01
SOOK ปี 3 อ่านสนุก สุขยิ่งขึ้น หาซื้อง่าย
“วางจำ�หน่ายเพิ่ม ตามแผงหนังสือทั่วไทย แล้ววันนี้” พบ
ได้ที่
SOOK E-Book
และร้านหนังสือชั้นนำ�ทั่วไป
แจกฟรี SOOK Wallpaper
ราคาใหม่ 30 บาท
กระเป๋า สุขใจ
ถ้าไม่อยากพลาด ความสุขทุกเดือน สมัครสมาชิก พร้อมของที่ระลึก ได้ที่หน้า 56
วิธีใช้ QR Code
1 3
เปิดแอพลิเคชัน QR Code
เพื่อนำ�มาใช้สแกน QR Code (หากไม่มี ให้ดาวน์โหลดได้จาก App Store Play Store หรือ Windows Store)
ดาวน์โหลด SOOK Wallpaper
เมื่อเข้าสู่หน้าเวบไซต์ www.pinterest. com/sookmagazine/ ได้แล้ว สามารถเลือกขนาดภาพได้ตามต้องการ
2
สแกน QR Code
http://www. pinterest. com/sookmagazine/ sook-sharing-happiness/
4
เลือก Sharing ส่งต่อให้เพื่อน
ส่งต่อความสุขพร้อมรอยยิ้มสู่คนรอบข้าง
สแกน QR Code ได้เลยจ้า Share Send
02
ของน่ารัก ต้องส่งต่อนะจ๊ะ
CONTENT
Contents Editor’s talk Creative happiness Happy activity Think green Make some surprise Happy Give&share Infographic Sook idea Sook interview Check List The Things About Sook Community Happy Meal Happy Move Happy Health Happiness Thailand A Hard Day Night Learn something Hang out The lesson Sook society Sook member โครงการส่งสุขให้กัน Entertainment
3 6 8 10 12 14 16 18 25 30 32 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 57 58
06 Creative happiness
some 12 Make surprise
16 Infographic
รู้จักรักให้ “เป็น”
18
Sook idea
05
กองสุข
HAPPY ACTIVITY
SHARE LOVE
PRESS
HEALTHY LIFE
ฟังเพลงรัก
BODY COMBAT
ตอน เมนูดอกไม้
วันเวลา วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
วันเวลา ทุกวันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์-เสาร์ที่
วันเวลา วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2558
เวลา 13.00-16.00 น. สถานที่ Event Hall ชั้น 2 อาคารศูนย์ เรียนรู้สุขภาวะ
25 เมษายน 2558 เวลา 10.30-12.00 น. สถานที่ ห้ อ งฝึ ก อบรม 413-414 ชั้ น 4 อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เวลา 13.00-16.00 น. สถานที่ ห้อง 413-414 อาคารศูนย์เรียนรู้ สุขภาวะ
สัมผัสความรักผ่านเสียงดนตรี จากกลุ่มเด็ก ผู้พิการทางสายตา วงดนตรีวงแรกของไทย ที่ จ ะมาบรรเลงบทเพลงผ่ า นเสี ย งดนตรี ออเคสตร้ า ด้ ว ยโน้ ต อั ก ษรเบรลล์ ค รั้ ง แรก ของโลกพร้อมศิลปินรับเชิญ น้องธันย์ ณิชชารีย์
Body Combat การออกก�ำลังกายแนวแอโรบิกที่ ประสานศิลปะป้องกันตัวแบบตะวันออก โดยครู อาร์ต-ชยังกร ทับทิมทอง ครูสอนออกก�ำลังกาย ที่เรียนและได้รับ International Certification ของคลาส Body Combat และ Body Step
Workshop Healthy Life ท�ำความรู้จักกับ ดอกไม้ให้คุณ (ประโยชน์) กับอาจารย์ชินริณี วี ร ะวุ ฒิ ว งศ์ ที่ จ ะมาแนะน�ำเมนู ง ่ า ยๆ จาก ดอกไม้ใกล้ตวั เรียนรูค้ ณ ุ ค่าทางอาหารทีซ่ อ่ นอยู่ ในความงามและสาธิตวิธีท�ำขนมไทยโบราณ
ผู้สนใจเพียงส่ง ชื่อ-นามสกุล อายุ ที่อยู่ และ เบอร์โทร ระบุกจิ กรรมได้ตามช่องทางดังนี้
ติดตามรายละเอียดกิจกรรมเพิม่ เติมได้ที่ www.thaihealthcenter.org facebook.com/sookcenter Thaihealth_Center
ทุกกิจกรรมเข้าร่วมฟรี !!!
