SOOK Issue No.28 เดินตลาด

Page 1


TEAM

editor's note

ที่ปรึกษา ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร โดย สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร 02-343-1500 Email : thc@thaihealth.or.th SOOK

www.thaihealthcenter.org บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร บรรณาธิการที่ปรึกษา โศภิษฐ์ ขันแข็ง บรรณาธิการบริหาร ชนม์นิภา บัณฑิตพุฒ บรรณาธิการ กัลย์จีรา ชาตินันทฤกษ์ กองบรรณาธิการ วรรณประภา ตุงคะสมิต วิลาวัลย์ อนุสรธนาวัฒน์ พิมพ์ใจ จันทรประภา นิทาน สมตระกูล

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ อลิสา อนุกูลประเสริฐ ศิลปกรรม นพวรรณ รุ่งกิตติวงศ์ ศิรดา ธนาคมตระกูล ช่างภาพ ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม พิสูจน์อักษร สุธินาทร ใจสมิทธ์ ฝ่ายประสานงาน กนกพร เรืองเลขา ฝ่ายสมาชิก ปารณีย์ ศรีอริยะเมต

ผลิตโดย

ตลาดกับวิถีชีวิตของคนไทยผูกพันกันมาช้านาน ทุกเช้าเย็นเรา จึงมักเห็นผู้คนเดินถือตะกร้าจับจ่ายใช้สอยเลือกซื้อสินค้าทั้งอาหารสด อาหารแห้งในตลาด บรรยากาศของตลาดที่เรามักจินตนาการถึง จึงเป็นความวุน่ วาย เสียงจอแจ กลิน่ อาหารคาวหวานลอยอบอวลชวน ให้แวะซื้อแวะชิม ความวุ่นวายของผู้คนที่เคลื่อนไหวอย่างสัมพันธ์กัน ไปตลาดแต่ละครั้งเราจึงได้เห็นคุณป้าร้านผักสดทักทายลูกค้าด้วย รอยยิ้ม เห็นคุณน้าร้านข้าวแกงกำ�ลังแนะนำ�สารพัดเมนู เห็นคุณลุง คนเข็นของร้องขอให้ช่วยหลีกทางมาแต่ไกล เห็นพี่ป้าน้าอากำ�ลังพูด คุยซักถามความเป็นอยู่ระหว่างเลือกซื้อเลือกหา เห็นน้ำ�ใจ มิตรภาพ ความรู้สึ กใกล้ ชิดผู กพั นระหว่ า งชาวบ้ านร้า นตลาด ทั้ งหมดนี้คื อ ความมีชวี ติ ชีวาทีเ่ ราสามารถสัมผัสได้จากตลาดสดใกล้บา้ น บรรยากาศ ที่เราคุ้นเคย นานเท่าไรแล้วที่เราไม่ได้สัมผัสบรรยากาศแบบนี้ SOOK ฉบับนีจ้ ะชวนคุณผูอ้ า่ นไป “เดินตลาด” ด้วยกันในแบบสุขๆ และอาจจะดิ บ บ้ า ง ในบางพื้ น ที่ ที่ ต้ อ งลุ ย เข้ า ให้ ถึ ง แหล่ ง ของถู ก คุณภาพดี ภายในเล่มยังมีคอลัมน์คู่มือแนะนำ�การเดินตลาด เทคนิค การเลือกผักผลไม้ DIY รองเท้าแตะเดินตลาด พร้อมแนะนำ�ตลาด ต่างๆ ที่น่าสนใจ ตลอดจนแนะนำ�แนวคิดตลาดที่ดีแบบ “ตลาดสด ตลาดสุข” เตรียมตะกร้าให้พร้อมแล้วไปเดินตลาดด้วยกันค่ะ

บริษัท โคคูน แอนด์โค จำ�กัด เลขที่ 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324 โทรสาร 02-116-9958, Email : cocoonjob@gmail.com แยกสีที่ บริษัท 71 อินเตอร์สแกน จำ�กัด โทร. 02-631-7171

ISSN 2286-8127

พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ฐานการพิมพ์ จำ�กัด โทร. 02-954-2799

บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร

03


GROW YOUR OWN พลังงานสะอาดจากสิ่งปฏิกูล

พืชผักสวนครัวที่ขายตามท้องตลาดบางชนิด เมื่อใช้ท�ำ อาหารแล้วมักทิ้งลงถังขยะอย่างน่าเสียดาย รู้หรือ เปล่าว่าพืชผักอย่างแครอทก็ยังน�ำมาปลูกใหม่ได้ หลัง จากหั่นหัวแครอทไปแล้วก็ตาม โดยการตัดบริเวณขั้ว เก็บไว้ประมาณ 2 นิ้ว แล้วน�ำไปแช่น�้ำ รอเพียง 1-2 สัปดาห์ให้ต้นแครอทแตกหน่อ แล้วค่อยปลูกลงดิน e

ไอเดียดีๆ นี้ยังรวมถึงกะเพรา กระเทียม ต้นหอม หัวหอม ขึ้นฉ่าย และผักกาดก็สามารถน�ำมาปลูกใหม่ ได้เช่นกัน เป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยให้ประหยัดรายจ่าย ภายในบ้ า น และแน่ น อนว่ า การได้ เ ห็ น ผั ก สดๆ จัดอยู่ในจานนั้นยิ่งท�ำให้มื้อนี้ของเราดูน่ารับประทาน มากขึ้น

ทีม่ า : www.food-hacks.wonderhowto.com

FRESH PAPER

กระดาษถนอมอาหาร

แม่บ้านทั้งหลายที่ชอบซื้อผักผลไม้มา ตุนไว้ ท�ำให้บางครั้งเน่าเสียก่อนที่จะ ทันกินหมดทุกที Kavita M Shukla ได้ เห็ น ความส�ำคั ญ ของการรั ก ษาความ สดของผั ก ผลไม้ ไว้ ไ ด้ จึ ง จั บ มื อ กั บ คุณหมอ Swaroop Samant มาร่วม ออกแบบและคิ ด ค้ น นวั ต กรรมนี้ PAPER FRESH คือแผ่นกระดาษที่ใช้ ส่วนผสมของเครื่องเทศออร์แกนิกของ อินเดียมาช่วยยับยั้งการเจริญเติบโต e

ทีม่ า : www.fenugreen.com

ของแบคที เรี ย และถนอมอาหาร เพี ย งวางแผ่ น ถนอมอาหารลง ในกล่องหรือถุง ก็จะช่วยรักษาผัก และผลไม้ให้สดได้นาน ไม่เป็นรา และไม่เน่าเสียไปซะก่อน ปัจจุบัน ซูเปอร์มาร์เก็ตต่างๆ ในแอตแลนติก เหนือและตะวันออกเฉียงเหนือได้ น�ำไปใช้กับผักผลไม้แล้วพบว่า ช่วย ท�ำให้เก็บรักษาผักผลไม้เหล่านั้นไว้ ได้นานจริงๆ 11


MAKE SOME SURPRISE

BUA

DECO FLIP FLOP FOR SUMMER

แต่งรองเท้าแตะรับหน้าร้อน

เปลี่ยนรองเท้าแตะหน้าตาจืดๆ ให้กลายเป็นรองเท้าแตะที่เตะตาด้วยสีสันสุดสดใส ใส่ไปไหน รับรองว่ามีคนทัก สวยๆ แบบนี้ทำ�เองนะจ๊ะ ที่สำ�คัญคือง่าย แถมยังมีหลายวิธีให้สนุกกัน ทั้งผูกทั้งพัน พร้อมแล้วมาลุยกันเลย 12


INFOGRAPHIC

Mr.O

ตลาดปลอดสารพิษ คอ ื ตลาด ท สน ิ คา้ เอ เี่ กษตร ง โด ยไม กรเป ผ ่ า่ น็ น

อะไรค อื ต

ทำไมต้องตลาดสีเขียว?

