TEAM
editor's note
ISSUE NO.30 MAY 2015
THE THINGS ABOUT
ที่ปรึกษา ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร
นิสัยของคนมีเงิน และคนเงินหมด
SOOK INFOGRAPHIC
โดย สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร 02-343-1500 Email : thc@thaihealth.or.th SOOK
www.thaihealthcenter.org บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร บรรณาธิการที่ปรึกษา โศภิษฐ์ ขันแข็ง หยาดฝน ธัญโชติกานต์ บรรณาธิการบริหาร ชนม์นิภา บัณฑิตพุฒ กองบรรณาธิการ วรรณประภา ตุงคะสมิต พิมพ์ใจ จันทรประภา นพชนก มันตาวิจักษณ์ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ อลิสา อนุกูลประเสริฐ
ศิลปกรรม ยุการมาศ ยาสมุทร์ วรัตม์ ถนอมวรสิน ช่างภาพ ประวีร์ จันทร์ส่งเสริม จิระ ไชยอัมพร พิสูจน์อักษร สุธินาทร ใจสมิทธ์ ฝ่ายประสานงานและการตลาด กนกพร เรืองเลขา ปนัดดา วิบูลย์มงคล ฝ่ายสมาชิก ปารณีย์ ศรีอริยะเมต ฝ่ายดูแลการผลิต ชัยชวัชร์ บุญพันธะรัชต์
ของถูก ดี และฟรี ยังมีอยู่นะ
เรามักได้ยนิ หลายคนบ่นกันแต่เรือ่ งเงินๆ ทองๆ ว่า เงินไม่พอใช้บา้ ง เดือนชนเดือน หนีส้ นิ รุงรัง เงินออมไม่มี เมือ่ ไหร่จะรวยนะ อยากไปเทีย่ ว ถังแตก ... แต่ แต่ แต่ ทำ�ไมบางคนถึงจัดการปัญหาทางการเงินนี้ได้ มีความลับอะไรที่เราไม่รู้หรือมองข้ามไปบ้างนะ จริงอยู่เงินอาจไม่ใช่สิ่งสำ�คัญที่สุด แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า เงินเป็น สิ่งหนึ่งที่จำ�เป็นในการใช้ชีวิต คนส่วนใหญ่จึงพยายามดิ้นรนเพื่อหาเงิน ให้ได้มากๆ ซึ่งกว่าจะได้มาเราต้องแลกทั้งเวลา แรงงาน แรงใจ SOOK ฉบับนีจ้ งึ ขอนำ�เสนอเกีย่ วกับความรูท้ างด้านการเงินในแบบที่ เข้าใจง่าย รวมถึงวิธีการจัดการการเงินว่า เราจะจัดสรรปันส่วนอย่างไร ให้มีเหลือใช้และเหลือเก็บ เผยเทคนิคและแนวคิดดีๆ ด้านการเงินใน คอลัมน์ SOOK IDEA สร้างนิสัยการออมเงินในปฏิทิน 30 วัน ปฏิวัติ การออม และคอลัมน์อนื่ ๆ อีกมากมาย ทีจ่ ะทำ�ให้เราเริม่ ต้นดูแลสุขภาพ การเงินได้ง่ายๆ ด้วยการเปลี่ยนแปลงสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิตประจำ�วัน เพื่อให้เรามีความสุขกับการใช้จ่ายเงินอย่างรู้คุณค่า
ผลิตโดย บริษัท โคคูน แอนด์ โค จำ�กัด เลขที่ 81 ซอยโชคชัย 4 ซอย 46 ถนนโชคชัย 4 แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร 02-116-9959, 087-718-7324 โทรสาร 02-116-9958, Email : cocoonjob@gmail.com แยกสีที่ บริษัท 71 อินเตอร์สแกน จำ�กัด โทร. 02-631-7171
บรรณาธิการอำ�นวยการ เบญจมาภรณ์ ลิมปิษเฐียร
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ฐานการพิมพ์ จำ�กัด โทร. 02-954-2799
ISSN 2286-8127
03
INFOGRAPHIC
SMART
SPENDING
จ่ายแพงกว่าทำไม ฉลาดเลือกได้ ของถูกดีมีอยู่จริง
คนไทยมี รายจ่ายถึง
ของรายได้
33.9% อาหาร และ เครื่องดื่ม
ค่าท ื่องใช้ และเคร น ้า ภายในบ
19. 5% เ
ค่า
คนไทยใช้เงิน ไปกับค่าอะไร บ้างนะ
ดิน ทา แ ง ยา นพ ละ าห นะ
% 3.ค2่าใช้จ่าย าร ื่อส
ารส
ในก
12.1% ค่าเบี้ยประกัน สลากกินแบ่ง รัฐบาล หรือแม้แต่ หวย !
