1
happy give & share |
เรื่อง: เกี๊ยวกุ้ง ภาพ: จิรพงศ์ ไชยอัมพร
ฉัตรศนัน มาสว่างไพโรจน์ พลังบวก สรรค์สร้างสังคม
"งานที่พี่ทำ�ไม่มีลิขสิทธิ์ อยากให้ลอกเลียนแบบ กันเยอะ ๆ เรื่องการคัดแยกขยะ เป็นทุกบ้าน เป็นทุก คนยิ่งดี ปริมาณขยะจะได้ลดลง" จากจุดเริ่มต้นของแรงบันดาลใจที่อยากตอบแทนพระคุณอันใหญ่หลวงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว บวกกับโอกาสและจังหวะที่เข้ามาแบบ ไม่ทันตั้งตัว ท�ำให้คุณปุ๊ - ฉัตรศนัน มาสว่างไพโรจน์ สานต่อและทุ่มเท ด้วยความตั้งใจจริง จนกลายเป็นธนาคารขยะออมทรัพย์และศูนย์แปรรูป วัสดุเหลือใช้ที่ส�ำเร็จเป็นรูปเป็นร่างภายใต้ชื่อ “รวมมิตร 2011” นอกจาก แปรเปลี่ยนขยะที่หลายคนมองว่าไม่มีประโยชน์ให้เป็นเม็ดเงิน ยังช่วยปลุก จิตส�ำนึกให้ทุกคนหันมาช่วยกันแยกขยะอย่างถูกวิธี เพื่อให้โลกใบนี้น่าอยู่ และกลายเป็นสังคมแห่งการเกื้อกูลกัน ท�ำด้วยหัวใจ เป็นเวลา 2 ปีแล้วที่รวมมิตร 2011 ด�ำเนินงานในรูปแบบธนาคารขยะ ออมทรัพย์อย่างเป็นรูปธรรมภายในชุมชน ทั้งยังมอบองค์ความรู้ให้กับทุกคน ทุกหน่วยงานที่สนใจ โดยมีผู้หญิงตัวเล็ก ๆ หรือที่หลายคนเรียกติดปากว่า “คุณปุ๊” ด�ำเนินงานอย่างมุ่งมั่นไม่ย่อท้อ ซึ่งจุดเริ่มต้นนั้นเกิดขึ้นเมื่อปี 2553 ที่บ้านเมืองเต็มไปด้วยเหตุการณ์วุ่นวาย แต่ชั่วโมงว่างที่ต้องหยุดงานโดยไม่ได้ ตั้งใจกลับก่อเกิดพลังความคิดสร้างสรรค์ที่น�ำมาซึ่งโครงการดี ๆ ในวันนี้ “ตอนนั้นเป็นมนุษย์เงินเดือนแล้วต้องหยุดงาน เปิดทีวีแล้วไปเจอ รายการที่น�ำเสนอพระราชกรณียกิจของในหลวง เรารู้สึกว่าพระองค์ท�ำอะไร 16
ให้ประชาชนมากมาย คิดไว้เลยว่าถ้าเหตุการณ์สงบจะตอบแทนพระคุณของ ในหลวง พอปลายปีนนั้ ได้มโี อกาสไปเรียนการเขียนแผนธุรกิจของผูป้ ระกอบการ SME ของธนาคารกสิกรไทย แล้วมีโอกาสเขียนแผนธุรกิจเพื่อสังคมด้าน สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชุมชนเข้าประกวดในโครงการพลังเปลี่ยนแปลง เพื่อสังคมของบมจ.บ้านปู ตอนนั้นเราหาข้อมูลแล้วพบว่า ปัญหาขยะล้นเมือง เป็นปัญหาใหญ่ เลยอยากเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส ก็เขียนแผนธุรกิจเรื่อง การจัดตั้งธนาคารขยะออมทรัพย์ เพื่อส่งเสริมวินัยคัดแยกขยะสู่การออมทรัพย์ และก็ได้รบั เงินทุนสนับสนุนมา อีกทัง้ ได้ขอค�ำปรึกษากับ ผศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต ในการด้านการน�ำวัสดุเหลือใช้มาแปรรูปเป็นสินค้า และท่านก็เป็นที่ปรึกษาให้ ในหลายเรื่อง ในที่สุดรวมมิตร 2011 ก็เกิดขึ้น ที่ใช้ชื่อนี้เพราะอยากให้มองขยะ เป็นรวมมิตรที่มีของหลายอย่างรวมกัน และรวมคนดี ๆ ที่เป็นมิตรเอาไว้ ที่นี่ไม่ใช่ร้านรับซื้อของเก่า ทุกคนที่มาต้องคัดแยกขยะก่อนถึงจะน�ำมาร่วม กิจกรรมกับรวมมิตร 2011เพื่อน�ำไปเป็นเงินออมหรือเพื่อแปรรูปเป็นสินค้า สู่การสร้างอาชีพก็ได้แล้วแต่ความต้องการของแต่ละคน” เพิ่มมูลค่าให้ขยะ รูปแบบการด�ำเนินการของธนาคารขยะออมทรัพย์นั้นเหมือนกับธนาคาร ทั่วไป เพียงแต่เปลี่ยนจากตัวเงินเป็นขยะที่ผ่านการคัดแยกและท�ำความสะอาด
