บทที่ 1 การรวมธุรกิจ

Page 1

⌫     ความหมายของการรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 (ตุลาคม 2542) เรื่องการ รวมธุรกิจ ใหความหมายของการรวมธุรกิจไววา “การรวมธุรกิจหมายถึง การนํากิจการที่แยกตางหากจากกัน มารวมเปนหนวยงานทางเศรษฐกิจเดียวกัน โดยการที่กิจการหนึ่ง รวมกับอีกกิจการหนึ่งหรือการที่กิจการหนึ่งเขาควบคุมสินทรัพย สุทธิและการดําเนินงานของอีกกิจการหนึ่ง” APB Opinion ฉบับที่ 16 “การรวมธุรกิจเกิดขึ้นเมื่อธุรกิจหนึ่งหรือหลายธุรกิจที่เปน อิสระตอกัน มารวมเปนหนวยงานบัญชี (Accounting entity)


2

เดียวกันและหนวยงานหนึ่งเดียวนี้ไดนํากิจกรรมของธุรกิจเดิมมา ดําเนินงานตอไป” “การรวมธุรกิจเกิดขึ้นเมื่อหนวยงานหนึ่งเขาซื้อสินทรัพย สุทธิอันกอใหเกิดธุรกิจแหงหนึ่งหรือเขาซื้อสวนไดเสียของหนวย งานหนึ่งแหงหรือมากกวาและไดรับอํานาจในการควบคุมหนวย งานหนึ่งหรือหลายแหงนั้น”

เหตุของการรวมธุรกิจ 1. ประหยัดตนทุน

2. ลดความเสี่ยง 3. ดําเนินงานไดตอเนื่องไมหยุดชะงัก 4. หลีกเลี่ยงการเขาดําเนินงานโดยกิจการอื่น 5. ลดคูแขงขัน 6. ความตองการในสินทรัพยไมมีตัวตน 7. ประโยชนดานภาษี


3

รูปแบบของการรวมธุรกิจ การซื้อสินทรัพยสุทธิดวยเงินสด บริษัท ก จายซื้อสินทรัพยและหนี้สินของบริษัท ข ดวยเงิน สด 90,000 บาท สินทรัพยอื่นๆ ของบริษัท ข มีมูลคาทั้งหมด 130,000 บาท และหนี้สินมีมูลคา 40,000 บาท บริษัท ก จะบัน ทึกบัญชี ดังนี้ สินทรัพยตางๆ(แยกตามรายการ) หนี้สินตางๆ (แยกตามรายการ) เงินสด

130,000 40,000 90,000

การซื้อสินทรัพยสุทธิดวยหุนสามัญ บริษัท ก ออกหุนสามัญมูลคา 90,000 บาท ใหบริษัท ข แทนการจายเงินสด บริษัท ก จะบันทึกบัญชี ดังนี้ สินทรัพยตางๆ แยกตามรายการ) 130,000 หนี้สินตางๆ 40,000 (แยกตามรายการ) หุนสามัญ 90,000


4

การซื้อหุนสามัญดวยเงินสด บริษัท ก ซื้อหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวทั้งหมดของบริษัท ข โดยจายเงินสด 70,000 บาท บริษัท ก จะบันทึกบัญชี ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข เงินสด

70,000 70,000

การซื้อหุนสามัญดวยหุนสามัญ บริษัท ก ซื้อหุนสามัญที่ออกจําหนายแลวของบริษัท ข โดย การออกหุนมูลคา 70,000 บาท แทนการจายเงินสด 70,000 บาท บริษัท ก จะบันทึกบัญชี ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข 70,000 หุนสามัญ 70,000

วิธกี ารรวมธุรกิจ จําแนกได 3 ประการดวยกัน คือ 1. การแยกประเภทตามโครงสร า งของการรวมธุ ร กิ จ (Structure of combination) 2. การแยกประเภทตามวิธีการรวมธุรกิจ (Method of combination) 3. การแยกประเภทตามวิธีการบัญชี (Accounting method)


5

โครงสรางของการรวมธุรกิจ 1. การรวมธุรกิจแบบแนวนอน (Horizontal integration) 2. การรวมธุรกิจแบบแนวตั้ง (Vertical integration) 3. การรวมธุรกิจแบบผสม (Conglomerate integration) วิธีการรวมธุรกิจ 1. การควบกิจการ (Statutory merger) ถาบริษัท ก และ บริษัท ข มารวมธุรกิจกันโดยวิธี Merger รูปแบบของการรวมธุรกิจ คือ บริษัท ก + บริษัท ข = บริษัท ก หรือ บริษัท ข 2. การรวมกิจการ (Statutory consolidation) ถาบริษัท ก และ บริษัท ข มารวมกิจการกันโดยวิธี Consolidation รูปแบบของการรวมธุรกิจจะเปนดังนี้ บริษัท ก + บริษัท ข = บริษัท ค 3. การซื้อหุน (Stock acquisition) ลักษณะการรวมธุรกิจ แบบการซื้อหุน อาจแสดงไดดังนี้ บริษัท ก + บริษัท ข = บริษัท ก + บริษัท ข 4. การซื้อสินทรัพยสุทธิ (Acquisition of net assets)