ประเทศไทยมีการนำเข้าสารเคมี กำจัดศัตรูพืชเข้ามาปีละประมาณ

ย ำหนา่ ละจ ติ แ กลาง ู้ ล า้ คน ผผ ค พอ่

ย ี ว? ข เ ี ส ด ลา

เพื่อสุขภาพที่ดี

137,594,393.26 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าการนำเข้า

16,815,769,077 ล้านบาท

ในปี 2552 มีจำนวนผู้ปวยที่ ได้รับพิษจาก สารกำจัดศัตรูพืชจำนวน

1,520 ราย

กลุ่มอายุ 35-44 ปี

เกษตรกรได้ ขายสินค้า ในราคายุตธิ รรม

ข้อดี

กลุ่มอายุ 45-54 ปี

ตลาดสีเขียว

ตลาดสีเขียว มีสินค้า 2 ประเภทคือ

มีสินค้า 2 ประเภทคือ

เกษตรกรรายย่อย มีพน้ื ทีใ่ นการ จำหน่ายผลผลิต

ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น ข้าว ผัก ผลไม้ ไข่ ฯลฯ

1

ผลิตภัณฑ์แปรรูปทางการเกษตร เช่น อาหารปรุงสำเร็จ อาหารแปรรูป สมุนไพร เครื่องสำอาง ฯลฯ

2

สินค้าที่นำมาจำหน่ายจะต้องมีตราของ สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) เพื่อรับประกันคุณภาพ

ของการเดิน ตลาดสีเขียว

สินค้าปลอดสารพิษ ช่วยให้เกิดผลผลิตใหม่ๆ เพือ่ ตอบโจทย์ความ ต้องการของผูบ้ ริโภค 16

ลดการพึง่ พาระบบการผลิต ด้วยความวิตกกังวลเกี่ยวกับสารพิษตกค้าง แบบอุตสาหกรรม ส่งผลให้ผู้คนหันมาบริโภคสินค้าปลอดสารพิษ และระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ตามตลาดสีเขียวกันมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะดีต่อ

สุขภาพร่างกายแล้ว ยังส่งผลดีตอ ่ เกษตรกรอีกด้วย

eที่มา : www.biothai.net/node/6139

22.43%

กลุ่มอายุ 25-34 ปี

17.76% 16.12%

โดยในปี 2554 มีการนำเข้าสารเคมี ปองกันและกำจัดศัตรูพืช

เพิ่มมากขึ้น

164

ล้านกว่ากิโลกรัม

คนไทย 64 ล้านคน มีความเสี่ยงได้รับ สารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช

มากกว่า 2.6 กิโลกรัมต่อคนต่อปี eที่มา : www.thaigreenmarket.com, www.thaiorganictrade.com


ตลาดนางเลิ้ง ตลาดบกรุ่นบุกเบิก

ทุกวัน 10.00–14.00 น. และ 17.00-23.00 น. ถนนนครสวรรค์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ GPS : 13.759688,100.512132 ท า ง เข ้ า เ ล็ ก ๆ ที่ เ ป ็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ ์ ร า ย ล ้ อ ม ด ้ ว ย ตึ ก แ ถ ว ท ร ง โบราณสี ช มพู ห วานจ๋ อ ย ท�ำให้ ต ลาดนางเลิ้ ง ที่ เ คยเงี ย บเหงา ฟ ื ้ น ก ลั บ ขึ้ น ม า มี ชี วิ ต ชี ว า อี ก ค รั้ ง ใ น ฐ า น ะ ต ล า ด ร ้ อ ย ป ี ที่ ยั ง มี ล ม ห า ย ใจ “ น า ง เ ลิ้ ง ” คื อ ชื่ อ ใ ห ม ่ ข อ ง “ อี เ ลิ้ ง ” ที่ ถูกเปลี่ยนเพื่อให้เพราะขึ้น เป็นตลาดบกแห่งแรกของไทยที่สร้างขึ้นสมัย รัชกาลที่ 5 ชาวบ้านในละแวกนี้จึงเป็นคนเก่าคนแก่ที่ผูกพันและเติบโต มาพร้อมๆ กับตลาด ข้าวปลาอาหารในตลาดจึงมักเป็นสูตรโบราณเฉพาะ สืบทอดกันมารุ่นต่อรุ่น ท�ำให้ตลาดแห่งนี้เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณค่า อบอวล ด้วยกลิ่นอาหารคาวหวาน โดยเฉพาะขนมไทยขึ้นชื่อและเมนูอาหาร หาทานยาก ลู ก ค้ า ที่ แวะเวี ย นมาเลื อ กซื้ อ กั น จึ ง มั ก เป็ น ขาประจ�ำที่ คุ้นเคยกันดี

ของดีประจำ�ตลาด ไส้ ก รอกปลาแนม อาหารทานเล่ น โบราณที่หาทานได้ยาก

ส.รุ่งโรจน์ ร้านพะโล้-เป็ดตุ๋นโบราณ ร้ านขนมไทยแม่ก วา ฝอยทอง ทอง

หยิบ ทองหยอด ฯลฯ

ตลาดสามชุก ตลาดเก่าเล่าอดีต

ทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30 น. ริมแม่นำ�้ ท่าจีน อ�ำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี GPS : 14.755456,100.094508

รู้ไหม!

