อขายได้ นอกจากลูกหลานไม่ต้องมา ตบตีแย่งชิงกองมรดกกันให้วุ่นวายแล้ว นี่ยังเป็นค�ำตอบส�ำคัญยิ่งนักว่า เหตุใด... ชาวลับแลจึงเก็บง�ำวัฒนธรรมประเพณี ที่เป็นเอกลักษณ์ไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ก็เพราะเป็นชุมชนทีผ่ คู้ นอยูต่ ดิ ที่ ไม่ย้ายถิ่นไปท�ำกินในเมืองใหญ่ หรือไป ใช้แรงงานเมืองนอก ประเภท “ไปเสียนา มาเสียเมีย” สถาบันครอบครัวล่มสลาย ภู มิ ป ั ญ ญาพื้ น บ้ า น วั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ล�้ำเลอค่าถูกฝังไว้ในดิน เด็กกับคนแก่ไว้ เฝ้าบ้าน อย่างทีพ่ บเห็นได้ไม่ยากในหลาย ชุมชน แต่ไม่ใช่ที่ลับแล


48

The Journey

The Journey

ต้นปี 2555 ผมและเพือ่ นช่างภาพ จิตอาสา ในนามกลุ่มสห+ภาพ ชุมชน คนถ่ายภาพ (Foto United Club) ถูก ชั ก ชวนให้ ไ ปบั น ทึ ก ภาพงาน “สื บ สาน งานศิลป์ถิ่นลับแลง” (ชื่อเดิมของลับแล) แล้วต้องแปลกใจว่า ช่างภาพและนักเขียน สารคดีอย่างพวกเรามัวไปท�ำอะไรอยูท่ ไี่ หน จึ ง ไม่ รู ้ จั ก ชุ ม ชนที่ มั่ ง คั่ ง ด้ ว ยทรั พ ยากร ธรรมชาติ รุ่มรวยด้วยวัฒนธรรม เฟื่องฟู ด้วยงานประเพณีเปี่ยมสีสันเช่นนี้ ช่ ว งกลางปี ที่ ผ ่ า นมาในเดื อ น กรกฎาคม หลายถิ่ น ทั่ ว ไทยมี ง านบุ ญ สลากภัตร ที่ลับแลก็มีเช่นกัน แต่ภาพที่ น่าตืน่ ตาตืน่ ใจคือ ชาวลับแลหอบหิว้ ผลไม้ ไปท�ำบุญกันเอิกเกริก โดยเฉพาะทุเรียน พันธุด์ งั ของลับแล ทัง้ หมอนทอง หลง และ หลิน ซึ่งไม่ใช่แค่แกะเปลือกแล้วใส่จาน ถวายพระกัน 2 - 3 เม็ดอย่างที่เคยเห็น แต่ ช าวลั บ แลถวายทุ เ รี ย นกั น เป็ น ลู ก ๆ บางครอบครัวหลายลูก จนอยากจะเรียก

“บุญสลากภัตรผลไม้” ไถ่ถามได้ความว่า บรรพชนให้ อ าชี พ ท� ำ สวนผลไม้ ไ ว้ ใ ห้ ลูกหลานท�ำกินอย่างยัง่ ยืนชัว่ ชีวติ พวกเขา จึงถวายผลไม้แทนความกตัญญูกตเวทิตา ทั้งต่อบรรพชนและต่อผลไม้ ว่ากันว่า ถ้าไปเที่ยวสวนทุเรียน ของชาวลับแลช่วงนัน้ ให้ระวังทุเรียนหล่น ใส่ศีรษะให้ดี เพราะมันมีลูกดกจัด จน คนปีนไปเก็บลูกที่อยู่ไกลๆ ไม่ไหว ต้อง ปล่อยให้สุกร่วงลงมาเอง อีกทั้งจะเห็น มอเตอร์ ไ ซค์ วิ่ ง ผ่ า นไป-มาไม่ ข าดสาย ล้วนเป็นมอเตอร์ไซค์ขนส่งทุเรียนลงมา จากสวนผลไม้บนภูเขา ทุกคันจะมีโครง เหล็ก ท�ำเป็นตะแกรงติดไว้ที่เบาะหลัง ส�ำหรับบรรทุกทุเรียนได้ครั้งละหลายสิบ ลูก แต่ละลูกมีค่าดั่งทอง ภูเขาที่ล้อมรอบ ลับแลจึงได้ชื่อว่า “ภูเขากินได้” สะท้อน ความเป็นมหาอ�ำนาจด้านผลไม้ เพราะท�ำ รายได้ให้อ�ำเภอเล็กๆ แห่งนี้ปีละหลาย ร้อยล้านบาท 06

07

08

ถึงเดือนสิงหาคม ทุเรียนใกล้จะ วาย แต่มงั คุด ลางสาด ลองกอง ก�ำลังเต็ม ต้น คราวนี้ชาวลับแลจัดงานบุญบายศรี สูข่ วัญผลไม้ ตอบแทนบุญคุณผลไม้เป็นการ เฉพาะกันอย่างเอิกเกริก นับเป็นการอยูก่ บั ธรรมชาติ รู้คุณธรรมชาติอย่างน่ายกย่อง สรรเสริญ ค�ำว่า “ธรรมชาติ” อาจเป็นทั้ง นามธรรม และรูปธรรมทีส่ มั ผัสได้ดว้ ยความ รู้สึก ประเพณีนี้สร้างขวัญและก�ำลังใจให้ ชาวบ้าน ตามมาด้วยความเคารพย�ำเกรง ต่อธรรมชาติ ไม่ตัดไม้ท�ำลายป่า เพราะ ชาวลับแลตระหนักดีว่า ผลไม้งามดี ก็ เพราะมีป่าปก ผลไม้ จึ ง ไม่ เ พี ย งสร้ า งความ มั่งคั่งให้ชาวลับแล แต่ยังช่วยอนุรักษ์ป่า และรักษาอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมล�้ำค่า ของชาวลับแลไว้อย่างดีด้วย บรรพชนของชาวลั บ แลนั้ น อพยพมาจากชัยบุรศี รีเชียงแสน ในดินแดน ล้ า นนาแต่ โ บราณ (ปั จ จุ บั น คื อ อ� ำ เภอ 06 ส่วนหนึ่งของผลไม้ที่เข้าสู่ พิธีบายศรีสู่ขวัญ 07 อลังการต้นลางกอง ส่วนผสมของลางสาด กับลองกอง 08 ขนทุเรียนกับเงาะไปทำ�บุญ สลากภัตรผลไม้ 09 ทำ�บุญสลากภัตรผลไม้ ภาพสะท้อนความมั่งคั่ง ของลับแล 10 พิธีบายศรีสู่ขวัญผลไม้ เอกลักษณ์โดดเด่น ของชาวลับแล 11 เมื่อการรำ�กลองยาวแบบ ภาคกลาง มาสังสรรค์กับ การฟ้อนแง้นแบบล้านนา 12 ฟ้อนแง้นถวายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ผู้ประทานความอุดมสมบูรณ์ ให้ลับแล

09

10 11

เชียงแสน จังหวัดเชียงราย) พวกเขาจึงพูด ภาษาเหนือ หรือ “อู้ก�ำเมือง” เชี่ยวชาญ การทอผ้าซิ่นตีนจก และมีวิถีด�ำเนินชีวิต แบบคนเหนือ แต่เมือ่ อพยพมาอยูใ่ กล้ชาว ภาคกลาง ก็รับเอาอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาคกลางมาผสมกลมกลืนกันไปอย่าง แนบเนียน เหตุนี้เอง ในขบวนแห่ผลไม้ ไปเข้าพิธีบายศรีของชาวลับแล เราจึงได้ เห็นขบวนแถวของนักเรียนตีกลองยาวเดิน น�ำหน้า เป็นการตีกลองยาวตามจังหวะ ท� ำ นองของคนไทยภาคกลาง ครั้ น เมื่ อ หมอขวัญท�ำพิธีบายศรีเสร็จสิ้น ก็มีการ “ฟ้ อ นแง้ น ” ถวายเทพยดาฟ้ า ดิ น และ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธ์ โดยมี “เพลงซอ” จากวงสะล้อ ซอซึงแบบล้านนาขับกล่อม

49

12

การฟ้ อ นแง้ น เป็ น การแสดง ความสามารถในการทรงตั ว และการ ยืดหยุ่นร่างกายของผู้ฟ้อน ด้วยการค่อยๆ หงายล� ำ ตั ว ไปด้ า นหลั ง จนศี ร ษะถึ ง พื้ น เพื่อเปลี่ยนบรรยากาศ เปลี่ยนลีลาท่าร�ำ ใหม่ๆ ท�ำให้ผชู้ มเกิดสุนทรียภาพในการชม อันหลากหลาย ตามความหมายของค�ำว่า “แง้น” ในภาษาเหนือ คือการแอ่นหรือโค้ง ไปด้านหลังนั่นเอง ทัง้ นี้ ประเพณีการท�ำบุญ

บายศรีผลไม้แต่ดั้งเดิมจะต่างคน ต่างท�ำในครอบครัว ภายหลังจึง มี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ให้ ม าท� ำ พิธีรวมกันอย่างเอิกเกริก ก่อให้ เกิดความงดงามทางวัฒนธรรม

โดยมีคณ ุ กัญญาวีร์ ศิรกิ าญจนารั ก ษ์ นั ก อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื ้ น ฟู วั ฒ นธรรมล้ า นนาแบบลั บ แล เจ้าของพิพิธภัณฑ์ผ้าซิ่นตีนจก “ม่ อ นลั บ แล” เป็ น ผู ้ มี บ ทบาท ส�ำคัญในการพัฒนาประเพณีนี้ ท� ำ ให้ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ว ่ า ลั บ แล มิเพียงแต่มงั่ คัง่ ด้วยผลไม้ หากยัง รุ่มรวยทางวัฒนธรรมอย่างน่า ประทับใจ สมกับชื่อโครงการที่ คุณกัญญาวีรต์ งั้ ขึน้ เพือ่ สืบสาน จิตวิญญาณล้านนาแบบลับแล ทีว่ า่ “ลับแล...มหัศจรรย์หมูบ่ า้ น หลังเขา”


50

Around the World

Around the World เรื่อง : ชนาภา สุวงศ์

51

“ฮาร์บิน”

เยือนเทศกาลแกะสลักน�้ำแข็งระดับโลก ช่ ว งสิ้ น ปี แ บบนี้ เชื่ อ ว่ า หลายคนคงอยากหาที่ เ ที่ ย ว สักแห่ง เพื่อผ่อนคลายหลังจาก การท�ำงานอันแสนเหน็ดเหนื่อย มาทั้งปี โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาว ที่หลายประเทศได้สัมผัสความ หนาวเย็นแบบสุดขั้ว ที่มาพร้อม กับความสวยงามในอีกรูปแบบหนึง่ โดยเฉพาะที่เมืองแห่งนี้ ที่อาจจะ ไม่ได้อยูใ่ นลิสต์ประเทศเมืองหนาว ที่ ห ลายคนอยากไปสั ม ผั ส แต่ คราวนี้ คุ ณ อาจต้ อ งเปลี่ ย นใจ เพราะความงดงามไม่แพ้ประเทศ ใดๆ ณ เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน กับเทศกาลงานแกะสลักหิมะและ น�้ำแข็งระดับนานาชาติ ที่ก�ำลังจะ เริ่มต้นขึ้น

• อาณาจักรน�้ำแข็ง เมืองฮาร์บิน ประเทศจีน

เมือง “ฮาร์บนิ ” เป็นภาษาแมนจู มีความหมายว่า “สถานทีต่ ากแหจับปลา” ตั้ ง อยู ่ ที่ ม ณฑลเฮย์ ห ลงเจี ย ง ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน ใน อดีตเคยเป็นเมืองภายใต้การควบคุมของ รัสเซีย จึงท�ำให้ทุกวันนี้ยังคงมีกลิ่นอาย ของวัฒนธรรมรัสเซียหลงเหลืออยู่ รวมทั้ง ปัจจุบนั ยังเป็นศูนย์กลางการติดต่อค้าขาย กับรัสเซียอีกด้วย อิทธิพลจากวัฒนธรรม ของรัสเซียนั้นเริ่มแพร่เข้ามาเมื่อครั้งสร้าง ทางรถไฟสายจีนตะวันออกไกลและการ ขยายเส้นทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรียน ซึ่ ง ในตอนนั้ น ฮาร์ บิ น เป็ น เพี ย งหมู ่ บ ้ า น ชาวประมงทีเ่ ริม่ พัฒนาขึน้ เรือ่ ยๆ จนในทีส่ ดุ ก็กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและ การค้ า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงเหนือ


52

Around the World

Around the World

เมืองแห่งน�้ำแข็ง

ปั จ จุ บั น นี้ ฮ าร์ บิ น เป็ น เมื อ ง อุ ต สาหกรรมที่ ก� ำ ลั ง เติ บ โตและยั ง เป็ น ศู นย์ ก ลางด้ า นการปกครอง เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการสื่อสาร คมนาคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของจีน นับว่าเป็นเมืองส�ำคัญเมืองหนึ่ง ของเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เมื อ ง แห่งนี้มีสมญานามว่า “ไข่มุกบนคอหงส์” เนือ่ งจากลักษณะของมณฑลเฮย์หลงเจียง มี ลั ก ษณะคล้ า ยหงส์ ส่ ว นสมญานาม อื่นๆ ได้แก่ “มอสโกแห่งตะวันออก” หรือ

01 02

“ปารีสแห่งตะวันออก” เนื่องจากลักษณะ สถาปัตยกรรมของอาคารบ้านเรือนในเมือง ดูคล้ายกับในมอสโกและปารีส ฮาร์ บิ น ยั ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก ในชื่ อ “เมือ งแห่ ง น�้ ำ แข็ ง ” เพราะมี ฤดู หนาวที่ ยาวนานและหนาวเย็นมากๆ เนื่องจาก ต�ำแหน่งที่ตั้งนั้นเป็นจุดที่ได้รับอิทธิพล จากลมหนาวในฤดู ห นาวจากไซบี เ รี ย โดยตรง ท� ำ ให้ ฤ ดู ร ้ อ นมี อุ ณ หภู มิ อ ยู ่ ที่ ประมาณ 21 องศาเซลเซียส ในขณะที่ ฤดูหนาวจะมีอุณหภูมิอยู่ที่ -16 ถึงกว่า -30 องศาเซลเซียสกันเลยทีเดียว ซึ่งฤดู หนาวจะอยู่ระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือน มีนาคม ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้เมืองนี้ขึ้นชื่อ เรื่องความหนาวเย็นแบบสุดขั้ว เมื่ อ ถึ ง ฤดู ห นาวแม่ น�้ ำ ซงหั ว ที่ ไหลผ่านกลางเมืองจะกลายเป็นน�้ำแข็งไป ทั้งสาย สมัยก่อนชาวบ้านจะเจาะน�้ำแข็ง เป็นวงกลม แล้วเอาเบ็ดหย่อนลงไปเพื่อ ตกปลา พอตกดึกชาวบ้านก็จะจุดตะเกียง ส่องแสงสว่างตามหลุมน�้ำแข็ง แสงที่ส่อง สะท้อนนัน้ ให้ความรูส้ กึ สวยงามดูแปลกตา ไปทั้ ง สายน�้ ำ (แข็ ง ) จึ ง กลายเป็ น ที่ ม า 03

ของการน�ำก้อนน�้ำแข็งมาแกะสลักแล้ว ประดับด้วยไฟแสงสีต่างๆ และจากที่แค่ ท�ำกันเพียงในหมูข่ องชาวบ้าน นานวันเข้า ก็ เ ริ่ ม ได้ รั บ การพั ฒ นาให้ ยิ่ ง ใหญ่ แ ละ มีชอื่ เสียงขึน้ เรือ่ ยๆ จนในทีส่ ดุ ก็กลายเป็น เทศกาลงานแกะสลั ก หิ ม ะและน�้ ำ แข็ ง นานาชาติที่ยิ่งใหญ่อลังการ จัดขึ้นเป็น ประจ�ำทุกปีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยงาน จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม เป็นต้นไป กินระยะเวลานาน 1 เดือน เพราะอากาศ ที่หนาวเย็นแบบติ ดลบทั้ งกลางวันและ กลางคืน ท�ำให้สามารถน�ำรูปปัน้ ทีแ่ กะสลัก หิมะและน�้ำแข็งมาจัดแสดงอวดโฉมให้ นักท่องเที่ยวชื่นชมได้นานอีกเป็นเดือนๆ ดั ง นั้ น นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ปต้ อ ง เตรี ย มตั ว เตรี ย มใจรั บ ความหนาวเย็ น กันให้พร้อมทั้งเสื้อผ้า อุปกรณ์กันหนาว เลือกแบบที่ทนอุณหภูมิติดลบได้ดี ควรมี หมวกคลุมหัว ที่ปิดหู ถุงมือถุงเท้าหนาๆ 01 แวะสักการะพระพุทธรูปทองค�ำองค์ใหญ่ ให้ใจอุ่น 02 - 03 เดินหลบลมหนาว ถ่ายภาพเป็นที่ระลึก ที่ตัวเมืองฮาร์บิน

04 06

07

ผ้ า พั น คอ และรองเท้ า ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ ลุ ย หิมะได้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเดิน ดู ค วามสวยงามของรู ป ปั ้ น ที่ จั ด แสดง กลางแจ้งทัง้ กลางวันและกลางคืนให้สนุก ได้อย่างเต็มที่

เทศกาลแกะสลักหิมะและน�้ำแข็ง

เทศกาลแกะสลักหิมะและน�ำ้ แข็ง นานาชาติ หรือ Harbin International Ice and Snow Festival นัน้ มีความยิง่ ใหญ่ มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ทุ ก ปี มี ผู ้ เ ข้ า ชมเป็ น จ�ำนวนหลายล้านคนจากทั้งชาวจีนและ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากทั่ ว โลก สร้ า งรายได้ มากกว่า 50,000 ล้านบาท นอกจากนี้ จีน ยัง ใช้โ อกาสช่ว งเทศกาลนี้ ส่ง เสริม การประชุมทางการค้าและเจรจาธุรกิจ ที่มีมูลค่าตามมาอีกกว่าหลายหมื่นล้าน บาท เรียกได้ว่าเป็นการน�ำข้อจ�ำกัดของ

53

05 04 - 07 รูปปั้นน�้ำแข็งแกะสลักในเทศกาล แกะสลักหิมะและน�ำ้ แข็ง (Harbin International Ice and Snow Festival)

ซึ่งแต่ละปีจะมีรูปแบบที่แตกต่างออกไป ขนาดว่าตัวการ์ตูนน่ารักๆ จากค่ายดิสนีย์ ก็เคยไปบุกลานน�้ำแข็งยักษ์ใหญ่แห่งนี้ มาแล้วเช่นกัน พอตกกลางคืนรูปปัน้ น�ำ้ แข็ง ต่างๆ ก็จะถูกเนรมิตเหมือนใหม่ เนือ่ งจาก ประดับประดาไปด้วยแสงไฟสีสนั สวยงาม จนดูสวยแปลกตาน่าทึ่งไปอีกแบบ แนะน� ำ ว่ า ให้ ช มเทศกาลหิ ม ะ ฮาร์บนิ ในตอนกลางวันทีเ่ กาะพระอาทิตย์ ที่มีพื้นที่จัดแสดงกว้างใหญ่ เดินชมได้ ทั้งวันไม่มีเบื่อ ส่วนในตอนกลางคืนค่อย มาชมเทศกาลแกะสลั ก น�้ ำ แข็ ง เพราะ เขาจะเปิ ด ไฟส่ อ งสว่ า งเป็ น สี สั น ต่ า งๆ บนน�้ำแข็งสวยงามอลังการ และที่ส�ำคัญ ในงานจะมี กิ จ กรรมทั้ ง การแข่ ง ขั น แกะสลักหิมะ แกะสลักน�ำ้ แข็ง การแข่งขัน สกี Yabuli Alpine การแข่งขันว่ายน�้ำใน แม่น�้ำซงหัว และนิทรรศการโคมน�้ำแข็ง ในสวนเจ้าหลินอีกด้วย

อุณหภูมิอ ากาศที่ห นาวเหน็บ มาสร้า ง โอกาสทางธุ ร กิ จ หาเงิ น เข้ า ประเทศที่ ดี ทีเดียว เทศกาลนีถ้ อื ว่าเป็นเทศกาลหิมะ น�ำ้ แข็งทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกไปแล้ว เพราะจัด บนพื้นที่กว้างใหญ่ถึงกว่า 6 แสนตาราง เมตร ใช้น�้ำแข็งมากถึง 1.8 แสนลูกบาศก์ เมตร น�ำมาสร้างรูปปั้นน�้ำแข็งกว่า 2,000 ชิ้น โดยในแต่ละปีการแกะสลักได้พัฒนา ให้สวยขึ้นเรื่อยๆ แต่ละชิ้นงานใหญ่โต อลังการมาก บางชิ้นสูงใหญ่เท่ากับตึก 10 ชั้นมาตั้งตระหง่านอยู่ตรงหน้ากันเลย ทีเดียว ไม่ว่าจะแกะสลักเป็นรูปปราสาท พระราชวั ง ก� ำ แพงเมื อ งจี น หอคอย กังหันลม ที่ขนาดอาจจะไม่เท่าของจริง แต่กส็ งู ใหญ่ทว่ มหัวคนทีม่ าเดินเทีย่ วอย่าง เที่ยวฮาร์บิน นอกจากเทศกาลหิมะและน�ำ้ แข็ง มากมาย แถมบางชิ้นงานนักท่องเที่ยว ยังสามารถเข้าไปชื่นชมด้านในได้อีกด้วย ที่ยิ่งใหญ่ของฮาร์บินแล้ว เมืองฮาร์บิน


54

Around the World

08 08 วิหารเซนต์โซเฟีย สถาปัตยกรรม โบราณสไตล์รัสเซีย 09 พักไอหนาวมาเดินรับไออุ่น ที่ถนนจงหยาง

ยังเป็นหนึ่งในเมืองที่สวยงามที่สุดของจีน ทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่ควรพลาดมาชืน่ ชมความ งาม โดยเฉพาะในด้านสถาปัตยกรรมที่ มีความงดงามไม่แพ้ชาติใด ที่แม้จะได้รับ อิ ท ธิ พ ลมาจากรั ส เซี ย และยุ โ รป แต่ ก็ มีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัว แนะน�ำ ให้ลองไปเดินเที่ยวชมที่ ถนนจงหยาง ซึ่ง เป็นถนนย่านธุรกิจสายหนึ่งในฮาร์บิน ตั้ง อยู ่ ใ นเขตเต้ า หลี่ นอกจากจะเป็ น ถนน ช็อปปิ้งของนักท่องเที่ยวแล้ว ถนนเส้นนี้ ยั ง เป็ น เหมื อ นพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ จั ด แสดง สถาปัตยกรรมของชาติตา่ งๆ ทัง้ แบบยุโรป ทีม่ ลี วดลายการตกแต่งอาคารแบบบาโรก และไบแซนไทน์ อาคารสถาปัตยกรรม แบบยิว ร้านค้าเล็กๆ สไตล์รสั เซีย บ้านเรือน กลิน่ อายฝรัง่ เศส ศูนย์อาหารแบบอเมริกนั และภัตตาคารแบบญี่ปุ่น เรียกได้ว่าเป็น ถนนที่ มี สิ่ ง ก่ อ สร้ า งสไตล์ ต ่ า งประเทศ ปรากฏอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก แม้วา่ ในปัจจุบนั ความงดงามในอดีตจะค่อยๆ จางหายไป กั บ กาลเวลาและความทั น สมั ย ของ ห้างสรรพสินค้าต่างๆ ที่เริ่มเข้ามาแทนที่

09

อย่ า งไรก็ ต าม เมื่ อ ผู ้ ค นได้ เ ห็ น ตึ ก ราม บ้ า นช่ อ งที่ ยั ง คงเหลื อ อยู ่ ก็ ยั ง ชวนให้ ระลึ ก ถึ ง ความยิ่ ง ใหญ่ ใ นอดี ต ของถนน แห่งนี้ได้เสมอ ยิ่งไปกว่านั้นในเขตเต้าหลี่นี้ ยัง เป็นที่ตั้งของ วิหารเซนต์โซเฟีย ซึ่งเป็น โบสถ์คริสต์นกิ ายรัสเซียออร์ทอดอกซ์ เป็น โบสถ์เก่าแก่ทชี่ าวรัสเซียสร้างขึน้ สมัยก่อน เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาที่ส�ำคัญต่างๆ แต่ต่อมาถูกท�ำลาย ตอนปฏิวัติวัฒนธรรม จึงได้มีการก่อสร้าง ขึ้นใหม่ให้คงแบบเดิมไว้ให้มากที่สุด ใช้ เวลาสร้างทั้งหมด 9 ปี แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2475 ปัจจุบันได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็น พิพิธภัณฑ์ เพื่อจัดแสดงสถาปัตยกรรม อันหลากหลายของเมืองฮาร์บนิ ซึง่ ยังคงมี กลิ่นอายของวัฒนธรรมรัสเซียเหมือนเมื่อ ครัง้ อดีต โบสถ์เซนต์โซเฟียตัง้ ตระหง่านอยู่ บนถนนจงหยาง ซึ่งเป็นถนนย่านการค้าที่ เจริญที่สุดของเมืองฮาร์บิน และกลายมา เป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญที่มีเอกลักษณ์ แห่งหนึ่งของเมืองนี้ ส�ำหรับการเดินทางมาทีฮ่ าร์บนิ นัน้ ไม่ยากอย่างที่คิด สามารถขึ้นเครื่องบิน มาลงที่กรุงปักกิ่งก่อนแล้วต่อเครื่องบิน หรือรถไฟไปทีเ่ มืองก็ได้ หากอยากเดินทาง

ด้ ว ยรถไฟ แนะน� ำ ให้ นั่ ง รถไฟหั ว จรวด นักท่องเที่ยวต้องเช็คเวลาเดินทางให้ดี เพราะเปิ ด การเดิ น รถเพี ย งไม่ กี่ เ ดื อ น เท่านั้น เป็นรถไฟความเร็วสูง ปลอดภัย และน่านัง่ ใช้เวลาประมาณเพียง 8 ชัว่ โมง เท่านัน้ นักท่องเทีย่ วจะได้สมั ผัสบรรยากาศ ในอีกรูปแบบหนึ่ง ส่วนที่พักที่นี่ก็มีหลายระดับให้ เลือก สะดวกสบายพอสมควร เพราะเป็น ประเทศที่ เ ปิ ด ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วมาเยื อ น หลายสิบปีแล้ว ลบภาพหัวเมืองหลักๆ ของประเทศจีนไปได้เลย เพราะทีน่ มี่ คี วาม แตกต่างอย่างสิน้ เชิง ถือเป็นเมืองทีท่ นั สมัย มี วิ ว ทิ ว ทั ศ น์ ที่ ส วยงาม เปิ ด รอคอย นักท่องเทีย่ วให้มาสัมผัสอากาศหนาวเย็น ที่เป็นเสน่ห์ของที่นี่ในทุกๆ ปี นั บ เป็ น ประสบการณ์

เผชิญความหนาวทีน่ า่ ตืน่ เต้นและ ประทับใจแบบสุดๆ ถือเป็นการ เปลีย่ นบรรยากาศไปสัมผัสความ หนาวเย็ น ของหิ ม ะท่ า มกลาง ทัศนียภาพที่สวยงาม เพื่อการ พั ก ผ่ อ นที่ แ ตกต่ า งออกไปจาก เดิม แถมด้วยประสบการณ์ชีวิต ในมุมใหม่ๆ ได้อีกด้วย

31 ธันวาคม 2555


56

Go Around

Go Around

เรื่อง : ชนาภา สุวงศ์ ภาพ : ถนอมพงศ์ ชัยชนะ

เทีย่ วชม ค้นคว้าข้อมูล และเรียนรู้ เกีย่ วกับพระอัจฉริยภาพทางด้าน การเกษตรของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อจะได้เห็นว่า ในหลวงรักเรามากแค่ไหน

พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

บนพื้ น ที่ สี เ ขี ย วและตั ว อาคาร อันกว้างใหญ่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ จั ด ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก ารเกษตรเฉลิ ม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน โอกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ในปี พ.ศ. 2539 และเพื่อเผยแพร่พระอัจฉริยภาพของพระองค์ ต่อมากระทรวง เกษตรและสหกรณ์ได้ด�ำเนินการจัดตั้ง ส�ำนักงานพิพธิ ภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การ มหาชน) ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ ข้ า มาด� ำ เนิ น การ บริหารงาน เมื่อปี พ.ศ. 2552 และเนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 84 พรรษาของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2554 จึงได้มีการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบนิทรรศการ ภายในและกิจกรรมภายนอกตัวอาคาร ให้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิตที่น่าสนใจ ยิง่ ขึน้ เพือ่ เผยแพร่พระอัจฉริยภาพทางด้าน การเกษตรของพระองค์ รวมทั้งภูมิปัญญา ชาวบ้านและนวัตกรรมการเกษตรของไทย

