SOOK Isuue 22-24

Page 1







01


make some surprise | เรื่องและภาพ : BUA

กระเป๋ายา จากกล่องนม

Mini First id Kit

ดืม่ นมหมดแล้ว อย่าทิง้ กล่องพลาสติกให้เสียเปล่า นำ�มาตัด ๆ พับ ๆ ให้กลายเป็นกล่องยา กันดีกว่า กล่องยาขนาดพอดี ทำ�ง่าย พกง่าย หยิบใช้สะดวก และเป็นการรีไซเคิลไปในตัวด้วย พร้อมแล้ว ลุยเลย!

14


sook idea | เรื่อง : แมงโก้ | ภาพ : Champ Teepagorn

e f a S g n i y a t S า ม ย ั ภ อ ่ ื ม เ ้ ด ไ ด รอ ใช่ว่าการพาตัวเองไปอยู่ในที่สุ่มเสี่ยงเท่านั้นที่ จะก่อให้เกิดอันตรายกับตัวเราได้ เพราะแท้จริง แล้วภัยอันตรายหลายรูปแบบอยู่ใกล้ตัวเรา กว่าที่คิด มีตั้งแต่ภัยในบ้าน ภัยในที่สาธารณะ ภัยจากการถูกปล้นจี้ ฉกชิงวิ่งราว ไปจนถึง ภัยที่เราไม่อาจควบคุมได้อย่างภัยธรรมชาติ หรือภัยจากโรคระบาด ซึ่งหากเรารู้วิธีรับมือ กับอันตรายทั้งหลายเหล่านี้ไว้ก็ไม่เสียหลาย นอกจากจะช่ ว ยตั ว เองได้ แ ล้ ว ยั ง อาจช่ ว ย ป้ อ งกั น ภั ย ให้ แ ก่ ค รอบครั ว และคนอื่ น ๆ ได้ ด้ วย เหมื อนวลี คุ ้ น หู ที่ เรามั กได้ ยิ น เสมอว่ า “ปลอดภัยไว้ก่อน” นั่นล่ะ การเตรียมพร้อม รับมือกับภัยต่าง ๆ จึงไม่ควรมองข้ามเลย

20


sook idea

าก ม จ ั ย ภ ากรร ญ อาช

ภัยประเภทนี้เกิดจากคนนอกที่เข้ามาบุกรุกบ้านหรือเข้ามาคุกคามตัวเรา เกิดขึ้นได้ ทั้งในบ้านอย่างการถูกโจรกรรม และเกิดขึ้นได้นอกบ้านอย่างการปล้นจี้ การฉกชิง วิง่ ราวขณะเดินถนน หรือการท�ำร้ายร่างกายในลานจอดรถ การรูว้ ธิ รี บั มือภัยชนิดนี้ จะช่วยลดความสุ่มเสี่ยงและความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับเราได้

วิธีรับมือป้องกันภัยที่ลานจอดรถ

เตรียมกุญเเจรถให้พร้อม ตัง้ แต่กอ่ นเดินไปทีล่ านจอดรถ

มองให้รอบ เดินให้ไว อย่าคุย โทรศัพท์ หรือให้รปภ.เดินไปส่ง

• เลือกสถานทีจ่ อดรถทีป่ ลอดภัย มีแสงสว่าง ใกล้ทางเข้าห้างฯ หรือใกล้ลฟิ ต์ • ทุกครัง้ ทีจ่ อดรถให้ขบั ถอยหลังเข้าซอง เพือ่ ให้รถหันหน้าออก พร้อมขับออกไปได้ทนั ทีเมือ่ เกิดเหตุกะทันหัน • เมือ่ อยูใ่ นลานจอดรถ ตรวจสอบจุดอับตามเสา เสาต้นใหญ่และ หลังรถให้ดี ควรดูให้แน่ใจว่าไม่มใี ครซุม่ อยู่ • ถ้ามีคนร้ายประชิดให้มสี ติ พยายามหาช่องว่างเพือ่ เอาตัวรอด ให้ได้ เช่น ใช้นิ้วจิ้มดวงตาของคนร้าย กัดบริเวณท้องแขน เตะต่อมลูกหมาก • เข้าคอร์สเรียนเทคนิคการป้องกันตัว หรือพกสเปรย์พริกไทย ติดไว้ในกรณีฉกุ เฉิน • หากรูต้ วั ว่าต้องเดินทางกลางคืนหรือเดินทางไปในทีเ่ ปลีย่ ว ควรพาคนทีไ่ ว้ใจได้ไปเป็นเพือ่ น