eที่มา : การสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ปี 2557 ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ
75.81 %
% 20.0ี่อยู่อาศัย
ชมพูฟิวเซีย
SOOK ฉบับนี้ เราอยากจะชวนคุณมาส�ำรวจ นิสยั การใช้จา่ ยและเก็บออมของตัวเอง เพือ่ จัดระเบียบทางการเงิน สร้างนิสยั และสร้าง วินยั ในการใช้เงิน ไม่ส�ำคัญว่าเงินจ�ำนวนมาก หรือเงินน้อย สิ่งส�ำคัญอยู่ที่เรามีวินัยและ ความรู้ทางการเงินแค่ไหนต่างหาก ลดรายจ่าย บางครั้ง คือการเพิ่มรายได้ ไม่ต้องวิ่งหารายได้เสริม แต่บางครั้งการลด รายจ่าย ก็อาจท�ำให้เงินของคุณอยู่ในบัญชี มากกว่าเดิม เช่น ลองลดการเสียค่าทางด่วน หั น มาขั บ รถเส้ น ทางธรรมดาดู บ ้ า ง โดย จัดสรรเวลาออกจากบ้านให้เร็วกว่านี้อีกนิด
YOS
โหมด จัดระเบียบ จัดระเบียบกระเป๋าสตางค์ = จัดระเบียบชีวิต หัดโละทิ้งบิลใบเสร็จเก่าๆ ที่ไม่ได้ใช้ บัตรสะสมแต้มที่มีแล้วมีอีกออกไป ถ้ารู้จักจัดระเบียบสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ในชีวิต เริ่มต้นแค่จากกระเป๋าสตางค์ ของคุณ เรื่องอื่นๆ ในชีวิตคุณก็พร้อมจัดการได้
ก่ อ นจะจั บ จ่ า ยใช้ ส อย ลองถามตัวเองว่า อะไร คือความต้องการ อะไร คือความจ�ำเป็น สุดท้าย แล้ ว ความพอดี ก็ คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของความ มั่งคั่งนั่นเอง
ทำ�บัญชีรายรับรายจ่าย สมัยนีไ้ ม่สะดวกจดก็โหลดแอปฯ มาจดใน แต่ละเดือน บัญชีเหล่านีจ้ ะบอกเราเองว่า เรามี พ ฤติ ก รรมฟุ ่ ม เฟื อ ยค่ อ นไปทาง เรือ่ งใด ท�ำให้เราเห็นภาพรวมการใช้จา่ ยทีด่ ี และไม่ดขี องตัวเอง
ท่องไว้เสมอ รายรับ - เงินออม = เงินใช้ เส้นบางๆ ที่กั้นระหว่างคนรวยกับคนจนต่างกันที่พฤติกรรม การใช้ชีวิต ในวันเงินเดือนออกบางคนได้รับเงินก้อนมาปุ๊บ ก็พร้อมจะเก็บออมหรือลงทุน แต่ในขณะที่บางคนใช้เงินหมด ไปโดยไม่คิดถึงวันต่อๆ ไป 19
GIMMICK
Sun 1
Mon 2
มาส�ำรวจ การเงินกัน!