กษัตริย์ เกษตร ไม่ใกล้ ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ บริเวณคลอง หนึ่ง จังหวัดปทุมธานี มีแหล่งเรียนรู้อันทันสมัย ทางด้ า นการเกษตรที่ ยิ่ ง ใหญ่ ต ามหลั ก ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และเพียบพร้อมไปด้วยกิจกรรม ที่เป็นทั้งภูมิปัญญาและนวัตกรรมใหม่ๆ ทางด้าน การเกษตร เปิ ด รอคอยให้ ผู ้ ที่ ส นใจได้ เ ข้ า มา

นิ ท รรศการภายในอาคารของ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ก ารเกษตรเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้เรียงร้อย เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ พระอั จ ฉริ ย ภาพทาง ด้ า นการเกษตรของพระองค์ เ อาไว้ ไ ด้ อย่างน่าสนใจ ทัง้ เรือ่ งของพระราชประวัติ พระราชกรณี ย กิ จ หลั ก การทรงงาน

ของพระองค์ ผลงานอั น เนื่ อ งมาจาก พระอัจฉริยภาพ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง รวมทั้งนวัตกรรมและภูมิปัญญา ชาวบ้ า นที่ น� ำ แนวคิ ด ของพระองค์ ไ ป ต่อยอดพัฒนา โดยแบ่งเป็นโซนต่างๆ อาทิ พระราชพิธใี นวิถเี กษตร ภาพยนตร์สามมิติ เรื่องกษัตริย์ เกษตร เรื่องของพ่อในบ้าน ของเรา หัวใจใฝ่เกษตร ตามรอยพ่อ วิถี เกษตรของพ่อ นวัตกรรมของพ่อ ภูมิพลัง แผ่นดิน น�้ำคือชีวิต เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีสว่ นนิทรรศการหมุนเวียนทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กั บ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และ การเกษตรอีกด้วย จุดเด่นของที่นี่คือ นิทรรศการ เหล่านี้มีการน�ำเสนอในรูปแบบใหม่ด้วย เทคโนโลยีอันทันสมัย ทั้งสื่อจัดแสดง หุ่น จ�ำลอง สื่อผสมเสมือนจริง และที่โดดเด่น คือสือ่ มัลติมเี ดียแอนิเมชัน่ เป็นภาพยนตร์ สามมิติ ซึง่ ล้วนมีความน่าสนใจ ไม่นา่ เบือ่ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง และชวนให้ ติดตามตั้งแต่ต้นจนจบ

57


58

Go Around

Go Around

คุณจารุรฐั จงพุฒศิ ริ ิ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพิพธิ ภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เล่าให้ฟงั ถึง ส่วนของนิทรรศการว่า “เราได้ปรับปรุงในส่วนนิทรรศการ โดยเริ่ ม เรื่ อ งราวด้ ว ยส่ ว นของ กษัตริย์ เกษตร ที่ให้คนเข้ามาเรียนรู้ว่า ในหลวงรักเรายังไง เห็นได้จากพิธีจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ ที่ท�ำเพื่อประโยชน์ สุ ข ของมหาชนชาวสยามทางด้ า นการ เกษตรจริ ง ๆ และในหั ว ข้ อ ก� ำ เนิ ด ของ กษั ต ริ ย ์ พระราชประวั ติ ข องพระองค์ ว่าดูแลทุกข์สุขราษฎรอย่างไรบ้าง เสนอ หลักการทรงงานของพระองค์ เพื่อให้คน มาดูแล้วน�ำไปปฏิบัติตามได้ นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพ่อในบ้านของเรา แสดงให้ เห็นว่าพระองค์เสด็จฯ ไปทรงเยีย่ มราษฎร ทัว่ ทุกจังหวัด เพือ่ ดูแลทุกข์สขุ ของพวกเขา ทั้ ง ยั ง พระราชทานแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพียง รวมถึงการน�ำแนวคิดนัน้ มาปฏิบตั ิ เป็นผลิตภัณฑ์ได้จริง จัดแสดงไว้ในห้อง สวนจิ ต รลดา โครงการหลวง เพื่ อ เป็ น ต้นแบบให้คนน�ำไปประยุกต์ใช้ แสดงให้

เห็นว่า มีการจัดการท�ำเป็นตัวอย่างให้เห็น และแสดงนวัตกรรม รางวัลของพระองค์ เพือ่ ให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ อย่างครบถ้วน โดยน�ำเสนอในรูปแบบที่ หลากหลาย โดยเฉพาะภาพยนตร์สามมิติ เรื่ อ งพระราชกรณี ย กิ จ ของพระองค์ ที่อยากให้คนมาดูแล้วซึมซับตรงนี้ไป”

ฐานการเรี ย นรู ้ สู ่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ มีชีวิต

นอกจากนิ ท รรศการภายใน อาคารแล้ว ยังมีฐานการเรียนรู้ภายนอก อาคาร เพื่ อ เป็ น การน� ำ แนวความคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาทดลอง ปฏิบัติจริงส�ำหรับผู้ที่สนใจ ด้วยเหตุนี้จึง ได้ชื่อว่าเป็นพิพิธภัณฑ์มีชีวิต ที่สามารถ มาศึกษา สัมผัสจับต้อง และมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ า งชิ้ น งานการจั ด แสดงได้ ทั้ ง ยั ง สามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปทดลองปฏิบัติ จริง เพื่อช่วยให้การเรียนรู้เข้าใจได้ง่าย ยิ่งขึ้นอีกด้วย ตั ว อย่ า งฐานการเรี ย นรู ้ เช่ น ฐานเกษตรพอเพียงเมือง เป็นการน�ำเสนอ

วิธที ำ� การเกษตรของคนเมืองทีม่ พี นื้ ทีน่ อ้ ย แต่ก็สามารถท�ำการเกษตรตามแนวคิด ความพอเพียงได้ ทั้งการปลูกผักในบ่อ ซีเมนต์ การปลูกพืชบนดาดฟ้า เป็นต้น ฐาน 1 ไร่พอเพียง เป็นการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้ ว ยกิ จ กรรมวิ ถี เ กษตรแบบเศรษฐกิ จ พอเพียง ท�ำให้เกษตรกรสามารถอยู่อย่าง พึ่งตนเองได้ ไม่ว่าจะเป็นการท�ำนา ปลูก พืชผัก การเพาะเห็ด ท�ำสวนครัว เลี้ยง ปลา เลี้ยงไก่ การใช้โซลาร์เซลล์เพื่อผลิต ไฟฟ้า เป็นต้น ฐาน 9 ไร่ 9 แสน เป็นการ ประยุกต์ใช้เกษตรทฤษฎีใหม่ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรียนรู้การจัดการใน พื้นที่แปลงขนาดเล็ก แสดงให้เห็นว่าท�ำ อย่างพอเพียงก็สามารถรวยได้ ฐานนา โยนกล้ า เป็ นการปลู กข้ า วด้ ว ยเทคนิค การท�ำนาโยนกล้า ลดต้นทุนในการผลิต ประหยั ด แรงงาน ลดเวลาและความ เหนื่อยยากในการท�ำงาน ให้ผลผลิตสูง ด้วยเทคนิคเกษตรอินทรีย์

ตลาดนัดเศรษฐกิจพอเพียง

อีกหนึ่งกิจกรรมที่โดดเด่นของ ที่ นี่ คื อ การจั ด งานตลาดนั ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย งขึ้ น ทุ ก เดื อ น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง ความรู้ด้านการเกษตร โดยประเด็นองค์ ความรู้ในแต่ละครั้งก็จะแตกต่างกันไป กิ จ กรรมในงานจะมี ก ารเอาสิ น ค้ า มา ขาย แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างผู้ที่ มีประสบการณ์จริงกับประชาชนที่สนใจ และยังมีการฝึกปฏิบัติกับหลักสูตรอบรม พื้นฐานส�ำหรับผู้ที่สนใจ โดยไม่เสียค่า ใช้จ่ายด้วย ซึ่งวิทยากรจะเป็นผู้ที่ปฏิบัติ

และมีประสบการณ์จริงอยู่แล้ว ทั้งการ ปลูกผักบนพื้นปูน การเพาะเห็ด การท�ำ ปุ๋ยชีวภาพ การท� ำสบู่ เป็นต้น เพื่อให้ ผู้ที่มาร่วมงานได้ทั้งความรู้ และสามารถ น�ำกลับไปใช้ได้จริง ยิ่งไปกว่านั้น ที่พิพิธภัณฑ์การ เกษตรฯ ยังมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้แก่กลุม่ ต่างๆ ทีส่ นใจ โดยสามารถเลือก กิจกรรมให้เหมาะสมกับกลุม่ ของตนเองได้ ซึ่งมีทั้งกิจกรรมเรียนรู้ส�ำหรับเด็ก ส�ำหรับ บริษัทองค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรม การเพาะเห็ดตะกร้า การโยนกล้า หรือการ ด�ำนา นอกจากนี้ที่นี่ยังมีเครือข่ายศูนย์ การเรี ย นรู ้ อ ยู ่ ที่ ต ่ า งจั ง หวั ด ด้ ว ย ได้ แ ก่ เชียงใหม่ ฉะเชิงเทรา จันทบุรี นครราชสีมา และชุมพร คุณจารุรัฐเล่าว่า “ผลตอบรับ ดีมาก เพราะแหล่งเรียนรู้ทางการเกษตร ของเราหายาก มีทงั้ นักเรียน นักศึกษาจาก หลายสถาบันเข้ามาเยอะ เขารู้สึกสนุก ได้ความรู้ ก่อนมาเขาจะคิดว่าการเกษตร เป็ น เรื่ อ งไกลตั ว แต่ พ อมาดู จ ะเห็ น ว่ า เป็นเรื่องอาหารการกิน เรื่องปากเรื่องท้อง

59

เราทั้ ง นั้ น ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งใกล้ ตั ว คนที่ ม า ก็จะบอกว่าทีน่ เี่ ป็นประโยชน์สำ� หรับเขามาก เหมือนเป็นตัวกลางทีเ่ ชือ่ มโยงองค์ความรู้ ไปยังกลุ่มเป้าหมาย “เราเป็นเหมือนศูนย์การเรียนรู้ ที่น้อมน�ำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้จริง คนที่มาก็จะเห็นว่าเขาเอาไปท�ำอาชีพได้ จริง ถ้าคุณมีองค์ความรู้ ขยัน และท�ำจริง คุณก็สามารถมีรายได้ทัดเทียมอาชีพอื่น ได้เหมือนกัน” ในปี พ.ศ. 2556 คาดว่า

จะเปิดนิทรรศการในอาคารชั้น 2 ที่ มี เ นื้ อ หาต่ อ เนื่ อ ง และให้ อ งค์ ความรู้ที่ครบถ้วนมากขึ้น โดย แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการ น้อมน�ำค�ำพ่อสอนมาใช้ แสดงถึง นวัตกรรมเกษตร องค์ความรู้ เกษตร และวิวฒ ั นาการเกษตรไทย และเกษตรโลก ในฐานะคนไทย ควรมาเรียนรู้ที่นี่สักครั้ง

พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เปิดให้เข้าชมวันอังคาร - วันอาทิตย์ เวลา 09.30 - 15.30 น. สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0-2529-2212-13


60

Smart Life

Smart Life

เรื่อง : สุทธินี ใจสมิทธ์ ภาพ : วิภัทร พันธุ์นราวิกิจ

ร้อยเอก ชาล์ ศิริวรรณยา ชีวิตนี้เสียสละแด่แผ่นดิน

ด้ ว ยหั ว ใจที่ เ ต็ ม เปี ่ ย มไปด้ ว ยความรั ก และพร้ อ มเสี ย สละ เพื่อประเทศชาติในทุกวินาที ท�ำให้ร้อยเอก ชาล์ ศิริวรรณยา หรือ ผู้กองฝ้าย ครูประจ�ำแผนกอาวุธน�ำวิถี โรงเรียนทหารสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก ไม่เคยนึกเสียใจทีต่ อ้ งสูญเสียขาข้างซ้ายจาก เหตุระเบิดที่จังหวัดนราธิวาส หากแต่เต็มไปด้วยความภาคภูมิใจที่ ชีวิตนี้ตัดสินใจมาเป็น “ทหาร”

เส้นทางชีวิตที่เลือกเอง

ย้อนกลับไปในช่วงชีวิตวัยเด็ก ผู้กองฝ้ายเล่าให้เราฟังว่า “พื้นเพผมเป็น คนจังหวัดนครพนม มีพี่น้องสองคนคือ ผมกั บ พี่ ส าว ด้ ว ยความที่ เ ป็ น ลู ก ชาย เพียงคนเดียว พ่อกับแม่จึงไม่อยากให้ เป็นทหาร พอรู้ว่าจะไปสอบเตรียมทหาร แม่ถึงกับเอาหนังสือไปเผาทิ้ง แต่เราก็ หนี ไ ปสอบจนได้ ทั้ ง ๆ ที่ แ ม่ ไ ม่ อ ยาก ให้เป็น แต่ตอนไปดูผลสอบ พอบอกว่า สอบติด แม่ก็ดีใจใหญ่”

หลั ง จากเรี ย นจบ เขาท� ำ งาน ในเหล่าทหารสรรพาวุธที่โคราช จนมีการ เปิดหลักสูตรท�ำลายล้างวัตถุระเบิด (EOD: Explosive Ordnance Disposal) เพียงแค่ ได้ยินชื่อหลักสูตร ผู้กองฝ้ายก็ตัดสินใจ ลงเรียนทันที “สิง่ แรกทีท่ ำ� ให้ผมอยากเรียน คือ หลักสูตรนี้เปิดสอนยากมาก เพราะ ต้ อ งใช้ พื้ น ที่ ใ นการเรี ย น ซึ่ ง อาจท� ำ ให้ หลั ก สู ต รอื่ น ๆ ไม่ ไ ด้ เ รี ย นกั น อี ก อย่ า ง ตอนที่เรียน เรารู้ว่าไม่อันตรายอยู่แล้ว อย่ า งตอนเรี ย นฟั น ดาบก็ ไ ม่ เ คยมี ใ คร เสียชีวิตนะ ตรงนี้ก็เหมือนกัน”

61


62

Smart Life

Smart Life ลงคะแนนเสียงและประเมิน จากพฤติ ก รรม ตอนเรี ย น ผมคิดอยูต่ ลอดว่าอยากลงไป ท� ำ งานจริ ง พอได้ รั บ เลื อ ก ดีใจมาก ไม่เคยรูส้ กึ กลัวเลย”

ปฏิบัติหน้าที่ด้วยหัวใจ

เป็นเวลาเกือบ 4 ปีที่ ผู ้ ก องฝ้ า ยไปประจ� ำ อยู ่ ที่ หน่วยท�ำลายล้างวัตถุระเบิด หน่ ว ยเฉพาะกิ จ อโณทั ย จั ง หวั ด ปั ต ตานี จนวั น หนึ่ ง ขณะปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ เขา เหยียบถูกกับระเบิด ท�ำให้ ต้องสูญเสียขาข้างซ้ายไป

คนอื่นฟังแล้วบอกเสียใจแทน ผมบอกไม่เป็นไร ผมไม่เสียใจ สุดท้ายที่เหลืออยู่มันคือความภูมิใจ ที่ได้ช่วยปกป้องคนที่อยู่ข้างหลังให้ ได้นอนหลับสบาย ผมท�ำในสิ่งที่ถูกที่ควรแล้ว

การจบหลั ก สู ต ร EOD ไม่ ไ ด้ หมายความว่าทุกคนจะต้องลงไปปฏิบัติ หน้าที่ ทุกอย่างขึ้นอยู่กับความสมัครใจ “หน่ ว ยท� ำ ลายล้ า งวั ต ถุ ร ะเบิ ด ต่ า งจาก หน่ ว ยอื่ น ตรงที่ ว ่ า ไม่ มี ก ารส่ ง ทหารไป หมุ น เวี ย นผลั ด เปลี่ ย น ทุ ก คนที่ ไ ป อันดับแรกต้องสมัครใจ ต่อมาคือครอบครัว อนุญาต ถ้าไม่อนุญาตก็ต้องหนี อย่างผม ก็หนีแม่ไป และสุดท้ายจะมีการคัดเลือก จากผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาในหน่วย โดยมีก าร

“ตอนโดนระเบิ ด ไม่ ไ ด้ ต กใจ แต่ คิ ด อย่ า งเดี ย วว่ า อยากโทร.บอกพ่ อ แม่ เพราะกลั ว เขาจะเห็ น ข่ า วที วี แ ล้ ว คิ ด ว่ า เราตายแล้ ว ปรากฏว่ า โทรศั พ ท์ ตกอยูท่ หี่ ลุมระเบิดเลยไม่ได้โทร. ระหว่างที่ อยู่บนรถก็หลับตาท�ำสมาธิช่วยให้เลือด ไม่ออกมากไปกว่าเดิม จนหมอท�ำการ รักษาเรียบร้อยก็นอนพักที่โรงพยาบาล ช่วงนั้นมีคนห่วงใยเยอะมากๆ ทั้งคนที่ รู้จักและไม่รู้จักกัน”

หากถามถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ จาก เหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นี้ ผู ้ ก องฝ้ า ยตอบอย่ า ง ไม่ลังเล “ไม่ได้ดีใจนะ แต่ก็ไม่เคยเสียใจ มันคือความภาคภูมใิ จทีเ่ ลือกมาท�ำอาชีพนี้ เพราะได้ผ่านสนามรบจริงและท�ำหน้าที่ ของทหารอย่างสุดความสามารถ ทีส่ ำ� คัญ ได้ ป ระสบการณ์ ที่ ดี เพื่ อ นที่ ดี และได้ พิสูจน์ว่าเราเป็นคนแบบไหน เป็นคนที่ กล้าหรือกลัว บางครั้งเวลาต้องสั่งงานคน ให้ไปท�ำงานแทนเราบ้าง มันล�ำบากใจนะ แต่กต็ อ้ งตัดสินใจ เพราะถ้ามัวแต่เห็นใจกัน งานก็ไปต่อไม่ได้ ในทางกลับกัน เราเองก็ ต้องรับงานจากคนที่สูงกว่าเราเหมือนกัน เราก็ต้องไปได้ คนที่สั่งเราเขาก็ล�ำบากใจ เหมือนกัน จะว่าไปแล้วก็คงเหมือนกับ ทหารในหน่วยอื่นๆ ไม่ใช่ว่าเราท�ำงาน เกี่ยวกับระเบิดจะเสี่ยงกว่าเขา ทุกหน่วย เสี่ยงเหมือนกันหมด แม้แต่คนที่ไปจ่าย ตลาดยังเสี่ยงเลย เพราะการป้องกันตัว น้ อ ยมาก ไหนจะร้ า นค้ า เขี ย งหมู มอเตอร์ไซค์ ทุกอย่างที่เดินผ่านใช้ซ่อน ระเบิดได้หมด “การเป็นทหารไม่วา่ จะเป็นทหาร ในส่วนไหน จะอยู่ภาคเหนือ ตก ออก ใต้ ยิ่ ง ถ้ า ได้ มี โ อกาสออกรบ ความภู มิ ใ จ จะมีติดตัวอยู่แล้ว ตัวผมเองถึงจะต้องใส่ ขาเทียม และมีแต่คนเข้ามาถามว่าไปท�ำ อะไรมา ผมก็จะตอบว่าเหยียบกับระเบิด คนอื่นฟังแล้วบอกเสียใจแทน ผมบอก ไม่เป็นไร ผมไม่เสียใจ สุดท้ายที่เหลืออยู่ มันคือความภูมิใจที่ได้ช่วยปกป้องคนที่ อยู่ข้างหลังให้ได้นอนหลับสบาย ผมท�ำ ในสิ่งที่ถูกที่ควรแล้ว”

ฟ้าหลังฝนที่สดใส

ร่างกายของผู้กองฝ้ายกลับมา แข็งแรงอีกครั้ง แม้จะต้องใส่ขาเทียมก็ ไม่ได้เป็นอุปสรรคในการใช้ชวี ติ แต่อย่างใด เมื่ อ ออกจากโรงพยาบาล เขาได้ บ วช ทดแทนพระคุณพ่อแม่ จากนั้นก็กลับมา รับหน้าที่ใหม่นั่นคือ การเป็นครูประจ�ำ แผนกอาวุธน�ำวิถี โรงเรียนทหารสรรพาวุธ กรมสรรพาวุธทหารบก “การเป็นครูประจ�ำแผนกอาวุธ น�ำวิถี ท�ำให้เราต้องหาความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวกับอาวุธยุทโธปกรณ์อยู่เสมอเพื่อ สอนนักศึกษาทหาร แต่ตารางสอนไม่ได้ มีทุกวัน ถ้ามีเวลาว่างเมื่อไหร่ก็จะไปช่วย ฝึกหลักสูตรท�ำลายล้างวัตถุระเบิด EOD ให้กับทหารและต�ำรวจ หรือหาหลักสูตร ที่ ส นใจแล้ ว สมั ค รไปอบรม นอกจากนี้ ก็ ไ ปบรรยายเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ ร ะเบิ ด ให้ กั บ ประชาชนฟังทุกครั้งที่มีโอกาส”

ความพอเพียงคือชีวิต

ชีวติ ประจ�ำวันโดยปกติของผูก้ อง ฝ้ายนั้นกินง่ายอยู่ง่ายตามประสาทหาร ยิง่ เมือ่ ผ่านพ้นเหตุระเบิดมา สิง่ ทีช่ ายคนนี้ ตระหนักมากขึ้นกว่าเดิมคือ “การอยู่แบบ พอเพียง” “ผมไม่เคยคิดว่าตัวเองจะต้อง ได้ต�ำแหน่งส�ำคัญ คิดเพียงอย่างเดียวว่า อยากอยู ่ อ ย่ า งสบายใจ มี อ ยู ่ เ ท่ า ไหร่ ก็ พอใจเท่านั้น จะได้มีความสุขตั้งแต่ต้นๆ ไม่ต้องรอจนมีเงินมีทองมากมาย การมี ความสุขที่ใจไม่ต้องพึ่งพาสิ่งเร้าภายนอก ผมใช้ส ติแ ละธรรมะเข้า มาช่ว ย ตอนนี้ สิง่ ทีผ่ มให้ความส�ำคัญมากเป็นอันดับแรก คือครอบครัว เพราะไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น พวกเขาเป็นคนสุดท้ายทีจ่ ะอยูก่ บั เรา สิง่ ที่ ทหารทุ ก คนต้ อ งเสี ย สละก็ คื อ การห่ า ง ครอบครัว บางครัง้ เมือ่ เกิดปัญหา เราต้อง ปฏิบตั หิ น้าที่ ไม่สามารถมาดูแลครอบครัว

63

ได้ ก็ท�ำให้ล�ำบากใจเหมือนกัน แต่ผม นึ ก ถึ ง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ไว้ ในใจเสมอ เพราะพระองค์ทรงเสียสละ ความสุขส่วนพระองค์ เพื่อให้ประชาชน อยู่ดีมีสุข ผมจึงภูมิใจที่ได้มาเป็นทหาร รั บ ใช้ ช าติ และอยากให้ ค นไทยทุ ก คน รักชาติและสมานสามัคคีมากกว่าทีผ่ า่ นมา ท�ำหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด โดยไม่สร้าง ความเดือดร้อนให้ผอู้ นื่ เพือ่ ให้ทหารประจ�ำ อยูท่ ชี่ ายแดนได้อย่างสบายใจ และพร้อม ปกป้องบ้านเมืองให้ร่มเย็นเป็นสุข” หากมองผิ ว เผิ น แทบดู

ไม่ อ อกเลยว่ า ชายที่ มี ร อยยิ้ ม แสนอบอุ่นและเดินอย่างมั่นใจใน ทุกย่างก้าว ได้ผา่ นเหตุการณ์ครัง้ ยิ่ ง ใหญ่ แ ละรุ น แรงที่ สุ ด ในชี วิ ต มาแล้ว แต่ด้วยจิตใจที่เปี่ยมสุข ทุ ก เวลา ท� ำ ให้ ทุ ก วั น ของเขามี คุณค่าและอิ่มเอมอย่างพอเพียง


64

Green Project

Green Project

เรื่อง : ชนาภา สุวงศ์ ภาพ : ศูนย์ติดต่อสื่อสารเกาะพะลวย

65

พลังงานทดแทน ทั้งพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล รวมทั้ง ยังมีพลังความร่วมมืออย่างแข็งขันของ ชุมชนที่ต้องการความช่วยเหลือ ท�ำให้ สามารถพัฒนาเกาะแห่งนี้ไปด้วยกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ จากแต่ เ ดิ ม ที่ เ กื อ บกลายเป็ น เกาะร้าง เพราะความห่างไกลจากตัวเมือง ไม่มีไฟฟ้ารวมถึงน�้ำประปาใช้บริโภคที่ เพียงพอ แต่ดว้ ยความพร้อมของทรัพยากร ทางธรรมชาติในหลายๆ ด้าน ท�ำให้เกิด หลายโครงการจากหลายหน่ ว ยงานที่

มาใช้ ทั้งการส่งเสริมการใช้ระบบอบแห้ง ระบบสูบน�้ำ และระบบส่องสว่างบนถนน ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ การใช้หลอด ประหยั ด ไฟในครั ว เรื อ น การใช้ ร ถ จักรยานยนต์พลังงานโซลาร์เซลล์ การ ผลิตไบโอดีเซลชุมชน และการใช้กังหัน ลมผลิตไฟฟ้า

ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ อันเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาเกาะนี้ให้เป็นเกาะสีเขียว อย่ า งแท้ จ ริ ง ครอบคลุ ม ทั้ ง การพั ฒ นา แหล่งน�้ำ เส้นทางคมนาคม สิ่งปลูกสร้าง และการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ซึ่งกิจกรรมหลักๆ ประกอบด้วย การสร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วม ของชุ ม ชน โดยเน้ น ให้ ชุ ม ชนด� ำ รงชี วิ ต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ พลังงาน และการพัฒนาสาธารณูปโภค ขั้ น พื้ น ฐาน โดยน� ำ เอาพลั ง งานสะอาด

จะเห็ น ได้ ว ่ า โครงการ ชีวิตอยู่ต่อด้วยตนเองได้ เช่น การรู้จัก น� ำ ทรั พ ยากรกลั บ มาใช้ ใ หม่ อ ย่ า งครบ ต่างๆ ที่เข้ามาพัฒนาเกาะแห่งนี้ วงจร การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ล้ ว นท� ำ ให้ ช าวเกาะพะลวยมี ิ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ เพื่อสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน ท�ำให้ คุณภาพชีวต ชุมชนและคนในท้องถิน่ มีชวี ติ ความเป็นอยู่ และมีความสุขอย่างพอเพียงโดย ที่ ดี ขึ้ น การใช้ พ ลั ง งานทดแทนจาก ไม่ต้องเบียดเบียนใคร ทั้งยังเกิด แสงอาทิตย์ ลม และก๊าซชีวมวล และ ความยั่ ง ยื น ในการพั ฒ นาตาม การผลิ ต สิ น ค้ า โอทอปจากสั ต ว์ น�้ ำ โดย พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ รวมไปถึงการใช้ พระเจ้าอยู่หัว เพื่อโลกที่น่าอยู่ พาหนะที่กลมกลืนกับธรรมชาติและเป็น และเพื่อความสุขของชุมชน มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องการท�ำเพื่อ

บรรลุเป้าหมายการด�ำเนินชีวิตตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ยกตัวอย่าง เมื่อได้รับ จักรยานยนต์ไฟฟ้าจากหน่วยงานทีใ่ ห้การ สนับสนุน ก็จะมีการจัดสรรแบ่งบางส่วน ไว้ใช้ส่วนกลาง นอกนั้นจะจับสลากด้วย ความเสมอภาค โดยคนที่ได้จะต้องจ่าย เงินให้กับส่วนกลางครึ่งหนึ่ง เพื่อน�ำเงิน ไปใช้เพือ่ ส่วนรวมต่อไป ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ กุ คน ชุมชนเข้มแข็ง สุขอย่างพอเพียง ยอมรับและปฏิบตั ติ าม เพือ่ ความสุขอย่าง นอกจากจะสร้างให้เกาะพะลวย พอเพียงต่อไปในอนาคต เป็ น ต้ น แบบของเกาะพลั ง งานสะอาด แล้ว ยังส่งเสริมให้ชุมชนสามารถด�ำรง

“พะลวย” เกาะสีเขียวอย่างยั่งยืน หากเอ่ยชื่อ “เกาะพะลวย” หลายคนอาจจะขมวดคิ้วว่ามีเกาะนี้อยู่ใน ประเทศไทยด้วยหรือ และถ้าบอกต่อไปว่าอยู่ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีด้วยแล้ว หลายคนคงขมวดคิ้วหนักเข้าไปอีก เพราะใครๆ ก็รู้จักแต่เกาะสมุย แหล่ง ท่องเที่ยวอันโด่งดังไปทั่วโลก แต่ความจริงแล้วเกาะพะลวยแห่งนี้เป็นอีกเกาะ ที่มีชื่อเสียงและความสวยงามไม่แพ้ ใคร เพราะยังคงรักษาความงามที่เป็น ธรรมชาติ ด้วยการอยู่อย่างไม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม เป็นต้นแบบเกาะพลังงาน สะอาดแห่งแรกของเมืองไทย และเพียงไม่กี่แห่งในโลก เกาะพะลวยตั้ ง อยู่ ที่ ต� ำ บล โดยมีเป้าหมายให้เป็นเกาะตัวอย่างที่มี