ยกเว้นกิจกรรม SOOK TRAVEL รับจ�ำนวนจ�ำกัด กรุณาส�ำรองที่นั่งล่วงหน้า
activity.thc@thaihealth.or.th 081-731-8270 (หรือส่ง SMS) ภายในเวลา 9.00-17.00 น. วันจันทร์-เสาร์ เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์
มาปลูกผักกัน
HAPPY LIFE กราฟิตี้ ตอน
โยคะเก้าอี้
วันเวลา วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558
วันเวลา วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558
วันเวลา วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2558
ตอน ดอกไม้พื้นบ้าน
เวลา 13.00-16.00 น. สถานที่ แปลงผักสาธิต ชั้น 6 อาคาร ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
เรียนรู้วิธีปลูกผักไร้สารที่เหมาะกับไลฟ์สไตล์ คนเมื อ งและลองปลู ก ดอกไม้ ใ นเดื อ นแห่ ง ความรัก รู้จักเทคนิคดูแลดอกไม้พื้นบ้านมาก คุ ณ ค่ า ทางสมุ น ไพร ที่ น�ำมาใช้ ป ระกอบ อาหารต่ อ ได้ โดยผู ้ เชี่ยวชาญ คุณชูเ กียรติ โกเมน จากสวนผักคนเมือง 08
ออกแบบตัวอักษรกับคาแร็คเตอร์
เวลา 13.00-16.00 น. สถานที่ ห้อง 413-414 อาคารศูนย์เรียนรู้ สุขภาวะ จากความรักสู่แรงบันดาลใจในการสร้างผลงาน ศิ ล ปะกราฟิ ตี้ โดยครู ต ่ อ -ปกรณ์ ธนานนท์ นั ก ออกแบบกราฟิ ตี้ ร างวั ล ชนะเลิ ศ จากหลาย เวที ที่ จ ะมาสอนการออกแบบลวดลายต่ า งๆ ด้วยอุปกรณ์ง่ายๆ จากกระดาษวาดรูป ดินสอ ปากกา
เวลา 10.30-12.00 น. สถานที่ ห้ อ งอาศรมสุ ข ภาวะชั้ น 3 อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ
นั่งท�ำงานทั้งวัน รู้สึกปวดหลัง? หุ่นไม่กระชับ? มาฝึ ก โยคะเก้ า อี้ กั บ ครู วี ร ะพั น ธ์ ไกรวิ ท ย์ กันเถอะ ด้วยท่าบริหารส่วนต่างๆ ของร่างกาย ที่จะคลายความเมื่อยล้า ป้องกันและบรรเทา อาการออฟฟิศซินโดรม แถมยังช่วยกระชับ หุ่นได้อีกด้วย
EXHIBITION ซอยต่างมิติ
วันเวลา เดือนพฤศจิกายน 2557-กุมภาพันธ์ 2558 เปิดทุกวันอังคาร-เสาร์ เวลา 10.00-17.00 น. ปิดวันอาทิตย์ วันจันทร์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สถานที่ ณ โซนนิทรรศการหมุนเวียน ชั้น 2 ศูนย์เรียนรูส้ ขุ ภาวะ สอบถามรายละเอี ย ดการเข้ า ชมนิ ท รรศการ หมุนเวียนได้ที่ exhibition.thc@thaihealth.or.th 083-098-1805-6
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 02-343-1500 โทรสาร. 02-343-1501 www.thaihealthcenter.org facebook.com/sookcenter ทางออก
ถนนสาธุประดิษฐ์
(ถ.จันทน์ - นางลิ้นจี่)
09
HAPPY GIVE + SHARE
เกี๊ยวกุ้ง
การให้อย่ามองว่าเป็นการให้ เพราะการให้มันมีการรับอยู่ในตัวเอง
สิ่งที่ได้กลับมาคือความสุขที่เงินซื้อไม่ได้
สุรชั สะราค�ำ
บ้านดินไทยสร้างรอยยิม้
เพราะฝันทีจ่ ะมีบา้ นดิน ท�ำให้คณ ุ โย-สุรชั สะราค�ำ หัวหน้าศูนย์อาสา บ้านดินไทย อ�ำเภอแก๊งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ เรียนรูท้ จี่ ะสร้างบ้านดินด้วย ตนเองจากการเป็นอาสาสมัครในกิจกรรมต่าง ๆ และตัดสินใจชักชวน เพื่อนสนิทมิตรสหายที่มีใจเดียวกันมาร่วมท�ำเว็บไซต์บ้านดินไทยดอท คอม เพือ่ ช่วยสร้างชุมชนและสิง่ แวดล้อมให้ดกี ว่าเดิม 14
ช่วยด้วยใจไปได้ไกล