infographics เรียบเรียงและภาพ : พิมพ์ยม้ิ พิมพ์ใจ
22
sook idea | เรื่อง : ดาวิษ ชาญชัยวานิช | ภาพ : ออกแบบสุข
Let’s Paint the World Green คงจะเป็นที่ชัดเจนว่าสภาพอากาศของโลกเรานั้นร้อนขึ้นทุกปี ๆ เร็ว ๆ นี้ยังมีสารคดีเกี่ยวกับ ขั้นตอนที่จำ�เป็นในการเปลี่ยนสภาพบรรยากาศของดาวอังคารให้เหมาะสมกับการอยู่อาศัย เผื่อในอนาคตชาวโลกอาจต้องย้ายไปตั้งอาณานิคมกันบนนั้น แต่จะว่าไปแล้ว การรักษาดาวที่เป็นสีเขียว ชอุ่มอยู่แล้วให้เขียวดังเดิม มันจะไปยากกว่าการเปลี่ยนดาวสีแดงให้กลายเป็นสีเขียวได้อย่างไร เพราะฉะนั้นเราก็มาเริ่มทาสีโลกของเราให้เป็นสีเขียวกันเลยดีกว่า เริ่มจากในบ้านของเรานี่ล่ะ ยัง... คุณผู้อ่านอย่าเพิ่งหยิบสีทาบ้านกับแปรงออกมา การทำ�บ้านให้เป็นสีเขียวนั้นไม่ได้ เกี่ยวข้องอะไรกับการทาสีบ้านใหม่เลย หากแต่เกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน การปรับระบบ นิเวศน์ภายในบ้านให้อิงกับธรรมชาติ และการลดปริมาณคาร์บอนที่เกิดขึ้นภายในบ้าน ... แม้จะฟังดูเป็นเรื่องยากและเต็มไปด้วยคำ�ศัพท์หรู ๆ ที่น่าจะเอาไปใช้เฉพาะในการประชุมทาง วิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่วิธีทำ�นั้นง่ายแสนง่าย 25
Recycle Zone ้ งแยกขยะรีไซเคิล หอ
การแยกขยะรีไซเคิลภายในบ้านนั้น นอกจากจะทำ�ให้บ้านของเราเป็นสีเขียว มากขึ้นและโลกเย็นลงบ้างแล้ว เรายังจะ ได้รับค่าตอบแทนเล็ก ๆ น้อย ๆ จากการ ทำ�ให้โลกเย็นอีกต่างหาก หาพื้นที่ว่าง ๆ ภายในบ้านหรือห้อง เก็บของเล็ก ๆ เอาลังกระดาษใบใหญ่มา ตั้งไว้ 3 ลัง ลังแรกแปะป้ายกระดาษ ลังที่ สองแปะป้ายพลาสติก ลังที่สามแปะป้าย กระป๋องโลหะ แค่นี้เราก็มีฐานทัพสำ�หรับต่อสู้กับ ภาวะโลกร้อนแล้ว เมื่อจะทิ้งขยะใดในคราวหน้า ให้แยก ขยะ 3 ประเภทนี้ลงในลังที่จัดเตรียมไว้ เสมอ
ทุก ๆ ปลายเดือนให้ขนขยะใส่รถไป ขายตามร้านที่รับซื้อหรือโรงแยกขยะแห่ง ต่าง ๆ โดยเฉลี่ยแล้ว ขยะที่เกิดจากสมาชิก คนหนึ่งในบ้านจะสามารถขายได้เป็น เงินราว ๆ 100 บาทต่อเดือน ดังนั้นหาก สมาชิกทุกคนช่วยกันแยกขยะภายในบ้าน เราอาจมีรายได้เพิ่มขึ้นถึงเดือนละ 500 บาทฟรี ๆ ! เลยทีเดียว หากทำ�ไปนาน ๆ เข้า เราจะสามารถ คัดแยกขยะได้อย่างละเอียดขึ้น ลังขยะ ของเราจะมีความหลากหลายมากขึ้น และ รายได้จากการคัดแยกขยะรีไซเคิลของเรา ก็จะเพิ่มสูงขึ้นด้วยเช่นกัน
ราคารับซื้อขยะ รีไซเคิลโดยประมาณ
กระดาษหนังสือพิมพ์