การป้องกันภัยจากการโจรกรรม

รีบขึน้ รถ ล็อครถ มองกระจกมองหลังว่าไม่มใี คร เเละรีบสตาร์ทรถออกทันที

26

• เมือ่ ออกจากบ้านหรือเข้านอน ควรล็อกประตูหน้าต่างทุกบานให้ แน่นหนา • ติดตัง้ ระบบป้องกันขโมย ซึง่ จะช่วยตรวจจับการเคลือ่ นไหวของ คนนอกที่เข้ามาในตัวบ้าน ระบบจะสั่งงานให้เปิดไฟทั้งในและ นอกบ้าน ซึ่งช่วยให้คนร้ายเข้าใจผิดว่ามีคนในบ้าน อาจท�ำให้ ล้มเลิกความตัง้ ใจทีจ่ ะบุกเข้าบ้านได้ • ติดตัง้ กล้องวงจรปิด เพือ่ ดูความเคลือ่ นไหวภายในบ้าน หรือใน กรณีทเี่ กิดการโจรกรรมขึน้ แล้ว วิดโี อทีก่ ล้องวงจรปิดบันทึกไว้ก็ ยังใช้เป็นหลักฐานในการสืบสวนหาคนร้ายได้ • เลีย้ งสุนขั เพราะสุนขั จะช่วยเตือนภัยได้เมือ่ มีคนแปลกหน้า บุกรุกเข้ามาในบ้าน • แจ้งรายงานกับยามประจ�ำหมูบ่ า้ นหรือต�ำรวจในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง เมือ่ พบเห็นคนน่าสงสัยทีม่ าด้อม ๆ มอง ๆ บริเวณบ้าน ที่มา : เตือนภัย !! ลานจอดรถ : คมชัดลึก ทีวี, หน่วยป้องกันปราบปรามการโจรกรรมทรัพย์สิน


าก ด จ ั ย ภ ะบา โรคร

ภัยชนิดนี้ก็เป็นสิ่งที่ควบคุมยากเช่นกัน ส่วนใหญ่มักเกิดจากความไม่สะอาดและ มีสัตว์เป็นพาหะน�ำโรค ภัยจากโรคระบาดเกิดขึ้นได้หลายช่องทาง ทั้งระบบทาง เดินอาหาร ทางผิวหนัง และทางเดินหายใจ แต่หากเรามีสุขอนามัยที่ดี ก�ำจัดต้น เหตุของโรคได้ รับประกันได้ว่าโรคระบาดจะมาเยือนเราได้ยากแน่นอน

ระวังภัยอย่างไรให้ได้ผล

ำ�้ ไมใ่ ชแ้ กว้ ้ นน อ ช ม ชา นั ปนก

ล้างมือ ให้สะอาด เมือ่ มาถึง ทีท่ ำ� งาน

องใช้ ามสะอาดข หมนั่ ทำ� ควม เชน่ โทรศพั ท์ สว่ นรว ดว้ ยทชิ ชเู่ ปยี ก ใหเ้ ชด็

‘กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือให้สะอาด’ หากป่ว่ ย ให้หยุดงาน และใส่ผา้ ปิดปาก ป้องกันเชือ้ โรค แพร่กระจาย