จากจุดเริม่ ต้นมาถึงวันนีเ้ ป็นเวลากว่า 8 ปีแล้วที่ บ้านดินไทยได้ท�ำประโยชน์ให้กับผู้คนมากมาย จุ ด มุ ่ ง หมายหลั ก ของที่ นี่ คุ ณ สุ รั ช เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า “หลักๆ จะมีงานอยู่ 2 ส่วนคือ ในด้านชุมชนและ สิง่ แวดล้อม โดยในส่วนของชุมชนนอกจากการเผย แพร่การท�ำบ้านดินให้กับผู้ที่สนใจในราคาไม่แพง ยังมุ่งเน้นช่วยตามวัดตามโรงเรียนที่ต้องการความ ช่วยเหลือแล้วติดต่อเข้ามา อย่างเช่น ให้ไปช่วยสร้าง ห้องสมุดดิน ศูนย์ประสานงาน อาคารเรียน หรือ ตามที่ต่างๆ เป็นต้น และอีกส่วนหนึ่งคือในด้าน สิง่ แวดล้อม ตรงนีเ้ ราจะไปช่วยตามเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ปา่ อุทยานต่างๆ อย่างเช่น ไปช่วยปลูกป่าให้ ช้าง ท�ำฝายชะลอน�ำ้ ท�ำโป่งเทียม ฯลฯ” ในช่วงแรกของการท�ำโครงการนัน้ พีส่ รุ ชั บอกว่า เป้าหมายหลักคือคนทีส่ นใจอยากจะมีบา้ นดิน แต่
รู้จักรักให้ เป็น
INFOGRAPHIC
Kanjera
เราดูแลความรักของเราดีพอแล้วหรือยัง อะไรคือสิ่งที่เป็นปัญหาจริงในสังคม และอะไรคือสิ่งที่คนคาดหวังในความสัมพันธ์
“การนอกใจ” สาเหตุอันดับ1
98.4%
คู่รักเลิกรากันมากถึง
ที่ทำให้
คุณสมบัติที่
คนโสด คาดหวัง ในการมีคู่
eที่มา : ข้อมูลสรุปงานวิจัยในรอบ 3 ปี จากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมอนามัย และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล เรียบเรียงโดยสิริกร เค้าภูไทย ส�ำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ปี 2556
ซื่อสัตย์
รักเดียว ใจเดียว
รองลงมาคือ อารมณ์ชั่ววูบทำให้
ความรัก พัง ชีวิต ดับ การใช้ความรุนแรงในคู่รักวัยรุ่น
90.5% 74% 75% ใช้คำ ทำลาย ทำร้าย หยาบคาย
71.6%
ข้าวของ
กักขังหน่วงเหนี่ยว
สาเหตุการฆ่าตัวตาย ของวัยรุ่น อันดับ 1 คือ
ผิดหวังในความรัก
ความ กระตือ รือร้น
มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่
ขยัน ทำมา หากิน
คุณสมบัติเหล่านี้ จะช่วยให้มีความรักที่ดี ไม่พาไปสู่ ความทุกข์และความรุนแรง
ร่างกาย
68.8%
ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
รองลงมา คือ
ปัญหาการเรียน ปัญหาครอบครัว
อย่าปล่อยให้ความรุนแรงและอารมณ์ชั่ววูบ มาทำลายชีวิตตัวเองและคนรัก 16
eที่มา : ข้อมูลสรุปงานวิจัยในรอบ 3 ปี จากส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมอนามัย และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
eที่มา : ผลส�ำรวจหัวข้อ “มุมมองเรื่องความรักและการเลือกคู่ของ คนโสดยุคปัจจุบัน” จากกลุ่มตัวอย่างเพศชาย-หญิง อายุ 20-35 ปี จ�ำนวน 1,226 คน โดยกรุงเทพโพลล์
SOOK IDEA
Hima in the rain
How to Find Happiness in Love ความรักเป็นสิ่งดีงามบนโลก และเกิดขึ้นได้มากมายหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น ความรักของพ่อแม่ที่มี ต่อลูก ความรักของพีน่ อ้ ง ความรักของเพือ่ น ฯลฯ แต่ความรักทีม่ กั ก่อทุกข์ในใจหนักๆ คงไม่พน้ ความรัก ของหนุ่มสาว บางคนอาจก�ำลังโสด บางคนมีคู่ บางคนอกหัก บางคนหย่าร้าง แต่จะสุขหรือทุกข์ก็ขึ้น อยู่กับว่า เราจะน�ำพาสติและปัญญามาใช้กับความรักได้มากน้อยแค่ไหน 18
ฮอร์โมนมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
ความรั ก ความรัก
หนึ่งในบรรดาสิ่งที่จ�ำเป็นต่อชีวิตและต่อความเป็น มนุษย์ของเราก็คือ ความรัก
สำคัญไฉน
...ความรักนั้นท�ำให้ความเป็นมนุษย์เจริญ งอกงาม ถ้าปราศจากความรักแล้ว กล่าวได้ว่า ความเป็นมนุษย์ก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ด้วยซ�้ำ
สำคัญไฉน
พระไพศาล วิสาโล
ความสัมพันธ์ที่มั่นคง
ฮอร์โมนมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
ฮอร์โมนมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
ช่วยยับยั้งอารมณ์ในด้านลบ
ฮอร์โมนออกซิโทซิน
เสริมสร้าง
ความรัก
และ
การมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางที่ดี
ผูกพัน
ช่วยป้องกันอารมณ์ด้านลบของเราได้