อ่ า งทอง อ� ำ เภอเกาะสมุ ย จั ง หวั ด สุราษฎร์ธานี ถูกเลือกให้เป็นต้นแบบเกาะ พลังงานสะอาดแห่งแรกของประเทศไทย โดยกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน เพื่อ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 84 พรรษา ตลอดจนเป็ น การสานต่อแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก ทั้งยังเป็นต้นแบบ ทีจ่ ะน�ำไปใช้ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ในอนาคตอีกด้วย

การส่งเสริมให้ใช้พลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์

สู่เกาะพลังงานสะอาด

เกาะพะลวยนอกจากจะเป็ น เกาะพลังงานสะอาดแห่งแรกที่ถูกเลือก จาก 900 เกาะในเมืองไทยแล้ว ยังเป็น หนึ่ ง ในเกาะพลั ง งานสะอาดเพี ย งไม่ กี่ แ ห่ ง ในโลก ด้ ว ยศั กยภาพของเกาะที่ มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละลั ก ษณะ ภู มิ ป ระเทศที่ เ อื้ อ อ� ำ นวยต่ อ การพั ฒ นา


66

Talk to Doctor

Talk to Doctor

เรื่อง : นายแพทย์เกษียรสม วีรานุวัตติ์ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสมองและระบบประสาท โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์

โรคหลอดเลือดสมอง

เส้นเลือดสำ�คัญทีต่ อ้ งถนอมรักษา เด็ ก ชายวั ย ราวๆ 6 ขวบ ก�ำลั ง วิ่ ง ตามรถเข็ น พยาบาลที่ มี ชายอีกคนนอนอยูบ่ นนัน้ ด้วยหน้าตา ตื่นตกใจน�้ำตาอาบแก้ม พลางร้อง ขอความช่วยเหลือด้วยเสียงน้อยๆ ที่ฝากความหวังกับเหล่าพยาบาล ทัง้ หญิงชายทีก่ �ำลังเร่งฝีเท้า เพือ่ ส่ง คนไข้เข้าห้องฉุกเฉิน ณ ขณะนัน้ เป็น เวลาใกล้เที่ยงคืน ผมก�ำลังจะเดิน ออกประตู จึงสวนกับเด็กชายและ ผู ้ ห ญิ ง อี ก หนึ่ ง สองแม่ ลู ก ก�ำลั ง เสี ย ขวั ญ เมื่ อ ขบวนรถเข็ น แล่ น เข้ า ห้ อ งฉุ ก เฉิ น ไป ฝ่ า ยภรรยา แจ้งอาการของสามีให้พยาบาลที่ หน้าห้องฟังเสร็จ ทัง้ สองจึงมานัง่ รอ ที่ ห น้ า ห้ อ ง ผมจึ ง เข้ า ไปถามไถ่ นึกในใจอยากให้เขาหายเสียขวัญ

แม่ ข องเด็ ก ตั้ ง สติ ไ ด้ ก็ เ ริ่ ม เล่ า ว่ า สามีของเธอช่วงนีท้ ำ� งานดึกแทบทุกคืน คืนนี้ ก็เช่นกัน แต่แปลกตรงที่ว่าอยู่ๆ เขาก็ตะโกน เรียกเสียงดัง เธอรีบวิ่งไปดู ปรากฏว่าภาพที่ เห็นคือ แขนข้างหนึ่งของสามีดูเกร็งแข็งผิด สังเกต ยกไม่ขึ้น ใบหน้าก็เช่นกันดูเกร็งชา แปลกไปจากเดิม และที่ท�ำให้เธอตกใจมาก ทีส่ ดุ คือ สามีเธอเริม่ พูดสือ่ สารไม่รเู้ รือ่ ง ไม่รอ ช้าเธอจึงรีบน�ำสามีส่งมาที่โรงพยาบาล ด้วย

67

ความทีผ่ มเป็นแพทย์รกั ษาทางด้านนีพ้ อดี ฟังแล้วจึงทราบว่าอาการที่สามีของเธอ เป็นนั้นคือ “โรคหลอดเลือดสมอง” หรือที่ คนชอบเรียกกันสัน้ ๆ ว่า “Strokes” อันเกิด จากเซลล์สมองตายเนือ่ งจากขาดเลือดไป หล่อเลี้ยงหรือมีเลือดออก โดยสาเหตุที่ ท�ำให้เซลล์สมองเหล่านัน้ ขาดเลือดมาจาก 2 สาเหตุใหญ่ๆ คือ หนึ่ง เส้นเลือดตีบ และสอง เส้นเลือดแดงแตก

“โรคหลอดเลื อ ดสมอง” เป็ น อย่างไร ผมอธิบายให้เธอฟังถึงกลุ่มคน

ที่เข้าข่ายเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือด สมองทั้ง 2 กรณีนั้น ว่าอาจมาจากหลาย ปัจจัย เช่น อายุ 55 ปีขนึ้ ไป สูบบุหรี่ ความดัน โลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง เป็น โรคหัวใจ (กลุ่มที่มีจังหวะการเต้นหัวใจ ผิดปกติหรือมีกล้ามเนือ้ หัวใจตายบางส่วน) มีประวัติว่าคนในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้ มีน�้ำหนักตัวมากเกินมาตรฐาน ไม่ค่อยได้ ออกก�ำลังกาย และรับประทานฮอร์โมนเพศ (โดยเฉพาะเอสโตรเจน) ซึ่งจะแสดงออก ให้เห็นในอาการ 5 รูปแบบของเส้นเลือด สมอง คือ หนึ่ง มีอาการชา อ่อนแรงที่ ใบหน้าหรือแขนขาข้างใดข้างหนึ่ง สอง พูดไม่ชัด สื่อสารไม่เข้าใจอย่างเฉียบพลัน สาม การมองเห็นผิดปกติไปจากเดิมแบบ กะทันหัน สี่ เดินไม่ตรง ทรงตัวได้ไม่ดี และห้า ปวดศีรษะแบบเฉียบพลัน หรือ โคม่ า ทั น ที เช่ น เกร็ ง หยุ ด หายใจ ชั ก หลังจากแจกแจงให้เธอฟัง ผมจึงถามต่อ ไปถึงพฤติกรรมของสามี เธอเล่าว่าช่วงหลัง มานี้ สามีของเธอท�ำงานหนัก พฤติกรรม การกินชอบของมันของทอด และสูบบุหรี่ จัด ผมได้ฟังดังนั้นก็นึกย้อนไปถึงคนไข้ รายหนึ่ ง ที่ ผ มเคยรั ก ษา รายนั้ น เป็ น

คนไข้เพศชายเช่นกัน อายุ 54 ปี เป็น พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ห น้ า ที่ ก ารงาน ต้ อ งมี ก ารอยู ่ เ วรยามช่ ว งกลางคื น บ้ า ง มี อ ยู ่ คื น หนึ่ ง ขณะที่ เ ขาเข้ า เวรกลางคื น เช่นเคย อยู่ๆ ก็มีอาการมือเท้าเกร็งแข็ง ขยั บ ไม่ ไ ด้ โชคดี ที่ มี เ พื่ อ นมาพบเร็ ว จึ ง รี บ น� ำ ตั ว ส่ ง โรงพยาบาล เมื่ อ มาถึ ง โรงพยาบาลผมได้ ต รวจวิ นิ จ ฉั ย พบว่ า คนไข้เป็นเส้นเลือดในสมองอุดตัน จ�ำเป็น จะต้องได้รับการรักษาอย่างทันทีภายใน 3 ชั่ ว โมงหลั ง จากเกิ ด อาการ มิ เ ช่ น นั้ น คนไข้อาจเป็นอัมพาตได้ ซึ่งร้อยละ 90 ของคนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองมักจะ จั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม เส้ น เลื อ ดแดงตี บ คนไข้ จะมี อ าการเส้ น เลื อ ดตี บ แคบอยู ่ เ ป็ น

มีอยู่คืนหนึ่งขณะที่เขา เข้าเวรกลางคืนเช่นเคย อยู่ๆ ก็มีอาการมือเท้า เกร็งแข็งขยับไม่ได้ โชคดีที่ มีเพื่อนมาพบเร็วจึงรีบน�ำตัว ส่งโรงพยาบาล


68

Talk to Doctor

• หลอดเลือดในสมองแตกออกนอกเนื้อสมอง (Subarachnoid haemorrhage)

ทุนเดิมแล้ว เนื่องจากมีไขมันในเลือดสูง หรื อ อาจเป็ น ในคนที่ เ ป็ น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และในคนที่สูบบุหรี่ จัด ปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้จะท�ำให้เส้นเลือด สมองมีความแข็งกว่าปกติและตีบแคบ กว่าปกติ ซึ่งผมมองว่าสามีของเธอน่าจะ เข้าข่ายเดียวกับคนไข้ที่ผมก�ำลังนึกถึงอยู่

เส้นตีบหรือเส้นแตก รักษาต่างกัน อย่างไร

เธอเริม่ ตัง้ สติได้หลังจากนัง่ คุยกัน ไปสักพัก ขณะที่ลูกชายตัวน้อยมีแววตา สะโหลสะเหลด้ ว ยเพราะเหนื่ อ ยจาก การร้องไห้ เธอขอค�ำแนะน�ำจากผมต่อ ขอให้เล่าให้เธอได้รู้จักกับโรคที่สามีเธอ ก�ำลังเผชิญ ผมอธิบายว่า การรักษาโรค เส้นเลือดสมองเช่นนี้ ต้องวินิจฉัยว่าคนไข้ เป็นแบบไหน เป็นแบบเส้นเลือดตีบหรือ เส้นเลือดแตก เพราะแนวทางการรักษา จะแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ผมจึงอธิบายให้เธอฟังทั้งสองแบบ คือ แบบแรก เส้นเลือดสมองตีบ (Ischemic Stroke) แนวทางการรักษาคือ การท�ำให้ เลือดสามารถไหลเวียนได้ตามปกติ กลับ

ไปเลี้ยงเนื้อสมองได้ดังเดิม โดยการให้ ยาละลายลิ่มเลือด ซึ่งจะได้ผลดีมากหาก ให้ภายใน 4 ชั่วโมงแรกที่พบอาการ หรือ เร็วที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ยาที่ช่วยได้คือยา จ�ำพวกแอสไพริน และยาฉีดละลายลิ่ม เลือดอย่าง TPA และในบางรายอาจต้อง ท�ำหัตถการ เช่น การใส่ stent หรือการ ผ่าตัดอืน่ ๆ ส่วนแบบทีส่ อง เส้นเลือดสมอง แตก (Hemorrhagic Stroke) แนวทางการ รักษาคือ หยุดเลือดและลดการเบียดของ เนื้อสมองจากเลือดที่ออกมาแล้ว ห้ามใช้ ยาประเภทห้ามการแข็งตัวของเลือดหรือ ยาละลายลิ่มเลือด ถ้าใช้อยู่จะต้องหยุด ยากลุม่ ดังกล่าวให้หมด พวกยาลดความดัน ยาป้องกันการชัก และยาที่ลดการหดตัว ของเส้นเลือดจะช่วยได้ หรือผ่าตัดเพื่อ ซ่อมแซมเส้นเลือดและเพื่อระบายเลือด ส่ ว นที่ อ อกมากดเบี ย ดสมอง เพื่ อ ลด ความดันในสมอง เธอถามต่อว่า อย่างในเคสสามี ของเธอต้องมีการรักษาในแบบไหน ผม จึงเล่าว่า ด้วยความที่อาการของสามีเธอ ใกล้เคียงกับคนไข้ที่ผมเคยดูแล จึงเลือก เล่าตอนที่ผมรักษาคนไข้รายนั้นให้เธอฟัง

ว่า หลังจากที่ท�ำการตรวจ CT Scan และ พบเส้นเลือดในสมองอุดตันแล้ว จึงให้ยา ละลายลิ่มเลือด และให้ผู้ป่วยรอดูอาการ อยู่ที่โรงพยาบาล จากนั้นท�ำการตรวจ CT Scan ซ�้ำหลังจากให้ยา ปรากฏว่าการให้ ยาได้ผลเป็นที่น่าพอใจ จึงให้คนไข้พักฟื้น ดูอาการอีก 2 - 3 วัน ก็อนุญาตให้กลับบ้าน ได้ และหลังจากนั้นยังต้องให้คนไข้เข้ามา ท�ำกายภาพบ�ำบัดอีกระยะหนึ่ง เพื่อฟื้นฟู ร่างกายให้กลับมาเป็นปกติ แต่ ณ ปัจจุบนั คนไข้รายดังกล่าวสามารถกลับไปใช้ชีวิต และท�ำงานเป็นปกติได้เช่นเดิม แต่ต้อง ได้รับการตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ เมือ่ ฟังจบ เธอดูผอ่ นคลาย

ขึ้น เพราะเธอได้แจ้งอาการของ คนไข้อย่างครบถ้วน และสามีก็ อยู่ในความดูแลของแพทย์แล้ว ผมบอกกั บ เธอว่ า สามี เ ธอจะ ปลอดภัย ก่อนแยกย้ายเธอกล่าว ขอบคุณผมด้วยแววตาที่ดูอุ่นใจ ขึ้น ส่วนเด็กชายตัวน้อยยกมือ ไหว้ท่วมหัว ประหนึ่งว่าผมเองที่ เป็นคนช่วยชีวิตพ่อของเขาไว้


70

Wine Curve

Wine Curve

เรื่องและภาพ : De La Nine

Beaujolais Nouveau เสน่ห์ของไวน์สดในแบบผู้นำ�

หลายท่านคงคุ้นกับการดื่มเบียร์สดกันดี วันนี้ผม อยากชวนทุกท่านเปลี่ยนรสชาติ มาลองดื่มไวน์สดกันดูบ้าง นะครั บ โดยไวน์ ส ดที่ มี ชื่ อ เสี ย งและเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ทั่ ว โลก นัน่ ก็คอื ไวน์สดจากประเทศฝรัง่ เศส ซึง่ คนทีน่ นั่ เขาเรียกไวน์นวี้ า่ Beaujolais Nouveau (โบโชเลส์ นูโว) ซึง่ มีประเพณีทสี่ บื ทอด กันมาอย่างยาวนานคือ ก�ำหนดให้ทุกวันพฤหัสบดีที่สาม ของเดือนพฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันที่ไวน์ใหม่หรือ Nouveau (นูโว) ออกวางจ�ำหน่ายพร้อมกันทัว่ โลกรวมทัง้ ประเทศไทยด้วย โดยประเพณีนเี้ ริม่ ปฏิบตั สิ บื ทอดกันมาตัง้ แต่ปี 1951 หรือ 61 ปี มาแล้ว

ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากปลายฤดู ร ้ อ นย่ า งเข้ า สู ่ ฤดูใบไม้ผลิตรงกับช่วงปลายเดือนกันยายนจนถึง เดือนตุลาคม จะเป็นช่วงเวลาของการเก็บเกี่ยวผล องุ่นในประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะที่แคว้นเบอร์กันดีที่มีการปลูกองุ่นด�ำพันธุ์กาเมมากที่สุด โดย การเก็บองุ่นจะต้องใช้แรงงานมนุษย์เท่านั้น และ ที่ ส�ำ คั ญ จะต้ องเก็ บให้ เ สร็ จ ภายในเวลาไม่เ กิน 3 สัปดาห์ ห้ามใช้เครื่องจักรในการเก็บเกี่ยวอย่าง

เด็ ด ขาด เพราะจะท� ำ ให้ อ งุ ่ น ช�้ ำ เกิ น ไป จากนัน้ จึงจะน�ำผลองุน่ ทัง้ ช่อไปหีบ (การหีบ คือการใช้เครือ่ งหีบคัน้ แยกเอาน�้ำองุน่ ออก จากเนือ้ และเปลือก) ให้ได้นำ�้ องุน่ สีขาวขุน่ ที่จะน�ำมาหมักเป็นไวน์ โดยต้องหีบให้ แล้วเสร็จภายในเวลา 3 วัน และน�ำไป หมักต่อเพือ่ ให้ได้แอลกอฮอล์ตามทีต่ อ้ งการ ในแต่ละปีผคู้ นทัว่ โลกต่างพากัน รอคอยที่ จ ะได้ ดื่ ม ไวน์ นี้ เ ป็ น คนแรกอยู ่ เสมอ ทุกร้านจะพากันชักชวนให้ลูกค้า จองไวน์ล่วงหน้าแต่เนิ่นๆ เพื่อป้องกัน ความผิดหวัง ส่งผลให้ยอดจองพุ่งกระฉูด อย่างรวดเร็ว จนการดื่มไวน์นี้กลายเป็น กระแสแฟชัน่ ระบาดไปทัว่ โลก ทัง้ ทีแ่ ต่เดิม เป็นเพียงไวน์ที่นิยมกันในหมู่นักศึกษา ในมหาวิทยาลัยของฝรั่งเศสในเมืองลียง และในแคว้นใกล้เคียงเท่านัน้ แต่ชว่ ง 20 ปี ให้หลังมานีไ้ วน์นไี้ ด้แพร่หลายไปทัว่ ประเทศ และลามไปถึ ง ประเทศใกล้ เ คี ย งอย่ า ง ต่อเนื่อง ส่งผลให้ความต้องการในตลาด ไวน์สดทวีขึ้นอย่างรวดเร็ว จนถึงปี 1985 เริม่ มีการส่งไวน์นอี้ อกสูต่ ลาดต่างประเทศ เป็นครั้งแรก และก�ำหนดให้มีการเปิดดื่ม พร้อมๆ กันทั่วโลก โดยตกลงกันว่า ผู้ที่ สั่งจองไวน์ขวดนี้จะต้องเปิดดื่มพร้อมกัน ก่อนเที่ยงคืนของวันพฤหัสบดีที่สามของ เดือนพฤศจิกายน ส�ำหรับเอเชีย ลูกค้าชาวญี่ปุ่น คือผู้ดื่มไวน์นี้มากที่สุด เพราะเชื่อกันว่า การได้ ดื่ ม ไวน์ นี้ ถื อ เป็ น สิ่ ง โก้ เ ก๋ ที่ สุ ด หนุม่ ๆ ชาวญีป่ นุ่ แห่กนั จองเพราะต้องการ แสดงออกถึ ง รสนิ ย ม และที่ ส� ำ คั ญ คื อ จะได้เป็นผู้ดื่ม “น�้ำแรก” ของไวน์นี้ก่อน ชาติอนื่ ๆ เนือ่ งจากการก�ำหนดวันแรกของ การดืม่ เริม่ นับตามเวลาของดวงอาทิตย์ขนึ้ ท�ำให้ชาติทางตะวันออกได้เป็นผูเ้ ริม่ วันใหม่ ก่ อ นชาวยุ โ รปและอเมริ ก า ความนิ ย ม

อย่างรุนแรงนี้ถึงกับมีผู้ตั้งใจเปิดไวน์ขวด แรกในเวลา 00.01 น. ของวันพฤหัสบดีที่ สามของเดื อ นพฤศจิ ก ายน และมี ก าร ฉลองกันอย่างเอิกเกริกในกลุ่มเพื่อนฝูง อันเป็นการสร้างกระแสความนิยมและ การตลาดให้ทุกคนหันมาให้ความสนใจ ไวน์สดได้เป็นอย่างดี รสชาติของไวน์ชนิดนีจ้ ะหนักไป ทางผลไม้สด โดยเฉพาะเบอร์รที่ จี่ ะจัดมาก มีแทนนินไม่เยอะ ดืม่ ง่าย โดยยีห่ อ้ ทีค่ รอง ตลาดเมืองไทยมาอย่างช้านานต้องยกให้ “Georges Duboeuf” ไวน์ตัว นี้ห าซื้อ ค่อนข้างยาก เพราะผลิตไม่เยอะ หมดแล้ว ก็จบกันไป เสน่ห์ของไวน์สดอีกข้อที่ท�ำให้ ทุกคนอยากดื่มคือ ในแต่ละปีรสชาติของ ไวน์ จ ะไม่ เ หมื อ นกั น ขึ้ น อยู ่ กั บ สภาพ ภูมอิ ากาศในปีนนั้ ๆ เท่าทีผ่ มได้ไปสัมผัสมา ในปีนี้ (2012) อันเป็นปีที่สภาพอากาศ ค่อนข้างแปรปรวนมาก เริ่มกันตั้งแต่ช่วง เดือนมกราคมที่จะเริ่มมีอากาศเย็นและ แห้งมากๆ ถัดมาถึงช่วงกุมภาพันธ์ อุณหภูมิ ติดลบถึง 17 องศา ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพ ของต้นองุ่นโดยตรง ท�ำให้เราต้องรอลุ้น เหมือนกันครับว่า ปีนี้จะมีไวน์สดให้ดื่ม

71

กันไหม เพราะฝรั่งเศสเขาจะคุมเข้มมาก ถ้าคุณภาพของน�้ำองุ่นไม่ถึง ก็เป็นอันว่า จบเลย อย่ า งไรก็ ต าม ผมยั ง

อยากให้ทกุ ท่านได้สมั ผัสไวน์แรก แห่ง ปีก ่อนใครๆ เพราะถือเป็น สัญลักษณ์ของการเริ่มต้น และ เพือ่ ป้องกันความผิดหวัง จะอีเมล ม า ส อ บ ถ า ม ผ ม ก็ ไ ด ้ ค รั บ ที่ anuchit_s@italthaigroup.com ยินดีสืบหาข้อมูลให้ครับ ขอให้ ทุกท่านโชคดี ได้ดื่มไวน์สดแห่งปี จากโบโชเลส์ก่อนใครๆ นะครับ

มารู้จักกับไวน์ Beaujolais Nouveau • แบ่งเป็น 3 ชนิดตามลักษณะของภูมิประเทศ ที่มีความสูงและอากาศแตกต่างกัน คือ เบสิก โบโชเลส์ (พื้นที่สูง) โบโชเลส์ วิลเลจ (พื้นที่ราบ) และครูส์ โบโชเลส์ (พื้นที่ทางใต้แม่น�้ำ) • นิยมดื่มกันเย็นๆ หมักบ่มไว้ไม่เกิน 3 วันหลังจากเก็บเกี่ยว ท�ำให้ได้กลิ่นและรสชาติ ที่เจือผลไม้ มีแทนนินน้อยกว่าไวน์แดงทั่วไป • สามารถดื่มได้เพียงปีละครั้ง และเก็บไว้ได้ประมาณ 3 เดือนเท่านั้น โบโชเลส์ นูโว เริ่มต้น จากก้าวเล็กๆ เป็นไวน์ที่ใช้เสิร์ฟในบาร์ คาเฟ่ และร้านอาหารท้องถิ่นย่านโบโชเลส์ และลียง • เอกลักษณ์เฉพาะของความเป็น Beaujolais Nouveau ก็คือ ความใหม่ สดชื่น มีกลิ่นหอม หวาน และมีรสชาติของผลไม้ ซึ่งได้รับความนิยมไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย • ส�ำหรับทีเ่ มืองไทยก็มกี ารฉลองเหมือนทีต่ า่ งประเทศเช่นกัน ส่วนมากมักจัดตามโรงแรมหรู ใจกลางเมือง จะเป็นลักษณะการขายบัตรให้เข้าไปนั่งดื่มกัน


72

Healthy Up

Healthy Up

เรื่อง : จุฑามาศ ภัคกิตติรัฐ

“สโลว์ฟู้ด”

สัมผัสความสุขเนิบช้า ผ่านต�ำรับอาหารดั้งเดิม “ความเร่งเร้าท�ำให้เราหลงลืมรากเหง้า และ หายใจไม่เป็นจังหวะ” คงไม่ผดิ นักหากจะกล่าวว่าประโยคของความคิด นี้น่าจะเกิดขึ้นกับหลายๆ คน ที่ทุกวันนี้ความเร่งรีบ ได้ เ ข้ า มาบงการชี วิ ต อย่ า งเบ็ ด เสร็ จ ทั้ ง เรื่ อ งการ ใช้ชีวิต การท�ำงาน ลามไปจนถึงเรื่องอาหารการกิน ทีว่ ฒ ั นธรรมอาหารส�ำเร็จรูปกลายเป็นค�ำตอบจ�ำเป็น ในชีวิตประจ�ำวันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ “ศิลปะแห่งการดืม่ กิน” ก็เป็นอีกศาสตร์หนึง่ ทีห่ ลายคน หยิบมาใช้เยียวยาชีวิต หากคุณเคยได้ยินกระแสการเผยแพร่ วัฒนธรรมการกินอย่างเนิบช้า หรือที่เรียกกันว่า “สโลว์ฟู้ด” อารยธรรมการบริโภคจากฝั่งตะวันตกที่เข้ามาค�้ำยันกระแส บริโภคนิยมให้เบาจังหวะลงบ้าง

อะไรคือสโลว์ฟู้ด

ต้นก�ำเนิดของอารยธรรมการบริโภคอย่างเนิบช้า เริม่ ต้น ขึน้ ทีก่ รุงโรม ประเทศอิตาลี จากการลุกขึน้ มาต่อต้านอุตสาหกรรม อาหารข้ามชาติ ที่นอกจากรสชาติจะไม่ศิวิไลซ์เท่าอาหารดั้งเดิม

ของท้องถิ่นแล้ว ยังด้อยในเรื่องคุณค่า โภชนาการอีกด้วย สโลว์ฟู้ดก่อตั้งขึ้นใน รูปของสมาคม โดยใช้สัญลักษณ์เป็นรูป “หอยทาก” (เอสคาโก้) ที่มีนัยของความ เลิศรสและแช่มช้าประณีต หลั ก การของสโลว์ ฟู ้ ด คื อ การ เผยแพร่ แ นวคิ ด เพื่ อ ต่ อ ขยายกิ จ กรรม ของสมาคมให้กระจายไปสูก่ ารรับรูท้ วั่ โลก ซึ่งปรัชญาของกลุ่มไม่ได้เน้นแค่เรื่องของ รสชาติอาหารเท่านั้น หากแต่เป้าหมาย ส�ำคัญคือ ต้องการให้ผคู้ นรูจ้ กั กับวัฒนธรรม การกินตามแบบฉบับดั้งเดิมของแต่ละ ท้อ งถิ่น สอดผสานไปกับศิล ปะการกิน อย่างแช่มช้า อีกหนึง่ วิถที สี่ ะท้อนความงาม ของการมีชวี ติ อยูข่ องคนเราได้ ซึง่ ท้ายทีส่ ดุ จะท�ำให้ศิลปะอาหารเก่าแก่ประจ�ำถิ่น ถูกรือ้ ฟืน้ ออกมาอีกครัง้ อย่างเป็นธรรมชาติ

73

ปรัชญาของกลุ่มไม่ได้เน้นแค่เรื่องของรสชาติอาหารเท่านั้น หากแต่เป้าหมายส�ำคัญคือ ต้องการให้ผู้คนรู้จักกับ วัฒนธรรมการกินตามแบบฉบับดั้งเดิมของแต่ละท้องถิ่น สอดผสานไปกับศิลปะการกินอย่างแช่มช้า อีกหนึ่งวิถี ที่สะท้อนความงามของการมีชีวิตอยู่ของคนเราได้