วิธีรับมือป้องกัน

• สร้างทัศนคติใหม่ในการรับมือกับภัย รูปแบบต่าง ๆ ว่า ต้องรู้

วิธชี ว่ ยเหลือตัวเองก่อนขอความช่วยเหลือผูอ้ นื่ หรือภาครัฐ แล้ว ค่อยช่วยเหลือคนรอบข้างและชุมชน • อย่าตื่นตกใจ เมือ่ เกิดเหตุ พยายามควบคุมสติให้ได้ • รู้เบอร์ฉุกเฉิน จดบันทึกเบอร์ฉกุ เฉินไว้ในจุดทีม่ องเห็นง่าย • หมั่นตรวจตราสิ่งต่าง ๆ รอบบ้าน เช่น ระเบียง รัว้ หลังคา ราง ระบายน�ำ้ สายไฟ หากช�ำรุด ควรซ่อมให้แข็งแรง • มีแผนรับมือภัยฉุกเฉินระดับครอบครัว และระดับชุมชน อาจ ลองฝึกซ้อมจ�ำลอง สถานการณ์จริงก็ได้ • เตรียมกระเป๋าฉุกเฉินไว้เสมอ อย่างน้อยต้องมีนำ�้ และอาหารแห้ง ส�ำหรับ 2 สัปดาห์ (อ่านรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทคี่ อลัมน์ Learn something new หน้า 44-45) • สร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี บั เพือ่ นบ้าน เพือ่ ช่วยสอดส่องดูแลบ้าน ของกันและกัน และคอยช่วยเหลือเมือ่ เกิดเหตุฉกุ เฉินได้ • ศึกษาวิธปี ฐมพยาบาลเบือ้ งต้น หรือฝึกใช้เครือ่ งมือทีจ่ �ำเป็น เช่น อุปกรณ์ดบั เพลิง • เรียนรู้ศิลปะป้องกันตัวเอง ลองจ�ำลองสถานการณ์ แล้วฝึกใช้ วิธปี อ้ งกันตัว • หมัน่ สังเกตสิง่ รอบตัว เพือ่ ลดโอกาสทีม่ จิ ฉาชีพจะเข้ามาประชิดตัว • เมือ่ เกิดภัยธรรมชาติ ควรรับสื่ออย่างมีสติ อย่าเชือ่ ข่าวโคมลอย

• เอาใจใส่ปอ้ งกันตัวเอง หากพบอาการผิดปกติ ควรรีบพบแพทย์ทนั ที • ยึดหลัก ‘กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือให้สะอาด’ เพือ่ ลดความเสีย่ งที่ จะติดโรค • รักษาสุขภาพให้แข็ง กินอาหารที่มีประโยชน์ • ออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ • นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ • หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้ป่วย ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน • หากตัวเองเป็นผูป้ ว่ ย ให้หยุดงานหรือหยุดเรียนก่อน และสวม หน้ากากป้องกัน เพือ่ ป้องกันไม่ให้เชือ้ โรคแพร่กระจาย • ติดตามข่าวสารเกีย่ วกับโรคติดต่อและปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด ที่มา : มูลนิธิหมอชาวบ้าน

27


60


01


sook idea

คืออะไร ผู้ริเริ่มใช้ค�ำนี้ คือ สถาปนิกชาวอเมริกัน Ronald L. Mace ที่ให้นิยาม ของ Universal Design ว่า เป็นการออกแบบสิ่งของและสภาพแวดล้อมที่มี ทั้งความงาม ง่ายต่อการใช้งาน และเกิดประโยชน์สูงสุดส�ำหรับทุกคน ไม่ว่า จะเป็นคนทั่วไป ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยพักฟื้น สตรีมีครรภ์ เด็ก และผู้ที่มี ร่างกายอ่อนแอ

แม้ว่าแรกเริ่มในปี 1990 Universal Design จะเป็นการออกแบบ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้สูงอายุและคนทุพพลภาพ แต่หลังจากนั้น นิยามของค�ำว่า Universal Design ก็กินความกว้างขึ้น หมายรวมถึงการ ออกแบบส�ำหรับทุกคนที่อยู่ร่วมในสังคมเดียวกัน

ข้อดีของ Universal Design

เพิ่มความเท่าเทียม ให้แก่ทุกคนใน สังคม ทำ � ให้ ทุ ก คนเข้ า ถึ ง สิ่ ง อำ � นวย ความสะดวกได้

เป็นการออกแบบที่ คำ�นึงถึงผู้ใช้ตั้งแต่ ต้นกระบวนการ

จึงรับประกันได้วา่ ทุกคนจะได้ใช้ สินค้าทีด่ ี อยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีด่ ี

เพิ่มความปลอดภัย และความเป็น ระเบียบให้บ้านเมือง

สร้างภาพลักษณ์ ที่ดีแก่เมือง

ว่าเมืองนั้น ๆ มีความใส่ใจเรื่อง ความสะดวกสบายของชาวเมือง และนักท่องเทีย่ วทีแ่ วะเวียนมา

อย่าคิดว่า Universal Design คือการเอื้อประโยชน์ต่อคนแก่ คนพิการ ผู้ป่วย และคนที่บาดเจ็บเท่านั้น แต่คนที่จะได้รับความสะดวกสบายจากการออกแบบนี้ยังรวมถึงคนปกติทั่วไป เด็ก ชาวต่างชาติ รวมถึงผู้ที่มีความ สูงหรือรูปร่างต่างจากเกณฑ์มาตรฐานด้วย เพราะการออกแบบตามมาตรฐาน Universal Design เน้นความเข้าใจ ง่าย ใช้งานง่าย ผลพลอยได้ที่ตามมายังท�ำให้บ้านหรือเมืองที่เราอยู่ปลอดภัยและเป็นระเบียบมากขึ้นด้วย 20