ออกซิโทซิน เป็นสารทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการท�ำงานของสมองและร่างกาย ช่วยให้จติ ใจสงบ ผ่อนคลาย กระตุน้ อารมณ์ทางเพศ และช่วยให้นอน หลับ เรียกได้ว่าเป็นสารแห่งความสุขเหมือนเอ็นดอร์ฟินที่รู้จักกันดี แต่ที่น่าสนใจก็คือ ออกซิโทซิน เป็นฮอร์โมนแห่งความรัก (Love Hormone), โมนแห่ งการกอดรัด (Cuddie Hormone) และ สำคัฮอร์ ญ ไฉน ฮอร์โมนแห่งความเชือ่ ใจ (Trust Hormone) ทีส่ ง่ เสริมให้เกิดความรัก ความผูกพัน และความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน
ความรัก
ผู้หญิงมี ฮอร์โมนออกซิโทซิน มากกว่าผู้ชาย
ความสัมพันธ์ที่มั่นคง
ฮอร์โมนมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
ถึงได้ อบการโอบกอดและแสดงออก ช่วยยั บชยั ้งอารมณ์ในด้านลบ ทางความรักมากกว่าผู้ชาย
ความสัมพันธ์ที่มั่นคง
มีผลวิจัยจากการศึกษาผลสแกนสมองพบว่า ขณะที่ผู้เข้าทดลองเห็น ภาพคนรักของตัวเอง สมองหลายส่วน เช่น อะมิกดาลา ที่เกี่ยวข้องกับ ความกลัว หรือเปลือกสมองส่วนข้างและส่วนขมับซึ่งเกี่ยวข้องกับการ สร้างอารมณ์ทางลบจะมีปฏิกิริยาการท�ำงานที่น้อยลง ถ้าคนคนนั้นมี ความสัมพันธ์ทมี่ นั่ คงและมีความสุข นอกจากนี้ คนทีอ่ ยูใ่ นความสัมพันธ์ ระยะยาวแล้วจะรูส้ กึ มัน่ คง สมองไม่จ�ำเป็นต้องใช้พลังงานมากมายกับ การคาดเดาอารมณ์ของคูข่ องตน ไม่เหมือนคนทีก่ �ำลังตกหลุมรักใหม่ๆ
ช่วยยับยั้งอารมณ์ในด้านลบ
มีงานวิจยั ทีท่ �ำการทดลองกับผูช้ ายกลุม่ หนึง่ ทีส่ ดู ออกซิโทซินเข้าทาง จมูก และให้เจอกับผูห้ ญิงสวย แต่ผลปรากฏว่า ผูช้ ายทีแ่ ต่งงานและ รักเดียวใจเดียว จะรักษาระยะห่างจากสาวสวยมากกว่าผูช้ ายโสด แสดง ให้เห็นว่า ฮอร์โมนตัวนีน้ า่ จะส่งเสริมให้คชู่ วี ติ มีความซือ่ สัตย์ตอ่ กัน
eที่มา : ออกซิโทซิน ฮอร์โมนแห่งความรัก-ผูกพัน (หมอชาวบ้าน) โดย นพ.สุรเกียรติ อาซานานุภาพ, ผลวิจัยจากนักชีววิทยาทางประสาท เซเมียร์ เซกิ จากยูนิเวอร์ซิตีคอลเลจในลอนดอน
ความสัมพันธ์ที่มั่นคง
19
SOOK IDEA
TIMELINE OF
LOVE
TIMELINE OF
จากผลการค้นคว้าและวิจัยอย่าง ต่อเนื่องของศาสตราจารย์เฮเลน ฟิชเชอร์ นักมานุษยวิทยาชีวภาพ แห่งสถาบันคินเซย์ (Kinsey) และ มหาวิทยาลัยรัทเกอร์ส รัฐนิวเจอร์ซยี ์ เส้นทางประเทศสหรั แห่งความ ฐอเมริกา บอกให้เรา รัก รู้ว่า เวลาที่เราเกิ ดความรัก สมอง ของเราก็ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงกั บ ความรู้สึกต่างๆ ไปด้วย
LOVE
BEGIN
BEGIN
เส้นทางแห่งความรัก
แยกแยะความรู้สึก ความสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน
20
ความสัมพันธ์คงที่ ในการคบหา
เมื่อตกหลุมรัก สิ่งที่ตามมาคือ ความสงสัยและความ ไม่แน่ใจ คนที่มีความรักมักเป็นกังวลว่า คนรักจะรักตอบ หรือไม่ ซึง่ ส่งผลจากพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ในสมองทีเ่ รียกว่า แองกูลาร์ ไจรัส (Angular Gyrus) ที่ท�ำหน้าที่ท�ำความเข้าใจเรื่อง อารมณ์ ความรู้สึก และเจตนาของคนอื่น สมองส่วนนี้จะ ท�ำงานหนักมากเวลาเราตกหลุมรัก
หากผ่านช่วงเวลาแห่งความเครียดและความสุขใจของ การตกหลุ ม รั ก ไปได้ ความสั ม พั น ธ์ ก็จะเข้ า สู ่ ช ่ ว งคงที่ ซึง่ ถูกควบคุมโดยสารเคมีตวั อืน่ ช่วงเวลานีป้ ริมาณฮอร์โมน ออกซิโทซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนแห่งความรักความผูกพัน จะเพิ่มขึ้นสู้กับความเครียดและความกังวล ทั้งช่วยสร้าง ความรู้สึกปลอดภัยและสันติในความสัมพันธ์
สิ่งส�ำคัญคือ อย่ามองความรักเป็นเกม สิ่งที่ คิดในใจควรน�ำมาพูดคุยกันอย่างตรงไปตรงมา