6

วิธกี ารบัญชีในการรวมธุรกิจ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 ไดกําหนดวิธีการบัญชีสําหรับ การรวมธุรกิจไว 2 วิธี คือ 1. วิธีรวมสวนไดเสีย (Pooling of interest method) 2. วิธีซื้อ (Purchase method)

วิธรี วมสวนไดเสีย หมายถึง การรวมธุรกิจที่ผูถือหุนของกิจการแตละกิจการที่ มารวมกันไดรวมกันควบคุมสินทรัพยสุทธิและการดําเนินงานทั้ง หมดหรือเกื อบทั้ ง หมดของกิ จการที่รวมแลวเพื่อรวมรับความ เสี่ยงและประโยชนที่จะเกิดจากกิจการที่รวมแลวตอไปในลักษณะ ที่ไมสามารถระบุไดวาฝายใดเปนผูซื้อ เนื่องจากไมมีกิจการใดที่ สามารถครอบงํากิจการอื่นได เงื่อนไขในการบันทึกบัญชีตามวิธีรวมสวนไดเสีย หลักเกณฑที่กําหนดไวในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 ยอ หนา 15 ซึ่งระบุวา การรวมรับความเสี่ยงและประโยชนตามวิธีรวมสวนไดเสีย จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อเปนไปตามเงื่อนไขทุกขอดังนี้


7

1. เมื่อกิจการที่มารวมกันแลกเปลี่ยนหุนสามัญที่มีสิทธิออก เสียงอยางเสมอภาคระหวางกัน โดยตองนําหุนสามัญที่มี สิ ท ธิ อ อกเสี ย งส ว นใหญ ห รื อ ทั้ ง หมดมาแลกเปลี่ ย น ระหวางกันหรือมารวมกัน 2. มูลคายุติธรรมของกิจการที่มารวมกันตองไมแตกตางกัน อยางเปนสาระสําคัญ 3. หลังจากการรวมธุรกิจ ผูถือหุนของแตละกิจการที่มารวม กันตองคงไวซึ่งสิทธิออกเสียงและสวนไดเสียในกิจการที่ มารวมแลวตามสัดสวนเดิมหรือใกลเคียงกับสัดสวนเดิมที่ มีอยูระหวางกันกอนการรวมธุรกิจ แนวทางปฏิบัติสําหรับวิธีรวมสวนไดเสีย ตัวอยางที่ 1-1 สมมติวา บริษัท ก และบริษัท ข ตกลงรวมกิจ การกันโดยวิธี Merger และบันทึกการรวมธุรกิจโดยวิธีรวมสวนได เสีย สวนของเจาของกอนการรวมธุรกิจมีดังนี้


8

หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน รวมทุนที่นํามาลง กําไรสะสม รวมสวนของผูถือหุน

บริษัท ก 100,000 10,000 110,000 50,000 160,000

บริษัท ข 50,000 20,000 70,000 30,000 100,000

รวม 150,000 30,000 180,000 80,000 260,000

กรณีที่ 1 สินทรัพยสุทธิ 100,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 50,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 20,000 กําไรสะสม 30,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 5,000 หุน ในการรวมธุรกิจกับ บริษัท ข ตามวิธีรวมสวนไดเสีย บริษัท ข จะเลิกกิจการและบันทึกบัญชีดังนี้ หุนสามัญ @ 10 บาท 50,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 20,000 กําไรสะสม 30,000 สินทรัพยสุทธิ 100,000 บันทึกการปดบัญชีเพื่อรวมกิจการกับบริษัท ก


9

กรณีที่ 2 สินทรัพยสุทธิ 100,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 70,000 กําไรสะสม 30,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 7,000 หุน ในการรวมธุรกิจกับ บริษัท ข ตามวิธีรวมสวนไดเสีย กรณีที่ 3 สินทรัพยสุทธิ 100,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 10,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 90,000 กําไรสะสม 20,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 9,000 หุน ในการรวมธุรกิจ กับบริษัท ข ตามวิธีรวมสวนไดเสีย กรณีที่ 4 สินทรัพยสุทธิ 260,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 150,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 30,000 กําไรสะสม 80,000 บันทึกการออกหุนสามัญใหบริษัท ก 10,000 หุน และ ใหบริษัท ข 5,000 หุน ในการรวมธุรกิจตามวิธีรวม สวนไดเสีย