วันแรกตั้งเป้าหมาย ให้ตัวเองก่อนว่า “เราจะออมเงินเพื่อ...” 8
ปฏิทน ิ การออม ใครๆ ก็ อ ยากออมเงิ น แต่ ไ ม่ รู ้ จ ะเริ่ ม ต้ น อย่างไรดี SOOK มีวิธีการสร้างนิสัยออม มาฝาก มาเริ่มต้นท�ำไปด้วยกันเลยดีกว่า แต่มีข้อแม้ว่า ต้องท�ำให้ครบ 30 วันนะ แล้วจะรู้ว่าการออมเงินไม่ใช่เรื่องยาก 30
รายได้...........................บาท รายจ่ายจ�ำเป็น..............บาท เหลือใช้.........................บาท 9
อ๊ะๆ อย่าลืม! บันทึกรายรับ-รายจ่ายนะ ห้ามโกหกตัวเองด้วย!
วันนี้ลองหักห้ามใจ ไม่ซื้อของฟุ่มเฟือย อะไรก็ได้แค่ 1 อย่าง ที่เรามักจะซื้อประจ�ำ ประหยัดไป.............บาท
15
16
หาความรู้ เรื่องการเงิน
ฝากเงิน รูปแบบไหน ให้ผลตอบแทนคุ้มค่า 22
23
ยังจดบันทึก รายรับ-รายจ่าย อยู่ใช่ไหม 29
หาแรงบันดาลใจ อ่านเรือ่ งราว ของคนทีร่ จู้ กั ออมเงิน เรียนรู้ แนวคิดและเทคนิคต่างๆ วันโละ ของเก่า
เลือกของ 3 อย่างที่ไม่ได้ใช้ ไปให้ใครก็ได้รอบข้าง วันแคะ กระปุก
(แต่ห้ามใช้) ลองนับเงินดูสิว่า 1 เดือน เราหยอดได้เท่าไร
30
วันทบทวน
ดูว่า 30 วันที่ผ่านมา เรา มีวินัยทางการออมเพิ่มขึ้น แค่ไหน รวมทั้งเดือนแล้ว ประหยัดไป...............บาท
Vanilla
Tue
เริ่มเตรียม
จดบันทึกรายรับ-รายจ่าย เอาแบบง่ายๆ ที่เราสะดวก คิดว่าจะจดได้ทุกวัน วันเคลียร์ กระเป๋าสตางค์ 5
34
12
MA NE 6
E
T
ON
ขนมจุกจิกที่ ไม่มีประโยชน์ ประหยัด.........บาท
T
CE
วันงด กินอาหาร
MI
CKE
93
81
ลองเขย่ากระปุก ออมสินดูสิ เริ่มหนักหรือยัง มีก�ำลังใจแล้วใช่ไหมล่ะ!
0
18
19
จากเมือ่ วาน เลือกข้อที่ คิ ด ว่ า เราท�ำได้ ง ่ า ย ทีส่ ดุ วางแผนดูวา่ เรา ต้องท�ำอะไรบ้าง
ในตอนนี้เรามีเงิน ....................บาท ลอง สมมติวา่ เอาไปต่อยอดอะไร ได้บา้ งลิสต์ออกมาเป็นข้อๆ
AD
TRA N
EN
TI
จั ด ระเบี ย บเงิ น และ บัตรต่างๆ บิลเก่าหรือ ตัว๋ รถเมล์ เอาออกมาทิง้ บ้าง อย่ายัดไว้
12
0
11
CI
17
(แต่ละกระปุกห้ามเปิด ก่อนบรรลุเป้าหมาย) - กระปุกเงินเที่ยว - กระปุกเงินออม - กระปุกเงิน.....
81
วันงด เครื่องดื่ม ชา กาแฟ
ประหยัดไป................บาท ลองดื่มแค่น�้ำเปล่าดู สดชื่น!!!
24
มาเตรียม กระปุกออมสินกัน 5
4
เหลือใช้เท่าไร หักไว้ออมสัก 10-30% *เงินออมนี้คือเงินเก็บ อย่าไปแอบหยิบมาใช้ล่ะ 10
Thu
93
3
Wed
25
เหลือเศษเท่าไร อย่าลืมหยอดกระปุก ออมสินนะ
พูดคุยกับพ่อแม่ในหัวข้อ “วิธีออมเงิน ฉบับพ่อ / แม่” 26
ใกล้สนิ้ เดือน แล้วส�ำรวจเงิน ในกระเป๋าหน่อยใกล้หมด หรือยังนะ!