ควรรักษาประคองความรักความสัมพันธ์ให้ดี เพราะ เป็นช่วงหมดความหลงและเปิดเผยตัวตนทีแ่ ท้จริง จะผูกพันหรือแยกทางก็ตดั สินจากช่วงเวลานีไ้ ป
eที่มา : www.helenfisher.com
แรกเริ่มที่พบกัน ความรู้สึกชอบพอถูกใจ อยากพบหน้าพูดจาเมื่อช่วงแรกที่ พบกันนัน้ เปรียบได้กบั การเสพติด ซึง่ มีผลมาจากพืน้ ทีใ่ นสมอง ส่วนหน้าทีเ่ รียกว่า นิวเคลียสแอกคัมเบนส์ หรือ NAcc จะส่งสาร สื่อประสาทโดปามีนออกมา ท�ำให้เกิดความพึงพอใจมากๆ จนเราอยากจะท�ำซ�้ำแล้วซ�้ำอีก เราจะรู้สึกอยากใกล้ชิดเขาอยู่เสมอ อย่าลืมสิ่งส�ำคัญคือ การวางตัว ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของมิตรภาพที่จะพัฒนาขึ้น
ช่วงตกหลุมรัก แม้จะเป็นช่วงเวลาของความสุข แต่กแ็ ฝงความเครียดและความ กังวลใจ นักวิทยาศาสตร์ตรวจสมองของคนทีเ่ พิง่ ตกหลุมรักพบว่า มีสภาวะเครียดร่วมด้วยชัดเจน สมองจะจดจ�ำรายละเอียดต่างๆ และประมวลเกีย่ วกับคนทีเ่ ราสนใจในเชิงบวกเป็นพิเศษ บางครัง้ เราจะมองคนทีเ่ ราชอบหรือหลงรักเป็นเสมือนเจ้าชายเจ้าหญิง และ คิดถึงแต่คนคนนี้ เตือนสติตวั เองเอาไว้วา่ ควรใช้เหตุผลพิจารณา นิสยั ใจคอของอีกฝ่ายด้วย อย่ามองข้ามการกระท�ำ หรือสิง่ ใดก็ตามทีท่ �ำให้คณ ุ รูส้ กึ ว่าไม่ใช่
เกิดความขัดแย้ง จนถึงขั้นเลิกรา
ระยะพักใจก่อนเรียนรู้ ประสบการณ์ใหม่
ท�ำไมเราถึงรู้สึกเศร้าเมื่ออกหักหรือความสัมพันธ์ระยะ ยาวยุติ เพราะสมองจะขาดสารฟีนิลเอธิลามีน ที่ช่วย ให้ร่างกายตื่นตัว และหยุดหลั่งสารเอ็นดอร์ฟินฉับพลัน เหมือนอาการคนติดยาเสพติดแล้วหยุดใช้ทันทีนั่นเอง อีกทั้งสมองยังหลั่งสารคอร์ติซอล ซึ่งเป็นสารความทุกข์ ออกมาแทน ท�ำให้เรามีอาการกินข้าวไม่ลง ร้องไห้ เศร้า
ในช่วงนีค้ วามรูส้ กึ อกหักไม่ตา่ งกับการเผชิญโรคซึมเศร้า การอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิมๆ ที่กลายเป็นความทรงจ�ำ ยิ่งตอกย�้ำให้นึกถึงอดีต วิธีง่ายๆ ที่ช่วยได้คือ อย่าอยู่ คนเดียว เมื่อผ่านระยะนี้ไปได้ สมองจะทบทวนถึงสิ่งที่ ผ่านมาและแปรเปลี่ยนเป็นประสบการณ์อีกรูปแบบหนึ่ง
ควรคิดบวก อยู่กับเพื่อนหรือครอบครัว หาวิธีระบายความทุกข์ออกไป
น�ำประสบการณ์นี้ไปปรับใช้กับความรัก ครั้งใหม่เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดซ�้ำอีก 21
เสริมสิน
CHECK LIST
แม้ความรักครัง้ ก่อนจะจบลงแล้ว แต่ก็ ใช่ว่าคุณจะไม่พบใครอีกแล้วในชีวิต ความรักครั้งใหม่ย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ แล้วเมือ่ เวลานัน้ มาถึง คุณพร้อมทีจ่ ะมี และดูแลความรักครัง้ ใหม่ให้ดกี ว่าเดิม แล้วหรือยัง ลองมา Checklist เตรียม ความพร้อมก่อนออกสตาร์ทอีกครัง้ ทีน่ ี่ ว่าคุณพร้อมหรือไม่พร้อม
าดแล้ว
เคลียร์ใจสะอ
รงจ�ำทตี่ อ้ งจดั ให้ ท ม วา ค ็ น ป ่ เ ต แ ะ ไมข้ นไก่ ไ่ ดห้ มายถงึ ขย ความรักครัง้ เกา่ ไม ยบิ ผา้ มาเชด็ ความเจบ็ ปวด และหยบิ ห เขา้ ทเี่ ข้าทาง คอ่ ยๆ ยบู่ นผวิ ใจจนสะอาด อ มาปดั ฝนุ่ หนาทเี่ กาะ ด ายใหไ้ ดอ้ ยา่ งเดด็ ขา ฟ ู ม ฟ ้ ห งไ อ ร้ ใจ ี ย ช่องทาง หยดุ เส องแฟนเกา่ จากทกุ วข รา วค า ข่ าม ถานทที่ ี่ ต ิ ด เลกิ ต งั เพลงเศร้าหรือไปส ฟ าร ก ย ้ ว ด วด ป ็ บ เจ ไมซ่ ำ�้ เตมิ ความ ั น ก หา เคยไปดว้ ย วามรูส้ กึ ดี ไมใ่ ช่โหย ค ย ้ ว ด ึ ง ถ ิ ด ่ ค ต แ ้ าว ด คดิ ถงึ เขาไ ทรงจ�ำ สว่ นเรอื่ งร ม วา งค ่ อ ล ่ ก ใส ็ บ ดี ๆ เก บนั ทกึ เรอื่ งราว ทเรยี น น็ บ แย่ ๆ เกบ็ ไวเ้ ป หนา้ และพดู คยุ กบั ิ ญ ช เผ ม อ ร้ พ รง แ ง ฟติ หวั ใจใหแ้ ข็ นทิ ใจ า่ งส ย ดี ๆ ้ อ ได คนรักเกา่ ดอ้ กี เปน็ ความรัก รไ ใค ก รั ถ าร าม ่ ส ไม ดิ ทวี่ า่ เปลยี่ นความค า้ ไปในอดตี ได้ และ ก�ำลงั รออยขู่ า้ งหน าด ล �ำพ งท เอ ั ว ี ่ ต ท ่ ิ ง มผดิ หรือส ยอมรับในควา ลยี่ นแปลงเปน็ คนใหม่ พร้อมปรับปรุงเป