ด้ ว ยองค์ ป ระกอบการกิ น ของ คนไทยที่ แ ตกต่ า งจากฝรั่ ง มั ง ค่ า ที่ มี วัฒนธรรมการกินอาหารแบบจานเดียว ทว่าคนไทยเรานัน้ ส�ำรับหลักจะพรัง่ พร้อม ไปด้วยกับข้าวกับปลาอย่างหลากหลาย เพื่ อ กิ น กั บ ข้ า วสวยร้ อ นๆ แถมยั ง มี เครื่ อ งเคี ย งและเครื่ อ งปรุ ง เหยาะผสม เพิ่ ม ลดรสชาติ ไ ด้ ต ลอดมื้ อ อาหาร เช่ น “อาหารไทย” ต้นแบบสโลว์ฟู้ด แกงเนื้อ หากได้ทานคู่กับปลากุเราเค็มปิ้ง ตัวจริง เพื่ อ ให้ ค วามเค็ ม มาลดความเผ็ ด ของ แม้ว่าไทยจะไม่ได้เข้าร่วมเป็น แกงเนือ้ ให้เบาบางลงบ้าง จะช่วยให้มอื้ นัน้ หนึ่ ง ในสมาชิ ก ของสมาคมสโลว์ ฟู ้ ด ใน เปรมปรีดิ์ยิ่งขึ้น ระดับสากล แต่ถ้าเรามามองกันให้ดีถึง นิยามความหมายของอาหารประเภทนี้ ต�ำรับเมนูสโลว์ฟู้ดสไตล์ ไทย เพื่อเพิ่มภาพจินตนาการอาหาร แล้ ว อาหารของไทยเรานั บ ว่ า เข้ า ข่ า ย การเป็ น อาหารที่ เ นิ บ ช้ า และประณี ต สโลว์ ฟู ้ ด แบบไทยๆ อยากให้ คุ ณ ลอง ด้วยตัวของมันเอง เพราะครบทั้งคุณค่า พิจารณารายการอาหารทีแ่ บ่งตามประเภท โภชนาการ ละเมี ย ดละเอี ย ดอ่ อ นใน การปรุงอย่างใส่ใจ อ่านแล้วคุณอาจถึง ขัน้ ตอนการปรุงรส และทีเ่ ข้าคอนเซ็ปต์ของ บางอ้ อ ทั น ที ว ่ า อาหารจานอร่ อ ยจาก สโลว์ฟู้ดโดยไม่ได้ตั้งใจก็คือ อาหารไทย ทุกภาคทีเ่ ราคุน้ เคยกันมานมนาน เพียงแค่ ฝังรากลึกอย่างเป็นธรรมชาติอยูใ่ นวิถชี วี ติ คุ ณ ปรั บ ที่ วิ ธี ก ารปรุ ง โดยเพิ่ ม ความ วัฒนธรรม และประเพณี ชนิดที่ไม่อาจ พิถีพิถันประณีตเข้าไป และลดการเร่งเร้า แยกจากกันไปได้ นั่นท�ำให้ค�ำว่าสโลว์ฟู้ด ในเรื่ อ งเวลา เท่ า นี้ คุ ณ ก็ จ ะเข้ า ใจถึ ง ไม่ใช่เรื่องไกลตัวของคนไทยแต่อย่างใด “วิถีและอารยะของสโลว์ฟู้ด” ได้อย่าง แท้จริง

อาหารจานเดียวและย�ำ ขนมจี น น�้ ำ ยา ขนมจี น น�้ ำ ยาป่ า ขนมจีนน�้ำพริก ขนมจีนซาวน�้ำ ขนมจีน น�้ำเงี้ยว ข้าวซอยไก่ ข้าวย�ำ ข้าวมันส้มต�ำ ข้าวคลุกกะปิ ผัดไทย ย�ำมะเขือยาว ย�ำถัว่ พู ย�ำก้านคะน้า ย�ำดอกชมพู่ ย�ำส้มโอ ต้ม แกง นึ่ง ย่าง หลาม แกงส้ม แกงเลียง แกงป่า แกงเหลือง แกงไตปลา แกงผั ก หวาน แกงแคไก่ แกงหน่อไม้ใบย่านาง ต้มโคล้งปลาช่อน ต้มย�ำกุ้ง ต้มส้มปลาทู ต้มส้มปลากระบอก ปลาทู ต ้ ม เค็ ม ห่ อ หมกปลา ข้ า วหลาม งบยอดมะพร้าว แจงลอนข้าวปิง้ ข้าวงบกุง้ ห่อใบตองปิ้ง เครื่องจิ้ม น�้ำพริกกะปิปลาทูทอด น�้ำพริกลงเรือ น�้ำพริกมะขามสด น�้ำพริกปลาย่าง น�้ำพริก หนุ่ม น�้ำพริกอ่อง น�้ำพริกแจ่วบอง น�้ำพริก มะม่วง น�้ำพริกกระท้อน น�้ำพริกตะลิงปิง น�้ ำ พริ ก มะดั น น�้ ำ พริ ก ระก� ำ น�้ ำ พริ ก บู ดู น�้ ำ พริ ก เผา น�้ ำ พริ ก กุ ้ ง เสี ย บ น�้ ำ พริ ก ข่ า เต้าเจีย้ วหลน ป่นปลาทู น�ำ้ ปลาหวานสะเดา ของหวานและของว่าง เมี่ยงค�ำ เมี่ยงปลาทู ข้าวตังหน้าตั้ง หมูโสร่ง ข้าวเกรียบปากหม้อ ข้าวเกรียบอ่อน กระท้อนทรงเครื่อง ข้าวแช่ ขนมสอดไส้ ทองม้วน ขนมกรวย ขนมเทียน ข้าวเหนียว หน้ า ต่ า งๆ กระทงทอง ขนมตาล ขนม ลืมกลืน


74

Dining Out

Dining Out

เรื่อง : สุทธินี ใจสมิทธ์ ภาพ : สุรพล พวงศรี

4

อร่อย กับ ร้านออร์แกนิก เพื่อสุขภาพ

เชื่ อ หรื อ ไม่ ว ่ า การเปลี่ ย นไปทานอาหารประเภท ออร์ แ กนิ ก นอกจากจะดี ต ่ อ สุ ข ภาพแล้ ว ยั ง ช่ ว ยให้ “อายุยืน” ขึ้นอีกด้วย เพราะการได้ทานผักผลไม้ที่ไม่ใช้ปุ๋ย เคมี จะท�ำให้เราได้รับวิตามินมากกว่าเดิม ส่งผลให้เรามี สุขภาพและชีวิตที่ยืนยาวขึ้น Dining Out ฉบับนี้ จึงขอแนะน�ำร้านอาหารออร์แกนิก ที่ใส่ใจในรสชาติและสุขภาพ มาฝากผู้อ่านทุกท่านค่ะ

03 04

สวนผักน�้ำ

อิ่มอร่อยแบบคนรักผัก

เพียงแค่ได้ยินชื่อร้าน “สวนผัก น�้ำ” ก็รู้เลยว่าร้านนี้มีดีที่ผัก แต่พิเศษไป กว่านั้นคือ ผักทุกชนิดปลูกจากใจด้วยวิธี ไฮโดรโปนิกส์ และเก็บมาทานแบบวันต่อวัน จึงปลอดสารพิษ สด กรอบ อร่อยอยูเ่ สมอ ชวนเชิ ญ ให้ ค นรั ก สุ ข ภาพแวะเวี ย นมา ไม่ขาดสาย ท่ามกลางบรรยากาศสบายตา เต็มไปด้วยแปลงผักสีเขียวรายล้อมอย่าง เป็นระเบียบ มีโต๊ะเก้าอี้ไม้แสนเรียบง่าย และตู้จ�ำหน่ายผักสดกับน�้ำสลัดวางเรียง สวยงามสะอาดตา นั บ เป็ น เสน่ ห ์ ข อง ทางร้านที่ต้องการให้คนท�ำและคนทาน มีความสุข ไม่ว่าจะซื้อกลับบ้านหรือนั่ง ในสวนผักแสนอบอุ่นแห่งนี้ นอกจากคุ ณ ภาพของผั ก ที่ ส ด ใหม่ ส่วนผสมตั้งแต่เครื่องเทศไปจนถึง เนื้อสัตว์ยังผ่านการคัดสรรอย่างพิถีพิถัน

01 02

ในทุกขัน้ ตอน อีกทัง้ มีนำ�้ สลัด 3 สูตร ได้แก่ ซีซาร์ เทาซันด์ ไอส์แลนด์ และอิตาเลียน กับสเปรดทาขนมปัง 4 แบบ คือ ทูน่า ทูน่าปูอัด ทูน่าพริกไทยด�ำ และหอยลาย กระเทียม สูตรเฉพาะของร้านที่ ชวนให้ ลิม้ ลอง เมนูทที่ านแล้วต้องติดใจ ได้แก่ ซีซาร์ สลัด ที่มีผักเรดโอ๊ค กรีนโอ๊ค ไอซ์เบิร์ก บัตเตอร์เฮด เรดคลอรัล เพิ่มชีสกับแฮม รมควัน โรยด้วยขนมปังกรอบ ทานกับ น�้ำสลัดถูกอกถูกใจ โฮลวี ต ริ ก าโตนี่ ป ลาเค็ ม มิ ก ซ์ เฮิรบ์ เส้นพาสต้าโฮลวีตเหนียวนุม่ พอดีคำ� ผัดให้เข้ากันกับปลาอินทรีหอมลอกก้าง หมักเครื่องเทศจนกลิ่นจาง รสเค็มก�ำลังดี ก่อนน�ำไปคั่วจนแห้งกรอบ และขนมปัง กระเทียมหอยลาย โดดเด่นทัง้ หน้าตาและ รสชาติ ด้ ว ยกระเที ย มสั บ และพาสลี ย ์ สับโปะบนขนมปังอบโรยงา แล้วน�ำไปอบ อีกครัง้ ให้เข้าถึงรสเนยและเครือ่ งเทศอย่าง ไร้ที่ติ

05 06 01 ซุ้มทางเข้าอาณาจักรแห่งผักออร์แกนิก 02 คุณตุ้ย - พีระพล เผ่าทองสุข เจ้าของร้าน 03 ขนมปังกระเทียมหอยลาย 04 โฮลวีตริกาโตนี่ปลาเค็มมิกซ์เฮิร์บ 05 ลูกค้าเนืองแน่นตลอดวัน 06 แปลงผักไฮโดรโปรนิกส์ภายในร้าน

เพราะความใส่ใจที่ไม่เคยเปลี่ยน ไปตามกาลเวลา ท� ำ ให้ ร ้ า นสวนผั ก น�้ ำ ครองใจคนรักผักทุกเพศทุกวัย เพียงแค่ คิดจะเริ่มต้น การทานอาหารเพื่อสุขภาพ ก็ ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ร้านสวนผักน�้ำ 17/136 ถนนสุคนธสวัสดิ์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทร. 0-2907-9989, 08-1816-6741 เปิดวันศุกร์ เสาร์ และอาทิตย์ เวลา 11.00 - 14.00 น. (ส�ำหรับนั่งทานที่ร้าน) ทุกวัน เวลา 9.00 - 14.00 น. (ส�ำหรับซื้อกลับบ้าน) ราคาโดยเฉลี่ย 80 - 100 บาท

เรื่อง : พัดชา พาสธร ภาพ : ศักยะ บุญเสมอ

beOrganic มื้ออร่อยกับเมนูคัดสรร จากธรรมชาติ ใครว่าอาหารเพือ่ สุขภาพไม่อร่อย มาลองชิ ม สั ก เมนู ที่ ร ้ า น beOrganic ในซอยหลั ง สวน เพลิ น จิ ต แล้ ว จะรู ้ ว ่ า รสชาติ ที่ ม าจากพื ช สวนไร่ น าแท้ ๆ นั้ น ดีกว่าการสังเคราะห์ปรุงแต่งเป็นไหนๆ ร้านนี้ขึ้นชื่อว่าเป็นร้านอาหาร ออร์แกนิก นอกจากการตกแต่งร้านให้ โปร่งโล่ง สะอาดสบายตา เข้ากับดีไซน์ สไตล์โมเดิร์นแล้ว วัตถุดิบเกือบทั้งหมดก็ ยังถูกคัดและส่งตรงจากไร่เกษตรอินทรีย์ เครือข่ายเลมอนฟาร์ม น�ำมาสร้างสรรค์ เป็นเมนูอร่อยด้วยหลักแมคโครไบโอติกส์ คื อ หุ ง ข้ า วและธั ญ พื ช ต่ า งๆ ด้ ว ยหม้ อ ความดันเพื่อคงคุณค่าอาหาร ช่วยปรับ สมดุลร่างกาย ไม่ใช้เครือ่ งปรุงทีเ่ ป็นสารเคมี สังเคราะห์ แต่ใช้ความหวานจากพืชผัก และปรุงรสด้วยเครื่องปรุงธรรมชาติ เช่น เกลือทะเล ขิง ซีอิ๊วหมัก บ๊วยดอง เป็นต้น ส�ำหรับเมนูสุขภาพเด่นๆ ได้แก่ น�้ ำ นมข้ า ว เป็ น อาหารเบสิ ก ด้ ว ยหลั ก แมคโครไบโอติ ก ส์ ที่ อ ยากแนะน� ำ ใช้ ข้ า วกล้ อ งหอมมะลิ อิ น ทรี ย ์ กั บ ข้ า วนิ ล หุ ง ด้ ว ยหม้ อ ความดั น 2 ชั่ ว โมงครึ่ ง ใส่ ส าหร่ า ยคอมบุ ท� ำ เป็ น ซุ ป โดย คอมเพล็กซ์คาร์โบไฮเดรตจากข้าวกล้อง จะให้พลังงานกับสมองภายใน 5 นาที เมนู ถั ด มาคื อ ซุ ป ฟั ก ทอง ใส่ ส าหร่ า ย วากาเมะ ปรุงรสด้วยเกลือเท่านั้น เรียก ได้ว่าออร์แกนิก 100% ส่วน อาหารเซ็ต มี บริการวันละ 2 เมนู วันนี้แนะน�ำเซ็ตปลา ใช้ ป ลาเนื้ อ ขาว ไขมั น น้ อ ย ได้ คุ ณ ค่ า สารอาหารตามสัดส่วนทีส่ มดุลต่อหนึง่ วัน

02 05

01 03

04

01 หน้าร้านตกแต่งด้วยกระจกโปร่งสบายตา 02 บรรยากาศภายในแสนน่านั่ง 03 ซุปฟักทอง 04 สลัด beOrganic 05 เคาน์เตอร์สั่งอาหารสีเหลืองหวาน 06 เมนูเซ็ตปลา 07 สลัดข้าว

06

ถ้ า อยากทานสลั ด รสเปรี้ ย ว หวานชื่นใจ ลองชิม สลัด beOrganic น�้ ำ สลั ด ท� ำ จากผลไม้ ส ารพั ด ชนิ ด และ 07 สลั ด ข้ า ว ที่ หุ ง ข้ า วโดยใช้ น�้ ำ คั้ น บี ท รู ท จึงมีสีม่วงแดง ใส่ธัญพืชเมล็ดทานตะวัน กับเมล็ดฟักทอง คลุกทานเหมือนข้าวย�ำ น�้ำราดเป็นโชยุรสเค็มๆ หวานๆ ทานแล้ว จะเย็นสดชื่น ที่ส�ำคัญจานนี้ได้สารอาหาร จาก 5 สีของพืช คือ แดง เหลือง ส้ม เขียว และขาว ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ใ นการต้ า น อนุมูลอิสระต่างๆ ยืนยันว่าที่นี่เชื่อถือได้ในเรื่องวัตถุดิบ การปรุง และคุณค่าของอาหาร ส่วนเรื่อง รสชาติแสนอร่อยนั้นรอให้คุณมาลองชิม ร้าน beOrganic by Lemon Farm ด้วยตัวเอง แต่ที่ส�ำคัญหลังจากอิ่มท้องที่ ชั้น 1 อาคาร The Portico ซอยหลังสวน beOrganic แล้ว อย่าลืมช็อปปิง้ ผลิตภัณฑ์ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 0-2652-1975 ออร์แกนิกของร้านเลมอนฟาร์มติดมือไป เปิดทุกวันเวลา 11.00 - 21.00 น. สร้างสุขภาพดีที่บ้านด้วย

75


76

Dining Out

Dining Out

เรื่อง : พัดชา พาสธร ภาพ : สุรพล พวงศรี

เรื่อง : ทัศนัย ขำ�ชื่น ภาพ : วันวิสาข์ กฤตยวิรุฬห์

01 02

01 02

03

77

03

04 04 05

06

Farm to Table Organic Café หวานเย็นสไตล์ ไอศกรีมออร์แกนิก

อโณทัย

07

โฮมเมดมังสวิรัติทางเลือก นานๆ ทีจะได้มีโอกาสพบร้าน อาหารมังสวิรัติที่น�ำเสนอไอเดียทางเลือก ทั้งการตกแต่งร้าน เมนูอาหาร ขนม และ เครื่ อ งดื่ ม หลากหลายชนิ ด ที่ ตั้ ง ใจ สร้ า งสรรค์ ด ้ ว ยฝี มื อ เจ้ า ของร้ า นชื่ อ “อโณทัย” ด้ ว ยความที่ เ ป็ น คนชอบท� ำ อาหาร ท�ำขนม ชอบทานมังสวิรัติ และรัก วิถีธรรมชาติ คุณอโณทัย ก้องวัฒนา จึง เปิดร้านอาหารตามแนวคิดที่เธอบอกว่า “เวลาเราท�ำทานเองเราเลือกของทีด่ ี เรารูว้ า่ อาหารที่ดีเป็นอย่างไร ก็อยากให้คนได้ กินแบบนั้น เลยน�ำเสนออาหารมังสวิรัติ ทางเลือก ขนมที่อร่อยเน้นวัตถุดิบที่ดี เมนู ไม่น่าเบื่อ” และที่ส�ำคัญเจ้าตัวเน้นว่า “ถ้า จะกินต้องกินของจริง” ไม่ดัดแปลง ต้อง มาจากธรรมชาติ จึ ง ลงทุ น ปลู ก ผั ก เอง ได้มาตรฐานเกษตรอินทรีย์

01 หน้าร้านตกแต่งสวยเรียบง่าย 02 - 04 บรรยากาศและมุมต่างๆ ภายในร้าน 05 เส้นหมี่ผัดน�้ำพริกเผา 06 เชฟสลัด 07 เต้าหู้ย�ำ

ผั ก คั ด สดๆ จาก “ไร่ ป ลู ก รั ก ” จ.ราชบุรี ถูกส่งมาเป็นวัตถุดิบที่ร้าน สูตร อาหารคิดเองท�ำเอง เกิดเป็นเมนูสุขภาพ มากมายให้เลือกสรร มื้อนี้มีเมนูแนะน�ำ ได้แก่ เส้นหมีผ่ ดั น�ำ้ พริกเผา รสชาตินำ�้ พริก เผาที่ท�ำจากถั่วเขียวและเห็ดหอมเข้ากัน กับเส้นหมี่เหนียวนุ่ม เต้าหู้ย�ำ ที่น�ำเต้าหู้ มาทอดก่อน ทีเด็ดอยู่ที่น�้ำย�ำสูตรเฉพาะ และเชฟสลัด ได้รสเปรีย้ วหวานตัดกันของ ลูกเกดและแอ๊ปเปิ้ล รายล้อมด้วยผักสด กรอบ ส� ำ หรั บ คนรั ก เบเกอรี่ มาที่ นี่ ไม่ผิดหวัง เพราะมีขนมนานาชนิด ทั้งเค้ก คุกกี้ ไอศกรีม สโกน ที่คัดวัตถุดิบคุณภาพ

บวกกับความอร่อยแบบเต็มร้อย เราได้ชมิ เค้กแครอท ของโปรดลูกค้าประจ�ำ และ สโกนที่อร่อยแบบมีเอกลักษณ์ถึงขนาด ไปเปิดร้านชื่อ Scones ที่เซ็นทรัลเวิลด์ วั น นี้ ห ากใครอยากลิ้ ม ลอง อาหารจานสุ ข ภาพที่ ม าจากธรรมชาติ 100% ร้ า นอโณทั ย รอเป็ น ทางเลื อ กที่ จะท�ำให้คุณไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน ร้านอโณทัย 976/17 ซ.โรงพยาบาลพระรามเก้า ถ.พระรามเก้า แขวงบางกะปิ กรุงเทพฯ โทร. 0-2641-5366-70 แฟกซ์ 0-2641-5365 เปิดเวลา 10.00 - 21.30 น. หยุดวันพุธ ราคาโดยเฉลี่ย 120 - 160 บาท

ค�ำว่า ‘ออร์แกนิก’ อาจท�ำให้เรา นึกถึงภาพของผักสดปลอดสารพิษ ทว่า ร้าน Farm to Table Organic Café ได้ สร้ า งสรรค์ ไ อเดี ย ที่ แ ปลกใหม่ ก ว่ า นั้ น ด้วยการน�ำผักสารพันชนิดมาแปรรูปเป็น ไอศกรีมออร์แกนิกรสอร่อย จนถูกใจใคร หลายคนที่ได้ลิ้มลอง คุณจอย - จิรภัสร เจียรรุ่งแสง หนึ่งในหุ้นส่วนของร้าน เล่าถึงแนวคิดใน การเปิดร้านไอศกรีมน่ารักๆ แห่งนี้ด้วย รอยยิ้ ม ว่ า “นี่ คื อ หนึ่ ง ในโปรเจ็ ค ท์ ข อง บริษัทคิงส์แค็ปเบจ จ�ำกัด เนื่องจากเรา มีไร่เกษตรอินทรีย์อยู่ที่จังหวัดเชียงราย ซึ่ ง ปกติ จ ะผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรส่ ง ออก ต่างประเทศ พอมาถึงจุดหนึง่ เลยคิดกันว่า จะแตกยอดผลิตภัณฑ์ออร์แกนิกใหม่ๆ อะไรดีทนี่ า่ สนใจ สุดท้ายได้ขอ้ สรุปว่าเป็น ไอศกรีมผักออร์แกนิก เพราะแปลกใหม่ ทานได้ทุกเพศทุกวัย และความเย็นก็ช่วย รักษาคุณค่าสารอาหารในผักให้อยู่นาน ขึ้นด้วย” ความพิเศษของไอศกรีมแต่ละ รสอยู่ที่กรรมวิธีการแปรรูปซึ่งไม่ใช้สาร ปรุงแต่งใดๆ ทุกกระบวนการผ่านความเย็น

01 ลูกค้าแวะเวียนมาลิ้มลองไอศกรีมผัก 02 เคาน์เตอร์ตกแต่งสไตล์โมเดิร์น 03 คุณจอย - จิรภัสร เจียรรุ่งแสง และหุ้นส่วนร้าน 04 ไอศกรีมผักออร์แกนิกหลากสีสัน 05 แซนด์วิชโฮมเมด 06 สลัดผักออร์แกนิก 07 ซูมความเย็นให้เห็นกันชัดๆ

ท�ำให้สารอาหารและวิตามินต่างๆ ในผัก ไม่สญ ู สลาย สามารถเก็บรักษาในตูแ้ ช่เย็น ที่ปรับตั้งอุณหภูมิพอเหมาะได้นานกว่า 1 ปี รสชาติ ก ลมกล่ อ มตามแบบฉบั บ ของผักที่เป็นวัตถุดิบ โดยจะสับเปลี่ยน หมุนเวียนตามฤดูกาล อาทิ ฟักทองญี่ปุ่น ถัว่ แระญีป่ นุ่ มันหวาน มะเขือเทศ แครอท เสาวรส เป็นต้น ส่วนรสที่มีตลอดทั้งปี เช่น ธัญพืช งาด�ำ งาขาว ฯลฯ อร่อยจน แม้แต่ผู้ที่ไม่ชอบทานผักยังต้องติดใจ ผู้ที่พิสมัยรสชาติของไอศกรีม แนะน�ำว่าไม่ควรพลาดมาลิ้มลองความ อร่ อ ยที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สุ ข ภาพได้ ที่ นี่ และ นอกจากไอศกรีมผักออร์แกนิก ร้าน Farm to Table Organic Café ยังมีแซนด์วิช โฮมเมด สลั ด ผั ก ออร์ แ กนิ ก และข้ า ว แกงกะหรี่ญี่ปุ่น เป็นทางเลือกเพิ่มเติมแก่ ลูกค้าที่สนใจอีกด้วย

05

06

07

ร้าน Farm to Table Organic Café ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพระราม 9 กรุงเทพฯ (ชั้น B หน้า Tops Supermarket) เปิดทุกวัน เวลา 10.00 - 21.00 น. โทร. 08-5359-2727 เว็บไซต์ www.facebook.com/farmtotableorganiccafe ราคาโดยเฉลี่ย 40 - 120 บาท


78

Chef at Home

Chef at Home

สูตร : อาจารย์วันทนี ธัญญา เจตนธรรมจักร ภาพ : พีระพัฒน์ พุ่มลำ�เจียก

สูตร : ป้าตา ภาพ : จิรวัฒน์ มหาทรัพย์ถาวร

ผัดผักอัญมณี

ข้าวเงี้ยว ส่วนผสม (ส�ำหรับ 15 - 20 ห่อ) วิธีท�ำ

ข้าวสารหอมมะลิ 1 ลิตร ข้าวสารมันปูแช่น�้ำไว้ 1 คืน 1 ลิตร ไข่ไก่ 2 ฟอง น�้ำมันกระเทียมเจียว ¼ ถ้วย เกลือ ½ ช้อนชา ผงปรุงรสเห็ดหอม (เจ) 1 ช้อนชา กระเทียมเจียว ½ ถ้วย พริกขี้หนูแห้งทอด หอมเล็กซอย แตงกวาหั่นแว่น ใบตองส�ำหรับห่อ ตอกส�ำหรับมัด

79

1. ผสมข้าวทั้งสองชนิดเข้าด้วยกัน แล้ว ซาวน�้ ำ ทิ้ ง เทใส่ ห ม้ อ หุ ง ข้ า ว ปรุ ง รส ด้ ว ยผงปรุ ง รสเห็ ด หอมและน�้ ำ มั น กระเทียมเจียว ใส่น�้ำ แล้วหุงข้าวจนสุก พักไว้ให้เย็น 2. ตีไข่พอแตก ผสมลงในข้าวสวยที่หุงสุก แล้ว ปรุงรสด้วยเกลือ คลุกให้เข้ากัน ตักใส่ใบตองห่อแล้วมัดด้วยตอก น�ำไป นึ่ ง จนใบตองเปลี่ ย นสี เ ป็ น เหลื อ งสุ ก หรือประมาณ 20 นาที ยกลงจากเตา 3. แก้ใบตองที่ห่อข้าวออก โรยหน้าด้วย กระเที ย มเจี ย ว แนมด้ ว ยพริ ก ทอด แตงกวา หอมเล็ก เสิร์ฟทันที

ส่วนผสม (ส�ำหรับ 1 ที่)

Tip การแช่ข้าวมันปูไว้ 1 คืนก่อนหุงจะช่วยให้ ข้าวนุ่มอร่อยยิ่งขึ้น

ขึ้นฉ่าย 2 ต้น เนื้อในเปลือกแตงโม 200 กรัม เห็ดหูหนูด�ำแห้ง 30 กรัม (แช่น�้ำจนนิ่ม) เก๋ากี้ (แช่น�้ำจนนิ่ม) 1 ช้อนโต๊ะ กระเทียมสับ 1 ช้อนโต๊ะ น�้ำมันร�ำข้าวส�ำหรับผัด 2 ช้อนโต๊ะ น�้ำมันงา 1 ช้อนชา ซีอิ๊วขาว 1 ช้อนชา งาขาวคั่วเล็กน้อยส�ำหรับโรยหน้า น�้ำแข็งส�ำหรับแช่เส้นแตงโม

วิธีท�ำ

1. ตัดรากขึ้นฉ่ายทิ้ง ล้างให้สะอาด หั่น เป็ น ท่ อ นพอค� ำ ล้ า งเนื้ อ ในเปลื อ ก แตงโมให้สะอาด น�ำมาหั่นเป็นเส้นๆ ขนาดเท่าก๋วยเตี๋ยวเส้นเล็ก แล้วน�ำไป แช่ในน�้ำแข็งเพื่อรักษาความสดกรอบ หั่นเห็ดหูหนูเป็นเส้นเตรียมไว้ 2. ใส่น�้ำมันร�ำข้าวลงในกระทะ ตามด้วย กระเทียม ผัดจนหอม ตักเนื้อในเปลือก แตงโมที่แช่น�้ำแข็งไว้ใส่ลงไป 3. ใส่ เ ห็ ด หู ห นู ขึ้ น ฉ่ า ย และเก๋ า กี้ ต าม ลงไป ปรุงรสด้วยซีอวิ๊ ขาว แต่งกลิน่ ด้วย น�ำ้ มันงา ผัดพอเข้ากัน ปิดไฟ ตักใส่จาน โรยงาคั่ว รับประทานกับข้าวสวย

Tips • เปลือกและเนื้อของผลแตงโมมีรสหวาน เป็ น ยาเย็ น ออกฤทธิ์ โ ดยตรงต่ อ หั ว ใจ และกระเพาะปัสสาวะให้ท�ำงานเป็นปกติ แก้รอ้ นในกระหายน�ำ้ แก้เจ็บคอ ลดระดับ น�้ำตาลในเลือด • ขึน้ ฉ่ายมีรสขม เป็นยาเย็น ช่วยลดความดัน โลหิต เป็นยาขับปัสสาวะ ท�ำให้เลือดเย็น ช่วยดับพิษร้อน • เห็ดหูหนูดำ� ออกฤทธิต์ อ่ ปอด ตับ กระเพาะ อาหาร และล�ำไส้ใหญ่ ช่วยให้ท�ำงานเป็น ปกติ ช่วยลดความดันโลหิต แก้เลือดก�ำเดา ออกง่าย บ�ำรุงร่างกาย และท�ำให้เลือดเย็น • เก๋ า กี้ มี ร สหวาน สรรพคุ ณ บ� ำ รุ ง ไต ตั บ บ�ำรุงสายตา และเลือด


80

Chef at Home

สูตร : เป็นเอก ทรัพย์สิน ภาพ : จิรวัฒน์ มหาทรัพย์ถาวร

ซูชิขนมเหนียว ส่วนผสมแป้ง (ส�ำหรับ 16 ชิ้น)