กิโลกรัมละ 3 บาท กระดาษแข็งกล่องน้ำ�ตาล กิโลกรัมละ 3.5 บาท กระดาษขาว – ดำ� กิโลกรัมละ 6 บาท ขวดพลาสติก PET ใส กิโลกรัมละ 12 บาท ขวดน้ำ� HDPE สีขาวขุ่น กิโลกรัมละ 17 บาท กระป๋องอะลูมิเนียม (กระป๋องน้ำ�อัดลม) กิโลกรัมละ 29 บาท
27
60
1
infographics เรียบเรียงและภาพ : cocoon
นั
ฟ
ิ พ อ ื ย ตด ฟ เ น มุ่
ที่มา : ผลการสำรวจเศรษฐกิจและสภาวะของสังคมครัวเรือน ป 2554 สำนักงานสถิติแหงชาติ และการออมภาคครัวเรือนของไทย จะเปนอยางไรในป 2555 โดยสวนนโยบายการออมและการลงทุนในภาพรวม สำนักนโยบายการออมและการลงทุน
ห นี้สิน
“ทำไมคนไทยรวยยาก” เตือนตัวเองให้รู้จักอดออม ด้วยการ สํารวจสถานภาพทางการเงิน การใช้จ่าย และนิสัยฟุ่มเฟือยสร้างหนี้ของคนไทย
สถานะการเงินของครอบครัวคนไทยต่อเดือน เฉลี่ย
เฉลี่ย
23,236
รายได้
อันดับ 1
บาท
ม
อ เงินอ
อันดับ 2
ที่อยู่อาศัย และเครื่องใช้ในบ้าน
อันดับ 3
18.9% าง การเดินท และ ะ ยานพาหน
6
อันดับ
ค่าใช้จ่าย ของคนไทย ต่อครัวเรือน
เฉล
5,83ี่ย 3 บาท
บาท
33.6% 20.4% อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ
17,403
ค่าใช้จ่าย
อันดับ 4
11.9%
ค่าภาษี ของขวัญ ประกันภัย หวย สลากกินแบ่งรัฐบาล และดอกเบี้ย
อันดับ 5
6.1%
อันดับ 6
3.1%
การสื่อสาร
ของใช้ส่วนตัว และ เครื่องนุ่งห่ม
อันดับต่อมาคืิอ สิ่งบันเทิงและการจัดงานพิธี 1.9%
การศึกษา 1.6%
เวชภัณฑ์และ ค่ารักษาพยาบาล 1.5%
กิจกรรมทางศาสนา 1.0%
ที่มา: ผลการสำรวจเศรษฐกิจและสภาวะของสังคมครัวเรือน ป 2554 สำนักงานสถิติแหงชาติ
20
เรื่อง : ดาวิษ ชาญชัยวานิช | ภาพ : ออกแบบสุข | sook idea
MONEY
SAVING i d
e
a
s
ไอเดย ้ งอด ี ออมเงน ่ อ ิ แบบไมต การ “ออม” เงินนั้นไม่จำ�เป็นต้อง “อด” จนถึงขั้นอยู่ยากเสมอไป หากเราเพียงแต่มีระบบ จัดการเงินที่ดีและรู้จักมีสติ ไม่หลงกลไปติดกับดักที่หลอกล่อและนำ�พาให้เราใช้จ่ายเกิน กำ�ลัง เราก็สามารถมีเงินออมเพื่อสำ�รองไว้ใช้จ่ายยามฉุกเฉินและใช้สร้างอนาคตได้แล้ว จะว่าไปหลายคนยอม “อดอยากปากแห้ง” และเป็นหนี้ เพราะ “อดใจ” ใช้จ่าย ฟุ่มเฟือยไม่ไหวต่างหาก เพราะฉะนั้นเรียกสติกลับคืนมา แล้วลองค่อย ๆ บริหารการใช้จ่าย ของเราใหม่ เพื่อสร้างความสุขทางการเงินในวันข้างหน้า 25
รู้ใช้ กฎ 5 ข้อ ช่วยให้เงินออกจากกระเป๋าอย่างคุ้มค่า
1
ตั้งงบก่อนใช้ เป็นเสมือนกับการบังคับให้
“คิดก่อนซื้อ” 2 เปรียบเทียบก่อนซื้อ เปรียบเทียบ ราคาสินค้า ปริมาณ และคุณภาพ
4 ใช้น้อยกว่าหาได้ สั้น ๆ ง่าย ๆ แต่ขอ 5
3 บันทึกรับ-จ่ายสม่ำ�เสมอ เพื่อเห็นพฤติกรรมการจ่ายของตัวเอง
ให้ท่องไว้ในใจเสมอ ถ้าไม่อยากเป็นหนี้
ไม่ใช้ไม่ซื้อ อย่าหลงกล “โปรโมชั่น” ลด แลก แจก แถม เพราะถ้ายังไม่ใช้ตอนนี้จะซื้อไปทำ�ไม!! ทำ�ให้ครบ 5 ข้อนี้ รับรองว่า อยู่รอดปลอดภัย ไม่จน!
