1
sook idea
ฉบับพ่อบ้านแม่บ้าน พ่อบ้านแม่บา้ นทีค่ ดิ ว่า ทำ�งานบ้านทัง้ วันจะหาเวลาไปออกกำ�ลังกายได้ยงั ไง แท้จริงแล้ว การออกกำ�ลังกายทีง่ า่ ยและใกล้ตวั ทีส่ ดุ คือ การทำ�งานบ้านนีล่ ะ่ ทีเ่ ราสามารถขยับได้ตามใจ ให้เหมาะกับไลฟ์สไตล์ของเราเอง ถ้านึกไม่ออกว่าจะออกกำ�ลังยังไง ลองทำ�ตามนีไ้ ด้เลย เริ่มเช้าวันใหม่ด้วยการ เคลื่อนไหวร่างกายใน หรือนอกบ้านประมาณ 10 นาที เช่ น ยื ด เส้ น หรือเดินระยะสัน ้ ๆ
กวาดบ้าน ถูบ้าน เช็ดกระจก ล้างรถ ตัดหญ้า ทำ�สวน เข็นรถพาลูก ออกไปเดินเล่น
จอดรถไกลจากร้ า นที่ เป็ น จุ ด หมายให้ มี ร ะยะ ห่ า งในการเดิ น สั ก 10 นาที แล้วเดินไป หรือทาง ที่ ดี จ อดรถไว้ ที่ บ้ า นแล้ ว เดินไปเลย
เต้นรำ� 10 นาที ด้วยเพลงทีช่ น ่ื ชอบ
จูงสุนขั ไปเดินเล่น ขีจ ่ ก ั รยาน
เล่นกับเด็ก ๆ ลูก ๆ หลาน ๆ
หนังก็เป็นแรงบันดาล ใจให้อยากขยับได้
• รัก 7 ปี ดี 7 หน ตอน วิ่งมาราธอน • สตรีเหล็ก (วอลเล่ย์บอล) • The Cheer Ambassadors สารคดีเกี่ยวกับทีมเชียร์ลีดเดอร์
ที่มา : การเคลื่อนไหวของคนไทย สถานการณ์สุขภาพประเทศไทย สำ�นักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, www.thaihealth.or.th 22
sook idea
ฉบับ
หนุ่มสาวออฟฟิศ มีข้ออ้างมากมายทำ�ให้คนหนุ่มสาววัยทำ�งานไม่ออกกำ�ลังกาย หนึ่งในนั้นคือ ทำ�งานเหนื่อยจนไม่มีเวลา กลั บ บ้ า นมา ก็ อ ยากจะนอนผึ่ ง ท่ า เดี ย ว ทั้ ง ที่ จ ริ ง แล้ ว การออกกำ � ลั ง กายไม่ ไ ด้ ห มายถึ ง การเข้ า ยิ ม หรือต้องเล่นกีฬาอย่างจริงจัง เช่นเดียวกับการออกกำ�ลังที่เราสามารถทำ�ได้ง่าย ๆ ที่บ้าน สำ�หรับ พนักงานออฟฟิศก็เช่นเดียวกันแค่ปรับพฤติกรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ประยุกต์เอาการออกกำ�ลังกายเข้าไปในการ ทำ�งานทุกวัน สุขภาพก็แข็งแรง ปรับเปลี่ยนการเดินทาง ให้ใช้พลังงานให้มากที่สุด เดินทางโดยการใช้รถยนต์หรือรถสาธารณะให้น้อยลง
ลองปั่นจักรยานมาทำ�งานสักอาทิตย์ละ 1 วัน หรือลองลงรถเมล์ ก่อนถึงป้ายสัก 1 ป้าย ให้มีโอกาสเดินสักหน่อยก่อนถึงที่ทำ�งาน
ยืดเส้นยืดสาย ขณะคุยโทรศัพท์ ปกติเราจะนัง่ เฉย ๆ ขณะคุยโทรศัพท์ ลองลุกขึน้ มายืน ยืดเส้นยืดสาย หรือเดินไปเดินมา
เลือกเดินขึ้นลงบันไดแทนใช้ลิฟต์ เอกสารบางอย่างถ้าไม่เหนือบ่ากว่าแรง ลองเดินไปส่งเอง เดินไปร้านอาหารที่ไกลกว่าเดิมสักหน่อย (อย่าลืมเผื่อเวลาให้ทันเข้างานด้วย)
การ์ตูนที่ช่วยกระตุ้น ต่อมออกกำ�ลังกาย • Slam Dunk (บาสเกตบอล) • กัปตันซึบาสะ (ฟุตบอล) • Rough (ว่ายน้ำ�) • Katsu (ชกมวย) • H2 เบสบอล 24
Sook Community | เรื่อง : กรกมล เชี่ยววานิช | ภาพ : ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม
Banana Running ทำ�เรื่องวิ่งให้เป็นเรื่องกล้วย ๆ กันเถอะ