10

กรณีที่ 5 สินทรัพยสุทธิ 260,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 170,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 10,000 กําไรสะสม 80,000 บันทึกการออกหุนสามัญใหบริษัท ก 11,000 หุน และให บริษัท ข 6,000 หุนในการรวมธุรกิจตามวิธีรวมสวนไดเสีย กรณีที่ 6 สินทรัพยสุทธิ 260,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 190,000 กําไรสะสม 70,000 บันทึกการออกหุนสามัญใหบริษัท ก 12,000 หุน และให บริษัท ข 7,000 หุน ในการรวมธุรกิจตามวิธีรวมสวนได เสีย


11

ตารางแสดงงบดุลโดยสรุปของการรวมธุรกิจทั้ง 6 กรณี ตาม วิธีรวมสวนไดเสีย Merger Consolidation สมุดบัญชีของบริษัท ก สมุดบัญชีของบริษัท ค กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่ กรณีที่ 1 2 3 4 5 6 สินทรัพยสุทธิ

260,000

260,000

260,000

260,000

260,000

260,000

หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม รวมสวนของผูถือหุน

150,000 30,000 80,000 260,000

170,000 10,000 80,000 260,000

190,000 70,000 260,000

150,000 30,000 80,000 260,000

170,000 10,000 80,000 260,000

190,000 70,000 260,000

หุนซื้อคืนในการรวมสวนไดเสีย บริษัทที่จําหนายหุนซื้อคืนในการรวมสวนได ควรจะไถถอน (Retired) หุนเหลานั้นกอน และบันทึกไวเปรียบเสมือนเปนหุนที่ ยังไมออกจําหนาย หุนที่ถือระหวางบริษัทที่มารวมกัน ตัวอยางที่ 1-2 สมมติวา บริษัท ก ลงทุนซื้อหุนสามัญของบริษัท ข จํานวน 200 หุน ในราคาทุน 3,000 บาท บริษัท ก และบริษัท ข ตกลงที่จะรวมกิจการแบบ Merger


12

บริษัท ก

บริษัท ข

เงินลงทุนในบริษัท ข สินทรัพยอื่น รวม

3,000 197,000 200,000

300,000 300,000

หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม รวม

100,000 50,000 50,000 200,000

200,000 30,000 70,000 300,000

ถาบริษัท ก เปนบริษัทที่คงอยู และออกหุนสามัญ 19,800 หุน ใหบริษัท ข (อัตราแลกเปลี่ยนหุน 1:1) บริษัท ก จะบันทึก การรวมธุรกิจแบบ Merger ตามวิธีรวมสวนไดเสียในสมุดบัญชี ดังนี้ สินทรัพยสุทธิ หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม เงินลงทุนในบริษัท ข บันทึกการรวมธุรกิจกับบริษัท ข

300,000 198,000 29,000 70,000 3,000


13

ถาบริษัท ข เปนบริษัทที่คงอยู และออกหุนสามัญ 10,000 หุน เพื่อแลกกับหุนสามัญของบริษัท ก 10,000 หุน (อัตราแลก เปลี่ยน 1:1) บริษัท ข จะบันทึกรายการรวมธุรกิจแบบ Merger ตามวิธีรวมสวนไดเสียในสมุดบัญชี ดังนี้ สินทรัพยสุทธิ หุนซื้อคืน หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม บันทึกการรวมธุรกิจกับบริษัท ข

197,000 3,000 100,000 50,000 50,000

การรายงานผลการดําเนินงานตามวิธีรวมสวนไดเสีย งบการเงินของกิจการรวมจะถูกจัดทําขึ้นเปรียบเสมือนกับวา บริษัทตางๆ ไดรวมกันตั้งแตตอนตนป หมายความวา ผลการ ดํ าเนินงานของกิจการจะเหมือนกันไมวาการรวมธุรกิจที่เกิดขึ้น เมื่อใด (ตนป กลางป หรือสิ้นป) รายไดและคาใชจายที่บันทึกไว ในระหวางงวดบัญชีกอนหนาการรวมธุรกิจ ก็จะถูกโอนมาบันทึก ไวในสมุดบัญชีของกิจการที่คงอยู เมื่อการรวมธุรกิจสิ้นสุดลง


14

ตัวอยางที่ 1-3 การบันทึกบัญชีเมื่อมีการรวมสวนไดเสีย ณ กลางปการเงิน มีดังนี้ บริษัท ก และบริษัท ข รวมสวนไดเสียกันเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 25+5 งบทดลองของบริษัททั้งสอง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 25+5 ปรากฏดังนี้