30
บ พ จ ใ ด ิ ป เ รักใหม่ ีสติ อย่างม
โต ใจคุณพอง น็ ว ั ห ้ ห ใ �ำ ท แล้ว ”ิ เป มาในชีวิต ทขี่ องมนั แตใ่ ห้ “สต า่ นมา า ้ ข เ ว า ้ ก น ทผี่ ักค หนา้ เมื่อมีใครส ลอ่ ยให้ “หวั ใจ” ท�ำ เ่ ปน็ เหมอื นความรกั ไม ป อกี ครงั้ จง อื่ ใหบ้ ทสรปุ สดุ ทา้ ย เพ า ตวั ควบคมุ ดเ้ ดนิ เขา้ ม ยี งเขากลบั มา ่ ไ ม ให น ค ส อเพ โ้ อกา ะตหู วั ใจให เพราะความเหงาหรอื ร าเปน็ ครู ร ป ิ ด เป าดม กั ใจ �ำ วามผดิ พล หาเพยี งทพี่ ไมม่ อง เกา่ เปน็ บทเรยี น น�ำค วามรกั ครงั้ ใหม่ แตท่ ค ั ก ะ ร ม รกั แล ใหค้ วา จากทงั้ คน ั ง ว ห ด า ค ม นั ลดควา รยี บเทยี บก วี ติ เรมิ่ ตน้ ดุ เป ่ ี ส า ่ ม ี ท ม ้ ด ให ให ช ั ก า่ และคนร รอื ไมด่ อี กี ครงั้ เพราะ งไดต้ ลอด เก ั ก ร น ค �ำ ปล ด์ หี ไมน่ ทงั้ ผลลพั ธ โลกสามารถเปลยี่ นแ ลในการ ั บ ร ม อ ย ม ุ ละผ กุ สงิ่ บน พรอ้ เิ พอื่ ใชเ้ หตแ ต เ้ สมอ และท ป้ ญ ี ส ด ม ่ ไ า ม ห ให รแก ั รมณใ์ นกา า ้ อ ช พยี งเพราะ ่ ใ เ ่ ง ไม เร ี บ ร ่ า ย อ วามเขา้ ใจ น้ านออกไป ให อ ค ปรบั ค ใจ ั ย ิ ส ู าเรยี นรน้ ยดื เวล สถานะทชี่ ดั เจน ร ตอ้ งกา
ปรับตัวใ
หม่เมื่อร
ักคน
เก่า ใครเลา่ จะร วู้ า่ การนบั ห เลอื กใหค้ ว ามรกั ครง้ั ก นงึ่ ใหมจ่ ะเรมิ่ ตน้ อกี ค อ ่ ร ตวั ปรบั ใจก นั เสยี ใหม่ เพนหวนกลบั มา ทงั้ คตู่ า งั้ กบั คนเกา่ หาก ่ งตอ้ งรว่ ม อื่ รกั ษาโอก กนั ปรบั าสครงั้ นไี้ ว้ ถามหวั ใจใหแ้ นว่ า่ ต อ้ งก ชวนกนั ทบทวนแล ารใหเ้ ขาเดนิ กลบั เขา้ ม ะท�ำความเข าชวี ติ อกี คร ปรบั คว า้ ใจสาเหตทุ งั้ ามเหมอื นแ เี่ ลกิ กนั ละความตา่ เชอื่ มนั่ งระหวา่ กนั แ ไมร่ อ้ื ฟ ละกนั มากขนึ้ ปลดคว งกนั ใหล้ งตวั น้ื เรอ่ื งราวท า จี่ บลงไปแล มระแวงทงิ้ ไป เลอื กวธิ ว้ หี นั หนา้ เขา้ ห ากนั เมอื่ เกดิ ชว่ ยกนั ปญ ประคบั ประ ั หา ไมใ่ ชต่ า่ งคนตา่ งวงิ่ คองความร กั ดว้ ยรกั ทมี่ ห ใี หก้ นั อกี คร นี งั้
เตรียมพร้อมก่อนมีรก ั ใหม่ ดีอย่างไร? หั 1 วใจทีผ่ อ่ งใสจะพร้อมต้อนรับคนใหม่ให้ เข้ามาได้อย่างเปิดเผยและจริงใจ 2 กล้าทีจ่ ะเป็นตัวของตัวเองมากขึน้ และมีใจ กว้างพอทีจ่ ะเรียนรูก้ ารปรับตัวเข้าหากัน 3 “สติ” ท�ำให้รทู้ นั ก้าวแห่งรักให้ด�ำเนินไป อย่างมัน่ คงและยาวนาน 4 บทเรียนทีไ่ ด้ทบทวนจะท�ำให้ไม่เจอกับ ปัญหาเดิมๆ ทีเ่ กิดจากความสัมพันธ์ครัง้ เก่า 31
BUA
HAPPY MOVE
RE TIPS AXATION FOR STRESS REL EF
ท�ำงานหนัก เรียนเหนือ่ ย รถติด... สารพัดปัญหาทีเ่ ราต้องเจอในชีวติ ประจ�ำวันนัน้ ส่งผลให้ หลายคนเกิดความเครียด เจ้าตัวความเครียดนีน้ อกจากจะไม่สง่ ผลดีตอ่ จิตใจแล้ว ยังส่งผลให้ เกิดอาการปวดเมือ่ ยตามร่างกาย ซึง่ เกิดจากอาการหน้านิว่ คิว้ ขมวด รวมไปถึงการเกร็งตาม ร่างกายโดยที่เราไม่รู้ตัว เพื่อรับมือกับอาการปวดเมื่อยเหล่านี้ เรามาฝึกการผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ เพื่อลดความเครียดด้วยการขยับร่างกายอย่างง่าย ๆ กันค่ะ
มาเตรียมตัว กันก่อน
2
1
สวมเสื้อผ้าสบาย ๆ ถอดรองเท้า แว่นตา ปลดเข็มขัด
พร้อมแล้ว เริ่มเลย
40
นัง่ หรือนอนราบในท่าสบาย ผ่อนคลายร่างกายทุกส่วน จากนั้ น ให้ เ กร็ ง และผ่ อ น คลายกล้ า มเนื้ อ ต่ อ ไปนี้ สลับกัน โดยให้ระยะเกร็ง น้อยกว่าระยะคลาย ประมาณ 2 เท่า เช่น ถ้าเกร็ง ใช้เวลา 3–5 วินาที ช่วง ผ่อนคลายต้องใช้เวลาราว 6–10 วินาที