นิสยั การใช้เงิน บอกทางเดินชีวติ หาเงินเท่าไรอาจไม่ส�ำ คัญ สำ�คัญ ทีว่ า่ ใช้อย่างไรต่างหาก เงินจะพอ หรือไม่พอ จะมีเงินออมหรือหนี้ พอกพูน ขึน้ อยูก่ บั “นิสยั การใช้ เงิน” ของแต่ละคน
นิสัยการใช้เงิน
ทางเดินชีวิต
หาได้ 100 ใช้ 120 แล้วยังหยิบยืมชาวบ้าน หาได้ 100 ใช้ 120 หาได้ 100 ใช้ 100 ไม่มีเก็บ หาได้ 100 ใช้ 90 อีก 10 เป็นเงินออม หาได้ 100 ใช้ 80 อีก 20 เป็นเงินออม หาได้ 100 ใช้ 50 โดย 20 เป็นเงินออม อีก 30 นำ�ไปลงทุน
ยาจก ผู้ล้มละลาย!! เป็นหนี้ตลอดชีวิต ยังจน... ไม่มั่นคง แต่ไม่มีหนี้ ชนชั้นกลาง รวยดี มีความมั่นคง อุ๊ย...เศรษฐี นี่นา!
วิตกกังวลเรื่องเงิน ๆ ทอง ๆ เสมอ ใบเเจ้งหนี้ของเดือนถัดไปมาแล้ว แต่ของเก่ายังไม่ได้จ่าย
สัญญาณ เตือนภัย ว่ากำ�ลัง ใช้จา่ ยเกินตัว
ต้องหมุนเงินเป็นประจำ� ทั้งยืมคนอื่นและกดเงินสดจากบัตรเครดิต แทบไม่มีเงินเหลือหลังจากรับเงินเดือน เพราะได้มาก็ต้องไปจ่ายหนี้ ชำ�ระเงินเกินกำ�หนดบ่อย ๆ มาพร้อมกับจดหมายเตือนว่า ชำ�ระล่าช้า ต้องหารายได้เสริมเพื่อนำ�เงินมาชำ�ระหนี้ ไม่ตอ้ งตกใจ! แต่ให้ระวังตัว เพราะเราทุกคนคงเคยพบสัญญาณเหล่านีก้ นั มาบ้างสักข้อ สองข้อ แต่ถา้ ของใคร “ถูกทุกข้อ” เข้าขัน้ สาหัส!! รีบแก้ไข และสร้างวินยั การใช้เงินโดยด่วน
28
รู้ขยายดอกผล บริหารเงินเก็บให้งอกเงย
เงินเก็บในรูปแบบการลงทุน เช่น การซื้อกองทุนต่าง ๆ พันธบัตร หรือแม้กระทั่งซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์เก็บไว้ก็ได้ เป็นส่วนที่เรา พยายามนำ�ไปสร้างผลตอบแทนสูง ๆ โดยยอมรับความเสี่ยงได้ปานกลาง
ทางเลือกต่าง ๆ ในการลงทุน
• กองทุนต่าง ๆ มีหลายประเภท • ประกันชีวติ แบบสะสมทรัพย์
• ทองคำ� สำ�หรับผู้ที่ต้องการซื้อทองคำ�เพื่อ
การลงทุนนัน้ ควรซือ้ เป็นทองคำ�แท่ง เพราะไม่เสีย ค่ากำ�เหน็จ ความเสีย่ ง : สูงคล้ายหุน้ สภาพคล่อง : ปานกลาง เพราะต้องนำ�ไปขาย เพือ่ แลกเงินกลับมา
คล้าย ๆ กับฝากประจำ� แต่ระยะเวลาในการ ส่งนาน แม้จะได้ดอกเบีย้ น้อยแต่มขี อ้ ดีคอื ได้ รับสิทธิ์ “ความคุม้ ครอง” หากผูท้ �ำ ประกัน เกิดเสียชีวติ ในระยะเวลาคุม้ ครอง คนทีอ่ ยู่ ข้างหลังจะได้รบั เงินค่อนข้างสูง ความเสีย่ ง : ต่�ำ สภาพคล่องตัว : น้อยมาก เพราะจะได้ รับเงินคืนเมือ่ ครบกำ�หนดเวลาเท่านัน้
มาก แต่กองทุนทีแ่ นะนำ�คือ กองทุน ประเภท LTF หรือ RMF เพื่อประโยชน์ใน