สินทรัพย คาใชจาย รวมเดบิต หุนสามัญ @ 10 บาท กําไรสะสม รายได รวมเครดิต

บริษัท ก

บริษัท ข

750,000 150,000 900,000 500,000 200,000 200,000 900,000

290,000 60,000 350,000 200,000 50,000 100,000 350,000

กรณีที่ 1 Merger บริษัท ก ซึ่งเปนบริษัทที่คงอยู ออกหุนสามัญ 22,000 หุน ราคามูลคาหุนละ 10 บาท เพื่อแลกกับสินทรัพย สุทธิของบริษัท ข ในวันที่ 1 กรกฎาคม 25+5 การบันทึกรายการ ในสมุดบัญชีของบริษัท ก มีดังนี้


15

1 กค.25+5 สินทรัพย 290,000 คาใชจาย 60,000 หุนสามัญ 220,000 กําไรสะสม 30,000 รายได 100,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 22,000 หุน ในการ รวมธุรกิจกับบริษัท ข งบทดลองของบริษัท ก ทันทีหลังจากการบันทีกรายการรวมธุรกิจ เสร็จสิ้นลงมีดังนี้ เดบิต เครดิต สินทรัพย 1,040,000 คาใชจาย 210,000 หุนสามัญ 720,000 กําไรสะสม 230,000 รายได 300,000 1,250,000 1,250,000


16

กรณีที่ 2 Consolidation บริษัท ค จะบันทึกการรวมสวนได ดังนี้ 1 ก.ค. สินทรัพย 1,040,000 คาใชจาย 210,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 720,000 กําไรสะสม 230,000 รายได 300,000 บันทึกการออกหุนสามัญ จํานวน 72,000 หุน ใหแก บริษัท ก และบริษัท ข

คาใชจายในการรวมธุรกิจ แบงออกเปน 3 ประเภทคือ 1. คาใชจายในการรวมธุรกิจทางตรง (Direct acquisition cost) 2. คาใชจายในการรวมธุรกิจทางออม (Indirect acquisition cost) 3. คาใชจายในการออกหุน (Security issuance cost)


17

วิธีรวมสวนไดเสีย จะถือวาคาใชจายตางๆ ที่เกิดขึ้นในการ รวมธุรกิจทั้งหมดไมวาจะเปนคาใชจายทางตรง คาใชจายทางออม หรือคาใชจายตางๆ เกี่ยวกับการออกหุน เปนคาใชจายในการ รวมธุรกิจของบริษัทในงวดที่มีคาใชจายนั้นๆ เกิดขึ้น ซึ่งจะมีผล ทําใหสินทรัพยของกิจการรวมลดลง และคาใชจายของกิจการรวม เพิ่มขึ้น

วิธีซื้อ การรวมธุรกิจที่ใชวิธีซื้อในการบันทึกบัญชีจะเกิดขึ้นเมื่อกิจ การหนึ่งเขาควบคุมอีกกิจการหนึ่งทําใหสามารถระบุไดวากิจการ ใดเปนผูซื้อ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 ยอหนา 10 ระบุไววา ในกรณีที่กิจการหนึ่งซื้อหุนทุนที่มีสิทธิออกเสียงในอีกกิจการหนึ่ง เกินกวากึ่งหนึ่งใหสันนิษฐานไวกอนวาผูซื้อมีอํ านาจควบคุมกิจ การที่ซื้อมา เชน กิจการหนึ่งซื้อหุนทุนที่มีสิทธิออกเสียงของกิจ การหนึ่งเกิน 50% หรือหากซื้อหุนทุนไมถึง 50% แตมีอํานาจ ตามขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ ก็สามารถใชวิธีซื้อในการบันทึกบัญชีได เชน • มีอํานาจในการออกเสียงเกิน 50% เนื่องจากมีขอตกลงกับผู ลงทุนอื่น • มี อํ านาจตามกฎหมายหรื อ ตามข อ ตกลงในการกํ าหนด นโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของอีกกิจการหนึ่ง


18

• มีอํ านาจแตงตั้งหรือถอนถอนบุคคลสวนใหญซึ่งทํ าหนาที่ เป น กรรมการบริ ษั ท หรื อ ผู  บ ริ ห ารอื่ น ที่ มี ห น า ที่ เ ที ย บเท า กรรมการบริษัท • อํ านาจในการออกเสี ย งส ว นใหญ ใ นการประชุ ม คณะ กรรมการบริษัทหรือคณะผูบริหารอื่นที่มีหนาที่เทาเทียบเทา คณะกรรมการบริษัท ตัวอยางที่ 1-4 สมมติวาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 25+5 บริษัท ก ซื้อกิจการบริษัท ข โดยการออกหุนสามัญ 100,000 หุน มูลคา หุนละ 10 บาท สําหรับสินทรัพยสุทธิของบริษัท ข มูลคายุติธรรม ของหุนสามัญของบริษัท ก ในวันนั้นเทากับ 16 บาทตอหุน คาใชจายทางตรงในการวมกิจการประกอบดวย : คาธรรมเนียมตลาดหลักทรัพยฯ 5,000 ค า ธรรมเนี ย มนั กบั ญชี ในการติ ด ต อกั บ 10,000 ตลาดหลักทรัพย ฯ ตนทุนในการพิมพและออกใบหุน 25,000 คาธรรมเนียมสํ าหรับผูดํ าเนินการและที่ 80,000 ปรึกษาในการรวมธุรกิจ รวม 120,000