แป้งข้าวเหนียวขาว 1 ถ้วย แป้งข้าวเหนียวด�ำ ½ ถ้วย กะทิ ¼ ถ้วย น�้ำเปล่า ถ้วย มะพร้าวขูดขาว 4 ถ้วย ผสมเกลือเล็กน้อยนึ่งสุก น�้ำเปล่าส�ำหรับต้มแป้ง

ส่วนผสมน�้ำตาลเคี่ยว น�้ำตาลปี๊บ น�้ำเปล่า น�้ำมะนาว

วิธีท�ำ

1 ถ้วย 2 ถ้วย ½ ช้อนชา

1. ท�ำข้าวพองโดยใส่น�้ำตาลลงในหม้อ น� ำ ขึ้ น ตั้ ง ไฟปานกลาง ใช้ พ ายหรื อ ช้ อ นไม้ ค นจนน�้ ำ ตาลละลายและ ส่วนผสมไส้ข้าวพอง สี เ ข้ ม ขึ้ น จึ ง ใส่ เ นยลงคนให้ เ ข้ า กั น ข้าวเหนียวนึ่งสุกตากแห้ง 2 ถ้วย ปิดไฟ ใส่ข้าวพองลงคลุกเคล้า แล้วตัก ทอดจนพองกรอบ ขึ้ น วางบนแผ่ น ฟอยล์ เ ป็ น แถวยาว น�้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ และม้วนเป็นแท่งให้แน่น พักไว้ให้เซตตัว เนยจืด 2 ช้อนชา แล้ ว แกะออกจากฟอยล์ พั ก ไว้ ใ ส่ ไส้ขนม Tip วิธีทอดข้าวพอง ให้น�ำข้าวเหนียวนึ่งสุกที่ 2. ท�ำน�้ำตาลเคี่ยวโดยใส่น�้ำตาลปี๊บและ แช่ตู้เย็นทิ้งไว้หนึ่งคืนมาแยกออกเป็นเม็ดๆ น�้ ำ ลงในหม้ อ ยกขึ้ น ตั้ ง ไฟปานกลาง แล้วตากให้แห้งอีกครึง่ วัน จึงค่อยน�ำมาทอด คนเป็นครั้งคราว พอเดือดหรี่ไฟอ่อน ในน�้ำมันร้อนจนพองกรอบ เคี่ ย วไปเรื่ อ ยๆ จนส่ ว นผสมเริ่ ม ข้ น

เหนียวเป็นยางมะตูม เติมน�้ำมะนาว แล้วคนให้เข้ากันอีกครั้ง ปิดไฟ ยกลง และพักให้เย็น 3. ท�ำแป้งขนมเหนียวโดยโรยมะพร้าวขูด ขาวบางๆ บนถาดที่เตรียมไว้ จากนั้น ผสมแป้งทั้งสองชนิดให้เข้ากัน ค่อยๆ เติ ม กะทิ แ ละน�้ ำ ลงไป ใช้ มื อ นวด จนแป้ ง เนี ย นนุ ่ ม แบ่ ง เป็ น สี่ ก ้ อ น เท่ า ๆ กั น ใช้ มื อ แผ่ แ ป้ ง ให้ ไ ด้ ข นาด 6x7 นิ้ ว น� ำ ไปต้ ม ในน�้ ำ เดื อ ดจนสุ ก และลอยขึ้นประมาณ 2 นาที ตักขึ้น วางลงบนถาด 4. โรยด้วยมะพร้าวบางๆ บนแป้งอีกครั้ง น�ำข้าวพองทีเ่ ซตตัวแล้วในข้อ 1 วางลง บนริมแป้งด้านใดด้านหนึ่ง ค่อยๆ ม้วน แป้งเป็นโรลให้แน่น แล้วตัดเป็นชิ้น จัดใส่จาน ราดด้วยน�้ำตาลเคี่ยวก่อน รับประทาน


82

Living with Style

Living with Style

เรื่อง : big brother ภาพ : ชัยพฤกษ์ โพธิ์แดง, ปิยะวุฒิ ศรีสกุล, นันทิยา บุษบงค์

การได้ท�ำอะไรก็ตามจากสิ่งที่รัก สิ่งที่ชอบ ย่อมท�ำให้ผลของมันออกมาด้วยดีเสมอ ไม่เว้น แม้แต่การตกแต่งบ้าน สถานที่ที่คนเราใช้ชีวิตอยู่ มากกว่าครึง่ ชีวติ และเมือ่ ขึน้ ชือ่ ว่า “ตกแต่ง” เมือ่ ไร ย่อมมีค�ำว่า “ศิลปะ” อยู่ด้วยเสมอ

แต่งบ้านสวย ด้วย จาก

ศิลปะ ศิลปิน

Living with Style ฉบับนี้ จะพาคุณไปพบกับการ แต่งบ้านแบบ “ศิลปะ” ผ่าน 3 มุมมองของ “ศิลปิน” ในสไตล์ ความสร้างสรรค์ที่แตกต่าง

ศิลปินกับ

ศิลปะไทยล้านนา

ทางเดินเล็กๆ ก�ำลังน�ำเราเข้าสู่ ซุ ้ ม ประตู ที่ ท� ำ จากไม้ เ ก่ า ที่ ด ้ า นบนถู ก แกะสลักให้เป็นลวดลายไว้อย่างวิจิตร เมื่ อ ผ่ า นเข้ า มาจะพบกั บ หมู ่ เ รื อ นหลั ง น้อยใหญ่ทตี่ งั้ อยูใ่ นอาณาบริเวณเดียวกัน ของ ผศ.สุ วั ฒ น์ แสนขั ติ ย รั ต น์ ศิ ล ปิ น ผู้เกิดและเติบโตจากเชียงราย ที่น�ำเอา บรรยากาศของล้ า นนามาปรุ ง ใส่ เ รื อ น ที่ปลูกแต่งอย่างตั้งใจ มีทั้งหมด 4 เรือน เริ่ ม ที่ เ รื อ นแรก ตกแต่ ง ให้ เ ป็ น หอศิ ล ป์ ใช้สร้างงานศิลปะ ภายในตกแต่งด้วย ไม้เก่าและผลงานศิลปะสีนำ�้ มันสไตล์ไทย เรือนที่สอง เป็นเรือนรับแขกที่สร้างง่ายๆ จากวั ส ดุ ธ รรมชาติ อ ย่ า งไม้ ใช้ ท ่ อ นซุ ง แทนเก้าอี้ ให้แขกที่มาเยี่ยมรู้สึกร่มเย็น ต่อไปทีเ่ รือนทีส่ าม ท�ำเป็นเรือนพักส่วนตัว ขนาด 2 ชั้น ด้านนอกทาผนังด้วยสีเหลือง มั ส ตาร์ ด ผสานตกแต่ ง ด้ ว ยไม้ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ผ่านการแปรรูป ให้อารมณ์บ้านแบบล็อก เคบิน ภายในตกแต่งอย่างเรียบง่าย โดยมี

บันไดที่ใช้รูปแบบเดียวกับบ้านไม้โบราณ คือมีแม่บันไดไม้ตรงกลาง เจ้าของบ้าน เรียกบันไดนี้ว่า “บันไดสติ” ต้องมีสติเวลา ก้าว เพราะบันไดมีความชัน ส่วนห้องนอน เล็ ก ๆ ชั้ น บน มี เ ตี ย งไม้ ที่ ว างไว้ พ อดี กั บ หน้ า ต่ า งไม้ บ านสวยที่ เ จาะช่ อ งให้ แสงลอดผ่านได้ ด้านข้างเรือนหลังนี้ยังมี นาข้าว ทีฤ่ ดูเก็บเกีย่ วจะสวยอร่ามตาน่าดู ชม เรือนหลังสุดท้ายคือ เรือนเทพหรือหอ แสดงงานศิลปะ ที่ก�ำลังตกแต่งให้ผู้สนใจ งานพุทธศิลป์ได้เยี่ยมชม

83


84

Living with Style

Living with Style

สถาปนิกกับศิลปะ และฟังก์ชัน

“เรารูอ้ ยูแ่ ล้วว่าความต้องการ ของเราและครอบครัวคืออะไร พยายาม ลดทอนส่วนทีเ่ กินความจ�ำเป็นในชีวติ ออกไปให้มากที่สุด บ้านที่น่าอยู่คือ บ้านที่เย็นและเกิดภาวะน่าสบายใน ทุกๆ ช่วงเวลา” หนึ่งในแนวคิดของ คุณศักดา ประสานไทย สถาปนิกผูม้ าก ผลงานทั้งบ้านและอาคารสาธารณะ แต่ใครเลยจะรูว้ า่ บ้านของเขาเรียบง่าย ขนาดไหน เราก�ำลังอยูท่ หี่ น้าบ้าน 3 ชัน้ ทรงหลั ง คาทรงจั่ ว ที่ เ สริ ม ระแนงไม้ ให้ตัวบ้านมีลูกเล่นมากขึ้น และยัง ใช้เสากลมแทนเสาเหลี่ยม อีกทั้งยื่น พื้นที่ส่วนชั้น 2 ออกไปให้เป็นระเบียง

ช่ ว ยให้ บ ้ า นดู ร ่ ว มสมั ย มากขึ้ น ชั้ น ล่ า ง ท� ำ เป็ น ลานโล่ ง คล้ า ยใต้ ถุ น บ้ า นไทย เจ้ า ของบ้ า นจั ด ให้ พื้ น ที่ ท� ำ งานของตน อยู ่ ด ้ า นล่ า ง ทาสี เ ขี ย วอ่ อ นสบายตา ใช้หน้าต่างสูงช่วยน�ำแสงธรรมชาติเข้ามา ภายในห้อง เดินขึ้นไปที่ชั้น 2 จะเป็นส่วน นั่งเล่น ส่วนรับประทานอาหาร และครัว ที่ตกแต่งแบบเน้นความต่อเนื่องเป็นส่วน เดี ย วกั น ทั้ ง ชั้ น มี ก ารยกพื้ น บางส่ ว น ท�ำเป็นช่องหน้าต่างเล็กๆ คล้ายกับ “ช่อง แมวลอด” ของบ้านไทย เพื่อการถ่ายเท อากาศที่ ดี ในส่ ว นนี้ เ จ้ า ของบ้ า นยอม สละการได้ ห ้ อ งนอนที่ ใ หญ่ โ ตโอ่ อ ่ า ในชั้นสาม เพื่อให้ส่วนของครอบครัวใน

ชั้ น สองมี ฝ ้ า ที่ สู ง ขึ้ น 2 ชั้ น พร้ อ มเจาะ ช่องแสงเพิ่มที่ด้านบน ช่วยน�ำแสงสว่าง เข้าบ้านในเวลากลางวัน ลมพัดถ่ายเท สะดวก โปร่งสบาย ส่วนของครัวตกแต่ง เรียบง่าย ใช้สีขาว ครีม และเทาเงิน

มองลอดซุ ้ ม ไม้ เ ลื้ อ ยตรงทาง เข้ า บ้ า นเข้ า ไป เราเห็ น ผู ้ ห ญิ ง คนหนึ่ ง ก�ำลังสะบัดปลายพูก่ นั อย่างทะมัดทะแมง เธอคื อ คุ ณ อิ ง อร หอมสุ ว รรณ์ อดี ต นางพยาบาล ที่ ผั น ตั ว มาตามหาฝั น ครั้ ง วั ย เยาว์ ด ้ ว ยการเป็ น ศิ ล ปิ น สี น�้ ำ เต็ ม ตั ว บ้ า นของเธอจึ ง สะท้ อ นตั ว ตน ของเธอผ่ า นการใช้ “สี ” ออกมาอย่ า ง ชัดเจน พยายามออกแบบให้กลมกลืน ไปกับธรรมชาติมากที่สุด ใช้วัสดุที่หาง่าย เลือกใช้เทคนิคที่เหมาะกับช่างชาวบ้าน และเลือกไม้เป็นวัสดุหลัก เริ่มที่ระเบียง หน้าบ้าน ดัดแปลงเป็นมุมท�ำงานเล็กๆ เพือ่ รับแรงบันดาลใจจากดอกไม้รอบบ้าน ตามสไตล์ศิลปิน เข้ามาที่ตัวบ้านจะเจอ ห้ อ งรั บ แขกที่ ท าผนั ง ด้ ว ยสี เ ขี ย วและ เหลื อ ง ตกแต่ ง ง่ า ยๆ ด้ ว ยผลงานสี น�้ ำ ของเธอเอง และเพื่ อ ลดความอึ ด อั ด ของห้ อ ง ชุ ด รั บ แขกจึ ง มี เ ก้ า อี้ จ� ำ นวน ไม่ ม าก แต่ เ ปลี่ ย นเป็ น ปู พ รมส� ำ หรั บ

85

นักวาดภาพ กับศิลปะสีน�้ำ

นั่งเอกเขนกกับพื้นได้แทน ส่วนด้านข้าง ของบ้าน ออกแบบให้เป็นหลังคาโปร่งแสง เพื่ อ เพิ่ ม ความสว่ า งให้ กั บ ทางเดิ น และ ห้องใต้ดินด้านล่าง แถมตกแต่งบริเวณนี้ ด้ ว ยของสะสมชิ้ น เล็ ก ๆ เป็ น กิ ม มิ ก ให้ บ้ า นไม่ เ รี ย บจนเกิ น ไป ส่ ว นห้ อ งน�้ ำ เพิ่มสีสันด้วยผนังสีน�้ำเงินสด โดยเลือก กระเบื้องปูผนังเป็นสีเหลือง และไม่ลืม ตกแต่ ง ผนั ง ด้ ว ยภาพวาดสี น�้ ำ ฝี มื อ เจ้าของบ้านเช่นเดิม ไม่วา่ จะแต่งบ้านสไตล์ ไหน

จะเน้ น ที่ ฟ ั ง ก์ ชั น หรื อ ที่ ดี ไ ซน์ ก็ตามแต่ สิง่ ส�ำคัญทีเ่ จ้าของบ้าน ทั้ง 3 หลังสะท้อนออกมาผ่าน การตกแต่งบ้านนัน่ ก็คอื “ตัวตน” ของพวกเขา ที่ส่งผ่านออกมา ให้แขกบ้านแขกเรือนที่มาเยี่ยม เยือนได้รู้จักเขาให้มากขึ้น ผ่าน ความคิดสร้างสรรค์อันมาจาก “ใจรัก” นั่นเอง


86

Better Pix

Better Pix

เรื่องและภาพ : พิจักษณ์ ทนันชัยบุตร

02

Selective View แค่บิดมุมมอง ภาพก็สวยได้

บ่อยครั้งเวลายกกล้องขึ้นมาเพื่อที่จะถ่าย ภาพ แต่กลับพบว่าทุกอย่างในช่องมองภาพมันช่าง กว้างและเวิ้งว้างไปเสียหมด ไม่มีจุดอะไรที่น่าสนใจ ในภาพเลย ภาพทีอ่ อกมาก็ดกู ว้าง ไร้จดุ เด่น เชือ่ ว่า หลายคนต้องเคยผ่านเหตุการณ์แบบนี้ใช่ไหมครับ ไม่เป็นไรครับ วันนี้ผมมีวิธีแก้มาฝาก

01

87

03

เริ่ ม แรกคื อ เราต้ อ งมองให้ ละเอียดขึ้นอีกนิด เมื่อมองแล้วก็คิดต่อไป ว่าเราจะถ่ายภาพอะไร อะไรคือสิง่ ทีท่ ำ� ให้ เราสนใจ แล้วเราค่อยเลือกขนาดของเลนส์ ที่คิดว่าเหมาะสมเพื่อถ่ายภาพนั้น ตัวอย่างจาก ภาพ 01 ผมได้ไป เจอทุ ่ ง ดอกดาวกระจายแถวตลาดน�้ ำ บางน�ำ้ ผึง้ ในทุง่ มีดอกไม้สเี หลืองขนาดย่อมๆ ที่ดูน่าสนใจ แต่ความรกของฉากหลังอาจ ท� ำ ให้ ภ าพดู ไ ม่ ค ่ อ ยน่ า มอง ผมเลยใช้ วิ ธี เ ข้ า ไปใกล้ ๆ ย่ อ ตั ว ให้ ต�่ ำ ติ ด กั บ พื้ น แล้วกดถ่ายภาพในส่วนมุมต�่ำของดอกไม้ เพื่อ ให้ภ าพน่า สนใจขึ้น และยัง คงเก็บ บรรยากาศรวมๆ ของทุ่งดอกไม้ไว้ได้ด้วย เป็นการจ�ำกัดมุมให้แคบลงโดยใช้จุดเด่น เพียงจุดเดียว ดัง ภาพ 02 ครับ การเลือกใช้เลนส์ก็เป็นสิ่งที่จะ ช่วยแก้ปัญหาเรื่องความเวิ้งว้างของภาพ ทิวทัศน์ได้เป็นอย่างดี เลนส์มุมแคบอย่าง พวกเทเลโฟโต้ 80 - 200 มม. จะช่วยตัด ส่วนที่ไม่น่าสนใจออกไป เพื่อเน้นเฉพาะ สิ่งที่เราต้องการครับ ภาพ 03 นี้ผมยืนอยู่บนยอดเขา ในนอร์ เ วย์ ค รั บ ซึ่ ง ภาพตรงหน้ า เป็ น ทิวทัศน์อันกว้างขวางของทิวเขา ถ้าผม

ใช้เลนส์มุมกว้าง ภาพ ที่ ไ ด้ จ ะท� ำ ให้ ทุ ก อย่ า ง ดู เ ล็ ก ไปหมด จะไม่ สามารถเห็ น ความลึ ก ของหน้าผาที่เรายืนอยู่ ได้ เ ลย ผมจึ ง เลื อ กใช้ เลนส์ 80 - 200 มม. โดย เลือกถ่ายช่วง 200 เพื่อ ดึ ง ทุ ก อย่ า งให้ อ ยู ่ ใ น ระยะเดียวกัน จะท�ำให้ เราเห็นแนวเส้นถนนได้ ชั ด เจนขึ้ น ท� ำ ให้ ค นที่ ได้มาเห็นภาพสามารถ คะเนความสูงของจุดทีถ่ า่ ยภาพได้วา่ ยืนถ่ายจากระดับ ความสูงประมาณไหน ส่วนการวัดแสงนั้นก็ง่ายๆ ครับ สภาพแสงที่เท่ากันไปหมดแบบนี้ ถ่ายตามที่กล้อง วัดแสงได้เลย ไม่ต้องปรับชดเชยแสง และใช้รูรับแสง กลางๆ เพื่อให้ได้ระยะชัดตามที่ต้องการครับ การถ่ า ยภาพที ล ะขั้ น ตอน บางครั้ ง ก็ เ ป็ น สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นครับ เพราะจะท�ำให้เราได้ภาพทีห่ ลากหลาย มุมมากขึ้น ตัวอย่างง่ายๆ อย่างภาพน�้ำตก ใน ภาพ 04 ผมถ่ายภาพกว้างด้วยเลนส์ขนาด 35 มม. เพื่อเก็บ บรรยากาศทัง้ หมด แล้วจึงใช้เลนส์ขนาด 200 มม. ถ่าย ภาพ 05 เพื่ อ เก็ บ สายน�้ ำ ที่ ต กลงมาอย่ า งรุ น แรง หลังจากนัน้ ผมก็ปนี ขึน้ ไปมุมสูง เพือ่ ถ่ายภาพสายน�ำ้ ที่

05 01 Lens 24, f11/250 iso 100 02 Lens 24, f11/125 iso 100 03 Lens 17-55, f11/speed 250 iso 100 04 Lens17-55, f5.6/250 iso 400 05 Lens 80-200, f4/250 iso 400


88

Better Pix

Better Pix 06

89

07

Compact Camera Tips 08

ไหลจากน�้ำตกมาตามทางน�้ำ ท�ำให้เห็น ภาพที่ ชั ด เจนของน�้ ำ ตกมากขึ้ น ไปอี ก ดัง ภาพ 06 ซึง่ คุณทราบไหมครับว่า น�ำ้ ตก เหล่านี้เกิดจากการละลายของธารน�้ำแข็ง บนภูเขาที่เย็นจัดต�่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส เชียวนะครับ แต่ ภ าพก็ ยั ง ไม่ ส ะท้ อ นความ นิ่งเย็นของน�้ำได้ ผมเลยเดิน (ปีน) ต่อขึ้น ไปถ่ายภาพต่อ แผ่นน�้ำสีเขียวใสที่นิ่งสงบ เป็ น สิ่ ง ที่ ช ่ ว ยบ่ ง ชี้ ว ่ า เป็ น น�้ ำ ที่ ล ะลาย มาจากธารน�้ำแข็งแบบใน ภาพ 07 นี้ครับ การค่อยๆ บันทึกภาพไปทีละส่วนจากภาพ มุมกว้างไปสู่ภาพมุมแคบเป็นสิ่งที่ท�ำได้ ง่ายๆ นะครับ ยิ่งถ้าใช้เลนส์ซูมที่เปลี่ยน ระยะง่ายๆ ยิ่งสบายเข้าไปใหญ่ สิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ เราต้ อ งคิ ด ก่ อ น ว่าภาพที่เราต้องการคืออะไร อะไรที่เรา จะเน้น จะใช้เลนส์มุมแคบในจังหวะไหน

เวลาทีเ่ ราซูมเจาะเข้าไปในมุมแคบ กล้องทีม่ ขี นาดเล็ก มักจะไม่นิ่งเท่าที่ควร แต่สิ่งที่ช่วยได้มากในปัญหานี้คือระบบ กันสั่น หรือ Image Stabilizer ตัวย่อก็คือ IS หรือบางยี่ห้อก็จะ เขียนว่า Anti shake (AS) ครับ ระบบกันสัน่ นีจ้ ะมีในกล้องรุน่ ใหม่ ทุกยี่ห้อแล้ว โดยมักจะสัมพันธ์กับขนาดของช่วงซูมที่ใช้ เช่น IS1 ใช้กบั ช่วงกว้าง IS2 ใช้กบั ช่วงมุมแคบ อันนีต้ อ้ งลองอ่านคูม่ อื ว่าแต่ละแบบต่างกันอย่างไร ภาพ 09 นี้ผมถ่ายจากบนเรือที่ไม่ค่อยนิ่งเท่าไร ใช้ช่วง ซูมมากสุดของกล้อง เห็นได้ชัดเจนจากจอหลังกล้องว่ากล้องสั่น ผมเลยเปิดระบบกันสั่นมาช่วย และก็ได้ผลที่น่าประทับใจครับ แต่ ร ะบบกั น สั่ น ไม่ ค วรเปิ ด ทิ้ ง ไว้ ต ลอดเวลานะครั บ เพราะ จะเปลื อ งแบตเตอรี่ ม ากเป็ น เท่ า ตั ว ยิ่ ง อากาศหนาวจั ด ใน ต่ า งประเทศด้ ว ยแล้ ว แบตเตอรี่ ก ล้ อ งจะยิ่ ง หมดเร็ ว ขึ้ น อี ก ดังนั้นเวลาจะใช้งานค่อยเปิดครับ อย่างใน ภาพ 10 นี้ ผมก็ 09 ไม่ได้ใช้ เพราะถ่ายในสภาพแสงดี และถ่ายจากบนฝั่งที่นิ่งพอ ระบบกันสั่นจะช่วยได้ดีในที่ที่มีแสงน้อยเช่นกันครับ 10 แต่ถ้ามืดแบบกลางคืนก็คงจะไม่ไหว แต่กับภาพทิวทัศน์ทั่วไป ระบบที่มีมาให้ก็เพียงพอแล้วครับ ถ้าตอนนี้ใช้กล้องเล็กอยู่ ก็ไม่ต้องน้อยใจนะครับ เรามีระบบกันสั่นที่ช่วยให้ภาพสวย ไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน สุดท้ายคงต้องกลับไปทีเ่ รือ่ งของ “มุมมอง” แล้ ว ละครั บ ว่ า ใครจะถ่ า ยสวยกว่ า ใคร เราต้ อ งวั ด กั น ตรงนี้ อันนี้สิครับของจริง ขอให้สนุกกับการถ่ายภาพนะครับ

เรื่องของมุมมองไม่ว่าจะเป็นกล้องเล็กหรือกล้องใหญ่ ก็ไม่ได้มีความได้เปรียบเสียเปรียบต่างกันนัก กล้อง DSLR ตัวโต อาจจะได้เปรียบตรงที่มีเลนส์ซูมมากๆ แต่ต้องล�ำบากแบกกัน จนไหล่เอียงเช่นกัน ส่วนพวกกล้องตัวเล็กๆ สมัยนี้ ถ้าคุณรู้จักใช้ เทคนิค คุณก็สามารถถ่ายภาพที่ดีได้เช่นกัน

06 Lens 80-200, f11/125 iso 100 07 Lens 80-200, f4/speed 250 iso 400 08 Kodak E100 vs, Lens 180, f5.6 /500

เพราะเราต้องไม่ลมื หัวใจของการถ่ายภาพ การเลือกมุมที่ต้องการ นะครั บ ว่ า การถ่ า ยภาพนั้ น หมายถึ ง เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ในการถ่ า ยภาพ สิ่งเหล่านั้นในภาพเป็นสิ่งส�ำคัญและควร อย่างภาพกว้างจะบอกเล่าพื้นที่ จะพูดถึง อย่างใน ภาพ 08 นี้ผมต้องการ ทั้งหมด ส่วนภาพมุมแคบจะช่วย ถ่ายภาพเมืองเบอร์เก้น ในนอร์เวย์ ทีม่ กี าร ตัดส่วนที่ ไม่น่ามองออกไป และ ตัง้ บ้านเรือนกันเป็นชัน้ ๆ ตามภูเขา ตอนนัน้ เน้นจุดเด่นให้ชัดเจนขึ้น ภาพที่มี เป็นช่วงฤดูหนาว กลางคืนจะยาวนาน และ ขนาดต่างกันก็จะมีหน้าที่ในการ สีของท้องฟ้าจะเป็นโทนฟ้าๆ ตลอดเวลา เล่าเรื่องที่ต่างกันไปด้วย หากเรา ผมเลื อ กที่ จ ะบั น ทึ ก ภาพบ้ า นเรื อ นที่ ได้ คิ ด มุ ม ภาพไว้ ก ่ อ นล่ ว งหน้ า เรียงรายไปตามสันเขา และจุดที่มีสถานี แล้ ว ไม่ ว ่ า จะไปตระเวนเที่ ย วใน และรางของรถรางที่เป็นจุดเด่นจุดหนึ่ง ทริปไหนๆ ก็จะท�ำให้เราได้ภาพดีๆ ของเมือง เพื่อที่จะเป็นภาพที่บอกได้ว่า กลับบ้านได้เสมอครับ นี่คือเมืองเบอร์เก้นครับ

09 Leica CLux 2 Iso Auto, Is on 10 Leica CLux 2 Iso Auto, Is off


90

Collection Room

Collection Room

เสียงดนตรีดีๆ ช่วยชโลมจิตใจคนให้รื่นรมย์ ได้จริง ยิ่งถ้าเสียงดนตรีที่ว่าเป็นเสียงที่นุ่มลึกทุ้มในท่วงทำ �นอง มีบรรยากาศประหนึ่งว่ามีจิตวิญญาณแล้ว ยิ่งทำ�ให้หัวใจ ของผูฟ ้ งั สัมผัสสุนทรียม์ ากขึน้ ไปอีก นีค่ งเป็นความสุขเล็กๆ ของเหล่านักสะสมที่ต้องมนต์เสน่ห์เส้นเสียงเพราะๆ ของ “แผ่นเสียง” จนต้องนำ�มาเก็บเป็นคอลเล็คชั่น แผ่นเสียงนั้น…ยังไม่ตาย

“แผ่นเสียง” หรืออีกชือ่ ทีค่ นเรียก กันว่า “แผ่นไวนิล” เคยได้รับความนิยม ในช่วงปี พ.ศ. 2491 แม้ว่าในระหว่างนั้น จะมีเทปคาสเส็ทถือก�ำเนิดขึ้นมา แต่ก็ไม่ สามารถท�ำลายความนิยมในแผ่นเสียง ลงได้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2526 ที่เริ่ม มี แ ผ่ น คอมแพ็ ค ท์ ดิ ส ก์ เ ข้ า มาแทนที่ แผ่นเสียงจึงเริม่ ถูกลดบทบาทลงนับแต่นนั้ มา โดยแผ่นเสียงจะมี 2 ยุคด้วยกัน คือ ยุคแผ่นครัง่ และยุคแผ่นไวนิล โดยแผ่นครัง่ นั้นมีขนาด 10 นิ้ว แต่ไม่ค่อยเป็นที่นิยม มากเท่าไร เพราะดูแลรักษาค่อนข้างยาก ส่วนอีกประเภทคือแผ่นไวนิล จะมี 2 ขนาด ด้วยกัน ได้แก่ แบบ 7 นิ้ว และ 12 นิ้ว ปัจจุบนั ในต่างประเทศยังคงผลิตแผ่นเสียง อยู่ ส่ ว นในประเทศไทยได้ เ ลิ ก ผลิ ต แผ่นเสียงในรูปของอุตสาหกรรมไปตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2535 แล้ว แผ่นเสียงที่เราพบกัน ในตลาดส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น แผ่ น มื อ สอง แทบทั้งสิ้นครับ