การลดหย่อนภาษี กองทุนจะนำ�เงินไปลงทุน และ ถ้าหากกองทุนได้กำ�ไร ก็จะนำ�มาแบ่งกับผู้ถือหุ้น ด้วย แต่ถ้าหากกองทุนขาดทุน ผู้ถือหุ้นก็จะขาดทุน ไปด้วย ฉะนั้น ผู้ที่จะซื้อกองทุนควรมีความรู้ทาง ด้านการเงินและติดตามข่าวเศรษฐกิจบ้าง ความเสีย่ ง : น้อยถึงมาก ขึน้ อยูก่ บั ประเภท การลงทุน สภาพคล่อง : ปานกลาง ขึน้ อยูก่ บั การลงทุน ของกองทุน
แบบทดสอบก่อนสร้างหนี้ “หนี้” คือ ศัตรูของการออม
ปัจจุบัน “หนี้” เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก ใครที่กำ�ลังจะสร้างหนี้ขึ้นมา ควรไตร่ตรองให้ดีว่า เรามีความจำ�เป็นในการสร้างหนี้เเค่ไหน และมีความสามารถในการจ่ายหนี้ได้หรือเปล่า
ตอบคำ�ถาม เพื่อหยุดคิด
A
B
เรากำ�ลังเป็นหนี้เพราะความ “จำ�เป็น” หรือแค่ต้องการ
จำ�เป็น
ต้องการ
เราจะมีเงินเพียงพอผ่อนชำ�ระหนี้ไปตลอดรอดฝั่งหรือไม่
ใช่
ไม่แน่ใจ
ยอดเงินผ่อนหนี้มีผลกระทบต่อการใช้จ่ายในชีวิต ประจำ�วันของเราหรือไม่
ไม่มี
ไม่แน่ใจ
ดอกเบี้ยทั้งหมดที่จ่าย คุ้มค่าต่อการเป็นหนี้หรือไม่
ใช่
ไม่แน่ใจ
ถ้าไม่เป็นหนี้วันนี้... เดือนหน้าเราจะเดือดร้อนหรือไม่
ใช่
ไม่มี
มีทางเลือกที่ดีกว่าเจ้าหนี้รายนี้หรือหนี้ประเภทนี้หรือไม่
ไม่มี
ไม่แน่ใจ
ไม่มี
ไม่แน่ใจ
มีทางเลือกอื่น ๆ นอกจากการเป็นหนี้ครั้งนี้หรือไม่
ถ้าตอบข้อ A ทัง้ หมด แสดงว่ามีเหตุผลเพียงพอต่อการเป็นหนีค้ รัง้ นี้
เป็นเพื่อนกับหนี้ 4 ข้อนี่้ จะทำ�ให้หนีไ้ ม่ เป็นภัย แต่เป็นเพือ่ น กับคุณได้
1. เป็นหนีเ้ มือ่ จำ�เป็น
เช่น ซือ้ บ้าน ทำ�การค้า เจ็บป่วย เหตุฉกุ เฉิน
2. เป็นหนีใ้ นจำ�นวนทีเ่ หมาะสม
คือ ยอดหนีร้ วมและยอดชำ�ระหนีเ้ เต่ละงวดต้องไม่ มากเกินไป โดยทัว่ ไปยอดหนีไ้ ม่ควรเกิน 20% ของ รายรับทัง้ ปี และยอดผ่อนชำ�ระไม่ควรเกิน 10% ของรายรับต่อเดือน (ไม่รวมหนีซ้ อ้ื บ้าน)
3. เป็นหนีต้ อ้ งมีวนิ ยั
คือ “วินยั ทางการเงิน” และ “วินยั ในการชำ�ระหนี”้
4. เป็นหนีต้ อ้ งขยัน
ขยันทำ�งาน ขยันหารายได้พเิ ศษ ขยันออม 29
60
1
7 things | เรื่องและภาพ : กองสุข
สิง ่ ควรระวัง
ั “ความงาม” ใกล้ตว สิ่งประทินโฉม เสริมความสวยงามให้กับรูปลักษณ์ที่คนนิยมใช้ทั่วไป ถ้าไม่ระวังให้ดี อาจมีผลทำร้ายสุขภาพได้อย่างไม่รู้ตัว
1
บิก ๊ อายส์
คอนแทคเลนส์ที่ไม่ได้คุณภาพ อาจทำให้ติดเชื้อแบคทีเรีย
"สูโดโมแนส แอรูจิโนซ่า" ที่เข้าสู่ลูกตาดำ ซึ่งหากรักษาไม่ทัน อาจส่งผลให้ตาบอด หรือต้องผ่าตัดลูกตาออก เพราะเชื้อ แบคทีเรียชนิดนี้เข้าสู่กระแสเลือดได้ ถ้าจะใส่ควร
2
ปรึกษาแพทย์ หรือซื้อจากร้านที่ผ่าน อย.