หาสถานที่เงียบสงบ อากาศถ่ายเท มีแสงสว่างพอเหมาะ 2
1
ก�ำมื อ ซ้ า ยและขวาให้ แน่น เกร็งแขนไว้สักครู่ แล้วผ่อนคลาย
งอข้ อ ศอกทั้ ง สองข้ า ง ก�ำมือและเกร็งกล้ามเนื้อ ไว้สักครู่ แล้วผ่อนคลาย
PLOY
3
4
เหยี ย ดแขนทั้ ง สอง ข้างให้รู้สึกตึงเต็มที่ เกร็ ง ไว้ สั ก ครู ่ แล้ ว ผ่อนคลาย 6
เลิ ก คิ้ ว ให้ สู ง ที่ สุ ด ท�ำ ค ้ า ง ไว ้ สั ก ค รู ่ แล้วผ่อนคลาย 7
เกร็ ง กล้ า มเนื้ อ ขา กรรไกรโดยกั ด ฟั น ให้แน่นจนรู้สึกตึงไว้ สักครู่ แล้วผ่อนคลาย 9
ก ด ลิ้ น บ น เ พ ด า น ปากให้แน่น เกร็งไว้ สักครู่ แล้วผ่อนคลาย 10
5
หลั บ ตาปี ๋ ย่ น จมู ก เกร็ ง ไว้ สั ก ครู ่ แล้ ว ผ่อนคลาย
ฝึกหายใจลดความเครียด 1
2
นั่ ง หรื อ นอนราบใน ท่าผ่อนคลาย
หลับตา หายใจเข้า ลึ ก ๆ แล้ ว หายใจ ออกจนสุดลม
3
4
หายใจเข้ า อี ก ครั้ ง ขณะที่สูดหายใจเข้า ให้ จิ น ตนาการถึ ง เลข 1 ในใจ กลั้นลม หายใจ 3 วิ น าที แล้วหายใจออก
ขณะหายใจออกให้ พูดค�ำว่า “สอง” ใน ใจและจิ น ตนาการ ถึงภาพเลข 2 ไปด้วย
8
เม้มริมฝีปากเข้าหา กันให้แน่น เกร็งไว้ สักครู่ แล้วผ่อนคลาย 11
5
หายใจเข้าลึกๆ กลั้น ไว้ สั ก ครู ่ แล้ ว ผ่ อ น คลาย
ยกไหล่ ทั้ ง สองข้ า ง ให้ สู ง ที่ สุ ด เกร็ ง ไว้ สักครู่ แล้วผ่อนคลาย
เหยี ย ดขาที ล ะข้ า ง งอนิ้ ว เท้ า เกร็ ง ไว้ สักครู่ แล้วผ่อนคลาย กระดกปลายนิ้วเท้า เกร็ ง ไว้ สั ก ครู ่ แล้ ว ผ่อนคลาย
เมื่ออยากลุกให้หลับตานับเลขถอยหลัง ตั้งแต่ 5 ถึง 1 ค่อย ๆ ลืมตาแล้วจึงลุก
หายใจเข้ า ออกพร้ อ มกั บ จิ น ตนาการและ นับตัวเลขไปจนถึงเลข 8 แล้วท�ำซ�้ำอีกครั้ง ตั้งแต่ 1-8 เมื่อใจมีสมาธิจดจ่อกับ ลมหายใจ ทำ�ให้ไม่ฟุ่งซ่าน ลดความวิกตกกังวล และ ลดความเครียดได้
ที่มา : คู่มือการส่งเสริมสุขภาพวัยท�ำงาน กรมอนามัยและโรงพยาบาลล�ำปาง 41
สมัครสมาชิก / ต่ออายุสมาชิก / สั่งซื้อย้อนหลัง / ร่วมโครงการส่งสุขให้กัน แบบฟอร์มสมัครสมาชิก (แบบฟอร์มนีส้ ามารถถ่ายส�ำเนาได้) ชือ่ / นามสกุล ............................................................................................................................... อายุ................................................... วันเกิด.................................อาชีพ....................................... โทรศัพท์ / มือถือ.................................................อีเมล.................................................................. สถานทีจ่ ดั ส่ง (ทีอ่ ยู)่ ........................................................................................................................ ......................................................................................................................................................... สมัครสมาชิก /
ต่ออายุสมาชิก
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท (ฉบับละ 30 บาท) และรับกระเป๋าสุขใจ เริ่มตั้งแต่ฉบับที.่ี ................................... รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท (ฉบับละ 30 บาท) และรับเพิ่มฟรีอีก 1 ฉบับ เริม่ ตัง้ แต่ฉบับที.่ ................................... โครงการส่ง SOOK ให้กนั
รายปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท และหนังสือ “ชีวิตใหม่ ไร้พุง” รายครึง่ ปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท ให้กบั .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................