จากความชอบในเรื่องวิ่งเหมือนกัน ท�ำให้กลุ่มคนกลุ่มหนึ่งรวมตัวกันขึ้นเพื่อสร้างคอมมูนิตี้เล็ก ๆ บน แฟนเพจเพื่อให้ความรู้เรื่องการวิ่ง รวมไปถึงเรื่องการออกก�ำลังกาย โดยบอกเล่าเรื่องราวผ่านภาพและตัว การ์ตูนกล้วยน่ารัก ๆ ซึ่งเป็นคาแร็กเตอร์ของแอดมินแต่ละท่าน ไม่ว่าจะเป็นกล้วยหอม กล้วยไข่ กล้วยม้วน กล้วยปั่น นายบิ๊กกล้วย และไช้กล้วย ในแบบ Infographic ให้เหล่าบรรดานักวิ่งทั้งหน้าเก่าหน้าใหม่ได้ เพลิดเพลินไปกับความรู้ รวมถึงกิจกรรมการวิ่งต่าง ๆ จนตอนนี้เพจเรื่องวิ่งเรื่องกล้วย กลายเป็นคอมมูนิตี้ ของนักวิ่งที่ใหญ่ที่สุด มียอดไลค์เพจแล้วกว่า 79,000 คน 30
LEARN SOMETHING EVERYDAY | เรื่อง : BUA
WARM UP & COOL DOWN ลดอาการบาดเจ็บจากการออกกำ�ลังกาย
การออกกำ�ลังกายเป็นประจำ�ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง แต่หากออกกำ�ลังกายโดยปราศจากการเตรียมความพร้อม ให้ร่างกายนั้นก็ทำ�ให้เกิดโทษต่อร่างกายได้เช่นกัน ผลของการไม่เตรียมความพร้อมนั้นอาจมีทั้งอาการปวดร้าวตาม ร่างกาย กล้ามเนื้อฉีกขาด อาการช็อค บางรายอาจถึงขั้นเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว หัวใจวายเฉียบพลัน โดยเฉพาะ คนที่ไม่ค่อยได้ออกกำ�ลังกาย คนที่มีอายุเกิน 40 ปีขึ้นไป คนที่มีปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อป้องกันและลดอาการ บาดเจ็บ รวมทัง้ ลดความเสีย่ งเหล่านี้ การเตรียมความพร้อมทัง้ ก่อนและหลังการออกกำ�ลังกายมีความสำ�คัญอย่างยิง่
Warm Up การอบอุน ่ ร่างกาย การอบอุ่ น ร่ า งกาย หรื อ Warm up เป็นการเตรียมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้ พร้ อ มที่จ ะทำ � งาน โดยการทำ�ให้อุณหภูมิ ร่างกายสูงหรือร้อนขึ้น เนื่องจากอุณหภูมิ ร่างกายปกติจะอยูท่ ่ี 37 องศาเซลเซียส ต้อง ทำ�ให้เป็น 38 องศาเซลเซียส เพือ่ กระตุน้ เตือน ร่างกายว่าพร้อมจะสร้างความแข็งแรงแล้ว โดยการเดิน การวิง่ เหยาะ ๆ สะบัดแขน ขา บิดเอว และการกระโดด 44
นอกจากนี้ ยั ง รวมถึ ง การยื ด กล้ า มเนื้ อ เอ็น และข้อต่อ (Stretching) ซึ่งควรทำ� หลั ง จากอบอุ่ น ร่ า งกายแล้ ว เพื่ อ ให้ เ ลื อ ด ไหลเวียนไปสู่กล้ามเนื้อได้ดีเสียก่อน เพราะ เวลาออกกำ�ลังกายจริง การเคลื่อนไหวของ ร่างกายจะต้อ งอาศั ย การยื ด หรื อ การหด ตัวของกล้ามเนื้ออย่างเต็มที่ ถ้าหากไม่ได้ ยืดเอาไว้ก่อน กล้ามเนื้อหรือเอ็นอาจได้รับ บาดเจ็บ ในบางรายอาจฉีกขาดได้
การเดินช้า ๆ แล้วค่อย ๆ เพิ่ม ความเร็ ว ไปจนถึ ง วิ่ ง เหยาะ ๆ เป็ น การกระตุ้ น ระบบหลอด เลือดหัวใจและปอดอย่างค่อย เป็ น ค่ อ ยไป ให้ อ วั ย วะเหล่ า นี้ พร้อมทีจ่ ะทำ�งานเพือ่ ให้เลือดไป เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ทัน
60
1
Step
1
Begin
With Yourself
การเปลี่ยนแปลงสังคมด่านแรกที่ง่ายที่สุดนั้นเริ่มต้นจากตัวเรา 1.
2.