ตาดีได้ ตาร้ายเสีย

เป็นหนึ่งในค�ำพูดที่ผมไม่ชอบ เสี ย จริ ง ๆ “ตาดี ไ ด้ ตาร้ า ยเสี ย ” ท� ำ ไม ต้องตาดีได้ ตาร้ายเสียล่ะครับ ถ้าเรามี ความรู้เสียอย่าง เริ่มแรกให้ตรวจดูสภาพ ทั่ ว ไปก่ อ น ว่ า มี ร อยลึ ก หรื อ มี ข นแมว หรือไม่ ปกและฉลากมีรอยขีดเขียนไหม จากนั้นให้คุณเอาแผ่นส่องกับแสงสว่างดู ลองหมุ น ไปมาเพื่ อ ตรวจหารอยต� ำ หนิ จุดส�ำคัญอีกที่คือ ให้ดูว่าแผ่นบิดหรือไม่ ถ้าบิดเล็กน้อยก็ไม่เป็นไรครับ ถือว่าผ่าน นอกจากนี้ยังต้องดูว่าแผ่นนั้น เป็น “แผ่น Original” คือแผ่นต้นฉบับ หรือเป็น “แผ่น Reissue” ที่ออกตามหลัง มาอีกที เพราะแผ่นเสียง Original ที่ผลิต เป็ น ตั ว แรกๆ มั ก จะมี เ นื้ อ เสี ย งที่ ดี ก ว่ า แผ่นทีท่ ำ� ออกมาหลังๆ อย่างแผ่น Reissue ถ้ า คุ ณ เจอแผ่ น เสี ย งชุ ด เดี ย วกั น แต่ มี 2 แบบ ให้เลือกเก็บตัวต้นฉบับนะครับ พวกเพลงต่างประเทศ ถา้ จะเอาทีค่ ณ ุ ภาพ ดี ๆ ก็ ต ้ อ งเป็ น แผ่ น Original จาก

สหรัฐอเมริกาและอังกฤษครับ แต่ถ้าหา แผ่น Original ไม่ได้จริงๆ พวกแผ่น Reissue ของญี่ปุ่นก็คุณภาพใช้ได้เช่นกัน ถ้าเป็น พวกเพลงไทยก็มีจากหลายแหล่ง เช่น ญี่ปุ่น อินเดีย และไทย ซึ่งโดยมากแผ่น Original ซึ่งเสียงดีกว่าจะมีราคาสูงกว่า แผ่น Reissue ครับ นอกจากประเทศที่ กล่าวมา แผ่น Original จากประเทศอื่น ก็ยังมีให้เลือกมากมายเช่นกัน ถ้ารักจะ เล่นแล้ว ควรหมั่นศึกษาเพิ่มเติมดูนะครับ

เปิดตู้ ดูแผ่นหายาก

ประเดิ ม กั น ที่ แ ผ่ น เสี ย งชุ ด “ท.ทหารอดทน” อัลบั้มล�ำดับที่ 4 ของ วงคาราบาว ออกวางจ� ำ หน่ า ยปลายปี พ.ศ. 2526 ในรูปแบบแผ่นเสียงและเทป คาสเส็ท อัลบัม้ นีม้ เี พลงทีไ่ ด้รบั ความนิยม อยู่หลายเพลงด้วยกันครับ ท�ำให้ประสบ ความส�ำเร็จทางยอดขายอย่างสูง จัดเป็น หนึ่งในแผ่นเสียงเพลงไทยระดับต�ำนาน อีกแผ่นหนึ่งครับ แต่ แ ผ่ น ที่ ผ มอยากแนะน� ำ ให้ เก็บสะสมกันจริงๆ คือ “เพลงพระราชนิพนธ์” แผ่นเสียงเพลงพระราชนิพนธ์ ชุดแรกของประเทศไทยทีผ่ ลิตขึน้ ในปี พ.ศ. 2490 เป็น แผ่น ครั่ง ตราสุนัขหน้าสีขาว พิมพ์ตัวหนังสือด้วยสีทองสวยงาม ผลิต

จากอังกฤษ ซึ่งชุดนี้ถือว่าเป็นที่สุดของ ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ นั ก เล่ น แผ่ น เสี ย งของเมื อ ง ไทยแล้วครับ เพราะทั้งเก่าแก่และหายาก ไม่ใช่แค่ทรงคุณค่า แต่ยังถือเป็นสิริมงคล ต่อผู้ที่ได้ครอบครองอีกด้วยครับ ส่ ว นแผ่ น เสี ย งเพลงสากลนั้ น อันนี้ต้องยกให้เขาเลยจริงๆ กับวง The Beatles ที่อัลบั้มแทบทุกชุดของพวกเขา เป็นที่นิยมของนักสะสมตลอดกาล ราคา พุ่งขึ้นทุกๆ ปี ยิ่งไปกว่านั้น บางอัลบั้มของ พวกเขามีการประมูลกันผ่าน eBay สูงถึง หลักหมื่น หลักแสนก็มีครับ อัลบั้มพิมพ์ นิ ย มที่ ว ่ า นั้ น ได้ แ ก่ “Yesterday And Today (Butcher Cover)” หนึ่งในบรรดา แผ่ น เสี ย งที่ ห ายากและราคาสู ง ที่ สุ ด ในโลก ซึ่ ง ออกวางจ� ำ หน่ า ยในปี 1 966 โดยภาพหน้าปกเวอร์ชนั่ แรกของแผ่นเสียง ชุ ด นี้ เ ป็ น ภาพของสี่ ห นุ ่ ม เต่ า ทองในชุ ด เสื้ อ กาวน์ ก� ำ ลั ง ยิ้ ม รอบตั ว เต็ ม ไปด้ ว ย ชิ้ น เนื้ อ สดและตุ ๊ ก ตาหั ว ขาด ซึ่ ง ปกนี้ ช็อกความรู้สึกแฟนเพลงต่อภาพลักษณ์ ของสีห่ นุม่ พอสมควร จนทางต้นสังกัดต้อง รีบเรียกคืนแผ่นเสียงชุดแรกกลับมาทันที และเปลีย่ นปกใหม่เป็นภาพทีไ่ ม่รนุ แรงนัก อีกอัลบัม้ หนึง่ ทีเ่ ป็นพีน่ อ้ ง

ฝาแฝด (แพง) ตามกั น มาคื อ ชุ ด “The Beatles (White

91

Album)” ที่ ว างจ�ำหน่ า ยในปี 1968 โดยมีหน้าปกเป็นสีขาวล้วน ปัม๊ นูนแค่ชอื่ วงไว้ (ซึง่ ถูกใช้เป็นชือ่ เดียวกันกับอัลบัม้ ) ด้านล่างมีปม๊ั หมายเลขก�ำกับ (ที่จะเรียงรันไป เรื่อยๆ) ท�ำให้แผ่นเสียงของแต่ ละคนไม่ซ�้ำกัน โดยจะใช้วิธีการตี ราคาตามหมายเลขที่ก�ำกับบน ปกของแผ่นเสียงชุดนัน้ ซึง่ มีราคา กลางสากลดังนี้ ถ้าบนปกอัลบั้ม มีหมายเลขตำ�่ กว่า 10,000 แผ่น จะมีมลู ค่าเพิม่ ขึน้ 50% ถ้าตำ�่ กว่า 100 แผ่ น จะมี มู ล ค่ า เพิ่ ม ขึ้ น 400% และถ้าต�่ำกว่า 10 หรือ เป็ น เลขตั ว เดี ย ว แผ่ น นั้ น จะมี มู ล ค่ า เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ถึ ง 2,000% เลยทีเดียวครับ แลกเปลี่ยน เสาะหา มาสะสม • ถ้ า ชอบเก็ บ สะสมแผ่ น เสี ย งต่ า งประเทศ ลองเข้าไปดูทเี่ ว็บไซต์ www.hof-records.com • ส�ำหรับท่านที่ชอบเดินเล่นตระเวนหา แนะน�ำ ที่ “ตลาดโรงพยาบาลกลาง” หรือ “คลองถม” มีเฉพาะวันเสาร์และอาทิตย์ (เริ่มตั้งแต่ 8 โมงเช้า ไปจนถึงบ่ายแก่ๆ) • ลองแวะไปที่ร้าน Coffee Model (อยู่ระหว่าง ซอยประดิพัทธ์ 12 และ 14) ร้านกาแฟสไตล์ วินเทจ ที่มีทั้งผลงานศิลปะต่างๆ ของสะสม โบราณมากมาย และทีส่ ำ� คัญยังเป็นขุมทรัพย์ ของเหล่านักรักแผ่นเสียงอีกด้วยครับ


92

Trend

Trend

เรื่อง : Ms. High Heels กระเป๋าใส่ของจาก Kate Spade (Kate Spade สาขาเซ็นทรัลเวิลด์)

หมวกลายตารางจาก Ermenegildo Zegna (Ermenegildo Zegna สาขาศูนย์การค้า เกษรพลาซ่า และสยามพารากอน)

ชุดจาก Gerard Darel (Gerard Darel ชั้น 1 สาขาเซ็นทรัลชิดลม)

กระเป๋าสตางค์จาก Paul Smith (Paul Smith สาขาสยามพารากอน)

กระเป๋าถือจาก Furla (Furla สาขา เซ็นทรัลเวิลด์)

ผ้าพันคอจาก Gerard Darel ราคา 3,900 บาท (Gerard Darel ชั้น 1 สาขาเซ็นทรัลชิดลม)

e d a r a P nts Pri

ชุดจาก Lanvin (Lanvin สาขาเอราวัณ แบงค็อก) เน็คไทพิมพ์ลายจาก Ermenegildo Zegna (Ermenegildo Zegna สาขาศูนย์การค้าเกษร พลาซ่า และสยาม พารากอน)

ากาศที่ อ ม อ ้ ร พ 2 องปี 201 มณ์งงๆ ไม่รู้ว่า ข ย า ้ ท ด ุ ส ส สู่ไตรมา ให้หลายคนเกิดอาร ากาศช่วงนี้ดี า ้ ข เ ่น้อย ท�ำ สและไม่ขัดกับบรรย ราะซีซั่นนี้ ช ใ ิ ม น ว ร ป แปร ไรให้ดูสดใ ายพริ้นท์ ไปเสียสิคะ เพ ายพริ้นท์ ง า ่ ย อ ว ั ต ง ่ จะแต ื้อผ้าล ออกแบบเสื้อผ้าล นาน เส ม า ้ ข ง อ ม แหมๆ อย่า ด์ต่างพากันพาเหรด ดแ์ มตชก์ นั อยา่ งสนกุ ส ้วย หลายแบรนส้ าวกแฟชนั่ ไดม้ กิ ซแ์ อน ารแต่งตัวดูสดใสขึ้นด สวยๆ มาใหเพิ่มลูกเล่นและสีสันให้ก แถมยังช่วย

ชุดจาก Armani Exchange (Armani Exchange ชั้น 1 สยามดิสคัฟเวอรี่ และชั้น 2 ดิเอ็มโพเรียม)

ชุดเดรสจาก Gerard Darel ราคา 10,900 บาท (Gerard Darel ชั้น 1 สาขาเซ็นทรัลชิดลม) กระโปรง ทรงสอบ ลายดาว จาก Agnès b.

แจ๊คเก็ตลายตาราง จาก Agnès b. (Agnès b. สาขาเซ็นทรัลเวิลด์)

กระเป๋าสะพาย จาก Kate Spade (Kate Spade สาขาเซ็นทรัลเวิลด์)

ชุดจาก Gerard Darel (Gerard Darel ชั้น 1 สาขาเซ็นทรัลชิดลม)

93

รองเท้าผ้าใบพิมพ์ลาย จาก Kenzo (Kenzo ชั้น 1 สาขาเซ็นทรัลชิดลม)

ผ้าพันคอลายตาราง จาก Ermenegildo Zegna (Ermenegildo Zegna สาขาศูนย์การค้าเกษรพลาซ่า และสยามพารากอน)


94

Entertainment

Entertainment เรื่อง : คุณหนู

Hit Man David Foster and Friends Live in Bangkok 2012

เตรียมสัมผัสอรรถรสทางดนตรี ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ ประทั บ ใจไม่ รู ้ ลื ม อี ก ครั้ ง กั บ คอนเสิ ร ์ ต Singha Corporation and Scotch Forever Young present Hit Man David Foster and Friends Live in Bangkok 2012 หลังจากท�ำให้แฟนเพลงชาวไทยกว่าหมื่นคน ประทับใจ กั บ บทเพลงสุ ด ไพเราะ และเสี ย งร้ อ งอั น ทรงคุ ณ ภาพของศิ ล ปิ น ระดั บ โลก ไปแล้วเมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา ปีนี้ เดวิด ฟอสเตอร์ เตรียมน�ำทัพศิลปินดังคุณภาพเยี่ยม มาให้ได้ฟงั กันอีกครัง้ ในวันจันทร์ที่ 5 พฤศจิกายน 2555 นี้ ณ อิมแพ็ค อารีนา่ เมืองทอง ธานี จองบัตรล่วงหน้าได้ที่ไทยทิกเก็ตเมเจอร์ทุกสาขา หรือจองผ่านเว็บไซต์ได้ที่ www.thaiticketmajor.com

3 A.M.

แบบเบิร์ด เบิร์ด โชว์

ต้อนรับอีกหนึง่ คอนเสิรต์ ครบรอบ 25 ปีกบั “แบบเบิรด์ เบิรด์ โชว์ ครัง้ ที่ 10 ตอน วันของเรา Young อยู่” ด้วยความสนุก สุ ด พิ เ ศษที่ ธ งไชย แมคอิ น ไตย์ ซู เ ปอร์ สตาร์เมืองไทยคัดสรรมาอย่างดี เพื่อคนดู และมิ ต รรั ก แฟนเพลงทุ ก คน นอกจาก ความสุข ความสนุก ในแบบเบิร์ด เบิร์ด โชว์ แล้ ว ยั ง เป็ น การกลั บ มาร่ ว มงาน อีกครั้งของเอกชัย เอื้อครองธรรม อย่าง เต็ ม รู ป แบบ เพื่ อ แต่ ง แต้ ม สี สั น ความ สนุกของมิวสิคัลเพลย์ ในเรื่อง “Young เบิร์ด” ที่เล่าเรื่องราวตอนเด็กของพี่เบิร์ด อีกด้วย ร่วมสร้างประวัตศิ าสตร์ความสนุก สัมผัสทุกอารมณ์ความรูส้ กึ ได้ในคอนเสิรต์ นี้ ตัง้ แต่วนั ที่ 17 - 18, 22 - 23, 24 - 25 และ 30 พฤศจิกายน 2555 จองบัตรได้แล้ว ทีไ่ ทยทิกเก็ตเมเจอร์ทกุ สาขา หรือจองผ่าน เว็บไซต์ได้ที่ www.thaiticketmajor.com

แนวหนัง: Thriller ก�ำหนดฉาย: 22 พฤศจิกายน 2555 หลังจากทีป่ ระสบความส�ำเร็จในด้านรายได้จาก เรื่อง 407 เที่ยวบินผี ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่นภูมิใจเสนอ “3 A.M.” ภาพยนตร์ สยองขวัญเรื่องใหม่ในรูปแบบสามมิติ ที่จะพาคุณสัมผัส เรื่ อ งลี้ ลั บ และชวนระทึ ก ขวั ญ พร้ อ มกั น ในช่ ว งเวลา ตีสาม ตามค�ำกล่าวทีว่ า่ ตีหนึง่ ...ลมพัด ตีสอง...หมาหอน ตีสาม...ผีหลอก ร่วมพิสจู น์เงือ่ นไขแห่งกาลเวลาทีจ่ ะพาคุณค้นหาความจริงจากสิง่ ลีล้ บั

Fatherland

แนวหนัง: Action ก�ำหนดฉาย: 5 ธันวาคม 2555 อีกหนึ่งภาพยนตร์คุณภาพที่ดัดแปลงมาจาก นิ ย ายเรื่ อ ง “พรมแดน” ของพลต� ำ รวจเอก วสิ ษ ฐ เดชกุญชร ศิลปินแห่งชาติ สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาและ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ ถ่ายทอด ผ่านมุมมองของต�ำรวจสองนายในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ที่ มี นิ สั ย และพื้ น เพต่ า งกั น ภาพยนตร์ เ รื่ อ งนี้ เป็นการพบกันครั้งแรกของอนันดา เอเวอริ่งแฮม กับ ศุกลวัฒน์ คณารศ และที่น่าสนใจกว่านั้นคือ ความทุ่มเทของทีมงาน ผู้ก�ำกับที่ลงทุน ลงพื้นที่จริง เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวให้สมจริงที่สุด ร่วมสัมผัสเรื่องราวให้ถึงแก่นแท้ได้ที่ โรงภาพยนตร์ทั่วประเทศ

Adele

Album: 21 Genre: Soul, Pop, R&B Label: XL Recordings

หลายคนพู ด กั น หนั ก หนาว่ า อั ล บั้ ม ที่ 2 มั ก จะเป็ น ตั ว ตั ด สิ น ความสามารถของศิ ล ปิ น ว่ า จะใช่ ตั ว จริ ง หรื อ ไม่ แต่สำ� หรับสาวเสียงทรงพลังอย่าง Adele เจ้าของหกรางวัลแกรมมี่ อวอร์ดส์ ครั้งที่ 54 ก็ลดข้อกังขาได้อย่างหมดจด กับอัลบัม ชุดที่ 2 นี้ที่ใช้ชื่อว่า “21” ซึ่งตั้งตามอายุปัจจุบันของเธอเอง อัลบั้มนี้ได้สะท้อนตัวตนของเธอที่เป็นผู้ใหญ่ขึ้น ฟังง่ายขึ้น แต่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็น Adele ไว้อย่างครบถ้วน ด้วยอายุ เพียงเท่านี้ แต่ความสามารถอยู่ในเกณฑ์“เหนือมาตรฐาน” ขนาดนี้ คงไม่ต้องการันตีอะไรกันอีกแล้ว

95

Various Artists

Album: Rain Coat Genre: Jazz Label: Universal Music

เย็ น ฉ�่ ำ กั บ ท่ ว งท� ำ นองแจ๊ ส ที่ ฟ ั ง สบายได้ อ ารมณ์ ในฤดูปลายฝนต้นหนาวของคุณกับ 28 บทเพลงแสนไพเราะ จากศิลปินชั้นน�ำ อาทิ Jamie Cullum, Al Jarreau, Acoustic Alchemy, John Coltrane, Chris Botti, Kenny G และ Dave Koz กับหลายบทเพลงเก่าที่คุณคิดถึง ไม่ว่าจะเป็น Singing in the Rain เพลงเก่าแสนโรแมนติกในวันวาน, Come Rain or Come Shine แจ๊สน�้ำดีที่ฟังเมื่อไรก็เคลิ้มได้เมื่อนั้น The Rain เพลง เพราะที่จะพาคุณเหงาอย่างสุดขั้ว และอีกหลายเพลงที่พร้อม จะพาอารมณ์ของคุณให้ล่องพลิ้ว อินไปกับบรรยากาศ

เศรษฐา ศิระฉายา

เอิ้น - พิยะดา หาชัยภูมิ

Album: จากวันนั้น...ถึงวันนี้ เพราะมีคุณ Genre: Pop, Jazz Label: GMM

Album: My Beloved Songs Genre: Pop Label: GMM

คัดสรร 40 บทเพลงเด่นของบรมครู 4 ศิลปินแห่งชาติ ได้แก่ พยงค์ มุกดา, สง่า อารัมภีร, สุรพล โทณะวณิก และชาลี อิ น ทรวิ จิ ต ร มาขั บ ร้ อ งใหม่ แ ละแบ่ ง เป็ น 4 ชุ ด อั ล บั้ ม โดย ชุ ด แรกเป็ น ผลงานรวมเพลงของครู ส ง่ า ชุ ด นี้ ฟ ั ง แล้ ว หวาน ละเมียด มีกลิ่นอายเพลงลูกกรุงเจือผสม ชุดที่สองเป็นผลงาน รวมเพลงของครู พ ยงค์ ชุ ด นี้ จ ะได้ อ ารมณ์ ป ็ อ บแจ๊ ส หวานๆ ชุดสามเป็นงานรวมเพลงของครูสุรพล เป็นชุดที่รวมเพลงของ ดิอมิ พอสสิเบิล้ ส์ไว้มากทีส่ ดุ โทนเป็นแนวป็อปร็อก ส่วนชุดสุดท้าย เป็นผลงานรวมเพลงของครูชาลี แนวเพลงออกสไตล์ปอ็ บ มีกลิน่ ดนตรีที่หลากหลาย แต่ทรงเสน่ห์ชวนฟัง น�ำมาขับร้องใหม่โดย เศรษฐา ศิระฉายา นักร้องเสียงเพราะอมตะทรงคุณค่าที่ทุกคน คิดถึง

รวมทุกบทเพลงเพราะของ “คุณหมอนักแต่งเพลง” ที่ เ คยฝากความรู ้ สึ ก ดี ๆ บนความประทั บ ใจไว้ ใ นอั ล บั้ ม Club Friday Based On True Story By เอิ้น พิยะดา กันมาแล้ว รอบนี้หมอเอิ้นส่งอัลบั้มใหม่ที่รวบรวมสุดยอดเพลงรัก-เหงาเศร้า-ซึม ไว้ครบรสชาติรัก กับ 17 เพลงฮิตติดหูที่เพลงขึ้นเมื่อไร ก็รอ้ งได้เมือ่ นัน้ ไม่วา่ จะเป็นมากกว่ารัก - โรส ศิรนิ ทิพย์, เจ็บซ�ำ้ ซ�ำ้ แอน ธิติมา, รักเท่า ไหร่ก็ค งไม่พอ - ลู ก ปั ด และเพลงอื่ นๆ ในอัลบั้มอีกมากมาย ที่คัดมาส�ำหรับคนที่หัวใจ “ยังมีรัก” ทุกคน


96

Book Shelf

Book Shelf เรื่อง : big brother

การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง ผู้เขียน: ศ. นพ.เกษม วัฒนชัย สำ�นักพิมพ์: มติชน ราคา 130 บาท หากจะเอ่ ย ถามถึ ง การเรี ย นรู้ ทีแ่ ท้นนั้ คงต้องย้อนกลับไปถึงวิวฒ ั นาการ เรียนรู้ของมนุษย์ ทั้งในเรื่องพื้นฐานการ เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ สังคมไทยกับ การเรียนรู้ และการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ซึ่งกันและกัน หนังสือเล่มนี้กำ�ลังเตือน คนไทยทุกคนว่า เรากำ�ลังหลงทาง คิดว่า วั ต ถุ นิ ย มเป็ น ความสุ ข ที่ สุ ด ของชี วิ ต มากกว่าที่จะเข้าวัดเพื่อเรียนรู้ความสุข ทางจิตใจ หนังสือเล่มนี้จะพาท่านกลับไป ลงหลั ก ความคิ ด เสี ย ใหม่ อ่ า นแล้ ว นำ�ไปปรับใช้กับชีวิตส่วนตัว ครอบครัว และสังคมได้ดที กุ ด้าน ให้หวั ใจสงบมัน่ คง แล้วจะรูว้ า่ “ความสุขทีแ่ ท้ของชีวติ เกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา”

97

ตัวตน คน ‘แต้จิ๋ว’ ผู้เขียน: เสี่ยวจิว สำ�นักพิมพ์: มติชน ราคา 195 บาท

วิตามินแห่งความสุข ผู้เขียน: พิทยากร ลีลาภัทร์ สำ�นักพิมพ์: มติชน ราคา 170 บาท

ส�ำลักบ้านเกิด ผู้เขียน: ชาติ ภิรมย์กุล สำ�นักพิมพ์: มติชน ราคา 150 บาท

20 ร้านกินกันโรค ผู้เขียน: เจษฎา พาชิม สำ�นักพิมพ์: มติชน ราคา 280 บาท

เสราดารัล ผู้เขียน: กิ่งฉัตร สำ�นักพิมพ์: อรุณ ราคา 215 บาท

หนังสือที่จะมาชวนคิดชวนคุย เรื่องวัฒนธรรมจีนแต้จิ๋วในเมืองไทย เล่า สนุกผ่านของกิน ของใช้ในชีวิตประจำ�วัน ที่บอกตัวตนความเป็นคนแต้จิ๋ว เนื้อหา เน้ น ไปที่ วิ ถี ชี วิ ต จี น ในเมื อ งไทย ที่ เ รา พบเห็นกันอยู่บ่อยๆ แต่ไม่เคยเข้าใจมัน อย่างถูกต้องจริงๆ ด้วยทำ�นองการเขียนที่ อ่านง่าย เข้าใจง่าย แฝงความเป็นกันเอง ตลอดทุ ก ตั ว อั ก ษร ถื อ เป็ น หนั ง สื อ ด้ า น คติชนวิทยา (Folklore) ของจีนที่ดี และ น่าเก็บมาขึ้นชั้นหนังสืออีกเล่มหนึ่ง

วิ ต ามิ น แห่ ง ความสุ ข ผลงาน ของพิทยากร ลีลาภัทร์ ชายหนุ่มเจ้าของ ส�ำนวนอ่านง่าย ร�่ำรวยด้วยเอกลักษณ์ ทีจ่ บั เอาธรรมะมาปรุงรสใหม่ให้เข้าถึงง่าย ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป หนังสือเล่มนี้ถือเป็น อีกหนึ่งพลัง “ธรรมะภาคปฏิบัติ” สู่สังคม ไทย แนะน�ำการเจริญสติในชีวติ ประจ�ำวัน ให้เรารูท้ นั ความนึกคิด ตามติดทุกอารมณ์ ด้วยหลักสมถะและวิปัสสนากรรมฐาน หลั ก ทางพุ ท ธศาสนาที่ มี คุ ณ ประโยชน์ ต่ อ มนุ ษ ย์ ม าช้ า นาน และยั ง ให้ คุ ณ ค่ า แก่ผู้ศึกษาอยู่เสมอ มาเติมวิตามินบ�ำรุง สติปัญญาด้วยธรรมะ เพื่อความสุขกาย สบายใจในทุกขณะจิตของเรากันดีกว่า

ด้วยสภาพความสับสนวุ่นวาย ตามสไตล์คนเมือ ง ท�ำให้บางครั้ง เราก็ อดเหนื่อยไม่ได้ พานท�ำให้เราเริ่มโหยหา อดี ต คิ ด ถึ ง ชี วิ ต ครั้ ง วั ย เด็ ก คิ ด ถึ ง บ้ า น หลั ง เก่ า อาหารจานอร่ อ ยที่ เ คยนั่ ง กิ น ดินแดนที่เคยไปเที่ยวหาความส�ำราญใจ จนอยากหวนหากลับไปดื่มด�่ำดั่งความ ทรงจ�ำแสนหวานอีกครัง้ เปิดหนังสือเล่มนี้ แล้วคุณจะหายคิดถึง ตระเวนกินเที่ยว เติมเต็มบรรยากาศเก่า ๆ เล่า สลับฉาก กั บ โลกในปั จ จุ บั น ให้ ม โนภาพความ เปลี่ยนแปลงที่เป็นไป เลาะเลียบชมชิม ดืม่ ด�ำ่ บรรยากาศง่ายๆ สบายๆ ตามสไตล์ ชาติ ภิรมย์กุล

รวบรวมร้านอาหารเพื่อสุขภาพ 20 แห่ง พร้อมสูตรและวิธีท�ำ แนบมา กั บ เกร็ ด ความรู ้ เ รื่ อ งการดู แ ลสุ ข ภาพ ผ่านอาหารการกิน ที่เหมาะกับคนยุคใหม่ ท่ามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงไป รวมถึง ข้ อ มู ล จ� ำ เพาะของแต่ ล ะร้ า น ไม่ ว ่ า จะ เป็นสถานที่ตั้ง เบอร์โทรศัพท์ แผนที่ไป ยังร้านนั้นๆ นอกจากนี้ ยังแนะน�ำร้าน จ�ำหน่ายวัตถุดบิ คุณภาพดี เพือ่ จับจ่ายไป ปรุงอาหารสุขภาพทานกินเองที่บ้าน แถม ด้วยรายละเอียดผู้ผลิตเครือข่ายเกษตร อินทรีย์ ก�ำนัลแด่ท่านผู้อ่านที่รักในการ ดู แ ลสุ ข ภาพ เพื่ อ เป็ น ทางเลื อ กที่ ดี ต ่ อ สุขภาพในระยะยาวต่อไป

“นาคิ ม ” ผู ้ น� ำ การกู ้ ช าติ ซึ่ ง มี สมญานามว่า “อภูตแห่งราตรี” ได้ลักพา ตัวลูกสาวท่านทูตไทย “พันไมล์” นิสิต แพทย์ปีสุดท้ายเหยื่อผู้บริสุทธิ์ ที่ลัดฟ้า ข้ามประเทศมาเพือ่ เยีย่ มเยียนบิดามารดา ทีด่ ำ� รงต�ำแหน่งทูตของประเทศไทย นาคิม ลั ก พาตั ว เธอมาเพื่ อ แลกตั ว กั บ นั ก โทษ การเมือง แต่เหมือนโชคชะตาเล่นตลก ความรักทีด่ เู หมือนจะเกิดผิดทีผ่ ดิ ทางของ คนทั้งสอง ถูกฟูมฟักขึ้นอย่างเงียบๆ ทว่า ลึกซึง้ ในจิตใจทัง้ คู่ ความรักของเขาทัง้ สอง จะเป็ น ไปอย่ า งไร ท่ า มกลางสงคราม อันร้อนระอุในครั้งนี้