ความยืดหยุ่น ข้อมูลชัดเจน ความเสมอภาค ทุกคนเข้าถึงสิง่ อำ�นวยความ สะดวกได้เท่าเทียมกัน เช่น ทางลาดสำ�หรับเข็นรถเข็น เข้าลิฟต์หรือตัวอาคาร

ปรับการใช้งานให้เข้ากับทุกคนได้ เช่ น ระบบโทรศั พ ท์ ที่ แ ปลงเสี ย ง เป็นข้อความผ่านหน้าจอได้ ก๊อกน้ำ� หรื อ ชั ก โครกที่ เ ปิ ด -ปิ ด ด้ ว ยระบบ เซ็นเซอร์

สือ่ สารข้อมูลทีจ่ �ำ เป็นได้ครบ ถ้วน เช่น แผนที่ขนาดใหญ่ที่ ระบุเส้นทางและสถานที่ได้ ละเอียดชัดเจน

ช่วยทุ่นแรง

ขนาด และสถานที่ ที่เหมาะสม

ทำ � ให้ ไ ม่ ต้ อ งออกแรง มาก เช่น ประตูอัตโนมัติ

เช่ น ห้ อ งน้ำ � สำ � หรั บ คน พิการที่กว้างขวางพอจะ หมุนหรือกลับรถเข็นได้

ระบบป้องกัน อันตราย ลดความเสี่ ย งที่ จ ะได้ รั บ อุบัติเหตุ เช่น กรรไกรสำ�หรับ คนถนัดซ้าย การกั้นพื้นที่เขต ก่อสร้าง

ใช้งานง่าย และเข้าใจง่าย

สื่อสารได้แบบสากล ไม่มีข้อจำ�กัด เรื่ อ งภาษา ความรู้ และทั ก ษะ เช่ น ระบบนั บ ถอยหลั ง สั ญ ญาณ ไฟบริเวณสี่แยก บัตรรถไฟฟ้าที่มี รอยเว้าเพื่อให้คนตาบอดทราบว่า ต้องสอดเข้าทางไหน 21


LEARN SOMETHING EVERYDAY | เรื่อง : BUA

al Mate s r e v i ria n l U

and Equipment

ปรับที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัยสำ�หรับทุกคน วัสดุและอุปกรณ์ทางเลือกสำ�หรับทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ หมาะสำ�หรับทุกคน เพือ่ ให้ทอี่ ยูอ่ าศัยเป็นมิตรกับคนให้มากทีส่ ดุ นอกจากจะมี สภาพแวดล้อมที่ดี สะอาด และมีสิ่งอำ�นวยความสะดวกอย่างพอเพียงแล้ว สิ่งที่ควรคำ�นึงถึงเพิ่มเติมคือ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้อาศัยมีความสะดวก ปลอดภัย และอุ่นใจมากยิ่งขึ้น

พื้น

พื้นที่ไม่เหมาะสมกับคนและการใช้งาน อาจทำ�ให้เกิดอุบตั เิ หตุได้งา่ ย ควรเลือกให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม

พื้นสำ�หรับภายนอก

กระเบื้องคอนกรีตหรือบล็อกคอนกรีต ใช้สำ�หรับทางเดิน ระเบียง ลานจอดรถ ลานเอนกประสงค์ หินอ่อน หินแกรนิต ปูพื้นในส่วนที่รับน้ำ�หนักไม่มากนัก

พื้นไม่ลื่นปื้ด พื้นที่ดีต้องมีความเรียบเสมอกัน อาจมีพื้นผิวขรุขระเล็กน้อย ป้องกันการลื่นล้ม และควรที่จะทำ�ความสะอาดง่าย สำ�หรับบ้าน ทีม่ ผี สู้ งู อายุ เลือกวัสดุปพู นื้ ให้มสี ตี า่ งจากเครือ่ งเรือนและผนัง เพือ่ ให้สามารถแยกแยะวัตถุหรือกะระยะได้ง่าย