รู้หน้าที่ต่อสถานะของตัวเอง
ทำ�หน้าทีข่ องตัวเองอย่างสุดความสามารถ เช่น นักเรียนต้องตัง้ ใจศึกษาหาความรูอ้ ย่างเต็มที่ แพทย์ตอ้ งรักษาจรรยาบรรณและรักษาคนไข้อย่างสุดกำ�ลัง พนักงานบริษทั ต้องใช้ทกั ษะ ความสามารถของตนทำ�งานทีม่ อบหมายให้ลลุ ว่ งสำ�เร็จ พ่อแม่มหี น้าทีอ่ บรมเลีย้ งดูลกู รู้หน้าที่ต่อผู้อื่น
ตรงต่อเวลา เพือ่ ไม่ให้ผอู้ น่ื เสียเวลารอ ตืน่ นอนเช้าขึน้ เพือ่ ให้มชี ว่ั โมงทำ�งานเพียงพอ ไม่ตอ้ งหอบงานกลับมาทำ�ทีบ่ า้ นและมีเวลาให้กบั ครอบครัว 3.
รู้หน้าที่ต่อสังคม
ยืนชิดขวาเมือ่ ขึน้ บันได ต่อแถวเมือ่ ซือ้ ของ เมือ่ ขึน้ รถลงเรือ ต้องให้ผโู้ ดยสารที่ อยูด่ า้ นในออกมาก่อน แล้วเราจึงค่อยเข้าไป ขับรถเคารพกฎจราจร
คนไทยขึ้นบันไดยืนชิดขวา standontheright เพจรณรงค์ท�ำ สิง่ ดี ๆ เพือ่ สังคมด้วยวิธี ง่าย ๆ นั่นคือ การยืนชิดขวาขณะขึ้น บันไดเลือ่ นของรถไฟฟ้า ในห้างสรรพสินค้า และสนามบิน เพือ่ ปล่อยให้ชอ่ ง ทางซ้ายว่างสำ�หรับผู้มีความจำ�เป็น เร่งด่วน การรณรงค์ชดิ ขวานีม้ งุ่ หวังให้ แต่ละคนปรับนิสัยตัวเองเล็กน้อย แต่ หากทำ�ได้จะได้ผลลัพธ์ชนิ้ ใหญ่ นัน่ คือ สังคมที่เป็นระเบียบเรียบร้อยนั่นเอง
4. มีคุณธรรม ซื่อสัตย์
รักความถูกต้องยุตธิ รรม มีเมตตาเห็นอกเห็นใจผูอ้ น่ื 5. สนใจข่าวสาร
ก้าวทันความเปลีย่ นแปลงรอบข้าง เพือ่ ให้ตวั เองเป็นพลเมืองทีท่ นั ยุคทันสมัย 6.
รู้หน้าที่ต่อสิ่งแวดล้อม
ใส่ใจสิง่ แวดล้อม ทำ�สภาพแวดล้อมของทีบ่ า้ นให้ไร้มลพิษด้วยการแยกขยะ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ สิง่ แวดล้อม 22
ธนาคารต้นไม้ ธนาคารต้นไม้ ชุ ม ชนที่ ร วมตั ว กั น เพราะมองเห็ น คุณค่าของต้นไม้ เล็งเห็นว่ามนุษย์ได้ รับประโยชน์จากต้นไม้หลายประการ ต่อยอดไปสู่การให้ความรู้ บอกต่อ เคล็ ด ลั บ การเติ บ โตของไม้ ใ หญ่ ใ น แต่ละพืน้ ที่ ไปจนถึงแจกจ่ายพันธุก์ ล้า ให้ผู้สนใจนำ�ไปปลูกต่อ
sook gimmick | เรื่อง : ศุภรัตน์ หล่อสกุลรัตน์และสริตา อุรุพงศา | ภาพ : จิ๋วแจ๋วเจาะโลก
Do Good Things “ความดี” เป็นสิ่งที่พวกเราควรบันทึกไว้ในหัวใจ ขอให้ลงมือทําความดีทุกครั้งที่มีโอกาส เพราะการทําความดีเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็สามารถส่งผลกระทบให้เกิดสิ่งดี ๆ ต่อกันได้ไปเป็นทอด ๆ มาลองดูกันว่า “ความดี” เเม้เพียงเล็กน้อยสามารถส่งต่อความสุขและความดีไปได้อย่างไร?