บาท บาท บาท บาท บาท


19

การบันทึกรายการในสมุดบัญชีของบริษัท ก จะเปนดังนี้ : บาท เงินลงทุนในบริษัท ข 1,6000,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 1,000,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 600,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 100,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท มูลคายุติธรรมหุนละ 16 บาท ในการรวมธุรกิจกับบริษัท ข โดยวิธีซื้อ เงินลงทุนในบริษัท ข 80,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 40,000 เงินสด(หรือสินทรัพยอื่นๆ) 120,000 บันทึกคาใชจายในการรวมกิจการกับบริษัท ข โดยเปนคา ธรรมเนียมสําหรับผูดําเนินการและที่ปรึกษาในการวมกิจการ 80,000 บาท และเปนคาจดทะเบียนและออกจําหนายหุน 40,000 บาท


20

ลูกหนี้ ××× สินคาคงเหลือ ××× โรงงาน ××× คาความนิยม ××× เจาหนี้ ××× ตั๋วเงินจาย ××× 1,680,000 เงินลงทุนในบริษัท ข บันทึกการโอนบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข จํานวน 1,680,000 บาท และรับโอนสินทรัพยและหนี้สินตางๆ ตามมูลคายุติธรรม และบันทึกสวนเกินไวในบัญชีคาความ นิยม

การคํานวณและการบันทึกคาความนิยม กําไรตามปกติ = อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยของอุตสาหกรรม × มูลคายุติธรรมของสินทรัพย (ไมหักหนี้สิน) ของบริษัทที่ซื้อ ตัวอยางที่ 1-5 ตอไปนี้เปนการคํานวณกําไรสวนที่สูงกวากําไร ตามปกติของบริษัท ข


21 กําไรโดยเฉลี่ยในอนาคตที่คาดไว 42,000 บาท หัก ผลตอบแทนตามปกติของสินทรัพย: มูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่ระบุได 330,000 อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพยโดยเฉลี่ยของอุตสาหกรรม 10% ผลตอบแทนจากสินทรัพยโดยเฉลี่ย 33,000 กําไรที่คาดวาจะสูงกวาปกติ 9,000

การนํ ากํ าไรที่คาดวาจะสูงกวาปกติไปใชในการคํ านวณคาความ นิยมมีหลายวิธี ดังนี้ 1. กําหนดเวลาที่จะจายกําไรสวนที่เกินกวาปกติ แลวนําไปคูณ กับกําไรสวนเกิน เชน ผูซื้อเสนอที่จายกําไรสวนเกินกวาปกติเปน เวลา 4 ป คาความนิยมจะเทากับ 9,000 × 4 ป = 36,000 บาท 2. กําไรสวนเกินถือวาเกิดขึ้นเปนงวด ผูซื้อที่มองโลกในแงดีอาจ คาดคะเนวากําไรนี้จะเกิดขึ้นตลอดไป ถาเปนเชนนั้น ผูซื้อจะตั้ง กําไรสวนเกินขึ้นเปนทุน (Capitalize) ดวยอัตราผลตอบแทนของ อุตสาหกรรม ตามสูตรตอไปนี้ คาความนิยม

=

กําไรสวนที่เกินปกติตอป อัตราผลตอบแทนปกติของอุตสาหกรรม = 9,000 / 0.10 = 90,000 บาท


22

3. วิธีนี้ถือวาปจจัยที่จะกอใหเกิดกําไรสวนเกินจํากัดดวยเวลา เชน กําหนดเวลาไว 10 ป เปนตน ดังนั้น ผูซื้อจะคํานวณคาความ นิยม ไดดังนี้ คาความนิยม = มูลคาปจจุบันของกําไรสวนเกิน 9,000 บาท ตอปสําหรับระยะเวลา 10 ป ณ อัตราผล ตอบแทน 10% = 9,000 × PVIFA10%, 10 = 9,000 × 6.145 = 55,305 บาท