98

Book Shelf

พอเพียง

ความลับของความสุขและความสำ�เร็จที่ยิ่งใหญ่ โดย ภัทระ ฉลาดแพทย์ ทุกวันนี้ค�ำว่า “พอเพียง” หรือ “เพียงพอ” กลายเป็นค�ำที่ถูกหยิบมาพูดถึงกันมากในสังคมไทย แต่ จ ะมี สั ก กี่ ค นที่ เ ข้ า ใจใน “แก่ น แท้ ” ของมั น จริ ง ๆ และน�ำมาปรั บ ใช้ กั บ ชี วิ ต ปรั บ ใช้ ใ นการแก้ ไ ขวิ ก ฤติ ให้ปัญหาทลายลง และพาชีวิตให้ลุล่วงผ่านไป

มี ห ลายต่ อ หลายคนที่ ผ มเคย ชวนวิพากษ์เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพือ่ แลกเปลีย่ นทัศนะ แต่มไี ม่กคี่ น ที่ รู ้ จั ก น� ำ เอาหลั ก การนี้ไ ปใช้และได้ผ ล จริงกับตัว หนึ่งในนั้นที่ผมอดน�ำมาเล่า เพือ่ เผยแพร่เมล็ดพันธุค์ วามคิดดีๆ แบบนี้ ไม่ได้คือ คุณวัชรมงคล เบญจธนะฉัตร์ ผูบ้ ริหารหนุม่ รุน่ ใหม่ทปี่ ระสบความส�ำเร็จ ตั้งแต่อายุยังน้อย เขาถ่ายทอดเรื่องราว ชีวติ บนเส้นทางธุรกิจ และยืนยันหนักแน่น ว่า “ที่ผมมีทุกวันนี้ได้ก็เพราะผมยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างจริงจัง ผมพิสูจน์ด้วยตัวเองแล้วว่า ปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งนั้ น เป็ น ของวิ เ ศษ ทีท่ กุ ธุรกิจจ�ำเป็นจะต้องมีอย่างยิง่ ” นัน่ จึง เป็นที่มาของการอุทิศวิธีคิดดีๆ เผยแพร่ สู่สังคมของหนังสือเล่มนี้

ด้ ว ยการน� ำ หลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาเป็ น แนวทางใน การด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงน�ำมาปรับใช้ใน การพัฒนาคน พัฒนาสินค้า และไม่ลืม ที่ จ ะพั ฒ นาสั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม ท� ำ ให้ บริ ษั ท บาธรู ม ดี ไ ซน์ ข องเขาผ่ า นวิ ก ฤติ ได้ อ ย่ า งภาคภู มิ หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จึ ง มิ ใ ช่ เพียงหนังสือที่กล่าวถึงพระราชด�ำรัส เพื่อ มุ ่ ง เฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ด่ พ ่ อ ของแผ่ น ดิ น เท่านั้น หากแต่ทุกตัวอักษร ทุกเรื่องเล่า ล้วนถูกถ่ายทอดออกมาอย่างตั้งใจจาก ประสบการณ์ทผี่ า่ นมาจริง อ่านง่าย เข้าใจ ง่ า ย และทรงคุ ณ ค่ า วั น นี้ ไ ม่ ว ่ า คุ ณ จะ เป็นใคร ประกอบอาชีพอะไร หรือยิ่งใหญ่ มาจากไหน ก็ไม่ส�ำคัญมากไปกว่า “การพอใจในความพอดี ยินดีใน สิง่ ทีไ่ ด้ ไม่ตงั้ เป้าหมายจนสูงเกินไป ห่วงใย แบ่ ง ปั น ผู ้ อื่ น ด้ ว ยความรั ก ” สิ่ ง เหล่ า นี้ ต่างหากที่จะช่วยให้คุณเข้าถึงแก่นของ ความพอเพียงได้อย่างแท้จริง


100 Tell Tales

Tell Tales

เรื่อง : ประภาส ชลศรานนท์

ตะวัน 2 - 3 แสง เที่ยง...สิบเอ็ดนาที... สุ ธี เ ดิ น เข้ า ห้ อ งน�้ ำ อี ก อากาศ วันนี้มันอ้าวจนเขาต้องล้างหน้าถึงสี่หน แล้วก็พบเอกก�ำลังหวีผมอยู่หน้ากระจก “หล่อแล้วล่ะ...เอก” สุธีทักทาย เพื่อนร่วมชั้นเรียน “ยัง...ยังไม่หล่อ” เอกตอบไม่ยมิ้ “ไม่ตอ้ งมายกยอปอปัน้ กัน รูค้ วามจริงดีวา่ ยังไม่หล่อหรอก” ว่าแล้วเอกก็หวีผมต่อไป สุ ธี อ อกจากห้ อ งน�้ ำ ทั้ ง ที่ ยั ง ไม่ ล ้ า งหน้ า วันนี้มันเป็นวันอะไรกันนะ ทุกอย่างมัน ดูไม่เข้ารูปเข้ารอยเอาเสียเลย ตอนเช้า ก่อนเข้าห้องเรียนก็ทะเลาะกับอรชา ใน ห้องเรียนก็ถูกอาจารย์ต�ำหนิเรื่องงานที่ส่ง และสดๆ ร้อนๆ เอกเพื่อนรัก มันเป็นอะไร ของมัน เขาเดิ น ตรงไปสระน�้ ำ หน้ า มหาวิทยาลัย เพื่อหาที่นั่งว่างๆ ริมสระ หวังจะถ่ายเทความกลัดกลุม้ ลงน�ำ้ ไปบ้าง

แล้วก็ไม่รู้ท�ำไม คนเรานั้นพอ กลัดกลุม้ ใจก็ตอ้ งนัง่ มองน�ำ้ แล้วก็เอากรวด หรือหินก้อนเล็กๆ ขว้างกระทบผิวน�้ำให้ กระเพื่อมเป็นวงระลอกๆ หรือมันคงเพลิน ดี พอให้ลืมความทุกข์ไปได้บ้าง แต่เผอิญ ตอนนีม้ ีคนกลุม้ ใจรอบสระทัง้ หมด 23 คน ...เสี ย งของหิ น กระทบผิ ว น�้ ำ พร้ อ มกั น 23 ก้อน ก็เลยไม่รู้จะยิ่งเพลินมากขึ้นหรือ เพลินมากไป ตอนทีเ่ ขาเข้ามาทีม่ หาวิทยาลัยนี้ วันแรก เขายังจ�ำได้ว่าเขาเห็นรถขุดดิน มาขุดเอาหินออกจากสระ ด้วยความสงสัย จึงไปถามภารโรงแล้วก็เลยได้รวู้ า่ ทีน่ ตี่ อ้ ง มีการขุดเอาหินก้อนเล็กๆ ออกทุก 4 ปี ...จ๋อม...เสียงหินของสุธขี ว้างลง น�้ำแตกกระจายพร้อมๆ กับอีก 4 คนรอบ สระ สุ ธี ก� ำ ลั ง คิ ด ถึ ง เมื่ อ ตอนเช้ า ที่ เ ขา มีปากมีเสียงกับอรชา ไม่รวู้ า่ เขารูส้ กึ ไปเอง หรือเปล่าว่า หมู่นี้อรชามักมึนตึงกับเขา

สุธีกับอรชารักกันมากว่าสามปี แล้ว ทั้งสองค่อยๆ เติมความรักของคน วัยเรียนทีละนิดทีละน้อย ใครก็ตามที่รู้จัก ทัง้ สองก็มกั พูดชืน่ ชมความรักของหนุม่ สาว คู่นี้ ทุกเช้า กุหลาบแดงที่บ้านสุธีจะต้อง มาอยูใ่ นมืออรชาหนึง่ ดอก สามปีทผี่ า่ นมา มือของอรชาไม่เคยว่างเว้นดอกกุหลาบ และเป็นสามปีที่ผ่านมา กอกุหลาบกว่า ห้าสิบกอที่บ้านสุธีด้วนหมดไม่มีเหลือ แต่วันนี้ เป็นวันแรกที่มือเรียว งามของอรชาไม่ มี กุ ห ลาบ สุ ธี ค� ำ นึ ง ถึ ง ข้อนีด้ .ี ..แต่ไม่วา่ จะเกิดอะไรขึน้ เขาจะต้อง ไม่ให้มือของอรชาต้องว่างในวันนี้ แต่แล้วอรชาก็ไม่เข้าใจ สุธีจ�ำ ค�ำพูดทุกค�ำพูดเมื่อเช้าได้ดี มันยังดังก้อง อยู่ในหัวราวกับว่า เหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้น เมื่อกี้เอง “อรชาเข้าใจดีคะ่ แต่อรชาไม่ชอบ ขนมปังปอนด์” “แต่ผมให้จากหัวใจ” “ค่ ะ ...เข้ า ใจค่ ะ ไม่ มี กุ ห ลาบ ก็ไม่เป็นไร ไม่ต้องเอาอะไรมาให้ก็ได้” “ผมให้อรชาด้วยความรัก ผมให้ อรชาได้ทุกสิ่ง” “ค่ะ...รู้ค่ะรู้” “ผมให้ด้วยความจริงใจ” “ค่ะ...รู้ค่ะว่าจริงใจ แต่ธีลอง นึกถึงผู้หญิงตัวเล็กๆ ที่ต้องอุ้มขนมปัง ปอนด์ ม าปั ก แจกั น ทุ ก วั น สิ ค ะ มั น จะ ประดักประเดิดแค่ไหน”

จ๋อม...เสียงหินกระทบน�ำ้ คราวนี้ พร้อมกับอีก 16 คนรอบสระ วงน�้ำ 16 วง กระเพื่ อ มแตกออกเต็ ม สระ กระทบ ใบบั ว เป็ น คลื่ น กบหลายตั ว บนใบบั ว เสียฟอร์มเซถลาเล็กน้อยแล้วกลับตัวทัน หรืออรชาก�ำลังจะมีคนใหม่ เขาไม่อยากคิด แต่ มั น ก็ เ ป็ น ไปได้ เธออาจแค่ เ อาเรื่ อ ง ขนมปังมาเป็นเหตุให้หมางใจกัน แล้ว จะได้ทะเลาะกัน จริงทีเดียว เมื่อวานนี้ ไอ้ เ บี้ ย วก็ บ อกว่ า เห็ น อรชาเดิ น กั บ เอก เพื่อนรัก สุ ธี เ งื้ อ มื อ จะขว้ า งหิ น ลงสระ แล้วก็ชะงักไว้เพื่อรอให้คนอื่นขว้างก่อน สุธีจะมีความสุขมากกว่า หากเสียงหิน ของเขากระทบผิวน�้ำดังขึ้นโดยไม่มีเสียง ของหินคนอื่นเกี่ยวข้องด้วย มันเป็นความ ภาคภูมิใจของผู้ชายมหาวิทยาลัยนี้ ที่จะ ได้ขว้างหินลงน�้ำแบบเป็นตัวของตัวเอง เพราะมั น เป็ น โอกาสที่ เ กิ ด ขึ้ น ยากมาก ต่อให้นั่งอยู่คนเดียวริมสระน�้ำก็เถอะ ก็ อาจจะมีหินที่ถูกขว้างจากตึกเรียนลงมา พร้อมๆ กันอีกก็ได้ น�้ำในสระใสมาก ใสจนเขามอง เห็ น ภาพนิ สิ ต สาวผู ก หางเปี ย ใบหน้ า และดวงตาแจ่มใส รูปร่างปราดเปรียว คนหนึ่งวิ่งเล่นไปมา สุธีก�ำลังคิดถึงเมื่อ ครั้งที่เขาอยู่ปี 1 ทุกเช้าเขาต้องรีบไปยืน หน้ามหาวิทยาลัยเพื่อแอบมองสาวน้อย ผมเปียคนนั้น ลงจากเบนซ์สีขาวที่มาส่ง ทุ กวั น อรชาเป็ น ผู ้ ห ญิ ง ที่ ส วยสะดุ ด ตา มาก แม้ว่าสุธีจะมาแอบมองซึ่งๆ หน้า สุธีนิ่ง เขาขบกรามเบาๆ และ อยู ่ น าน สุ ธี ก็ ยั ง ตื่ น เต้ น ในความน่ า รั ก รูส้ กึ ผิดหวังในตัวคนรักอย่างมาก เมือ่ อรชา มีเสน่ห์ เหมือนกับว่าเพิ่งเจอเธอครั้งแรก ยื่นถุงขนมปังปอนด์คืน ทุ ก วั น จนเมื่ อ วั น หนึ่ ง สุ ธี ก็ ตั ด สิ น ใจ รวบรวมความกล้าทั้งหมด “บ่ายนี้ค่อยพูดกัน อรชาจะเข้า เรียน”

101


102 Tell Tales

Tell Tales และวันนั้นก็เป็นวันแรก ที่ดอก กุหลาบที่บ้านเริ่มด้วน จ๋อม...จ๋อม...เสียงน�้ำในสระยัง ไม่หยุด สุธียังเงื้อมือค้างอยู่เพราะยังหา โอกาสขว้างหินลงน�้ำไม่ได้ เขาเริ่มรู้สึก เมื่อยมือบ้างเล็กน้อย แต่เขาจะไม่ยอม ลดมือลงเป็นอันขาด ศักดิ์ศรีอีกอันหนึ่งที่ ลูกผู้ชายมหาวิทยาลัยนี้ถือก็คือ ถ้าลอง เงื้อมือจะขว้างหินลงสระน�้ำละก็ ไม่มีวัน หรอกที่จะถอยมือกลับ สุธีก้มลงดูนาฬิกาข้อมือ บ่าย ครึง่ แล้ว แดดเริม่ จัดขึน้ เหงือ่ สีห่ า้ เม็ดเกาะ อยูท่ ปี่ ลายจมูกของสุธี อรชาก�ำลังท�ำอะไร อยู่นะ หรือว่าคงจะนั่งใต้ต้นไม้เหมือน ทุกวัน แต่วันนี้อรชาคงจะนั่งอยู่กับเอก สุธีเริ่มคิดเอาเอง มิน่าเล่า เจ้าเอกมันถึงหวีผมไม่ หยุด มันมีนัดกับอรชานั่นเอง ความคิด ค�ำนึงเพียงล�ำพังเริ่มท�ำงาน จะว่าไปแล้ว สุธกี ไ็ ม่อยากคิด เพราะเขาจะรูส้ กึ ปวดร้าว ขึ้นมาทุกทีที่คิด คิดทีก็ปวดร้าวที หยุดคิด ก็หายปวดร้าว พอคิดอีกก็ปวดร้าวอีก แล้ว ไอ้การทีค่ นเราปวดร้าวสลับกับไม่ปวดร้าว นี่มันจะเป็นอาการที่ล�ำบากมาก เพราะมี หลายคนพยายามลองท�ำดูแล้ว ทุกคนลง ความเห็นว่าไม่น่าจะดีกับสุขภาพทั้งนั้น แต่ ใ ครละจะห้ า มความคิ ด ค� ำ นึ ง เพี ย ง ล� ำ พั ง ได้ ยิ่ ง กั บ สุ ธี ที่ ศั ก ดิ์ ศ รี เ ยอะออก อย่างนั้น “เพื่อนรักอย่างเอก คือคนที่มา แย่งความรักของเราไปหรือ เป็นไปไม่ได้ เรื่ อ งราวของเรากั บ อรชาก็ จ ะผ่ า นไป เหมือนปฏิทินฉีกอย่างงั้นหรือ” แม้จะเป็น ความคิดค�ำนึงเพียงล�ำพัง สุธกี ย็ งั มีสำ� นวน

เพราะเขาจะรู้สึกปวดร้าวขึ้นมา ทุกทีที่คิด คิดทีก็ปวดร้าวที หยุดคิดก็หายปวดร้าว พอคิดอีกก็ปวดร้าวอีก แล้วไอ้การที่คนเราปวดร้าว สลับกับไม่ปวดร้าวนี่มัน จะเป็นอาการที่ล�ำบากมาก

สุ ธี รู ้ สึ ก อยากจะเอามื อ มาปิ ด หน้าตัวเอง เพื่อระบายความระทมทุกข์ แต่เขาท�ำไม่ได้ เขาไม่มีวันจะเสียศักดิ์ศรี ลดมือทีเ่ งือ้ จะขว้างหินอยูไ่ ด้ แล้วการทีจ่ ะ เอามือเดียวมาปิดหน้านี่ก็ไม่น่าดูชมนัก มีผู้ชายในมหาวิทยาลัยนี้คนไหนท�ำบ้าง เสียงหินกระทบผิวน�้ำยังไม่หยุด หลังพักเทีย่ งมีคนมานัง่ รอบสระ มากขึน้ ดวงตะวันเริม่ คล้อยมาอยูต่ รงหน้า พอดี แสงแดดบ่ายยิ่งท�ำให้เหงื่อของสุธี ออกมากขึ้น ถ้าอยู่ในยามปกติ สุธีจะต้อง รู้สึกชื้นที่หลังและคอเสื้อบ้าง แต่ยามนี้ มี แ ต่ เ สี ย งของเขากั บ อรชาที่ พู ด คุ ย กั น เมือ่ เช้าเท่านัน้ ทีด่ งั อยูใ่ นโสตประสาท และ ที่เหนืออื่นใด ตอนนี้เขาเมื่อยมือมาก “ธี...” เสียงดังมาจากข้างหลัง สุธีจ�ำเสียงเพื่อนรักเขาได้ดี เขา ลุกขึ้นยืน และก็หันช้าๆ ไปยังเสียงนั้น มือยังคงค้างอยู่ในท่าเดิม “ธี . ..ฉั น ...จะมาขอโทษแก... คือ...” “แกไม่ ต ้ อ งพู ด อะไรทั้ ง นั้ น ...” คนเป็นแมวขโมยแล้วจะมาขอโทษท�ำไม

“ฉันจะมาบอกแกว่า...” หน้าของ เอกตอนนี้เหมือนนักโทษที่ถูกศาลตัดสิน จ�ำคุกสัก 7 ปี “แกจะมาขอโทษท�ำไม แกไม่ได้ ท�ำอะไรผิด” สุธีเก๊กเสียงเป็นพระเอก “ฉันจะมาขอโทษจริงๆ” น�ำ้ เสียง ของเอกส�ำนึกผิดจริงๆ

“แงบชวน...เฮิบ้ ...จะกึย๋ จะกึย๋ ... ฟูนซิครีย...ปะ แกแฮ้บ...อ่า”

ฝูงชนคนกลุ้มใจรอบสระหันมา มองสุ ธี เ ป็ น ตาเดี ย ว เขาถื อ โอกาสนั้ น ขว้างหินลงน�้ำทันที มันเป็นหินกระทบน�้ำเพียงเสียง เดียวทีไ่ พเราะทีส่ ดุ ทีเ่ ขาเคยได้ยนิ มา และ สุธีไม่รู้จะพูดอะไรต่อ ทันทีที่วงกระเพื่อมของหินของเขาเริ่มจาง เอกขยับเข้ามาหา แล้วเอามือ ลง เขาก็หยิบถุงขนมปังปอนด์ที่วางอยู่ จับบ่าเหมือนที่เคยท�ำกันบ่อยๆ ข้างๆ ออกวิ่งสุดก�ำลัง “ฉันต้องขอโทษด้วย เรื่องเมื่อ แดดบ่า ยนี้ ไ ม่ ร ้ อ นเลย ตอนเที่ยง” “ตอนเทีย่ ง มีอะไรหรือ” สุธกี ำ� ลัง ส� ำ หรั บ สุ ธี เขาวิ่ ง อย่ า งร่ า เริ ง ราวกับว่าโลกทั้งโลกเป็นของเขา ล�ำดับเหตุการณ์ “จริงของแกทีเดียวธี ที่บอกว่า เสี ย งถุ ง ขนมปั ง ปอนด์ ก ระทบ หล่อแล้ว พอแกออกมาจากห้องน�้ำ ฉันยัง น่ อ งด้ ว ยแรงแกว่ ง ของมื อ เขา อยูใ่ นห้องน�ำ้ ต่ออีกชัว่ โมงครึง่ หวีผมเท่าไร ได้ยินไกลไปถึงเสียงนกร้อง เสียง ก็ไม่เห็นมันหล่อขึ้นเลย แกพูดถูก ฉันหล่อ ลมพัด เสียงของอรชา และก็มอง เห็นภาพขนมปังปอนด์ปักอยู่ใน แล้ว” “แล้วเรื่องอรชาละ” ประกายตา แจกันอย่างสวยงาม ของสุธีนิ่ง “ฉันก�ำลังจะมาบอกแกด้วยว่า” เอกกลืนน�ำ้ ลาย ไม่รจู้ ะมากลืนตอนนีท้ ำ� ไม “...อะไร” สุธใี ช้มอื อีกข้างทีไ่ ม่ได้ เงื้อเขย่าตัวเอก “เธอบอกว่า...เธอเข้าใจแกแล้ว เธอก�ำลังจะออกไปซือ้ แจกันขนาดใหญ่มา ให้รบี เอาขนมปังปอนด์ไปให้เธอ เธอจะได้ เอาไปปักแจกัน” สุธียิ้มกว้างเกือบถึงหู “ขอบใจมาก...เอก” สุธีหันกลับไปยังสระน�้ำอีกครั้ง เสียงหินกระทบน�้ำยังคงดังระงมอยู่ น�้ำ เป็นวงกระเพือ่ มเกลือ่ นสระไป กบบนใบบัว ตกน�้ำหมดแล้ว สุธีหันมายิ้มกับเอก แล้ว ตะโกนสุดเสียง

103


104

Think White

Think White

เรื่อง : คุณหญิงจำ�นงศรี หาญเจนลักษณ์ ภาพประกอบ : taeeeee

105

ว่าด้วยเรื่องกลัวตาย ติช นัท ฮันห์ สงฆ์นกั ปราชญ์ชาวเวียดนาม ผู้ก่อตั้งหมู่บ้านพลัมอันลือชื่อในประเทศฝรั่งเศส ได้เคยมาพักแรมที่บ้านน�้ำสาน

เช้าวันหนึ่งท่านสั่งยิ้มๆ ว่า “I want you to write about fear of death.” “ฉันอยากให้เธอเขียนเรือ่ ง ความกลัวตาย” เมื่ อ ถามว่ า จะเขี ย นอย่ า งไร ท่านก็ตอบว่า “Just begin, and it will grow.” “เริ่มเขียน แล้วมันก็จะงอกต่อเอง” จะเริ่มตรงไหนดี…เห็นจะต้อง เป็นตรงความนึกคิดนั่นแหละ น้อยคนทีไ่ ม่เคยนึกถึงความตาย คนที่คิดว่าตัวเองไม่กลัวตาย อาจจะพบ ความกลัวนั้นซ่อนเร้นอยู่ซอกใจที่ไม่เคย เข้าไปค้นหา ข้ า พเจ้ า เองเคยฝั น ซ�้ ำ ๆ อยู ่ ช่วงหนึ่งว่า หลงอยู่กลางถนน ไม่รู้ว่าเป็น บ้านไหนเมืองไหน สามีและลูกที่มาด้วย เดินหายไปโดยไม่บอกกล่าว ในฝันนั้น ไม่มเี งินสักบาท ไม่มโี ทรศัพท์มอื ถือ ไม่รจู้ กั ใคร และไม่มีใครรู้จัก ผู้คนที่ผ่านไปมา ดูจะไม่สนใจ หรืออาจมองไม่เห็นข้าพเจ้า เลยด้วยซ�้ำ เคว้งคว้างในความไม่รู้ทั้งหลาย ทัง้ ปวง โหวงเหวงในความช่วยตัวเองไม่ได้ เดียวดายเพราะไร้คนใกล้ชิด มิตร ญาติ หวาดหวั่นเพราะคาดการณ์ไม่ได้ จัดการ ไม่ได้ และปราศจากความสัมพันธ์กับคน สถานที่ และบทบาทหน้าที่ใดๆ

เพือ่ นคนหนึง่ ก็ฟนั ธงฉับว่า “กลัว สามีหรือลูกทิ้ง” อีกคนว่า “กลัวตายน่ะสิ” คนฝันมองลึกเข้าไปในใจตัวเองก็รู้เลยว่า ข้อหลังนั้นแหละ ใช่แล้ว…โธ่เอ๊ย เคยนึก อย่างเก๋ท�ำนอง “ไม่กลัวตาย เพราะมันเป็น ธรรมชาติ คนสัตว์ตายกันมาเกินคณานับ” แต่ … ความฝั น ที่ ว ่ า นี้ ม าแตะ เตือนให้ยอมรับว่า ไอ้ที่ว่าไม่กลัวนั้นน่ะ มันอยู่ตื้นแค่สมองคิด ทว่าลึกลงเกินกว่า ความมีเหตุผลจะเข้าถึงนั้น…กลัว… เป็ น ความกลั ว ตายที่ ผุ ด ผงาด ในรูปความฝัน ให้เผชิญหน้าภาวะที่ไม่มี “ของฉัน” สักอย่างมาค�้ำยัน “ตัวฉัน” ไว้ให้ เต็มและมั่นคง ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ ความรัก ความรู้ บทบาท สถานภาพ และ ความสามารถควบคุมจัดการสถานการณ์ ต่างๆ ความรู้ เงิน และเครือ่ งมือสือ่ สาร ได้กลายเป็นส่วนส�ำคัญของเครื่องค�้ำยัน เหล่านี้ เมือ่ เครือ่ งคำ�้ ยันหายวับไปอย่าง ในฝัน แล้ว “ตัวฉัน” ล่ะคืออะไร จะยังอยู่ ไหม หรือเรากลัวตายในส่วนลึก เพราะกลัว สูญตัวตนที่ตั้งไว้บนเครื่องค�้ำยันทั้งหลาย ผู ้ อ�ำนวยการแหล่ ง ทุ น การวิ จั ย คนหนึ่ ง เล่าว่า เขาเคยทดลองให้คนตอบว่า “ฉันเป็น ใคร” ด้วยค�ำค�ำเดียว ค�ำตอบส่วนใหญ่ จะเป็น “ภรรยา” “สามี” “แม่” “นักบริหาร”

“แพทย์” และอื่นๆ ในท�ำนองเดียวกัน จะเห็ น ว่ า ผู ้ ต อบเอาบทบาท ความสัมพันธ์กับสังคมและครอบครัว ซึ่ง อยูน่ อกตัวของตัวมาเป็นค�ำตอบว่าตนเอง เป็นใคร ฝันร้ายนัน้ ไม่กลับมาเยีย่ มเยือน อีกแล้ว ไม่ใช่เพราะข้าพเจ้าเลิกกลัวหรือ เก่ ง กล้ า สามารถอะไรหรอก แต่ เ พราะ ฝันนั้นได้ท�ำหน้าที่ของมันแล้ว คือท�ำให้ ข้าพเจ้าได้สัมผัสธรรมชาติความกลัวตาย อย่างค่อยๆ รับ ค่อยๆ รู้ ค่อยๆ เข้าใจ ด้วยใจ เป็ น การเตื อ นที่ ส วนทางกั บ “ความเป็นผู้น�ำ” ที่ใครมิใครฝึกเน้นกัน นักหนา อดคิดเล่นๆ ไม่ได้วา่ พระพุทธองค์ ทรงเป็น “ผูน้ �ำ” ทีย่ นื ยงนับพันๆ ปี จากการ สละความเป็นผูน้ �ำและนานาเครือ่ งค�ำ้ ยัน อัตตา เพือ่ แสวงหาสัจธรรมทีอ่ ยูน่ อกเหนือ การควบคุมทั้งปวง ทุ ก วั น นี้ ข ้ า พเจ้ า ยั ง นึ ก ขอบใจ เจ้าความฝันอยูเ่ สมอ ทีเ่ ผยหน้าความกลัว ตายให้ได้เห็น เป็นการปูทางให้คอ่ ยๆ รูจ้ กั ที่จะอยู่กับความไม่รู้ ความควบคุมไม่ได้ อย่างยอมรับและอ่อนโยน

เมื่อเวลานั้นมาถึง


106 Mind & Spirit

Mind & Spirit

เรื่อง : ว.วชิรเมธี

อย่ายอมจำ�นนกับ “กรรมเก่า” ปัจจุบันนี้ คำ�ว่า “เจ้ากรรมนายเวร” เป็นสิ่งที่คนมักจะพูดถึงเมื่อต้อง ประสบเคราะห์กรรม ว่ากันว่าการที่เราต้องพบกับความทุกข์ล้วนเป็นผลจาก อดีตที่เราทำ�ผิดพลาดไว้กับผู้อื่น และผู้นั้นก็จะเป็นเจ้ากรรมนายเวรของเราใน ชาติปัจจุบัน เพื่อที่เราจะได้ชดใช้กรรมที่ได้กระทำ�ไว้ อยากกราบเรียนถามว่า ความคิดดังกล่าวนี้ถูกต้องหรือไม่ และทุกคนต้องมีเจ้ากรรมนายเวรหรือเปล่า