มีคุณธรรม คุณลักษณะส่วนตัว
ไม่คดโกง
ประโยชน์ส่วนรวม
ซื่อสัตย์ ไม่ยักยอกหรือลักเล็กขโมยน้อย
มีเมตตา
เห็นอกเห็นใจผู้อื่น ประโยชน์ส่วนรวม
การบริจาคเพื่อผู้ยากไร้
ทำ�กิจกรรมเพื่อสังคม
ทุกคนมีความสุข 26
ได้ประชากรมีคุณภาพ
ที่จะนำ�ไปสูส่ ังคมคุณภาพ
SOok community | เรื่อง : กชกร มุสิผล | ภาพ : ธรรมธุรกิจ | ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม
ธรรมธุรกิจ เพือ ่ เกษตรกรรมอย่างยัง ่ ยืน แม้เมืองไทยจะขึน้ ชือ่ ในเรือ่ งความอุดมสมบูรณ์ของข้าวปลาอาหารและการทำ�เกษตรกรรม แต่เรากลับปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘ยิง่ ทำ�ยิง่ จน’ เป็นปัญหาทีแ่ ก้ไม่ตกของเกษตรกรไทยมาหลายสิบปี แต่เมือ่ ชาย 3 คนทีก่ ล้าต่อสูร้ ะบบทุนนิยมอย่างแข็งขัน อย่าง อาจารย์ยกั ษ์-วิวฒ ั น์ ศัลยกำ�ธร, โจน–โจน จันได และหนาว-พิเชษฐ์ โตนิตวิ งศ์ โคจรมาเจอกัน พวกเขาจึงเกิดความคิดสร้างสรรค์ ทีจ่ ะช่วยพลิกฟืน้ สังคมไทยให้กลับมามีความมัน่ คงทางเกษตรกรรมอย่างยัง่ ยืน และคืนความสุขให้คนไทยทุกคน ตามบันได ๙ ขัน้ สูเ่ ศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ธรรมนำ�ธุรกิจ ภายใต้ชอ่ื ‘ธรรมธุรกิจ’ อาจารย์ยกั ษ์
คุณโจน
คุณหนาว
ทำ�ธุรกิจ ใช้เงิน ได้ก�ำ ไร "ธรรมธุรกิจ" ใช้ใจ ได้มากกว่าเงิน
ก้าวแรก ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ในชือ่ ‘บริษทั ธรรมธุรกิจ ชาวนาธรรมชาติ จำ�กัด’ เพื่อเปิดพื้นที่ให้คนปลูก คนซื้อข้าวเปลือก คนสีข้าว คน ขายข้าวสาร และคนกิน ได้มารูจ้ กั กัน ทำ�ธุรกิจด้วยกัน เป็น www.facebook.com/Thamturakit เจ้าของร่วมกัน เพือ่ อาหารทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ และความเป็นธรรม สำ�หรับทุกฝ่ายและต้องเอาธรรมะไปควบคูท่ กุ กระบวนการ
ธรรมธุรกิจ
www.facebook.com/Thamturakit
36
HARD DAY NIGHT
เรื่อง : เกี๊ยวกุ้ง
ภาพ : สุทักษ์ ศิรินุช
sook issue 20
HARD DAY NIGHT OCCUPATION : 2 คุณครูแห่งโรงเรียนทอสี NAME : ครูแป้ง-ไพรำ� นามวัฒน์ ครูเปิ้ล-ลักษณาวดี จงวัฒนา QUOTE : "ครู ที่ ดี เ ปรี ย บเหมื อ นการดู แ ลต้ น ไม้ หน้ า ที่ หลักคือรดน้ำ�ดูแลให้เหมาะที่สุดกับต้นไม้แต่ละ ประเภทเท่ า ที่ ทำ � ได้ การเติ บ โตเป็ น หน้ า ที่ ข อง ต้นไม้ ไม่คาดหวังแต่ ชืน ่ ใจเมือ ่ ต้นไม้แต่ละต้นโต " ครูเปิ้ล
ครูแป้ง
ตั้งใจมุ่งมั่นทุกการสอน การค้นพบอาชีพทีท่ �ำ แล้วมีความสุขไม่วา่ จะช้าหรือ เร็วก็เปรียบเสมือนการเจอจุดหมายหนึ่งในชีวิตเช่น เดียวกับ ครูแป้ง-ไพรำ� นามวัฒน์ หัวหน้าสาระวิชา ภาษาอังกฤษและครูเปิ้ล-ลักษณาวดี จงวัฒนา ครู สาระสุขศึกษาและพลศึกษา แห่งโรงเรียนทอสี สอง คุณครูตัวอย่างที่แม้ก่อนหน้านี้จะได้เรียนรู้ชีวิตมา มากมาย แต่กบั การเป็นครูคอื การเรียนรูไ้ ม่มวี นั จบ มาเป็นครูที่นี่ได้อย่างไร ครู แ ป้ ง : จบปริ ญ ญาตรี บ ริ ห ารธุ ร กิ จ ที่ เ อแบค ปริ ญ ญาโท บริหารธุรกิจระหว่างประเทศทีอ่ เมริกา แล้วท�ำงานบริษทั มาเรือ่ ย ๆ จนมาเปิดบริษัทวิจัยการตลาดเกือบสองปีก็ปิด เพราะคุณแม่ป่วย เป็นโพรเกรสซีฟอัลไซเมอร์ ช่วงนั้นหยุดทุกอย่างเพื่อมาดูแลคุณแม่ เราหาทางออกจากความทุกข์โดยมีโอกาสไปปฏิบัติธรรมกับท่าน อาจารย์ชยสาโรทีบ่ า้ นไร่ทอสี แล้วได้ยนิ ว่าโรงเรียนต้องการครูภาษา