การกระจายราคาทุนในการรวมธุรกิจตามวิธีซื้อ ⌦หลักทรัพยในความ - มูลคายุติธรรมในปจจุบันของหลัก ทรัพยนั้น ตองการของตลาด ⌦ หลักทรัพยที่ไมอยูใน - ประมาณมูลคาโดยพิจารณาอัตรา สวนของมูลคายุติธรรมตอกําไร ความตองการของตลาด อัตราผลตอบแทนจากเงินปนผล และอัตราการเติบโตที่คาดไวของ หลักทรัพยที่มีลักษณะคลายคลึง กัน


23

⌦ ลูกหนี้

- มูลคาปจจุบันของจํานวนที่จะไดรับ สุทธิจากคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญและ คาใชจายในการเก็บหนี้ คิดลดดวย อัตราดอกเบี้ยปจจุบันที่เหมาะสม - ราคาขายหักคาใชจายในการขาย ⌦ สินคาสําเร็จรูป กับกําไรปกติ - ราคาขายสินคาสําเร็จรูปหักตนทุน ⌦ งานระหวางทํา การผลิตที่จะเกิดขึ้นจนสินคาเสร็จ คาใชจายในการขายและกําไรปกติ - ราคาเปลี่ยนแทนในปจจุบัน ⌦ วัตถุดิบ ⌦ โรงงานและอุปกรณ - มูลคายุติธรรม (ใชการประเมิน ราคา) - ราคาเปลี่ยนแทนหักคาเสื่อมราคา สะสมที่คํานวณจากราคาเปลี่ยน แทน (กรณีไมมีมูลคายุติธรรม) ⌦ ส/ท ที่ไมมีตัวตน - อางอิงกับตลาดซื้องายขายคลอง - ใชเกณฑที่สะทอนถึงจํานวนที่กิจ การจะตองจายเพื่อใหไดมาซึ่งสิน ทรัพยนั้น (หากไมมีตลาดซื้องาย ขายคลอง)


24

⌦ หนี้สิน

- มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินที่ตอง จายตามเงื่อนไขคิดลดดวยอัตรา ดอกเบี้ยปจจุบันที่เหมาะสม

กรณีราคาทุนที่จายซื้อสูงกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิ สินทรัพยและหนี้สินตางๆ จะถูกรับโอนมาในมูลคายุติธรรม สวนเกินของราคาทุนที่สูงกวามูลคายุติธรรมจะถือเปนคาความ นิยม (Goodwill) ซึ่งจะตองตัดจําหนายใหหมดภายในระยะเวลา ที่สินทรัพยนั้นใหประโยชนแตตองไมเกิน 20 ป ยกเวนกรณีผูซื้อ สามารถอธิบายปจจัยที่กําหนดอายุการใหประโยชนเกินกวา 20 ป ไดอยางมีเหตุผล

การแสดงรายการคาความนิยม ผูซื้อตองแสดงคาความนิยมในงบดุลดวยราคาทุนหักคาตัด จําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคา กรณีมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิสูงกวาราคาทุนที่จายซื้อ ผลตางที่เกิดขึ้นเรียกวา คาความนิยมติดลบ (Negative goodwill) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 43 กําหนดให ผูซื้อตองรับ รูสวนของคาความนิยมติดลบที่สัมพันธกับผลขาดทุนและคาใช จายในอนาคตเปนรายไดในงบกําไรขาดทุนเมื่อผูซื้อรับรูผลขาด


25

ทุนและคาใชจายนั้น ผลขาดทุนและคาใชจายในอนาคตคือราย การที่เปนไปตามขอกําหนดทุกขอตอไปนี้ 1. เปนผลขาดทุนและคาใชจายที่ผูซื้อคาดวาจะเกิดขึ้นใน อนาคต 2. ตองระบุอยูในแผนการซื้อธุรกิจของผูซื้อ 3. สามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ 4. ไมถือเปนหนี้สินที่ระบุได ณ วันที่ซื้อ ผูซื้อตองรับรูสวนของคาความนิยมติดลบที่ไมสัมพันธกับผล ขาดทุนและคาใชจายในอนาคตเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน ดัง ตอไปนี้ 1. รับรูจํานวนคาความนิยมติดลบที่ไมสูงกวามูลคายุติธรรม ของสิ น ทรั พ ย ที่ ไ ม เ ป น ตั ว เงิ น ที่ ร ะบุ ไ ด เ ป น รายได ต าม เกณฑที่เปนระบบตลอดอายุการใชงานและอายุการให ประโยชนที่เหลืออยูของสินทรัพยเสื่อมสภาพที่ระบุได โดยใชจํานวนถัวเฉลี่ยถวงนํ้าหนักของอายุการใชงานและ อายุการใหประโยชน 2. รับรูจํ านวนคาความนิยมติดลบที่สูงกวามูลคายุติธรรม ของสินทรัพยที่ไมเปนตัวเงินที่ระบุไดเปนรายไดทันที