ตัวช่วยกันลื่น วัสดุที่จะช่วยสร้างความปลอดภัยให้กับพื้นได้มากขึ้น

เทปกันลื่น

ไม้ระเบียง ไม้ระแนง ปูทางเดิน พื้นสวน ระเบียงบ้าน ริมสระน้ำ�

สามารถป้องกันการลื่นไถลได้ดี เหมาะกับการ ติดตัง้ เฉพาะจุด เช่น บริเวณทีย่ นื อาบน้ำ�หรือหน้า สุขภัณฑ์ ขอบลูกนอนของบันได เป็นต้น

ทรายล้าง ปูทางเดิน พืน้ สวน ระเบียงบ้าน ริมสระน้ำ� ข้อดีคอื ไม่ลน่ื แต่ดแู ลรักษายาก

น้ำ�ยากันลื่น

เป็นตัวยาทีใ่ ช้เคลือบพืน้ ทีล่ นื่ ง่ายหรือมันเงาให้มี ความฝืดขึน้ หากใช้กบั พืน้ เซรามิกหรือหินแกรนิต ที่มีสีเข้มมาก สีอาจจางลงได้

พื้นสำ�หรับภายใน

กระเบื้องแกรนิตโต้ ปูพื้นในบ้าน ทนทาน ดูแลรักษาง่าย ไม้จริงและไม้ลามิเนต เหมาะกับพื้นที่ต้องการกันลื่น ไม่บาดเท้า 46

Tips

หลีกเลี่ยงการใช้พื้นปูนในบ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูง อายุนอนบนพื้นปูนเปลือย เนื่องจากพื้นมีความชื้น ส่งผลเสียต่อสุขภาพได้


HANG out | เรื่อง : กลางใจ | ภาพ : บุ๋ม

ื่ งเก่า บอกเล่าอดีต ี นรเู้ รอ เรย

พิพิธบางลำ�พู

ชุมชนเก่าแก่อย่าง “บางลําพู” เป็นย่านการค้าที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติและ วัฒนธรรม ความคึกคักของย่านเก่านั้นจึงเต็มไปด้วยเรื่องราวมากมายให้ชวนค้นหา ใครอยากรู้จักชุมชนแห่งนี้ให้มากไปกว่านี้ การพลิกหน้าหนังสืออ่าน “พิพิธบางลําพู” คือสถานที่ที่จะทําให้เราได้เข้าถึงแก่นแท้ของชุมชนบางลําพูได้อย่างสนุกสนาน 50


60


สมัครสมาชิก / ต่ออายุสมาชิก / สั่งซื้อย้อนหลัง / ร่วมโครงการส่งสุขให้กัน แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (แบบฟอร์มนีส้ ามารถถ่ายส�ำเนาได้) ชือ่ / นามสกุล ............................................................................................................................... อายุ................................................... วันเกิด.................................อาชีพ....................................... โทรศัพท์ / มือถือ.................................................อีเมล.................................................................. สถานทีจ่ ดั ส่ง (ทีอ่ ยู)่ ........................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... สมัครสมาชิก /

ต่ออายุสมาชิก

รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท (ฉบับละ 30 บาท) เริ่มตั้งแต่ฉบับที่.................... รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท (ฉบับละ 30 บาท) และรับเพิ่มฟรีอีก 1 ฉบับ เริม่ ตัง้ แต่ฉบับที.่ ...................................

ถ้าไม่อยาก พลาด

ความสุข ทุกเดือน

สมัครสมาชิก นิตยสาร

โครงการส่ง SOOK ให้กนั

รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท ฟรีค่าจัดส่ง รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท ฟรีค่าจัดส่ง ให้กบั .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................

ฟรี ค่าจัดส่ง

1 ปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท

สัง่ ซือ้ ย้อนหลัง

ครึ่งปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท แถมฟรีเพิ่มอีก 1 ฉบับ

เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 1-25 ราคาเล่มละ 20 บาท) เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 26 ราคาเล่มละ 30 บาท)

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ..................................... บาท (ฟรีค่าจัดส่ง)

โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพือ่ สมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK (กรุณาระบุสาขาธนาคาร) ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 ( ในกรณีที่ไม่ได้ระบุฉบับแรกที่ต้องการ ทางเราขออนุญาตส่งนิตยสารฉบับถัดจากเดือนที่คุณสมัครไปให้ )