42
60
1
พฤติ กรรม พฤติ กรรม
การทำบุ ญของคนไทย การทำบุ ญของคนไทย คนไทยชอบทำบุ คนไทยชอบทำบุ ญญ แบบไหน แบบไหน
ที่มา : World Giving Index 2013
ที่มา : World Giving Index 2013
infographics เรียบเรียงและภาพ : cocoon
คนไทย คนไทย ‘ใจบุ‘ใจบุ ญ’ญ’ ชอบบริ ชอบบริ จาคจาค
พมา พมา สาธารณรัฐมอลตา สาธารณรัฐมอลตา ไอรแลนด ไอรแลนด
ประเทศไทยติ ่ 4 ของโลก ประเทศไทยติ ดอันดดัอับนทีดั่ บ 4 ทีของโลก
ดานบริ จาคเงิ ดานบริ จาคเงิ น น รองจากพม รองจากพม า า
สาธารณรั ฐมอลตา ไอรแลนด สาธารณรั ฐมอลตา ไอรแลนด
วนใหญ คนสวคนส นใหญ เลือจกบริ เลือกบริ าคผจาาคผ น าน
กลอกล งรัอบงรั บริบจบริ าคจาค มากที มากที ่สุด ่สุด
กองจาก รองจา ร และเน นการทำบุ และเน นการทำบุ ญกัญ บวักัดบวัด การบริการบริ จาคเงิจนาคเงิน ใหกับผูเดือดรอนโดยตรง มากกว กรการกุ มากกว าองคากองค รการกุ ศล ศล ใหกับผูเดือดรอนโดยตรง ตอาสา ผานมูลนิธิและการโอนเงิน และจิตและจิ อาสา
ี่คนไทย ใคร...ท ี่คนไทย ใคร...ท จาคเงิ ยมบริ นใหนให จาคเงิ นิยนิมบริ อันดัอับนดั1 บ 1 วัดและ วัดและ ศาสนสถาน ศาสนสถาน
20.3% 20.3%
น2ดับ 2 อันดับอัคนพิ การ 18.7% คนพิการ 18.7% บ3 อันดับอัผูน3ปดัระสบภั ย 14.3% ผูประสบภัย 14.3% 4 อันดับอัเด็น4กดัดบอยโอกาส เด็กดอยโอกาส 12.6%12.6% น5ดับ 5 อันดับอัขอทาน ขอทาน 12.2%12.2%
ผานมูลนิธิและการโอนเงิน บริจาาคผ านบั ชีธนาคาร บริจาคผ นบัญ ชีธญ นาคาร ผลในการทำบุ ญของคนไทย เหตุผเหตุ ลในการทำบุ ญของคนไทย
คนไทยทำบุ คนไทยทำบุ ญเพืญ่อเพื ... ่อ...
ข สบายใจ 1 ความสุ ข สบายใจ 1 ความสุ กุศลในภายภาคหน ญกุบุ ศญ ลในภายภาคหน า า 2 หวั2งผลหวังบุผล
เปนโอกาสที ี่ไดชวอยเหลื อสังคม ่ดีที่ได่ด ชวีทยเหลื สังคม 3 เป3นโอกาสที
รูไาหมว งมีการทำบุ อีกหลายวิ ธีที่เราอาจลื รูไหมว ยังมีากยัารทำบุ ญอีกญ หลายวิ ธีที่เราอาจลื มนึกม ถึนึ ง กถึง ที่มา : ผลสำรวจพฤติกรรมการให การบริจาค และอาสาสมัคร โดยทำการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป จำนวน 1,581 ที่มา : ผลสำรวจพฤติ กรรมการให การบริจาค และอาสาสมั ตัวอยาง จากศู นยวิจัยเอแบคโพล ป พ.ศ. 2550 คร โดยทำการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป จำนวน 1,581 ตัวอยาง จากศูนยวิจัยเอแบคโพล ป พ.ศ. 2550
18
จาคอวั บริบริ จาคอวั ยวะยวะ ที่มา : รายงานประจำป พ.ศ. 2556 ศูนยรับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย และศูนยดวงตา สภากาชาดไทย
ที่มา : รายงานประจำป พ.ศ. 2556 ศูนยรับบริจาคอวัยวะสภากาชาดไทย และศูนยดวงตา สภากาชาดไทย
ชวยเหลื สังคม ชวยเหลื อสังอคม
ป พ.ศ. ป พ.ศ. 25562556
ูบริจาคอวั ยวะ ราย 158 ราย มีผูบมีริผ จาคอวั ยวะ 158
บัน คนไทย 1 ลานคน ดส่นวนที ่นอยมาก ปจจุบปันจจุคนไทย 1 ลานคน เปนสัเปดนสสัวนที อยมาก ูบริจาคอวั ่อเทีบยบกับ มีผูบริมีจผาคอวั ยวะเพียยวะเพี ง ยง เมื่อเทีเมื ยบกั
ผูที่รอการปลู กถายยอวั คนเท กถายอวั วะ ยวะ 2.42.4 คนเท านัา้นนั้นผูที่รอการปลู ในป พ.ศ. ในป พ.ศ. 25562556 พบวาพบว ... า...