ดัดฟันแฟชัน ่
ลวดดัดฟันแฟชั่น อาจมีสารตะกั่ว พลวง ซิลีเนียม โครเมียม
หรือสารหนูปะปน หากเข้าไปสะสมในร่างกายปริมาณมาก จะมีผลต่อไตถึงขั้นไตวายได้ เพราะน้ำลายจะทำปฏิกิริยากับสีเคลือบลวด แล้วละลายสารพิษเข้าสู่ร่างกาย ส่วนยางจัดฟันที่เป็นลวดลายต่าง ๆ เช่น ลายดอกไม้ ถ้าไม่ได้มาตรฐานก็ยิ่งเพิ่มโอกาสทำให้ฟันผุ 26
7 things | เรื่องและภาพ : กองสุข
ง ั ั ภย แวดลอ้ ม ว ะ พ สภา ท่ี ค วรร สภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวัน อะไรบ้างที่เราควรระมัดระวังภัย โดยเฉพาะสำหรับผู้หญิง เพราะเป็นเพศที่ประสบเหตุอาชญากรรมได้ง่ายกว่าผู้ชาย
1
TAXI
2
1 2 3 4 5 G
28
โดยสารแท็กซี่ลำพังควรนั่งอยู่ด้านหลังคนขับ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ปลอดภัยที่สุด และควรแจ้งให้คนรู้จัก
ทราบว่าเรากำลังเดินทางไปไหน พร้อมบอกรายละเอียดของรถ แท็กซี่ก่อนออกเดินทาง เช่น ทะเบียนรถ สีรถ และข้อมูลบัตรคนขับ ที่มักติดอยู่บริเวณคอนโทรลรถด้านซ้าย
แต่งหน้าในรถ
ผู้หญิงมักชอบนั่งแต่งหน้า อยู่บนรถหรือเช็คโทรศัพท์ หลังจากช็อปปิงเสร็จในที่จอดรถ ห้ามทำสิ่งเหล่านี้เด็ดขาด เพราะเป็นช่วงเวลาที่เปิดโอกาสให้คนร้ายเข้ามานั่งข้างคนขับ และเอาปืนหรือมีดมาจ่อ ทางที่ดเี มื่อขึ้นรถแล้วรีบล็อคประตู
3
แล้วขับรถออกไปทันที
ลิฟต์ แม้แต่ลิฟต์ในอาคารที่เราคุ้นเคยอยู่ทุกวัน เช่น สำนักงาน อพาร์ตเมนต์ หรือคอนโดมิเนียมก็เป็นสถานที่สุ่มเสี่ยงได้ หากคุณไม่ระมัดระวังตัวโดยเฉพาะการขึ้นลิฟต์ยามค่ำคืน
เรื่อง : สริตา อุรุพงศา ภาพ : กองสุข | sook idea
Woman story ผูห ้ ญิง 3 วัย ทำ�ยังไงให้ไฉไล
เรียนรู้การดูแลสุขภาพร่างกายของผู้หญิง 3 ช่วงวัย เพื่อให้ “ผู้หญิง” พร้อมที่จะดูแลตัวเองได้อย่างถูกวิธี และ “ผู้ชาย” พร้อมที่จะดูแลคนข้างกายที่คุณรักได้อย่างถูกต้อง 31
ว
ู้
ัย แ
นร
20+
ห ่ง ก ร เ รี ย า
ผู้หญิงวัยนี้ถือเป็นวัยเริ่มต้นการใช้ชีวิตอย่างแท้จริง เริ่มเข้าสู่ชีวิตทำ�งาน มีความรัก และ มีเพศสัมพันธ์ แต่มักมองข้ามการดูแลสุขภาพ เพราะคิดว่ายังสาวและแข็งแรง ซึ่งจริง ๆ แล้วเราควรเริ่มดูแลสุขภาพตั้งแต่เนิ่น ๆ จึงจะทำ�ให้มีสุขภาพดีต่อเนื่องในวันหน้า
DON’T
Do
พฤติกรรมทำ�ลายสมอง!
ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ดีที่สุด และต้องหมั่น ดูแลน้ำ�หนักตัวไม่ให้อ้วนหรือผอมเกินไป
กลุ่มข้าว แป้ง กินปริมาณ
มากทีส่ ดุ เพราะเป็นแหล่ง พลังงาน
กลุ่มผักผลไม้ กินปริมาณ
รองลงมา เพือ่ ให้ได้วติ ามิน แร่ธาตุ และใยอาหาร
32
กลุ่มเนื้อสัตว์ ถัว่ ไข่ และนม กิน
ปริมาณพอเหมาะ เพือ่ ให้ได้โปรตีน คุณภาพดี เหล็ก และแคลเซียม
กลุ่มน้ำ�มัน น้ำ�ตาล เกลือ
กินแต่นอ้ ยเท่าทีจ่ ำ�เป็น
ดืม่ กาแฟแทน อาหารเช้า
การรับคาเฟอีนในปริมาณมาก เพือ่ เพียงไม่อยากง่วง อาจส่งผล เสียต่อทัง้ ร่างกายและจิตใจ เช่น วิตกกังวล กล้ามเนือ้ กระตุก และ ใจสัน่ แถมถ้าติดคาเฟอีนเป็น เวลานาน อาจทำ�ให้เกิดแผลใน กระเพาะอาหาร ลำ�ไส้เล็กอักเสบ และโรคกรดไหลย้อนกลับ
สูบบุหรี่ โดยเฉพาะสำ�หรับ
ผูห้ ญิง หากยิง่ เริม่ สูบบุหรีเ่ ร็วแค่ไหน ก็จะมีความเสีย่ งเป็นโรคมะเร็งเต้านม สูงมากขึน้ เท่านัน้ และมีความน่าจะ เป็นโรคมะเร็งเต้านมมากกว่าผูท้ ไ่ี ม่ สูบบุหรีร่ อ้ ยละ 25 เพราะการสูบบุหรี่ ทำ�ให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึง่ มีหน้าทีใ่ นการป้องกันการเกิดมะเร็ง เต้านมลดลง สำ�หรับผูห้ ญิงทีไ่ ม่สบู บุหรีแ่ ต่สดู ดมควันจากคนสูบเป็นระยะ เวลานาน ความเสีย่ งจะเพิม่ ขึน้ 32%
60
สมัครสมาชิก / ต่ออายุสมาชิก / สั่งซื้อย้อนหลัง / ร่วมโครงการส่งสุขให้กัน แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (แบบฟอร์มนีส้ ามารถถ่ายส�ำเนาได้) ชือ่ / นามสกุล ............................................................................................................................... อายุ................................................... วันเกิด.................................อาชีพ....................................... โทรศัพท์ / มือถือ.................................................อีเมล.................................................................. สถานทีจ่ ดั ส่ง (ทีอ่ ยู)่ ........................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... สมัครสมาชิก /
ต่ออายุสมาชิก
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท (ฉบับละ 30 บาท) เริ่มตั้งแต่ฉบับที่.................... รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท (ฉบับละ 30 บาท) และรับเพิ่มฟรีอีก 1 ฉบับ เริม่ ตัง้ แต่ฉบับที.่ ...................................
ถ้าไม่อยาก พลาด
ความสุข ทุกเดือน
สมัครสมาชิก นิตยสาร
โครงการส่ง SOOK ให้กนั
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท ฟรีค่าจัดส่ง รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท ฟรีค่าจัดส่ง ให้กบั .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................