Fri 6
Sat 7
เศษเหรียญก้นกระเป๋า เอาไปหยอดกระปุก ออมสินเลยตามใจชอบ
ลิสต์รายการ ใช้จ่ายวันนี้ วงกลมข้อที่ไม่จ�ำเป็นเอาไว้ ลองดูสิว่า ถ้าเราไม่ซื้อจะ มีเงินเหลือในกระเป๋าเท่าไร 14
13
วันหยุด
ออกจากบ้าน ให้เร็วขึ้น ประหยัด ค่าทางด่วน / ค่าวิน มอเตอร์ไซค์ ประหยัดไป ......................บาท
รื้อตู้เย็นแล้ว ลองท�ำกับข้าวทานเอง ประหยัดไป.........บาท
20
21
เกินครึ่งทางแล้ว ส�ำรวจนิสัยทางการเงิน กันดีกว่า ลิสต์ข้อดี / ข้อเสียของตัวเองมา 27
วันทาน อาหารสุขภาพ
สิ้นเดือนไม่ต้อง กินมาม่าแล้วนะ
วันพักผ่อน
ให้รางวัลตัวเองได้ 1 อย่าง ซื้อของ / หาอะไร อร่อยๆ ทาน
28
วันหยุด
หาความสุขแบบ ไม่เสียเงิน อ่านหนังสือ / ดูหนัง / ฟังเพลง / ออกก�ำลังกาย
31
Span
HAPPY MOVE
8-MINU E
PLOY
YOGA F R BeTTER S EEP ลืมการนับแกะหรือยานอนหลับไปได้เลย! หากคุณเป็นอีกคนทีม่ กั เจอกับปัญหานอนไม่หลับ ต้องพลิกตัวไปมาอยูบ่ อ่ ยครัง้ กว่าจะหลับลง เรามีอกี หนึง่ ทางออกทีค่ ณ ุ สามารถท�ำได้งา่ ยๆ บนเตียงและในชุดนอน วิธีที่จะช่วยให้คุณนอนหลับสบายและสนิทจนถึงเช้ากับ 5 ท่าโยคะ ง่ายๆ เพียง 8 นาทีก่อนนอน ช่วยให้กล้ามเนื้อและร่างกายได้ผ่อนคลาย
นาทีที่ 0-2 ท่านอนยกขา พิงกำ�แพง
นอนลงบนเตี ย งหั น หน้ า เข้ า หาก�ำแพง ค่ อ ยๆ เหยียดขาขึ้นพิงก�ำแพงให้ตรงที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ หากรู้สึกตึงเกินไปให้ขยับก้นออกมาเล็กน้อย ปรับ ร่ า งกายให้ รู ้ สึ ก สบายไม่ เ กร็ ง กางแขนออกข้ า ง ล�ำตัวและหงายฝ่ามือขึ้น หายใจเข้าและออกช้าๆ 40
นาทีที่ 2-3 ท่านั่งบิดตัว
นั่งขัดสมาธิวางมือขวาลงบนเข่าซ้าย วางมือซ้ายไว้ ด้านหลัง จากนั้นค่อยๆ บิดตัวไปด้านซ้าย สายตา มองตามไปที่หัวไหล่ซ้าย ควบคุมลมหายใจเข้าและ ออกช้ า ๆ กลั บ มาพั ก ตรงกลาง และเริ่ ม ท�ำเช่ น เดียวกันอีกข้าง
นาทีที่ 3-5 ท่านอนยืดตัว
นอนราบไปกับเตียง กางขาออกให้ฝ่าเท้าประกบกัน เข่ า แยกออกคล้ายปีกผีเสื้อ กางแขนออกข้างล�ำตัว โดยหงายฝ่ามือขึน้ ปรับให้อยูใ่ นท่าทีส่ บาย แต่ยงั รูส้ กึ ว่า ได้ยืดกล้ามเนื้อ หากรู้สึกปวดขาให้ใช้หมอนมารองใต้ เข่าทั้ง 2 ข้าง หายใจเข้าและออกช้าๆ
นาทีที่ 5-7 ท่าเด็ก
นั่งทับส้นเท้าคล้ายท่ากราบพระของผู้หญิง ค่อยๆ ก้ม ตัวลงจนศีรษะนาบไปกับเตียง เหยียดแขนไปข้างหน้า ตรงๆ ให้หน้าอกชิดเข่า อยู่ในท่านี้และหายใจเข้า-ออก ช้าๆ จนครบ 2 นาที
นาทีที่ 7-8 ท่ากอดเข่า