ซึ่งนำไปช วยชี วิตคนได ยง ราย 376 ราย ซึ่งนำไปช วยชีวิต คนได เพียงเพี 376
่ผูรอการปลู กถยายอวั ขณะทีขณะที ่ผูรอการปลู กถายอวั วะ ยวะ
ผูป่ วยที่ มีผูปวมียที รอเปลี ่ยนกระจกตา รอเปลี่ยนกระจกตา
มีจำนวนเพิ ่มมากขึ ถึง 4,081 มีจำนวนเพิ ่มมากขึ ้นถึง ้น4,081 ราย ราย
มีดวงตา แตมีดแต วงตา บริ บริจาคเพีจยาคเพี ง ยง
8,623 ราย 8,623 ราย
729 729 ดวงดวง
ี่ไดรับการผ าตั่ยดนกระจกตาเพี เปลี่ยนกระจกตาเพี ยง 671 รายเท และมีผและมี ูที่ไดผ รับูทการผ าตัดเปลี ยง 671 รายเท านั้นานั้น
สวนใหญ คนไทยยั งมีความเชื สวนใหญ คนไทยยั งมีความเชื ่อวา ่อวา หากบริ จ าคอวั ย วะเกิ ด ชาติ หากบริจาคอวัยวะเกิดชาติหนา หนา อวัยวะจะไม ครบ งและยั งทําไดใจไมได อวัยวะจะไม ครบ และยั ทําใจไม กั บ การเสี ย ชี ว ิ ต ของญาติ กับการเสียชีวิตของญาติ
อันที่จริงการบริจาคอวัยวะใหกับผูเดือดรอนถือเปนการตอชีวิตคน เปนสิ่งดีงาม และเปนการทำประโยชนอันยิ่งใหญตอสังคม อันที่จริงการบริจาคอวัยวะใหกับผูเดือดรอนถือเปนการตอชีวิตคน เปนสิ่งดีงาม และเปนการทำประโยชนอันยิ่งใหญตอสังคม
งดเหล าครบพรรษา...ทางเลื อกใหม ในการทำบุ งดเหล าครบพรรษา...ทางเลื อกใหม ในการทำบุ ญญ จำนวนคน จำนวนคน งดเหล าเขาพรรษา งดเหลาเขาพรรษา
เพิขึ่ม้นขึ้น เพิ่ม อยางตอเนื่อง
อยางตอเนื่อง
ป พ.ศ. 2546 ป พ.ศ. 2546
คนคน
40.4 40.4 % %
และเปนผูท ่ี และเปนผูท ่ี
อยละ รอรยละ 3636 ของนั ของนั กดืก ่มดื่ม
ยอมรั วา ครอบครั งดเหล า ยอมรั บวา บครอบครั ว ว งดเหล า วชวยสำคั ป พ.ศ. 2556 ตลอดตลอด 3 เดือ3นเดือนคือตัคืวอ ชตั วยสำคั ญ ญ ป พ.ศ. 2556 ถึ ง ครึ ง ่ หนึ ง ่ งดเหล า ถึงครึง่ หนึง่ งดเหลา ที่ชวงยให งดเหล าครบ ที่ชวยให ดเหล าครบ 68.8 % 68.8 % เขาพรรษา พรรษาได เขาพรรษา พรรษาได สำเร็สจำเร็จ
การงดดื่มสุราในวันสำคัญทางศาสนา นอกจากจะเปนการทำดีเพื่อตนเองแลว ยังเปนการทำดีตอบุคคลรอบขางอีกดวย การงดดื่มสุราในวันสำคัญทางศาสนา นอกจากจะเปนการทำดีเพื่อตนเองแลว ยังเปนการทำดีตอบุคคลรอบขางอีกดวย ที่มา : ผลการสำรวจความคิดเห็นประชาชนของศูนยวิจัยปญหาสุรา รวมกับเอแบคโพล ชวงเทศกาลเขาพรรษา ป 2556 ที่มา : ผลการสำรวจความคิดเห็นประชาชนของศูนยวิจัยปญหาสุรา รวมกับเอแบคโพล ชวงเทศกาลเขาพรรษา ป 2556 19
Check-list
ของทำ�บุญที่ถูกหลงลืม หลายครั้งหลายหนที่ข้าวของในถังสังฆทานที่เรานำ�ไปถวายพระใช้งานได้แค่บางส่วน ฉะนั้นแทนที่จะซื้อชุดสังฆทานสำ�เร็จรูป ลองเปลี่ยนมาทำ�ชุดสังฆทานที่ใช้งานได้จริง และตรงกับความจำ�เป็นในการปฏิบตั กิ จิ ของพระสงฆ์ ด้วยเครือ่ งสังฆทานต่อไปนีก้ นั เถอะ
2. เครื่องเขียน สมุด ปากกา ดินสอ แฟ้ม กล่อง ใส่เอกสาร เป็นสิ่งที่พระจำ�เป็น ต้องใช้เมื่อเรียนพระปริยัติธรรม จดกำ�หนดนัดหมายต่าง ๆ หรือ บันทึกค่าใช้จ่ายของวัด
1. ภาชนะบรรจุ ทำ�จากอะไรก็ได้ แต่ควรเป็นของที่ทนทาน นำ�ไป ใช้ประโยชน์ต่อได้ เช่น กะละมัง ที่คว่ำ�จานแบบ มีฝาปิด หรือใส่ถุงกระดาษมาถวายก็ยังได้
3. ผ้าไตรจีวร โดยควรเลือกแบบที่มีความหนาและ ความยาวเหมาะสมพอดี
5. หนังสือธรรมะ รวมถึงหนังสืออื่น ๆ ที่ให้ความรู้ เนื่องจากพระมีหน้าที่ เผยแผ่ศาสนา จึงจำ�เป็นต้องรู้รอบทั้งทางโลกและทาง ธรรม การถวายหนังสือยังถือเป็นธรรมทานที่ดีด้วย
24
4. มีดโกน
เนื่ อ งจากพระต้ อ ง โกนผมเป็นประจำ�
6. ยาสามัญประจำ�บ้าน