รู้ไหม! เมื่อร้อยกว่าปีที่แล้วย่านนางเลิ้งเปรียบเหมือน สยามสแควร์ในปัจจุบัน เก๋ไก๋ไฉไลด้วยโรงหนัง เฉลิ ม ธานี มี ร ถรางและราชตฤณมั ย สมาคม (สนามม้านางเลิ้ง)

ในยุคนี้เรามักเห็นค�ำว่า โบราณ เจ้าเก่า เจ้าเดิม... ต่อท้ายชื่อร้านรวง ต่างๆ เต็มไปหมด อาจเป็นเพราะการเป็นต้นต�ำรับหรือความดั้งเดิมเป็น สิ่งที่ช่วยเพิ่มคุณค่าทางจิตใจ อดีตจึงเป็นสิ่งที่หลายคนหวนหาอยาก รักษาไว้ เช่นที่ตลาดเก่าสามชุก ตลาดเก่าที่คนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ และคงไว้ซึ่งวิถีของความเก่าอย่างแท้จริง ทุกสิ่งที่อยู่ในตลาดผ่านระยะ เวลาบ่มเพาะมาอย่าง ยาวนาน บ้านไม้เก่าแก่แบบจีนโบราณ มีพพิ ธิ ภัณฑ์บา้ นขุนจ�ำนงจีนารักษ์ที่ จั ด แสดงข้ า วของเครื่ อ งใช้ โ บราณและภาพถ่ า ยเก่ า แก่ ข องตลาดใน อดีต รวมถึงพ่อค้าแม่ขายในตลาดสดที่คงไว้ซึ่งบรรยากาศของความ ใจดีมิตรไมตรีในแบบไทยๆ จนตลาดแห่งนี้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ตลาด 100 ปี พิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิต”

ปี 2552 ตลาดสามชุกได้รบั รางวัล มรดกโลกประเภทอนุ รั ก ษ์ มรดกวั ฒ นธรรมแห่ ง เอเชี ย แปซิฟิกจากองค์การยูเนสโก ขอบคุณภาพ : www.suphan.biz/Samchuk.htm

19


2

ตลาดเพื่อสุขภาพ

ทุ ก วั น นี้ เ ป็ น ยุ ค ของการใส่ ใ จตั ว เองและ ใส่ใจสิง่ แวดล้อม ท�ำให้ผคู้ นส่วนใหญ่หนั มา สนใจเลือกสรรข้าวของเครื่องใช้ อาหารที่ มาจากธรรมชาติ ช่วยอุดหนุนสินค้าที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงเกิดเป็นเครือข่าย ตลาดเพื่อสุขภาพที่น่าสนใจหลายแห่ง

ตลาดสีเขียว

ตลาดปันสุขไร้สารพิษ ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็เต็มไปด้วยสีเขียว เขียวเพราะพืชผักที่วางเรียงราย และหัวใจสีเขียวของผู้คนในตลาดแห่งนี้ ตลาดนัดสัญจรที่รวบรวมสินค้า เกษตรอินทรีย์จากเกษตรกรที่เน้นวิธีการเพาะปลูกแบบดั้งเดิม ไม่ใช้สาร เคมี ไม่เร่งรัด เน้นคุณภาพ และบ�ำรุงด้วยสูตรชีวภาพ มีทงั้ พืชผัก ผลไม้ อาหาร ขนมทานเล่น ผลิตภัณฑ์ครัวเรือนอย่างสบู่ ยาสีฟัน น�้ำยาล้างจาน ยาสระผม แม้ ก ระทั่ ง ปุ ๋ ย หมั ก ชี ว ภาพที่ เ น้ น กระบวนการธรรมชาติ เ กื อ บ 100% ถือเป็นตลาดทางเลือกของคนรักสุขภาพทีค่ วรสนับสนุน ตลาดขนาดไม่ใหญ่ ไม่ เ ล็ ก จั ด วางขายกั น อย่ า งเรี ย บง่ า ยหมุ น เวี ย นไปตามหน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่เข้าร่วมโครงการ นอกจากจะได้สินค้าคุณภาพดีปลอดภัยแล้ว ยังถือ เป็นการส่งเสริมรายได้ให้แก่เกษตรกรชาวไร่ชาวสวนอีกทางหนึ่งด้วย