นอนหงายและกอดเข่าให้ชิดหน้าอกโดยขาไขว้กัน มือ ประสานกันไว้บริเวณหน้าแข้ง หายใจเข้าและลุกขึ้น นั่งคล้ายตุ๊กตาล้มลุก หายใจออกพร้อมกับนอนลงไป ในท่าเดิม ท�ำต่อเนื่องกันอย่างช้าๆ จนครบ 1 นาที จากนั้นคลายตัวออกและนอนราบพร้อมเข้านอน
ท่ า โยคะก่ อ นนอนเป็ น ท่ า ที่ ไ ม่ เ น้ น ออกกำ � ลั ง มากนัก แต่เป็นการขยับ ร่ า งกายอย่ า งอ่ อ นโยน เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ ผ่ อ น ค ล า ย ดังนั้นจึงไม่ควรฝืนหรือ หักโหม เพียงแค่ควบคุม ลมหายใจเข้ า ออกช้ า ๆ และค่อยๆ ทำ�
ที่มา : www.fitnessmagazine.com
41
HAPPY HEALTH
ธนิสร
What is Fatigue? อ่อนเพลียแบบไหนไม่ธรรมดา 3 ตัวการที่ท�ำให้อ่อนเพลีย อาหารการกิน
เชื่ อ ว่ า หลายคนคงเคยมี ช ่ ว งเวลาที่ รู ้ สึ ก เหนื่ อ ยล้ า อ่อนเพลีย หรือหมดแรงจนไม่อยากจะท�ำอะไร ถ้าได้ พั ก ผ่ อ นอย่ า งเต็ ม ที่ ไม่ น านร่ า งกายก็ ก ลั บ มาสดชื่ น กระปรีก้ ระเปร่า พร้อมสูก้ บั ทุกสถานการณ์ แต่ถา้ พักผ่อน แล้วยังไม่หาย อ่อนเพลียเหนื่อยล้าอยู่เป็นประจ�ำอย่าง ต่อเนื่องให้ระวังไว้ เพราะนี่อาจเป็นสัญญาณบอกโรคได้
ใครที่อ่อนเพลียอยู่เป็นประจ�ำ แต่หาสาเหตุไม่ได้ บางทีเจ้าตัวร้ายก็ซ่อนอยู่ ในชีวติ ประจ�ำวันโดยทีค่ ณ ุ ไม่รตู้ วั มาส�ำรวจกันดีกว่าว่า จอมวายร้ายใกล้ตวั ทีว่ า่ มีอะไรบ้างทีค่ ณ ุ อาจมองข้ามไป มีอะไรทีค่ วรหลีกเลีย่ งและอะไรทีค่ วรท�ำ
การนอน
การออกก�ำลังกาย
อาหารที่มีคาเฟอีนและน�้ำตาลสูง เช่น ชา กาแฟ น�้ำอัดลม และขนมเค้ก อาจท�ำให้รู้สึกสดชื่นขึ้น ในระยะเวลาสั้นๆ แต่หลังจากร่างกายดูดซึมไปใช้ แล้ว ความอ่อนเพลียเหนื่อยล้าก็จะปรากฏตัวขึ้น
ฝืนใช้ร่างกายตั้งแต่หลัง 4 ทุ่มขึ้นไป รวมไปถึง การใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือดูโทรทัศน์ ก่อนเข้านอน พักผ่อนไม่เพียงพอ นี่แหละ ศัตรูตัวฉกาจ
ละเลยการออกก�ำลังกาย โดยอ้างว่าไม่มีเวลาหรือ เหน็ดเหนื่อยจากการท�ำงานหรือการเรียนมาแล้ว
เปลี่ยนมากินอาหารที่มีผัก ผลไม้ และโปรตีน ไขมันต�ำ่ นอกจากช่วยรักษาสมดุลของระดับนำ�้ ตาล ในเลือดแล้ว ยังช่วยควบคุมน�้ำหนัก ลดความเสีย่ ง โรคอ้วนได้อีกด้วย
ควรเข้านอนก่อน 4 ทุ่ม และอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ก่อนนอน ควรงดใช้อปุ กรณ์สอื่ สาร งดดืม่ ชา กาแฟ น�้ำอัดลม ปิดโทรทัศน์ จัดห้องนอนให้เงียบ ปิดไฟ และปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม
ออกก�ำลังกายให้สม�่ำเสมอ ครั้งละ 30 นาทีขึ้นไป 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ สร้างความแข็งแรงและความ สดชื่น แถมยังช่วยคงความอ่อนเยาว์อีกด้วย แต่ ควรเว้นการออกก�ำลังกายช่วงก่อนเข้านอนอย่าง น้อย 3 ชัว่ โมง เพือ่ ให้รา่ งกายได้พกั ผ่อนอย่างเต็มที่
42
อาการอ่อนเพลีย (FATIGUE)
“
ถ้ า ปรั บ แล้ ว อาการยั ง ไม่ ดี ขึ้ น และเป็ น ติ ด ต่ อ กั น เกิ น 6 เดื อ น ควรรีบไปพบแพทย์
สัมพันธ์กับโรคอะไรบ้าง? ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะอธิบาย ว่า ความอ่อนเพลีย (Fatigue) เป็นอาการที่พบได้บ่อย แต่ปัจจุบันยังไม่ ทราบสาเหตุที่แน่ชัด มักพบในผู้ป่วย 4 โรคส�ำคัญ คือ โรคโลหิตจาง โรคมะเร็ง โรคทาง สมองโดยเฉพาะ โรค Multiple Sclerosis (MS) และโรคพาร์กินสัน หากไม่เป็นโรคดังกล่าว แต่มีอาการเหนื่อยล้าเรื้อรังเกิน 6 เดือน จัดเป็นโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง (Chronic Fatigue Syndrome-CFS) ซึ่ง ปัจจุบันยังหาสาเหตุที่แน่ชัดไม่ได้เช่นกัน มักให้การรักษาด้วยกิจกรรมบ�ำบัด (Occupational Therapy) และ การปรับความคิดและพฤติกรรม(Cognitive Behavior) สรุปว่า หากมีอาการอ่อนเพลีย ในช่วงแรกลองปรับเปลีย่ นพฤติกรรม การกินอาหาร และการออกก�ำลังกายตามค�ำแนะน�ำข้างต้นดูก่อน
Checklist
“
ASK EXPERT
Another 3 Ways to Help ตัวช่วยบ�ำบัดอาการอ่อนเพลีย
การฝังเข็ม เพิ่มการไหลเวียนเลือดที่กล้ามเนื้อ ปรับสมดุล ของร่างกายเพื่อกระตุ้นให้อวัยวะและระบบการท�ำงานต่างๆ ของร่างกายเป็นปกติ
โรคอ่อนเพลียเรื้อรัง
หากอ่อนเพลียติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน แถมยังมี อาการเหล่านี้ อย่าชะล่าใจ ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันที สูญเสียความทรงจ�ำหรือหมดสติ เจ็บคอ
การนวด ช่วยให้กล้ามเนือ้ คลายตัว เลือดไหลเวียนได้ดขี นึ้ อีก ทัง้ ยังลดแรงดันในเส้นเลือดฝอย การคัง่ ของเลือด นำ�้ เหลือง
ต่อมน�้ำเหลืองโตบริเวณคอและใต้ต้นแขน ปวดกล้ามเนื้อโดยไม่ทราบสาเหตุ ปวดข้อ มีอาการย้ายจากข้อหนึ่ง ไปปวดอีกข้อหนึ่ง โดยไม่มีอาการบวมแดง ปวดหัวอย่างรุนแรง
ฝึกโยคะหรือไทชิ ช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดอาการ ปวด ความเครียด และอาการอ่อนเพลียเรื้อรัง กระตุ้นการ ไหลเวียนเลือด ช่วยให้นอนหลับสนิท และสร้างสมาธิได้ เป็นอย่างดี 43