เช่น ยาแก้ปวดหัว ยาแก้ไอ ยาแก้ไข้ ยาใส่แผลสด ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
8. อุปกรณ์งานช่าง 7. รองเท้า
เช่น ค้อน ตะปู ไขควง สว่าน เพื่อให้พระ นำ�ไปใช้ซ่อมแซมดูแลศาสนสถานเบื้องต้น
เนื่องจากพระต้องเดินไปทำ�กิจนิมนต์ตามที่ต่าง ๆ หรือเมื่อทำ�กิจสงฆ์ในวัด อย่างเช่น ก่อสร้าง ทำ�สวน ก็ล้วนจำ�เป็นต้องใส่รองเท้าทั้งนั้น (กรณีนี้ยกเว้นพระในนิกายธรรมยุตที่ห้ามใส่รองเท้า)
10. เครื่องครัว
เช่ น จาน กระทะ หม้ อ ช้ อ น นอกจากพระจะใช้ฉนั ภัตตาหาร แล้วยังให้ชาวบ้านนำ�ไปใช้ในวัน ที่มีงานบุญได้ด้วย
9. ผ้าขนหนู เลือกแบบที่มีคุณภาพ ใช้งานได้จริง ไม่ขาดง่าย
12. อุปกรณ์ทำ�ความสะอาด เช่น ไม้กวาด ไม้ถูพื้น ไม้กวาดทางมะพร้าว ที่โกยขยะ สำ�หรับใช้ทำ�ความสะอาดกุฏิ ศาลา อุโบสถ รวมถึง น้ำ�ยาทำ�ความสะอาดพื้นที่ช่วยฆ่าเชื้อโรคที่ปะปนมา กับเห็บหมัดของหมาวัด มูลนกพิราบ และฉี่แมว ฉี่หนู
11. แชมพู
แม้ พ ระจะไม่ มี ผ ม แต่ แ ชมพู ก็ ยั ง เป็ น สิ่งจำ�เป็น เพราะความร้อน ฝุ่นละออง จะยิ่งสัมผัสหนังศีรษะได้ง่ายขึ้น การ สระผมด้วยแชมพูยงั ช่วยลดต้นเหตุการ เกิดโรคผิวหนังอย่างชันนะตุได้อีกด้วย
• ของที่ถวายพระไม่จำ�เป็นต้องเป็นสีเหลืองเสมอไป เลือกเป็น สีสุภาพก็ใช้ได้แล้ว • ไม่ควรถวายของใช้ที่มีส่วนผสมของน้ำ�หอม เพราะผิดวินัยสงฆ์ แต่ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ทำ�จากธรรมชาติแทน
ศาสนาคริสต์และอิสลามไม่มีการทำ�บุญ แต่ยึดหลักคำ�สอนของพระเจ้าในเรื่อง “การให้” การให้ที่ดี คือ การช่วยเหลือผู้ที่ด้อยโอกาสกว่า ช่วยเท่าที่กำ�ลังตัวเองทำ�ได้ สิ่งที่ทุกศาสนาทำ�ได้เหมือนกันคือ การทำ�ทาน การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ โดยไม่เลือกชนชั้น และหมั่นให้ความช่วยเหลือองค์กรการกุศลต่าง ๆ 25
60
สมัครสมาชิก / ต่ออายุสมาชิก / สั่งซื้อย้อนหลัง / ร่วมโครงการส่งสุขให้กัน แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (แบบฟอร์มนีส้ ามารถถ่ายส�ำเนาได้) ชือ่ / นามสกุล ............................................................................................................................... อายุ................................................... วันเกิด.................................อาชีพ....................................... โทรศัพท์ / มือถือ.................................................อีเมล.................................................................. สถานทีจ่ ดั ส่ง (ทีอ่ ยู)่ ........................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... สมัครสมาชิก /
ต่ออายุสมาชิก
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท (ฉบับละ 30 บาท) เริ่มตั้งแต่ฉบับที่.................... รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท (ฉบับละ 30 บาท) และรับเพิ่มฟรีอีก 1 ฉบับ เริม่ ตัง้ แต่ฉบับที.่ ...................................
ถ้าไม่อยาก พลาด
ความสุข ทุกเดือน
สมัครสมาชิก นิตยสาร
โครงการส่ง SOOK ให้กนั
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท ฟรีค่าจัดส่ง รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท ฟรีค่าจัดส่ง ให้กบั .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................