ฟรี ค่าจัดส่ง
1 ปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท
สัง่ ซือ้ ย้อนหลัง
ครึ่งปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท แถมฟรีเพิ่มอีก 1 ฉบับ
เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 1-25 ราคาเล่มละ 20 บาท) เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 26 ราคาเล่มละ 30 บาท)
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ..................................... บาท (ฟรีค่าจัดส่ง)
โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพือ่ สมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK (กรุณาระบุสาขาธนาคาร) ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 ( ในกรณีที่ไม่ได้ระบุฉบับแรกที่ต้องการ ทางเราขออนุญาตส่งนิตยสารฉบับถัดจากเดือนที่คุณสมัครไปให้ )
โปรดให้ความเห็นอันมีค่ายิ่งต่อเรา
คุณรูจ้ กั SOOK ได้อย่างไร .......................................................................................................... ความรูส้ กึ ของคุณต่อนิตยสาร SOOK ......................................................................................................................................................... คุณเลือกซือ้ นิตยสาร SOOK อ่าน เพราะเหตุผลอะไร ......................................................................................................................................................... คอลัมน์ทช่ี น่ื ชอบคือ เพราะอะไร ............................................................................................. อยากรูเ้ รือ่ งอะไรเกีย่ วกับสุขภาพ .............................................................................................. คุณมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม หรือเวิรค์ ช็อปประเภทใด ......................................................................................................................................................... คำ�แนะนำ� ติชม สิง่ ทีอ่ ยากให้ปรับปรุงและเพิม่ เติม ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 56
ัคร เฉพาะผู้ที่สม ี สมาชิกรายป
ใจ
รับกระเป๋าสุข
ัด
มีจ�ำนวนจ�ำก
ขัน้ ตอนการชำ�ระเงิน
ฟรี
• โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพื่อสมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK - ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 - ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 • ส่งแบบฟอร์มสมัครสมาชิก พร้อมหลักฐานใบโอนเงินมาที่ บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230 หรือ ส่งแฟกซ์ 02-116-9958 หรือ ส่งอีเมล sookmember@gmail.com • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นิตยสาร SOOK โทร. 02-116-9959 10.00 - 18.00 น.)
มีความสุข ย้อนหลัง กันได้นะจ๊ะ.
SOLD
OUT
เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เมนูกชู้ พี สุดประหยัด ความสุขมีไว้แบ่งกัน
เล่มที่ 3 Love Issue
เล่มที่ 4 Growing Up
เล่มที่ 7 Eco Issue
เล่มที่ 8 ออมแบบไม่อด
เล่มที่ 9 เกิดเป็นหญิง เล่มที่ 10 มีหลายสิง่ ให้คน้ หา พื้นที่สร้างสรรค์
เล่มที่ 15 รักต้องเซฟ
เล่มที่ 16 เล่มที่ 17 เทีย่ วช้า ๆ แบบชิล ๆ กินอยู่แบบไทย
เล่มที่ 18 สุขภาพดีวัยทำ�งาน
เล่มที่ 24 อยู่ร่วมกันอย่างใส่ใจ
เล่มที่ 26 ปลูก
เล่มที่ 5 Family Outing
เล่มที่ 6 ร่างกายดี หัวใจเป็นสุข
เล่มที่ 11 วัยรุ่นวุ่นเนอะ
เล่มที่ 12 ลด หวาน มัน เค็ม
ฉบับย้อนหลัง
ISSUE NO.14 /JANUARY 2014
เล่มที่ 13 เรือ่ งของ ผูช้ าย แต่ผหู้ ญิงควรรู้
เล่มที่ 14 สุขอยู่กับบ้าน ISSUE NO.22 / SEPTEMBER 2014
เล่มที่ 21 เล่มที่ 22 คิดดี พูดดี ทำ�ดี มีสุข Slow life
ISSUE NO.23 / OCTOBER 2014
เล่มที่ 23 รอดได้ เมื่อภัยมา
มาส่งต่อ “ความสุข” กันเถอะ กับโครงการส่ง
เล่มที่ 19 เล่มที่ 20 สนุกขยับ กระฉับกระเฉง ไทยไม่เฉย
ให้กัน
โครงการดี ๆ ที่ช่วยทำ�ให้สังคมนี้มี ความสุขมากขึน ้ เพียงร่วมเป็นผูส ้ ง ่ มอบ “ความสุ ข “ ไปถึ ง โรงเรี ย น องค์กร มูลนิธิ หรือแม้แต่คนที่คุณ รัก และห่วงใย ด้วยการสมัครสมาชิก นิตยสาร SOOK ให้กบ ั พวกเขา
เล่มที่ 25 ส่งสุขให้กัน
ร่วมสมัครสมาชิก "การอ่าน" เป็น รากฐานทีด ่ ขี อง ชีวต ิ
สมัครเข้าร่วมโครงการได้ทห่ี น้าสมัครสมาชิกภายในเล่ม หรือสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี sookmember@gmail.com หรือโทร. 02-116-9959
โครงการส่งสุขให้กน ั รับฟรี
หนังสือ “ชีวิตใหม่ ไร้พุง” (หนังสือมีจ�ำนวนจ�ำกัด)