26

การแสดงรายการคาความนิยมติดลบ ผูซื้อตองจัดประเภทคาความนิยมติดลบเปนสินทรัพยเชน เดียวกับการจัดประเภทคาความนิยม แตตองแสดงเปนรายการ หักจากสินทรัพยในงบดุล ตัวอยางที่ 1-6 บริษัท ก ซื้อสินทรัพยสุทธิของบริษัท ข ในการ รวมธุรกิจตามวิธีซื้อ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 25+5 สินทรัพยและ หนี้สินของบริษัท ข ณ วันนี้แสดงตามราคาตามบัญชี และ ราคา ตาลาด ดังนี้ สินทรัพย : เงินสด ลูกหนี้สุทธิ สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารสุทธิ อุปกรณสุทธิ สิทธิบัตร รวมสินทรัพย

ราคาตามบัญชี มูลคายุติธรรม 50,000 50,000 150,000 140,000 200,000 250,000 50,000 100,000 300,000 500,000 250,000 350,000 50,000 1,000,000 1,440,000


27

หนี้สิน : เจาหนี้ ตั๋วเงินจาย หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน สินทรัพยสุทธิ

60,000 150,000 40,000 250,000 750,000

60,000 135,000 45,000 240,000 1,200,000

กรณีที่ 1 คาความนิยม (ราคาทุนที่จายซื้อสูงกวามูลคายุติธรรม ของสินทรัพยสุทธิ) เงินลงทุนในบริษัท ข 1,400,000 เงินสด 400,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 500,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 500,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 50,000 หุน ราคามูลคาหุนละ 10 บาท และการจายเงินสด 400,000 บาท เพื่อรวมกิจ การกับบริษัท ข ตามวิธีซื้อ


28

เงินสด 50,000 ลูกหนี้สุทธิ 140,000 สินคาคงเหลือ 250,000 ที่ดิน 100,000 อาคาร 500,000 อุปกรณ 350,000 สิทธิบัตร 50,000 คาความนิยม 200,000 เจาหนี้ 60,000 ตั๋วเงินจาย 135,000 หนี้สินอื่น 45,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 1,400,000 กระจายราคาทุนที่จายซื้อบริษัท ข ใหกับสินทรัพยและหนี้ สินตามมูลคายุติธรรมและบันทึกคาความนิยม


29

กรณีที่ 2 คาความนิยมติดลบ (มูลคายุติธรรมของสินทรัพย สุทธิสูงกวาราคาทุนที่จายซื้อ) เงินลงทุนในบริษัท ข 1,000,000 หุนสามัญ @ 10 บาท 400,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 400,000 ตั๋วเงินจาย 10% 200,000 บันทึกการออกหุนสามัญ 40,000 หุน มูลคาหุนละ 10 บาท และการออกตั๋วเงินจาย 10% เพื่อรวมกิจการกับบริษัท ข ตามวิธีซื้อ เงินสด 50,000 ลูกหนี้สุทธิ 140,000 สินคาคงเหลือ 250,000 ที่ดิน 80,000 อาคาร 400,000 อุปกรณ 280,000 สิทธิบัตร 40,000 เจาหนี้ 60,000 ตั๋วเงินจาย 135,000 หนี้สินอื่น 45,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 1,000,000 กระจายราคาทุนที่จายซื้อบริษัท ข ใหกับสินทรัพยและหนี้สิน


30

กรณีนี้สวนเกินของมูลคายุติธรรมที่สูงกวาราคาทุน 200,000 บาท จะนําไปลดมูลคาสินทรัพยไมหมุนเวียนตามสัดสวนของมูล คายุติธรรม ดังนี้ มูลคายุติธรรม ของสินทรัพย ไมหมุนเวียน ที่ดิน อาคาร อุปกรณ สิทธิบัตร

100,000 500,000 350,000 50,000 1,000,000

หัก 20% สินทรัพยไมหมุน (สวนเกิน เวียน 200,000บาท/มูล ภายหลังการปรับ คายุติธรรม ปรุง 1,000,000 บาท) 20,000 80,000 100,000 400,000 70,000 280,000 10,000 40,000 200,000 800,000

ตัวอยางที่ 1-7 แสดงการเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีตามวิธี รวมสวนไดเสียและวิธีซื้อ งบทดลองเปรียบเทียบของบริษัท ก และบริษัท ข ณ วันที่ 30 ธันวาคม 25+6 กอนการรวมธุรกิจ มีดังนี้


31

เงินสด ลูกหนี้-สุทธิ สินคาคงเหลือ โรงงานและ อุปกรณ-สุทธิ ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่นๆ รวมเดบิต เจาหนี้ หนี้สินอื่นๆ หุนสามัญ@10 บ. สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม ขาย รวมเครดิต