ฟรี ค่าจัดส่ง
1 ปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท
สัง่ ซือ้ ย้อนหลัง
ครึ่งปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท แถมฟรีเพิ่มอีก 1 ฉบับ
เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 1-25 ราคาเล่มละ 20 บาท) เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 26 ราคาเล่มละ 30 บาท)
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ..................................... บาท (ฟรีค่าจัดส่ง)
โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพือ่ สมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK (กรุณาระบุสาขาธนาคาร) ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 ( ในกรณีที่ไม่ได้ระบุฉบับแรกที่ต้องการ ทางเราขออนุญาตส่งนิตยสารฉบับถัดจากเดือนที่คุณสมัครไปให้ )
โปรดให้ความเห็นอันมีค่ายิ่งต่อเรา
คุณรูจ้ กั SOOK ได้อย่างไร .......................................................................................................... ความรูส้ กึ ของคุณต่อนิตยสาร SOOK ......................................................................................................................................................... คุณเลือกซือ้ นิตยสาร SOOK อ่าน เพราะเหตุผลอะไร ......................................................................................................................................................... คอลัมน์ทช่ี น่ื ชอบคือ เพราะอะไร ............................................................................................. อยากรูเ้ รือ่ งอะไรเกีย่ วกับสุขภาพ .............................................................................................. คุณมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม หรือเวิรค์ ช็อปประเภทใด ......................................................................................................................................................... คำ�แนะนำ� ติชม สิง่ ทีอ่ ยากให้ปรับปรุงและเพิม่ เติม ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 56
ัคร เฉพาะผู้ที่สม ี สมาชิกรายป
ใจ
รับกระเป๋าสุข
ัด
มีจ�ำนวนจ�ำก
ขัน้ ตอนการชำ�ระเงิน
ฟรี
• โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพื่อสมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK - ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 - ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 • ส่งแบบฟอร์มสมัครสมาชิก พร้อมหลักฐานใบโอนเงินมาที่ บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230 หรือ ส่งแฟกซ์ 02-116-9958 หรือ ส่งอีเมล sookmember@gmail.com • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นิตยสาร SOOK โทร. 02-116-9959 10.00 - 18.00 น.)
มีความสุข ย้อนหลัง กันได้นะจ๊ะ.
SOLD
OUT
เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เมนูกชู้ พี สุดประหยัด ความสุขมีไว้แบ่งกัน
เล่มที่ 3 Love Issue
เล่มที่ 4 Growing Up
เล่มที่ 7 Eco Issue
เล่มที่ 8 ออมแบบไม่อด
เล่มที่ 9 เกิดเป็นหญิง เล่มที่ 10 มีหลายสิง่ ให้คน้ หา พื้นที่สร้างสรรค์
เล่มที่ 15 รักต้องเซฟ
เล่มที่ 16 เล่มที่ 17 เทีย่ วช้า ๆ แบบชิล ๆ กินอยู่แบบไทย
เล่มที่ 18 สุขภาพดีวัยทำ�งาน
เล่มที่ 24 อยู่ร่วมกันอย่างใส่ใจ
เล่มที่ 26 ปลูก
เล่มที่ 5 Family Outing
เล่มที่ 6 ร่างกายดี หัวใจเป็นสุข
เล่มที่ 11 วัยรุ่นวุ่นเนอะ
เล่มที่ 12 ลด หวาน มัน เค็ม
ฉบับย้อนหลัง
ISSUE NO.14 /JANUARY 2014
เล่มที่ 13 เรือ่ งของ ผูช้ าย แต่ผหู้ ญิงควรรู้
เล่มที่ 14 สุขอยู่กับบ้าน ISSUE NO.22 / SEPTEMBER 2014
เล่มที่ 21 เล่มที่ 22 คิดดี พูดดี ทำ�ดี มีสุข Slow life
ISSUE NO.23 / OCTOBER 2014
เล่มที่ 23 รอดได้ เมื่อภัยมา
มาส่งต่อ “ความสุข” กันเถอะ กับโครงการส่ง
เล่มที่ 19 เล่มที่ 20 สนุกขยับ กระฉับกระเฉง ไทยไม่เฉย
ให้กัน
โครงการดี ๆ ที่ช่วยทำ�ให้สังคมนี้มี ความสุขมากขึน ้ เพียงร่วมเป็นผูส ้ ง ่ มอบ “ความสุ ข “ ไปถึ ง โรงเรี ย น องค์กร มูลนิธิ หรือแม้แต่คนที่คุณ รัก และห่วงใย ด้วยการสมัครสมาชิก นิตยสาร SOOK ให้กบ ั พวกเขา
เล่มที่ 25 ส่งสุขให้กัน
ร่วมสมัครสมาชิก "การอ่าน" เป็น รากฐานทีด ่ ขี อง ชีวต ิ
สมัครเข้าร่วมโครงการได้ทห่ี น้าสมัครสมาชิกภายในเล่ม หรือสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี sookmember@gmail.com หรือโทร. 02-116-9959
โครงการส่งสุขให้กน ั รับฟรี
หนังสือ “ชีวิตใหม่ ไร้พุง” (หนังสือมีจ�ำนวนจ�ำกัด)