ขอบคุณภาพ : www.facebook.com/thaigreenmarket

SOOK IDEA

ตลาดเวียนไปตามหน่วยงานต่างๆ ติดตามข้อมูลได้ที่เครือข่ายตลาดสีเขียว www.thaigreenmarket.com

Bangkok Farmer’s Market

ตลาดสินค้าออร์แกนิกขนาดย่อมที่แทรกตัวอยู่ตามคอมมูนิตี้มอลล์ หมุ น เวี ย นเปลี่ ย นไปตามแต่ เ ทศกาลและตารางเวลา พ่ อ ค้ า แม่ ค ้ า ส่วนใหญ่มักเป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่สนใจเกษตรอินทรีย์ ปลูกเอง ผลิต เอง และน�ำมาขายเอง ผสมผสานให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่ ตลาดจึงมีดีไซน์ที่ใส่ใจในทุกรายละเอียด จัดวางสินค้าได้อย่างน่าสนใจ เลือกสรรแต่สิ่งที่มีคุณภาพ บรรจุภัณฑ์เก๋ไก๋ คนขายโบกมือทักทาย ให้ ค�ำแนะน�ำได้อย่างชัดเจน สัมผัสได้ถึงความทุ่มเทมุ่งมั่นที่จะปันสิ่งดีๆ จุดเด่นของตลาดแห่งนี้คือ ผู้ซื้อได้มีโอกาสเห็นหน้าพบปะพูดคุยกับผู้ ผลิตได้โดยตรงไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง 22

ห้ามพลาด! ในงานยังมีดนตรีสด Jazz Bossa-Nova พร้อมจัดที่นั่งไว้ให้ ใครเดินตลาดเหนื่อยๆ ก็แวะมานั่งพักฟังเพลงสบายๆ ตลาดเวียนไปตามสถานที่ต่างๆ ติดตามข้อมูลได้ที่ www.facebook.com/bkkfm

ขอบคุณภาพ : www.facebook.com/bkkfm

ตลาดของคนรักสินค้าออร์แกนิก


SOOK INTERVIEW

เสริมสิน

จิระ ไชยอัมพร

ไพโรจน์ ร้อยแก้ว ตลาดมีสไตล์สะท้อนตัวตน เด็กหนุ่มอายุ 20 ต้นๆ ตัดสินใจลาออกจากมหาวิทยาลัย มาเป็นพ่อค้าของเก่าที่ตลาดคลองถม เมื่อเข้าสู่วัย 35 เขาบุกเบิกตลาดนัดรถไฟ ตลาดนัดจากโกดังเก่าเป็นคนแรก และด้วยใจรักในเส้นทางสายนีบ้ วกกับประสบการณ์อนั โชกโชน เพียง 6 ปี ต่อมาเขาก็ได้ปั้นตลาดนัดขึ้นมาส�ำเร็จอีก 2 แห่ง คือ ตลาดนัดรถไฟศรีนครินทร์และตลาดนัดรถไฟรัชดา เหตุการณ์กว่าครึ่งชีวิตบนเส้นทางสายนี้สามารถนิยาม ตัวตนของเขาได้เป็นอย่างดีว่าเขาคือพ่อค้านักสร้างสรรค์ที่ ใช้หัวใจในการสร้างตลาด สามารถเนรมิตพื้นที่ว่างโล่งหรือ โกดังเก่าเก็บให้เป็น ‘ตลาดนัด’ ทีม่ เี อกลักษณ์และไม่ธรรมดา 27


GIMMICK

ชมพูฟิวเซีย

Shop smarter

at the market จ่ายตลาดแบบมือโปร

มาเรียนรู้วิธีการเลือกซื้อผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ เพื่อให้การเข้าครัวของคุณครั้งต่อไป สนุกและมีคุณภาพกว่าที่เคย เพราะอาหารที่ดีต้องเริ่มต้นจากความพิถีพิถันใส่ใจในการเลือกวัตถุดิบ