โปรดให้ความเห็นอันมีค่ายิ่งต่อเรา

คุณรูจ้ กั SOOK ได้อย่างไร .......................................................................................................... ความรูส้ กึ ของคุณต่อนิตยสาร SOOK ......................................................................................................................................................... คุณเลือกซือ้ นิตยสาร SOOK อ่าน เพราะเหตุผลอะไร ......................................................................................................................................................... คอลัมน์ทช่ี น่ื ชอบคือ เพราะอะไร ............................................................................................. อยากรูเ้ รือ่ งอะไรเกีย่ วกับสุขภาพ .............................................................................................. คุณมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม หรือเวิรค์ ช็อปประเภทใด ......................................................................................................................................................... คำ�แนะนำ� ติชม สิง่ ทีอ่ ยากให้ปรับปรุงและเพิม่ เติม ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 56

ัคร เฉพาะผู้ที่สม ี สมาชิกรายป

ใจ

รับกระเป๋าสุข

ัด

มีจ�ำนวนจ�ำก

ขัน้ ตอนการชำ�ระเงิน

ฟรี

• โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพื่อสมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK - ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 - ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 • ส่งแบบฟอร์มสมัครสมาชิก พร้อมหลักฐานใบโอนเงินมาที่ บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230 หรือ ส่งแฟกซ์ 02-116-9958 หรือ ส่งอีเมล sookmember@gmail.com • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นิตยสาร SOOK โทร. 02-116-9959 10.00 - 18.00 น.)


มีความสุข ย้อนหลัง กันได้นะจ๊ะ.

SOLD

OUT

เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เมนูกชู้ พี สุดประหยัด ความสุขมีไว้แบ่งกัน

เล่มที่ 3 Love Issue

เล่มที่ 4 Growing Up

เล่มที่ 7 Eco Issue

เล่มที่ 8 ออมแบบไม่อด

เล่มที่ 9 เกิดเป็นหญิง เล่มที่ 10 มีหลายสิง่ ให้คน้ หา พื้นที่สร้างสรรค์

เล่มที่ 15 รักต้องเซฟ

เล่มที่ 16 เล่มที่ 17 เทีย่ วช้า ๆ แบบชิล ๆ กินอยู่แบบไทย

เล่มที่ 18 สุขภาพดีวัยทำ�งาน

เล่มที่ 24 อยู่ร่วมกันอย่างใส่ใจ

เล่มที่ 26 ปลูก

เล่มที่ 5 Family Outing

เล่มที่ 6 ร่างกายดี หัวใจเป็นสุข

เล่มที่ 11 วัยรุ่นวุ่นเนอะ

เล่มที่ 12 ลด หวาน มัน เค็ม

ฉบับย้อนหลัง

ISSUE NO.14 /JANUARY 2014

เล่มที่ 13 เรือ่ งของ ผูช้ าย แต่ผหู้ ญิงควรรู้

เล่มที่ 14 สุขอยู่กับบ้าน ISSUE NO.22 / SEPTEMBER 2014

เล่มที่ 21 เล่มที่ 22 คิดดี พูดดี ทำ�ดี มีสุข Slow life

ISSUE NO.23 / OCTOBER 2014

เล่มที่ 23 รอดได้ เมื่อภัยมา

มาส่งต่อ “ความสุข” กันเถอะ กับโครงการส่ง

เล่มที่ 19 เล่มที่ 20 สนุกขยับ กระฉับกระเฉง ไทยไม่เฉย

ให้กัน

โครงการดี ๆ ที่ช่วยทำ�ให้สังคมนี้มี ความสุขมากขึน ้ เพียงร่วมเป็นผูส ้ ง ่ มอบ “ความสุ ข “ ไปถึ ง โรงเรี ย น องค์กร มูลนิธิ หรือแม้แต่คนที่คุณ รัก และห่วงใย ด้วยการสมัครสมาชิก นิตยสาร SOOK ให้กบ ั พวกเขา

เล่มที่ 25 ส่งสุขให้กัน

ร่วมสมัครสมาชิก "การอ่าน" เป็น รากฐานทีด ่ ขี อง ชีวต ิ

สมัครเข้าร่วมโครงการได้ทห่ี น้าสมัครสมาชิกภายในเล่ม หรือสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี sookmember@gmail.com หรือโทร. 02-116-9959

โครงการส่งสุขให้กน ั รับฟรี

หนังสือ “ชีวิตใหม่ ไร้พุง” (หนังสือมีจ�ำนวนจ�ำกัด)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.