บริษัท ก ราคาตาม บัญชี 475,000 600,000 800,000 1,200,000

บริษัท ข ราคาตาม มูลคายุติ บัญชี ธรรม 125,000 125,000 300,000 300,000 200,000 250,000 350,000 450,000

1,000,000 325,000 325,000 100,000 4,400,000 1,400,000 300,000 180,000 200,000 120,000 1,500,000 500,000 200,000 40,000 650,000 110,000 1,550,000 450,000 4,400,000 1,400,000

180,000 120,000


32

การบันทึกรายการในสมุดบัญชีของบริษัท ก สําหรับการรวม ธุรกิจแบบ Merger จะแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

1. บันทึกการออกหุน วิธีรวมสวนไดเสีย วิธีซื้อ เงินลงทุนในบ. ข 650,000 885,000 หุนสามัญ@10 500,000 500,000 สวนเกินมูลคาหุนสามัญ 40,000 385,000 กําไรสะสม 110,000 -

2. บันทึกคาใชจายที่เกิดขึ้นในการรวมธุรกิจ คชจ.ในการรวมธุรกิจ เงินลงทุนในบริษัท ข สวนเกินมูลคาหุนสามัญ เงินสด

วิธีรวมสวนไดเสีย 60,000 60,000

วิธีซื้อ 40,000 20,000 60,000


33

3. การกระจายเงินลงทุน วิธีรวมสวนไดเสีย เงินสด 125,000 ลูกหนี้-สุทธิ 300,000 สินคาคงเหลือ 200,000 โรงงานและอุ ป กรณ - 350,000 สุทธิ คาความนิยม ตนทุนสินคาขาย 325,000 คาใชจายอื่นๆ 100,000 เจาหนี้ 180,000 หนี้สินอื่น 120,000 ขาย 450,000 เงินลงทุนในบ. ข 650,000

วิธีซื้อ 125,000 300,000 250,000 450,000 100,000 180,000 120,000 925,000


34

ตัวอยางที่ 1-8 แสดงการเปรียบเทียบงบการเงินตามวิธีรวมสวน ไดเสียและวิธีซื้อ บริษัท ก จํากัด งบการเงินเปรียบเทียบ สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+6 วิธีรวมสวนไดเสีย งบกําไรขาดทุน ขาย ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 ม.ค. 25+6 เพิ่มขึ้นจากการรวมสวนไดเสีย กําไรสะสม 1 ม.ค.25+6 กําไรสุทธิ กําไรสะสม 31 ธ.ค.25+6

วิธีซื้อ

2,000,000 (1,325,000) (485,000) 190,000

1,550,000 (1,000,000) (325,000) 225,000

650,000 110,000 760,000 190,000 950,000

650,000

225,000 875,000


35

งบดุล สินทรัพย เงินสด ลูกหนี้-สุทธิ สินคาคงเหลือ โรงงานและอุปกรณ-สุทธิ คาความนิยม รวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน เจาหนี้ หนี้สินอื่น หุนสามัญ @ 10 บาท สวนเกินมูลคาหุนสามัญ กําไรสะสม รวม

540,000 900,000 1,000,000 1,550,000 3,990,000

540,000 900,000 1,050,000 1,650,000 100,000 4,240,000

480,000 320,000 2,000,000 240,000 950,000 3,990,000

480,000 320,000 2,000,000 565,000 875,000 4,240,000


36

การเปดเผยขอมูล ในการรวมธุรกิจทุกประเภท กิจการตองเปดเผยขอมูลตอไป นี้ในงบการเงินสําหรับงวดที่การรวมธุรกิจเกิดขึ้น 1. รายชื่อและคําอธิบายของแตละธุรกิจที่มารวมกัน 2. วิธีปฏิบัติทางบัญชีสําหรับการรวมธุรกิจ 3. วันที่การรวมธุรกิจมีผลตอการปฏิบัติทางบัญชี 4. การดําเนินงานบางสวนที่ตัดสินใจจะยกเลิกเนื่องจากการ รวมธุรกิจ การรวมธุรกิจที่เปนการซื้อธุรกิจ ผูซื้อตองเปดเผยขอมูลใน งบการเงินงวดที่เกิดการซื้อธุรกิจขึ้นเพิ่มเติมคือ 1. สัดสวนของหุนที่มีสิทธิออกเสียงที่ไดมา 2. ตนทุนการซื้อธุรกิจและคําอธิบายเกี่ยวกับสิ่งตอบแทนใน การซื้อธุรกิจที่ไดจายไปหรือที่อาจจะเกิดขึ้นในภายหนา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.