สัง่ ซือ้ ย้อนหลัง
เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 1-25 ราคาเล่มละ 20 บาท) เล่มที่.............................................รวม......................เล่ม (เล่ม 26 ราคาเล่มละ 30 บาท)
ถ้าไม่อยาก พลาด
ความสุข ทุกเดือน
สมัครสมาชิก นิตยสาร
ฟรี ค่าจัดส่ง
1 ปี 12 ฉบับ ราคา 360 บาท ครึ่งปี 6 ฉบับ ราคา 180 บาท แถมฟรีเพิ่มอีก 1 ฉบับ
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ..................................... บาท
โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี “บริษทั โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพือ่ สมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK” (กรุณาระบุสาขาธนาคาร) ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 ( ในกรณีที่ไม่ได้ระบุฉบับแรกที่ต้องการ ทางเราขออนุญาตส่งนิตยสารฉบับถัดจากเดือนที่คุณสมัครไปให้ )
ัคร เฉพาะผู้ที่สม ี สมาชิกรายป
ใจ
รับกระเป๋าสุข
ัด
มีจ�ำนวนจ�ำก
โปรดให้ความเห็นอันมีค่ายิ่งต่อเรา
คุณรูจ้ กั SOOK ได้อย่างไร .......................................................................................................... ความรูส้ กึ ของคุณต่อนิตยสาร SOOK ......................................................................................................................................................... คุณเลือกซือ้ นิตยสาร SOOK อ่าน เพราะเหตุผลอะไร ......................................................................................................................................................... คอลัมน์ทช่ี น่ื ชอบคือ เพราะอะไร ............................................................................................. อยากรูเ้ รือ่ งอะไรเกีย่ วกับสุขภาพ .............................................................................................. คุณมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม หรือเวิรค์ ช็อปประเภทใด ......................................................................................................................................................... คำ�แนะนำ� ติชม สิง่ ทีอ่ ยากให้ปรับปรุงและเพิม่ เติม ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 56
ฟรี ขัน้ ตอนการชำ�ระเงิน • โอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เพื่อสมัครสมาชิกนิตยสาร SOOK - ธนาคารกรุงไทย สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญ ั ชี 981-8-57514-8 - ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาเทสโก้โลตัส วังหิน เลขทีบ่ ญั ชี 404-517727-2 • ส่งแบบฟอร์มสมัครสมาชิก พร้อมหลักฐานใบโอนเงินมาที่ บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กทม. 10230 หรือ ส่งแฟกซ์ 02-116-9958 หรือ ส่งอีเมล sookmember@gmail.com • สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นิตยสาร SOOK โทร. 02-116-9959 10.00 - 18.00 น.)
มีความสุข ย้อนหลัง กันได้นะจ๊ะ
SOLD
OUT
เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เมนูกชู้ พี สุดประหยัด ความสุขมีไว้แบ่งกัน
เล่มที่ 3 Love Issue
เล่มที่ 4 Growing Up
เล่มที่ 7 Eco Issue
เล่มที่ 8 ออมแบบไม่อด
เล่มที่ 9 เกิดเป็นหญิง เล่มที่ 10 มีหลายสิง่ ให้คน้ หา พื้นที่สร้างสรรค์
เล่มที่ 15 รักต้องเซฟ
เล่มที่ 16 เล่มที่ 17 เทีย่ วช้า ๆ แบบชิล ๆ กินอยู่แบบไทย
เล่มที่ 18 สุขภาพดีวัยทำ�งาน
เล่มที่ 24 อยู่ร่วมกันอย่างใส่ใจ
เล่มที่ 26 ปลูก
เล่มที่ 5 Family Outing
เล่มที่ 6 ร่างกายดี หัวใจเป็นสุข
เล่มที่ 11 วัยรุ่นวุ่นเนอะ
เล่มที่ 12 ลด หวาน มัน เค็ม
ฉบับย้อนหลัง
ISSUE NO.14 /JANUARY 2014
เล่มที่ 13 เรือ่ งของ ผูช้ าย แต่ผหู้ ญิงควรรู้
เล่มที่ 14 สุขอยู่กับบ้าน ISSUE NO.22 / SEPTEMBER 2014
เล่มที่ 21 เล่มที่ 22 คิดดี พูดดี ทำ�ดี มีสุข Slow life
ISSUE NO.23 / OCTOBER 2014
เล่มที่ 23 รอดได้ เมื่อภัยมา
มาส่งต่อ “ความสุข” กันเถอะ กับโครงการส่ง
เล่มที่ 19 เล่มที่ 20 สนุกขยับ กระฉับกระเฉง ไทยไม่เฉย
ให้กัน
โครงการดี ๆ ที่ช่วยทำ�ให้สังคมนี้มี ความสุขมากขึน ้ เพียงร่วมเป็นผูส ้ ง ่ มอบ “ความสุ ข “ ไปถึ ง โรงเรี ย น องค์กร มูลนิธิ หรือแม้แต่คนที่คุณ รัก และห่วงใย ด้วยการสมัครสมาชิก นิตยสาร SOOK ให้กบ ั พวกเขา
เล่มที่ 25 ส่งสุขให้กัน
ร่วมสมัครสมาชิก
"การอ่าน" เป็น รากฐานทีด ่ ขี อง ชีวต ิ
สมัครเข้าร่วมโครงการได้ทห่ี น้าสมัครสมาชิกภายในเล่ม หรือสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี sookmember@gmail.com หรือโทร. 02-116-9959
โครงการส่งสุขให้กัน รับฟรี!
หนังสือ “ชีวิตใหม่ ไร้พุง” (หนังสือมีจ�ำนวนจ�ำกัด)
57
60