ส้ม

“เปลือกบาง น้�ำ หนักแน่น” ส้มเขียวหวาน เปลือกขรุขระหรือมีเส้น สีน�้ำตาล ไม่ควรเลือกผลที่ใส สวย หรือถ้า สีเขียวจัดรสจะเปรี้ยว ส้มโชกุน ผิวบาง เรียบ สีไม่เขียวจัด ลูกโต จะได้สม้ รสหวานอมเปรีย้ วเล็กน้อย กินแล้วชุม่ คอ ส้มเช้ง เปลือกบาง มีนำ�้ หนักดี ขนาดโตเต็มที่ ผิวเรียบ จะได้ส้มที่มีรสหวานฉ�่ำ ส้มโอขาว ผิวขาวนวล เปลือกบาง ลองยกดู มีนำ�้ หนักแน่น ผิวไม่เป็นรอยช�ำ้ จะได้สม้ โอ รสหวานแหลมไม่มเี มล็ดข้างใน เนือ้ หวานอร่อย ซือ้ ส้มช่วงไหนดี : ช่วงใกล้ๆ ปีใหม่ เพราะจะ มีสม้ เยอะ หวานอร่อย และมีราคาถูก ทีส่ �ำคัญ ควรเลือกกินส้มตามฤดูกาล เพราะไม่เช่นนัน้ จะมีราคาแพง ช่วงเดือนสิงหาคมส้มจะไม่คอ่ ย อร่อย เพราะไม่ใช่ฤดูเก็บเกีย่ ว 30

กล้วยน้�ำ ว้า

ไข่

“เปลือกบาง ไม่มเี หลีย่ ม” สุกคาเครือรสชาติจะดีกว่ากล้วยบ่มให้สุก เลือ กหวี ที่อ ยู ่ กลางเครื อ เพราะจะมี ส าร อาหารครบถ้วน ดึงโดยไม่ตอ้ งใช้มดี จับทีก่ า้ น แล้วดึงออกทีละลูก ฉีกออกมาวางไว้ กล้วยจะ แห้งทีก่ า้ น อยูอ่ ย่างนีไ้ ด้ 3-5 วัน ไม่สกุ ไม่เน่า

กุง ้

“ไข่กลม แปลว่า ไข่แดงมาก ไข่รี แปลว่า ไข่ขาวเยอะ”

“ตากุง้ ต้องใส ไม่เหีย่ วแห้ง”

ควรเลือกไข่ที่มีน�้ำหนัก เพราะแปลว่า ไข่ยังสด สารอาหารยังเต็มเปี่ยม ควร เลือกเปลือกไข่ที่สีนวล ผิวสะอาด ผิว หยาบๆ กลม อ้วน มีผงคล้ายฝุน่ ผงแป้ง ติดอยู่โดยรอบ จับแล้วรู้สึกมือสากเล็ก น้อย

ล�ำตัวของกุง้ ต้องใส เนือ้ ต้องแน่น ส่วนหัว ล�ำตัว และหางต้องติดกัน เปลือกกุง้ เป็นเงา ตากุง้ ต้องใส ไม่เหีย่ วแห้ง

ทดสอบไข่ : น�ำไปลอยน�ำ้ ไข่ทสี่ ดใหม่ จะจมน�้ำ ส่วนไข่ที่เก่าจะลอยใต้ผิวน�้ำ ส่วนไข่เน่าจะลอยเหนือผิวน�ำ้


vanilla

THE LESSON

จิระ ไชยอัมพร

THE LESSON#28 ปู-จิรัฏฐ์ พรพนิตพันธุ์

ดูแลตัวเอง เพื่อ “ตัวเราเอง” ค�ำถามทีว่ า่ “อะไรส�ำคัญทีส่ ดุ ในชีวติ ” ค�ำตอบส�ำหรับเขาคือ “ลมหายใจ” หลังจากมีปญ ั หาด้านสุขภาพร่างกาย ท�ำให้ เขาพบกับจุดเปลี่ยนที่ต้องเริ่มหันมาดูแลตัวเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพใจ เขาคนนั้นคือ ปู-จิรัฏฐ์ พรพนิตพันธุ์ ผู้ก่อตั้งนิตยสาร CHEEZE และบรรณาธิการบริหารหนังสือ LOOKER เจ้าพ่อวงการ Street Fashion 52


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.