เจ้ากรรมนายเวรที่ตามเอาคืน ในสิง่ ทีโ่ ดนกระท�ำกับบุคคลหนึง่ เจ้ากรรม นายเวรนั้นไม่มีเจ้ากรรมนายเวรของเขา บ้างหรือ และถ้าเช่นนัน้ เขาไม่ตอ้ งไปชดใช้ กรรมในสิ่งที่เขากระท�ำกับผู้อื่นบ้างหรือ อย่างไร การชดใช้ ก รรมจะมี วั น จบสิ้ น หรือไม่ เช่น ชาติก่อนเกิดเป็นชายเจ้าชู้ ได้ผู้หญิงท้องแล้วทิ้ง ชาติปัจจุบันจึงต้อง เกิดเป็นหญิงที่โดนผู้ชายท�ำให้ท้องแล้ว ทิ้งบ้าง ถามว่าผู้ชายในชาติปัจจุบันก็ต้อง ไปชดใช้กรรมนี้ในชาติต่อไปอีก วนเวียน อยู่เช่นนี้ไม่มีวันจบสิ้นใช่หรือไม่

1

ความคิดที่ว่าชีวิตของเราในปัจจุบันนี้ เป็ น ผลมาจาก “กรรมเก่ า ” ในอดี ต ทั้งหมดนั้นนับเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้อง และไม่ใช่หลักค�ำสอนของพระพุทธศาสนา ด้วย แต่เป็นลัทธิค�ำสอนนอกพระพุทธศาสนาที่มีมาก่อนแล้ว ซึ่งเราจะต้องแยก ออกจากพุ ท ธศาสนา ไม่ เ อามาปนกั น มี 3 ลัทธิคือ

ลัทธิแล้วแต่กรรมเก่า ลัทธินมี้ คี วามเชือ่ ว่า ชีวติ ปัจจุบนั ล้วนเป็นผลมาจากกรรมทีท่ ำ� ไว้แต่ปางก่อน ทั้งสิ้น ผลเสียก็คือ ท�ำให้เราต้อง “ก้มหน้า รับกรรม” เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถ บริหารจัดการอะไรในชีวิตนี้ได้เลย เพราะ เหตุ อ ยู ่ ใ นชาติ ที่ แ ล้ ว ชาติ นี้ ต ้ อ งรั บ ผล อย่างเดียว จะแก้ไขเหตุกไ็ ม่ได้ เพราะเป็น คนละภพคนละชาติ ลัทธินี้คือที่มาของ ค�ำกล่าวที่ว่า “เกิดมาใช้กรรม” ลัทธิเทพเจ้าบันดาล ลัทธินี้มีความเชื่อว่า ชีวิตของ มนุษย์ล้วนถูก “ลิขิต” มาแล้วจากเทพเจ้า เบื้องบน ในความเชื่อแบบอินเดียโบราณ เราเรียกชือ่ ลัทธินวี้ า่ “พรหมลิขติ ” กล่าวคือ ชีวิตมนุษย์นั้นถูก “เขียนบท” มาเรียบร้อย แล้วตั้งแต่ต้นจนจบ มนุษย์คือของเล่นใน หัตถ์แห่งเทพเจ้า เมือ่ เชือ่ เช่นนีผ้ ลเสียก็คอื มนุษย์หมดอิสรภาพในการบริหารจัดการ ชีวติ ของตนเอง จะท�ำอะไรต้องเงยหน้าหา เทพเจ้า นี่คือที่มาของการท�ำพิธีบวงสรวง

บู ช าเซ่ น ไหว้ เ ทพเจ้ า กั น เป็ น การใหญ่ แต่ ก็ แ ทบไม่ ช ่ ว ยให้ อ ะไรในชี วิ ต ดี ขึ้ น เพราะแท้ที่จริงเทพเจ้านั้นเกิดขึ้นมาจาก จินตนาการของมนุษย์เองทั้งสิ้น กล่าว ให้ถูกก็ต้องบอกว่า มนุษย์สร้างเทพ ไม่ใช่ เทพสร้างมนุษย์ แต่คนส่วนใหญ่ไม่เชื่อ เช่ น นี้ ในเมื อ งไทยของเรามี แ นวโน้ ม ที่จะเป็นสังคม “เทวนิยม” เต็มรูปแบบ มากขึ้นทุกที มองไปทางไหนก็มีแต่เทพ สารพั ด เทพ แต่ ไ ม่ เ คยสั ง เกตกั น บ้ า ง หรือว่า เทพเต็มบ้านเต็มเมือง แต่บา้ นเมือง กลับเต็มไปด้วยวิกฤติไม่จบไม่สิ้น ลัทธิบังเอิญ ลัทธินมี้ คี วามเชือ่ ว่า ความเป็นไป ในชีวิตของมนุษย์นั้นไม่มีแบบแผนอะไร เลย (ตรงกันข้ามกับสองลัทธิแรก) อะไร จะเกิดก็ต้องเกิด อะไรจะเป็นก็ต้องเป็น (whatever will be, will be) ไม่ตอ้ งไปสืบหา ต้ น สายปลายเหตุ ใ ห้ ยุ ่ ง ยาก เราเรี ย ก อีกอย่างว่าลัทธิแล้วแต่โชคชะตา วันไหน จะซวยวันไหนจะเฮงก็ไม่รู้ สิ่งต่างๆ ไม่มี เหตุไม่มีปัจจัย เมื่อเชื่อเช่นนี้ก็ท�ำให้คน ส่วนใหญ่ปล่อยชีวิตเป็นไปตามยถากรรม หรือตามเวรตามกรรม อย่างที่เราคนไทย ใช้ค�ำว่า “แล้วแต่ดวง” สามลั ท ธิ นี้ เ ป็ น ลั ท ธิ ค วามเชื่ อ นอกพระพุทธศาสนา เมือ่ เราเชือ่ มัน่ ศรัทธา แล้วท�ำให้เราหมดสิทธิ์ที่จะบริหารจัดการ ชีวิตของตัวเอง ท�ำได้อย่างดีก็เพียง “ยอม จ�ำนน” ต่อปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาในชีวติ ไม่ยอมแก้ไข กลายเป็นคนที่ไม่ลุกขึ้นสู้ และปล่ อ ยให้ ค นอื่ น เอาเปรี ย บตั ว เอง แล้วก็ไปยกให้ว่าเป็นเพราะกรรมเก่า หรือ เจ้ากรรมนายเวร หรือเทพเจ้าบัญชาไว้แล้ว นี่นับเป็นวิธีคิดอันตรายที่ท�ำให้คนเอาแต่ งอมืองอเท้า

ส่วนพุทธศาสนาของเรานัน้ ท่าน สอนว่า เราสามารถบริหารจัดการชีวิตได้ เพราะชีวติ เป็นอนิจจัง คือ เปลีย่ นแปลงได้ เมื่อเราสร้างเหตุดี ชีวิตก็ดี สร้างเหตุไม่ดี ชีวิตก็แย่ ชีวิตไม่ใช่อะไรสักอย่างหนึ่งซึ่ง “ติดแหง็ก” อยู่อย่างเดิมตลอดกาล และ เทพเจ้าก็ไม่มอี ยูจ่ ริง ดังนัน้ เราต้อง “อัตตา หิ อัตตโน นาโถ” (ตนเป็นที่พึ่งของตน) ลัทธิสดุ ท้ายนัน้ ท่านให้แก้ดว้ ยการอธิบาย ว่า ไม่มีสิ่งใดๆ ในโลกนี้ที่เกิดขึ้นมาอย่าง บังเอิญ ไอน์สไตน์เองก็เคยกล่าวว่า “พระเจ้า ไม่เคยทอดลูกเต๋ามั่วๆ” นี่นับเป็นทัศนะ ที่ถูกต้อง เมื่อโลกและปรากฏการณ์ต่างๆ ล้วนมี “เหตุปจั จัย” หรือ “ระเบียบในตัวเอง” ถ้าเราล่วงรู้และสามารถจัดสรรเหตุปัจจัย (เงื่อนไข) ต่างๆ ได้ เราก็สามารถวางแผน ที่ จ ะบริ ห ารจั ด การชี วิ ต ของตั ว เองได้ เป็นอย่างดี นี่ คื อ สั ม มาทั ศ นะที่ เ ราจะต้ อ ง ท�ำความเข้าใจและช่วยกันเผยแพร่ออกไป เพื่อลดมิจฉาทัศนะออกไปจากสังคมไทย ของเรา

107

และ “ชีวติ นี”้ ของเราด้วย ดังนัน้ จึงไม่ตอ้ ง ไปเสียเวลาห่วงเรือ่ งเจ้ากรรมนายเวร หรือ ไม่ตอ้ งพยายามอธิบายปัญหาของชีวติ ว่า เป็นเพราะเจ้ากรรมนายเวร เพราะจะท�ำให้ เราหมดสิ ท ธิ์ บ ริ ห ารจั ด การชี วิ ต ในวั น นี้ ไปโดยปริยาย

3

การใช้กรรมเป็นสิ่งที่สามารถท�ำให้ หมดสิน้ ได้ถา้ เราสร้างความดีเพิม่ ขึน้ เรื่ อ ยๆ จงดู อ ย่ า งองคุ ลิ ม าลที่ ฆ ่ า คน มากมาย แต่สุดท้ายท่านก็ไม่ได้ถูกฆ่า แถมท่านยังลอยพ้นกรรมขึ้นไปกลายเป็น พระอริ ย บุ ค คลอี ก ต่ า งหาก ดั ง นั้ น ควร เชื่อใหม่และพูดใหม่ว่า เราไม่ได้เกิดมา ใช้กรรม (เท่านัน้ ) แต่เราเกิดมาเพือ่ เปลีย่ น กรรม พัฒนากรรม และอยู่เหนือกรรม ก็ได้ด้วย หวังว่าที่กล่าวมาจะท�ำให้คุณ สามารถแยกว่าอะไรเป็นพุทธ อะไรเป็น ความงมงายได้ บ ้ า งตามสมควร และ จากนั้นก็ขอให้มีก�ำลังใจในการ “พัฒนา ชีวติ ” ให้หลุดพ้นจากความเชือ่ แบบไร้สาระ ทั้ ง หลาย หั น มาสร้ า งสรรค์ พั ฒ นาชี วิ ต เจ้ากรรมนายเวรก็คอื คนทีเ่ คยอาฆาต ด้ ว ยปั ญ ญาของมนุ ษ ย์ อ ย่ า งเสรี ด ้ ว ย พยาบาทกันมา หรือคนที่ผูกใจเจ็บ ตัวเองจริงๆ อย่าลืมว่า เราไม่ได้เกิด กันไว้ไม่ยอมปล่อยวาง เจ้ากรรมนายเวร จึงมีอยู่ทั้งชาติที่แล้วและในชาตินี้ (คนที่ มาเป็นมนุษย์กันง่ายนัก ดังนั้น เป็นศัตรูกัน) เราไม่จ�ำเป็นต้องมีเจ้ากรรม จึงไม่ควรเอาเวลาไปเสียกับเรื่อง นายเวรกันทุกคน มีบางคนเท่านั้นที่เคย ไร้ ส าระทั้ ง หลาย สงสั ย อะไร ก่อกรรมท�ำชั่วห�้ำหั่นกันมาแล้วต่างฝ่าย ขอให้ ลุ ก ขึ้ น มาสื บ ค้ น ให้ รู ้ จ ริ ง ิ จะได้ ต่างก็ไม่ยอมให้อภัยซึ่งกันและกัน จึงมี ทิง้ เปลือกแล้วเลือกแก่น ชวี ต เจ้ากรรมนายเวร ส่วนคนดีๆ นั้นท่านไม่มี มีพัฒนาการอย่างที่ควรจะเป็น เจ้ากรรมนายเวรหรอก และก็ไม่ต้องวิตก จริงๆ ไม่ใช่อยู่กับสิ่งจอมปลอม ่ คือ อกไหม้กบั เจ้ากรรมนายเวรด้วย ชีวติ ไม่ได้ ไปวันๆ แล้วก็พานคิดไปว่านัน ขึน้ อยูก่ บั เจ้ากรรมนายเวรเพียงอย่างเดียว พุทธศาสนา (อนุโลมแนวคิดนี้เข้ากับแนวคิดเทพเจ้า บันดาลและกรรมเก่า) ยังขึน้ อยูก่ บั “วันนี”้

2


108 Horoscope

Horoscope

ดวงแต่ละราศีประจำ�เดือน พฤศจิกายนถึงธันวาคม 2555

ราศีมังกร 15 มกราคม ถึง 12 กุมภาพันธ์ การงาน คงต้ อ งรี บ สะสางกั น ยกใหญ่ เพราะงานใหม่ก็ก�ำลังจะประดังกันเข้ามา รวมถึ ง การเตรี ย มความพร้ อ มส� ำ หรั บ โครงการใหม่คงต้องรีบให้มากขึ้น ดวงดี ส�ำหรับชาวราศีมังกรในเรื่องงาน เพราะ งานมากมายนับไม่ถ้วนจริงๆ การเงิน รายรับดี รายได้เยอะ รวมถึงรายได้ พิเศษจากลาภลอย หรือจากการเก็งก�ำไร สุขภาพ มีอาการปวดหัวตัวร้อน เป็นไข้ ไม่สบายเล็กน้อย เกิดจากการพักผ่อน ไม่เพียงพอ

ราศีกุมภ์ 13 กุมภาพันธ์ ถึง 14 มีนาคม การงาน บานปลาย ท�ำไปไม่รู้จักเสร็จ ไม่รจู้ กั จบ ตัวท่านเองใส่ใจกับรายละเอียด เล็ ก ๆ น้ อ ยๆ จนเกิ น ไป ลองคิ ด ใหม่ ท� ำ ใหม่ ตั ด บางสิ่ ง ทิ้ ง ไป ทุ ก อย่ า งก็ จ ะ ง่ายขึ้นอย่างไม่น่าเชื่อ การเงิน มีรายจ่ายเล็กๆ น้อยๆ หยุมหยิม มากมาย ดูเหมือนไม่เยอะ แต่ถ้าเอามา รวมๆ กัน ก็อาจตกใจ และไม่ควรรับปาก ให้ ยื ม เงิ น แก่ ใ คร เพราะท่ า นมี ด วงสู ญ เงินฟรี สุ ข ภาพ ระวั ง อาหารเป็ น พิ ษ ในช่ ว ง วันหยุด ควรระมัดระวังเป็นพิเศษ

ราศีมีน 15 มีนาคม ถึง 12 เมษายน การงาน อาจจะต้องเจ็บใจกับคูแ่ ข่ง เพราะ ท่านก�ำลังจะโดนแทงลับหลัง ในเมื่อรู้กัน ล่วงหน้าแล้ว ควรเตรียมรับมือให้ดี แนะน�ำ ให้ ใ ช้ ค วามใกล้ ชิ ด ส่ ว นตั ว เพื่ อ ป้ อ งกั น ช่องว่าง ส่วนท่านทีร่ อค�ำตอบในทุกๆ เรือ่ ง แนะน� ำ ให้ ติ ด ต่ อ สอบถามในวั น จั น ทร์ หรือพุธ จะเป็นโอกาสดีของท่าน การเงิน ดูเหมือนจะลุ่มๆ ดอนๆ แต่ที่แน่ๆ ตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคมเป็นต้นไป จะเริ่ม อยู่ตัวดีขึ้น สุขภาพ แข็งแรงดี มีเพียงความรู้สึก เครียดเล็กน้อย ก่อนนอนให้ดื่มนมอุ่นๆ สักแก้ว จะช่วยให้ดีขึ้น

ราศีเมษ 13 เมษายน ถึง 14 พฤษภาคม การงาน หั น ซ้ า ยแลขวาก็ ไ ม่ มี ใ ครว่ า ง เหมือนท่าน อย่าคิดจะพึ่งพิงใคร ส่วน เจ้าของกิจการอาจจะมีปญ ั หาเรือ่ งแรงงาน คงต้องหาวิธีในการเพิ่มประสิทธิภาพคน ที่มีอยู่อย่างแนบเนียน การเงิน ไหลลื่น แต่อาจจะสะดุดเล็กน้อย ในช่วงกลางเดือน ส่วนท่านที่ชอบเสี่ยง ชอบเก็งก�ำไร ให้ระมัดระวังในช่วงกลาง เดือน สุขภาพ ระมัดระวังเรื่องระบบการหายใจ อาจจะแน่นหน้าอก หายใจติดขัด รวมถึง ท่านที่เป็นโรคภูมิแพ้ ช่วงนี้อาการอาจจะ ก�ำเริบหนัก

ราศีพฤษภ 15 พฤษภาคม ถึง 15 มิถุนายน การงาน ส�ำหรับเจ้าของกิจการ ช่วงนี้ต้อง รี บ กอบโกยกั น ยกใหญ่ เป็ น ช่ ว งขาขึ้ น ส่ ว นท่ า นที่ ช อบเสี่ ย ง ชอบเก็ ง ก� ำ ไร ก็สามารถกอบโกยได้อย่างเป็นกอบเป็นก�ำ การเงิน มีเงินเข้ามามาก จนท่านเองอาจ จะพลาดได้หากไม่คิดให้รอบคอบ ถึงแม้ ดวงการงานจะดี ดวงการเงินดี แต่พงึ ระวัง การถูกหลอกไว้สักนิดก็จะไม่พลาด สุขภาพ แข็งแรง มีเพียงอาการคอแห้ง กระหายน�้ ำ ในช่ ว งเช้ า จิ บ น�้ ำ ไปเรื่ อ ยๆ ก็จะหายไปเอง

ราศีเมถุน 16 มิถุนายน ถึง 16 กรกฎาคม การงาน ยังเหมือนพวกอกหักรักคุด คือ มุ ่ ง หวั ง สิ่ ง ใดยั ง พลาดเป้ า อยู ่ มี วิ ธี ก าร ง่ายๆ ในการกระตุน้ ดวงการงาน เพียงท่าน น�ำดอกไม้ธูปเทียนไปกราบสักการบูชา ศาลหลั ก เมื อ งประจ� ำ จั ง หวั ด ของท่ า น ขอพรเรื่องการงาน ก็จะมีโอกาสสมหวัง มากยิ่งขึ้น การเงิน ช่วงนีอ้ าจจะต้องงดลงทุนชัว่ คราว รวมถึ ง การเก็ ง ก� ำ ไรและการเสี่ ย งใดๆ ขอให้ระมัดระวัง สุขภาพ เกิดจากความเครียด ท�ำให้ปวด ศี ร ษะ บ่ า ไหล่ แนะน� ำ ให้ เ ลิ ก เครี ย ด คงยาก แต่อยากให้ลองหาวิธีผ่อนคลาย เช่น ดูหนัง ฟังเพลง ก็น่าจะพอช่วยได้

เรื่อง : อาจารย์บอย ไพ่ผ่องมองชีวิต

ราศีกรกฎ 17 กรกฎาคม ถึง 16 สิงหาคม การงาน การติ ด ต่ อ ได้ รั บ ค� ำ ตอบที่ น ่ า พอใจ ท่านที่คิดวางแผนโปรเจ็คท์ใหม่ๆ น� ำ เสนอไปได้ รั บ ความสนใจ มี ด วง เดิ น ทางไกล ไม่ ไ ปไม่ ไ ด้ เพราะมั น คื อ ความสุขและความก้าวหน้า การเงิน รายรับดี แต่มรี ายจ่ายนอก รายจ่าย พิเศษเยอะ แต่ถึงจะจ่ายเยอะ ทุกอย่าง เปรียบเสมือนการลงทุนเพือ่ อนาคต มีโชค มีลาภตลอดถึงปลายปี สุขภาพ แข็งแรง ปวดเมื่อยธรรมดา

ราศีกันย์ 17 กันยายน ถึง 17 ตุลาคม การงาน เริ่มมีลู่ท างที่แ จ่มชัด ขึ้น ท่าน ที่ ว างแผนอะไรไว้ ช่ ว งนี้ จ ะเป็ น ช่ ว งที่ เข้ า เป้ า เข้ า แผน ท่ า นที่ ช อบเก็ ง ก� ำ ไร ชอบเสี่ ย ง มี โ ชค มี ล าภ มี โ อกาสได้ เงินพิเศษ รวมถึงท่านที่ประกอบอาชีพ นายหน้า ดวงดีมีโอกาสฟันก�ำไรเป็นกอบ เป็นก�ำ การเงิน คล่องสะพัดดีมาก สุขภาพ มีอาการปวดฟันเล็กน้อย

ราศีสิงห์ 17 สิงหาคม ถึง 16 กันยายน การงาน คงต้องปักหลักกับงานแบบเดิมๆ ไปสักระยะ ไม่ควรเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทั้ง เรือ่ งงานและบุคลากร เพราะจะท�ำให้ทา่ น เสียหายได้ ส่วนงานรับช่วงต่อ ระมัดระวัง เอกสารสัญญารวมถึงเนื้องานให้ดี การเงิน ค่อนข้างนิ่งๆ เรื่อยๆ ถึงแม้จะเป็น ช่วงฤดูการกอบโกย แต่ดวงของท่านไม่ได้ ส่งเสริมให้ได้แบบมากมาย สุขภาพ มี ป ั ญ หาระบบทางเดิ น อาหาร ระบบย่อย คงต้องระมัดระวังเรื่องอาหาร การกิน

ราศีตุล 18 ตุลาคม ถึง 16 พฤศจิกายน การงาน มั่ น คงก้ า วหน้ า มี โ อกาสดี ได้ เ ดิ น ทางไกลทั้ ง ในและนอกประเทศ ท่านทีแ่ ข่งขันท�ำเป้า ท�ำยอด มีผลส�ำเร็จสูง ท่ า นที่ เ ป็ น นายหน้ า คนกลาง ได้ รั บ ผลส�ำเร็จ ท่านทีก่ ารงานเคยติดขัด จะเห็น ทางออกที่งดงาม การเงิ น รายได้ ดี รวมถึ ง รายได้ พิ เ ศษ ต่ า งๆ มี ม ากมาย ท่ า นที่ จ ดๆ จ้ อ งๆ อสังหาริมทรัพย์หรือของชิ้นใหญ่ๆ ได้ซื้อ สมใจ สุขภาพ ปวดตา เกิดจากการใช้สายตา มากเกินไป ควรพักสายตาบ้างเป็นระยะๆ ระหว่างท�ำงาน

109

ราศีพิจิก 17 พฤศจิกายน ถึง 15 ธันวาคม การงาน ผ่ า นพ้ น อุ ป สรรคไปได้ อ ย่ า ง เฉียดฉิว ท่านที่ก�ำลังคิดจะเริ่มโปรเจ็คท์ งานใหม่ ขอให้ยดื ระยะเวลาออกไป ท่านที่ รอค� ำ ตอบ ขอให้ ร อต่ อ ไปอี ก สั ก ระยะ อย่าเร่งค�ำตอบ เพราะอาจจะผิดหวังได้ การเงิน ยังคงต้องวางแผนอย่างรอบคอบ มีความเสี่ยงสูงต่อการผิดพลาด สุขภาพ ร ะมัดระวังอุบัติเหตุ โดยเฉพาะ ช่วงพลบค�่ำไม่ควรเดินทาง

ราศีธนู 16 ธันวาคม ถึง 14 มกราคม การงาน ผลงานโดดเด่น ท่านที่ต้องการ น�ำเสนอเพื่อโอกาสในการเลื่อนขั้น เลื่อน ต� ำ แหน่ ง เป็ น โอกาสดี ที่ จ ะได้ รั บ การ พิจารณา ถึงแม้จะมีผลในปีหน้า ท่านที่ ท�ำงานกับต่างชาติ ได้รับความก้าวหน้า เป็นพิเศษ ส่วนเจ้าของกิจการ มีโอกาส ดีๆ เข้ามา การเงิน งอกเงย มีรายรับจากหลายทาง รวมถึ ง รายได้ พิ เ ศษจากทุ ก ช่ อ งทางที่ ท่านมี สุขภาพ อาจจะมีอาการเสียดแน่นหน้าอก จากอาการกรดไหลย้อน


110

Happy Time

Merit Room

ภาพประกอบ : PUN

111

ใช้เคล็ดลับ

ถักทอด้วยใจ

ถวายให้ด้วยศรัทธา เพราะความเหน็บหนาวที่เกินพอดี อาจ สร้างความเจ็บไข้และเป็นอุปสรรคต่อการด�ำเนิน ชี วิ ต ได้ และเมื่ อ พู ด ถึ ง ความหนาวขึ้ น มาเมื่ อ ไร ทุ ก คนจะนึ ก ถึ ง ผ้ า ห่ ม หรื อ เครื่ อ งกั น หนาวอื่ น ๆ แต่ ใ นความเป็ น จริ ง แล้ ว หมวกไหมพรมก็ เ ป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ จ� ำ เป็ น ไม่ แ พ้ กั น ยิ่ ง กั บ พระสงฆ์ ที่ มี ข้ อ จ� ำ กั ด ในการใช้ เ ครื่ อ งบรรเทาความหนาว แถมยังต้องโกนศีรษะด้วยแล้ว

ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง เป็ น ที่ ม าของ โครงการ “ถั ก ทอสายใยรั อ ยดวงใจ ศรัทธา” โดยมูลนิธิหลวงพ่อพุธฯ ร่วมกับ โรงพยาบาลไทยนครินทร์ ที่ขอเรียนเชิญ ศาสนิ ก ชนทุ ก ท่ า นที่ มี จิ ต ศรั ท ธาและมี ใจรักทางด้านงานเย็บปักถักร้อย มาร่วม ท�ำบุญด้วยการเป็นหนึ่งในอาสาสมัครใน การถัก “หมวกไหมพรม” โดยใช้ไหมพรมสี กรัก (สีจีวรพระ) ที่ใช้แล้วไม่คัน เพื่อถวาย แด่ พ ระภิ ก ษุ ส งฆ์ ที่ จ� ำ พรรษาในวั ด เขต

พื้นที่ภาคเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น ช่วย ให้พระสงฆ์ได้ศึกษาพระธรรมโดยสะดวก เพื่อเผยแพร่ศาสนาพุทธให้แข็งแรงสืบไป

ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ได้ ที่ บริ เ วณจุ ด รั บ รองญาติ ผู ้ ป ่ ว ย ชั้ น G, L และ 2 โรงพยาบาล ไทยนครินทร์ ตั้งแต่วันนี้ถึง 31 ธันวาคม 2555 สอบถามข้อมูล เพิม่ เติมได้ทแี่ ผนกลูกค้าสัมพันธ์ ชั้น G โทรศัพท์ 0-2361-2727 หรือทางเว็บไซต์ http://www. thainakarin.co.th

เกมใครคือแกะดำ� วิธีการเล่น เหล่านกนินจาที่เรียงหน้ากันทั้งหมด 9 ตัวนี้ มีเพียง 1 ตัวที่เป็น “แกะด�ำ” คือต่างจากพวก เจ้าแกะด�ำนั้นคือตัวไหนกัน

01

03 02

04

06 05

07

09 08


112

Delight Quiz

ค�ำถามร่วมสนุกฉบับเดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 2555 ค�ำถาม: โปรดบอกเล่าความประทับใจของท่านที่มีต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ในเรื่องของ “ความพอเพียง” มา 1 เรื่อง พอสังเขป ผู้โชคดีจะได้รับ กระเป๋าไอเดีย อีโค อิดิชั่น จ�ำนวน 5 รางวัล ซึ่งจะจัดส่งตรงถึงท่านตามที่อยู่ที่แจ้งไว้ • ประกาศรายชื่อผู้โชคดีในนิตยสาร SCG Delight ฉบับเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2556 • กรุณากรอกชื่อ - ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อสะดวกให้ชัดเจน และส่งค�ำตอบของท่านมายัง แผนกบริหารความสัมพันธ์หุ้นกู้ ส�ำนักงานการเงิน บริษัทปูนซิเมนต์ ไทย จ�ำกัด (มหาชน) เลขที่ 1 ถนนปูนซิเมนต์ ไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 ภายในวันที่ 15 มกราคม 2556

5 รายชื่อผู้ ได้รับรางวัลค�ำถาม SCG Delight ฉบับเดือนกันยายน - ตุลาคม 2555 จะได้รับหมวกกันแดดเอสซีจีสีแดง จ�ำนวน 5 รางวัล

คำ�ถาม: ท่านมีความคิดเห็นอย่างไร หากประเทศสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC กำ�หนดให้มีการใช้เงินสกุลเดียวกัน 1. คุณวิชา พิพัฒน์ประทานพร 2. คณะบุคคลขวัญถุง โดย นางสาวสรัญญา อาวสกุลสุทธิ หรือนางสาวจิรัชญา อาวสกุลสุทธิ 3. คุณศักดิ์สม จามรมาน 4. คุณวลัยพร ภัทราพงศ์ 5. คุณสมพงษ์ พรพิทักษ์ธรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.